image(รูปภาพประกอบด้วย สัญลักษณ์, วงกลม, ศิลปะ, เหรียญ คำอธิบายที่สร้างโดยอัตโนมัติ) removed ..>
<.. image(รูปภาพประกอบด้วย สัญลักษณ์, xxxxx, ศิลปะ, เหรียญ คำอธิบายที่สร้างโดยอัตโนมัติ) removed ..>
แผนปฏิบัติราชการ
ประจำปี 2567
สำนักxxxxศาสตรและประเมินผล
กรุงเทพมหานคร
สำนักxxxxxxxxxxและประเมินผลมีภารกิจที่มีความสำคัญต่อการกำหนดทิศทางในการพัฒนา กรุงเทพมหานคร ด้านการบริหารจัดการ ด้านเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง ด้านทรัพยากรมนุษย์และสังคม ด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม และด้านสาธารณูปโภคพื้นฐานของกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การxxxxxxxxxxดุลยภาพในการพัฒนาทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม และการxxxxxxxxxxศักยภาพของ เมืองด้วยการจัดทำแผนระยะยาวเพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนากรุงเทพมหานครในxxxxx ระยะ 20 ปี ตลอดจน การxxxxxประสิทธิภาพในการบริหารราชการของกรุงเทพมหานครโดยการพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและ xxxxxทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้แก่บุคลากรของกรุงเทพมหานคร นอกจากนั้น ยัง สนับสนุนให้ทุกหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 77 หน่วยงาน จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี ของหน่วยงาน ภายใต้กรอบxxxxxxxxxxชาติ แผนการxxxxxxประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (Digital Economy) แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี นโยบายประเทศไทย 4.0 และนโยบายของผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร และแผนเฉพาะด้านต่าง ๆ ไปสู่การปฏิบัติ อันเป็นการเชื่อมโยงให้การบริหารและการปฏิบัติ ราชการของกรุงเทพมหานครอยู่ในระบบเดียวกันเพื่อสร้างความเป็นxxxxxxในการxxxxxxภารกิจขององค์กร “กรุงเทพมหานคร”
ดังนั้น การปฏิบัติราชการของสำนักxxxxxxxxxxและประเมินผลในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ด้านการ บริหารจัดการแผนจะมุ่งเน้นในเรื่องดังที่กล่าวไว้ข้างต้นโดยมีการสร้างความรู้ความเข้าใจในการจัดทำแผนแก่บุคลากร ของกรุงเทพมหานครอย่างต่อเนื่อง การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อให้หน่วยงานของกรุงเทพมหานครxxxxxx นำข้อมูลไปใช้ประกอบการจัดทำแผนxxxxxxxxxx ตลอดจนการสร้างการมีส่วนร่วมกับหุ้นส่วนทางxxxxxxxxxx เพื่อร่วมกันพัฒนาเมือง สำหรับด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจะมุ่งเน้นการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และxxxxxทักษะให้กับบุคลากรของกรุงเทพมหานครเพื่อให้การบริหารราชการของกรุงเทพมหานคร และการ ให้บริการ ประชาชนมีประสิทธิภาพตลอดจนพัฒนาการบริหารจัดการภายในองค์กรด้วยการxxxxxประสิทธิภาพ และคุณภาพ ในการปฏิบัติราชการเพื่อรองรับการพัฒนากรุงเทพมหานครให้เป็นศูนย์กลางของการพัฒนาในxxxxxxx เอเชีย- ตะวันออกxxxxxxxxบนพื้นฐานของการเป็นมหานครxxxxxxอยู่อย่างยั่งยืนและมุ่งสู่การเป็นมหานครแห่งเอเชียตาม วิสัยทัศน์การพัฒนากรุงเทพมหานคร
สารบัญ
สาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการประจำปี 4
- ข้อมูลทั่วไป/สถานการณ์
- วิสัยทัศน์
- พันธกิจ
- ตัววัดผล/ตัวชี้วัดความสำเร็จสำคัญ (KR/KPI)
ส่วนที่ 1 ความสอดคล้องกับxxxxxxxxxxการพัฒนากรุงเทพมหานคร 12
- มิติที่ 1 การบริการสาธารณะ
- มิติที่ 2 การบริหารจัดการ
ส่วนที่ 2 การxxxxxxงานตามxxxxxxxxxxของหน่วยงาน 24
ส่วนที่ 3 รายการ/โครงการที่มีลักษณะเป็นรายจ่ายประจำพื้นฐาน 27
สาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการประจำปี
ข้อมูลทั่วไป/สถานการณ์ของพื้นที่
สำนักxxxxxxxxxxและประเมินผล xxxxxxxหน้าที่เกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย เป้าหมาย การจัดทำ และพัฒนาแผนxxxxxxxxxxด้านบริหารจัดการ ด้านเศรษฐกิจ การเงินและการคลัง ด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ด้านทรัพยากรมนุษย์ สังคม และด้านสาธารณูปโภคพื้นฐาน รวมทั้งการแปลงนโยบายและแผนxxxxxxxxxxไปสู่การปฏิบัติ การxxxxxxแผนปฏิบัติการ การติดตามและประเมินผล และเป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการการให้บริการ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกรุงเทพมหานคร แบ่งส่วนราชการภายใน เป็น 10 ส่วนราชการ ประกอบด้วย
โครงสร้างสำนักxxxxxxxxxxและประเมินผล
อัตรากำลังข้าราชการ จำนวน 275 ตำแหน่ง มีบุคลากรครองตำแหน่งในปัจจุบัน จำนวน 240 คน (ข้อมูล ณ เดือนxxxxxx 2565) ดังภาพ
สถานการณ์ด้านการบริหารแผนที่จะต้องมุ่งเน้นความสำคัญในการขับเคลื่อนxxxxxxxxxx การพัฒนาภายใต้กรอบของการพัฒนาระดับxxxxตามเป้าหมายการพัฒนาxxxxxxxxxx ( Sustainable Development Goal-SDGs) และระดับประเทศด้วยxxxxxxxxxxชาติ (พ.ศ. 2561-2580) เป็นทิศทางการพัฒนา ในระยะยาว 20 ปี นอกจากนี้ยังมีแผนการxxxxxxประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570) และแผนเฉพาะด้านต่าง ๆ ที่จะต้องxxxxxxการให้เกิดความเชื่อมโยงกัน
จากแผนระดับต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น ในปีงบประมาณ พ.ศ.2567 สำนักxxxxxxxxxxและประเมินผล จะสร้างความเชื่อมโยงของแผนทุกระดับให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ตลอดจนการxxxxxxภารกิจ
ตามกรอบแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ.2567
ในขณะเดียวกัน ภายใต้สถานการณ์ระดับต่าง ๆ ที่ต้องมีการปรับตัวรองรับในระดับโลก xxxx
การเตรียมความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลง (100 Resilient Cities) สถานการณ์ประเทศไทย xxx การเข้าสู่สังคม
ผู้สูงอายุ สภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง และสถานการณ์กรุงเทพมหานคร xxxx การเตรียมความพร้อมรองรับภารกิจการถ่ายโอนจากรัฐบาล นโยบายผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ดังนั้น การที่ จะขับเคลื่อนxxxxxxxxxxการพัฒนากรุงเทพมหานครให้มีความสอดคล้องเชื่อมโยงในประเด็นต่าง ๆ xxxxxxกล่าว ข้างต้นให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและxxxxxเป้าหมาย สำนักxxxxxxxxxxและประเมินผลจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนา ระบบการบริหารจัดการภายใน พัฒนาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องให้กับบุคลากรภายในองค์กร ตลอดจนหน่วยงาน
ของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้xxxxxxเป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการxxxxxxxxxxการพัฒนากรุงเทพมหานคร ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกับxxxxxxxxxxการพัฒนาระดับประเทศ
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสำนักxxxxxxxxxxและประเมินผล
สำนักxxxxxxxxxxและประเมินผลได้วิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์กร โดยใช้กระบวนการตามหลัก วิชาการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสถานการณ์ที่เกิดความเปลี่ยนแปลงในมิติต่าง ๆ นำมาใช้เป็นกรอบใน การสอบถามความคิดเห็นจากบุคลากรในองค์กร แบ่งเป็นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายนอก ด้านแผนและเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้
SWOT | ด้านแผน | ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ |
จุดแข็ง (Strenghts) | การกำหนดทิศทางและเป้าหมายการพัฒนา องค์การ (Strategy) S1 มีการกำหนดทิศทาง และเป้าหมายการ พัฒนา รวมทั้งกลยุทธ์การxxxxxxงานโดย กำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัดxxxxxxxxxxxxxxxxxเพื่อ พัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพ S2 บทบาทการวิเคราะห์โครงการทำให้สำนัก xxxxxxxxxxและประเมินผลxxxxxxผลักดันให้ หน่วยงานกำหนดxxxxxxxxxxการพัฒนาพื้นที่ ให้เหมาะสมเพื่อสนับสนุนxxxxxxxxxxการ พัฒนาของกรุงเทพมหานครให้xxxxxเป้าหมายได้ อย่างมีประสิทธิภาพ S3 บุคลากรมีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทาง เป้าหมายและจัดทำแผนขององค์กร | การกำหนดทิศทางและเป้าหมายการพัฒนา องค์การ (Strategy) S4 มีการกำหนดวิสัยทัศน์ชัดเจนเป็นทิศทาง ให้ สยป.ขับเคลื่อนไปสู่เป็นองค์กรxxxxx และผลักดันนโยบายและแผนไปสู่การปฏิบัติ มีแผนงานเป้าหมายและทิศทางการทำงาน xxxxxxxxxทั้งในระดับภาพรวมและเฉพาะด้าน สอดคล้องกับภาวะสังคมในปัจจุบัน และxxxxx |
ภาวะผู้นำของผู้บริหารระดับสูง (Style) S5 ผู้บริหารมีความชัดเจนในการกำหนด ทิศทางองค์กร รับฟังความคิดเห็น แต่ปัญหา | ภาวะผู้นำของผู้บริหารระดับสูง (Style) S6 ผู้บริหารรับฟังความคิดเห็น สร้างแรงจูงใจในการพัฒนาองค์กร มีวิสัยทัศน์ |
SWOT | ด้านแผน | ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ |
จากการเปลี่ยนผู้บริหารบ่อย ทำให้นโยบาย ขาดความต่อเนื่อง | ||
วัฒนธรรมในการทำงานขององค์กร (Shared Value) S7 มีความผูกพันและรักหน่วยงาน พร้อมในการทำงานxxxxxxรับมอบหมาย มีการกำหนดค่าxxxxในการทำงานร่วมกัน | โครงสร้าง (Structure) S8 โครงสร้างและสายการบังคับบัญชาชัดเจน | |
บุคลากร (Staff) S9 บุคลากรเพียงพอ และมีความรู้ความxxxxxx S10 มีการxxxxxxxxและพัฒนาความรู้ของ บุคลากรให้มีxxxxxxxxxxเหมาะสม | ||
จุดอ่อน (Weaknesses) | โครงสร้าง (Structure) W1 การกำหนดภารกิจและxxxxxหน้าที่ ของแต่ละส่วนราชการมีความหลากหลายส่งผล ต่อการบูรณาการการทำงาน และการปรับตัวเพื่อ รองรับภารกิจใหม่ๆ ทำให้เกิดปัญหาในเชิง โครงสร้าง | |
SWOT | ด้านแผน | ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ |
จุดอ่อน (Weaknesses) | บุคลากร (Staff) W2 บุคลากรมีความรู้และทักษะ แต่ยังขาด ความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนางาน และขาดความต่อเนื่องในการทำงาน กรณี ย้าย ลาออก W3 บุคลากรxxxxxxxxxx |
SWOT | ด้านแผน | ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ |
ความxxxxxxxxxหรือความชำนาญเฉพาะ ด้านขององค์กร (Skill) W4 ยังไม่xxxxxxนำความรู้เชิงทฤษฎี มาประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติ W5 ขาดความxxxxxxxxxของภารกิจด้านแผน W6 การทำงานมุ่งxxxxxxงานตามนโยบาย มากกว่าทำงานแบบริเริ่มสร้างสรรค์ | ความxxxxxxxxxหรือความชำนาญเฉพาะ ด้านขององค์กร (Skill) W7 ขาดการนำงานวิจัยหรือxxxxxxงานวิจัย มาใช้พัฒนาองค์กร | |
โอกาส (Opportunies) | การเมือง (Political) O1 รัฐบาลให้ความสำคัญกับการจัดทำแผน และงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิง xxxxxxxxxxโดยมีxxxxxxxxxxชาติและแผนการ xxxxxxประเทศเป็นกรอบทิศทางในการพัฒนา | การเมือง (Political) O2 นโยบายรัฐบาลและ กทม.xxxxxxxxให้เกิด ความร่วมมือ แผน กทม. แผนแม่บท เทคโนโลยีสารสนเทศมีทิศทางชัดเจน |
สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture) O3 ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบและ ติดตามการทำงานของภาครัฐมากขึ้น | สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture) O4 มีการแลกเปลี่ยนและเชื่อมโยงข้อมูล ระหว่างกันรวมทั้งความxxxxxxในการเข้าถึง ไอทีของประชาชนมากขึ้น | |
เทคโนโลยี (Technology) O5 ความxxxxxxxxทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้นำมาประยุกต์ใช้ในการวางแผนและ ติดตามประเมินผล O6 ความxxxxxxในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ ของประชาชนส่งผลต่อความต้องการใช้บริการผ่าน ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น | เทคโนโลยี (Technology) O7 ประสิทธิภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ใช้งานง่ายและลดความสิ้นxxxxxx ทรัพยากร ประหยัดงบประมาณ O8 เทคโนโลยีราคาถูกทำให้ประชาชนเข้าถึง และเอื้อต่อการให้บริการภาครัฐสู่ประชาชน |
SWOT | ด้านแผน | ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ |
ภัยคุกคาม (Threats) | เศรษฐกิจ (Economic) T1 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โควิด -19 ส่งผลต่อสภาพเศรษฐกิจและการ จัดเก็บรายได้ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีผล ต่องบประมาณรายจ่ายประจำปี ทำให้การ ขับเคลื่อนxxxxxxxxxxการพัฒนา กทม.ไม่ เป็นไปตามxxxxxxxxxxxกำหนด | เศรษฐกิจ (Economic) T2 งบประมาณxxxxxxxxxxต่อการจัดหา ซอฟแวร์และฮาร์ดแวร์xxxxxxxxxxมาใช้ในการ ปรับปรุง และพัฒนาภารกิจ |
สิ่งแวดล้อม (Environment) T3 สิ่งแวดล้อมที่เกิดมลภาวะ ส่งผลกระทบ ต่อบทบาทของหน่วยงานและxxxxxxx ทำงานของบุคลากร | ||
กฎหมาย (Law) T4 กฎหมายxxxxxxx เป็นข้อจำกัดต่อการ ผลักดันxxxxxxxxxxไปสู่การปฏิบัติ | กฎหมาย (Law) T5 กฎหมาย xxxxxxxxxxเอื้อต่อการ ปฏิบัติงาน T6 กทม. ไม่มีxxxxxเบ็ดเสร็จในการ บริหารจัดการส่งผลต่อการxxxxxเป้าหมาย การพัฒนาเมือง |
วิสัยทัศน
สำนักxxxxxxxxxxและประเมินผล เป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการแผน xxxxxxxxและ
สนับสนุนเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล บูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วน เพื่อพัฒนากรุงเทพมหานคร ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
xxxxxxx
1. บริหารจัดการแผนกรุงเทพมหานครเชิงxxxxxxxxxxแบบบูรณาการและมีส่วนร่วม
2. เป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการและพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานคร
3. ขับเคลื่อนการถ่ายโอนภารกิจตามกฎหมายการxxxxxxxxxxxให้แก่องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น
4. พัฒนาองค์กรและทรัพยากรทางการบริหาร และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อยกระดับประสิทธิภาพ การทำงานขององค์กร
ตัววัดผล/ตัวชี้วัดความสำเร็จสำคัญ (KR/KPI)
1. xxxxxxxxxxxxx 4 xxxxxxxxxxย่อยที่ 4.1 KR 3 : ข้อมูลเมืองของกรุงเทพมหานครถูกนำมาใช้ในการ วิเคราะห์เชิงพื้นที่เพื่อวางแผนงานโครงการจัดทำงบประมาณ และกำหนดทิศทางการพัฒนา
2. xxxxxxxxxxxxx 5 xxxxxxxxxxย่อยที่ 5.1 KR 1 : พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการให้บริการสาธารณะ
3. xxxxxxxxxxxxx 5 xxxxxxxxxxย่อยที่ 5.1 KPI 5.1.1.1 : จัดทำแผนบูรณาการความร่วมมือในการ จัดบริการสาธารณะและแก้ไขปัญหาสาธารณะที่ครอบคลุมบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร
4. xxxxxxxxxxxxx 5 xxxxxxxxxxย่อยที่ 5.2 KR 2 : สร้างระบบงบประมาณแบบมีxxxxxxxxxxxประชาชน xxxxxxมีส่วนร่วมในการวางแผน ตัดสินใจการใช้งบประมาณ (สนับสนุน)
5. xxxxxxxxxxxxx 5 xxxxxxxxxxย่อยที่ 5.2 KR 3 : ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนผ่านงบประมาณ แบบมีส่วนร่วม (สนับสนุน)
6. xxxxxxxxxxxxx 5 xxxxxxxxxxย่อยที่ 5.3 KR 1 : กรุงเทพมหานครรับโอนภารกิจจากรัฐบาล ในการให้บริการสาธารณะ
7. xxxxxxxxxxxxx 5 xxxxxxxxxxย่อยที่ 5.3 KPI 5.3.1.2 : จำนวนภารกิจตามแผนการxxxxxxxxxxx ให้แก่องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นที่ กรุงเทพมหานครยืนยันความพร้อมรับการถ่ายโอน
8. xxxxxxxxxxxxx 5 xxxxxxxxxxย่อยที่ 5.3 KPI 5.3.1.3 : จำนวนภารกิจตามแผนการxxxxxxxxxxx ให้แก่องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นที่ กรุงเทพมหานครได้รับการถ่ายโอน
9. xxxxxxxxxxxxx 6 xxxxxxxxxxย่อยที่ 6.1 KPI 6.1.2.1 : บุคลากรมีความxxxxxxในการจัดการ วิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
10. xxxxxxxxxxxxx 7 xxxxxxxxxxย่อยที่ 7.2 KR 1 : xxxxxประสิทธิภาพการขับเคลื่อนภารกิจ ของกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องในแต่ละประเด็นหรือพื้นที่
11. xxxxxxxxxxxxx 7 xxxxxxxxxxย่อยที่ 7.2 KR 2 : ยกระดับระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนา กรุงเทพมหานครที่xxxxxxติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการxxxxxxตามxxxxxxxxxxและนโยบาย ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้อย่างครบถ้วน
12. xxxxxxxxxxxxx 7 xxxxxxxxxxย่อยที่ 7.2 KPI 7.2.1.1 : ร้อยละภารกิจของกรุงเทพมหานครเชิงพื้นที่ xxxxxxมีการขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
13. xxxxxxxxxxxxx 7 xxxxxxxxxxย่อยที่ 7.2 KPI 7.2.1.2 : จำนวนแผนหรือกิจกรรมที่มาจากการขับเคลื่อน และบูรณาการความร่วมมือร่วมกันของเครือข่ายจนxxxxxผลตามเป้าหมาย
14. xxxxxxxxxxxxx 7 xxxxxxxxxxย่อยที่ 7.2 KPI 7.2.2.1 : รายงานการติดตามประเมินผล พร้อมข้อเสนอในการปรับปรุงการปฏิบัติงานรายรายการ
15. xxxxxxxxxxxxx 7 xxxxxxxxxxย่อยที่ 7.2 KPI 7.2.2.2 : จำนวนครั้งการนำเข้าข้อมูลผลการxxxxxxงาน และรายงานผลตามxxxxxxxxxxและนโยบายของผู้ว่าฯ ของหน่วยงาน
16 xxxxxxxxxxxxx 7 xxxxxxxxxxย่อยที่ 7.5 KR 1 : พัฒนาระบบบริการสาธารณะที่สะดวก เข้าถึงง่าย ในรูปแบบออนไลน์ เพื่อxxxxxความสะดวกให้แก่ประชาชนและภาคธุรกิจ พร้อมทั้งxxxxxxเข้าถึงข้อมูล และตรวจสอบการxxxxxxงานของกรุงเทพมหานครได้อย่างเปิดเผย
17. xxxxxxxxxxxxx 7 xxxxxxxxxxย่อยที่ 7.5 KR 2 : เปลี่ยนสู่ระบบดิจิทัลภาครัฐ เพื่อบริหารงาน xxxxxxxx xxxxxxxx และคลอบคลุมทุกหน่วยงานบริการของกรุงเทพมหานคร
18. xxxxxxxxxxxxx 7 xxxxxxxxxxย่อยที่ 7.5 KPI 7.5.6.1 : ร้อยละของบุคลากรxxxxxxรับการอบรม ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง ระดับกรม. (Department Chief Information Officer: DCIO)
19. xxxxxxxxxxxxx 7 xxxxxxxxxxย่อยที่ 7.5 KPI 7.5.6.2 : แผนงานxxxxxxรับจากการอบรมผู้บริหาร เทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง ระดับกรม (Department Chief Information Officer: DCIO) ถูกนำมา xxxxxxการ
ฯลฯ
ส่วนที่ 1 ความสอดคล้องกับxxxxxxxxxxการพัฒนากรุงเทพมหานคร
กลยุทธ์และโครงการ/กิจกรรมสำคัญตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
มิติที่ 1 การบริการสาธารณะ (เนื้อหาส่วนนจี้ ะครอบคลุมเฉพาะยุทธศาสตร์ที่ 1 – 6 ตามแผนปฏิบัติราชการ กรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567) (หน่วยงานสามารถสามารถพิจารณาจาก Objective, KR และ KPI ที่ปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครฯ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของหน่วยงาน)
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเชื่อมโยงเมืองที่มีความคล่องตัวและระบบบริการสาธารณะแบบบูรณาการ
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 4.1 เมืองกรุงเทพมหานครเติบโตอย่างมีระเบียบมีการใช้ประโยชน์ที่ดินและทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์หลัก1 (Objective) | ตัววัดผลหลัก2 (Key Result : KR) | (Target) | หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก | หน่วยงาน สนับสนุน |
กรุงเทพมหานครมีผังเมือง รวมที่สอดคล้องต่อการ เปลี่ยนแปลงทางสภาพ เศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการใช้ชีวิต ของประชาชน | KR 3 : ข้อมูลเมืองของกรุงเทพมหานคร ถูกนำมาใช้ในการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ เพื่อวางแผนงานโครงการจัดทำ งบประมาณ และกำหนดทิศทาง การพัฒนา (P052) | ทุกโครงการ ที่ขอจัดสรร งบประมาณ ต้องนำ ข้อมูลเมือง ไปใช้ในการ วิเคราะห์ | สยป. | สวพ. และ ทุก หน่วยงาน |
กลยุทธ์ 4.1.4 กรุงเทพมหานครจัดเก็บชุดข้อมูลเมืองในรูปแบดิจิทัลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ และการบริการ โดยสามารถต่อยอดเป็นแบบจำลองเสมือนกรุงเทพฯ (Digital Twin)
1 วัตถุประสงค์หลัก (Objective) หมายถึง วัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลักของความสำเร็จ (เป็นการบอกจุดมุ่งหมาย/ภารกิจของหน่วยงาน ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์)
2 ตัววัดผลหลัก (Key Result : KR) หมายถึง ตัววัดผลความสำเร็จของวัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลัก เป็นการบอกผลลัพธ์/วิธีการของหน่วยงาน ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์หลัก ซึ่งอาจปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 หรือเป็นตัววดผลที่หน่วยงานกำหนดขึ้น เพื่อวัดผลการดำเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน
3 ค่าเป้าหมาย หมายถึง เป้าหมายหรือผลการดำเนินงานที่หน่วยงานคาดหมายให้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2567 ภายใต้ตัววัดผลหลัก (Key Result : KR) นั้น ๆ
ตัวชี้วัด (KPI) | ค่าเป้าหมาย | |
2567 | ||
KPI 4.1.4.1 : ชุดข้อมูลสำคัญของเมืองในรูปแบบฐานข้อมูล สารสนเทศภูมิศาสตร์ดิจิทัล | เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5 ชุดข้อมูล |
รหัสยุทธศาสตร์ | โครงการ/กิจกรรมสำคัญ (จัดลำดับตามความสำคัญ/จำเป็นเร่งด่วนในการดำเนินการ) | งบประมาณ | ส่วนราชการ | รหัสนโยบาย |
เพิ่มเติมปี 2567 | โครงการกำหนดตัวชี้วัดและพัฒนาศักยภาพ ในการติดตามความเป็นเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคน ของกรุงเทพมหานคร (โครงการซ้ำกับ 7.2) | 5,142,730 | กยบ. | P054 |
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมการสร้างเมืองประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
4 กรณีที่ไม่มีค่าเป้าหมายปี 2566 ให้ทำเครื่องหมาย “-”
5 รหัสยุทธศาสตร์ (6 หลัก) หมายถึง รหัสยุทธศาสตร์ของโครงการ/กิจกรรมสำคัญที่ปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
6 รหัสนโยบาย (3 หลัก) หมายถึง รหัสนโยบายตามดัชนีนโยบายของแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 5.1 มหานครกรุงเทพแบบบูรณาการ
วัตถุประสงค์หลัก7 (Objective) | ตัววัดผลหลัก8 (Key Result : KR) | (Target) | หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก | หน่วยงาน สนับสนุน |
กรุงเทพมหานครเป็น มหานครที่บริหารจัดการ แบบร่วมมือกัน (COLLABORATIVE GOVERNANCE) เพื่อสร้างความร่วมมือ ในการทํางานของทุก- ภาคส่วน เเละเปิดโอกาส ให้ “ทุกคน” เข้ามามีส่วน ร่วมกับการพัฒนาเมือง | KR 1 : พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ ในการให้บริการสาธารณะ | เพิ่ม เครือข่าย ความร่วมมือ | สยป. สนย. | สผว. สลป. สลส. สนข. |
กลยุทธ์ 5.1.1 พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการให้บริการสาธารณะ
7 วัตถุประสงค์หลัก (Objective) หมายถึง วัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลักของความสำเร็จ (เป็นการบอกจุดมุ่งหมาย/ภารกิจของหน่วยงาน ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์)
8 ตัววัดผลหลัก (Key Result : KR) หมายถึง ตัววัดผลความสำเร็จของวัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลัก เป็นการบอกผลลัพธ์/วิธีการของหน่วยงาน ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์หลัก ซึ่งอาจปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 หรือเป็นตัววดผลที่หน่วยงานกำหนดขึ้น เพื่อวัดผลการดำเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน
3 ค่าเป้าหมาย หมายถึง เป้าหมายหรือผลการดำเนินงานที่หน่วยงานคาดหมายให้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2567 ภายใต้ตัววัดผลหลัก (Key Result : KR) นั้น ๆ
ตัวชี้วัด (KPI) | ค่าเป้าหมาย | |
2567 | ||
KPI 5.1.1.1 : จัดทำแผนบูรณาการความร่วมมือในการ จัดบริการสาธารณะและแก้ไขปัญหาสาธารณะที่ครอบคลุม บริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร 5 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2) ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต 3) ด้านการจัดระเบียบชุมชนสังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อย 4) ด้านศิลปวัฒนธรรมจารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น 5) ด้านการส่งเสริมการลงทุนและพาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว) | แผนบูรณาการฯ อย่างน้อย 1 ด้าน |
รหัสยุทธศาสตร์ | โครงการ/กิจกรรมสำคัญ (จัดลำดับตามความสำคัญ/จำเป็นเร่งด่วนในการดำเนินการ) | งบประมาณ | ส่วนราชการ | รหัสนโยบาย |
551002 | โครงการจัดทำแผนบูรณาการโครงสร้างพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร (เนื่องจากปรับแผนมาดำเนินการใน ปี 2566) | 8.8400 | กยภ. ไม่เสนอโครงการ | P059 |
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมการสร้างเมืองประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
10 กรณีที่ไม่มีค่าเป้าหมายปี 2566 ให้ทำเครื่องหมาย “-”
11 รหัสยุทธศาสตร์ (6 หลัก) หมายถึง รหัสยุทธศาสตร์ของโครงการ/กิจกรรมสำคัญที่ปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ.
2567
12 รหัสนโยบาย (3 หลัก) หมายถึง รหัสนโยบายตามดัชนีนโยบายของแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 5.2 พลเมืองขับเคลื่อนมหานคร
วัตถุประสงค์หลัก13 (Objective) | ตัววัดผลหลัก14 (Key Result : KR) | (Target) | หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก | หน่วยงาน สนับสนุน |
ประชาชนมีส่วนร่วมใน การขับเคลื่อน และพัฒนาเมือง และสามารถตรวจสอบ การทำงานของ กรุงเทพมหานครได้ | KR 1 : ประชาชนมีส่วนร่วมพัฒนาเมือง และตัดสินใจการดำเนินงาน ของหน่วยงาน ด้วยการเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดทำบริการหรือกิจกรรม สาธารณะในทุกรูปแบบ | ทุก กลุ่มเป้าหมาย และ ทุกชุมชน | สนข. | ทุก หน่วยงาน |
KR 2 : สร้างระบบงบประมาณ แบบมีส่วนร่วมที่ประชาชนสามารถ มีส่วนร่วมในการวางแผน ตัดสินใจ การใช้งบประมาณ | กรุงเทพ- มหานคร มีระบบ งบประมาณ แบบ มีส่วนร่วม | สงม. | สยป. สนข. | |
KR 3 : ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา ชุมชนผ่านงบประมาณแบบมีส่วนร่วม | 2,017 ชุมชน | สพส. | สยป. สนข. |
กลยุทธ์ 5.2.1 การแก้ไขปัญหาและพัฒนาเมืองจากการมีส่วนร่วมของประชาชน
13 วัตถุประสงค์หลัก (Objective) หมายถึง วัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลักของความสำเร็จ (เป็นการบอกจุดมุ่งหมาย/ภารกิจของหน่วยงาน ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์)
14 ตัววัดผลหลัก (Key Result : KR) หมายถึง ตัววัดผลความสำเร็จของวัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลัก เป็นการบอกผลลัพธ์/วิธีการของหน่วยงาน ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์หลัก ซึ่งอาจปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 หรือเป็นตัววดผลที่หน่วยงานกำหนดขึ้น เพื่อวัดผลการดำเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน
3 ค่าเป้าหมาย หมายถึง เป้าหมายหรือผลการดำเนินงานที่หน่วยงานคาดหมายให้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2567 ภายใต้ตัววัดผลหลัก (Key Result : KR) นั้น ๆ
ตัวชี้วัด (KPI) | ค่าเป้าหมาย | |
2567 | ||
KPI 5.2.1.2 : สัดสว่ นของประชาชนหรือผู้มีส่วนได้เสีย ที่เป็นองค์ประกอบของคณะกรรมการ คณะทำงานหรือเรียกชื่อ เป็นอย่างอื่น | มีสัดส่วนอย่างน้อย 30 % ต่อคณะ จำนวน 77 คณะ |
รหัสยุทธศาสตร์ | โครงการ/กิจกรรมสำคัญ (จัดลำดับตามความสำคัญ/จำเป็นเร่งด่วนในการดำเนินการ) | งบประมาณ | ส่วนราชการ | รหัสนโยบาย |
552004 | กิจกรรมพัฒนาแนวทางการจัดทำแผน ปฏิบัติราชการของหน่วยงานระดับสำนักงานเขต | ไม่ใช้ งบประมาณ | กยบ. | P046 |
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมการสร้างเมืองประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
16 กรณีที่ไม่มีค่าเป้าหมายปี 2566 ให้ทำเครื่องหมาย “-”
17 รหัสยุทธศาสตร์ (6 หลัก) หมายถึง รหัสยุทธศาสตร์ของโครงการ/กิจกรรมสำคัญที่ปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ.
2567
18 รหัสนโยบาย (3 หลัก) หมายถึง รหัสนโยบายตามดัชนีนโยบายของแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 5.3 การกระจายอำนาจ
วัตถุประสงค์หลัก19 (Objective) | ตัววัดผลหลัก20 (Key Result : KR) | (Target) | หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก | หน่วยงาน สนับสนุน |
กรุงเทพมหานคร มีความพร้อมในการรับโอน ภารกิจจากรัฐบาล ในการให้บริการสาธารณะ ตามที่กฎหมายกำหนด และกระจายภารกิจบางส่วน ไปยังสำนักงานเขตและ เปิดโอกาสให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วม | KR 1 : กรุงเทพมหานครรับโอนภารกิจ จากรัฐบาลในการให้บริการสาธารณะ | ปี 66 (จำนวน 1 ภารกิจ) ปี 67 (จำนวน 2 ภารกิจ) ปี 68 (จำนวน 3 ภารกิจ) | สยป. | - |
กลยุทธ์ 5.3.1 วิเคราะห์ความพร้อมหน่วยงานของกรุงเทพมหานครในการรับถ่ายโอนภารกิจที่ยังไม่ได้รับถ่าย โอนตามแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
19 วัตถุประสงค์หลัก (Objective) หมายถึง วัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลักของความสำเร็จ (เป็นการบอกจุดมุ่งหมาย/ภารกิจของหน่วยงาน ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์)
20 ตัววัดผลหลัก (Key Result : KR) หมายถึง ตัววัดผลความสำเร็จของวัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลัก เป็นการบอกผลลัพธ์/วิธีการของหน่วยงาน ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์หลัก ซึ่งอาจปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 หรือเป็นตัววดผลที่หน่วยงานกำหนดขึ้น เพื่อวัดผลการดำเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน
3 ค่าเป้าหมาย หมายถึง เป้าหมายหรือผลการดำเนินงานที่หน่วยงานคาดหมายให้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2567 ภายใต้ตัววัดผลหลัก (Key Result : KR) นั้น ๆ
ตัวชี้วัด (KPI) | ค่าเป้าหมาย | |
2567 | ||
KPI 5.3.1.2 : จำนวนภารกิจตามแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กรุงเทพมหานครยืนยัน ความพร้อมรับการถ่ายโอน | 3 ภารกิจ (จาก 26 ภารกิจ ที่ยังไม่ได้รับ การถ่ายโอน) | 3 ภารกิจ (จาก 26 ภารกิจ ที่ยังไม่ได้รับ การถ่ายโอน) |
KPI 5.3.1.3 : จำนวนภารกิจตามแผนการกระจายอำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กรุงเทพมหานครได้รับการถ่ายโอน | 1 ภารกิจ | 2 ภารกิจ |
รหัสยุทธศาสตร์ | โครงการ/กิจกรรมสำคัญ (จัดลำดับตามความสำคัญ/จำเป็นเร่งด่วนในการดำเนินการ) | งบประมาณ | ส่วนราชการ | รหัสนโยบาย |
553003 | กิจกรรมวิเคราะห์ความพร้อมของหน่วยงาน ของ กทม. ในการรับถ่ายโอนภารกิจที่ยังไม่ได้รับ ถ่ายโอนตามแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น | ไม่ใช้ งบประมาณ | กยค. | - |
553004 | กิจกรรมประสานการถ่ายโอนภารกิจตามแผนการ กระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | ไม่ใช้ งบประมาณ | กยค. | - |
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การต่อยอดความเป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจสร้างสรรค์
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 6.1 เมืองแห่งโอกาสทางเศรษฐกิจและการลงทุน
22 กรณีที่ไม่มีค่าเป้าหมายปี 2566 ให้ทำเครื่องหมาย “-”
23 รหัสยุทธศาสตร์ (6 หลัก) หมายถึง รหัสยุทธศาสตร์ของโครงการ/กิจกรรมสำคัญที่ปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ.
2567
24 รหัสนโยบาย (3 หลัก) หมายถึง รหัสนโยบายตามดัชนีนโยบายของแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
วัตถุประสงค์หลัก25 (Objective) | ตัววัดผลหลัก26 (Key Result : KR) | (Target) | หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก | หน่วยงาน สนับสนุน |
คนในกรุงเทพมหานคร ได้รับโอกาสทางเศรษฐกิจ และการลงทุน | KR 1 : ประชาชน ผู้ประกอบการ หรือนักลงทุนเข้าถึงและใช้ประโยชน์ จากข้อมูลด้านธุรกิจและการลงทุน ของกรุงเทพมหานคร | ร้อยละ 20 | สนค. | - |
กลยุทธ์ 6.1.2 พัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงานด้านเศรษฐกิจให้มีความสามารถในการจัดการข้อมูล
ตัวชี้วัด (KPI) | ค่าเป้าหมาย | |
2567 | ||
KPI 6.1.2.1 : บุคลากรมีความสามารถในการจัดการวิเคราะห์ ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ (ผลผลิต) | ร้อยละ 80 | ร้อยละ 80 |
รหัสยุทธศาสตร์ | โครงการ/กิจกรรมสำคัญ (จัดลำดับตามความสำคัญ/จำเป็นเร่งด่วนในการดำเนินการ) | งบประมาณ | ส่วนราชการ | รหัสนโยบาย |
661005 | โครงการพัฒนาทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล ทางเศรษฐกิจ | 621,200 | กยค. | P025 |
มิติที่ 2 การบริหารจัดการ (เนื้อหาส่วนนี้จะครอบคลุมเฉพาะยุทธศาสตร์ที่ 7 ตามแผนปฏิบัติราชการ
กรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567) (หน่วยงานสามารถกำหนดวัตถุประสงค์หลัก (Objective) และ
ตัววัดผลหลัก
(Key Result : KR) ขึ้นเองเพื่อวัดผลการดำเนนิ งานตามภารกิจของหน่วยงาน หรือสามารถพิจารณาจาก
25 วัตถุประสงค์หลัก (Objective) หมายถึง วัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลักของความสำเร็จ (เป็นการบอกจุดมุ่งหมาย/ภารกิจของหน่วยงา |
ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์) 26 ตัววัดผลหลัก (Key Result : KR) หมายถึง ตัววัดผลความสำเร็จของวัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลัก เป็นการบอกผลลัพธ์/วิธีการของหน่วยงาน ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์หลัก ซึ่งอาจปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 หรือเป็นตัววดผลที่หน่วยงานกำหนดข |
เพื่อวัดผลการดำเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน 3 ค่าเป้าหมาย หมายถึง เป้าหมายหรือผลการดำเนินงานที่หน่วยงานคาดหมายให้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2567 ภายใต้ตัววัดผลหลัก (Key Result : KR) นั้น ๆ |
28 กรณีที่ไม่มีค่าเป้าหมายปี 2566 ให้ทำเครื่องหมาย “-” |
29 รหัสยุทธศาสตร์ (6 หลัก) หมายถึง รหัสยุทธศาสตร์ของโครงการ/กิจกรรมสำคัญที่ปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 |
30 รหัสนโยบาย (3 หลัก) หมายถึง รหัสนโยบายตามดัชนีนโยบายของแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 |
Objective, KR และ KPI ที่ปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครฯ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของ
หน่วยงาน)
ยุทธศาสตร์ที่ 7 การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.2 การบริหารและประเมินผลแผน
วัตถุประสงค์หลัก31 (Objective) | ตัววัดผลหลัก32 (Key Result : KR) | (Target) | หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก | หน่วยงาน สนับสนุน |
กรุงเทพมหานครสามารถ ขับเคลื่อนแผนอย่าง บูรณาการ และยกระดับ ระบบการบริหารจัดการ แผนพัฒนา กรุงเทพมหานคร ที่มีประสิทธิภาพ | KR 1 : เพิ่มประสิทธิภาพการ ขับเคลื่อนภารกิจของกรุงเทพมหานคร ให้สอดคล้องในแต่ละประเด็น หรือพื้นที่ | ร้อยละ 100 ของ OKRs | สยป. | ทุก หน่วยงาน |
KR 2 : ยกระดับระบบการบริหาร จัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ที่สามารถติดตาม ประเมินผล และ รายงานผลการดำเนินตามยุทธศาสตร์ และนโยบายของผู้ว่าราชการ- กรุงเทพมหานครได้อย่างครบถ้วน | 1 ระบบ | สยป. | - |
ค่าเป้าหมาย
กลยุทธ์ 7.2.1 การสร้างความร่วมมือในการบริหารแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร และแผนแม่บทต่าง ๆ และแผนเฉพาะด้านโดยใช้นวัตกรรมในการขับเคลื่อน
31 วัตถุประสงค์หลัก (Objective) หมายถึง วัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลักของความสำเร็จ (เป็นการบอกจุดมุ่งหมาย/ภารกิจของหน่วยงาน ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์)
32 ตัววัดผลหลัก (Key Result : KR) หมายถึง ตัววัดผลความสำเร็จของวัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลัก เป็นการบอกผลลัพธ์/วิธีการของหน่วยงาน ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์หลัก ซึ่งอาจปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 หรือเป็นตัววดผลที่หน่วยงานกำหนดขึ้น เพื่อวัดผลการดำเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน
3 ค่าเป้าหมาย หมายถึง เป้าหมายหรือผลการดำเนินงานที่หน่วยงานคาดหมายให้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2567 ภายใต้ตัววัดผลหลัก (Key Result : KR) นั้น ๆ
ตัวชี้วัด (KPI) | 2567 | |
KPI 7.2.1.2 : จำนวนแผนหรือกิจกรรมที่มาจากการขับเคลื่อน และบูรณาการความร่วมมือร่วมกันของเครือข่ายจนบรรลุผล ตามเป้าหมาย | 1 แผน |
กลยุทธ์ 7.2.2 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
ตัวชี้วัด (KPI) | ค่าเป้าหมาย | |
2566 | 2567 | |
KPI 7.2.2.1 : รายงานการติดตามประเมินผลพร้อมข้อเสนอใน การปรับปรุงการปฏิบัติงานรายรายการ | เดือนละ 1 ครั้ง | |
KPI 7.2.2.2 : จำนวนครั้งการนำเข้าข้อมูลผลการดำเนินงาน และรายงานผลตามยุทธศาสตร์และนโยบายของผู้ว่าฯ ของ หน่วยงาน | เดือนละ 1 ครั้ง |
รหัสยุทธศาสตร์ | โครงการ/กิจกรรมสำคัญ (จัดลำดับตามความสำคัญ/จำเป็นเร่งด่วนในการดำเนินการ) | งบประมาณ | ส่วนราชการ | รหัสนโยบาย |
772001 | โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางยุทธศาสตร์ (*ไม่ได้เนินโครงการนี้เนื่องจากดำเนินการในกระบวนการและแนว ทางการจัดทำแผน ปฏบัติราชการประจี พ.ศ. 2568 และการ ดำเนินกิจกรรม SDGs Localization แล้ว) | ไม่ใช้ งบประมาณ | กยบ. | P045 P046 P056 |
772003 | โครงการ Strategy and Policy Lab เพื่อขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนานวัตกรรม การพัฒนาเชิงพื้นที่ | ไม่ใช้ งบประมาณ | กยบ. | P054 |
34 กรณีที่ไม่มีค่าเป้าหมายปี 2566 ให้ทำเครื่องหมาย “-”
35 รหัสยุทธศาสตร์ (6 หลัก) หมายถึง รหัสยุทธศาสตร์ของโครงการ/กิจกรรมสำคัญที่ปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ.
2567
36 รหัสนโยบาย (3 หลัก) หมายถึง รหัสนโยบายตามดัชนีนโยบายของแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
รหัสยุทธศาสตร์ | โครงการ/กิจกรรมสำคัญ (จัดลำดับตามความสำคัญ/จำเป็นเร่งด่วนในการดำเนินการ) | งบประมาณ | ส่วนราชการ | รหัสนโยบาย |
(*ไม่ได้ดำเนินโครงการนี้เนื่องจากมีการดำเนินการในรูปแบบของ คณะอนุกรรมการห้องทดลองเมือง City Lab c]h; และมีการจัดตั้ง ศูนย์ City Lab ที่ ม. นวมินทร์แล้ว) | ||||
772004 | กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ แผนกรุงเทพมหานคร BMA Digital Plans | ไม่ใช้ งบประมาณ | กยบ. | - |
เพิ่มเติมปี 2567 | โครงการกำหนดตัวชี้วัดและพัฒนาศักยภาพ ในการติดตามความเป็นเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคน ของกรุงเทพมหานคร (โครงการซ้ำกับ 4.1) | 5,142,730 | กยบ. | P054 |
เพิ่มเติมปี 2567 | โครงการจ้างที่ปรึกษาศึกษาวิจัยสถานการณ์ และความพร้อมรับมือต่อประเด็นเรื่องประชากร แฝงของกรุงเทพมหานคร | 5,163,798 | กยม. | P143 |
ยุทธศาสตร์ที่ 7 การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม
วัตถุประสงค์หลัก37 (Objective) | ตัววัดผลหลัก38 (Key Result : KR) | (Target) | หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก | หน่วยงาน สนับสนุน |
กรุงเทพมหานครมีการ | KR 1 : พัฒนาระบบบริการสาธารณะ | ประชาชน | สยป. | หน่วยงาน |
ยกระดับสู่ดิจิทัลภาครัฐ | ที่สะดวก เข้าถึงง่าย ในรูปแบบ | มีความ | ระดับ | |
เพื่อบริหารงานยืดหยุ่น | ออนไลน์ เพื่ออำนวยความสะดวก | พึงพอใจ | สำนัก | |
คล่องตัว และครอบคลุม | ให้แก่ประชาชน และภาคธุรกิจ | ต่อการ | ||
ทุกหน่วยงานบริการของ | พร้อมทั้งสามารถเข้าถึงข้อมูล | ให้บริการ | ||
กรุงเทพมหานคร | และตรวจสอบการดำเนินงาน | ร้อยละ 80 | ||
ของกรุงเทพมหานครได้อย่างเปิดเผย | ||||
KR 2 : เปลี่ยนสู่ระบบดิจิทัลภาครัฐ | อย่างน้อย | สยป. | หน่วยงาน | |
เพื่อบริหารงานยืดหยุ่น คล่องตัว | 10 ภารกิจ | ระดับ | ||
และคลอบคลุมทุกหน่วยงานบริการ | สำนัก | |||
ของกรุงเทพมหานคร |
ค่าเป้าหมาย
กลยุทธ์ 7.5.4 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัลให้มีประสิทธิภาพเพื่อรองรับการบริการประชาชน และการ ปฏิบัติงานของกรุงเทพมหานคร (Infrastructure as a Service)
37 วัตถุประสงค์หลัก (Objective) หมายถึง วัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลักของความสำเร็จ (เป็นการบอกจุดมุ่งหมาย/ภารกิจของหน่วยงาน ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์)
38 ตัววัดผลหลัก (Key Result : KR) หมายถึง ตัววัดผลความสำเร็จของวัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลัก เป็นการบอกผลลัพธ์/วิธีการของหน่วยงาน ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์หลัก ซึ่งอาจปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 หรือเป็นตัววดผลที่หน่วยงานกำหนดขึ้น เพื่อวัดผลการดำเนินงานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน
3 ค่าเป้าหมาย หมายถึง เป้าหมายหรือผลการดำเนินงานที่หน่วยงานคาดหมายให้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2567 ภายใต้ตัววัดผลหลัก (Key Result : KR) นั้น ๆ
ตัวชี้วัด (KPI) | 2567 | |
KPI 7.5.4.1 : หน่วยงานระดับสำนักและสำนักงานเขตสามารถ ให้บริการโครงสร้าง พื้นฐานด้านดิจิทัลของกรุงเทพมหานครได้ อย่างมีประสิทธิภาพ | 77 หน่วยงาน |
รหัสยุทธศาสตร์ | โครงการ/กิจกรรมสำคัญ (จัดลำดับตามความสำคัญ/จำเป็นเร่งด่วนในการดำเนินการ) | งบประมาณ | ส่วนราชการ | รหัสนโยบาย |
775002 | โครงการปรับปรุงระบบเผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อ จัดจ้างภาครัฐ (e-GP BMA) | 7,800,000 | กคพ. | P058 |
775006 | โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการรักษา ความปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร | 36,498,100 | กคพ. | P058 |
775008 | โครงการจัดหาระบบสำรองข้อมูลศูนย์ข้อมูล | 43,360,000 | กคพ. | P058 |
775013 | โครงการจัดหาระบบบริหารจัดการ เพื่อให้บริการ Web Hosting กรุงเทพมหานคร | 9,950,000 *ไม่ได้รับ งบประมาณ | กคพ. | P058 |
775017 | โครงการจ้างที่ปรึกษาดำเนินการตรวจสอบการ ปฏิบัติตามมาตรฐานและคุณภาพเกี่ยวกับความ มั่นคงปลอดภัยข้อมูล | 5,000,000 *ไม่ได้รับ งบประมาณ | กคพ. | P058 |
775018 | โครงการจ้างพัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูล ส่วนบุคคลแบบปลอดภัยสูง ระยะที่ 1 | 25,000,000 *ไม่ได้รับ งบประมาณ | กคพ. | P058 |
40 กรณีที่ไม่มีค่าเป้าหมายปี 2566 ให้ทำเครื่องหมาย “-”
41 รหัสยุทธศาสตร์ (6 หลัก) หมายถึง รหัสยุทธศาสตร์ของโครงการ/กิจกรรมสำคัญที่ปรากฏตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ.
2567
42 รหัสนโยบาย (3 หลัก) หมายถึง รหัสนโยบายตามดัชนีนโยบายของแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
รหัสยุทธศาสตร์ | โครงการ/กิจกรรมสำคัญ (จัดลำดับตามความสำคัญ/จำเป็นเร่งด่วนในการดำเนินการ) | งบประมาณ | ส่วนราชการ | รหัสนโยบาย |
ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 | ||||
เพิ่มเติมปี 2567 | โครงการพัฒนาระบบศูนย์รับคำขออนุญาต ของกรุงเทพมหานคร (BMA OSS) | 23,140,000 | กพพ. | P020 |
เพิ่มเติม ปี 2567 | โครงการจัดทำระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร ของกรุงเทพมหานคร (BMA-ERP) (218,035,400 บาท) | 1,676,100 | กพพ. | - |
เพิ่มเติม ปี 2567 | โครงการจ้างที่ปรึกษาประจำสำนักยุทธศาสตร์ และประเมิน (In-house) เพื่อศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบ บูรณาการข้อมูล และกำหนดนโยบายและมาตรฐาน เพื่อยกระดับ การปฏิบัติงานและการให้บริการด้านดิจิทัล | 36,000,000 | กสศ. | P051 |
สรุปโครงการและงบประมาณที่หน่วยงานจะดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 โครงการ/กิจกรรมสำคัญตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 (เรียงลำดับตามความสำคัญ/จำเป็นเร่งด่วนในการดำเนินการ)
ลำดับที่ | ชื่อโครงการ/กิจกรรมสำคัญ | งบประมาณ | ส่วนราชการ ที่รับผิดชอบ | รหัสนโยบาย (3 หลัก) |
1 | โครงการพัฒนาระบบศูนย์รับคำขออนุญาตของ กรุงเทพมหานคร (BMA OSS) | 23,140,000 | กพพ. | P020 |
2 | โครงการกำหนดตัวชี้วัดและพัฒนาศักยภาพในการ ติดตามความเป็นเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคนของ กรุงเทพมหานคร | 5,142,730 | กยบ. | P054 |
3 | กิจกรรมพัฒนาแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานระดับสำนักงานเขต | ไม่ใช้ งบประมาณ | กยบ. | P046 |
4 | กิจกรรมวิเคราะห์ความพร้อมของหน่วยงานของ กทม. ในการรับถ่ายโอนภารกิจที่ยังไม่ได้รับถ่ายโอน ตามแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น | ไม่ใช้ งบประมาณ | กยค. | - |
5 | กิจกรรมประสานการถ่ายโอนภารกิจตามแผน การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | ไม่ใช้ งบประมาณ | กยค. | - |
6 | โครงการพัฒนาทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลทางเศรษฐกิจ | 621,200 | กยค. | - |
7 | โครงการ Strategy and Policy Lab เพื่อขับเคลื่อน กระบวนการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาเชิงพื้นที่ | ไม่ใช้ งบประมาณ | กยบ. | P054 |
8 | กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการแผน กรุงเทพมหานคร BMA Digital Plans | ไม่ใช้ งบประมาณ | กยบ. | - |
9 | โครงการปรับปรุงระบบเผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อ จัดจ้างภาครัฐ (e-GP BMA) | 7,800,000 | กคพ. | P058 |
10 | โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการรักษา ความปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร | 36,498,100 | กคพ. | P058 |
11 | โครงการจัดหาระบบสำรองข้อมูลศูนย์ข้อมูล | 43,360,000 | กคพ. | P058 |
12 | โครงการจัดหาระบบบริหารจัดการ เพื่อให้บริการ Web Hosting กรุงเทพมหานคร | 9,950,000 | กคพ. | P058 |
ลำดับที่ | ชื่อโครงการ/กิจกรรมสำคัญ | งบประมาณ | ส่วนราชการ ที่รับผิดชอบ | รหัสนโยบาย (3 หลัก) |
*ไม่ได้รับ งบประมาณ | ||||
13 | โครงการจ้างที่ปรึกษาดำเนินการตรวจสอบการ ปฏิบัติตามมาตรฐานและคุณภาพเกี่ยวกับความ มั่นคงปลอดภัยข้อมูล | 5,000,000 *ไม่ได้รับ งบประมาณ | กคพ. | P058 |
14 | โครงการจ้างพัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคล แบบปลอดภัยสูง ระยะที่ 1 ตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 | 25,000,000 *ไม่ได้รับ งบประมาณ | กคพ. | P058 |
15 | โครงการจัดทำระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร ของกรุงเทพมหานคร (BMA-ERP) (218,035,400 บาท) | 1,676,100 | กพพ. | |
16 | โครงการจ้างที่ปรึกษาประจำสำนักยุทธศาสตร์และ ประเมิน (In-house) เพื่อศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบ บูรณาการข้อมูล และกำหนด นโยบายและมาตรฐาน เพื่อยกระดับการปฏิบัติงาน และการให้บริการด้านดิจิทัล | 36,000,000 | กสศ. | |
17 | โครงการจ้างที่ปรึกษาศึกษาวิจัยสถานการณ์ และความพร้อมรับมือต่อประเด็นเรื่องประชากรแฝง ของกรุงเทพมหานคร | 5,163,798 | กยม. | |
รวมงบประมาณทั้งสิ้น | 159,401,928 | สยป |
โครงการ/กิจกรรมสำคัญ รวมจำนวน 17 โครงการ/กิจกรรม จำนวนเงินทั้งสิ้น 159,401,928 .- บาท โครงการ/กิจกรรมภายใต้แผนงานบูรณาการ........................................................................................................
. จำนวน…............................................โครงการ
จำนวนเงินทั้งสิ้น. บาท
หมายเหตุ : กรณีหน่วยงานมีโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานบูรณาการ ให้ทำเครื่องหมาย * กำกับ และหมายเหตุใต้ชื่อโครงการว่า “แผนงานบูรณาการ. ”
ส่วนที่ 2 การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 43 พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะที่พึงประสงค์
วัตถุประสงค์หลัก (Objective)44 พัฒนาศักยภาพบุคลากรในตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
ตัววัดผล/ตัวชี้วัดหลักตามภารกิจหลักของหน่วยงาน (KPI) ระดับความพึงพอใจจากการประเมินผลคุณภาพ การให้บริการจากประสิทธิภาพของการนำแนวทางในการปฏิบัติงานฯ ไปใช้ อยู่ในระดับเท่ากับความคาดหวัง ของผู้รับบริการ
ความเชื่อมโยงกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 256745 กลยุทธ์ที่ 7.3.5 พัฒนา สมรรถนะของทรัพยากรบุคคล ให้มุ่งสู่ความเป็นมืออาชีพ KPI 7.3.5.1 ทรัพยากรบุคคลมีการพัฒนาสมรรถนะ ประจำสายงาน (กลุ่มงาน) (Functional Competency)
ลำดับที่ | (จัดลำดับตามความสำคัญ/จำเป็นเร่งด่วนในการดำเนินการ) | งบประมาณ | ส่วนราชการ | รหัสนโยบาย (ถ้ามี) |
1 | โครงการพัฒนานักวิเคราะห์นโยบายและแผน ของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 899,500.- | กยล. | - |
43 ประเด็นการพัฒนา หมายถึง สิ่งที่หน่วยงานต้องการยกระดับการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในเชิงภารกิจหน้าที่ หรือเชิงพื้นที่
44 วัตถุประสงค์หลัก(Objective)หมายถึง วัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลักของความสำเร็จ (เป็นการบอกจุดมุ่งหมาย/ภารกิจของหน่วยงานในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์)
45 ความเชื่อมโยงกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 หมายถึง ความเชื่อมโยงของภารกิจ/เป้าหมาย/ความสำเร็จกับ แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 เช่น สนับสนุนแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.1 กลยุทธ์ที่ 1.1.1.1
46 โครงการ/กิจกรรมสำคัญ หมายถึง โครงการที่ส่งผลต่อเป้าหมาย/ความสำเร็จตามภารกิจของหน่วยงานโดยตรง ซึ่งเป็นโครงการที่ไม่ได้บรรจุ ในแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร และต้องไม่เป็นโครงการ/กิจกรรมประจำพื้นฐานของหน่วยงาน
47 รหัสนโยบาย (3 หลัก) หมายถึง รหัสนโยบายตามดัชนีนโยบายของแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและนวัตกรรมด้านดิจิทัล
วัตถุประสงค์หลัก (Objective) กรุงเทพมหานครมีการยกระดับสู่ดิจิทัลภาครัฐ เพื่อบริหารงานยืดหยุ่น คล่องตัว และครอบคลุมทุกหน่วยงานบริการของกรุงเทพมหานคร
ตัววัดผลหลักตามภารกิจหลักของหน่วยงาน (KR / KPI) KR 2 : เปลี่ยนสู่ระบบดิจิทัลภาครัฐ เพื่อบริหารงาน ยืดหยุ่น คล่องตัว และคลอบคลุมทุกหน่วยงานบริการของกรุงเทพมหานคร
ความเชื่อมโยงกับแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรม
ลำดับที่ | โครงการ/กิจกรรมสำคัญ (จัดลำดับตามความสำคัญ/จำเป็นเร่งด่วนในการดำเนินการ) | งบประมาณ | ส่วนราชการ | รหัสนโยบาย (3 หลัก) (ถ้ามี) |
1 | ระบบบริการส่งข้อความสั้น (SMS: Short Message Service) สำหรับโปรแกรมประยุกต์ของกรุงเทพมหานคร | 823,900 | กคพ. | |
2 | โครงการจัดหาอุปกรณ์บริหารจัดการข้อมูลโดเมนภายใน (DNS: Domain Name System) | 25,000,000 *ไม่ได้รับ งบประมาณ | กคพ. | |
3 | จัดหาระบบฐานข้อมูล SQL สำหรับศูนย์ข้อมูล | 48,789,000 | กคพ. | |
4 | การจัดหาและปรับปรุงโปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ บนระบบเครือข่าย | 14,430,600 | กสศ. | P051 |
5 | โครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายสื่อสารภายในของสำนัก | 57,678,450 | กคพ. |
หมายเหตุ : กรณีหน่วยงานมีโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานบูรณาการ ให้ทำเครื่องหมาย * กำกับ และหมายเหตุใต้ชื่อโครงการว่า “แผนงานบูรณาการ. ”
โครงการ/กิจกรรมสำคัญตามยุทธศาสตร์หน่วยงาน
(เรียงลำดับตามความสำคัญ/จำเป็นเร่งด่วนในการดำเนินการ)
ลำดับที่ | ชื่อโครงการ/กิจกรรมสำคัญ ตามภารกิจของหน่วยงาน | งบประมาณ | ส่วนราชการ ที่รับผิดชอบ | รหัสนโยบาย (3 หลัก) (ถ้ามี) |
1 | โครงการพัฒนานักวิเคราะห์นโยบายและแผน ของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล | 899,500 | กยล. | - |
2 | ระบบบริการส่งข้อความสั้น (SMS: Short Message Service) สำหรับโปรแกรมประยุกต์ของ กรุงเทพมหานคร | 823,900 | กคพ. | |
3 | โครงการจัดหาอุปกรณ์บริหารจัดการข้อมูลโดเมน ภายใน (DNS: Domain Name System) | 25,000,000 *ไม่ได้รับ งบประมาณ | กคพ. | |
4 | จัดหาระบบฐานข้อมูล SQL สำหรับศูนย์ข้อมูล | 48,789,000 | กคพ. | |
5 | การจัดหาและปรับปรุงโปรแกรมสารสนเทศ ภูมิศาสตร์บนระบบเครือข่าย | 14,430,600 | กสศ. | P051 |
6 | โครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายสื่อสารภายใน ของสำนัก | 57,678,450 | กคพ. | |
รวมงบประมาณทั้งสิ้น | 122,621,450 | สยป |
รวมโครงการ/กิจกรรมสำคัญตามภารกิจของหน่วยงาน จำนวน 6 โครงการ จำนวนเงินทั้งสิ้น 122,621,450 .- บาท
โครงการ/กิจกรรมภายใต้แผนงานบูรณาการ........................................................................................................
จำนวน… โครงการ
จำนวนเงินทั้งสิ้น. บาท
หมายเหตุ : กรณีหน่วยงานมีโครงการ/กิจกรรมตามแผนงานบูรณาการ ให้ทำเครื่องหมาย * กำกับ และหมายเหตุใต้ชื่อโครงการว่า “แผนงานบูรณาการ. ”
ส่วนที่ 3 รายการ/โครงการที่มีลักษณะเป็นรายจ่ายประจำพื้นฐาน
บัญชีโครงการ/กิจกรรมประจำพื้นฐาน
แบบที่ 1 ระดับสำนัก/สำนักงาน
ลำดับที่ | แผนงาน/ผลผลิต | โครงการ | งบประมาณ | รหัสนโยบาย (ถ้ามี) |
แผนงานบริหารกรุงเทพมหานคร | ||||
1 | ผลผลิตยุทธศาสตร์และการประเมินผล | โครงการจัดทำแผน ปฏิบัติราชการ กรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2569 | 959,900 | - |
2 | ผลผลิตระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร | โครงการโครงการฝึกอบรม หลักสูตรวิเคราะห์ข้อมูล เชิงพื้นที่ด้วยระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ | 239,000 | - |
3 | ผลผลิตระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร | โครงการจัดหาระบบ คอมพิวเตอร์ สำหรับปรับปรุง และทดแทนระบบทะเบียน ราษฎรและบัตรประจำตัว ประชาชน ณ 4 สำนักงานเขต และ 9 จุดบริการด่วนมหานคร | 25,791,500 | |
4 | การให้บริการเพื่อตรวจสอบ และแก้ไขปัญหาการใช้งาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ | ไม่ใช้ งบประมาณ | ||
5 | กิจกรรมการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน ของภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอน | ไม่ใช้ งบประมาณ |
48 - กรณีที่โครงการ/กิจกรรมประจำพื้นฐานสอดคล้องกับนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สามารถระบุรหัสนโยบาย (3 หลัก) โดยอ้างอิงตามดัชนีนโยบายของตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
- กรณีที่โครงการ/กิจกรรมประจำพื้นฐานไม่สอดคล้องกับนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ให้ระบุ “-” ในช่องรหัสนโยบาย
ลำดับที่ | แผนงาน/ผลผลิต | โครงการ | งบประมาณ | รหัสนโยบาย (ถ้ามี) |
ภารกิจตามแผนการกระจาย อำนาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น | ||||
6 | กิจกรรมพัฒนาฐานข้อมูล สนับสนุนด้านเศรษฐกิจของ กรุงเทพมหานครสู่การนำไปใช้ | ไม่ใช้ งบประมาณ | ||
7 | โครงการพัฒนาทรัพยากร พื้นฐานดิจิทัล สำหรับศูนย์ ข้อมูลกรุงเทพมหานคร | 23,839,000 | ||
8 | ค่าใช้จ่ายในการจัดหาระบบ คอมพิวเตอร์ สำหรับปรับปรุง และทดแทนระบบทะเบียน ราษฎรและบัตรประจำตัว ประชาชนพร้อมอุปกรณ์ ประกอบ | 16,955,330 | ||
9 | ผลผลิตระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร | โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบเครือข่ายสื่อสารภายใน อาคารไอราวัตพัฒนา | 34,683,622 *ไม่ได้รับ งบประมาณ | |
10 | โครงการจัดหาระบบ คอมพิวเตอร์สำหรับให้บริการ ระบบทะเบียนราษฎร และบัตรประจำตัวประชาชน ณ จุดบริการด่วนมหานคร | 5,358,780 | ||
11 | ผลผลิตระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร | จัดหาเครื่องพิมพ์เลเซอร์ และเครื่องสแกนเนอร์ สำหรับกระดาษขนาด A3 เพื่อรองรับการให้บริการ ศูนย์รับคำขออนุญาตของ กรุงเทพมหานคร (BMA OSS) ณ สำนักงานเขต | 10,289,912 *อยู่ระหว่าง ขอจัดสรร งบประมาณ | P058 |
ลำดับที่ | แผนงาน/ผลผลิต | โครงการ | งบประมาณ | รหัสนโยบาย (ถ้ามี) |
12 | การเพิ่มประสิทธิภาพระบบ สารสนเทศตามโครงการ จัดระบบข้อมูลและข่ายงาน ระบบคอมพิวเตอร์ของ กรุงเทพมหานคร (MIS) | 12,900,000 *อยู่ระหว่าง ขอจัดสรร งบประมาณ | ||
13 | การปรับปรุงการแสดงผลของ ระบบ BMA Policy Tracking | 2,325,906 | P051 | |
14 | เพิ่มประสิทธิภาพการรับเงิน ของกรุงเทพมหานคร | 14,200,000 | ||
รวม | 14 โครงการ | 112,859,328 |
การนำแผนฯ ไปสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผล
ตาราง ก แสดงตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
วัตถุประสงค์หลัก(Objective : กรุงเทพมหานครมีผังเมืองรวมที่สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจ และสังคม ตลอดจนการใช้ชีวิตของประชาชน ตัววัดผลหลัก(Key Result : KR) ) KR 1 : ) ข้อมูลเมืองกรุงเทพมหานครถูกนำมาใช้ในการวิเคราะห์เชิงพื้นที่เพื่อวางแผนงานโครงการจัดทำงบประมาณและกำหนดทิศ ทางการพัฒนา (P052)
กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด KPI | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
4.1.4 กรุงเทพมหานคร จัดเก็บชุดข้อมูลเมือง ในรูปแบบดิจิทัลเพื่อใช้ ในการวิเคราะห์เชิง พื้นที่ และการบริการ โดยสามารถต่อยอด เป็นแบบจำลองเสมือน กรุงเทพฯ (Digital Twin) | KPI 4.1.4.1 ชุดข้อมูลสำคัญของเมืองใน รูปแบบฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ ดิจิทัล | เพิ่มขึ้นอย่าง น้อย 5 ชุด ข้อมูล | ชุดข้อมูลสำคัญของเมือง หมายถึง ตัวชี้วัด และ ข้อมูลสำหรับการติดตามความก้าวหน้าเมือง น่าอยู่สำหรับทุกคนของกรุงเทพมหานคร โดย 1. กำหนดตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคนของ กรุงเทพมหานคร (Localize Index) ตามมาตรฐานสากล สำหรับประเด็นการพัฒนาของผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร ได้ครบทั้ง 28 ประเด็นการพัฒนา 2. จัดทำข้อมูลประกอบตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคน ของกรุงเทพมหานครที่กำหนดตามข้อ 1 ได้ครบทุกตัวชี้วัด และเผยแพร่เป็นข้อมูลเปิดของกรุงเทพมหานคร ข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ดิจิทัล หมายถึง ข้อมูล ที่มีการประมวลและแสดงผลในเชิงพื้นที่ ด้วยรูปแบบ ของแผนที่ | กิจกรรมทำข้อมูลเป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน (กยบ.) |
กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด KPI | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
มาตรฐานสากล หมายถึง เกณฑ์การประเมินความ น่าอยู่ของเมืองในระดับสากล อาทิ The Global Livability Index , Sustaiable Development Goal SDGs วิธีคำนวณ/วัดผลการดำเนินงาน/สูตรคำนวณ นับจำนวนประเด็นการพัฒนาที่สามารถกำหนดตัวชี้วัด เมืองน่าอยู่สำหรับทุกคนที่มีข้อมูลประกอบตัวชี้วัด และสามารถเผยแพร่เป็นข้อมูลเปิดของ กรุงเทพมหานครได้ วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน 1. แผนการจัดทำตัวชวี้ ัดเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพมหานคร 2. มีผลการวิเคราะห์ตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคน ในระดับสากลที่ถูกคัดเลือก เพื่อนำมากำหนดเป็น ตัวชี้วัดของกรุงเทพมหานคร ในการติดตาม ความก้าวหน้าของการพัฒนาเมืองน่าอยู่ของ กรุงเทพมหานครจำแนกรายประเด็นการพัฒนา |
กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด KPI | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
3. มีข้อมูลประกอบตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคน ของกรุงเทพมหานคร จำแนกตามประเด็นการพัฒนาที่ จัดเก็บและเผยแพร่บนแพลตฟอร์มที่เป็นข้อมูลเปิดของ กรุงเทพมหานคร |
ตาราง ก แสดงตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
วัตถุประสงค์หลัก(Objective) : ประชาชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและพัฒนาเมือง และสามารถตรวจสอบการทำงานของกรุงเทพมหานครได้
ตัววัดผลหลัก(Key Result : KR) ) KR 1 : ) ประชาชนมีส่วนร่วมพัฒนาเมืองและตัดสินใจการดำเนินงานของหน่วยงาน ด้วยการเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดทำบริการ หรือกิจกรรมสาธารณะในทุกรูปแบบ
กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด KPI | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
5.2.1 การแก้ไขปัญหา และพัฒนาเมืองจาก การมีส่วนร่วมของ ประชาชน | 5.2.1.2 สัดส่วนของประชาชนหรือผู้มี ส่วนได้เสีย ที่เป็นองค์ประกอบของ คณะกรรมการ คณะทำงานหรือ เรียกชื่อเป็นอย่างอื่น | มีสัดส่วนอย่าง น้อย 30 % ต่อคณะ จำนวน 77 คณะ | นิยาม ประชาชน หมายถึง ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน หรือ ประชาชน ที่เกี่ยวข้อง หรืออยู่ในพื้นที่ องค์ประกอบของคณะกรรมการ หรือ คณะทำงาน หมายถึง การเป็นประธานคณะกรรมการ ประธานคณะทำงาน คณะกรรมการ คณะทำงาน ที่หน่วยงานของกรุงเทพมหานคร แต่งตั้ง หรือที่เรียกชื่อในรูปแบบอื่น การเข้ามาร่วมเป็นคณะกรรมการ หมายถึง การเข้ามาร่วมใน องค์ประกอบของคณะกรรมการ คณะทำงาน หรือที่เรียกชื่อ แบบอื่น ทั้งในฐานะเป็นตัวบุคคล เป็นผู้แทนของภาคประชา สังคม ภาคเอกชน หรือเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ | กิจกรรมพัฒนาแนว ทางการจัดทำแผนปฏิบัติ ราชการของหน่วยงาน ระดับสำนักงานเขต |
กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด KPI | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
วิธีคำนวณ 1. สัดส่วนของประชาชนที่เข้ามาเป็นคณะกรรมการ หรือ คณะทำงานแต่ละคณะ = จำนวนหน่วนคณะกรรมการที่เป็น ภาคประชาสังคมภาคเอกชน ประชาชน 🞨100 ÷ จำนวน คณะกรรมการทั้งหมด 2. นับจำนวนคณะกรรมการที่มีสัดส่วนประชาชน ภาคประชา สังคม ภาคเอกชน ภาคประชาชน |
ตาราง ก แสดงตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
วัตถุประสงค์หลัก(Objective) กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรบโอนภารกิจจากรัฐบาลในการให้บริการสาธารณะตามที่กฎหมายกำหนด และกระจายภารกิจบางส่วนไปยังสำนักงานเขตและ เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
ตัววัดผลหลัก(Key Result : KR) ) KR 1 : กรุงเทพมหานครรับโอนภารกิจจากรัฐบาลในการให้บริการสาธารณะ
กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด KPI | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
5.3.1 วิเคราะห์ความ พร้อมหน่วยงานของ กรุงเทพมหานครในการ รับถ่ายโอนภารกิจที่ยงั ไม่ได้รับถ่ายโอนตาม แผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น | KPI 5.3.1.2 : จำนวนภารกิจตามแผนการ กระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นที่กรุงเทพมหานครยืนยัน ความพร้อมรับการถ่ายโอน | 3 ภารกิจ (จาก 26 ภารกิจ ที่ยังไม่ได้รับ การถ่ายโอน) | นิยาม - ภารกิจที่รับโอนจากรัฐบาล คือ ภารกิจที่หน่วยงาน ภาครัฐต้องถ่ายโอนให้แก่กรุงเทพมหานคร จำนวน 126 ภารกิจ ได้ถ่ายโอนมาแล้ว จำนวน 42 ภารกิจ อยู่ระหว่างขั้นตอนการถ่ายโอนและแก้ไขกฎหมาย จำนวน 26 ภารกิจ อีก 58 ภารกิจนั้น ส่วนราชการเจ้าของภารกิจ ไม่ประสงค์ถ่ายโอน ไม่มีเนื้องานในพื้นที่ และเป็นงานที่ กรุงเทพมหานครดำเนินการอยู่ก่อนแล้ว | 1. กิจกรรมวิเคราะห์ความพร้อม ของหน่วยงานของ กทม. ใน การรับถ่ายโอนภารกิจที่ยงไม่ได้ รับถ่ายโอนตามแผนการ กระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (กยค.) 2. กิจกรรมประสานการถ่าย โอนภารกิจตามแผนการ กระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (กยค.) |
กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด KPI | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
- แผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น คือ แผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการ กระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2545 (ฉบับที่ 1) และ พ.ศ. 2551 (ฉบับที่ 2) | ||||
KPI 5.3.1.3 : จำนวนภารกิจตามแผน การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นที่กรุงเทพมหานครได้รับ การถ่ายโอน | 2 ภารกิจ | ค่าเป้าหมาย - กรุงเทพมหานครสามารถยืนยัน ความพร้อมรับ การถ่ายโอน จำนวน 3 ภารกิจ (จาก 26 ภารกิจที่ยัง ไม่ได้รับการถ่ายโอน) ( KPI 5.3.1.2) - กรุงเทพมหานครได้รับการถ่ายโอนภารกิจ จำนวน 2 ภารกิจ (KPI 5.3.1.3) วิธีคำนวณ - |
ตาราง ก แสดงตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
วัตถุประสงค์หลัก(Objective) คนในกรุงเทพมหานครได้รับโอกาสทางเศรษฐกิจและการลงทุน
ตัววัดผลหลัก(Key Result : KR) ) KR 1 : ประชาชน ผู้ประกอบการหรือนักลงทุนเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้านธุรกิจและการลงทุนของกรุงเทพมหานคร
กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด KPI | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
6.1.2 พัฒนาบุคลากร ที่เกี่ยวข้องกับงานด้าน เศรษฐกิจให้มี ความสามารถในการ จัดการข้อมูล | KPI 6.1.2.1 : บุคลากรมีความสามารถใน การจัดการวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ (ผลผลิต) | ร้อยละ 80 | นิยาม - บุคลากร คือ ข้าราชการกรุงเทพมหานคร ประเภท วิชาการระดับปฏิบัติการถึงระดับชำนาญการพิเศษ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนหรือผู้ที่ ปฏิบัติงานด้านแผนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงาน ด้านเศรษกิจของกรุงเทพมหานคร - ความสามารถในจัดการวิเคราะห์ข้อมูลด้าน เศรษฐกิจ คือ การอบรมบุคลากรในหลักสูตรความรู้ ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลทางเศรษฐกิจ เพื่อให้บุคลากร เหล่านั้นสามารถนำข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับด้านเศรษฐกิจ จากหน่วยงานภายในกรุงเทพมหานคร และภายนอก มาต่อยอดวิเคราะห์ให้เกิดประโยชน์ในการวางแผน กำหนดทิศทาง แนวโน้มการพัฒนา และการตัดสินใจ | 1. โครงการพัฒนาทักษะการ วิเคราะห์ข้อมูลทางเศรษฐกิจ งบประมาณ 621,200 บาท (ดำเนินการ) (กยค.) |
กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด KPI | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ ๘๐ ของบุคลากรผ่านการอบรมระดับดีขึ้นไป ตามเกณฑ์คะแนนที่กำหนด ระดับ คะแนน ดีมาก 81 ขึ้นไป ดี 71 - 80 ปานกลาง 61 - 70 พอใช้ 51 – 60 ควรปรับปรุง ต่ำกว่า 50 วิธีคำนวณ (จำนวนผู้เข้ารับการอบรมผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด* 100)/ผู้เข้ารับการอบรมตามกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด |
ตาราง ก แสดงตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
วัตถุประสงค์หลัก(Objective) กรุงเทพมหานครสามารถขับเคลื่อนแผนอย่างบูรณาการ และยกระดับระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานครที่มี ประสิทธิภาพ
ตัววัดผลหลัก(Key Result : KR) ) KR 1 : เพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนภารกิจของกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องในแต่ละประเด็นหรือพื้นที่
กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด KPI | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
กลยุทธ์ 7.2.1 การ สร้างความร่วมมือใน การบริหารแผนพัฒนา กรุงเทพมหานคร และ แผนแม่บทต่าง ๆ และ แผนเฉพาะด้านโดยใช้ นวัตกรรมในการ ขับเคลื่อน | KPI 7.2.1.2 : จำนวนแผนหรือกิจกรรม ที่มาจากการขับเคลื่อนและบูรณาการความ ร่วมมือร่วมกันของเครือข่ายจนบรรลุผล ตามเป้าหมาย | 1 แผน | นิยาม แผนหรือกิจกรรม หมายถึง แผนปฏิบัติ ราชการประจำปี แผนแม่บท แผนการ ดำเนินงาน หรือการดำเนินงาน การจัด กิจกรรมต่าง ๆ ขับเคลื่อนเคลื่อนและบูรณาการความ ร่วมมือ หมายถึง การดำเนินงานร่วมกัน หรือ การเข้ามามีส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการ คณะทำงาน การเข้ามาทำงาน/ปฏิบัติงาน ร่วมกัน การจัดทำข้อตกลงความร่วมมือ | 1. โครงการจ้างที่ปรึกษาศึกษาวิจัย สถานการณ์และความพร้อมรับมือต่อ ประเด็นเรื่องประชากรแฝงของ กรุงเทพมหานคร งบประมาณ 5,163,798.- บาท (กยม.) 2. โครงการสร้างเครือข่ายความมือมือ ทางยุทธศาสตร์ (ไม่ใช้งบประมาณ) (กยบ.) |
กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด KPI | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
ค่าเป้าหมาย 1 แผน วิธีคำนวณ นับจำนวนแผนหรือกิจกรรมที่ขับเคลื่อนและ บูรณาการความร่วมมือร่วมกันกับเครือข่าย จนบรรลุผลตามเป้าหมาย |
ตาราง ก แสดงตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
วัตถุประสงค์หลัก(Objective) กรุงเทพมหานครมีการยกระดับสู่ดิจิทัล ภาครัฐ เพื่อบริหารงานยืดหยุ่น คล่องตัว และครอบคลุมทุกหน่วยงานบริการของ กรุงเทพมหานคร ตัววัดผลหลัก(Key Result : KR) ) เปลี่ยนสู่ระบบดิจิทัลภาครัฐ เพื่อบริหารงานยืดหยุ่น คล่องตัว และคลอบคลุมทุก หน่วยงานบริการของกรุงเทพมหานคร อย่างน้อย 10 ภารกิจ
กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด KPI | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
กลยุทธ์ 7.5.4 พัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน | KPI 7.5.4.1 : หน่วยงานระดับสำนักและ สำนักงานเขตสามารถให้บริการโครงสร้าง พื้นฐานด้านดิจิทัลของกรุงเทพมหานครได้ อย่างมีประสิทธิภาพ | 77 หน่วยงาน | โครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัล หมายถึง หมายถึง โครงสร้างพื้นฐาน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) โทรคมนาคม (Telecom munication) และการแพร่ภาพ กระจายเสียง (Broadcast) รวมทั้งการหลอมรวม ของเทคโนโลยี (Convergence) ทั้งสามด้านที่เป็น นวัตกรรมใหม่ในการพัฒนาดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและ สังคม | 1. โครงการปรับปรุงระบบเผยแพร่ข้อมูลการ จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (e-GP BMA) งบประมาณ 7,800,000 (กคพ.) 2. โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการรักษา ความปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร งบประมาณ 36,498,100 (กคพ.) 3. โครงการจัดหาระบบสำรองข้อมูลศูนย์ข้อมูล งบประมาณ 43,360,000 (กคพ.) 4.โครงการจัดหาระบบบริหารจัดการ เพื่อ ให้บริการ Web Hosting กรุงเทพมหานคร งบประมาณ 9,950,000 *ไม่ได้รับงบประมาณ (กคพ) 5. โครงการจ้างที่ปรึกษาดำเนินการตรวจสอบ การปฏิบัติตามมาตรฐานและคุณภาพเกี่ยวกับ ความมั่นคงปลอดภัยข้อมูล งบประมาณ 5,000,000 *ไม่ได้รับงบประมาณ (กคพ.) |
กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด KPI | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
ให้บริการโครงสร้างพื้นฐานด้าน ดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ หมายถึง การสามารถใช้งาน โครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัล ในการ ให้บริการประชาชน และการทำงาน ได้อย่างต่อเนื่อง และเป็นไปตาม มาตรฐานของโครงสร้างพื้นฐานของ กรุงเทพมหานคร วิธีคำนวณ นับจำนวนหน่วยงานที่สามารถ ให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 6. โครงการจ้างพัฒนาระบบบริหารจัดการ ข้อมูล ส่วนบุคคลแบบปลอดภัยสูง ระยะที่ 1 7. ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคล พ.ศ. 2562 งบประมาณ 25,000,000 *ไม่ได้รับ งบประมาณ (กคพ.) 8. โครงการพัฒนาระบบศูนย์รับคำขออนุญาต ของกรุงเทพมหานคร (BMA OSS) งบประมาณ 23,140,000 (กพพ.) 9. โครงการจัดทำระบบการวางแผนทรัพยากร องค์กรของกรุงเทพมหานคร (BMA-ERP) (218,035,400 บาท) งบประมาณ 1,676,100 (กพพ.) 10. โครงการจ้างที่ปรึกษาประจสำนัก ยุทธศาสตร์ และประเมิน (In-house) เพื่อ ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบ บูรณาการข้อมูล และกำหนดนโยบายและ มาตรฐาน เพื่อยกระดับการปฏิบัติงานและการ ให้บริการด้านดิจิทัล งบประมาณ 36,000,000 (กสศ.) |
ตาราง ก แสดงตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567
วัตถุประสงค์หลัก(Objective) กรุงเทพมหานครมีการยกระดับสู่ดิจิทัล ภาครัฐ เพื่อบริหารงานยืดหยุ่น คล่องตัว และครอบคลุมทุกหน่วยงานบริการของ กรุงเทพมหานคร
ตัววัดผลหลัก(Key Result : KR) ) เปลี่ยนสู่ระบบดิจิทัลภาครัฐ เพื่อบริหารงานยืดหยุ่น คล่องตัว และคลอบคลุมทุก หน่วยงานบริการของกรุงเทพมหานคร อย่างน้อย 10 ภารกิจ
กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด KPI | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
กลยุทธ์ การพัฒนา ระบบการจัดการ ภายใน อย่างมี ประสิทธิภาพ (กลยุทธ์หน่วยงาน) | ร้อยละความสำเร็จของแผนการดำเนิน โครงการให้เป็นไปตามกรอบระยะเวลา ที่กำหนด | ร้อยละ ๑๐๐ ระดับ 5 | นิยาม การพัฒนาระบบการจัดการภายใน หมายถึง การพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศให้กับหน่วยงานของ กรุงเทพมหานครเพื่อสนับสนุนการ ปฏิบัติงานในภาพรวมของ กรุงเทพมหานคร ร้อยละความสำเร็จของแผนการ ดำเนินโครงการ หมายถึง ร้อยละของ การดำเนินงานตามขั้นตอน แผนการ ดำเนินงาน รวมทั้งกรอบระยะเวลา ที่กำหนดไว้ | 1. โครงการจัดทำระบบการวางแผน ทรัพยากรองค์กรของกรุงเทพมหานคร (BMA-ERP) |
กลยุทธ์ | ตัวชี้วัด KPI | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 80 วิธีคำนวณ พิจารณาจากผลการดำเนินการที่ กำหนดไว้ในแต่ละขั้นตอน คูณ 100 หารด้วยเป้าหมายของการดำเนินการ ถ้าครบขั้นตอน คิดเป็นร้อยละ 100 |
ตาราง ข แสดงตัวชี้วัดยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 49 พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะที่พึงประสงค์
วัตถุประสงค์หลัก (Objective)50 พัฒนาศักยภาพบุคลากรในตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
ตัววัดผล/ตัวชี้วัดหลักตามภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (KR / KPI) | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
มีแนวทางพัฒนาการปฏิบัติงานของ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนของสำนัก ยุทธศาสตร์และประเมินผล | ๑ ฉบับ | นิยาม แนวทางพัฒนาการปฏิบัติงาน หมายถึง แนวทาง กระบวนการปฏิบัติ/องค์ความรู้สำหรับพัฒนาการ ปฏิบัติงานของนักวิเคราะห์นโยบายและแผนของสำนัก ยุทธศาสตร์และประเมินผลที่เป็นมาตรฐานและเป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน เพื่อนำมาเพิ่มทักษะในการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ กำหนดกลยุทธ์/มาตรการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ และการติดตามประเมินผลแผนงานโครงการ ยุทธศาสตร์ การบริหารและจัดการความเสี่ยง การวิเคราะห์ปัญหาเมืองและใช้หลักการวิจัยเพื่อแก้ปัญหา อย่างมีประสิทธิภาพ | 1. โครงการพัฒนานักวิเคราะห์นโยบายและแผน ของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล งบประมาณ 899,500 บาท (ดำเนินการ) (กยล.) |
49 ประเด็นการพัฒนา หมายถึง สิ่งที่หน่วยงานต้องการยกระดับการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในเชิงภารกิจหน้าที่ หรือเชิงพื้นที่
50 วัตถุประสงค์หลัก (Objective) หมายถึง วัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลักของความสำเร็จ (เป็นการบอกจุดมุ่งหมาย/ภารกิจของหน่วยงานในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์)
ตัววัดผล/ตัวชี้วัดหลักตามภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (KR / KPI) | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
ค่าเป้าหมาย มีแนวทางพัฒนาการปฏิบัติงานของนักวิเคราะห์นโยบาย และแผนของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล จำนวน ๑ ฉบับ วิธีคำนวณ นับจากรายงานแนวทางพัฒนาการปฏิบัติงานของ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนของสำนักยุทธศาสตร์และ ประเมินผลที่ได้ดำเนินการจัดทำและเผยแพร่แก่ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนของสำนักยุทธศาสตร์และ ประเมินผล |
ตาราง ข แสดงตัวชี้วัดยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 51 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและนวัตกรรมด้านดิจิทัล
วัตถุประสงค์หลัก (Objective)52 กรุงเทพมหานครมีการยกระดับสู่ดิจิทัลภาครัฐ เพื่อบริหารงานยืดหยุ่น คล่องตัว และครอบคลุมทุกหน่วยงานบริการ ของกรุงเทพมหานคร
ตัววัดผล/ตัวชี้วัดหลักตามภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (KR / KPI) | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินโครงการ พัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน ของหน่วยงานกรุงเทพมหานครตาม เป้าหมายที่กำหนด | ร้อยละ 80 | นิยาม การดำเนินโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัล หมายถึง การ ดำเนินโครงการที่เกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาโปรแกรม พัฒนาบริการ e service ด้านดิจิทัล ให้มีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับการบริการประชาชน และการปฏิบัติงานของกรุงเทพมหานคร ความสำเร็จในการดำเนินงาน หมายถึง สามารถ ดำเนินการได้ตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ได้ ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 80 | 1. ระบบบริการส่งข้อความสั้น (SMS: Short Message Service) สำหรับโปรแกรมประยุกต์ ของกรุงเทพมหานคร งบประมาณ 823,900 บาท (กคพ.) 2. โครงการจัดหาอุปกรณ์บริหารจัดการข้อมูล โดเมนภายใน (DNS: Domain Name System) 25,000,000 บาท *ไม่ได้รับงบประมาณ (กคพ.) 3. จัดหาระบบฐานข้อมูล SQL สำหรับศูนย์ ข้อมูล 48,789,000 บาท (กคพ.) 4.การจัดหาและปรับปรุงโปรแกรมสารสนเทศ ภูมิศาสตร์บนระบบเครือข่าย งบประมาณ 14,430,600 บาท (กสศ.) |
51 ประเด็นการพัฒนา หมายถึง สิ่งที่หน่วยงานต้องการยกระดับการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในเชิงภารกิจหน้าที่ หรือเชิงพื้นที่
52 วัตถุประสงค์หลัก (Objective) หมายถึง วัตถุประสงค์หลักหรือเป้าหมายหลักของความสำเร็จ (เป็นการบอกจุดมุ่งหมาย/ภารกิจของหน่วยงานในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์)
ตัววัดผล/ตัวชี้วัดหลักตามภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (KR / KPI) | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
วิธีคำนวณ พิจารณาจากผลการดำเนินการที่กำหนดไว้ ในแต่ละ ขั้นตอน คูณ 100 หารด้วย เป้าหมายของการดำเนินการ ถ้าครบขั้นตอน คิดเป็นร้อยละ 100 | 5. โครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายสื่อสาร ภายใน ของสำนัก งบประมาณ 57,678,450 บาท (กคพ.) |
ตาราง ข แสดงตัวชี้วัดยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและนวัตกรรมด้านดิจิทัล
วัตถุประสงค์หลัก (Objective) กรุงเทพมหานครมีการยกระดับสู่ดิจิทัลภาครัฐ เพื่อบริหารงานยืดหยุ่น คล่องตัว และครอบคลุมทุกหน่วยงานบริการของกรุงเทพมหานคร
ตัววัดผล/ตัวชี้วัดหลักตามภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (KR / KPI) | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
ระดับความสำเร็จของการนำโปรแกรม ที่จัดหาตามโครงการฯ ไปพัฒนา และเผยแพร่ข้อมูลเปิดเผยศักยภาพสูง ของกรุงเทพมหานคร เพื่อสนับสนุนการ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ (GIS Data Analytics) | ระดับ 5 | นิยาม 1. โปรแกรมที่จัดหาตามโครงการฯ หมายถึง โปรแกรม สารสนเทศภูมิศาสตร์บนระบบเครือข่าย 2. การพัฒนาข้อมูลเปิดศักยภาพสูงของกรุงเทพมหานคร หมายถึง การพัฒนาชุดข้อมูลของกรุงเทพมหานคร (ด้านสิ่งแวดล้อม) เพื่อสนับสนุนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ (GIS Data Analytics) โดยคำนึงถึงความต้องการใช้งาน ของผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนการดำเนินการตามนโยบาย ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หรือยุทธศาสตร์ กรุงเทพมหานคร 3. การพัฒนาชุดข้อมูลของกรุงเทพมหานคร (ด้านสิ่งแวดล้อม) หมายถึง ชุดข้อมูลเชิงพื้นที่และเชิงบรรยาย ตามผลการหารือ ร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง | 1. โครงการการจัดหาและปรับปรุงโปรแกรม สารสนเทศภูมิศาสตร์บนระบบเครือข่าย งบประมาณ 14,430,600 บาท (ดำเนินการ) (กสศ.) |
ตัววัดผล/ตัวชี้วัดหลักตามภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (KR / KPI) | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
4. ผู้ที่เกี่ยวข้อง หมายถึง เจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน/ส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย สำนักอนามัย สำนักสิ่งแวดล้อม และกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ (สยป.) 5. ข้อมูลเปิด หมายถึง ชุดข้อมูลในรูปแบบดิจิทัลที่สามารถ เปิดเผยให้ทุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่างเสรี ไม่จำกัด แพลตฟอร์ม ไม่เสียค่าใช้จ่ายและนำไปเผยแพร่ ทำซ้ำหรือใช้ ประโยชน์ได้ โดยไม่จำกัดวัตถุประสงค์ 6. ข้อมูลเปิดภาครัฐ หมายถึง ข้อมูลที่หน่วยงานของรัฐ ต้องเปิดเผยต่อสาธารณะตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสาร ของราชการในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลที่สามารถเข้าถึงและใช้ได้ อย่างเสรีไม่จำกัดแพลตฟอร์ม ไม่เสียค่าใช้จ่าย เผยแพร่ ทำซ้ำหรือใช้ประโยชน์ได้โดยไม่จำกัดวัตถุประสงค์ 7. ข้อมูลเปิดศักยภาพสูงของกรุงเทพมหานคร หมายถึง ชุดข้อมูลเปิดภาครัฐ (ด้านสิ่งแวดล้อม) ที่สอดคล้องกับ ความต้องการใช้งานของผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนการ ดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หรือ ยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานคร และชุดข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบ ที่โปรแกรมคอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลได้ (Machine Readable Data) |
ตัววัดผล/ตัวชี้วัดหลักตามภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (KR / KPI) | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
8. การเผยแพร่ข้อมูลเปิดเผยศักยภาพสูงของกรุงเทพมหานคร หมายถึง การเผยแพร่ชุดข้อมูลเปิดเผยศักยภาพสูงของ กรุงเทพมหานคร ผ่านทางเว็บไซต์ และ/หรือ การถ่ายทอด องค์ความรู้ให้กับผู้เกี่ยวข้อง คำอธิบายตัวชี้วัด ความสำเร็จในการดำเนินงาน 5 ระดับ ประกอบด้วย ระดับ 1 ผู้รับจ้างติดตั้งโปรแกรมฯ ที่จัดหาตามโครงการฯ และมีการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับเจ้าหน้าที่สังกัด กองสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง แล้วเสร็จตามสัญญา ระดับ 2 มีการประชุมหารือร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อรวบรวมข้อมูล เพื่อประกอบการกำหนดขอบเขตการ พัฒนาชุดข้อมูลของกรุงเทพมหานคร (ด้านสิ่งแวดล้อม) ระดับ 3 มีการนำชุดข้อมูลของกรุงเทพมหานคร (ด้านสิ่งแวดล้อม) ตามผลการหารือร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง เข้าสู่ศูนย์ข้อมูล (Data Center) ของกรุงเทพมหานคร มีกระบวนการ Data Cleansing และดำเนินการพัฒนา ชุดข้อมูลของกรุงเทพมหานคร (ด้านสิ่งแวดล้อม) ระดับ 4 มีการนำชุดข้อมูลของกรุงเทพมหานคร |
ตัววัดผล/ตัวชี้วัดหลักตามภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (KR / KPI) | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
(ด้านสิ่งแวดล้อม) มาวิเคราะห์เชิงพื้นที่ (GIS Data Analytics) และแผยแพร่ชุดข้อมูลเปิดเผยศักยภาพสูงของกรุงเทพมหานคร ผ่านทางเว็บไซต์ ระดับ 5 มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง และมีการประเมินความพึงพอใจและรับฟังความคิดเห็น ของผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยมีระดับความพึงพอใจในระดับ มาก - มากที่สุด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 วิธีการคำนวณ เทียบผลการดำเนินการกับเกณฑ์ที่กำหนด วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน 1. เอกสารแสดงผลการดำเนินการของผู้รับจ้างในการติดตั้ง โปรแกรมฯ ที่จัดหาตามโครงการฯ และมีการถ่ายทอด องค์ความรู้ให้กับเจ้าหน้าที่สังกัดกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ ที่เกี่ยวข้อง แล้วเสร็จตามสัญญา 2. เอกสารแสดงผลการประชุมหารือร่วมกับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อรวบรวมข้อมูล เพื่อประกอบการกำหนดขอบเขตการ พัฒนาชุดข้อมูลของกรุงเทพมหานคร (ด้านสิ่งแวดล้อม) 3. เอกสารแสดงการนำชุดข้อมูลของกรุงเทพมหานคร |
ตัววัดผล/ตัวชี้วัดหลักตามภารกิจหลัก ของหน่วยงาน (KR / KPI) | ค่าเป้าหมาย | นิยาม/คำอธิบายตัวชี้วัด | โครงการ/กิจกรรม |
(ด้านสิ่งแวดล้อม) มาวิเคราะห์เชิงพื้นที่ (GIS Data Analytics) และแสดงการแผยแพร่ชุดข้อมูลเปิดเผยศักยภาพสูงของ กรุงเทพมหานคร ผ่านทางเว็บไซต์ 4. เอกสารแสดงการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง และผลความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง ในระดับ มาก - มากที่สุด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 |
ตาราง ค. แสดงตัวชี้วัดและภารกิจจากการเจรจาตกลงการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2567
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
1 | ระดับความพึงพอใจของ เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบ BMA OSS | พ.ศ. 2564 : พ.ศ. 2565 : พ.ศ. 2566 : (ข้อมูลการให้บริการประชาชน ตามคู่มือสำหรับประชาชน 108 กระบวนงาน จำนวน 7 ฝ่าย ของ 50 สำนักงานเขต ยกเว้นฝ่ายการคลัง ฝ่ายรายได้ และฝ่ายทะเบียน | ระดับ 5 | 10 | นิยาม ระบบ BMA OSS หมายถึง ระบบศูนย์รับคำขออนุญาต ของกรุงเทพมหานครสำหรับประชาชนที่ยื่นผ่านระบบฯ และเจ้าหน้าที่สามารถใช้งานระบบนี้สำหรับการปฏิบัติ การตรวจสอบ พิจารณา อนุมัติ คำขออนุญาตฯ ระบบการแจ้งเตือนสำหรับเจ้าหน้าที่ หมายถึง มี Function การแจ้งเตือนสำหรับเจ้าหน้าที่ เมื่อมีการยื่นคำขอจาก ประชาชน ทั้งนี้ ระบบฯ จะเริ่มนับเวลาในแต่ละขั้นตอน ในแต่ละกระบวนงานตามกรอบระยะเวลา |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
กรอบระยะเวลา หมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่ประชาชน ยื่นคำขอฯ จนเสร็จสิ้นการให้บริการตามอำนาจหน้าที่ ของกรุงเทพมหานคร ที่กำหนดไว้ตามคู่มือสำหรับ ประชาชน และคู่มือปฏิบัติงาน (Work Manual) ด้วยวิธีการอิเล็กทรอนิกส์สำหรับเจ้าหน้าที่ | |||||
ความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ หมายถึง ความคิดเห็นและ ทัศนคติของเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบ BMA OSS ต่อการใช้ งานระบบ ในด้านต่อไปนี้ 1) ด้านกระบวนงาน 2) ด้านความ สะดวกในการใช้งานระบบ 3) ด้านความปลอดภัยของระบบ 4) ความพึงพอใจของระบบในภาพรวม เกณฑ์การแบ่งช่วงคะแนนระดับความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง ระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง ระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง ระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง ระดับน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง ระดับน้อยที่สุด |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
วิธีคำนวณ/วัดผลการดำเนินงาน/สูตรคำนวณ วัดระดับความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบ BMA OSS โดยใช้แบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ (e-Survey) ปีละ 2 ครั้ง (ครั้งที่ 1 เดือนมกราคม 2567 และครั้งที่ 2 เดือนกรกฎาคม 2567) โดยมีวิธีคำนวณ ดังนี้ 1. คำนวณหาคะแนนระดับความพึงพอใจรายบุคคล ระดับ ความพึงพอใจ = ผลรวมของคะแนนจากทุกข้อ รายบุคคล จำนวนข้อคำถาม | |||||
2. คำนวณหาร้อยละของเจ้าหน้าที่ซึ่งมีความพึงพอใจ ใน ระดับมาก 𝐴 = 𝐵 x ๑๐๐ 𝐶 A = ร้อยละความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบ BMA OSS |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
B = จำนวนเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบ BMA OSS ที่มีความ พึงพอใจโดยรวมตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป (โดยนับจากจำนวน แบบสอบถามที่ได้คะแนนระดับความพึงพอใจตั้งแต่ 3.51 ขึ้นไป) C = จำนวนเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบ BMA OSS ที่ตอบ แบบสอบถามทั้งหมด วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน 1. ระบบ BMA OSS 2. แบบสอบถามความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบ BMA OSS (เอกสารแนบ) 3. รายงานสรุปผลความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน ระบบ BMA OSS |
เกณฑ์การให้คะแนน “ระดับความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบ BMA OSS”
ระดับความสำเร็จ | เกณฑ์ร้อยละ ความสำเร็จ | วิธีวัดผลการดำเนินงาน | คะแนนที่ได้รับ |
5 | ร้อยละ 100 | ผู้ใช้งานระบบ BMA OSS มีความพึงพอใจต่อระบบฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 80 ขึ้นไป จากจำนวนเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบฯ ที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด | 10 |
4 | ร้อยละ 80 | ผู้ใช้งานระบบ BMA OSS มีความพึงพอใจต่อระบบฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 75 จากจำนวนเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบฯ ที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด | 8 |
3 | ร้อยละ 60 | ผู้ใช้งานระบบ BMA OSS มีความพึงพอใจต่อระบบฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 70 จากจำนวนเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบฯ ที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด | 6 |
2 | ร้อยละ 40 | ผู้ใช้งานระบบ BMA OSS มีความพึงพอใจต่อระบบฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 65 จากจำนวนเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบฯ ที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด | 4 |
1 | ร้อยละ 20 | ผู้ใช้งานระบบ BMA OSS มีความพึงพอใจต่อระบบฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 60 จากจำนวนเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบฯ ที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด | 2 |
(เอกสารแนบ)
(ร่าง) แบบสอบถามความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบ BMA OSS
คำชี้แจง แบบประเมินชดนี้จัดทำขึ้นเพื่อประเมินความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบ BMA OSS ซึ่งผลการประเมินนี้
จะนำไปพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพและความปลอดภัยของระบบ BMA OSS ให้มีประสิทธิภาพตรงกับความต้องการของผู้ใช้ เพื่อยกระดับบริการประชาชนต่อไป รายละเอียดเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม กรุณากรอกแบบสอบถามตามความจริง
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1.1 เพศ | 🗆 ชาย 🗆 หญิง | check |
1.2 อายุ | ................. ปี | text |
1.3 ตำแหน่ง | .............................................................................. | drop down |
1.4 ระดับ (ตำแหน่ง) | .............................................................................. | drop down |
1.5 หน่วยงาน | .............................................................................. | drop down |
1.6 ส่วนราชการ | .............................................................................. | drop down |
ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจในการใช้บริการระบบสารสนเทศ
หลักเกณฑ์ | ระดับความพึงพอใจ | |||||
มากที่สุด (5) | มาก (4) | ปานกลาง (3) | น้อย (2) | น้อยที่สุด (1) | ||
1. ด้านกระบวนงาน | ||||||
1.1 | มีขั้นตอนชัดเจนในการปฏิบัติงาน | |||||
1.2 | มีการแจ้งเตือนให้กับเจ้าหน้าที่ตาม SLA ของคู่มือประชาชน | |||||
2. ด้านความสะดวกในการใช้งานระบบ | ||||||
2.1 | การสืบค้นข้อมูลทำได้ง่ายและรวดเร็ว | |||||
2.2 | สามารถติดตามสถานะของงานได้ | |||||
3. ด้านความปลอดภัยของระบบ | ||||||
3.1 | มีขั้นตอนตรวจสอบสิทธิรายบุคคล | |||||
4 | ความพึงพอใจของระบบในภาพรวมฯ |
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
............................................................................................................................. ............................................................
ทั้งนี้ ข้อคำถามในการประเมินอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
67
ตาราง ค. แสดงตัวชี้วัดและภารกิจจากการเจรจาตกลงการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2567
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
2 | ระดับความพึงพอใจของ ผู้ใช้งานระบบ BMA Policy Tracking | พ.ศ. 2564 : - พ.ศ. 2565 : - พ.ศ. 2566 : - (ตัวชี้วัดใหม่) | ระดับ 5 | 10 | นิยาม ผู้ใช้งานระบบ หมายถึง ผู้ใช้งานระบบ BMA Digital Plans โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ - เจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน - นักวิเคราะห์นโยบายและแผนของสำนัก ยุทธศาสตร์และประเมินผล - ผู้บริหารของกรุงเทพมหานคร ระบบ BMA Policy Tracking หมายถึง ระบบการบริหาร จัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ที่มีความครบถ้วนของ ข้อมูลผลการดำเนินงาน และความคืบหน้าเทียบกับ เป้าหมายการพัฒนากรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 ตามกำหนดเวลา |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
ความพึงพอใจผู้ใช้งานระบบ BMA Policy Tracking หมายถึง ความคิดเห็นและทัศนคติของผู้ใช้งานระบบ BMA Policy Tracking ในด้านต่อไปนี้ 1) ด้านการให้คำปรึกษา/แนะนำการรายงานข้อมูลใน ระบบ BMA Policy Tracking 2) ด้านความสะดวกในการใช้งานระบบ 3) ด้านความปลอดภัยในกระบวนการให้บริการ 4) ความพึงพอใจของระบบบในภาพรวม เกณฑ์การแบ่งช่วงคะแนนระดับความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง ระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง ระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง ระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง ระดับน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง ระดับน้อยที่สุด |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
วิธีคำนวณ/วัดผลการดำเนินงาน/สูตรคำนวณ วัดระดับความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบ BMA Policy Tracking โดยใช้แบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ (e-Survey) ปีละ 2 ครั้ง (ครั้งที่ 1 เดือนมกราคม 2567 และครั้งที่ 2 เดือนกรกฎาคม 2567) โดยมีวิธีคำนวณดังนี้ | |||||
1. คำนวณหาคะแนนระดับความพึงพอใจรายบุคคล ระดับ ความพึงพอใจ = ผลรวมของคะแนนจากทุกข้อ รายบุคคล จำนวนข้อคำถาม |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
2. คำนวณหาร้อยละของผู้ใช้งานระบบซึ่งมีความพึงพอใจ ในระดับมาก 𝐴 = 𝐵 x ๑๐๐ 𝐶 A = ร้อยละความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบ BMA Policy Tracking B = จำนวนผู้ใช้งานระบบ BMA Policy Tracking | |||||
ที่มีความพึงพอใจโดยรวมตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป (โดยนับจากจำนวนแบบสอบถามที่ได้คะแนน ระดับความพึงพอใจตั้งแต่ 3.51 ขึ้นไป) C = จำนวนเจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานระบบ BMA Policy Tracking ที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน 1. ระบบ BMA Policy Tracking 2. แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบ BMA Policy Tracking (เอกสารแนบ) 3. มีรายงานสรุปผลความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบ BMA Policy Tracking |
เกณฑ์การให้คะแนน “ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบ BMA Digital Plans”
ระดับความสำเร็จ | เกณฑ์ร้อยละ ความสำเร็จ | วิธีวัดผลการดำเนินงาน | คะแนนที่ได้รับ |
5 | ร้อยละ 100 | ผู้ใช้งานระบบ BMA Policy Tracking มีความพึงพอใจต่อระบบฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 80 ขึ้นไป จากจำนวนผู้ใช้งานที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด | 10 |
4 | ร้อยละ 80 | ผู้ใช้งานระบบ BMA Policy Tracking มีความพึงพอใจต่อระบบฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 75 จากจำนวนผู้ใช้งานที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด | 8 |
3 | ร้อยละ 60 | ผู้ใช้งานระบบ BMA Policy Tracking มีความพึงพอใจต่อระบบฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 70 จากจำนวนผู้ใช้งานที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด | 6 |
2 | ร้อยละ 40 | ผู้ใช้งานระบบ BMA Policy Tracking มีความพึงพอใจต่อระบบฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 65 จากจำนวนผู้ใช้งานที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด | 4 |
1 | ร้อยละ 20 | ผู้ใช้งานระบบ BMA Policy Tracking มีความพึงพอใจต่อระบบฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 60 จากจำนวนผู้ใช้งานที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด | 2 |
เป้าหมายการพัฒนา | H |
1. พัฒนาถนนสวย (กม.) | สนย. |
2. ปลูกต้นไม้ (ต้น) | สสล. |
3. เพิ่มสวน 15 นาที (แห่ง) | สสล. |
4. ปรับปรุงทางเท้า (กม.) | สนย. |
5. ติดตั้ง/ซ่อม ไฟฟ้าส่องสว่าง (ดวง) | สนย. |
6. ติดตั้ง/ซ่อม ไฟฟ้าส่องสว่างริมคลอง (ดวง) | สนน. |
7. ยกเลิก/ยุบรวม พื้นที่หาบเร่แผงลอยนอกจุดผ่อนผัน (แห่ง) | สนท. |
8. จัดหาพื้นที่เอกชน หรือ พัฒนา Hawker Center รองรับ ผู้ค้าหาบเร่ (แห่ง) | สนท. |
9. แก้ไขจุดเสี่ยงน้ำท่วม (จุด) | สนน. |
10. แก้ปัญหาจุดจราจรฝืด (แห่ง) | สจส. |
11. (1) แก้ไขจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ (แห่ง) | สจส. |
11. (2) แก้ไขจุดเสี่ยงอาชญากรรม (แห่ง) | สนท. |
12. ปรับปรุง/พัฒนา ลานกีฬา (แห่ง) | สวท. |
เป้าหมายการพัฒนา | H |
13. ปรับปรุง/พัฒนา บ้านหนังสือ (แห่ง) | สวท. |
14. ปรับปรุง/พัฒนา ศูนย์เด็กเล็ก (แห่ง) | สพส. |
15. ปรับปรุงกายภาพโรงเรียน (แห่ง) | สนศ. |
16. จัดเก็บขยะให้มีประสิทธิภาพ ครอบคลุม (% ของอาคารและ หลังคาเรือนในเขตที่สามารถจัดเก็บขยะได้มากกว่า 2 ครั้งต่อ สัปดาห์) | สสล. |
17. พัฒนาฐานข้อมูลออนไลน์ชุมชน เช่น ข้อมูลกลุ่มเปราะบาง ข้อมูลอุปกรณ์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ชุมชน) | สพส. |
18. ส่งเสริมการใช้งบประมาณ 200,000 บาท ต่อชุมชน (มูลค่า เงินที่เบิกจ่าย) | สพส. |
19. ส่งเสริมการใช้งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช (มูลค่าเงินที่เบิกจ่าย) | สนอ. |
20. พัฒนามาตรฐานการบริการประชาชน (% จํานวนคําขอที่เขต สามารถให้บริการได้ภายในกรอบเวลาตามคู่มือประชาชน) | สยป. |
21. ขุดลอกท่อ (กม.) | สนน. |
22. ขุดลอก / เปิดทางน้ำไหล คลอง (กม) | สนน. |
75
(เอกสารแนบ)
(ร่าง) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบ BMA Digital Plans
คำชี้แจง แบบสอบถามชุดนี้จัดทำขึ้นเพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบ BMA Digital Plans ซึ่งผลการ ประเมินนี้จะนำไปพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพและความถูกต้องสมบูรณ์ของระบบ BMA Digital Plans ให้มี ประสิทธิภาพตรงกับความต้องการของผู้ใช้ รายละเอียดเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม กรุณากรอกแบบสอบถามตาม ความจริง
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1.1 เพศ | 🗆 ชาย 🗆 หญิง | check |
1.2 อายุ | ................. ปี | text |
1.3 ตำแหน่ง | .............................................................................. | drop down |
1.4 ระดับ (ตำแหน่ง) | .............................................................................. | drop down |
1.5 หน่วยงาน | .............................................................................. | drop down |
1.6 ส่วนราชการ | .............................................................................. | drop down |
ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจในการใช้บริการระบบสารสนเทศ
หลักเกณฑ์ | ระดับความพึงพอใจ | |||||
มากที่สุด (5) | มาก (4) | ปานกลาง (3) | น้อย (2) | น้อยที่สุด (1) | ||
1. ด้านการให้คำปรึกษา/แนะนำการรายงานข้อมูลในระบบ BMA Digital Plans | ||||||
1.1 | ช่องทางการติดต่อ | |||||
1.2 | ระยะเวลาการตอบสนองต่อปัญหาที่ซักถาม | |||||
2. ด้านความสะดวกในการใช้งานระบบ | ||||||
2.1 | การเข้าถึงระบบ (Sign in) ทำได้ง่ายและ รวดเร็ว | |||||
2.2 | หน้าจอใช้งานง่ายและสะดวก | |||||
2.3 | ข้อความสื่อความหมายชัดเจน | |||||
2.4 | ความรวดเร็วในการค้นหาและแสดงผล ข้อมูล | |||||
3. ด้านความปลอดภัยในกระบวนการให้บริการ |
3.1 | มีการแบ่งกลุ่มผู้ใช้งานตามสิทธิ | |||||
3.2 | เว็บไซต์มีความน่าเชื่อถือ (https://) | |||||
4 | ความพึงพอใจของระบบในภาพรวมฯ |
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
ทั้งนี้ ข้อคำถามในการประเมินอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
77
ตาราง ค. แสดงตัวชี้วัดและภารกิจจากการเจรจาตกลงการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2567
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
3. | ระดับความสำเร็จในการ จัดทำตัวชี้วัด และข้อมูล สำหรับการติดตาม ความก้าวหน้าเมืองน่าอยู่ สำหรับทุกคนของ กรุงเทพมหานคร | พ.ศ. 2564 : - พ.ศ. 2565 : พ.ศ. 2566 : (ตัวชี้วัดใหม่) | ระดับ 5 | 10 | นิยาม ความสำเร็จในการจัดทำตัวชี้วัด และข้อมูลสำหรับการ ติดตามความก้าวหน้าเมือง น่าอยู่สำหรับทุกคนของกรุงเทพมหานคร หมายถึง 1. กำหนดตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคนของ กรุงเทพมหานคร (Localize Index) ตามมาตรฐานสากล สำหรับประเด็นการพัฒนาของผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร ได้ครบทั้ง 28 ประเด็นการพัฒนา 2. จัดทำข้อมูลประกอบตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคน ของกรุงเทพมหานครที่กำหนดตามข้อ 1 ได้ครบทุกตัวชี้วัด และเผยแพร่เป็นข้อมูลเปิดของกรุงเทพมหานคร มาตรฐานสากล หมายถึง เกณฑ์การประเมินความ น่าอยู่ของเมืองในระดับสากล อาทิ The Global Livability Index , Sustaiable Development Goal SDGs |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
วิธีคำนวณ/วัดผลการดำเนินงาน/สูตรคำนวณ นับจำนวนประเด็นการพัฒนาที่สามารถกำหนดตัวชี้วัด เมืองน่าอยู่สำหรับทุกคนที่มีข้อมูลประกอบตัวชี้วัดและ สามารถเผยแพร่เป็นข้อมูลเปิดของกรุงเทพมหานครได้ วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน 1. แผนการจัดทำตัวชวี้ ัดเมืองน่าอยู่ของกรุงเทพมหานคร 2. มีผลการวิเคราะห์ตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคน ในระดับสากลที่ถูกคัดเลือก เพื่อนำมากำหนดเป็น ตัวชี้วัดของกรุงเทพมหานคร ในการติดตาม ความก้าวหน้าของการพัฒนาเมืองน่าอยู่ของ กรุงเทพมหานครจำแนกรายประเด็นการพัฒนา 3. มีข้อมูลประกอบตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคน ของกรุงเทพมหานคร จำแนกตามประเด็นการพัฒนา ที่จัดเก็บและเผยแพร่บนแพลตฟอร์มที่เป็นข้อมูลเปิด ของกรุงเทพมหานคร |
เกณฑ์การให้คะแนน “ระดับความสำเร็จในการจัดทำตัวชี้วด และข้อมูลสำหรับการติดตามความก้าวหน้าเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคนของกรุงเทพมหานคร”
ระดับความสำเร็จ | เกณฑ์ร้อยละ ความสำเร็จ | วิธีวัดผลการดำเนินงาน | คะแนนที่ได้รับ |
5 | ร้อยละ 100 | มีตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคนของกรุงเทพมหานครซึ่งมีข้อมูลประกอบตัวชี้วัด จำแนกตามประเด็น การพัฒนา จำนวน 28 ประเด็นการพัฒนา - มีรายงานผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ รายงานผู้บริหารกรุงเทพมหานครทราบ | 10 |
4 | ร้อยละ 80 | มีตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคนของกรุงเทพมหานครซึ่งมีข้อมูลประกอบตัวชี้วัด จำแนกตามประเด็น การพัฒนา จำนวน 21 – 27 ประเด็นการพัฒนา | 8 |
3 | ร้อยละ 60 | มีตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคนของกรุงเทพมหานครซึ่งมีข้อมูลประกอบตัวชี้วัด จำแนกตามประเด็น การพัฒนา จำนวน 14 – 20 ประเด็นการพัฒนา | 6 |
2 | ร้อยละ 40 | มีตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคนของกรุงเทพมหานครซึ่งมีข้อมูลประกอบตัวชี้วัด จำแนกตามประเด็น การพัฒนา จำนวน 7 – 13 ประเด็นการพัฒนา | 4 |
1 | ร้อยละ 20 | มีตัวชี้วัดเมืองน่าอยู่สำหรับทุกคนของกรุงเทพมหานครซึ่งมีข้อมูลประกอบตัวชี้วัด จำแนกตามประเด็น การพัฒนา จำนวน 1 - 6 ประเด็นการพัฒนา | 2 |
ตาราง ค. แสดงตัวชี้วัดและภารกิจจากการเจรจาตกลงการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2567
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
4. | ระดับความพึงพอใจ ของประชาชนต่อการ ให้บริการด้านการจัดทำ บัตรประชาชน และงาน ทะเบียนราษฏร์ ผ่านระบบ BMA Q | พ.ศ. 2564 : พ.ศ. 2565 : พ.ศ. 2566 : (ตัวชี้วัดใหม่) - ค่าเฉลี่ยการให้บริการการทำ บัตรประชาชนอยู่ที่เขตละ 100 คน/วัน - BMAQ ให้รอบละ 5 คน วันละ 6 รอบ (30 คน/วัน) | ระดับ 5 | 20 | นิยาม การบริการ หมายถึง การให้บริการตามอำนาจหน้าที่ความ รับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหาร ราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และ/หรือ พ.ร.บ.การ อำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 ซึ่งเป็นกระบวนงานตามรายการในคู่มือสำหรับ ประชาชน การจัดทำบัตรประชาชน หมายถึง การออกเอกสารราชการ สำหรับคนไทยที่มีชื่อในทะเบียนบ้าน เพื่อใช้เป็นหลักฐานใน การแสดงตน ใช้พิสูจน์และยืนยันตัวบุคคล รวมถึงใช้ในการ ติดต่อราชการ การขอรับบริการหรือสวัสดิการในด้านต่างๆ จากหน่วยงานของรัฐรวมทั้งใช้ประกอบการทำธุรกรรมต่างๆ |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
ด้านทะเบียนราษฏร หมายถึง หมายถึงการให้บริการที เกี่ยวกับการทะเบียนราษฎร ประกอบด้วยการแจ้งเกิด การแจ้งการตาย การแจ้งการย้ายที่อยู่การเพิ่มชื่อในทะเบียน บ้าน การขอเลขทีบ้าน การแกไข้ รายการในทะเบียนบ้าน การคัดรับรองเอกสารทะเบียนราษฎร | |||||
ระบบ BMA Q หมายถึง ระบบการจองออนไลน์เพื่อขอรับ บริการ และสามารถแสดงผลจำนวนคิวที่รอรับบริการในแต่ละ เขต เพื่อประกอบการตัดสินใจเข้าใช้บริการของประชาชน ความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านการจัดทำบัตรประชาชน ผ่านระบบ BMA Q หมายถึง ความคิดเห็นและทัศนคติของ ผู้ใช้บริการด้านการจัดทำบัตรประชาชน และบริการงาน ทะเบียนราษฏร์ผ่านระบบ BMA Q จากเครื่องมือในการวัดระดับ ความพึงพอใจของประชาชนที่ศูนย์บริหารราชการ ฉับไว ใส สะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ณ สำนักงานเขต |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
โดยแบ่งระดับความพึงพอใจ เป็น 5 ระดับ โดยใข้สัญลักษณ์แทน ความรู้สึกพึงพอใจในการรับบริการดังนี้ ระดับมากที่สุด ระดับมาก ระดับปานกลาง ระดับน้อย ระดับน้อยที่สุด ภารกิจของหน่วยงาน/ส่วนราชการฯ ที่เกี่ยวข้อง 1. สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล 1.1 พัฒนาระบบ BMA Q และปรับปรุงระบบให้สามารถดู การรอรับบริการทั้งการจองออนไลน์และระบบรอการให้บริการ ฯ แสดงผลจำนวนคิวในแต่ละเขต เพื่อประกอบการตัดสินใจเข้า ใช้บริการของประชาชน |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
1.2 พัฒนาระบบ BMA Q และปรับปรุงระบบให้สามารถดู การเตรียมตัวรับบริการ และข้อมูลเอกสารหลักฐานที่ใช้ในการ ทำบัตรประชาชน และขอรับบริการทะเบียนราษฏร์ 1.๓ พัฒนาเครื่องมือการติดตามการให้บริการประชาชน และเครื่องมือ (application) ในการวัดระดับความพึงพอใจ ของประชาชนที่ศูนย์บริหารราชการ ฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ณ สำนกงานเขต 1.๔ จัดทำรายงานที่สามารถติดตามผลการปฏิบัติงานการ ให้บริการประชาชนให้เป็นไปกรอบระยะเวลาตามคู่มือสำหรับ ประชาชน และคู่มือปฏิบัติงาน (Work Manual) ด้วยวิธีการ อิเล็กทรอนิกส์สำหรับเจ้าหน้าที่ 1.๕ ประชาสัมพันธ์การใชง้ านระบบ BMA Q ให้ประชาชน ทราบและใช้บริการ 1.6 จัดทำสรุปผลความพึงพอใจ | |||||
2. สำนักงานปกครองและทะเบียน 2.1 ทบทวนกระบวนงาน ขั้นตอนและกรอบระยะเวลาการ ปฏิบัติงานของฝ่ายทะเบียนสำหรับงานบัตรประชาชน และงาน ด้านทะเบียนราษฏร์และจัดทำมาตรฐานการใช้บริการงาน |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
ทะเบียนผ่านระบบออนไลน์ เพื่อเป็นเครื่องมือกำหนดคุณภาพ ในการให้บริการของสำนักงานเขต ๒.2 ประสานและอำนวยความสะดวกด้านข้อมูล การให้บริการประชาชนจากระบบทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย 2.3 ติดตามการให้บริการประชาชนในงานบัตรประชาชน และทะเบียนราษฏร์ 2.๔ ประชาสัมพันธ์การใช้งานระบบ BMA Q ให้ประชาชน ทราบและใช้บริการ วิธีคำนวณ/วัดผลการดำเนินงาน/สูตรคำนวณ วัดระดับความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ด้านการจัดทำบัตรประชาชน และงานทะเบียนราษฏร์ที่ศูนย์ บริหารราชการ ฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ณ สำนักงานเขต ผ่านเครื่องมือ (application) ที่กำหนด 1. ประมวลจำนวนผู้ให้ระดับความพึงพอใจในแต่ละระดับ 2. คำนวณหาร้อยละของผู้ที่มีระดับความพึงพอใจตั้งแต่ระดับ มากขึ้นไป |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
𝐴 = 𝐵 x ๑๐๐ 𝐶 A = ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ด้านการจัดทำบัตรประชาชน และทะเบียนราษฏร์ที่ศูนย์ บริหารราชการ ฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ณ สำนักงานเขต B = จำนวนประชาชนผู้รับบรการด้านการจัดทำบัตรประชาชน ฯ และทะเบียนราษฏร์ ที่มีความพึงพอใจโดยรวมตั้งแต่ระดับ มากขึ้นไป C = จำนวนประชาชนผู้รับบรการด้านการจัดทำบัตรประชาชน ฯ และทะเบียนราษฏรณ์ ที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน รายงานสรุปผลความพึงพอใจของประชาชนในการจองและการ รับบริการประชาชนที่ศูนย์บริหารราชการ ฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ณ สำนักงานเขต |
เกณฑ์การให้คะแนน “ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการด้านการจัดทำบัตรประชาชน ผ่านระบบ BMA Q”
ระดับความสำเร็จ | เกณฑ์ร้อยละ ความสำเร็จ | วิธีวัดผลการดำเนินงาน | คะแนนที่ได้รับ |
5 | ร้อยละ 100 | ประชาชนที่รับบริการด้านการจัดทำบัตรประชาชน และงานทะเบียนราษฏร์ ที่ศูนย์บริหารราชการ ฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ณ สำนักงานเขต มีความพึงพอใจต่อการให้บริการฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 80 ขึ้นไป จากจำนวนประชาชนที่แสดงคิดเห็นทั้งหมด - มีรายงานผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ รายงานผู้บริหารกรุงเทพมหานครทราบ | 20 |
4 | ร้อยละ 80 | ประชาชนที่รับบริการด้านการจัดทำบัตรประชาชน และงานทะเบียนราษฏร์ ที่ศูนย์บริหารราชการ ฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ณ สำนักงานเขต มีความพึงพอใจต่อการให้บริการฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 75 จากจำนวนประชาชนที่แสดงคิดเห็นทั้งหมด | 16 |
3 | ร้อยละ 60 | ประชาชนที่รับบริการด้านการจัดทำบัตรประชาชน และงานทะเบียนราษฏร์ ที่ศูนย์บริหารราชการ ฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ณ สำนักงานเขต มีความพึงพอใจต่อการให้บริการฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 70 จากจำนวนประชาชนที่แสดงคิดเห็นทั้งหมด | 12 |
2 | ร้อยละ 40 | ประชาชนที่รับบริการด้านการจัดทำบัตรประชาชน และงานทะเบียนราษฏร์ ที่ศูนย์บริหารราชการ ฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ณ สำนักงานเขต มีความพึงพอใจต่อการให้บริการฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 65 จากจำนวนประชาชนที่แสดงคิดเห็นทั้งหมด | 8 |
1 | ร้อยละ 20 | ประชาชนที่รับบริการด้านการจัดทำบัตรประชาชนและงานทะเบียนราษฏร์ ที่ศูนย์บริหารราชการ ฉับไวใสสะอาด (Bangkok Fast & Clear : BFC) ณ สำนักงานเขต มีความพึงพอใจต่อการให้บริการฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 60 จากจำนวนประชาชนที่แสดงคิดเห็นทั้งหมด | 4 |
ตาราง ค. แสดงตัวชี้วัดและภารกิจจากการเจรจาตกลงการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2567
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (3 ปี ย้อนหลัง) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
5. | ระดับความสำเร็จของ การให้บริการแก้ไขปัญหา ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่ สำนักงานเขต | พ.ศ. 2564 : - พ.ศ. 2565 : - พ.ศ. 2566 : - (ตัวชี้วัดใหม่) | ระดับ 5 | 10 | นิยาม การให้บริการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล หมายถึง การแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่สำนักงานเขต ตามอำนาจหน้าที่ของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เพื่อให้บริการ ประชาชนของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้ อย่างสะดวก รวดเร็ว ความสำเร็จของการให้บริการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล หมายถึง 1) ผู้ขอรับบริการ (หน่วยงานระดับสำนักงานเขต) มีความ พึงพอใจต่อการให้บริการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ในด้านกระบวนการขอรับบริการ ด้านคุณภาพการบริการ และ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป 2) การแกไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่สำนักงานเขต เป็นไปตาม ข้อตกลงระดับการบริการ (Service Level Agreement : SLA) - SLA คือ ข้อตกลงร่วมกันระหว่างสำนักยุทธศาสตร์และ ประเมินผล (ผู้ให้บริการ) และสำนักงานเขต (ผู้รับบริการ) เกี่ยวกับ มาตรฐานระยะเวลาการให้บริการด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อ สนับสนุนงานของสำนักงานเขต |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (3 ปี ย้อนหลัง) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
เกณฑ์การแบ่งช่วงคะแนนค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง ระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง ระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง ระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง ระดับน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง ระดับน้อยที่สุด วิธีคำนวณ/วัดผลการดำเนินงาน/สูตรคำนวณ 1. วัดระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการแก้ไขปัญหา ด้านเทคโนโลยีดิจิทัลโดยใช้แบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ (e-Survey) ปีละ 2 ครั้ง (ครั้งที่ 1 เดือนมกราคม 2567 และ ครั้งที่ 2 เดือนกรกฎาคม 2567) 1.1 คำนวณหาคะแนนระดับความพึงพอใจรายบุคคล ระดับ ความพึงพอใจ = ผลรวมของคะแนนรายข้อ รายบุคคล จำนวนข้อคำถาม |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (3 ปี ย้อนหลัง) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
1.2 คำนวณหาร้อยละของผู้ที่มีระดับความพึงพอใจตั้งแต่ระดับ มากขึ้นไป 𝐴 = 𝐵 x ๑๐๐ 𝐶 A = ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการแก้ไขปัญหา ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล B = จำนวนผู้รับบริการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ที่มีความพึงพอใจโดยรวมตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป C = จำนวนผู้รับบริการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 2. คำนวณหาร้อยละของจำนวนครั้งการให้บริการในการ แก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่สำนักงานเขตที่เป็นไปตาม ข้อตกลงระดับการบริการ (SLA) ร้อยละของการ ให้บริการที่ = จำนวนครั้งการให้บริการที่เป็นไปตาม SLA *100 เป็นไปตาม SLA จำนวนครั้งการให้บริการ |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (3 ปี ย้อนหลัง) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
3. ระดับความสำเร็จของการให้บริการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ วัดจาก คะแนนระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ+ คะแนนวัดคุณภาพการบริการตาม SLA วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน 1. ช่องทางการให้บริการข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหา ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล 2. มาตรฐานการให้บริการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล หรือ ข้อตกลงระดับการบริการ (SLA) 3. ระบบบริหารจัดการการให้บริการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยี ดิจิทัล 4. แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการฯ (เอกสารแนบ) 5. รายงานสรุปผลความพึงพอใจของผู้ขอรับบริการฯ |
เกณฑ์การให้คะแนน “ระดับความสำเร็จของการให้บริการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่สำนักงานเขต” โดยแบ่งการวัดเป็น 2 ส่วน 1.วัดระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ระดับความสำเร็จ | เกณฑ์ร้อยละความสำเร็จ | วิธีวัดผลการดำเนินงาน | คะแนนที่ได้รับ |
๕ | ร้อยละ 100 | - ผู้ขอรับบริการการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล มีความพึงพอใจต่อการให้บริการฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 80 ขึ้นไป จากจำนวนผู้ขอรับบริการที่แสดงคิดเห็นทั้งหมด | 5 |
๔ | ร้อยละ 80 | - ผู้ขอรับบริการการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล มีความพึงพอใจต่อการให้บริการฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 75 จากจำนวนผู้ขอรับบริการที่แสดงคิดเห็นทั้งหมด | 4 |
๓ | ร้อยละ 60 | - ผู้ขอรับบริการการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล มีความพึงพอใจต่อการให้บริการฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 70 จากจำนวนผู้ขอรับบริการที่แสดงคิดเห็นทั้งหมด | 3 |
๒ | ร้อยละ 40 | - ผู้ขอรับบริการการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล มีความพึงพอใจต่อการให้บริการฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 65 จากจำนวนผู้ขอรับบริการที่แสดงคิดเห็นทั้งหมด | 2 |
๑ | ร้อยละ 20 | - ผู้ขอรับบริการการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล มีความพึงพอใจต่อการให้บริการฯ ในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 60 จากจำนวนผู้ขอรับบริการที่แสดงคิดเห็นทั้งหมด | 1 |
2. วัดคุณภาพการบริการตามข้อตกลงระดับบริการ SLA
ระดับความสำเร็จ | เกณฑ์ร้อยละความสำเร็จ | วิธีวัดผลการดำเนินงาน | คะแนนที่ได้รับ |
๕ | ร้อยละ 100 | - การให้บริการในการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่สำนักงานเขต เป็นไปตามข้อตกลง ระดับการบริการ (SLA) ที่กำหนด ร้อยละ 90 | 5 |
๔ | ร้อยละ 80 | - การให้บริการในการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่สำนักงานเขต เป็นไปตามข้อตกลง ระดับการบริการ (SLA) ที่กำหนด ร้อยละ 85 | 4 |
๓ | ร้อยละ 60 | - การให้บริการในการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่สำนักงานเขต เป็นไปตามข้อตกลง ระดับการบริการ (SLA) ที่กำหนด ร้อยละ 80 | 3 |
๒ | ร้อยละ 40 | - การให้บริการในการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่สำนักงานเขต เป็นไปตามข้อตกลง ระดับการบริการ (SLA) ที่กำหนด ร้อยละ 75 | 2 |
๑ | ร้อยละ 20 | - การให้บริการในการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่สำนักงานเขต เป็นไปตามข้อตกลง ระดับการบริการ (SLA) ที่กำหนด ร้อยละ 70 | 1 |
(เอกสารแนบ)
(ร่าง) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ขอรับบริการการแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล คำชี้แจง แบบประเมินชุดนี้จัดทำขึ้นเพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ขอรับบริการ
การแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งผลการประเมินนี้จะนำไปพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการ การแก้ไขปัญหาด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่สำนักงานเขต รายละเอียดเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม กรุณากรอก แบบสอบถามตามความจริง
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1.1 เพศ | 🗆 ชาย 🗆 หญิง | check |
1.2 อายุ | ................. ปี | text |
1.3 ตำแหน่ง | .............................................................................. | drop down |
1.4 ระดับ (ตำแหน่ง) | .............................................................................. | drop down |
1.5 หน่วยงาน | .............................................................................. | drop down |
1.6 ส่วนราชการ | .............................................................................. | drop down |
ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจในการใช้บริการระบบสารสนเทศ
หลักเกณฑ์ | ระดับความพึงพอใจ | |||||
มากที่สุด (5) | มาก (4) | ปาน กลาง (3) | น้อย (2) | น้อยที่สุด (1) | ||
1. ด้านกระบวนงาน | ||||||
1.1 | มีขั้นตอนชัดเจนในการปฏิบัติงาน | |||||
1.2 | ขั้นตอนการขอรับบริการมีความสะดวก | |||||
2. ด้านคุณภาพการให้บริการ | ||||||
2.1 | การให้บริการมีคุณภาพสามารถ แก้ไขปัญหาได้ | |||||
2.2 | ระยะเวลาในการแก้ไขปัญหาเป็นไปด้วย ความรวดเร็ว |
3. เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ | ||||||
3.1 | เจ้าหน้าที่ให้บริการด้วยความเต็มใจมี มนุษย์สัมพันธ์ที่ดี | |||||
3.2 | เจ้าหน้าที่มีความรู้และสามารถตอบข้อ ซักถามและแก้ไขปัญหาให้ผู้ขอรับบริการ ได้ | |||||
4 | ความพึงพอใจของระบบในภาพรวมฯ |
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
............................................................................................................................. .................................................
...........
ทั้งนี้ ข้อคำถามในการประเมินอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
95
ตาราง ค. แสดงตัวชี้วัดและภารกิจจากการเจรจาตกลงการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2567
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
6. | ระดับความพึงพอใจของ ประชาชนต่อการให้บริการ ฟรีอินเทอร์เน็ตในพื้นที่ ของหน่วยงานในสังกัด กรุงเทพมหานคร | พ.ศ. 2563 : ให้บริการ WiFi แก่ผู้บริหาร ณ ศาลาว่าการ กรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2 (ดินแดง) พ.ศ. 2564 : ให้บริการ WiFi เจ้าหน้าที่สำนักงานเขต พ.ศ. 2565 : ให้บริการ WiFi เจ้าหน้าที่สำนัก พ.ศ. 2566 : ให้บริการ WiFi เจ้าหน้าที่ ณ ศาลาว่าการ กรุงเทพมหานคร (เสาชิงช้า) | ระดับ 5 | 10 | นิยาม พื้นที่ของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร หมายถึง พื้นที่ของหน่วยงานของกรุงเทพมหานครที่มี โครงข่ายอินเทอร์เน็ตของกรุงเทพมหานครให้บริการ อยู่แล้ว (50 สำนักงานเขต กทม 1 และ กทม 2) ความพึงพอใจต่อการให้บริการ ฟรีอินเทอร์เน็ต หมายถึง ความคิดเห็นและทัศนคติของผู้ใช้งาน ฟรีอินเทอร์เน็ตในพื้นที่ของหน่วยงานในสังกัด กรุงเทพมหานคร ในด้านต่อไปนี้ 1) ด้านความสะดวก ในการใช้งานระบบ 2) ด้านความเสถียรของระบบ โดยมีเกณฑ์การวัดระดับความพึงพอใจดังนี้ เกณฑ์การแบ่งช่วงคะแนนระดับความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง ระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง ระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง ระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง ระดับน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง ระดับน้อยที่สุด |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
วิธีคำนวณ/วัดผลการดำเนินงาน/สูตรคำนวณ วัดระดับความพึงพอใจของผู้ใช้งานฟรีอินเทอร์เน็ต ในพื้นที่ของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ (e-Survey) ปีละ 2 ครั้ง (ครั้งที่ 1 เดือนมกราคม 2567 และ ครั้ง ที่ 2 เดือนกรกฎาคม 2567) โดยมีวิธีคำนวณดังนี้ 1. คำนวณหาคะแนนระดับความพึงพอใจรายบุคคล ระดับ ความพึงพอใจ = ผลรวมของคะแนนจากทุกข้อ รายบุคคล จำนวนข้อคำถาม 2. คำนวณหาร้อยละของผู้ใช้งานระบบซึ่งมีความพึง พอใจ ในระดับมาก 𝐴 = 𝐵 x ๑๐๐ 𝐶 A = ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้งานฟรีอินเทอร์เน็ต B = จำนวนผู้ใช้งานฟรีอินเทอร์เน็ต |
ที่ | ชื่อตัวชี้วัด | ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline data) | เป้าหมาย | น้ำหนัก คะแนน | นิยามและวิธีคำนวณ |
ที่มีความพึงพอใจตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป (โดยนับจาก จำนวนแบบสอบถามที่ได้คะแนนระดับความพึงพอใจ ตั้งแต่ 3.51 ขึ้นไป) C = จำนวนผู้ใช้งานฟรีอินเทอร์เน็ต ที่ตอบ แบบสอบถามทั้งหมด วิธีเก็บข้อมูล/หลักฐาน 1. รายงานการติดตั้งฟรีอินเทอร์เน็ตสำหรับประชาชน 2. สถิติการให้บริการฟรีอินเทอร์เน็ตสำหรับประชาชน 3. รายงานผลของระบบอินเทอร์เน็ต (Availability Report) โดยนับเวลาการขัดข้องเป็นชั่วโมง ตั้งแต่เวลา ที่เริ่มขัดข้องจนถึงเวลาที่เริ่มใช้งานได้ (จำนวนชั่วโมง ขัดข้องในการให้บริการอินเทอร์เน็ตของ กรุงเทพมหานคร) 4. แบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชนที่ใช้ บริการฟรีอินเทอร์เน็ต 5. รายงานสรุปผลความพึงพอใจของประชาชนที่ใช้ บริการฟรีอินเทอร์เน็ต |