การประกันการชำระหนี้ด้วยทรัพย์สิน เป็นมาตรการหนึ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งในการหาเงินทุนหมุนเวียนมาใช้ในการประกอบธุรกิจ เพราะถ้าหากว่าผู้ประกอบการขอสินเชื่อจากแหล่งเงินทุนเพื่อนำมาใช้เป็นทุนสำหรับการ ประกอบธุรกิจ โดยการนำทรัพย์สินมาเป็นประกันการชำระหนี้...
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการทำสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ
ตามร่างพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. ....
xxxxxxxxxxx xxxxxxxx
การประกันการชำระหนี้ด้วยทรัพย์สิน เป็นมาตรการหนึ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งในการหาเงินทุนหมุนเวียนมาใช้ในการประกอบธุรกิจ เพราะxxxxxxxxxผู้ประกอบการขอสินเชื่อจากแหล่งเงินทุนเพื่อนำมาใช้เป็นทุนสำหรับการประกอบธุรกิจ โดยการนำทรัพย์สินมาเป็นประกันการชำระหนี้ หากทรัพย์นั้นมีxxxxxxไม่ต่ำกว่าหนี้ที่เป็นประกัน ย่อมเป็นการจูงใจให้ธนาคารหรือสถาบันการเงินในการให้สินเชื่อ (extension of credit) เนื่องจากธนาคารหรือสถาบันการเงินย่อมมีความมั่นใจว่า แม้ลูกหนี้หรือผู้ขอสินเชื่อจะไม่ชำระหนี้ ธนาคารหรือสถาบันการเงินก็ยังxxxxxxxxxจะบังคับชำระหนี้จากทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันได้ การประกันการชำระหนี้ด้วยทรัพย์จึงเป็นส่วนสำคัญต่อการxxxxxxxxการลงทุนในการประกอบธุรกิจและพัฒนาระบบเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมให้มีxxxxxxxxxxxxxxxxขึ้น
ส่วนลักษณะของกฎหมายหลักประกันการชำระหนี้ด้วยทรัพย์สินตามที่xxxxxxxไว้ในxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และมีผลบังคับใช้ในปัจจุบันมีเพียงการจำนอง จำนำ สิทธิยึดหน่วงและบุริมสิทธิเท่านั้น และบทบัญญัติไม่เอื้อต่อการใช้ประโยชน์จากหลักทรัพย์บางประเภทที่มีxxxxxxทางเศรษฐกิจ xxxx โครงการหรือกิจการ (Project) สินค้าอุปโภคบริโภค (consumer goods) ทรัพย์สินไม่มีรูปร่าง (general intangibles) ซึ่งองค์กรธุรกิจนั้นมีอยู่เพื่อใช้ประกันการชำระหนี้ ทั้งนี้เพราะว่าการประกันการชำระหนี้ด้วยการจำนองกฎหมายได้กำหนดทรัพย์สินxxxxxxจำนองไว้ได้แต่เพียงอสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษเท่านั้น ส่วนการประกันการชำหนี้ด้วยจำนำนั้น กฎหมายได้กำหนดให้ลูกหนี้ผู้ให้หลักประกันจะต้องส่งมอบทรัพย์สินหลักประกันให้อยู่ในความครอบครองของเจ้าหนี้ผู้รับหลักประกัน xxxxxxxxxxไม่xxxxxxใช้หลักทรัพย์ดังกล่าวใน การผลิต จำหน่าย หรือประกอบธุรกิจเพื่อหารายได้มาชำระหนี้ให้เจ้าหนี้ ผู้ประกอบการจึงไม่xxxxxxใช้ทรัพย์สินดังกล่าวให้เกิดประโยชน์สูงสุด (Maximize profit) ได้อย่างแท้จริง
ดังนั้นจึงได้มีการยกร่างพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. .... ขึ้น เพิ่มเติมจากบทบัญญัติของกฎหมายเกี่ยวกับหลักประกันที่มีอยู่ตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือตามกฎหมายอื่นที่มีลักษณะเดียวกัน โดยมีแนวคิดพื้นฐานxxxxxประเภททรัพย์สินที่มีxxxxxxทางเศรษฐกิจให้xxxxxxนำมาเป็นหลักประกันการชำระหนี้ได้และลูกหนี้ไม่ต้องส่งมอบการครอบครองทรัพย์หลักประกันให้แก่เจ้าหนี้ เพื่อประโยชน์แก่ลูกหนี้ในการที่จะใช้สอยหาประโยชน์จากทรัพย์หลักประกันในการประกอบธุรกิจต่อไป
จากการศึกษาและวิเคราะห์ร่างพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. .... ดังกล่าวพบว่า เนื่องจากจะเป็นหลักเกณฑ์ที่ช่วยเหลือผู้ประกอบธุรกิจในการขอสินเชื่อจากสถาบันการเงินต่างๆ รวมทั้งจะเป็นหลักเกณฑ์ที่ช่วยxxxxxวิธีการสร้างหลักประกันให้แก่สถาบันการเงินผู้รับหลักประกัน ซึ่งxxxxxxxxxจะแก้ไขปัญหาความมีผลทางกฎหมายของสัญญาหลักประกันที่สถาบันการเงินทำให้ในทางปฏิบัติเพื่อเลี่ยงข้อจำกัดของการให้หลักประกันตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ อันจะเป็นปัจจัยสำคัญในการสนับสนุนเศรษฐกิจการค้าให้มีการขยายตัวมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามจากการศึกษาในงานวิจัย ร่างพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจยังxxมีข้อบกพร่องอยู่หลายประการ ไม่ว่าจะเป็นการบังคับใช้ ตลอดจนข้อxxxxxxxxxxเป็นปัญหาในการปฏิบัติ หากมีการนำกฎหมายฉบับนี้ออกมาบังคับใช้จริง โดยปัญหาสำคัญที่พบ ประกอบด้วย
1. ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการทำสัญญา
2. ปัญหาเกี่ยวกับการกำหนดประเภทของหลักทรัพย์ที่เป็นหลักประกัน
3. ปัญหาเกี่ยวกับการกำหนดประเภทของบุคคลที่เป็นคู่สัญญา
xxxxxหน้าที่และความรับผิดระหว่างคู่สัญญา
4. ปัญหาเกี่ยวกับการจดทะเบียนทรัพย์สินที่เป็นหลักประกัน
5. ปัญหาเกี่ยวกับการบังคับหลักประกัน
ทั้งนี้ ผู้ศึกษาขอเสนอแนะแนวทางแก้ไขและพัฒนาระบบหลักประกันทางธุรกิจ ดังนี้
1. ผู้ให้หลักประกันไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สินแก่ผู้รับหลักประกัน ซึ่งผู้ให้หลักประกันมีสิทธิครอบครองและxxxxxxใช้ประโยชน์จากหลักประกันxxx xxxx นำไปจำหน่าย จ่ายหรือนำไปเป็นหลักประกันต่อไป
2. ผู้ให้หลักประกันจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ เพื่อให้ร่างดังกล่าวครอบคลุมถึงผู้ประกอบธุรกิจxxxxxxxxและขนาดย่อม ส่วนผู้รับหลักประกันต้องเป็นสถาบันการเงินหรือบุคคลอื่นตามกฎกระทรวงเพื่อให้การใช้สินเชื่อเป็นไปอย่างมีระบบควบคุมตรวจสอบได้
3. ทรัพย์สินที่xxxxxxนำมาเป็นหลักประกันได้ ได้แก่
3.1 กิจการ
3.2 xxxxxเรียกร้องยกเว้นxxxxxxxxมีตราสารเพราะตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการไว้โดยเฉพาะในเรื่องxxxxxxxxมีตราสารแล้ว
3.3 xxxxxxxxxxxxxxxxxมีผู้ให้หลักประกันใช้ในการประกอบธุรกิจ xxxx xxxxxxxxxxx สินค้าคงคลัง วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสินค้า เป็นต้น
3.4 อสังหาริมทรัพย์ในกรณีที่ผู้ให้หลักประกันทางธุรกิจอสังหาริมทรัพย์โดยตรง
3.5 ทรัพย์สินxxxxxxมาในxxxxxอันต้องได้มาxxxxxxxxหรือxxxxxxxxxxxxเท่านั้นเพื่อให้ผู้รับหลักประกันเกิดความมั่นใจได้ว่า ตนxxxxxxบังคับหลักประกันได้อย่างแน่นอน
3.6 ทรัพย์อื่นตามที่รัฐมนตรีได้กำหนดตามกฎกระทรวง
4. ความxxxxxxxของสัญญาหลักประกันทางธุรกิจต้องทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงานทะเบียนเนื่องจากทรัพย์สินที่นำมาเป็นหลักประกันxxxxxxจำหน่ายจ่ายโอนได้ง่ายจึงต้องมีการจดทะเบียนเพื่อควบคุมการใช้ทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันให้เป็นระบบ
5. ไม่มีเรื่องการกำหนดระยะเวลาในการจดทะเบียนเนื่องจากสัญญาหลักประกันทางธุรกิจเป็นสัญญาที่ก่อให้เกิดทรัพยสิทธิของผู้รับหลักประกันย่อมมีxxxxxxxxจะได้รับชำระหนี้จากทรัพย์สินจนกว่าหนี้จะระงับไปหรือคู่สัญญาตกลงเลิกสัญญาหรือมีการไถ่ถอนหลักประกัน
6. ผู้ให้หลักประกันมีxxxxxxxxรับชำระหนี้จากทรัพย์สินที่เป็นหลักประกันก่อนเจ้าหนี้สามัญไม่ว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินจะโอนไปยังบุคคลภายอกหรือไม่
7. การได้รับชำระหนี้ของผู้รับหลักประกันใช้หลัก First come, First Serve
8. กระบวนการบังคับหลักประกันมีความรวดเร็วไม่สิ้นxxxxxxค่าใช้จ่ายและเกิดความสะดวก
อย่างไรก็ตาม หากมีการแก้ไขตัวบทบัญญัติของร่างพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจฉบับนี้จริง จำเป็นอย่างยิ่งที่จะสอบถามความเห็นของภาคธุรกิจและผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ด้วยเพื่อให้ทราบถึงปัญหาในทางปฏิบัติเพื่อให้การปรับปรุงพระราชบัญญัติดังกล่าวได้มีความxxxxxxxและสมประโยชน์ทั้งในส่วนของผู้รับหลักประกันและผู้ให้หลักประกัน และส่วนอื่นๆ ต่อไป
----------------------------------------------
*บทความนี้เรียบเรียงมาจากงานวิทยานิพนธ์เรื่อง “ปัญหาเกี่ยวกับการทำสัญญาหลักประกันทางธุรกิจตามร่างพระราชบัญญัติหลักxxxxxxxxxxxxxxx x.x.....” หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณทิต คณะxxxxxxxxxx สถาบันฑิตพัฒนบริหารศาสตร์