Contract
สารบัญ | ||
หน้า | ||
ตอนที่ 1 | ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสัญญากู้ยืมเงิน | 1 |
ตอนที่ 2 | โครงสร้างของสัญญากู้ยืมเงิน | 5 |
2.1 ส่วนนําของสัญญา | 5 | |
2.2 เนื้อหาของสัญญา | 9 | |
2.3 ส่วนลงท้ายของสัญญา | 18 | |
2.4 ข้อสัญญาที่มีลักษณะหรือมีความหมายทํานอง เดียวกันที่ต้องพึงระมดั ระวัง | 20 | |
ตอนที่ 3 | ตัวอย่างแบบสัญญากู้ยืมเงิน | 21 |
ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสัญญากู้ยืมเงิน
สัญญากู้ยืมเงิน เป็นสัญญาทางแพ่งประเภทหนึ่งที่มีกฎหมายกําหนดหลักเกณฑ์ไว้ ตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มีคู่กรณีสองฝ่าย คือ ฝ่ายหนึ่งเรียกว่า “ผู้กู้” ตกลง
กู้ยืมเงินจากอีกฝ่ายเรียกว่า “ผู้ให้ก โดยโอนกรรมสิทธิ์ในเงินนั้นให้แก่ผู้กู้ และผู้กู้ตกลง
จะชดใช้เงินที่มีxxxxxxเท่าเทียมกันให้แก่ผู้ให้กู้ สําหรับการตอบแทนการให้กู้ยืมเงินหรือเรียกว่า “ดอกเบี้ย” นั้น ไม่ใช่สาระสําคัญของการกู้ยืมเงิน ผู้กู้และผู้ให้กู้อาจตกลงกันคิดดอกเบี้ย หรือxxxxxxxx แต่หากมีการคิดดอกเบี้ยต่อกันต้องเป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายในส่วนที่ เกี่ยวข้องด้วย
ลักษณะทั่วไปของสัญญากู้ยืมเงิน เนื่องจากผู้ให้กู้ได้โอนกรรมสิทธิ์ในเงินที่กู้ยืม ให้แก่ผู้กู้และผู้กู้เองก็ตกลงจะชดใช้เงินที่มีxxxxxxเท่าเทียมกันให้แก่ผู้ให้กู้ ซึ่งประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 650 xxxxxxxว่า
“อันว่าxxxxxxxxxxxxxxxxนั้น คือ สัญญาซึ่งผู้ใ👉้ยืมโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินชนิด ใช้ไปสิ้นไปนั้นเป็นปริมาณมีกํา👉นดใ👉้ไปแก่ผู้ยืม และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินเป็นประเภท ชนิด และปริมาณxxxxเดียวกันใ👉้แทนทรัพย์สินซึ่งใ👉้ยืมนั้น
สัญญานี้ย่อมxxxxxxxxต่อเมื่อมีการส่งมอบทรัพย์สินที่ยืม”
จากบทบัญญัติดังกล่าวข้างต้น สัญญากู้ยืมเงินxxxxxxแยกองค์ประกอบที่สําคัญ ได้ 4 ประการ ได้แก่
1. คู่สัญญา
คู่สัญญาในสัญญากู้ยืมเงินxxxxxxแบ่งได้เป็น 2 ฝ่าย คือ ผู้กู้ ฝ่ายหนึ่ง และ ผู้ให้กู้ อีกฝ่ายหนึ่ง โดยแต่ละฝ่ายเป็นบุคคลธรรมดาคนเดียว บุคคลหลายคน นิติบุคคล หรือ อาจเป็นการมอบอํานาจให้มีการกู้ยืมก็ได้ ตัวอย่างxxxx xxxxxxตกลงกู้ยืมเงินจากนายดํา จํานวน 10,000 บาท โดยxxxxxxตกลงว่าจะคืนเงินจํานวนดังกล่าวภายใน 1 ปีนับแต่ xxxxxxมีการกู้ยืมเงิน ซึ่งนายดําได้ส่งมอบเงินที่กู้ยืมให้แก่xxxxxxเรียบร้อยแล้ว หรือxxxxxx มอบอํานาจให้นายเขียวดําเนินการกู้ยืมเงินจากดํา เป็นต้น
2. เงินที่กู้ยืม
สัญญากู้ยืมเงินเป็นการโอนไปซึ่งกรรมสิทธิ์ในเงินที่กู้ยืม ผู้xxxxxxจําต้องคืนเงิน เป็นเงินส่วนที่ยืมไป แต่เอาเงินจากที่ใดมาคืนก็ได้ ขอให้เป็นเงินที่มีจํานวนเท่ากับเงินที่ยืม ก็ใช้ได้ อย่างไรก็ดี เงินที่กู้ยืมอาจเปลี่ยนเป็นสิ่งของหรือทรัพย์สินอย่างอื่นก็ได้ หากการกู้ยืม เงินนั้น ๆ ผู้กู้ยอมรับเอาสิ่งของหรือทรัพย์สินอย่างอื่นไว้แทนจากผู้ให้กู้ ซึ่งประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 656 xxxxxxxxxx
“ถ้าทําสัญญากู้ยืมเงินกัน และผู้กู้ยืมยอมรับเอาสิ่งของ 👉รือทรัพย์สินอย่างอื่น แทนจํานวนเงินนั้นxxxx ท่านใ👉้คิดเป็น👉นี้เงิน ค้างชําระโดยจํานวนเท่ากับราคาท้องตลาด แ👉่งสิ่งของ 👉รือทรัพย์สิน นั้นในเวลาและ ณ สถานที่ส่งมอบ
ถ้าทําสัญญากู้ยืมเงินกันและผู้ใ👉้กู้ยืมยอมรับเอาสิ่งของ👉รือ ทรัพย์สินอย่างอื่น เป็นการชําระ👉นี้แทนเงินที่กู้ยืมxxxx 👉นี้อันระงับไป เพราะการชําระxxxxนั้นท่านใ👉้คิดเป็น จํานวนเท่ากับราคาท้องตลาด แ👉่งสิ่งของ 👉รือทรัพย์สินนั้นในเวลาและ ณ สถานที่ส่งมอบ
ความตกลงกันอย่างใด ๆ ขัดกับข้อความดั่งกล่าวมานี้ท่านว่าเป็นโมฆะ”
3. สัญญากู้ยืมเงินจะxxxxxxxxต่อเมื่อส่งมอบเงินที่ยืม
สัญญากู้ยืมเงินจะxxxxxxxxต่อเมื่อมีการส่งมอบเงินที่ยืม ตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 650 วรรคสอง ซึ่งกฎหมายxxxxxxxให้ต้องมีการส่งมอบเงินที่ยืม ให้แก่ฝ่ายผู้กู้ หากสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ให้กู้ไม่มีการส่งมอบเงินให้แก่ผู้กู้ แม้มีการทําสัญญา ระหว่างกันเอาไว้เป็นหนังสือหรือลายลักษณ์xxxxx สัญญาฉบับนั้นก็ไม่xxxxxxx ผู้กู้xxxxxx ยกข้อต่อสู้เรื่องการไม่มีการส่งมอบเงินที่ยืมมาปฏิเสธความรับผิดxxxxxxxxกู้ยืมเงินได้
การส่งมอบเงินที่ยืมอาจแบ่งได้ 2 วิธีการ ได้แก่
(1) การส่งมอบเงินให้แก่กัน คือ การส่งมอบเงินโดยวิธีการส่งมอบถึงมือผู้กู้ โดยตรงหรือผ่านตัวแทนผู้รับมอบอํานาจของผู้กู้
(2) การส่งมอบเงินโดยการแปลงหนี้อย่างอื่นหรือประเภทอื่นมาเป็นหนี้ เงินกู้ คือ จะไม่มีการส่งมอบเงินให้แก่กัน เนื่องจากxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxสองฝ่ายตกลง แปลงหนี้xxxxxxxมีอยู่ระหว่างกันมาเป็นหนี้เงินกู้ โดยมูลหนี้เดิมจะเป็นหนี้อะไรxxxxx xxxx หนี้ซื้อขาย หนี้เช่าซื้อ หรือแม้แต่หนี้ละเมิด เป็นต้น
4. สัญญากู้ยืมเงินเป็นสัญญาไม่มีแบบ
สัญญากู้ยืมเงินเป็นสัญญาไม่มีแบบ กฎหมายxxxxxxบังคับให้ต้องทําตามแบบ แห่งนิติกรรม แต่ในสัญญากู้ยืมเงินบางกรณีกฎหมายต้องการหลักฐานเป็นหนังสือ เพื่อเป็น หลักฐานแห่งการฟ้องร้องบังคับคดี ซึ่งxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653 วรรคแรก xxxxxxxว่า
“การกู้ยืมเงินกว่าสองพันบาทขึ้นไปนั้น ถ้ามิได้มี👉ลักฐานแ👉่งการกู้ยืมเป็น
👉นังสืออย่างใดอย่าง👉นึ่งลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสําคัญ จะฟ้องร้องใ👉้บังคับคดี👉าxxxxxx”
จากบทบัญญัติดังกล่าว มีข้อสังเกตดังนี้
(1) การกู้ยืมเงินที่ต้องการหลักฐานเป็นหนังสือในการฟ้องร้องบังคับคดีนั้น ต้องเป็นการกู้ยืมเงินเกินกว่า 2,000 บาทขึ้นไป ดังนั้น การกู้ยืมเงินเพียง 2,000 บาท พอดี
-4-
หรือต่ํากว่าจึงไม่ต้องการหลักฐานเป็นหนังสือในการฟ้องร้องบังคับคดีแต่อย่างใด
(2) หลักฐานเป็นหนังสือ เป็นเพียงหนังสือที่กฎหมายบังคับให้ต้องมี มิฉะนั้น จะฟ้องร้องบังคับคดีกันxxxxxxเท่านั้น
(3) หลักฐานเป็นหนังสือ ไม่จําเป็นต้องมีในขณะกู้ยืมกัน แม้จะมีหลักฐาน เป็นหนังสือภายหลัง แต่ก่อนฟ้องบังคับคดีก็เป็นอันใช้ได้
ตอนที่ 2 โครงสร้างของสัญญากู้ยืมเงิน
โครงสร้างของสัญญากู้ยืมเงิน xxxxxxแบ่งออกได้ 3 ส่วน คือ
1. ส่วนนํา ได้แก่ ข้อกําหนดของชื่อสัญญา สถานที่ทําสัญญา วันทําสัญญา ชื่อ และที่อยู่ของคู่สัญญาแต่ละฝ่าย
2. ส่วนเนื้อหา เป็นส่วนที่ระบุถึงข้อกําหนดและเงื่อนไขที่คู่สัญญาตกลงกัน xxxx วัตถุประสงค์ของสัญญา ดอกเบี้ย การชําระหนี้ การผิดนัดชําระหนี้ การxxxxxxxxxxxxxx เป็นต้น
3. ส่วนลงท้ายของสัญญา เป็นส่วนที่แสดงxxxxxxรับรู้และเข้าใจของคู่สัญญา ถึงข้อสัญญาต่าง ๆ ว่าถูกต้องตรงกับxxxxxของคู่สัญญาทุกฝ่าย การลงลายมือชื่อของคู่สัญญา หรือตราประทับของคู่สัญญา และการลงลายมือชื่อของพยาน
โดยรายละเอียดของโครงสร้างสัญญาแต่ละส่วน มีดังต่อไปนี้
1. ส่วนนํา
ส่วนนําของสัญญาเป็นส่วนที่แสดงรายละเอียดของชื่อสัญญา สถานที่ทําสัญญา วันทําสัญญา ชื่อและที่อยู่ของคู่สัญญา ดังนี้
1.1 ชื่อสัญญา
ชื่อสัญญาเป็นส่วนที่มีความสําคัญที่จะต้องพิจารณาในเบื้องต้น และมีผล ต่อการตีความสัญญาแต่ละฉบับ โดยบ่งถึงxxxxxในการทําสัญญา เนื้อหาโดยรวม ลักษณะ ของสัญญา และวัตถุประสงค์ในการทําสัญญา ตลอดจนxxxxxและหน้าที่ของสัญญาในแต่ละ ประเภท ดังนั้น ในการกําหนดชื่อสัญญาจะต้องมีความชัดเจน กะทัดรัด และตรงตามเนื้อหา ของสัญญานั้น
ข้อสังเกต เรื่องการตีความสัญญาจากชื่อสัญญา แม้ว่าโดยหลักแล้ว กรณีปรากฏว่าใช้ชื่อสัญญาอย่างหนึ่ง แต่ข้อความในสัญญาไม่สอดคล้องตรงกันแล้ว หากมี กรณีเกิดข้อสงสัยการตีความ หรือบังคับใช้ให้เป็นไปxxxxxxxxต้องพิจารณาจากสาระสําคัญ ของสัญญาหรือเนื้อความในสัญญาเป็นหลักก็ตาม แต่การกําหนดชื่อของสัญญาไม่ตรงกับ เนื้อความหรือวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของสัญญา อาจทําให้เกิดความเข้าใจผิด ซึ่งอาจส่งผล กระทบต่อความสะดวกในการอ้างอิง รวมxxxxxxกําหนดเนื้อหาของสัญญาแต่ละประเภท ที่เกี่ยวกับxxxxxและหน้าที่ของคู่สัญญาให้คลาดเคลื่อนไปจากวัตถุที่xxxxxxxอย่างแท้จริง
1.2 สถานที่ทําสัญญาหรือสถานที่ลงนามในสัญญา
สถานที่ทําสัญญาหรือสถานที่ลงนามในสัญญา โดยหลักแล้วเป็นการแสดง ให้เห็นว่าสัญญานั้นเกิดขึ้นที่ใด ซึ่งสถานที่ทําสัญญาที่กําหนดนี้จะมีผลในทางกฎหมายเมื่อเกิด ข้อพิพาทขึ้นว่าอยู่ในเขตอํานาจของศาลใดในการพิจารณาคดี อีกทั้งยังมีความสําคัญในแง่ การใช้กฎหมายในกรณีเป็นเรื่องกฎหมายขัดกันหรือกรณีเรื่องการติดอากรแสตมป์อีกด้วย
ข้อสังเกต เรื่องการไม่ระบุสถานที่ทําสัญญาไม่มีผลทําให้สัญญาที่ทําขึ้น เสียไปทั้งฉบับ แต่อาจมีผลในประเด็นเกี่ยวกับเขตอํานาจศาลที่จะพิจารณาคดีได้โดยตรง เนื่องจากสถานที่ทําสัญญาเป็นข้อกําหนดตกลงระหว่างคู่สัญญาว่ากรณีเกิดข้อพิพาทและ มีการxxxxxxxxxxxจะต้องบังคับกันxxxxxxxx นอกเหนือจากภูมิลําเนาของจําเลยแล้ว คู่สัญญา จะต้องยื่นฟ้องต่อศาลใด ซึ่งโดยหลักแล้วบุคคลย่อมมีxxxxxเสนอคําฟ้องต่อศาลที่จําเลยxx xxxxลําเนาอยู่ในเขตศาล หรือต่อศาลที่มูลคดีเกิดขึ้นในเขตศาลก็ได้ ตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 4 (1) โดยกรณีนี้ถือได้ว่าสถานที่ทําสัญญาเป็นxxxxxxxxxxมูล คดีเกิดขึ้น คู่สัญญาย่อมมีxxxxxเสนอคําฟ้องคดีต่อศาลที่มีเขตอํานาจเหนือxxxxxxxทําสัญญา อันเป็นxxxxxxxxxxมูลคดีเกิดขึ้นได้ด้วย
1.3 xxxxxxทําสัญญา
การระบุxxxxxxทําสัญญามีความสําคัญในผลทางกฎหมายหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการเริ่มต้นมีxxxxxxxxxxxxระหว่างกัน การนับระยะเวลาxxxxxxxxxxxxxx หรือ การบังคับของสัญญา โดยxxxxxxxxxxทําสัญญาจะเป็นxxxxxxมีการลงนามในสัญญานั้นเพื่อมี ผลบังคับ xxxxxxทําสัญญาจึงเป็นxxxxxxเริ่มต้นนับระยะเวลาต่าง ๆ ที่กําหนดในเนื้อหาของสัญญา ให้คู่สัญญาต้องปฏิบัติต่อกัน
ข้อสังเกต เรื่องการไม่ระบุxxxxxxทําสัญญาจะไม่ทําให้สัญญาที่ทําขึ้น เสียไปทั้งฉบับแต่อย่างใด แต่อาจก่อให้เกิดปัญหาข้อกฎหมายตามมาxxx xxxx จะxxxxxxสัญญา กู้ยืมเงินนั้นเริ่มต้นหรือสิ้นสุดลงเมื่อใด หรือทํานองเดียวกันอาจมีประเด็นว่าอายุความจะ เริ่มต้นหรือสิ้นสุดลงเมื่อใด อย่างไรก็ตามเพื่อเป็นการป้องกันมิให้เกิดปัญหาในการบังคับใช้ สัญญา ควรระบุxxxxxxทําสัญญาแต่ละฉบับให้ชัดเจนทุกครั้ง
1.4 ชื่อและที่อยู่ของคู่สัญญา
โดยทั่วไปแล้วชื่อและที่อยู่ของคู่สัญญาจะปรากฏอยู่ในวรรคแรกหรือ
ส่วนต้นของสัญญา ซึ่งข้อมูลส่วนนี้จะต้องระบุชื่อและที่อยู่ตามกฎหมายของผู้มีอานาจลงนาม
ในสัญญา รวมถึงระบุสถานะที่จะใช้เรียกxxxคู่สัญญาแต่ละฝ่าย เพื่อให้ทราบถึงสถานะ ของคู่สัญญาว่าอยู่ในสถานะใดในสัญญา คือ ผู้กู้หรือผู้ให้กู้ ซึ่งจะระบุสถานะเอาไว้ท้ายชื่อ และxxxxxxอยู่ของคู่สัญญาฝ่ายนั้นเพื่อใช้เรียกxxxคู่สัญญาและเป็นการบ่งบอกxxxxxและหน้าที่ ของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายได้อย่างชัดเจน ซึ่งในการทําสัญญา คู่สัญญาผู้เข้าทําสัญญาจะต้อง เป็นบุคคลตามกฎหมายโดยอาจเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ ซึ่งบุคคลที่จะเป็น คู่สัญญาในการทําสัญญาฉบับหนึ่ง ๆ จะต้องเป็นผู้มีอํานาจกระทําการและมีความxxxxxx ในการทํานิติกรรมตามกฎหมายด้วย กล่าวคือ หากคู่สัญญาเป็นบุคคลธรรมดา บุคคลนั้น
จะต้องเป็นบุคคลผู้มีความxxxxxxในการทํานิติกรรมตามกฎหมาย และหากคู่สัญญาเป็น นิติบุคคล ผู้ที่เข้าเป็นคู่สัญญาและมีอํานาจลงนามในสัญญาได้จะต้องเป็นบุคคลที่มีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคลตามกฎหมายด้วย ในการระบุชื่อคู่สญญาถือเป็นองค์ประกอบที่เป็น
สาระสําคัญประการหนึ่งของสัญญาและเป็นส่วนที่ขาดxxxxxx เนื่องจากเป็นการระบุบุคคล ผู้เข้าทําสัญญาและสร้างxxxxxxxxxxxxให้ผลของสัญญาที่ทําขึ้นนั้นตกอยู่แก่ตนเอง กล่าวคือ เป็นการระบุส่วนที่เป็นสาระสําคัญเพื่อทราบว่าคู่สัญญาเป็นใคร เป็นสัญญาที่ทําขึ้นกําหนด xxxxxxxxxxxxระหว่างบุคคลใดบ้าง หากมีข้อพิพาทเกี่ยวกับการบังคับxxxxxxxx คู่กรณีอีก ฝ่ายหนึ่งจะใช้xxxxxเรียกร้องโดยยื่นฟ้องคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งต่อศาลให้ปฏิบัติxxxxxxxxได้ อย่างถูกต้อง ทํานองเดียวกันกับสถานที่ในการติดต่อและxxxxxxคําxxxxxxxxต่าง ๆ ไม่ว่า จะเป็นคําxxxxxxxxกรณีผิดนัดชําระหนี้หรือผิดสัญญา รวมทั้งเป็นสิ่งที่วินิจฉัยถึงเขตอํานาจ ของศาลเมื่อเกิดข้อพิพาทกรณีที่ต้องฟ้องคดีต่อศาลที่จําเลยxxxxxxลําเนาอยู่ในเขตอํานาจ ศาลอีกด้วย
ข้อสังเกต เรื่องชื่อและที่อยู่ของคู่สัญญาในกรณีที่คู่สัญญาเป็นบุคคล ธรรมดาจะต้องมีการระบุชื่อนามสกุล ฐานะของคู่สัญญา อายุ เลขที่บัตรประจําตัวประชาชน และที่อยู่ของคู่สัญญาให้ถูกต้องชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบสถานะของคู่สัญญา เป็นบุคคลตามทะเบียนราษฎรจริง รวมถึงความxxxxxxในการทําสัญญาตามกฎหมาย และ ภูมิลําเนาของคู่สัญญา ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในแง่ของการส่งคําxxxxxxxx การส่งหมายบังคับคดี หรือบ่งบอกถึงเขตอํานาจศาลในกรณีที่ต้องฟ้องคดีที่ภูมิลําเนาของคู่สัญญาด้วย แต่หาก คู่สัญญาเป็นนิติบุคคล ผู้ที่จะเข้าเป็นxxxxxxxxxxxต้องเป็นบุคคลที่มีอํานาจกระทําการแทน นิติบุคคลนั้นตามกฎหมาย ซึ่งอาจตรวจสอบได้จากหนังสือรับรองการจดทะเบียนจัดตั้ง หุ้นส่วนบริษัท หรือข้อบังคับของบริษัท ดังนั้น สัญญาที่ทําขึ้นจะต้องมีการระบุรายละเอียด เกี่ยวกับหนังสือรับรองการจดทะเบียนจัดตั้งหุ้นส่วนบริษัท หรือข้อบังคับของบริษัทลงไว้ ในสัญญาที่ทําขึ้นด้วย เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบและเนื่องจากไม่มีข้อจํากัดว่าในการทํา สัญญาหรือการลงนามในสัญญา บุคคลซึ่งจะเข้าทําสัญญาต้องกระทํานั้นด้วยตนเอง จึงอาจมี การมอบอํานาจให้บุคคลอื่นกระทําการหรือลงนามในสัญญาแทนตัวการซึ่งเป็นxxxxxxxxxxx แท้จริงได้ ดังนั้นหากมีกรณีที่xxxxxxxxxxxxที่เป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลโดยผู้มีอํานาจ
กระทําการแทนนิติบุคคลตามกฎหมายนั้นมอบอํานาจให้บุคคลอื่นกระทําการแทน จะต้อง ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับบุคคลที่รับมอบอํานาจให้กระทําการให้ถูกต้องและชัดเจน รวมถึง ต้องระบุอ้างอิงหนังสือมอบอํานาจให้กระทําการไว้ในสัญญาด้วย คู่สัญญาต้องตรวจสอบ รายละเอียดเกี่ยวกับตัวผู้มอบอํานาจ ตัวผู้รับมอบอํานาจ ขอบเขตในการมอบอํานาจให้ กระทําการแทน การติดอากรแสตมป์ เป็นต้น
2. ส่วนเนื้อหา
ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์ มาตรา 653 วรรคแรก กําหนดให้ การกู้ยืมเงินเกินกว่าสองพันบาทขึ้นไปต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ เป็นเพียงหนังสือที่กฎหมาย บังคับให้ต้องมี มิฉะนั้นจะฟ้องร้องบังคับคดีกันxxxxxxเท่านั้น ซึ่งไม่มีคํานิยามหรือความหมาย ในลักษณะเคร่งครัด เพียงแต่ให้ความสําคัญกับการทําสัญญากู้ยืมเงินในรูปแบบลายลักษณ์ xxxxxและมีข้อความหรือถ้อยคําแสดงให้เห็นว่ามีการกู้ยืมเงินกันก็เพียงพอ ซึ่งส่วนเนื้อหา เป็นส่วนที่ระบุถึงข้อกําหนดและเงื่อนไขที่คู่สัญญาตกลงกัน ได้แก่ วัตถุประสงค์ของสัญญา ดอกเบี้ย การชําระหนี้ การผิดนัดชําระหนี้ โดยมีรายละเอียดดังนี้
2.1 วัตถุประสงค์ของสัญญา
เนื่องจากสัญญากู้ยืมเงินเป็นสัญญาทางแพ่งประเภทหนึ่ง วัตถุประสงค์ ของการทําสัญญากู้ยืมเงินจึงต้องภายใต้บังคับแห่งหลักการแสดงxxxxxตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ กล่าวคือ การแสดงxxxxxระหว่างคู่สัญญาในการทําสัญญากู้ยืมเงินจะต้อง ไม่มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งด้วยกฎหมาย เป็นการxxxxxxxx หรือขัดต่อความสงบ เรียบร้อยและศีลธรรมxxxxxของประชาชน อันจะมีผลทําให้นิติกรรมหรือสัญญานั้นเป็นโมฆะ ตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 150 ซึ่งการพิจารณาต้องดูจากxxxxxหรือ วัตถุประสงค์ของคู่สัญญาว่า มีกฎหมายห้ามไว้หรือไม่ เป็นการxxxxxxxxหรือไม่ หรือเป็นการขัด ต่อความสงเรียบร้อยและศีลธรรมxxxxxของประชาชนหรือไม่ ตัวอย่างxxxx xxxxxxตกลงทํา สัญญากู้ยืมเงินจากนายดํา โดยนายดําทราบอยู่แล้วว่าxxxxxxจะนําเงินดังกล่าวไปลงทุน เกี่ยวกับการรับพนันทายผลฟุตบอลโลก ซึ่งเป็นการต้องห้ามชัดแจ้งด้วยกฎหมาย เป็นต้น
ข้อสังเกต หากในขณะที่มีการกู้ยืมเงินหรือขณะทําสัญญากู้ยืมเงิน ผู้ให้xxx xxxทราบxxxxxหรือวัตถุประสงค์ของผู้กู้ว่าจะนําเงินกู้ดังกล่าวไปใช้ในเรื่องขัดต่อกฎหมาย สัญญากู้ย่อมxxxxxxx ผู้กู้จะยกข้อกล่าวอ้างในการนําเงินไปใช้ขัดต่อกฎหมายขึ้นต่อสู้ไม่ต้อง รับผิดxxxxxx
2.2 ดอกเบี้ย
การตอบแทนการให้กู้ยืมเงินที่เรียกว่า “ดอกเบี้ย” ไม่ใช่สาระสําคัญ ของการกู้ยืมเงิน ผู้กู้และผู้ให้กู้อาจตกลงกันคิดดอกเบี้ยหรือxxxxxxxx แต่หากมีการคิดดอกเบี้ย ต่อกันต้องเป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมาย การกําหนดอัตราดอกเบี้ยไว้ในสัญญากู้ยืมเงิน และการฟ้องร้องเรียกค่าดอกเบี้ยคืนจะต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ของกฎหมาย ซึ่งปัญหา เกี่ยวกับการคิดดอกเบี้ยเงินกู้ยืมมักจะเกิดขึ้นบ่อยครั้งในกรณีที่มีการกู้ยืมเงินระหว่างบุคคล ธรรมดา เนื่องจากการไม่รู้กฎหมายหรือรู้แต่xxxxxxxxxxxxxxxx รวมถึงอาจxxxxxxxxxxx ในการระบุอัตราดอกเบี้ยเกินกว่าที่กฎหมายกําหนด
ข้อพิจารณาเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ย แบ่งได้เป็น 3 ส่วน ดังนี้
2.2.1 อัตราดอกเบี้ยตามกฎหมาย การคิดดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระหว่าง บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลทั่วไปนั้น ตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 654 กําหนดห้ามมิให้คิดดอกเบี้ยเกินอัตราร้อยละสิบห้าต่อปี ถ้าในสัญญากําหนดดอกเบี้ยเกิน กว่านั้น ก็ให้ลดลงมาเป็นอัตราร้อยละสิบห้าต่อปี ซึ่งแตกต่างกับกรณีที่เป็นการกู้ยืมเงินจาก สถาบันทางการเงินหรือผู้ประกอบธุรกิจที่ไม่ใช่สถาบันทางการเงินแต่อยู่ภายใต้การกํากับ ของธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งมีxxxxxเรียกดอกเบี้ยได้เกินกว่าอัตราร้อยละสิบห้าต่อปี
ตัวอย่างxxxx สัญญาบัตรเครดิต ผู้ให้บริการxxxxxxเรียกดอกเบี้ย ค่าปรับ ค่าธรรมเนียม และค่าบริการ รวมกันแล้วไม่เกินอัตราร้อยละสิบแปดถึงยี่สิบต่อปี สัญญา สินเชื่อเงินสด รวมกันแล้วไม่เกินอัตราร้อยละยี่สิบแปดต่อปี ตามที่ธนาคารแห่งประเทศไทย กําหนดหลักเกณฑ์ไว้
อัตราดอกเบี้ยตามกฎหมาย แบ่งxxxxxxxxxxดังนี้
2.2.1.1 ไม่มีข้อตกลงเรื่องให้คิดดอกเบี้ย คือ กรณีที่มีการกู้ยืม เงินกัน แต่xxxxxxxxxxxได้ระบุหรือไม่มีข้อตกลงเรื่องการคิดดอกเบี้ยระหว่างกันไว้ในสัญญา กู้ยืมเงิน ตัวอย่างxxxx xxxxxxตกลงกู้ยืมเงินจากนายดําจํานวน 10,000 บาท โดยนายดํา ตกลงที่จะไม่คิดดอกเบี้ยกับxxxxxx กรณีการกู้ยืมเงินดังกล่าวจึงไม่มีการกําหนดเรื่องการคิด ดอกเบี้ยไว้ในสัญญา เป็นต้น
ข้อสังเกต ผู้ให้กู้ไม่มีxxxxxเรียกดอกเบี้ยในระหว่างที่สัญญามีผล นับตั้งแต่xxxxxxทําสัญญาไปจนวันครบกําหนดชําระคืน แต่จะxxxxxxเรียกดอกเบี้ยจากผู้กู้ ได้หากผู้กู้ผิดนัดชําระคืน โดยมีxxxxxคิดดอกเบี้ยจากการผิดนัดชําระคืนได้ในอัตราร้อยละ เจ็ดครึ่งต่อปีนับตั้งแต่xxxxxxครบกําหนดชําระและผู้xxxxxxชําระเงินคืน ซึ่งประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 224 xxxxxxxว่า
“👉นี้เงินนั้น ท่านใ👉้คิดดอกเบี้ยในระ👉ว่างเวลาxxxxxxxxxxละเจ็ดกึ่ง
ต่อปี ถ้าเจ้า👉นี้อาจจะเรียกดอกเบี้ยได้สูงกว่านั้นโดยอาศัยเ👉ตุอย่างอื่นอันชอบด้วยกฎ👉xxx xxใ👉xxxส่งดอกเบี้ยต่อไปตามนั้น
ท่าน👉้ามมิใ👉้คิดดอกเบี้ยซ้อนดอกเบี้ยในระ👉ว่างผิดนัด การพิสูจน์ค่าเสีย👉ายอย่างอื่นนอกนั้น ท่านอนุญาตใ👉้พิสูจน์ได้” จากตัวอย่างข้างต้น สัญญากู้ยืมเงินระหว่างxxxxxxและนายดํา
ระบุว่า xxxxxxจะต้องชําระเงินกู้จํานวน 10,000 บาท ภายในวันที่ 1 กันยายน 2560
ต่อมาเมื่อครบกําหนดเวลานายแดงผิดนัดไม่นําเงินมาชําระคืน ดังนี้ นายดํามีสิทธิเรียกดอกเบี้ย ฐานผิดนัดในอัตราร้อยละเจ็ดกึ่งต่อปี นับตั้งแต่วันที่ 2 เมษายน 2560 เป็นต้นไปจนกว่า จะมีการชําระหนี้คืนจนครบ
2.2.1.2 ข้อตกลงให้คิดดอกเบี้ย แต่ไม่ได้กําหนดอัตราดอกเบี้ยไว้
คือ กรณีของการกู้ยืมเงินที่คู่สญญามีข้อตกลงให้คิดดอกเบี้ยระหว่างกัน แต่ไม่มีกําหนดอัตรา
ดอกเบี้ยไว้ในสัญญา ตัวอย่างเช่น นายแดงตกลงกู้ยืมเงินจากนายดําจํานวน 10,000 บาท โดยนายแดงกับนายดําตกลงที่จะคิดและยินยอมเสียดอกเบี้ยระหว่างกัน แต่ไม่ได้ระบุหรือ กําหนดอัตราดอกเบี้ยไว้ในสัญญา
ข้อสังเกต ผู้ให้กู้มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยในระหว่างที่สัญญามีผล นับแต่วันที่ทําสัญญาไปจนถึงวันที่มีการชําระเงินคืนจนครบ โดยคิดดอกเบี้ยได้ในอัตราร้อยละ เจ็ดครึ่งต่อปี ซึ่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 224 บัญญัติว่า
“ถ้าจะต้องเสียดอกเบี้ยแก่กันและมิได้กํา👉นดอัตราดอกเบี้ยไว้ โดยนิติกรรม👉รือโดยบทกฎ👉มายอันชัดแจ้ง ใ👉้ใช้อัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี”
จากตัวอย่างข้างต้น นายดํามีสิทธิเรียกดอกเบี้ยจากนายแดงได้ อัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี จากเงินต้นจํานวน 10,000 บาท นับแต่วันทําสัญญาเป็นต้นไป จนกว่านายแดงจะนําเงินมาชําระคืนจนครบ โดยไม่ต้องคํานึงว่านายแดงจะผิดนัดชําระหนี้ หรือไม่ เพราะแม้จะผิดนัดชําระ นายแดงก็ต้องรับผิดในค่าดอกเบี้ยอัตราร้อยละเจ็ดกึ่งต่อปี เช่นเดียวกัน
2.2.2 อัตราดอกเบี้ยขัดต่อกฎหมาย การคิดดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระหว่าง บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลทั่วไปสามารถเรียกได้เพียงไม่เกินร้อยละสิบห้าต่อปีเท่านั้น หากมี การคิดเกินกว่าอัตรานี้ ถือว่าเป็นการคิดดอกเบี้ยเกินกว่ากฎหมายกําหนดและขัดต่อกฎหมาย มีผลทําให้ดอกเบี้ยที่เรียกกันเป็นโมฆะ เสียไปทั้งหมด แม้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 654 บัญญัติว่า
“ท่าน👉้ามมิใ👉้คิดดอกเบี้ยเกินร้อยละสิบ👉้าต่อปี ถ้าในสัญญากํา👉นด ดอกเบี้ยเกินกว่านั้น ก็ใ👉้ลดลงมาเป็นร้อยละสิบ👉้าต่อปี”
แต่การเรียกดอกเบี้ยเกินกว่าอัตราร้อยละสิบห้าต่อปี กฎหมายกําหนดให้ ผู้เรียกมีความผิดฐานเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา ตามพระราชบัญญัติห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา พ.ศ. 2560 ดังนี้ การเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราจึงเป็นการกระทําที่ขัดต่อกฎหมาย เป็นความผิด และมีโทษทางอาญา ข้อกําหนดเกี่ยวกับดอกเบี้ยจึงตกเป็นโมฆะเสียไปทั้งหมด ไม่ใช่ลดลงมา เป็นอัตราร้อยละสิบห้าต่อปีตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 654 ตัวอย่างเช่น นายแดงตกลง กู้ยืมเงินจากนายดําจํานวน 10,000 บาท โดยตกลงดอกเบี้ยที่อัตราร้อยละสองต่อเดือน (ซึ่งคิดเป็นอัตราร้อยละยี่สิบสี่ต่อปี) ดังนี้ ข้อตกลงเรื่องดอกเบี้ยจึงเป็นโมฆะเท่ากับเป็น การกู้ยืมเงินที่ไม่มีข้อตกลงให้คิดดอกเบี้ยระหว่างกัน นายดําจะมาอ้างว่ามีสิทธิลดอัตรา ดอกเบี้ยลงมาและเรียกได้ในอัตราร้อยละสิบห้าต่อปีไม่ได้
นอกจากนี้ ในกรณีที่ผู้ให้กู้เรียกดอกเบี้ยเกินอัตรากว่าร้อยละสิบห้าต่อปี แต่เป็นการคํานวณรวมไว้กับหนี้เงินต้น แล้วระบุลงไปในสัญญากู้ยืมหรือมีการหักดอกเบี้ย ออกจากเงินต้น แต่ระบุเงินต้นเต็มในสัญญา จะมีผลทําให้ข้อตกลงเรื่องดอกเบี้ยเป็นโมฆะ เท่ากับเป็นการกู้ยืมเงินที่ไม่มีข้อตกลงให้คิดดอกเบี้ยระหว่างกัน ตัวอย่างเช่น นายแดงตกลง กู้ยืมเงินจากนายดําจํานวน 10,000 บาท โดยตกลงดอกเบี้ยที่อัตราร้อยละสองต่อเดือน มีกําหนดชําระคืนภายในหนึ่งปี (สามารถคํานวณค่าดอกเบี้ยได้ปีละ 2,400 บาท) นายดํา ได้ระบุจํานวนเงินกู้ลงในสัญญาว่า นายแดงทําสัญญากู้ยืมเงินไปจํานวน 12,400 บาท ซึ่งในความเป็นจริงนายแดงได้รับเงินไปเพียง 10,000 บาทเท่านั้น หรือในทางกลับกัน นายดําได้ส่งมอบเงินกู้ให้แก่นายแดงเพียง 7,600 บาท เพราะนําค่าดอกเบี้ยไปหักออก
จากเงินต้นตามสัญญาก่อน ดังนี้ ถือได้ว่าเป็นการเรียกดอกเบี้ยเกินกว่ากฎหมายกําหนด ข้อตกลงในส่วนที่เป็นเรื่องดอกเบี้ยจึงเป็นโมฆะ
ข้อสังเกต แม้การเรียกดอกเบี้ยเกินอัตราจะขัดต่อกฎหมายและทําให้ การเรียกดอกเบี้ยเป็นโมฆะ แต่จะไม่กระทบถึงมูลหนี้ในส่วนเงินต้น เพราะสามารถแยก ความสมบูรณ์ออกจากกันได้ กล่าวคือ ผู้กู้ยังคงต้องมีความรับผิดชําระหนี้เงินต้นคืนแก่ผู้ให้กู้ การคิดดอกเบี้ยเกินอัตราหรือขัดต่อกฎหมาย ซึ่งมีผลเท่ากับว่าไม่มีการตกลงเรื่องดอกเบี้ย
ระหว่างกันไว้ ผู้ให้กู้จึงไม่มีสิทธิเรียกดอกเบี้ยในระหว่างที่สญญามีผลนับตั้งแต่วันที่ทําสัญญา
ไปจนถึงวันครบกําหนดชําระคืน แต่ผู้ให้กู้จะสามารถเรียกดอกเบี้ยจากผู้กู้ได้หากผู้กู้ผิดนัด ชําระคืน โดยมีสิทธิคิดเพียงอัตราร้อยละเจ็ดกึ่งต่อปีนับแต่วันที่ครบกําหนดชําระและผู้กู้ ไม่ชําระเงินคืน หรือนับตั้งแต่วันผิดนัดนัดชําระคืนเป็นต้นไป ตัวอย่างเช่น นายแดงตกลง กู้ยืมเงินจากนายดําจํานวน 10,000 บาท โดยตกลงดอกเบี้ยอัตราร้อยละสองต่อเดือน มีกําหนดชําระเงินคืนภายใน ภายในวันที่ 1 กันยายน 2560 ข้อตกลงเรื่องดอกเบี้ยอัตรา ร้อยละสองต่อเดือนเป็นโมฆะ นายดําไม่อาจเรียกให้นายแดงชําระดอกเบี้ยนับแต่วันที่ทํา สัญญาได้ แต่หากนายแดงผิดนัดไม่ชําระเงินคืนภายในวันที่ 1 กันยายน 2560 นายดํามี สิทธิเรียกร้องให้นายแดงคืนเงินต้นจํานวน 10,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละเจ็ดกึ่ง ต่อปี นับแต่วันที่ 2 กันยายน 2560 ไปจนกว่าจะครบ
อย่างไรก็ดี แม้ว่าการกู้ยืมเงินที่ผู้ให้กู้เรียกดอกเบี้ยในอัตราเกินกว่าร้อยละ สิบห้าต่อปี จะเป็นการขัดต่อกฎหมายและเป็นโมฆะ ทําให้นํามากล่าวอ้างฟ้องร้องบังคับ ไม่ได้ก็ตาม แต่ถ้าผู้กู้ชําระดอกเบี้ยเกินอัตราไปแล้วก็ไม่มีสิทธิเรียกคืน ถือว่าเป็นการชําระหนี้ ตามอําเภอใจและสมัครใจชําระไปเอง และก็ไม่มีสิทธิเรียกร้องให้นําเงินดอกเบี้ยที่ชําระไป มาหักชําระหนี้เงินต้นได้อีกด้วย
2.2.3 ดอกเบี้ยทบต้น หมายถึง การนําดอกเบี้ยที่ค้างชําระอยู่มาบวก รวมเข้ากับยอดหนี้เงินต้น จากนั้นจึงคิดดอกเบี้ยจากยอดเงินที่บวกได้ใหม่ดังกล่าวในฐาน ที่เป็นเงินต้น ตัวอย่างเช่น นายแดงตกลงกู้ยืมเงินจากนายดําจํานวน 10,000 บาท มีกําหนด เวลาหนึ่งปี ตกลงดอกเบี้ยอัตราร้อยละสิบห้าต่อปี ครบกําหนดเวลากู้จะคิดเป็นค่าดอกเบี้ย 1,500 บาท หากสัญญากู้ไม่มีข้อตกลงให้คิดดอกเบี้ยทบต้น การคิดดอกเบี้ยในปีถัดไป จะต้องคิดจากเงินต้น 10,000 บาท แต่หากมีข้อตกลงเป็นหนังสือระหว่างคู่สัญญาให้คิด ดอกเบี้ยทบต้นได้ เช่นนี้ การคิดดอกเบี้ยในปีถัดไปก็ให้นําเงินต้น 10,000 บาท บวกกับ ดอกเบี้ยค้างชําระ 1,500 บาท รวมเป็นเงิน 15,000 บาท เป็นฐานเงินต้นใหม่ ในการ คํานวณดอกเบี้ยอัตราร้อยละสิบห้าต่อปี ดังนั้น ในปีที่สองจะคิดเป็นค่าดอกเบี้ย 2,250 บาท จะเห็นได้ว่า การคิดดอกเบี้ยทบต้น มีผลทําให้ผู้ให้กู้ได้รับผลประโยชน์จากการให้กู้ยืมเงิน มากกว่าการคิดดอกเบี้ยแบบปกติธรรมดา แต่สิทธิในการคิดจะต้องมีข้อตกลงกันเอาไว้ตั้งแต่ ขณะทําสัญญา เนื่องจากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 655 วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า
“ท่าน👉้ามมิใ👉้คิดดอกเบี้ยในดอกเบี้ยที่ค้างชําระ แต่ทว่าเมื่อดอกเบี้ย ค้างชําระไม่น้อยกว่าปี👉นึ่ง คู่สัญญากู้ยืมจะตกลงกันใ👉้เอาดอกเบี้ยนั้นทบเข้ากับต้นเงิน แล้วใ👉้คิดดอกเบี้ยในจํานวนเงินที่ทบเข้ากันนั้นก็ได้ แต่การตกลงเช่นนั้นต้องทําเป็น👉นังสือ”
หลักเกณฑ์การคิดดอกเบี้ยทบต้น สามารถแบ่งได้ดังนี้
2.2.3.1 การตกลงต้องทําเป็นหนังสือ
2.2.3.2 จะนําดอกเบี้ยที่ค้างชําระน้อยกว่าหนึ่งปีมาทบเข้ากับ เงินต้นแล้วคิดดอกเบี้ยไม่ได้
2.2.3.3 การคิดดอกเบี้ยทบต้นโดยไม่มีข้อตกลงเป็นหนังสือ ถือว่าดอกเบี้ยทั้งหมดตกเป็นโมฆะ แต่จะไม่กระทบกับสัญญาส่วนที่สมบูรณ์ คือ หนี้เงินต้น และผู้ให้กู้ก็ยังมีสิทธิเรียกดอกเบี้ยในฐานลูกหนี้ผิดนัดได้ในอัตราร้อยละเจ็ดกึ่งต่อปี
2.2.3.4 ถ้าผู้กู้ชําระดอกเบี้ยทบต้นให้ผู้ให้กู้ไปแล้ว ผู้กู้ไม่มีสิทธิ เรียกเงินดอกเบี้ยคืน เพราะเป็นการชําระหนี้ตามอําเภอใจหรือสมัครใจ
2.3 การชําระหนี้
การชําระหนี้ตามสัญญากู้ยืมคืนแก่ผู้ให้กู้ ถือเป็นวัตถุประสงค์หลักของ การกู้ยืมเงิน ลักษณะของการใช้เงินสามารถแบ่งพิจารณาได้ 3 ลักษณะ คือ
2.3.1 การชําระหนี้คืนด้วยเงิน หมายถึง การใช้เงินหรือการชําระหนี้ เงินกู้ยืมด้วยการนําเงินไปชําระ ซึ่งการกู้ยืมเงินที่ใหลักฐานเป็นหนังสือนั้น มีบทบัญญัติ กฎหมายบังคับไว้เป็นพิเศษว่า ผู้กู้จะนําสืบการใช้เงินได้เฉพาะเท่าที่บัญญัติไว้ในมาตรา 653 วรรคสอง แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เท่านั้น กล่าวคือ ในการกู้ยืมเงินที่มีหลักฐาน เป็นหนังสือจะนําสืบการใช้เงินได้ต่อเมื่อมีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่ง ลงลายมือชื่อ ผู้ให้กู้มาแสดง หรือเอกสารอันเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมเงินนั้นได้เวนคืนแล้ว หรือได้มีการแทง เพิกถอนลงในเอกสารนั้นแล้ว หากผู้กู้ไม่มีหลักฐานดังกล่าวข้างต้นก็ไม่มีสิทธิจะนําพยานบุคคล เข้าสืบเพื่อแสดงให้เห็นว่ามีการชําระหนี้เงินต้นแล้ว เพราะขัดต่อสิ่งที่กฎหมายกําหนด เมื่อไม่มี หลักฐานการใช้เงินมาแสดง ผู้กู้ต้องแพ้คดีและต้องชําระเงินต้นคืนให้แก่ผู้ให้กู้ตามที่มีการ ฟ้องร้องคดีกันอีกครั้งหนึ่ง ดังนั้น จึงเป็นเรื่องที่สําคัญอย่างมากที่ผู้กู้ควรจะใส่ใจและใช้ความ ระมัดระวังในขณะที่มีการนําเงินไปชําระหนี้คืน กล่าวคือ ผู้กู้ควรต้องขอให้ผู้ให้กู้ออกหลักฐาน เป็นหนังสือแสดงการรับชําระหนี้ หรือใบเสร็จรับเงิน หรือต้องขอคืนต้นฉบับสัญญากู้ หรือ ขอให้ผู้กู้แทงเพิกถอนสัญญากู้ที่เก็บไว้ หากผู้ให้กู้ปฏิเสธไม่ยอมออกหรือทําหลักฐานดังกล่าว ผู้กู้ก็ไม่ควรยอมที่จะชําระเงินคืน
2.3.2 การชําระหนี้คืนด้วยวิธีอื่น หมายถึง การชําระหนี้กู้ยืมในส่วน ของเงินต้นด้วยวิธีการอย่างอื่น นอกจากการนําเงินไปชําระ ได้แก่ การโอนเงินเข้าบัญชี ธนาคาร การมอบบัตรเอทีเอ็มให้แก่ผู้ให้กู้นําไปเบิกถอน การออกเช็คเพื่อชําระหนี้และ การโอนทรัพย์สินตีราคาใช้หนี้ เป็นต้น การชําระหนี้ด้วยวิธีอื่นนี้ ไม่อยู่ในบังคับตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653 วรรคสอง กล่าวคือ ผู้กู้มีสิทธิจะนําสืบการชําระหนี้ได้ แม้จะไม่มีหลักฐานเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อผู้ให้ยืม หรือ ไม่มีเอกสาร อันเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืมนั้นได้เวนคืนแล้ว หรือไม่มีการแทงเพิกถอนลงในเอกสารก็ตาม
2.3.3 การชําระดอกเบี้ย เนื่องจากการชําระเงินที่ต้องมีหลักฐานเป็น หนังสือลงลายมือชื่อผู้ให้กู้มาแสดง หรือมีการเวนคืนเอกสารอันเป็นหลักฐานแห่งการกู้ยืม หรือแทงเพิกถอนในเอกสาร ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 653 วรรคสอง หมายถึง การนําสืบถึงการชําระเงินต้นเท่านั้น ไม่รวมถึงการชําระดอกเบี้ยด้วย ดังนี้ การนําสืบ ถึงการชําระดอกเบี้ยผู้กู้มีสิทธินําพยานบุคคลหรือพยานเอกสารอื่น ๆ มาสืบถึงจํานวนดอกเบี้ย ที่ชําระไปแล้วได้
2.4 การผิดนัดชําระหนี้
การชําระหนี้ตามสัญญากู้ยืมเงินถือเป็นองค์ประกอบและวัตถุประสงค์ ที่สําคัญอย่างหนึ่งของการกู้ยืมเงิน และยังถือเป็นหน้าที่หลักของผู้กู้อีกด้วย หากผู้กู้ไม่คืนเงิน หรือไม่ชําระหนี้คืนย่อมตกเป็นผู้ผิดนัด แต่การจะพิจารณาว่าผู้กู้ผิดนัดแล้วหรือไม่นั้น ต้องดูว่า ผู้กู้มีหน้าที่ต้องชําระหนี้หรือคืนเงิน ณ เวลาใด ซึ่งต้องอาศัยข้อตกลงที่กําหนดไว้ในสัญญา เป็นหลัก ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.4.1 สัญญากู้มีกําหนดเวลาชําระคืน หมายถึง ผู้กู้และผู้ให้กู้ตกลงกัน ไว้ในสัญญากู้ชัดเจนว่าผู้กู้จะต้องชําระเงินคืน ณ วันเดือนปีที่เท่าใด หรือภายในวันเดือนปี ที่เท่าใด หรือมีกําหนดเวลาคืนเงินกี่วัน กี่เดือน หรือกี่ปี ตัวอย่างเช่น เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2560 นายแดงตกลงกู้ยืมเงินจากนายดําจํานวน 10,000 บาท ตกลงดอกเบี้ยที่อัตราร้อยละ สิบห้าต่อปี มีกําหนดชําระเงินต้นและดอกเบี้ยคืนภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2561 ดังนี้ เมื่อครบกําหนดในวันที่ 31 สิงหาคม 2561 แล้ว นายแดงไม่นําเงินมาชําระคืน ถือได้ว่า นายแดงผิดนัดชําระหนี้ทันที นายดําไม่จําต้องบอกกล่าว ทวงถาม หรือแจ้งเตือนให้ชําระหนี้อีก โดยถือว่านายแดงเริ่มผิดนัดในวันที่ 1 กันยายน 2561 และถือเป็นวันเริ่มต้นที่นายดําสามารถ ใช้สิทธิเรียกร้องในการนําคดีมาฟ้องบังคับให้มีการชําระเงินคืน อันเป็นวันเริ่มต้นนับอายุความ การฟ้องคดี
2.4.2 สัญญากู้ไม่มีกําหนดเวลาชําระคืน หมายถึง ผู้กู้และผู้ให้กู้ไม่ได้ ตกลงกันไว้ในสัญญากู้ว่า ผู้กู้จะต้องชําระเงินคืน ณ วันเดือนปีที่เท่าใด หรือภายในวันเดือน
ปีที่เท่าใด ซึ่งจะมีผลทําให้ไม่อาจทราบได้ว่าผู้กู้จะต้องคืนเงินยืมเมื่อใด ดังนั้น กฎหมาย จึงกําหนดให้เป็นหน้าที่ของผู้ให้กู้ในการที่จะต้องบอกกล่าวทวงถามแก่ผู้กู้ให้คืนเงินภายใน เวลาอันสมควร โดยต้องกําหนดระยะเวลาพอสมควร เพื่อให้ผู้กู้ปฏิบัติการชําระภายใน เวลาดังกล่าว ซึ่งเมื่อครบกําหนดแล้วหากผู้กู้ไม่ชําระ จึงจะถือว่าเป็นผู้ผิดนัดนับตั้งแต่วันนั้น เป็นต้นไป ตัวอย่างเช่น เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2560 นายแดงตกลงกู้ยืมเงินจากนายดํา จํานวน 10,000 บาท ตกลงดอกเบี้ยที่อัตราร้อยละสิบห้าต่อปี แต่ไม่มีข้อตกลงเกี่ยวกับ กําหนดเวลาชําระเงินต้นและดอกเบี้ยเอาไว้ ดังนี้ นายดํามีสิทธิเรียกร้องให้นายแดงคืนเงิน ที่ยืมไปได้ทันทีด้วยการบอกกล่าวทวงถามไปยังนายแดง และกําหนดระยะเวลาพอสมควร ให้คืนเงินภายในเวลานั้น หากครบกําหนดแล้วไม่มีการชําระคืน ถือว่านายแดงผิดนัดชําระหนี้ และถือเป็นวันเริ่มต้นที่นายดําสามารถใช้สิทธิเรียกร้องในการนําคดีมาฟ้องบังคับให้มีการ ชําระเงินคืน อันเป็นวันเริ่มต้นนับอายุความการฟ้องคดี เป็นต้น นอกจากนี้ ในกรณีที่สัญญา กู้ยืมเงินไม่ได้กําหนดเวลาชําระหนี้ไว้ ผู้ให้กู้ก็อาจใช้การยื่นฟ้องคดีต่อศาลเป็นการบอกกล่าว ทวงถามได้เพื่อเรียกร้องให้ชําระหนี้คืน และถือว่าผู้กู้ผิดนัดในวันที่มีการฟ้องคดีนั่นเอง
3. ส่วนลงท้ายของสัญญา
ส่วนลงท้ายของสัญญาเป็นส่วนที่แสดงถึงการรับรู้และเข้าใจของคู่สัญญาถึง ข้อสัญญาต่าง ๆ ว่าถูกต้องตรงกับเจตนาของคู่สัญญาทุกฝ่าย การลงลายมือชื่อของคู่สัญญา หรือตราประทับของคู่สัญญา และการลงลายมือชื่อของพยาน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
3.1 ข้อความส่วนท้ายของสัญญา
เมื่อคู่สัญญาได้กําหนดเนื้อหา ซึ่งมีสาระสําคัญตามที่ได้ตกลงกันแล้ว ในส่วนท้ายของสัญญาก็จะระบุเป็นการปิดท้ายสัญญาให้ทราบว่า สัญญาที่ได้ทํากันนั้นได้ ทําไว้กี่ฉบับ ซึ่งถ้ามีคู่สัญญาสองฝ่าย คู่สัญญาก็จะยึดถือไว้เป็นหลักฐานฝ่ายละฉบับ ซึ่งมี ข้อความถูกต้องตรงกัน พร้อมกันนั้นก็จะระบุข้อความเป็นการยืนยันว่า คู่สัญญาได้ทําสัญญา ด้วยใจสมัครมิได้ถูกบังคับหลอกลวงและมีเจตนาที่จะผูกพันกันตามกฎหมาย โดยมีข้อความ ที่แสดงว่า คู่สัญญาได้อ่านและเข้าใจข้อความในสัญญาดีแล้วหรือโดยตลอดแล้ว จึงได้ลงลายมือ ชื่อไว้เป็นหลักฐานต่อหน้าพยาน
3.2 ลายมือชื่อคู่สัญญา
แม้ว่าในสัญญาจะมีการระบุชื่อคู่สัญญาไว้ในส่วนแรกของสัญญาก็ตาม แต่ถ้าคู่สัญญามิได้ลงลายมือชื่อในสัญญาด้วยแล้ว สัญญานั้นจะไม่มีผลบังคับได้ตามกฎหมาย เพราะตามหลักเหตุผลเพียงแต่มีข้อความของสัญญาเท่านั้น ผู้หนึ่งผู้ใดย่อมเขียนหรือทําขึ้นเองได้ โดยที่ผู้ถูกอ้างว่าเป็นคู่สัญญาอาจไม่มีส่วนรู้เห็นหรือตกลงด้วย ดังนั้น การลงลายมือชื่อในสัญญา จึงเป็นส่วนที่สําคัญมาก เพราะเป็นการแสดงให้เห็นว่า คู่สัญญาซึ่งได้ตกลงทําสัญญากันแล้วนั้น ผูกพันกันตามกฎหมายทุกประการ
3.3 พยานในการทําสัญญา
แม้กฎหมายจะมิได้บังคับให้การทําสัญญาโดยทั่วไปจะต้องมีพยานในการ ทําสัญญาก็ตาม แต่การมีพยานรับรู้และรับรองการทําสัญญา ก็จะทําให้มีความน่าเชื่อถือและ คู่สัญญาจะมีความระมัดระวังในการปฏิบัติตามสัญญามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ในกรณีที่มี ข้อความโต้แย้งเกี่ยวกับสัญญา คู่สัญญาแต่ละฝ่ายก็อาจให้พยานมายืนยันความถูกต้องได้ ซึ่งเป็นการป้องกันการบิดพลิ้วหรือไม่ปฏิบัติตามสัญญาได้ สําหรับพยานนั้นในทางปฏิบัติ มักนิยมให้มีพยานในสัญญาเพียงสองคน
ผู้ให้กู้
-20-
4. ข้อสัญญาที่มีลักษณะหรือมีความหมายทํานองเดียวกันที่ต้องพึงระมัดระวัง
4.1 ข้อสัญญาที่เป็นการยกเว้นหรือจํากัดความรับผิดจากการผิดสัญญาของ
4.2 ข้อสัญญาที่ให้สิทธิผู้ให้กบอกเลิกสัญญากับผู้กู้ หรือเรียกร้องให้ผู้กู้ชําระหนี้
ทั้งหมดหรือแต่บางส่วนก่อนกําหนดเวลาในสัญญา โดยผู้กู้มิได้ผิดนัดชําระหนี้ หรือผิดสัญญา หรือผิดเงื่อนไขอันเป็นสาระสําคัญข้อใดข้อหนึ่งในสัญญา
4.3 ข้อสัญญาที่ให้สิทธิผู้ให้กู้เลิกสัญญากับผู้กู้ได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวเป็น หนังสือไปยังผู้กู้
4.4 ข้อสัญญาที่ให้สิทธิผู้ให้กู้เปลี่ยนแปลงค่าอัตราค่าบริการต่าง ๆ เกี่ยวกับ สัญญากู้ยืมเงิน
ตอนที่ 3 ตัวอย่างแบบสัญญากู้ยืมเงิน
หนังสือสัญญากู้ยืมเงิน
สัญญาฉบับนี้ทําขึ้นเมื่อวันที่ .......... เดือน ................................. พ.ศ. ................
ณ เลขที่ ................ หมู่บ้าน/อาคาร ....................... ตรอก/ซอย ....................... ถนน ....................
ตําบล/แขวง ................................ อําเภอ/เขต ................................ จังหวัด ...................................
ระหว่างข้าพเจ้า ........................................................................ อายุ ปี
สัญชาติ ............... เลขประจําตัวประชาชน .......................................... ออกโดย ............................
วันที่ออกบัตร .............................. วันบัตรหมดอายุ ................................ อยู่บ้านเลขที่ ..................
หมู่บ้าน/อาคาร .................................... ตรอก/ซอย ................................. ถนน .............................
ตําบล/แขวง ................................ อําเภอ/เขต ................................ จังหวัด ...................................
ซึ่งต่อไปในสัญญาเรียกว่า “ผู้ให้กู้” ฝ่ายหนึ่ง
กับข้าพเจ้า ................................................................................ อายุ ปี
สัญชาติ .............. เลขประจําตัวประชาชน ........................................ ออกโดย ...........................
วันที่ออกบัตร .............................. วันบัตรหมดอายุ ............................... อยู่บ้านเลขที่ ...................
หมู่บ้าน/อาคาร ................................... ตรอก/ซอย .................................. ถนน .............................
ตําบล/แขวง ................................ อําเภอ/เขต ................................ จังหวัด ...................................
ซึ่งต่อไปในสัญญาเรียกว่า “ผู้กู้” อีกฝ่ายหนึ่ง
ทั้งสองฝ่ายตกลงทําสัญญากัน โดยมีข้อความสําคัญดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ผู้กู้ได้กู้ยืมเงินจากผู้ให้กู้เป็นเงินจํานวน บาท
(.....................................................) โดยผู้ให้กู้ได้ส่งมอบเงินที่กู้ยืมด้วยวิธีการดังนี้
□ ผู้ให้กู้ได้โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร ................................................
ชื่อบัญชี ................................................ สาขา .................................... ประเภท .............................
เลขที่ ...................................... จํานวน ................................ บาท ( )
ลงชื่อ ............................................... ผู้กู้ ลงชื่อ ผู้ให้กู้
-2-
□ ผู้ให้กู้ได้ส่งมอบเช็คของธนาคาร...............................................................
สาขา ...................................... เช็คเลขที่ ..................................... ลงวันที่ .......................................
จํานวน ...................................... บาท ( )
□ ผู้ให้กู้ได้ส่งมอบเงินให้แก่ผู้กู้ต่อหน้าเจ้าหน้าที่สํานักงานยุติธรรมจังหวัด (ผู้กู้และเจ้าหน้าทสํานักงานยุติธรรมจังหวัดลงชื่อกํากับความข้อนี้)
ด้วยวิธีการส่งมอบเงินที่กู้ยืมดังกล่าวข้างต้น ผู้กู้ได้รับเงินดังกล่าวเรียบร้อย แล้วตั้งแต่เวลาทําสัญญาฉบับนี้
ข้อ 2 ผู้กู้ตกลงชําระดอกเบี้ยให้แก่ผู้ให้กู้ในอัตราร้อยละ ต่อปี จนถึงวันที่
ชําระหนี้เสร็จสิ้น
พ.ศ. ..............
ข้อ 3 ผู้กู้ตกลงยินยอมชําระหนี้เงินกู้ยืมให้แก่ผู้ให้กู้ด้วยวิธีการดังนี้
□ ชําระเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยภายในวันที่ ........... เดือน .............................
□ ชําระเงินต้นภายในวันที่ ........... เดือน ............................ พ.ศ. ..............
ส่วนดอกเบี้ยชําระเป็นรายเดือน ๆ ละ ......................... บาท ( )
ภายในวันที่ ของทุก ๆ เดือน
□ ผ่อนชําระเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยเป็นรายเดือน ๆ ละ บาท
(........................................................) โดยจะชําระภายในวันที่ ของทุก ๆ เดือน เริ่มชําระ
งวดแรกในวันที่ ........... เดือน ............................ พ.ศ. ..............
ทั้งนี้ เมื่อผู้ให้กู้ได้รับชําระหนี้งวดหนึ่งงวดใดด้วยวิธีการดังกล่าวข้างต้น ผู้ให้กู้ จะออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ผู้กู้ไว้เป็นหลักฐานหนึ่งฉบับทันที
ข้อ 4 ในกรณีที่ผู้กู้ชําระเงินต้นคืนทั้งหมดให้แก่ผู้ให้กู้ก่อนเวลาที่กําหนดไว้ใน สัญญานี้ การคิดดอกเบี้ยให้คิดเพียงวันที่ชําระต้นเงินกันเท่านั้น
ลงชื่อ ............................................... ผู้กู้ ลงชื่อ ผู้ให้กู้
ข้อ 5 ผู้ให้กู้จะไม่มีการคิดเบี้ยปรับ ค่าธรรมเนียม หรือประโยชน์อย่างอื่นนอกจาก ดอกเบี้ย ไม่ว่าจะเป็นเงินหรือสิ่งของ หรือโดยวิธีการใด ๆ จากผู้กู้ เพื่อชําระหนี้ทั้งหมดหรือบางส่วน
ข้อ 6 ในกรณีที่ผู้กู้จะชําระหนี้เงินต้นและหรือดอกเบี้ยให้แก่ผู้ให้กู้ ไม่ว่าทั้งหมด หรืองวดหนึ่งงวดใด แต่ผู้ให้กู้ปฏิเสธการรับชําระหนี้เงินต้นและหรือดอกเบี้ยโดยปราศจากมูลเหตุ อันจะอ้างกฎหมายได้ ผู้กู้สามารถชําระหนี้ดังกล่าวโดยการวางทรัพย์ ณ สํานักงานวางทรัพย์ และ ผู้กู้จะบอกกล่าวการชําระหนี้โดยการวางทรัพย์ให้ผู้ให้กู้ทราบโดยพลัน
ข้อ 7 เพื่อเป็นประกันการชําระหนี้
□ ผู้กู้ได้มอบ ...............................................................................................
ซึ่งทรัพย์สินดังกล่าว ผู้กู้เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์โดยชอบด้วยกฎหมายนํามาจํานําให้ไว้แก่ผู้ให้กู้ โดยยินยอม ให้ผู้ให้กู้เป็นผู้ดูแลรักษาหรือบุคคลอื่นที่ผู้ให้กู้มอบหมายเป็นผู้ดูแลรักษา และหากผู้กู้ผิดสัญญา ผู้กู้ ยินยอมให้ผู้ให้กู้บังคับจํานําเอาแก่ทรัพย์สินดังกล่าวได้ทันที โดยไม่จําต้องบอกกล่าวล่วงหน้า
ผู้ให้กู้ต้องรับผิดในความเสียหายเมื่อทรัพย์สินซึ่งจํานํานั้น สูญหาย บุบสลาย ชํารุดบกพร่อง วินาศภัย หรือความเสียหายอย่างใด ๆ ซึ่งทรัพย์สินที่จํานําอันอยู่ในความครอบครอง ดูแลรักษาของผู้ให้กู้หรือบุคคลอื่นใดซึ่งผู้ให้กู้ได้มอบหมายให้ดูแลรักษาแทน หากความเสียหายนั้น เกิดขึ้นจากความจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงจากผู้ให้กู้หรือบุคคลอื่นใดซึ่งผู้ให้กู้ได้มอบหมาย ให้ดูแลรักษาแทน
□ ผู้กู้ขอให้ เป็นผู้คํ้าประกันสัญญาน้ี
ต่อผู้ให้กู้ โดยทําหนังสือค้ําประกันต่างหากให้ผู้ให้กู้ยึดถือไว้เป็นประกัน
ข้อ 8 การจําหน่ายหรือการโอนสิทธิเรียกร้องในสัญญาของผู้ให้กู้ ไม่ว่าทั้งหมด หรือแต่บางส่วนให้แก่บุคคลภายนอก ผู้ให้กู้จะแจ้งเป็นหนังสือไปยังผู้กู้ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าหนึ่งงวด ของการชําระหนี้เงินต้น หรือดอกเบี้ย หรือจะต้องได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้กู้มิเช่นนั้นจะยก เป็นข้อต่อสู้ผู้กู้มิได้
ลงชื่อ ............................................... ผู้กู้ ลงชื่อ ผู้ให้กู้
ข้อ 9 การส่งคําบอกกล่าวซึ่งตามกฎหมายหรือตามสัญญากําหนดให้ต้องแจ้ง หรือต้องบอกกล่าวเป็นหนังสือ ให้ส่งทางส่งไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับตามที่อยู่ที่ระบุในสัญญา หรือที่อยู่ที่ผู้กู้และผู้ให้กู้แจ้งการเปลี่ยนแปลงไว้เป็นหนังสือหลังสุด
การแจ้งเปลี่ยนแปลงที่อยู่ตามที่ระบุในสัญญานี้ ให้แจ้งแก่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง ทราบภายในกําหนด 15 วันนับแต่วันที่เปลี่ยนแปลงที่อยู่
ข้อ 10 หากผู้กู้ผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใด ผู้กู้ยินยอมรับผิดในความเสียหายของบรรดา ที่ผู้ให้กู้จะพึงได้รับจากการผิดสัญญาของผู้กู้ รวมถึงการบังคับหนี้จนครบเต็มจํานวนหนี้และดอกเบี้ย
ดังต่อไปนี้ สัญญาของผู้ให้กู้
ข้อ 11 ในสัญญาฉบับนี้ ไม่มีข้อความที่มีลักษณะหรือมีความหมายทํานองเดียวกัน
11.1 ข้อสัญญาที่เป็นการยกเว้นหรือจํากัดความรับผิดจากการผิด
11.2 ข้อสัญญาที่ให้สิทธิผู้ให้กู้บอกเลิกสัญญากับผู้กู้ หรือเรียกร้อง
ให้ผู้กู้ชําระหนี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วนก่อนกําหนดเวลาในสัญญา โดยผู้กู้มิได้ผิดนัดชําระหนี้ หรือ ผิดสัญญา หรือผิดเงื่อนไขอันเป็นสาระสําคัญข้อใดข้อหนึ่งในสัญญา
11.3 ข้อสัญญาที่ให้สิทธิผู้ให้กู้เลิกสัญญากับผู้กู้ได้โดยไม่ต้องบอกกล่าว
เป็นหนังสือไปยังผู้กู้
เกี่ยวกับสัญญากู้ยืมเงิน
11.4 ข้อสัญญาที่ให้สิทธิผู้ให้กู้เปลี่ยนแปลงค่าอัตราค่าบริการต่าง ๆ
ข้อ 12 เมื่อผู้กู้ได้ชําระหนี้เงินกู้ให้แก่ผู้ให้กู้เสร็จสิ้นตามสัญญาแล้ว ผู้ให้กู้จะ เวนคืนหรือแทงเพิกถอนลงในสัญญากู้ยืมเงินให้แก่ผู้กู้
ข้อ 13 ผู้กู้และผู้ให้กู้ตกลงให้การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อสัญญาแห่งสัญญากู้ยืมเงิน ต้องทําเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้กู้เป็นสําคัญ
ลงชื่อ ............................................... ผู้กู้ ลงชื่อ ผู้ให้กู้
ข้อ 14 หากผู้กู้หรือผู้ให้กู้ผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใด คู่สัญญาฝ่ายนั้นยินยอมรับผิด ในความเสียหายของบรรดาที่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งพึงได้รับจากการผิดสัญญา
ข้อ 15 ผู้ให้กู้จะส่งมอบสําเนาหรือคู่ฉบับสัญญากู้ยืมเงินให้แก่ผู้กู้ไว้เป็นหลักฐาน หนึ่งฉบับทันทีที่ผู้กู้ลงนามในสัญญา
สัญญานี้ทําขึ้นสองฉบับ มีข้อความถูกต้องตรงกัน คู่สัญญาอ่านและเข้าใจข้อความ ในสัญญาโดยตลอดดีแล้ว จึงลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐานต่อหน้าพยานเป็นสําคัญ
ลงชื่อ ............................................... ผู้กู้ ลงชื่อ ผู้ให้กู้
(………………………….……………) (………………………….……………)
ลงชื่อ ............................................... พยาน ลงชื่อ พยาน
(………………………….……………) (………………………….……………)
ลงชื่อ ...............................................
(………………………….……………)
เจ้าหน้าที่สํานักงานยุติธรรมจังหวัด
คําเตือนสําหรับคู่สัญญา
1. ก่อนที่จะลงนามในสัญญากู้ยืมเงิน คู่สัญญาควรอ่านและตรวจสอบรายละเอียด ของสัญญาให้เข้าใจชัดเจน หากคู่สัญญามีข้อสงสัยใด ๆ ควรปรึกษาเจ้าหน้าที่สํานักงานยุติธรรมจังหวัด
2. สัญญากู้ยืมเงินต้องปิดอากรแสตมป์จํานวนหนึ่งบาทของจํานวนเงินต้นทุก ๆ สองพันบาท หรือเศษของสองพันบาท