สัญญาเลขที่ RDC5540009
สัญญาเลขที่ RDC5540009
รายงานวิจัยฉบับxxxxxxx
ระหว่าง 28 กันยายน 2555 ถึง 27 เมษายน 2556
ชุดโครงการวิจัย “โครงการเพาะพนธุ์xxxxx” สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝ่ายชุมชนและสังคม
ศูนย์พี่เล
โดย
งโครงการเพาะxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
(จังหวัดสมุทรสงคราม และสมุทรสาคร)
รายงานวิจัยฉบับxxxxxxx ศูนย์พ่ีเลี้ยงโครงการเพาะพนธุ์xxxxxมหาวิทยาลัยxxxxx
(จังหวัดสมุทรสงคราม และสมุทรสาคร)
คณะผู้วิจัย
1. xxxxxxx xx.xxxxxxxx xxxxxxxxx
2. อาจารย์ ดร.น้ําคาง xxxxxxxxโรทัย
3. xxxxxxx xx.xxxx xxxxxxxxxxxxx
4. xxxxxxx xx.xxxxxxxxx xxxxxxxx
5. xxxxxx xxxxx xxxxxx
6. xxxxxx xxxx xxxxxxxxx
สถาบนนวัตกรรมการเรียนร มหาวิทยาลัยxxxxx
สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
และ บมจ.ธนาคารกสิกรไทย
บทสรุปผู้บริหาร
ด้วยเล็งเห็นความสําคัญของการทําโครงงานบนฐานวิจัย (Research-Based Project: RBL) ในการ สร้างระบบคิดและพัฒนาให้ผู้เรียนได้ทักษะแห่งxxxxxxxxx 21 ได้แก่ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะ ด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ตลอดจนทักษะชีวิตและการทํางาน ซึ่งเป็นทักษะสําคัญในการดํารงชีวิตใน โลกยุคxxxxxxxxxxxxxxมีการปรับเปลี่ยนของสังคมอย่างมาก สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยxxxxx xxx ได้เข้าร่วมเป็นหน่ึงในศูนย์พี่เลี้ยงในโครงการเพาะxxxxxxxxxxxซึ่งเป็นโครงการxxxxxxรับการสนับสนุนร่วมระหว่าง สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) และ บมจ.ธนาคารกสิกรไทยโดยมีจังหวัดสมุทรสาครและ สมุทรสงครามเป็นพ้ืxxxxเป้าหมายมีวัตถุประสงค์หลักคือ พัฒนาครูให้xxxxxxจัดการเรียนรู้แบบ RBL เพื่อให้ นักเรียนxxxxxxxเนืxxxxxxxและพัฒนาทักษะแห่งxxxxxxxxx 21 ไปพร้อมๆ กัน
การทํางานของศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยxxxxx มุ่งเน้นให้ความสําคัญกับการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ของครู จากxxxxxxxเน้น “การทําโครงงานใ👉xxxxxxxxงาน” มาเป็น “กระบวนการวิจัยในโครงงาน” รวมทั้งการทํา ให้ครูเลิกกลัวการวิจัย คลายความกังวลต่อการปรับเปลี่ยนบทบาทจากครูผู้สอนถ่ายทอดความรู้มาเป็น ผู้จัดการช่วยเหลือให้นักเรียนxxxxxxxกระบวนการเรียนรู้ ดังน้ัน ศูนย์xxxxxxxxxxxxได้จัดกิจกรรมxxxxxxxxxเพื่อ พัฒนาทักษะการเป็นพี่เลี้ยงให้แก่ครูในโครงการ รวมทั้งจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการที่หลากหลาย อาทิ การคิด เชิงระบบ การหาหัวข้อและการสร้างโจทย์วิจัย วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบ RBL การออกแบบการวิจัย การพัฒนา proposal และทักษะการทําวิจัยแบบ RBL โดยเน้นให้ครูได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์การลงมือทํา ด้วยตนเอง นอกจากนี้ ยังให้เครื่องมือต่างๆ เพื่อให้ครูมีxxxxxนําไปใช้ในห้องเรียนเพาะพันธ์ุxxxxxxxxจะจัดให้มี ขึนในโรงเรียน
ในการทํางานตลอด 6 เดือนท่ีผ่านมา พบว่า ปัจจัยท่ีช่วยขับเคลื่อนการทํางานให้ประสบความสําเร็จ มี 4 ประการ คือ (1) หน่วยกลางท่ีจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เสริมประสบการณ์ พัฒนาทักษะ ให้กับศูนย์ พี่เล้ียงเพื่อนําไปถ่ายทอดต่อ (2) ความตั้งใจและความมุ่งม่ันของทีมxxxxxxxxxxxxอยากจะเห็นเมล็ดพันธ์ุแห่งxxxxx
xxxxxxxxxxxxขึ้น (3) วิสัยทัศน์และการสนับสนุนของผู้บริหารโรงเรียน (4) ความต้ังใจและความมุ่งมั่นของ xxxxxxxxxอยากจะพัฒนาศักยภาพนักเรียน
ข
กิตติกรรมประกาศ
การที่โครงการนี้สําเร็จตามเป้าหมาย เป็นเพราะได้รับความอนุเคราะห์จากหลายฝ่ายในการสนับสนุน xxxxxxxx โดยเฉพาะอย่างยิ่งสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และ บมจ.กสิกรไทย xxxxxxริเร่ิมโครงการ และใหการสนับสนุนดานงบประมาณในการดําเนินงานของศูนย์พ่ีเลี้ยง
ทีมพี่เลียงมหาวิทยาลัยxxxxxขอช่ืนชมศูนย์พี่เลี้ยงอีก 7 ศูนย์ ท่ีมีxxxxxxแรงกล้าในการร่วมสร้างการ เปลี่ยนแปลงให้เกิดข้ึนในระบบการศึกษาไทย และขอขอบคุณความเป็นxxxxxxxxxxxxxxxxxสร้างพื้นท่ี แลกเปล่ียนเรียนรู้ให้เกิดขึxx
xxxสําคัญย่ิง ทีมพี่เลี้ยงขอขอบคุณและช่ืนชมกับผู้บริหารและครูทุกท่านที่เข้ามาร่วมกิจกรรมใน โครงการอย่างสม่ําเสมอแม้จะเป็นวันหยุด และขอขอบคุณผู้บริหารโรงเรียนxxxxxxสมุทร และโรงเรียน ดรุณาxxxxx xxxให้ความอนุเคราะห์สถานที่ในการจัดกิจกรรมของศูนย์พ่ีเลี้ยง
ท้ายสุดทีมพ่ีเล้ียงขอขอบคุณ รศ.xx.xxxxxx xxxxxxxxสรรพ์ และ รศ.xx.xxxxxxx xxxxxxxxx ที่เป็นกําลัง หลักสําคัญในการบุกเบิกการเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษา ให้ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ กําหนดทิศทาง จัด ประสบการณ์ ฝึกฝนและพัฒนาทักษะต่างๆ ให้กับพี่เลี้ยงเพ่ือให้พร้อมดําเนินทํางานหว่านเมล็ดพันธ์ุแห่ง xxxxxให้เติบโตxxxxxx และขอขอบคุณทีมงานของ สกว. xxxxxxช่วยติดตามดูแล อํานวยความสะดวกต่างๆ ใน การไปแลกเปล่ียนประสบการณ์กับเพื่อนร่วมโครงการเพาะพันธ์ุxxxxxด้วยกัน อันxxxxxxxการเปิดมุมxxxxxx กว้างขึ้นและได้แนวคิดใหม่ๆ ในการทํางาน เป็นผลให้xxxxxxxปรับปรุงและพัฒนาโครงการจนประสบ ความสําเร็จ
สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณทีมพี่เลี้ยงในโครงการทุกท่าน ที่ช่วยกันทุ่มเท แรงxxx แรงใจ เสียสละเวลา ส่วนตัว เพื่อช่วยในการเตรียมความพร้อมให้ครูในโครงการ จนเป็นที่รักและชื่นชม และเกิดมิตรภาพxxxxxงาม
กับกลุ่มครูของโครงการ อนเป็นส่วนหนึ่งที่ชวยให้ห้องเรียนเพาะพนx xxxxเกิดขึ
xxxxxxx xx.xxxxxxxx xxxxxxxxx หัวหน้าศูนย์พี่เลี้ยงโครงการเพาะxxxxxxxxxxx มหาวิทยาลัยxxxxx
พฤษภาคม 2556
ค
สารบญั
หน้า
บทสรุปผู้บริหาร ก กิตติกรรมประกาศ ข
สารบ ค
สารบัญตาราง ง
สารบญรูป จ
รายงานสรุปการดําเนินงานของศูนย์พี่เลี้ยง
1. วตถุxxxxxxxของโครงการ 1
2. กิจกรรมหลกท่ีทําตาม proposal… 2
3. รายงานผลการทํากิจกรรมในฐานะศูนย์พี่เลียง
3.1 ข้อมูลโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ 4
3.2 การจัดกิจกรรมของศูนย์พี่เลี้ยง 7
3.2.1 กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ “เปิดใจ ใส่ใจ และใหใจรบการเปลี่ยนแปลง”… 7
3.2.2 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “I Can” 10
3.2.3 กิจกรรม “xxxxxxxxx” 11
3.2.4 กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ “System Thinking” 15
3.2.5 กิจกรรมฝึกทักษะการออกแบบการสอน การวิจยแบบ RBL 17
3.2.6 กิจกรรมฝึกทักษะการเขียน Proposal RBL… 18
3.2.7 กิจกรรมพัฒนาทกษะการวจิ ัยและ Share and Learn for Success… 19
3.3 xxxxxxxxxxxxxxxxx 23
3.4 ข้อเสนอแนะ ปัญหา และอุปสรรค 24
ภาคผนวก ก – ความรู้และความรูสึกทีครูไดจากก้ ิจกรรม “System Thinking”… 25
ภาคผนวก ข – รายชื่อผู้บริหารและครูท่ีเข้าร่วมกิจกรรม “System Thinking”… 50
ภาคผนวก ค – ผลงานโปสเตอร์ “การออกแบบงานวิจัยเกี่ยวกับปลากัด” ของครูที่เข้าร่วม โครงการ 54
ภาคผนวก ง – ข้อมูลแนวทางการจัดห้องเรียนเพาะxxxxxxxxxxxของโรงเรียน 58
ง
สารบญตาราง
หน้า
ตารางที่ 1 ผลการดําเนินกิจกรรมตาม proposal ของศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยxxxxx 2
ตารางท่ี 2 ข้อมูลสรุปของโรงเรียนท่ีผ่านการคัดเลือกเข้าโครงการ………………………………………………… 4
ตารางที่ 3 ฐานกิจกรรมฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 20
จ
สารบญรูป
หน้า
รูปที่ 1 การชีแจงรายละเอียดโครงการแก่ผูบริหารและครูจาก 14 โรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ………,….. 8
รูปท่ี 2 ครูเขียนบรรยายเกี่ยวกับโครงงานที่ฉันเข้าใจ 8
รูปท่ี 3 ครูรวมกลุ่มและทําตามโจทย์ที่พ่ีเลี้ยงให้ 9
รูปที่ 4 ครูร่วมทํากิจกรรม “เทคนิคการทํางานใหประสบความสําเร็จ”… 9
รูปที่ 5 ครูสะทอนความคิดความรู้สึก 10
รูปที่ 6 ครูร่วมกันทดสอบไอโอดีนในเกลือ 11
รูปท่ี 7 ครูกบผลxxxxxxหาโจทย์โครงงานฐานวิจัย 11
รูปที่ 8 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมxxxxxxxxxแนะนําตัวและxxxxxxxxความคาดxxxx 12
รูปที่ 9 ครูร่วมทํากิจกรรม “Who am I”… 12
รูปที่ 10 ครูร่วมทํากิจกรรม “xxxxxxxตระหนักรู้”… 13
รูปที่ 11 ครูร่วมทํากิจกรรม “ฝึกฐานxxx”… 13
รูปที่ 12 ครูวาดภาพเล่าเรื่องราวในความทรงจํา 13
รูปที่ 13 ครูร่วมชมภาพยนตร์ Freedom Writer… 14
รูปที่ 14 ครูร่วมทํากิจกรรมxxxxxแสงสว่าง 14
รูปที่ 15 ครูสะทอนข้อคิดxxxxxจากภาพยนตร์ Freedom Writer และตั้งxxxxxxฉันจะเป็นครูที่ 14
รูปที่ 16 บรรยากาศการอบรม System Thinking ให้ครู โดย อ.xx.xxxxxx xxxxxxxxสรรพ์ 16
รูปที่ 17 บรรยากาศการอบรมเชิงปฏิบัติการฝึกทักษะการออกแบบการสอน การวิจัยแบบ RBL… 18
รูปท่ี 18 ตัวอย่างเกี่ยวกับมูลเหตุจูงใจในการทําโครงงานเรื่องอาชีพทอผ้า 19
รูปท่ี 19 บรรยากาศการฝึกทกษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 21
รูปที่ 20 บรรยากาศการหารือร่วมxxxxxxxxxกับการจัดการห้องเรียนเพาะxxxxxxxxxxx 22
รูปที่ 21 บรรยากาศการร่วมกันวิพากษ์ proposal และฝึกออกแบบงานวิจัย 23
สัญญาเลขที่ RDC5540009
ศูนย์พี่เลี้ยงโครงการเพาะพนธุ์xxxxxมหาวิทยาลัยxxxxx
(จังหวัดสมุทรสงคราม และสมุทรสาคร)
รายงานในช่วงต แต่ : วนทั ี่ 28 กันยายน 2555 ถึง xxxx xx 00 xxxxxx 0000
ชื่อผู้xxxxxxงาน : อาจารย์ xx.xxxxxxxx xxxxxxxxx
หน่วยงาน : สถาบนนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาxxxxxลยxxxxx
1. วัตถุประสงค์ของโครงการ
เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนของห้องเรียนของโรงเรียนในเขตจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัด สมุทรสาคร ให้การทําโครงงานบนฐานวิจัย (Research-Based Project: RBL) เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีทักษะ แห่งxxxxxxxxx 21
ภารกิจ
1. xxxxxxงาน คัดเลือกโรงเรียน และพัฒนาทีมครูในโรงเรียนในเขตจังหวัดสมุทรสงครามและ จังหวัดสมุทรสาครใหม้ ีทักษะในการสอนแบบโครงงานบนฐานวิจัย
2. ร่วมเรียนรู้ อบรมทักษะการคิดเชิงระบบ xxxxxxxxx และการออกแบบการสอนแบบ RBL กับ หน่วยจัดการกลาง เพื่อนําไปถ่ายทอดและพัฒนาครูในพื้นที่ต่อไป
3. ค้นหาความต้องการพิเศษของการพัฒนาท่ีเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ และออกแบบการ สนบสนุนเพื่อเป้าหมายพฒนาการศึกษาด้วยการทําโครงงานบนฐานวิจัย
4. ติดตามสนับสนุนการดําเนินงานของโรงเรียนในเขตจังหวัดสมุทรสงครามและจังหวัดสมุทรสาคร ที่เข้าร่วม รวมทั้งประเมินความพร้อม และศักยภาพของโรงเรียน และวางระบบการหนุนเสริม เพ่ือให้โรงเรียนxxxxxxดําเนินโครงการได้ตามเป้าหมาย
2. กิจกรรมหลักที่ทําตาม proposal ของศูนย์พี่เลียงมหาวิทยาลัยxxxxx
ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยxxxxxxxxดําเนินกิจกรรมตาม Proposal เพ่ือให้xxxxxวัตถุประสงค์ของ โครงการ ดังข้อมูลสรุปในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 ผลการดําเนินกิจกรรมตาม proposal ของศูนย์พ่ีเลี้ยงมหาวิทยาลัยxxxxx
ตามแผนงาน | ปฏิบตั ิจริง | สนบสนุน วตถุxxxxxxx ข้อxxx | xxxละความ พึงxxxxต่อ ความสําเร็จ | |
กิจกรรม | ผลที่คาดว่าจะได้ | |||
1. เยี่ยมโรงเรียนเพื่อ ประเมินความ พรอมและประชุม คดเลือกโรงเรียน | โรงเรียนท่ีสนใจเขาร่วม โครงการจํานวน 10 โรงเรียน | โรงเรียนที่ผ่านการคัดเลือกในเบืองต้น จํานวน 15 โรงเรียน คือ จงหวัดสมุทรสงคราม 10 โรงเรียน ดังน้ี 1. โรงเรียนทายหาด 2. โรงเรียนอมพวันวิทยาลัย 3. โรงเรียนxxxxxxสมุทร 4. โรงเรียนxxxxxxxxxxxxxxxxx 5. โรงเรียนดรุณาxxxxx 6. โรงเรียนxxxวิสุทธิ 7. โรงเรียนเทศบาลวัดxxxxxxคณาวาส (นิพทธ์หริณสูตร์) 8. โรงเรียนวัดโคกเกตุ (xxxxxxxxxxxxวงศ์) 9. โรงเรียนบ้านxxxxxxxxxxx 10. โรงเรียนวดxxxxxxxxx จังหวัดสมุทรสาคร 5 โรงเรียน คือ 1. โรงเรียนวดนางสาว (xxxxราษฎร์บํารุง) 2. โรงเรียนบ้านแพ้วxxxxx ตี่ตง 3. โรงเรียนสมุทรสาครxxxxxxx 4. โรงเรียนทานตะวันไตรภาษา 5. โรงเรียนวัดxxxxxx | 1 | 100 |
2. ร่วมเรียนรู้จากงาน ยุววิจยยางพารา | พ่ีเลียงไดร้ ูปแบบการจดั กิจกรรมสําหรับนําไปปรับ ใชก้ บครูในพืxxxx | xxxเรียนรู้การจดกิจกรรมใช้ศิลปะฝึกสมาธิ การ จดวงแลกเปล่ียนเรียนรู้ และการทําโครงงาน ฐานวิจัย | 2 | 100 |
3. ร่วมxxxxxxxxx ศึกษากับ หน่วยงานกลาง | ได้ฝึกทกษะการเป็นxxx xxxxxxxxxxxxxxxสื่อสารและ หล่อเลยี งแรงบนดาลใจ | ไดเรียนรู้แนวทางของxxxxxxxxx และพัฒนาทกษะกระบวนการเรียนรู้เชิงลึก | 2 | 100 |
4. กิจกรรมเชิง ปฏิบตั ิการ “เปิดใจ ใส่ใจ และ ให้ใจรับการ เปล่ียนแปลง” | - เปิดมุมมองให้ครูเห็น บทบาทของครูxxx xxxxxxนแปลงไป - ฝึกให้ครูทํางานเป็นทีม และเปิดใจรับความคิด | - ทําความรxxx กกบครู แนะนําโครงการ ชี้แจง ความสําคัญของการจดการเรียนรู้แบบ RBL และให้ครูเห็นผลสมฤทธ์ิของเด็กเชิงxxxxxxxx จากวิดิโอยุววิจัยยางพารา โรงเรียนขุญหาญ - ครูเกิดความกงวลไม่รูจะทําให้เด็กเกิดความ อยากรู้และสร้างโจทย์วิจัยเองได้อย่างไร - ให้ครูลงมือปฏิบัติเพ่ือเรียนรู้เทคนิคการ ทํางานใหประสบความสําเร็จ (การทํางานเป็น | 1 | 70 |
ตามแผนงาน | ปฏิบัติจริง | สนับสนุน วตถุxxxxxxx ข้อxxx | xxxxละความ พึงxxxxต่อ ความสําเร็จ | |
กิจกรรม | ผลที่คาดว่าจะได้ | |||
และมุมxxxxxxแตกต่าง | ทีมและการเปิดใจรับฟังความคิดและมุมxxxxxx แตกต่าง) | |||
5. จัดอบรมทักษะ System Thinking ให้ครู และ เรียนรู้การเขียน proposal ยุววิจยั กับหน่วยงานกลาง | - พฒนาความคิดเชิง เหตุผล และการประยุกต์ ความคิดเชิงเหตุผลสู่การ ทําโครงงาน ให้แก่ครู - พีเลียงได้เรียนรูการ เขียน proposal | - ครูได้เรียนรดู้ วยการลงมือปฏิบัติเพื่อพัฒนา ความคิดเชิงเหตุผล และการประยุกต์สู่การทํา โครงงาน ทําให้ครูเร่ิมหายกลววิจัย แต่ก็ยังมี ความกังวล - พ่ีเลี้ยงไดเรียนรxx xรเขียน proposal จาก ตวอย่างที่หลากหลาย xxxxxxนําไปถ่ายทอด และพัฒนาครูในพืxxxx | 1 2 | 70 100 |
6. xxxxxxxxxxxให้ ผอ. และครู กลุ่มเป้าหมาย | ไดฝ้ ึกทกษะการเป็นพ่ี เลยี งท่ีxxxxxxส่อสารและ หล่อเลียงแรงบนดาลใจ ให้แก่ ผอ. และครู ที่เขา้ ร่วมโครงการ | ครูไดเรียนรูจากใจ เห็นแนวทางของxxxx xxxxx ทสี ามารถนําไปปรบใชก้ ับชีวิตจริง การ ทํากิจกรรมร่วมกันระหว่างครูและพี่เลี้ยงช่วย ลดช่องว่างระหว่างxxx xxxxความเข้าใจกันมาก ขึ้น | 1 | 100 |
7. ร่วมเรียนรู้จาก การนิเทศงาน ยุววิจัยยางพารา | พ่ีเลยี งได้รูปแบบการ นิเทศสําหรับนําไปปรับใช้ กบโรงเรียนในพืxxxx | xxxเรียนรูแนวทางการนิเทศจากการเข้าร่วม เรียนรู้จากการนิเทศงานยุววิจัยยางพารา | 2 | 100 |
8. กิจกรรม แลกเปล่ียนเรียนรู้ “I Can” ใหครู กลุ่มเป้าหมาย | ครูxxxxxxวิเคราะห์หา ประเด็นวิจยั และสราง โจทย์วิจยั | ครูxxxxxxวิเคราะห์หาประเด็นวิจยได้ แต่ บางส่วนยังไม่xxxxxxสร้างโจทย์วิจัยได้ และมี ความกังวลไม่รู้จะ inspire เด็กให้อยากรูและ สร้างโจทย์วิจัยเองได้อย่างไร | 1, 3 | 70 |
9. ฝึกทักษะ “การ ออกแบบการสอน การวิจัยแบบ RBL และการเขียน proposal RBL” ให้ครูกลุ่ม เป้าหมาย และ ทํา AAR กับหน่วย จัดการกลาง | - ไดแลกเปลย่ นเรียนรู้ กบศูนย์อ่ืน - ไดฝ้ ึกทักษะการ ออกแบบการสอน การ วิจยแบบ RBL และการ เขียน proposal เพื่อ นําไปปรับใช้กับครูใน พื้นที่ | - ได้นําสิ่งxxxxxเรียนรู้กับหน่วยกลาง ไปปรบใช้ ฝึกทักษะครูกลุ่มเป้าหมายในการออกแบบ การเรียนการสอน การวิจยแบบ RBL และ การเขียน proposal ทําใหครูได้ร่าง แผนการจดการเรียนการสอนในห้องเรียน เพาะพันธ์ุxxxxx | 2 | 75 |
10. กิจกรรม “Share and Learn for Success” ให้ครู กลุ่มเป้าหมาย | ครูมีการแบ่งปันขอxxx xxxxxxxเรียนรู้ร่วมกัน | - ครูมีการแบงปันขอxxx xxxxxxxเรียนรู้ร่วมxxx xxxxxxกับแนวทางการจดกิจกรรม และการ ออกแบบการวิจัยในโครงงาน - ครูไดร้ ูปแบบการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ xxxxxxนําไปปรบใช้กับนักเรียน | 3, 4 | 90 |
11. กิจกรรม “พัฒนา ทักษะการทํา วิจยั ” ให้ครู กลุ่มเป้าหมาย | ครูเขาใจกระบวนการวิจัย | - ครไดฝ้ ึกทกษะการทําวิจัย เข้าใจ กระบวนการ วิจยั xxxxxxออกแบบ งานวิจยได้ แต่ยงมีบางส่วนท่ีพ่ีเลี้ยงต้องคอย ติดตามให้ความช่วยเหลือ | 1-3 | 75 |
ตามแผนงาน | ปฏิบัติจริง | สนับสนุน วตถุxxxxxxx ข้อxxx | xxxxละความ พึงxxxxต่อ ความสําเร็จ | |
กิจกรรม | ผลที่คาดว่าจะได้ | |||
12. หนุนช่วยและติด ตามท่ีโรงเรียน หรือประชุมครู | ครูxxxxxxจดหองเรียน เพาะพนธุ์xxxxx เป็นพี่ เลยี งในการทําโครงงาน ฐานวิจัยของนักเรียนได้ | ติดตามสนับสนุนอย่างนอยเดือนละ 1 คร้งั ทงั การลงพนื ท่ี และผ่าน Face book group | 4 | 100 |
3. รายงานผลการทํากิจกรรมในฐานะศูนย์พี่เล ง
3.1 ข้อมูลโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ
จากการxxxxxxxxxเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ ซึ่งมีการดําเนินการหลายรูปแบบ คือ การเข้าไปxxxxxxxxx โรงเรียนโดยตรง การชี้แจงและxxxxxxxxxxxxผ่าน สพป.สมุทรสงคราม สพป.สมุทรสาคร และ สพม.10 ทําให้ ได้โรงเรียนที่สนใจและผ่านการคัดเลือกจากศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยxxxxx จํานวน 15 โรงเรียน ดัง รายละเอียดสรุปในตารางที่ 2
ตารางที่ 2 ข้อมูลสรุปของโรงเรียนที่ผ่านการคดเลือกเข้าโครงการของศูนย์พ่เลี้ยงมหาวิทยาลัยxxxxxรอบแรก
ลําดับที่ | ชื่อโรงเรียน | ที่ตั้ง | สงกดั | จํานวนนักเรียน (มธยม) | จํานวนครู (มธยม) | จํานวนครูแยกตามกลุ่มสาระ | |
กลุ่มสาระ | จํานวนครู | ||||||
จังหวัดสมุทรสงคราม จํานวน 10 โรงเรียน | |||||||
1 | โรงเรียนท้ายหาด | ต.ทายหาด | สพม. เขต 10 | ม.1 = 77 คน | 30 คน | วิทยาศาสตร์ | 7 คน |
อ.เมือง | ม.2 = 152 คน | คณิตศาสตร์ | 5 คน | ||||
ม.3 = 248 คน | สังคมศึกษาฯ | 3 คน | |||||
ม.4 = 93 คน | สุขศึกษาฯ | 1 คน | |||||
ม.5 = 72 คน | ภาษาต่างประเทศ | 4 คน | |||||
ม.6 = 74 คน | ภาษาไทย | 3 คน | |||||
ศิลปะ | 2 xx | ||||||
xxxงานอาชีพฯ | 5 คน | ||||||
2 | โรงเรียนxxxxxxxวิทยาลัย | ต.อัมพวา | สพม. เขต 10 | ม.1 = 334 คน | 73 คน | วิทยาศาสตร์ | 10 คน |
อ.อัมพวา | ม.2 = 326 คน | คณิตศาสตร์ | 11 คน | ||||
ม.3 = 349 คน | สงคมศึกษาฯ | 8 คน | |||||
ม.4 = 234 คน | สุขศึกษาฯ | 6 คน | |||||
ม.5 = 260 คน | ภาษาต่างประเทศ | 10 คน | |||||
ม.6 = 191 คน | ภาษาไทย | 11 คน | |||||
ศิลปะ | 5 xx | ||||||
xxxงานอาชีพฯ | 12 คน | ||||||
3 | โรงเรียนxxxxxxสมุทร | ต.ลาดใหญ่ | สพม. เขต 10 | ม.1 = 537 คน | 98 คน | วิทยาศาสตร์ | 22 คน |
อ.เมือง | ม.2 = 480 คน | คณิตศาสตร์ | 17 คน | ||||
ม.3 = 507 คน | สงคมศึกษาฯ | 17 คน | |||||
ม.4 = 373 คน | สุขศึกษาฯ | 10 คน | |||||
ม.5 = 373 คน | ภาษาต่างประเทศ | 21 คน | |||||
ม.6 = 327 คน | ภาษาไทย | 14 คน | |||||
ศิลปะ | 6 xx | ||||||
xxxงานอาชีพฯ | 22 คน |
ลําดับที่ | ชื่อโรงเรียน | ที่ตั้ง | สังกัด | จํานวนนักเรียน (มธยม) | จํานวนครู (มธยม) | จํานวนครูแยกตามกลุ่มสาระ | |
กลุ่มสาระ | จํานวนครู | ||||||
4 | โรงเรียนxxxxxxxxxxxx | ต.ท่าคา | สพม.เขต 10 | ม.1 = 41 คน | 15 คน | วิทยาศาสตร์ | 3 คน |
xxxxx | อ.อมพวา | ม.2 = 39 คน | คณิตศาสตร์ | 2 คน | |||
ม.3 = 42 คน | สงคมศึกษาฯ | 1 คน | |||||
ม.4 = 21 คน | สุขศึกษาฯ | 1 คน | |||||
ม.5 = 12 คน | ภาษาต่างประเทศ | 2 คน | |||||
ม.6 = 12 คน | ภาษาไทย | 2 คน | |||||
ศิลปะ | 1 xx | ||||||
xxxงานอาชีพฯ | 3 คน | ||||||
5 | โรงเรียนดรุณาxxxxx | ต.แม่กลอง | เอกชน | ม.1 = 58 คน | 12 คน | วิทยาศาสตร์ | 2 คน |
อ.เมือง | (xxxxxxxx | ม.2 = 47 คน | คณิตศาสตร์ | 1 คน | |||
สาสน์) | ม.3 = 47 คน | สงคมศึกษาฯ | 1 คน | ||||
สุขศึกษาฯ | 1 คน | ||||||
ภาษาต่างประเทศ | 1 คน | ||||||
ภาษาไทย | 1 คน | ||||||
ศิลปะ | 4 xx | ||||||
xxxงานอาชีพฯ | 1 คน | ||||||
6 | โรงเรียนxxxวิสุทธิ | ต.xxxxxxx | สพม. เขต 10 | ม.1 = 18 คน | 12 คน | วิทยาศาสตร์ | 2 คน |
อ.บางคนที | ม.2 = 18 คน | คณิตศาสตร์ | 1 คน | ||||
ม.3 = 16 คน | สงคมศึกษาฯ | 2 คน | |||||
ม.4 = 27 คน | สุขศึกษาฯ | 0 คน | |||||
ม.5 = 19 คน | ภาษาต่างประเทศ | 2 คน | |||||
ม.6 = 20 คน | ภาษาไทย | 2 คน | |||||
ศิลปะ | 1 xx | ||||||
xxxงานอาชีพฯ | 2 คน | ||||||
7 | โรงเรียนบ้านxxxxxxxxxxx | ต.แพรกหนามแดง | สพป.สมุทร | ม.1 = 14 คน | 11 คน | วิทยาศาสตร์ | 2 คน |
อ.อมพวา | xxxxxx | ม.2 = 16 คน | คณิตศาสตร์ | 1 คน | |||
ม.3 = 18 คน | สงคมศึกษาฯ | 1 คน | |||||
สุขศึกษาฯ | 1 คน | ||||||
ภาษาต่างประเทศ | 1 คน | ||||||
ภาษาไทย | 1 คน | ||||||
ศิลปะ | 2 xx | ||||||
xxxงานอาชีพฯ | 2 คน | ||||||
8* | โรงเรียนเทศบาลวัดxxxxxx | ต.แม่กลอง | เทศบาลเมือง | ม.1 = 109 คน | 14 คน | วิทยาศาสตร์ | 2 คน |
คณาวาส (xxxxxxxหริณสูตร์) | อ.เมือง | สมุทรสง- | ม.2 = 92 คน | คณิตศาสตร์ | 2 คน | ||
คราม | ม.3 = 102 คน | สงคมศึกษาฯ | 2 คน | ||||
ม.4 = 45 คน | สุขศึกษาฯ | 1 คน | |||||
ม.5 = 45 คน | ภาษาต่างประเทศ | 2 คน | |||||
ม.6 = 25 คน | ภาษาไทย | 2 คน | |||||
ศิลปะ | 1 xx | ||||||
xxxงานอาชีพฯ | 2 คน | ||||||
9* | โรงเรียนวัดโคกเกตุ (เสริม | ต.ปลายโพงพาง | สพป.สมุทร | ม.1 = 31 คน | 8 คน | วิทยาศาสตร์ | 1 xx |
xxxxxxxวงศ์) | อ.อมพวา | xxxxxx | ม.2 = 31 คน | คณิตศาสตร์ | 1 คน | ||
ม.3 = 27 คน | สงคมศึกษาฯ | 1 คน | |||||
สุขศึกษาฯ | 1 คน | ||||||
ภาษาต่างประเทศ | 1 คน |
ลําดับที่ | ชื่อโรงเรียน | ที่ตั้ง | สังกดั | จํานวนนักเรียน (มธยม) | จํานวนครู (มธยม) | จํานวนครูแยกตามกลุ่มสาระ | |
กลุ่มสาระ | จํานวนครู | ||||||
ภาษาไทย ศิลปะ การงานอาชีพฯ | 1 คน 1 คน 1 คน | ||||||
10** | โรงเรียนวัดxxxxxxxxx | ต.xxxxxxxxx | สพป.สมุทร | ม.1 = 28 คน | 8 คน | วิทยาศาสตร์ | 1 คน |
อ.บางคนที | xxxxxx | ม.2 = 26 คน | คณิตศาสตร์ | 1 คน | |||
ม.3 = 26 คน | สังคมศึกษาฯ | 1 คน | |||||
สุขศึกษาฯ | 1 คน | ||||||
ภาษาต่างประเทศ | 1 คน | ||||||
ภาษาไทย | 1 คน | ||||||
ศิลปะ | 1 xx | ||||||
xxxงานอาชีพฯ | 1 คน | ||||||
จังหวัดสมุทรสาคร จํานวน 5 โรงเรียน | |||||||
11 | โรงเรียนบ้านแพ้วxxxxx (สอนภาษาxxxกลางดวย) | ต.ยกกระบัตร อ.บานแพว้ | เอกชน (อนุบาล-ม.6) | ม.1 = 49 คน ม.2 = 38 คน ม.3 = 32 คน ม.4 = 16 คน | 11 คน | วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษาฯ สุขศึกษาฯ ภาษาต่างประเทศ ภาษาไทย ศิลปะ การงานอาชีพฯ | 1 คน 1 คน 1 คน 1 คน 3 คน 1 คน 1 คน 2 คน |
12 | โรงเรียนสมุทรสาครxxxxxxx | ต.บานเกาะ | สพม. เขต 10 | ม.1 = 169 คน | 40 คน | วิทยาศาสตร์ | 7 คน |
อ.เมือง | ม.2 = 184 คน | คณิตศาสตร์ | 6 คน | ||||
ม.3 = 181 คน | สงคมศึกษาฯ | 8 คน | |||||
ม.4 = 200 คน | สุขศึกษาฯ | 4 คน | |||||
ม.5 = 139 คน | ภาษาต่างประเทศ | 0 คน | |||||
ม.6 = 108 คน | ภาษาไทย | 4 คน | |||||
ศิลปะ | 4 xx | ||||||
xxxงานอาชีพฯ | 7 คน | ||||||
13 | โรงเรียนทานตะวัน | ต.คอกกระบือ | เอกชน | ม.1 = 26 คน | 27 คน | วิทยาศาสตร์ | 4 คน |
ไตรภาษา | อ.เมือง | (ป.1-ม.6) | ม.2 = 23 คน | คณิตศาสตร์ | 4 คน | ||
(สอน 3 ภาษา คือ ภาษาไทย | ม.3 = 19 คน | สงคมศึกษาฯ | 3 คน | ||||
ภาษาองxxx และภาษาxxx | ม.4 = 19 คน | สุขศึกษาฯ | 2 คน | ||||
กลาง โดยเจ้าของภาษา) | ม.5 = 22 คน | ภาษาต่างประเทศ | 5 คน | ||||
ม.6 = 19 คน | ภาษาไทย | 3 คน | |||||
ศิลปะ | 4 xx | ||||||
xxxงานอาชีพฯ | 2 คน | ||||||
14 | โรงเรียนวัดxxxxxx | ต.xxxxxx | สพป. | ม.1 = 16 คน | 10 คน | วิทยาศาสตร์ | 2 คน |
อ.บ้านแพ้ว | สมุทรสาคร | ม.2 = 15 คน | คณิตศาสตร์ | 1 คน | |||
ม.3 = 11 คน | สังคมศึกษาฯ | 1 คน | |||||
สุขศึกษาฯ | 1 คน | ||||||
ภาษาต่างประเทศ | 1 คน | ||||||
ภาษาไทย | 2 คน | ||||||
ศิลปะ | 1 xx | ||||||
xxxงานอาชีพฯ | 1 คน |
ลําดับที่ | ชื่อโรงเรียน | ที่ตั้ง | สังกดั | จํานวนนักเรียน (มธยม) | จํานวนครู (มธยม) | จํานวนครูแยกตามกลุ่มสาระ | |
กลุ่มสาระ | จํานวนครู | ||||||
15* | โรงเรียนวัดนางสาว (xxxx | ต.ท่าไม้ | สพป. | ม.1 = 182 คน | 35 คน | วิทยาศาสตร์ | 9 คน |
ราษฎร์บํารุง) | อ.กระทุ่มแบน | สมุทรสาคร | ม.2 = 145 คน | คณิตศาสตร์ | 5 คน | ||
ม.3 = 113 คน | สงคมศึกษาฯ | 2 คน | |||||
ม.4 = 62 คน | สุขศึกษาฯ | 2 คน | |||||
ม.5 = 33 คน | ภาษาต่างประเทศ | 6 คน | |||||
ม.6 = 28 คน | ภาษาไทย | 5 คน | |||||
ศิลปะ | 1 xx | ||||||
xxxงานอาชีพฯ | 5 คน |
หมายเหตุ
* โรงเรียนเทศบาลวดxxxxxxคณาวาส โรงเรียนวดโคกเกตุ และโรงเรียนวัดนางสาว ถอนตัว ในระหว่างการดําเนินการในระยะที่ 1
** โรงเรียนxxxxxxxxและผ่านการคัดเลือกเขามาใหม่
3.2 การจดกิจกรรมของศูนย์พ่ีเลี้ยงมหาวิทยาลัยxxxxx
3.2.1 กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ “เปิดใจ ใส่ใจ และใหใจรบการเปล่ียนแปลง”
ศูนย์พี่เลี้ยงได้ลงพื้นที่จัดกิจกรรมทําความเข้าใจกับคุณครูในพื้นท่ีรับผิดชอบ คือ จังหวัด สมุทรสงคราม และจังหวัดสมุทรสาคร เมื่อวันเสาร์ที่ 1 ธันวาคม 2555 มีผู้บริหารและคุณครูเข้าร่วมกิจกรรม เกือบ 70 คน จาก 14 โรงเรียน ในการนี้ได้รับความอนุเคราะห์ด้านสถานที่สําหรับการจัดกิจกรรมจาก
ผ ํานวยการโรงเรียนศรทธาสมุทร จังหวัดสมุทรสงคราม
กิจกรรมเริ่มจากการเปิดวิดิทัศน์แนะนําโครงการ และชี้แจงรายละเอียดของโครงการให้คุณครู
ทราบ (ซึ่งคุณครูบางคนก็มาโดยที่ยังไม่รู้ว่าจะต้องทําอะไร) และให้ครูตระหนักถึงบทบาทของครูยุคปัจจุบัน ที่ จะต้องปรับเปล่ียนจากผู้สอนมาเป็นพ่ีเลี้ยงคอยให้คําปรึกษา ช่วยเหลือ ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ จากนั้นได้ให้ คุณครูได้เขียนบรรยายสั้นๆ ในหัวข้อ “โครงงานฐานวิจัยท่ีฉันเข้าใจ” ซึ่งครูส่วนใหญ่มองว่าโครงงานฐานวิจัย คือการทําโครงงานโดยใช้กระบวนการวิจัยหรือกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้ได้คําตอบของสมมติฐาน ที่ตั้งไว้ และครูบางส่วนมองว่าเด็กทําโครงงานส่วนครูทําวิจัยในช้ันเรียนควบคู่กันไป แต่ก็มีครูบางคนบอกว่า ไม่เข้าใจว่าการทําโครงงานคออะไรแม้จะเคยผานการอบรมมาแล้วหลายครั้ง
ทีมพี่เลี้ยงจึงอธิบาย RBL ในมุมมองของพวกเรา และให้เปิดวิดิโอยุววิจัยยางพาราของโรงเรียนขุน หาญพิทยาสรรค์ ที่ได้รับความอนุเคราะห์จาก อ.ไพโรจน์ คีรีรัตน์ ให้ครูดู ทําให้ครูเข้าใจ RBL ขึ้นมาก นอกจากน้ีครูยังได้สะท้อนว่าที่ผ่านมามักจะเห็นตัวอย่างความสําเร็จจากโรงเรียนใหญ่ๆ ที่มีศักยภาพ จึงไม่คิด ว่าโรงเรียนของตนซึ่งมีแต่เด็กคัด (หมายถึงเด็กที่เหลือจากการคัดของโรงเรียนดังๆ) จะทําได้ แต่เมื่อได้เห็น วิดิโอชุดนี้ หลายคนเริ่มเกิดกําลังใจ สะท้อนว่าโรงเรียนของตนก็น่าจะทําได้ อย่างไรก็ตามครูก็เกิดความ หนักใจและมองว่าเป็นสิ่งท่ียากเพราะหัวข้อโครงงานต้องเกิดจากเด็ก และยังมองไม่ออกว่าจากประเด็น เดียวจะทําให้เกิดโครงงานย่อยๆ ท่ีมีหลายสาระวิชาได้อย่างไร ซ่ึงผลที่ได้ในครั้งนี้ ทีมพี่เลี้ยงได้นําไปเป็น แนวทางในการวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป
รูปที่ 1 การช
จงรายละเอียดโครงการแก่ผบ
ริหารและครูจาก 14 โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ
รูปที่ 2 ครูเขียนบรรยายเก่ียวกับโครงงานที่ฉันเข้าใจ
และเพื่อลดบรรยากาศท่ีเร่ิมจะเครียด ศูนย์พี่เลี้ยงจึงจัดกิจกรรมแนะนําตัว โดยแต่ละคน จะต้องบอกชื่อเล่นและจุดเด่นของตนเอง ซึ่งแต่ละคนมีลีลาการแนะนําตัวท่ีเรียกเสียงหัวเราะจากเพ่ือนครูได้ ทําให้บรรยากาศในช่วงบ่ายเริ่มผ่อนคลายขึ้น โดยในภาคบ่ายน้ัน เริ่มด้วยกิจกรรม “แต่งแต้มและเติมเต็ม” เป็นการวาดภาพเริ่มจากคนๆ หนึ่งแล้วส่งให้เพื่อนวาดต่อๆ กันไป จนได้ภาพท่ีสมบูรณ์ซึ่งอาจจะแตกต่างไป จากที่แต่ละคนคิด แต่ก็เป็นภาพที่ทุกคนเปิดใจยอมรับ
รูปที่ 2 ครูร่วมทํากิจกรรม “แต่งแต้มและเติมเต็ม” ต่างคนต่างวาดตามใจคิด ต่อเติมเสรมแต่งตามใจฝัน ได้ภาพ👉นึงภาพร่วมกัน ช่างนาอศจรรย์ใจจริง
จากนั้นจึงให้ครูรวมกลุ่มกันตามโจทย์ที่พี่เล้ียงสั่ง เพื่อให้ครูร่วมกันทํากิจกรรมต่อไปเพื่อฝึก เทคนิคการทํางานเป็นทีม ซ่ึงทีมพ่ีเลี้ยงได้ต่อตัวเลโก้ไว้ชุดหนึ่ง ให้สมาชิก 2 คนในแต่ละทีมมีสิทธิ์ดูเลโก้ โดย คนที่ 1 พูดได้ คนที่ 2 พูดไม่ได้ จากนั้นให้คนท่ี 1 ไปส่ือสารให้คนที่ 3 และคนที่ 3 ไปถ่ายทอดให้สมาชิกใน กลุ่มต่อชิ้นเลโก้ให้ได้ตามโจทย์ ในขณะคนที่ 2 ซ่ึงพูดไม่ได้น้ัน สามารถกลับไปหาสมาชิกในกลุ่มได้โดยตรง แต่ จะส่ือสารกับสมาชิกในกลุ่มได้ผ่านการใช้ท่าทาง ห้ามสัมผัสช้ินเลโก้ และห้ามเขียน ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวนี้ครูจะ เล่นกันอย่างสนุกสนาน ชนิดที่ไม่ยอมเลิก เมื่อส้ินสุดกิจกรรม ศูนย์พี่เลี้ยงให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มบอก
ความรูส้ ึกของตน ซึ่งสะทอนใหเห็นว่า ครูเขาใจความร้สู ึกของสมาชิกในทีมที่มีภาระหน้าท่ีแตกต่างกัน และการ จะทํางานใดให้สําเร็จนั้น ตองมีการวางแผนท่ีดี และต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย
รูปที่ 3 ครูรวมกลุ่มและทําตามโจทย์ที่พี่เลี้ยงให
ในที่สุดก็ทําสําเร็จ
รูปที่ 4 ครูร่วมทํากิจกรรม “เทคนิคการทํางานให้ประสบความสําเร็จ”
(ภาพและคาพูด พเี ลี้ยงได้รวบรวมทําเป็น VDO presentation ใ👉้คุณครูดู สร้างความประทบใจใ👉ก้ ับคุณครูเป็นอย่างมาก)
ปิดท้ายการทํากิจกรรมในครั้งน้ี ด้วยการให้ครูสะท้อนความคิด ความรู้สึก และสิ่งท่ีครู ต้องการ โดยเขียนข้อความลงในกระดาษรูปใบไม้แล้วนําไปติดบนต้นไม้ที่ทางพ่ีเลี้ยงเตรียมไว้ให้ ซึ่งทําให้พี่ เลี้ยงทราบถึงความรู้สึกของคุณครูและส่ิงที่ครูต้องการ เพื่อนํามาวางแผนการจัดกิจกรรมในการที่จะช่วยหนุน เสริมครูต่อไป
รูปที่ 5 ครูสะท้อนความคิดความรู้สึก
3.2.2 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “I Can”
กิจกรรมนี้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2555 ณ ห้องประชุมโรงเรียนศรัทธาสมุทร โดยมี เป้าหมายที่จะผูกใจครู และทําใหครูเข้าใจ RBL มากขึ้น
กิจกรรมเริ่มด้วยการนํา VDO presentation ที่พี่เลี้ยงได้จัดทําข้ึนโดยรวบรวมภาพเหตุการณ์ และบรรยากาศจากการจัดกิจกรรมในครั้งแรก มาเปิดใหครูดู ซึ่งมองเห็นได้ชดว่าครูมีความประทับใจอย่างมาก ทําให้พี่เลี้ยงรู้สึกอุ่นใจที่เริ่มไดใจครในระดับหนึ่ง (ตอนแรกค่อนขางหนักใจ เพราะกลัวครูจะท้อแล้วหายไป)
หลังจากนั้นจึงพาครูสู่การทําวิจัยแบบ RBL โดยพ่ีเล้ียงได้นําสิ่งท่ีครูสะท้อนจากกิจกรรมในครั้ง แรกมาเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ โดยใช้การสอนแบบสาธิตเร่ือง “เกลือเสริมไอโอดีน” (เลือกหัวข้อ นี้เนื่องจากทั้งสองสมุทรฯ มีการทํานาเกลือและมีโรงงานเกลือหลายโรงงาน) และให้ครูทําตัวเป็นนักเรียน กิจกรรมเริ่มจากการให้นักเรียน (ในที่นี้คือครูในโครงการ) ดูวิดิโอโฆษณาการใช้เกลือเสริมไอโอดีนในการปรุง อาหาร จากน้ันหยอดคําถามให้นักเรียนคิดว่าทําไมต้องใช้เกลือเสริมไอโอดีน จะใช้เกลือทะเลจากสองสมุทรฯ ได้หรือไม่ (ครูส่วนใหญ่ก็ตอบว่าได้) หลังจากน้ันจึงให้นักเรียนทดสอบไอโอดีนในเกลือ ซึ่งผลจากการทดสอบ นอกจากสร้างความแปลกใจแล้ว นักเรียนยังมีคําถามมากมาย อาทิ ทําไมเกลือทะเลไม่มีไอโอดีน ทําไมเกลือ ยี่👉้อเดียวกันมีไอโอดีนไม่เท่ากัน ในน้ําทะเลมีไอโอดีน…เมื่อมาเป็นเกลือ…ไอโอดีน👉ายไปไ👉น บางคนก็เชื่อว่า เกลือทะเลใช้ถนอมอา👉ารได้ดีกว่าเกลือสินเธาว์ เกลือเสริมไอโอดีนทําใ👉้รสชาติของอา👉ารเปลี่ยนไป ซึ่งทีมพี่ เลี้ยงได้แนะให้ครูเห็นว่าคําถามเหล่านี้สามารถสร้างเป็นโจทย์วิจัยได้ ซ่ึงโจทย์เหล่านี้ก็ล้วนมาจากความ อยากรู้ของนักเรียน (ในที่นี้คือครู) และจากตัวอย่างในเรื่องเกลือนี้ ทีมพี่เลี้ยงได้ชี้ให้เห็นว่าสามารถทําเป็น โครงงานแบบนิรนัย อาทิ ความเช่ือเกี่ยวกับการใช้เกลือประกอบพิธีกรรม ผลจากกิจกรรมดังกล่าวนี้ ทําให้ครู เริ่มมองเห็นแนวทางการทําโครงงานฐานวิจัยแบบบูรณาการ
รูปที่ 6 ครูร่วมกันทดสอบไอโอดีนในเกลือ
จากน้ันทีมพี่เลี้ยงให้ครูแต่ละโรงเรียนลองเลือกประเด็นที่สนใจ โดยแนะให้ครูเลือกประเด็น หลักจากทรัพยากรธรรมชาติ อาชีพ หรือกิจกรรมในชุมชน จากนั้นให้ลองแตกประเด็นหลักเป็นโจทย์โครงงาน
10 เร่ือง ที่ครอบคลุม 3 ศาสตร์ คือ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ จากนั้นให้แต่ละกลุ่ม นําเสนอ ระหว่างน้ันทีมพี่เล้ียงก็วิพากษ์และให้ความคิดเห็น ซึ่งครูที่เคยผ่านโครงการครุวิจัย ครูที่เคยทํา วิทยาศาสตร์ท้องถิน่ ครูวิทยาศาสตร์ และครูทผ่ี ่านโครงการ LLEN จะเข้าใจ RBL ไดง้ ่าย
รูปที่ 7 ครูกับผลงานการหาโจทย์โครงงานฐานวิจัย
3.2.3 กิจกรรมจิตตปัญญาศึกษา
ศู น ย์ พี่ เลี้ยงมหา วิ ทยาลัยม หิ ดลไ ด้ เ ชิ ญกระบวนกรจากศูน ย์ จิตต ปั ญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล มาจัดกิจกรรมจิตตปัญญา ให้ ผอ. และครู กลุ่มเป้าหมาย ระหว่างวันที่ 5-6 มกราคม 2556 ณ เรือนไม้ชายคลอง จ.สมุทรสงคราม
กิจกรรมในวันแรก
กจกรรมท่ี 1 ผู้เขาร่วมแนะนําตวและบอกกล่าวความคาดหวัง
กระบวนกรจัดให้คุณครูได้เดินไปทั่วห้องสัมมนา ทักทายและถามสารทุกข์กับทุกคนที่คุณครูแต่ ละท่านเดินผ่าน จากน้ันกระบวนกรกําหนดให้คุณครูอยู่กับตัวเอง ค่อยๆ เดินไปท่ัวห้องและเมื่อเสียงระฆังดัง
ขึ้น ให้คุณครูที่อยู่ใกล ันจับคู่กันจากนันแนะนาตัวและทําความรู้จักกัน ซึ่งกระบวนกรได้กําหนดใหท้ ํากิจกรรม
คล้ายแบบเดิมอีกสามครั้ง แต่ให้ทักทายกันโดยการสบตา จับมือ และหันหลังชนกัน หลังจากนั้นจึงเป็น กิจกรรมที่เรียกว่าภูเขาไฟระเบิด โดยกระบวนกรให้คุณครูจัดแถวเป็นวงกลมและเม่ือกระบวนกรพูดถึงสิ่งท่ี เกี่ยวข้องกับคุณครูคนใดให้คุณครูคนนั้นก้าวออกมาข้างหน้า เช่น กระบวนกรพูดว่า ภูเขาไฟระเบิดคุณครูที่ใส่ นาฬิกาข้อมือ ผลคือคุณครูที่ใส่นาฬิกาข้อมือก็จะก้าวออกมา กิจกรรมน้ีจะทําให้คุณครูจดจําลักษณะของ คุณครูแต่ละคนได้
รูปที่ 8 ผูเข้าร่วมกิจกรรมจิตตปัญญาแนะนําตัวและบอกกล่าวความคาดหวัง
กิจกรรมที่ 2 Who am I?
กระบวนกรให้คุณครูเขียนต่อท้ายคําว่า “ฉันเป็น” ซึ่งคําที่ต่อเพิ่มมานั้นจะแสดงถึงความเป็น ตัวตนของคุณครูผู้เขียน ซึ่งคุณครูแต่ละท่านไดว้ ิเคราะห์ สะทอนตัวเองและเขียนออกมาห้าประโยค นอกจากนี้ ยังได้ทําความรู้จักเพ่ือนในมุมมองของเขาเอง ซึ่งจะเห็นได้ว่าสิ่งที่คนๆ หนึ่งแสดงออกมากับสิ่งที่คนๆ เป็นจริง ส่วนใหญ่มักไม่ตรงกัน ทําให้ครูได้เรียนรู้ว่าอย่าตัดสินคนจากเพียงแค่ภายนอกหรือจากแค่คําพูด แต่ขอให้ดูกัน ให้ลึกลงไปข้างใน
รูปที่ 9 ครูร่วมทํากิจกรรม “Who am I”
กิจกรรมท่ี 4 ผ่อนพักตระหนักรู้
กระบวนกรได้ให้คุณครูทุกคนเข้าสู่กิจกรรมผ่อนพักตระหนักรู้หลังจากพักรับประทานอาหาร กลางวัน โดยให้นอนหงายหรือตะแคงเพื่อพักผ่อนกายและใจ ระหว่างนั้นให้กําหนดไปทุกส่วนของร่ายกาย เพ่ือให้อวัยวะทุกส่วนของร่างกายผ่อนคลาย (ประมาณ 30 นาที) จากนนั จึงค่อยๆ ลืมตา ลุกขึ้นนั่งและทุบนวด เบาๆ บนขาของตนเอง จากนั้นจึงยืนข้ึนและค่อยๆ ยกแขนขาและสังเกตความตึงของแขนขาแล้วค่อยๆ ผ่อน คลาย การทํากิจกรรมนี้ทําให้คุณครูได้ผ่อนคลายก่อนเริ่มทํากิจกรรมใหม่ด้วยความสดชื่นก่อนกลับไปทํา กิจกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ
รูปที่ 10 ครูร่วมทํากิจกรรม “ผ่อนพักตระหนกรู้”
กิจกรรมท่ี 5 กิจกรรมฝึกฐานกาย (ตุ๊กตาล้มลุก)
การทํากิจกรรมน้ี เร่ิมจากคุณครูจับคู่กันและจับมือกันไว้ คุณครูอีกคนหนึ่งโน้มตัวเองไป ด้านหน้าและหลังโดยที่ไม่ต้องพะวงว่าจะล้มเพราะคุณครูอีกคนหนึ่งจะคอยดึงมือไว้จากนั้นจึงสลับกันทํา ต่อมาให้จับกลุ่มสามคน ให้สองคนหันหน้าเข้าหากัน และอีกหนึ่งคนยืนตรงกลางหันหน้าหาเพื่อนครูคนใดคน หนึ่ง จากนั้นโน้มตัวอย่างอิสระไปข้างหน้าโดยเพื่อนครูที่อยู่ข้างหน้าจะเป็นคนรับและผลักไปด้านหลัง ซึ่งจะมี เพื่อนครูอีกคนคอยรับและผลักกลับมาจากน้ันจึงเปล่ียนหน้าที่กัน ซึ่งกิจกรรมนี้สะท้อนถึงกระบวนการทํางาน เป็นกลุ่ม
รูปที่ 11 ครูร่วมทํากิจกรรม “ฝึกฐานกาย”
กิจกรรมท่ี 6 เล่าชีวิตวัยเยาว์ และ reflect ช ตวัยเยาว์
กระบวนกรให้คุณครูแต่ละท่านเดินไปทีละก้าว โดยแต่ละก้าวให้นึกเร่ืองราวย้อนไป ตามลําดับ จากวันน้ี ไปเมื่อวาน 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา 1 เดือนที่ผ่านมา ย้อนไปเร่ือย จนถึงวัยเด็ก จากน้ันให้แต่ ละคนวาดภาพเรื่องราวที่อยู่ในความทรงจํา แล้วให้จับคู่กันและผลัดกันเล่าเร่ืองราวจากภาพโดยที่ผู้เล่าและ ผู้ฟังจะทําหน้าที่ฟังอย่างเดียวโดยที่ไม่ถามคําถามใดๆ ท้ังส้ิน ซ่ึงเรียกว่าการฟังอย่างลึกซึ้ง (Deep Listening)
ซึ่งครูได้เรียนรู้ว่าการฟังลักษณะนี้จะทําให้ผู ูดรู้สึกปลอดภัยและพรอมท่ีจะพูดทุกความรสู้ ึกออกมา
รูปที่ 12 ครูวาดภาพเล่าเรื่องราวในความทรงจํา
กิจกรรมที่ 7 ดูภาพยนตร์ Freedom Writer
ในคืนวันแรก กระบวนกรได้นําภาพยนตร์เร่ือง Freedom Writer (เป็นเรื่องราวชีวิตของ Erin Gruwell ครูสอนวิชาภาษาอังกฤษใน California ผูเผชิญกับผเู รยนที่ไม่ให้ความร่วมมือและต่อต้านการ สอน แต่สามารถชนะใจผู้เรียนได้ในท่ีสุด) มาให้คุณครูดู โดยไม่มีกฏกติกาแต่อย่างใด
รูปที่ 13 ครูร่วมชมภาพยนตร์ Freedom Writer
กิจกรรมในวันที่สอง
กจกรรมที่ 1 ภาวนาแสงสวาง
กระบวนกรให้คุณครูทุกท่านนั่งสมาธิและสํารวจจิตใจของตัวเอง โดยเร่ิมกําหนดว่าเบืองหน้า นั้นมีแสงสว่างและนําแสงสว่างไปยงส่วนต่างๆ ของร่างกายและแผ่แสงสว่างและความรักไปยังภายนอก แสง
สว่างนั้นเปรียบเหมือนกบปัญญา ความดีงาม และความสําเร็จ การทํากิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่ทําให ิตใจของ
เราได้เข้าถึงปัญญาและแสงสว่างเพ่ือผ่อนคลายและความตรึเครียดจากกิจกรรมทางสังคมท่ีเราได้ผ่านมา
รูปที่ 14 ครูร่วมทํากิจกรรมภาวนาแสงสว่าง
กิจกรรมที่ 2 Reflect ภาพยนตร์ Freedom Writer
กระบวนกรให้คุณครูร่วมกันสะท้อนข้อคิดท่ีได้จากการชมภาพยนตร์ Freedom Writer โดย เริ่มจากการวิเคราะห์ความเป็นตัวครูของครูจี และหันกลับมามองตัวเองในฐานะครูว่าจะทําอย่างไรหากต้อง เจอกับสถานการณ์เช่นเดียวกับครูจี ซึ่งภาพยนตร์เรื่องน้ีได้รับการตอบรับท่ีดีจากคุณครู หลายท่านสะท้อนว่า อยากให้เพื่อนครูคนอื่นได้ดูด้วย เพราะเร่ืองราวของครูจี ปลุกวิญญาณความเป็นครูของตนขึ้นมาอีกครั้ง
รูปที่ 15 ครูสะทอนข้อคิดที่ได้จากภาพยนตร์ Freedom Writer และตั้งปณิธานฉันจะเป็นครูที่…
กิจกรรมที่ 3 home
กระบวนกรให้คุณครูเดินปล่อยตัวสบายๆ ไปทั่วห้อง จากนั้นให้หยุดโดยจุดที่หยุดยืนอยู่น้ีจะ ถูกเรียกว่า”บ้าน” ครั้งต่อไปที่ออกเดินจะให้กล้ันหายใจและเดินไปทั่วๆ ห้องและจะหายใจได้เม่ือกลับมาถึง บ้านเท่านัน้ ครงั ท่ีสามใหออกเดินพร้อมกับกลนั หายใจแต่ครั้งนี้ให้ออกเดินไกลมากกว่าครงั ก่อนหนาจากนั้นจึง กลับมาท่ีบ้าน ครั้งที่ส่ีให้ออกไปจับมือเพ่ือน(จับแบบทักทาย)อย่างน้อยห้าคนแล้วจึงกลับบ้าน คร้ังที่ห้าให้ ออกไปจับมือทักทายเพื่อนส่ีถึงห้าคนและไปช้อปปิ้ง (จับตัวกระบวนกร) แล้วจึงกลับบ้าน ครั้งที่หกให้ออกไป หาเพื่อนสามคนไปช้อปป้ิงและไปทํางาน(จับกระบวนกร) คร้ังท่ีหกให้ไปหาเพ่ือนสามคนไปช้อปปิ้งไปทํางาน และไปหาความรัก กิจกรรมนี้เป็นการเปรียบเทียบว่าเราออกจากบ้านทุกวันออกไปหาสิ่งต่างๆ และเมื่อกลับ มาถึงบ้านซึ่งอาจหมายถึงตวเราเอง การกลบบานคือการอยู่กับตัวเองอย่างมีสติและสบายใจ
กิจกรรมสุดทายก่อนปิด
คุณครูจับคู่กับเพื่อนครูท่ีเราอยู่ด้วยแล้วรู้สึกสบายใจ น่ังหันหน้าเข้าหากัน จับมือกัน หลับตา และอยู่กับตัวเองสักพัก ค่อยๆ ลืมตาขึ้นเมื่อมีเสียงดนตรีบรรเลงดังขึ้น และให้คุณครูมองตากันและสื่อสารกัน ผ่านทางสายตาเท่านั้น เมื่อเสียงดนตรีหยุดลงใหกอดกนและพูดครูกันได้ จากนั้นเปล่ียนคู่ใหม่ให้จบครูกับเพ่ือน ครูที่เรารู้จักเขาดีท่ีสุดและทําเช่นเดียวกัน และจบกิจกรรมด้วยการอยู่กับตัวเองและทบทวนกิจกรรมในสอง วันที่ผ่านมาดวยกัน
ผลจากการจัดกิจกรรมจิตตปัญญาในคร้ังนี้ ครูได้สะท้อนว่าได้พัฒนาจิตวิญญาณความเป็น ครู อีกทั้งเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างเพื่อนครูต่างโรงเรียน นอกจากน้ียังทําให้ทีมพ่ีเลี้ยงมีความ เข้าใจครูมากขึ้น เห็นปัญหาที่ซับซ้อนในบางโรงเรียน
3.2.4 กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ “Systems thinking”
ศูนย์พ่ีเลี้ยงมหาวิทยาลัยมหิดล จัดประชุมครูในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา 12 โรงเรียน ระหว่างวันที่ 19-20 มกราคม 2556 ณ เรือนไม้ชายคลอง จ.สมุทรสงคราม มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น 45 คน (รายช่ือในภาคผนวก) ในจํานวนนี้เป็นผู้บริหารระดับผู้ช่วยผู้อํานวยการโรงเรียน 1 คน ระดับผู้อํานวยการ 4 คน
การประชุมใช้เวลา 11 ชั่วโมง 30 นาที (9.00 - 17.00 น. และ 8.30 - 14.00 น.) โดยใช้ กระบวนการเรียนรู้จากปฏิบัติ เริ่มจากการฝึกคิดเชิงเหตุผลจากง่ายไปยากและซับซ้อนขึ้น จากน้ันเป็นการ ประยุกต์ใช้ผังเหตุผลในการออกแบบงานวิจัยท่ีมีเหตุผลละเอียดขึ้น
การประชุมนีได้ใหครูสะท้อนการเรียนรแู ละความรู้สึกใน 6 หัวข้อ คือ
1. ความร ึกกอนมาอบรม่
2. ความรู้สึกระหว่างอบรม
3. ความรู้สึกหลังเสร็จสิ้นการอบรม
4. ขณะน้ีท่านมีความเข้าใจที่มีเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิดจากโครงงานฐาน วิจัย” ว่า…..และเป็นความเข้าใจที่ต่างจากเดิมอย่างไร
5. ความรู้สึกของการไดร้ ่วมโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา
6. ถ้าให้เขียนจดหมายถึงเพ่ือนครู/ผอ. ที่ไม่ได้มาอบรม ท่านจะเขียนบอกอะไร
ความรู้สึกการเข้าร่วม workshop บ่งบอกถึงส่ิงที่ครูได้ ซ่ึงสรุปในตารางในภาคผนวก
รูปที่ 16 บรรยากาศการอบรม System Thinking ให้ครู โดย อ.ดร.สุธีระ ประเสริฐสรรพ์
ข้อสรุป
1. จากการร่วมประชุมเชิงปฎิบัติการความคิดเชิงเหตุผลเมื่อวันที่ 19-20 มกราคม 2556 ของศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งคุณครูกลุ่มนี้จะผ่านกระบวนการจิตตปัญญาศึกษามาแล้ว ทําให้การ เปิดรับการเรียนรู้ใหม่ๆ มีมากกว่าเดิม จึงเห็นการแสดงความคิดเห็นที่ใช้กระบวนการกลุ่มมากขึ้น
2. จากสิ่งที่คุณครูสะท้อนออกมาก่อนท่ีจะอบรม พบว่าคุณครูส่วนมากค่อนข้างจะให้ ความสําคัญและมองว่าส่ิงท่ีจะเข้ามาเรียนรูจะเปนแนวทางที่จะจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาให้ดี ขน้ึ
3. ระหว่างการอบรม คุณครูมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ความคิดเชิงเหตุผล การเช่ือมโยงความสัมพันธ์กัน ในเร่ืองของความคิดเชิงเหตุผล และมองว่าเป็นเรื่องที่สําคัญที่จะเชื่อมโยงเข้าสู่ กระบวนการทําการวิจยั
4. ช่วงของการฝึกทําโจทย์เพื่อเข้าสู่กระบวนการทางวิจัยท่ีลึกซึ้ง คุณครูส่วนมากที่เข้าร่วม ค่อนข้างมีความเข้าใจเพ่ิมมากขึ้น และมองว่าการวิจัยไม่ใช่เรื่องยาก แต่ต้องมีความเข้าใจในความเป็นเหตุเป็น ผลกัน ซึ่งส่วนนี้ทางพี่เลี้ยงแต่ละศูนย์จะเข้าไปไปให้การช่วยเหลือ และเติมสําหรับการเริ่มต้นแนวทางการคิด โจทย์เชิงอุปนัย นิรนัย เข้าสู่กระบวนการเขียน Proposal และวิเคราะห์ สังเคราะห์ขอมูล
5. หลังจากที่คุณครูผ่านกระบวนการฝึกทักษะความคิดเชิงเหตุผล คุณครูเห็นความสําคัญ และเข้าใจกับกระบวนการดังกล่าว และจะนําไปสิ่งท่ีได้รับไปพัฒนาตนเอง พัฒนากระบวนการเรียนรู้ของ นักเรียน และการนําไปขยายความรู้และประสบการณ์กับผู้สอนที่อยู่ที่โรงเรียนให้กล้าทําโครงงานฐานวิจัย ทํา ใหครูหลายท่านหายกลัวการทํางานวิจัย
6. ส่ิงท่ีจะทําต่อไปหลังจากนี้ คือ ทางศูนย์พ่ีเลี้ยงควรจะเป็นโค้ชเพื่อให้คําปรึกษาเรื่องของ การวางแผนการจัดตารางการเรียนการสอน เพ่ือให้เหมาะสมกับการบูรณาการกลุ่มสาระวิชา และหน่วยฯจะ เข้าจัดประชุมเชิงปฏิบัติเรื่องการเป็น coach ครูและการออกแบบการเรียนรู้ RBL ให้กับพ่ีเลี้ยงเดือนมีนาคม
เพื่อให้พี่เล งนําไปฝึกทกษะให้กับคุณครูชวงของการเขี่ ยนข้อเสนอต่อไป
3.2.5 กิจกรรมฝึกทักษะการออกแบบการสอน การวิจัยแบบ RBL
เพ่ือให้ครูมองเห็นภาพการจัดกิจกรรมโครงงานฐานวิจัยกับนักเรียน ทีมพี่เล้ียงได้จัดกิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อฝึกทักษะการออกแบบการสอนการวิจัยแบบ RBL ให้ครู เม่ือวันท่ี 23 กุมภาพันธ์
2556 โดยได
ับความอนุเคราะห์ด้านสถานทีจากโรงเรียนดรุณานุกูล จ.สมุทรสงคราม
กิจกรรมเริ่มด้วยทีมพี่เลียงจําลองเหตุการณ์ที่ครู (พี่เลี้ยง) พานักเรียน (บรรดาครูทั้งหมด) ไป
พบปราชญ์ชาวบ้าน (หนึ่งในทีมพ่ีเลี้ยง) ที่มีความรู้เรื่องปลากัดเป็นอย่างดี ปราชญ์ชาวบ้านได้เล่าเรื่องราวของ ปลากัดไทย ประวตั ิความเป็นมา สายพันธ์ ถ่ินท่ีอยู่ อวัยวะพิเศษท่ีใช้ในการหายใจ พฤติกรรมและลักษณะของ ปลากัด ซึ่งโยงไปถึงสํานวนไทยที่เก่ียวข้องกับปลากัด หลังจากนน้ัน ครู (พี่เลี้ยง) ให้นักเรียน (ครูโครงการ เพาะพันธ์ุ) สรุปสิ่งที่ได้ฟังและตั้งคําถามที่สงสัยหรืออยากรู้เพิ่ม จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มคัดเลือกคําถามที่ สนใจมาเพียง 1 คําถาม เพ่ือนําไปออกแบบโครงงานฐานวิจัยโดยใช้กระบวนการ backward design คือ ให้ กําหนดสิ่งท่ีอยากรูข้ ึ้นมาก่อน ตามด้วยการคาดเดาผลที่จะได้ จากนันคิดย้อนกลับมาว่าเพ่ือจะให้ได้ผลดังกล่าว ต้องการข้อมูลอะไรบ้าง และจะออกแบบการเก็บข้อมูลอย่างไร
หลังจากนั้น แต่ละกลุ่มนําเสนอผลงาน เปิดโอกาสให้มีการซักถามจากเพื่อนกลุ่มอื่น และมี การวิพากษ์โดยทีมพี่เล้ียง ซ่ึงแต่ละกลุ่มคิดโจทย์ย่อยที่แตกต่างกันท่ีครอบคลุม 3 สาระ คือ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย และเศรษฐศาสตร์ (ดงในภาคผนวก)
ผลจากกิจกรรมนี้ทําให้ครูมองเห็นภาพการจัดกิจกรรมในชั้นเรียนด้วยโครงงานบนฐานวิจัย
และรู กวาโครงงานบนฐานวจิ่ ัยนีจะช่วยลดภาระงานของครูและนักเรียนไดค้ ่อนข้างมาก เน่ืองจากเดมในิ 1
ภาคเรียน นักเรียนต้องทําโครงงานในเกือบทุกวิชา ซึ่งค่อนข้างหนักสําหรับนักเรียน แต่ถ้าทําโครงงานบนฐาน วิจัยนักเรียนจะได้ทําโครงงานตามที่ตนเองสนใจ ได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ใกล้ตัว น่าจะทําให้ นักเรียนมีความสุขในการเรียนมากข้ึน แต่ปัญหาคือครูต้องกระตุ้นต่อมความอยากรู้ ความสงสัยของ นักเรียน ให้นักเรียนอยากหาคาตอบและสนุกกบการทําโครงงานฐานวิจัยให้ได้
รูปที่ 17 บรรยากาศการอบรมเชิงปฏิบตั ิการฝึกทักษะการออกแบบการสอน การวิจัยแบบ RBL
ในตอนท้ายของกิจกรรม ทีมพี่เลี้ยงได้ฝากให้ครูกลับไปคิดออกแบบแผนการเรียนรู้แบบ โครงงานบนฐานวิจัย จะมีรูปแบบการจัดกิจกรรมอย่างไร จะพัฒนาทักษะอะไร จะวัดและประเมินผู้เรียน อย่างไร
3.2.6 กิจกรรมฝึกทักษะการเขียน proposal RBL
ศูนย์พี่เลี้ยงมหาวิทยามหิดล ได้จัดกิจกรรมฝึกทักษะการเขียน proposal RBL ให้ครู เมื่อ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2556 ณ โรงเรียนดรุณานุกูล จ.สมุทรสงคราม โดยพี่เลี้ยงได้ถอดความรู้จากหนังสือ หลักการเขียนข้อเสนอโครงงานบนฐานวิจัย ของอาจารย์สุธีระ ประเสริฐสรรพ์ มาประยุกต์ในการจัดกิจกรรม ให้กับครู
เร่ิมจากพี่เลี้ยงได้อธิบายให้ครูฟังว่าองค์ประกอบของ proposal มีอะไรบ้าง และเน้นมาที่ ประเด็นหลักของโครงงาน RBL ที่โรงเรียนจะเลือกทํา ซึ่งโรงเรียนจะต้องแสดงพื้นฐานความรู้เดิมที่โรงเรียน หรือชุมชนมีอยู่ และชี้ให้เห็นมูลเหตุจูงใจที่ทําให้สนใจประเด็นดังกล่าว ซึ่งทีมพี่เลี้ยงได้แนะว่าอาจเลือก ประเด็นหลักจากทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน อาชีพ หรือกิจกรรมของชุมชน (ซึ่งเคยแนะไปก่อนหน้านี้แล้ว แต่ครูยังไม่เข้าใจมากนัก) จากนั้นจึงให้ครูลองช่วยกันเสนอประเด็นหลักและพี่เลี้ยงก็ซักถามว่าทําไมจึงเลือก ประเด็นนี้ ทําให้ครูรูด้ ้วยตนเองว่าตนจะต้องไปหาขอมลอะไรเพิ่มอีกบางเพื่ออุดช่องโหว่ใหได้
หลังจากนั้นพ่ีเลี้ยงได้ใครครูลองฝึกแตกประเด็นย่อยจากประเด็นหลักที่เลือกเพื่อหาหัวข้อ โครงงานท่ีจะทํา โดยพ่ีเลี้ยงจะซักถามว่าจะทําหัวข้อน้ีไปเพ่ืออะไร มีที่มาที่ไปและเกี่ยวข้องกับโรงเรียนอย่างไร รวมทั้งแสดงให้ผู้อ่านเห็นว่าโรงเรียนมีทุนเดิมอะไรอยู่บ้าง และได้ยกตัวอย่างการได้มาซึ่งหัวข้อโครงงานของ นักเรียน ซึ่งทําใหครูเกิดความเข้าใจและเห็นภาพว่าจะจดการกับห้องเรียนอย่างไร
รูปที่ 18 ตัวอย่างเก่ียวกบมูลเหตุจูงใจในการทําโครงงานเรื่องอาชีพทอผา้
(จากหนังสือหลักการเขียนขอเสนอโครงงานฐานวิจัย ของ อาจารย์สุธีระ ประเสริฐสรรพ์)
จากนั้นจึงเข้าสู่การต้ังชื่อโครงงาน โดยพ่ีเลี้ยงได้ยกตัวอย่างสถานการณ์ “เราอยากรู้ว่าจะ เลี้ยงตัวไหมอย่างไรจึงจะได้ผลผลิตดีที่สุด” แล้วให้ครูช่วยกันคิดหัวข้อโครงงาน ซึ่งทําให้ครูเข้าใจว่าจาก ประเด็นที่สนใจประเด็นเดียว สามารถแตกเป็นหัวข้อโครงงานได้หลายเร่ือง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นโครงงานประเภท วิทยาศาสตร์หรือนิรนัย ต่อจากนั้นพ่ีเลี้ยงจึงอธิบายแนวการเขียนข้อเสนอโครงงานทั้งแบบนิรนัยและอุปนัย รวมทงั แนะนําการสืบคนข้อมูลให้กับครู
จากกิจกรรมในครั้งนี้ ครูได้สะท้อนให้พี่เล้ียงทราบว่าครูไม่เข้าใจว่าโครงงานประเภทอุปนัย หรือโครงงานเชิงคุณภาพนั้นทําได้อย่างไร แม้ว่าจะมีการอธิบายหรือยกตัวอย่างให้เห็น ดังนั้น ประเด็นนี้จึงเป็น โจทย์หนึ่งสําหรับพี่เลี้ยงนําไปคิดจัดกิจกรรมให้ครูเข้าใจในครั้งต่อไป
3.2.7 กิจกรรมพฒนาทกษะการทําวิจัย และ Share and Learn for Success
กิจกรรมครั้งน้ีจัดขึ้นระหว่างวันที่ 22-23 เมษายน 2556 ณ เรือนไม้ชายคลอง จ.สมุทรสงคราม เป็นการ wrap up สิ่งที่ครูได้เรียนรู้และฝึกฝนมาตลอดระยะเวลา 6 เดือน และเน้นพัฒนา ทักษะการทําวิจยเพิ่มเติมให้กบครู
กิจกรรมในวันแรก เร่ิมด้วยการตอบโจทย์ที่ครูยังคงค้างคาใจ นั้นคือการทําโครงงานนิรนัย
โดยพี่เลี้ยงได้เปิดคลิปวิดิโอ ข่าว 3 มิติ ยุววิจัยประวัติศาสตร์ของนักเรียนช้ันมัธยมโรงเรียนรัตนราษฎร์บํารุง ที่ ดาวน์โหลดมาจาก YouTube ให้ครูดู ซึ่งก็ทําให้ครูเข้าใจการทําโครงงานฐานวิจัยแบบนิรนัย
จากนั้นพี่เลี้ยงได้จัดกิจรรมพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งนอกจากจะให้ครู เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติด้วยตนเองแล้ว ยังให้ครูได้เห็นแนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อฝึกทักษะเหล่านี้ให้แก่ นักเรียนอีกด้วย
กิจกรรมเร่ิมด้วยการแลกเปล่ียนเรียนรู้ลักษณะอันพึงประสงค์ของนักวิทยาศาสตร์ ซึ่งครูตอบ ว่าต้องเป็นผู้ที่ช่างสังเกต ช่างคิด ช่างสงสัย มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และทํางานเป็นระบบ ในที่นี้ พี่เลี้ยงได้
ร่วมอภิปรายเพิ่มเติมว่า ความซื่อสัตย์และความคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์ ก็เป็นคุณลักษณะที่สําคัญเช่นกัน เพราะ ต้องไม่นําผลงานที่ผู้อ่ืนกระทํามาก่อนเป็นผลงานของตนเอง การรายงานผลการทดลองของตนเองก็ต้องทําด้วย ความซื่อสัตย์ ตามความจริง ต้องไม่บิดเบือนข้อมูลเพื่อให้ได้ผลสรุปตามท่ีตนคาดหมายไว้ และในสังคม นักวิทยาศาสตร์หรือนักวิจัย การวิพากษ์วิจารณ์เชิงสร้างสรรค์จะช่วยใหเกิดการพัฒนาอย่างมหาศาล
จากนั้นพี่เลี้ยงได้อธิบายเกี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ซึ่งก็คือการทํางานของ นักวิทยาศาสตร์นั่นเองซึ่งมักเริ่มด้วย การสังเกตุและเกิดคําถาม ทบทวนวรรณกรรม จากนั้นตั้งสมมุติฐานเพื่อ ออกแบบการสํารวจตรวจสอบ พร้อมทั้งระบุและควบคุมตัวแปรทดสอบสมมุติฐาน ทําการทดลองหรือหา ข้อมูลจากแหล่งความรู้เก็บรวบรวมและบันทึกข้อมูล แปลผลข้อมูล หาข้อสรุป (ค้นพบสิ่งใหม่) รวมถึง ดําเนินการต่อไปเพื่อให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติมหรือพัฒนาให้ดีข้ึน ในการนี้ พี่เลี้ยงและครูได้สรุปร่วมกันว่าการทํา โครงงานฐานวิจัยเป็นการทํางานในลักษณะที่เดียวกับที่นักวิทยาศาสตร์ทํานั่นเอง ดังนั้นทักษะต่างๆ จึงจําเป็น ต่อการทํางานวิจัย และเพื่อฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้แก่ครู พี่เลี้ยงได้จัดกิจกรรมในรูปแบบ ฐานต่างๆ ท้งหมด 15 ฐาน ดังสรุปในตารางที่ 3
ตารางท่ี 3 ฐานกิจกรรมฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ฐานลําดับที่ | ช่ือฐาน | วัตถุประสงค์ |
1 | ทบทวนสักนิด | เพื่อใหครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับการออกแบบการทดลอง สมมติฐาน ตัวแปร อันตรายที่พึงระวังและข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขน้ึ ได้ในการทําการทดลอง |
2 | จับตาดู | เพ่ือให้ครูได้ฝึกทกษะการสังเกตโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 |
3 | เหมือนหรือต่าง | เพื่อใหครูฝึกจําแนกความเหมือนและความต่างของสิ่งของ |
4 | กลุ่มไหนดีนะ | เพื่อให้ครูฝึกการจัดจําแนกโดยใช้เกณฑ์ต่างๆ |
5 | ลองทายดู | เพื่อให้ครูฝึกการทํานายอย่างมีหลักการและเหตุผล |
6 | เลือกใชให้ถูก | เพื่อให้ครูฝึกทกษะการเลือกใช้เครื่องมือในการช่งั ตวง วัด ได้อย่าง เหมาะสม |
7 | หมายความว่าอย่างไร | เพื่อให้ครูฝึกทกษะการวิเคราะห์และแปลความหมายของข้อมูล รวมทงั จัดกระทําข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ส่ือสารให้เขาใจไดโดยง่าย |
8-14 | สถานการณ์ | เพื่อใหครูฝึกทกษะการตังสมมติฐาน ระบุตัวแปรต่างๆ และ ออกแบบการทดลอง |
15 | เสยี วเวลาตอบสนอง | เพื่อให้ครูฝึกทกษะการบนทึกผลการทดลอง |
รูปที่ 19 บรรยากาศการฝึกทกษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ใหครู
โครงการเพาะพันธุ์ปัญญาของศูนย์พ่ีเล งมหาวิทยาลัยมหดลิ
หลังจากที่ครูทํากิจกรรมฐานทั้ง 15 ฐานเสร็จส้ิน พี่เล้ียงได้นําอภิปรายเกี่ยวกับทักษะ เหล่านั้น เน้นย้ําและชี้ให้เห็นข้อพึงระวัง อาทิ ในการสังเกตต้องอย่าใส่ความรู้สึกหรือความคิดเห็นของผู้สังเกต ลงไปด้วย เช่น มะขามนี้เปรี้ยวมากกว่าหวานและเค็ม (เน่ืองจากแต่ละคนรับรสได้ต่างกัน) รวมถึงเราสามารถ ใช้เครื่องมือช่วยในการสังเกตได้ (เช่น แว่นขยายช่วยให้เห็นวัตถุที่มีขนาดเล็กชัดขึ้น) และยังชี้ให้ครูเห็นว่า ใน การทําการทดลองควรมีการทําซ้ํามากกว่า 2 ครั้งเพ่ือให้ไดข้ ้อมูลท่ีน่าเชื่อถือ และได้อภิปรายบางสถานการณ์ท่ี
อาจมีตัวแปรหลายตัว จะตองทําการทดลองอย่างไรเพื่อจะสรุปผลได้ว่าผลท่ีเกิดขึ้นนั้นมีเหตุมาจากตัวแปรหรือ ปัจจัยใด รวมทั้งการใหความสําคัญกับตวแปรควบคุม เพื่อใหสามารถสรุปผลได้ถูกต้อง
ผลจากการจัดกิจกรรมในครั้งน้ี ครูได้สะท้อนว่าชอบกิจกรรมในรูปแบบนี้เพราะเป็น
กจกรรมที่ได้ทําร่วมกบเพื่อน ซึ่งทุกคนต้องช่วยกันคิด ช่วยกันทํา เพราะมีเวลากําหนดในแต่ละฐาน ทําให้
ร กต่ืนเต้นเร้าใจ อีกทง้ ยังสามารถนํากิจกรรมไปปรับไปใช้กบนกเรียนได้จรงิ
ในภาคบ่ายของวันแรก พี่เลี้ยงให้ครูแต่ละโรงเรียนร่วมกันวางแผนว่าจะจัดห้องเรียน
เพาะพันธุ์ปัญญาอย่างไร ในแต่ละครั้ง (ตลอดภาคการศึกษา) จะมีกิจกรรมอะไร เพื่ออะไร แล้วให้แต่ละกลุ่ม
นําเสนอเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรูร้ ่วมกัน โดยพี่เลี้ยงได ่วมวพากษิ ์และชี้ใหเห็นวาน่ ่าจะต้องเพิ่มหรือปรับอย่างไร
รูปที่ 20 บรรยากาศการหารือร่วมกันเกี่ยวกบการจดการห้องเรียนเพาะพันธุ์ปัญญา
กิจกรรมในวันที่สอง พี่เลี้ยงพาเหล่าคุณครูย้ายมาทํากิจกรรมในห้องเล็ก เนื่องจากข้อติดขัด บางประการ ซ่ึงในตอนแรกก็สร้างความกังวลใจให้พี่เล้ียงเป็นอย่างมาก เพราะกิจกรรมในคร้ังนี้ ครูจะต้องฝึก ออกแบบงานวิจัยด้วย แต่ด้วยห้องที่มีขนาดเล็ก หากจะจัดโต๊ะ คงจะแน่นและทําให้อึดอัด พี่เลี้ยงจึงตัดสินใจ จัดห้องแบบกิจกรรมจิตตปัญญา คือ ไม่มีโต๊ะ ซึ่งระหว่างการดําเนินกิจกรรม ทําให้พี่เลี้ยงได้เห็นว่าว่าเป็นจุดดี เพราะทําให้บรรยากาศการทํางานตรงนี้ผ่อนคลายขึ้น (ทั้งที่เป็นเรื่องน่าเครียด) ได้เห็นบรรยากาศการทํางาน ร่วมกันของเหล่าคุณครูที่น่ารักมาก กิจกรรมในครั้งนี้ พ่ีเลี้ยงนําตัวอย่าง proposal ที่ได้รับจากท่าน อาจารย์ สุธีระ ประเสริฐสรรพ์ มาให้ครูร่วมกันวิเคราะห์หาประเด็นท่ีขาด ประเด็นที่เกิน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
ว่าจะปรับปรุงอย่างไรให้ดีขึ้น ซึ่งครูท่านหนึ่งได้สะท้อนว่าบรรยากาศรวมทั้งความเป็นกันเองของพี่เลี้ยง ทําให้ ครูกลาที่จะแสดงความคิดเห็น ไม่กลัวว่าคําตอบนั้นจะถูกหรือจะผิด เพราะทราบดีว่าส่ิงท่ีทุกคนร่วมกันให้ ข้อคิดเห็นอย่างกัลญาณมิตรจะช่วยพัฒนาและเปิดมุมมองให้กับคุณครูเอง จึงเรียกได้ว่าเพราะพวกเราได้ ร่วมกันสร้าง zone ปลอดภัยให้เกิดขึ้นแล้ว และจากที่ครูได้ร่วมกันวิพากษ์ proposal กันอย่างสนุกสนาน
ทุกคนก็ได
อสรุปตอนทายว่า “เรียนรข้ องชาวบ้าน ของตวเองกอยาทาเช่นนี้” ซ่ึงเรียกเสียงหัวเราะฮากันล่ัน หลังจากนั้น พี่เลี้ยงได้เปิดคลิปวิโอ “บทเรียนนอกกะลา ตอนเสื่อกก” ท่ีดาวน์โหลดจาก
YouTube ให้ครูดู และให้ครูร่วมกันคิดตั้งโจทย์วิจัย ตั้งวัตถุประสงค์ รวมท้ังออกแบบการวิจัย จากนั้นนํามา แลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน ซึ่งพ่ีเล้ียงได้เปิดโอกาสให้ทุกคนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และได้ชี้ให้เห็นว่า บางอย่างครูคนเดียวก็อาจไม่ได้มีความรู้ที่มากพอจะแนะเด็กได้ แต่การจัดการห้องเรียนที่มีครูหลากหลาย
ศาสตร์จะช่วยได้อย่างมาก ซึ่งครูก็ได้มีประสบการณ์จริงจากการแลกเปล่ียนเรียนร ่วมกันในห้องน
ในตอนท้ายพี่เลี้ยงได้หารือร่วมกับครูในการจัดการห้องเรียนเพาะพันธุ์ปัญญาของแต่ละ โรงเรียน ทําให้ทราบและเห็นปัญหาในบางจุด ซ่ึงพี่เลี้ยงตองลงไปช่วยจัดการในบางโรงเรียนต่อไป
รูปที่ 21 บรรยากาศการร่วมกันวิพากษ์ proposal และฝึกออกแบบงานวิจยั
3.3 สรุปงานเชิงปริมาณ
1. การเดินทางไปพบหน่วยจัดการกลางเพ่ือประชุมหารือและวางแผนงาน 6 ครั้ง
2. การเดินทางไปพบครูแกนนําตามโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายเพื่อแนะนําโครงการ 14 ครั้ง
3. การประชาสัมพนธ์โครงการในรูปแบบอื่น 3 ครง้ั (ประชาสัมพันธ์ผ่าน สพป.สมุทรสงคราม สพป.สมุทรสาคร และ สพม.10)
4. การประชุมร่วมติดตามความกาวหน้าของโครงการ 3 ครั้ง
5. การให้คําปรึกษากับครูแกนนา 32 ครัง้ ส่วนมากเป็นเร่ืองของ แผนงานของโครงการ แนว ทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หวข้อวิจัย การออกแบบงานวิจัย
6. เป็นตัวแทน สกว. ในการร่วมประชุมอื่นๆ - ครง้ั
7. เขียน Research Exploitation - เรื่อง
8. Review ความเห็นผู้ทรงคุณวุฒิ - โครงการ - คน
9. ร่วมประชุมกับฝ่ายชุมชนและสังคม 2 ครั้ง
10. มีการปฏิบัติเพื่อใหเกิดการ Implement ผลงานวิจัย - ครั้ง
11. มีการเจรจาเกี่ยวกับทรพย์สินทางปัญญา - ครั้ง
12. มีโครงการท่ีได้สิทธิบัตร - โครงการ
3.4 ขอเสนอแนะ ปัญหา อุปสรรค
กรอบเวลาในเตรียมความพร้อมใหครูค่อนขางสั้น และกระช ห้องเรียนเพาะพนธุ์ปัญญาของโรงเรียน ยังไม่เป็นรูปธรรมมากนัก
ทําให้การวางแผนการจัดการ
(ลงนาม)...................................................................
(อาจารย์ ดร.ปิยะฉัตร จิตต์ธรรม) วันที่ 11 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2556
25
ภาคผนวก ก ความรู้และความรู้สึกท่ีครูได้จากกิจกรรม System Thinking
26
ภาคผนวก ข รายชื่อผู้บริหารและครูท่ีเข้าร่วมกิจกรรม System Thinking
ภาคผนวก ค
27
ผลงานโปสเตอร์ “การออกแบบงานวิจัยเกี่ยวกบปลากัด” ของครูที่เข้าร่วมโครงการ
28
ภาคผนวก ง ข้อมูลแนวทางการจัดการห้องเรียนเพาะพันธุ์ปัญญาของโรงเรียน
ภาคผนวก ก ความรู้และความร ึกทครไดจู่ี ากกิจกรรม “System Thinking”
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ท่ีเกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจที่ต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรสู้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพนธุ์ปัญญา | ถ้าให้เขียนจดหมายถึง เพื่อนคร/ผอ.ู ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขยนบอกี อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลังเสร็จสน้ิ | ||||
โรงเรียนเทพ สุวรรณชาญ วิทยา 1.คุณธิติมา ป่า พรหมมาศร์ | -เหน่ือย อยาก พกผอน | -เรียนรูกระบวนการ คิดเชิงเหตุผล การตง้ั ประเด็น การคิด ประเด็น | -รวู้ ิธีการแนะเด็ก นกเรียนในการทําวิจัย การกําหนดตวแปรตน้ ตวแปรตาม | -เขาใจว่ากระบวนการเรียนรู้ เกิดจากโครงงานฐานวิจัย เป็นการคิดเชิงเหตุผลท่ีมี ความละเอียด ลึกซึง้ มีเหตุ มีผล ต่างจากเดิมท่ีเป็นการ แกป้ ัญหาจาก PBL ท่ีจะมุ่ง แกป้ ัญหา (What) เท่าน้ัน | -รู้สึกโชคดีที่ได้เขาร่วม เพราะไดร้ ับการอบรม ปรบปรุงตนเอง ทศนคติ การมองชินงานท่เป็น รูปธรรมมากขึน้ ชดเจนขึ้น ดีใจที่ได้มีโอกาสพฒนา ตนเอง ก่อนไปพัฒนาเด็กๆ | -น่าจะเข้ามาอบรมดวย โรงเรียนจะได้พัฒนาไป ทิศทางเดียวกนั ผลประโยชน์ก็อยู่ท่ีตวเด็ก นกเรียน อยากให้เพื่อนครู ใหความสําคญกบการทํา RBL เพราะเป็นกระตุนให้ เด็กไดเห็นถ้าไม่อบรมก็ ต้องช่วยทําวิจัยดวย |
2.เถลิงรฐั มุกดา เวช | -จะเป็นอย่างไร วิทยากรจะมี รูปแบบอย่างไรท่ี | -วิทยากรมีความรู้ ความสามารถ ถ่ายทอดไดด้ ี | -มีแรงบนดาลใจ และ กําลังใจมีเพื่อนไว้ แลกเปล่ียนเรียนรู้และ | -การเรียน คือการศึกษาที่ เน้นการปฏิบัติเพื่อใหเกิด ความรู้ ความเขาใจ ในเร่ือง | -ไดร้ บโอกาสท่ีดีในการ พฒนาตนเอง พฒนา นักเรียน และพฒนาท้องถ่ิน | -อยากชวนมาร่วมอบรม และทําโครงการนไี ป ด้วยกันเพราะเกิด |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเก่ียวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเขาใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพันธป์ุ ัญญา | ถ้าใหเขียนจดหมายถึง เพื่อนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลังเสร็จสน้ิ | ||||
จะสอนเร่ืองที เข้าใจอยากให้ สามารถเข้าใจได้ | สามารถสรางความ เขาใจและแรง บนดาลใจในการทํา โครงงานร่วมกับ นกเรียน | เขาใจกระบวนการทํา วิจยมากขึน้ | นนั ๆ และเป็นความเข้าใจที่ คงทนมากกว่าการสอน | ตลอดจนเข้าใจกระบวนการ ทาโครงงานฐานวจิ ัย | ประโยชน์กับตัวครูและ เด็กนักเรียนฝึกให้นักเรียน คิดเป็นรู้จักวางแผนและลง ปฏิบัติ | |
บานแพววิทยา (ต่ีตง) 1.คุณกัญญารตน์ พงษ์บ้านแพ้ว | -ในการเรียนรูการ อบรมโครงงาน ฐานวิจยั เพื่อเติม ความรู้ที่มีอยู่เดิม และพฒนาตนเอง | -ในการอบรมแต่ละ กิจกรรมตง้ แต่ RBL จิตตปัญญา การคิด เชิงเหตุผล เกิดการ เรียนรู้ใหม่ท่ีไม่เคย เรียนรู้อย่างลึกซึ้ง การมีสติ และใช้ ปัญญาวิเคราะห์ ปัญหาต่างๆอย่างมี เหตุผล | -จากการอบรมสามารถ ฝึกความรู้และ ประสบการณ์ท่ีไดร้ บจาก การอบรมในแต่ละครัง้ นําไปพัฒนาตนเอง พัฒนากระบวนการ เรียนรขู องนกเรียน และ การนําไปขยายความรู้ และประสบการณ์กับ ผู้สอนที่อยู่ที่โรงเรียนให้ กลาทําโครงงานฐานวิจยั | -ต่างจากงานวิจยเดิมที่ไดท้ ํา และเรียนรูมา ซึ่งงานวิจยั เดิมเป็นการศึกษาให้เกิด ความรใู หม่ หรืองานวิจยั ใหม่แต่งานโครงงานฐาน วิจัยเป็นการศึกษาเพ่ือให้ เกิดการพฒนาทางสถิติและ ปัญญาเกิดประสบการณ์ ใหม่จากการรวบรวมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ | -รู้สึกดี เพื่อใหการศึกษาของ นักเรียนพัฒนาทังความรู้ พัฒนาทงั ปัญญาเช่ือมโยง เหตผล และพฒนาท้องถ่ิน ลงสูความก้าวหน้าของ ประเทศ | -การทําโครงงานฐานวิจยั เป็นงานที่ทาทายเป็นการ พัฒนาผู้เรียนสามารถนํา ความรู้ไปใช้ในอนาคต สามารถนําไปพฒนา ประเทศพรอมเขาสู่การ เรียนรูศตวรรษท่ี 21 |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ท่ีเกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรสู้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพันธ์ุปัญญา | ถ้าให้เขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลังเสร็จสน้ิ | ||||
เพื่อทําให้เกิดการพัฒนา คุณภาพการศึกษาให้ดี ขึ้น โดยการสอนให้น้อย เรียนรู้ให้มากขน้ึ | ||||||
บ้านแพ้ววิทยา (ตี่ตง)(ต่อ) 2.คุณเพ็ญ ประภา ศรี สุวรรณ | -พอใจ เ ต็มใจท่ี ได้มาอบรม เป็น ความต้องการที่ จะพัฒนาตนเอง ให้เข้าใจ RBL ให้ ชดเจน | -เริ่มได้คําตอบจาก ความเข้าใจที่ยังไม่ ชัดเจน ว่ามีความ ชัดเจนมากขึ้น ให้ ความสําคัญกับการ ทํางานเป็นทีมมาก ขน้ึ | -ดีใจที่เข้าอบรม ตอบ โจทย์ ท่ี แ ก้ ไม่ ไ ด้ ใ ห้ มี คําตอบไม่รู้ว่าจะถูกต้อง หรือไม่ ก็ไม่กลัวเพราะมี ผู้ช่วยเหลือ และดีใจทีได้ องค์ความรู้แนวคิดไป แ ก้ ไข อุ ปสรรคท่ีเ กิ ด เ พื่ อใ ห้ เ รื อ เ ป็ น ประภาคาร และเด็กๆมี ความสุขเหมือนแพะ | -เข้าใจแล้วว่าโครงงานฐาน วิจัย คือการทําโครงงานจาก รูปแบบเดิมปรับเพ่ิมการ วิจั ยที่ลงการปฏิบั ติด้วย ตนเองเ รี ยน รู้ จาก ประสบการณ์ไม่ใช่การสอน จากครู แ ต่ ครู จะเ ป็ นผู้ กระตุ้นให้พบคําตอบ | -เยี่ยมมาก ขอบคุณท่ีเลือก บ้านแพ้ววิทยา(ต่ีตง) ของ เราเพราะต่อไปเด็กของเรา จะได้เรียนรู้อย่างสนุกอย่าง แพะไ ด้ ทั้ งอง ค์ คว าม รู้ ทกษะใน C21st | -คุณครูมีโอกาสแน่นอน เพราะเราจะนําไปขยายผล ให้ครอบคลุมท้ังโรงเรียน โดยไม่เพิ่มงาน เพราะจะ ลบเส้นประเป็นเส้นทึบ (มี พฤติกรรม+) |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพนธุ์ปัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | ||||
บ้านแพ้ววิทยา (ต่ีตง) (ต่อ) 3.คุณนุชจรี พฒน เรืองกูล | -งง มึนๆ ไม่อยาก อบรม เสาร์- อาทิตย์ | -เพลิน ได้ความรู้เพ่ิม ไ ด้ เ พ่ื อนเ พิ่ ม ไ ด้ แลกเปล่ียนความคิด ความรู้ | -เข้าใจโครงงานบนฐาน วิจัย ดีข้ึนแต่ยังไม่ถึงกับ เข้าใจถ่องแท้ คงต้อง กลับไปป ฏิ บั ติ ดู ก่อน แล้วติดตรงไหน คงต้อง ขอความช่วยเหลือ และ คําแนะนําจากคณะพี่ เลี้ยง | -ต่ าง กั นที่กระบวนการ เรียนรู้ที่เกิดจากโครงงาน ฐาน วิ จั ย จะเ น้ น ท่ี ประสบการณ์ของผู้เรียน จัด กิจกรรมนอกห้องเรียน ตาม ความสนใจของผู้เรียน แต่ เ ดิ มเ ป็ นการเ รี ยน รู้ ใน หองเรียนเป็นส่วนใหญ่ | -ดี ใจเหมือนไ ด้ เ ติ มเ ต็ ม ความรู้ และปรับเปลี่ยน ความ คิ ดของตนเองให้ เหมาะสมขึน้ | -วิจัยไม่ใช่เรื่อง ยุ่งยาก น่า เบื่ออีกต่อไปแล้ว ลองมา ศึ กษาแ ละมาป ฏิ บั ติ โครงงานบนฐานวิจัย แล้ว จะรู้ว่าภาระงานของครูจะ ลดลง |
โรงเรียนอมพวัน วิทยาลัย 1.คุณทิวาทิพย์ เอ่ียมสะอาด | -คิ ด ว่ าไ ด้ รั บ ความรู้ใหม่ เพื่อน ใหม่ ชาร์ตแบ็ตให้ ตัวเองหลังจากท่ี | -มีหลายบรรยากาศ สุ ข ส นุ ก ท่ี ไ ด้ รั บ ความรู้ ใหม่ และ กิจกรรมที่ฟังดูแล้ว | -ยังกลั วว่ าจะกลับไป ทํางานตามโครงการท่ี เข้ามารับการอบรมไม่ สําเร็จ เพราะหัวข้อการ | -สิ่งที่แตกต่างจากเดิมคือมี ความละเ อี ยด ลึ ก ซ้ึ ง ทําไมๆๆ เยอะมากและ วิเคราะห์ทิศทางของลูกศร | -มีความรู้สึกท่ีดีต่อโครงการ และการเข้าร่วม กิจกรรม ต่างๆดีมาก แต่เวลาการทํา ความเขาใจน้อย | -การเข้ าร่ วม กิ จกรรม โครงการ นี้ ดีมาก ฝ่าย บริหารควรตระหนักและ เห็นความสําคัญ /เพื่อครู |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเก่ียวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเขาใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพันธป์ุ ัญญา | ถ้าใหเขียนจดหมายถึง เพื่อนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลังเสร็จสน้ิ | ||||
ห่างมานานจาก การ ที่ ย้ าย ท่ี ทํางานใหม่ และ สอนยู่ในระดับชั้น เ ป้ าหม ายของ โครงการคือช้ัน ม .2 จึ ง เ ป็ น ตัวแทนกลุ่มสาระ | เข้าใจ และยังงงบ้าง บางส่วนท่ีตามไม่ทัน ช่วงเย็นเหนื่อยหัว มาก ในเรื่องการคิด เชิงเหตุผล และสาย ธารแห่งห่วงโซ่ และ เ ข้ าสู่ หลักการทํ า โครงงานฐานวิจัย | อบรมและโครงการน้ีนับ ได้ ว่าเป็นความ รู้ให ม่ ต้ังแต่การทํางานอาชีพ การเป็นครูมาซ่ึงเหลือ งานอีก 5 ปีก็จะเกษียณ แล้วพึ่งได้รับการอบรม เรื่องนี้ แต่ก็จะพยายาม นําเทคนิคกระบวนการ จัดอบรมไปพัฒนาการ เรียนการสอนในหน้าที่ท่ี รับผิดชอบให้มากท่ีสุด | สายโซ่สายธาร ความคิดเชิง เหตุผล การวิเคราะห์การให้ เห ตุ ผล การเจาะลึกใน รายละเอียดมาก | ถ้าได้เข้าอบรมจะมีความรู้ ไป พั ฒนาเ ด็ กไ ด้ อ ย่ าง หลากหลาย วิทยากรเก่ง มาก | ||
โรงเรียนอัมพวัน วิทยาลัย (ต่อ) 2. คุณศิริกุล ธูป แพ | -ไ ม่ อยากมา เพราะไม่ค่อยว่าง งานเยอะต้องการ | -มี ความ รู้ สึ ก ดี ข้ึ น สนุก น่าสนใจ | -มีความรู้ความเข้าใจ คิด ถูกตองแล้วที่ได้มา | -โครงงานฐานวิจัยเป็นการ เรียนไม่ใช่การสอนซึ่งเกิด จากประสบการณ์ภายใน | -ทําให้ได้รับความรู้ เพิ่ม มากมายจากสิ่งทีไม่รู้ | -ต้องการให้ ผอ. เข้าใจใน โครงการเพาะพันธ์ุปัญญา สนับสนุน และส่งเพื่อนครู |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพนธุ์ปัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | |||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | |||||
พกผ่อน | แล้วนําไปสู่การคิดรวบยอด ต่างจากเดิมคือ เป็นการคิด เพียงคิดวิเคราะห์เพ่ือได้ ข้ อมู ลเท่ า น้ั นไม่ ถึงการ สงเคราะห์ | ลงมาอบรมทุกกลุ่มสาระ เพื่อจะได้กลับไปพัฒนา เด็กท่ีโรงเรียนต่อไป | |||||
โรงเรียนอัมพวัน วิทยาลัย (ต่อ) 3.คุณณฐวรรณ เครือวีระยุทธ | -ไม่อยากมาอบรม เพราะหัวข้อเป็น เรื่องที่น่ากลัว | -สนุกกับการเรียนรู้ เพราะมีกิจกรรมที่ หลากหลาย ไ ม่ เครียดเพราะวิทยากร และพี่เลี้ยง ได้ให้การ ดูแลเป็นอย่างดี มี บรรยากาศท่ีเป็นมิตร ในกลุ่มของผู้เข้ารับ การอบรม และผู้ท่ีให้ | -ได้ความรู้ใหม่ๆ รวมถึง แนวความคิดทั้ง ด้ าน วิชาการและด้านจิตต- ปัญญา เช่น การวิจัย ความคิดเ ชิ งเห ตุ ผล กระบวนการต่างๆท่ีจะ นําไปใช้ท่ีเป็นประโยชน์ ต่อตนเองและนกเรียน | -เป็นกระบวนการเรียนรู้ คิด วิเคราะห์ เพ่ือการแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบโดยผ่าน ประสบการณ์และทักษะการ เรียนรู้ | -ดีใจที่ได้มีโอกาสเข้าร่วม โครงการ | -อยากให้เพ่ือนครู/ผอ. ได้ มีโอกาสเข้าร่วมการอบรม เ พ่ื อสร้างโลกแ ห่ งการ เรียนรู้ที่จะเป็นประโยชน์ อย่างงกับนักเรียนของเรา ที่ จะอ ยู่ รอดไ ด้ ในโลก อนาคต และทําให้เป็นคน มีคุณภาพ |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพนธุ์ปัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพ่ือนคร/ผอ.ู ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขยนบอกี อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | ||||
การอบรม | ||||||
โรงเรียนท้ายหาด 1. คุณวิลาวรรณ สกุลแก้ง | -คงเบ่ือที่ต้องมา บ่อยๆ คงไม่ มี เวลาว่างพอ | -สนุกพอใช้ มีความรู้ เ พ่ิ มขึ้ นอ ย่ างมาก อากาศหนาวมาก | -สามารถที่จะนําหัวข้อ และความรู้ที่ได้ไปใช้ใน การพัฒนาการสอน เช่น การ วิ จั ยใน ชั้ นเ รี ยน โดยเฉพาะ การสอนแบบ ประเทศสิงคโปร์ | -เดิม : คิดว่า วิจัยมันต้อง เป็นวิทยาศาสตร์เท่านั้น คิด ว่ า มั น ต้ องใ ช้ เวลาและ งบประมาณสูง ตอนนี้ : วิจัย สามารถพบได้จากสิ่งรอบตัว และไม่ใช่แต่วิทยาศาสตร์ เท่านั้น มันน่าสนุกและท้า ทายถ้าได้ลงมือทําจริงๆ | -มีการเพิ่มพูนความรู้และ ประสบการณ์เป็นอย่างมาก ย่ิงอบรมยิ่งทําให้รู้และเข้าใจ นักเรียนมากขน้ึ | -อยากใ ห้ ท่าน ผอ. มา อบรมบ้างจะได้ไปพัฒนา โรงเรียนให้เจริญทันกันกับ ประเทศอ่ืน บางคร้ังการ บริหารอย่างเดียวแต่ไม่ได้ พัฒนาการเรียนการสอน ขาดส่ืออุปกรณ์ Onet ก็ อาจไม่ได้ดีขึ้นกว่าเดิม อยากให้ครูทุกกลุ่มสาระ มาอบรม/ข้ามภาคบาง |
2.คุณธวัชชัย กล่นกลึง | -เป็นภาระท่ีหนัก เ มื่ อม าอบรม เ พ ร า ะ เ ป็ น วันหยุดน่าจะได้ | -เป็นกิจกรรมท่ีไม่น่า เบื่อและเราเองก็ไม่ได้ ใช้ หรือใช้ไม่ถูกวิธี ได้ แสดงความคิดเห็น | -เข้าใจการทําวิธีขั้นตอน การวิจัย การใช้คําถาม ในการกระ ตุ้ นใ ห้ ผู้ทําวิจยไดค้ ิดต่อได้ | -คิดว่าเป็นการทําวิจัยอย่าง ห่างๆ ไม่มีข้ันตอนท่ีซับซ้อน มากนัก | -ทําให้เกิดความคิดใหม่ๆ และวิธีการแบบใหม่ ต้องใช้ เหตุ-ผล ต้องรับฟังความ คิดเห็นผอู้ ่ืน | -เสียดายที่ ผอ.ไม่มีโอกาส ได้มาเข้าร่วมอบรมมันเป็น ที่ท่ีผอ.ต้องรู้ คอยดูไปกับ ผู้ทําวิจัย ทําให้การทํา |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรทู้ ี่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเขาใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรสู้ ึกของการได้ร่วม โครงการเพาะพันธ์ุปัญญา | ถ้าให้เขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ท่ีไม่ไดมา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | ||||
พักผ่อนแต่ต้องมา อบรม | ร่วมกัน มีปฏิสัมพันธ์ กันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซ่ึ ง กั นและกัน ไ ด้ เพื่อนใหม่ ได้พูดคุย ถึ ง ปั ญหาของ ที่ ทํางานตนเอง | โครงงาน วิ จัยประสบ ผลสําเร็จได้ | ||||
โรงเรียนท้ายหาด (ต่อ) 3.คุณอรุณวรรณ กล่ันกลึง | -อยาก รู้ อยาก เ ห็ น ว่ าจะเ ป็ น อย่างไร | -เพลิน สนุกกับการ คิดทํางาน เครียดกับ บางเ ร่ื อง ที่ ยั งห า คําตอบไม่ได้ เคลียร์ ในการต้องทําหน้าท่ี ดูแลพ่ีเล้ียงกับเด็กทํา RBL ต่อไป | -เพิ่มความมั่นใจข้ึนท่ีจะ ไปเ พิ่ มใ ห้ นั กเ รี ยน+ จดการเรียนรู้ตระหนักว่า เราควร Teach Less Learn More | -แบบเดิม เป็นการค้นหา ความรู้ท่ีต้องเป็นแบบวิทย์ เท่านั้น (ลูกศรเส้นเดียว) แต่ RBL เด็กจะเรียนรู้ด้วย ตนเองผ่านประสบการณ์ท่ี ต้องคิดได้พัฒนาจิตปัญญา | -เราโชคดี ท่ีได้มีโอกาสแบบ นี้ | -อยากบอกความรู้สึกว่า ตัวเราโชคดีที่ได้มาอบรม พัฒนาตนเองในค รั้ ง นี้ อยากให้ผู้บริหารและครูได้ มีโอกาสเช่นนี้ดวย |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพนธุ์ปัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | ||||
โรงเรียนบ้าน คลองสมบูรณ์ 1.คุณปุณยะฉตร ถํากลาง | -เบื่อ | -เพลิน สนุกกับการ คิดทํางาน เครียดกับ บางเ ร่ื อง ที่ ยั งห า คําตอบไม่ได้ เคลียร์ ในการต้องทําหน้าที่ ดูแลพ่ีเล้ียงกับเด็กทํา RBL ต่อไป | -สนุก เข้าใจกระบวนการ คิดท่ีเป็นระบบ เข้าใจ ข้ันตอนความสําคั ญ ประโยชน์ของการคิด มองเห็นแนวทางในการ จัดการเรียนการสอนเน้น เ ร่ื องการ คิ ดใ ห้ กั บ นักเรียน | -จากเ ดิ ม คิ ด ว่ าการ ทํ า โครงงาน คือการหาคําตอบ เกี่ยวกับข้อสงสัยต่างๆ แต่ ณ ตอนนี้การทําโครงงาน เป็นการหาคําตอบให้กับ ปัญหาหรือข้อสงสัยอย่าง เป็นเหตุเป็นผลกันนําไปสู่ การคิด เป็นพ้ืนฐานในการ ดําเนินชีวิต | -อยากเป็นส่วนหน่ึงในการ พัฒนาการคิดให้กับเยาวชน ของชาติ ณ วันน้ีมีความ ภาคภูมิใจ-ดีใจท่ีมีโอกาสมา นง่ อยู่ ณ ที่น้ี | -อยากบอกให้ทุกคนมา ร่วมกันสร้างอนาคตของ ชาติดวยการสอนให้เด็กคิด โดยใชผ้ ่านโครงงาน |
โรงเรียนบ้าน คลองสมบูรณ์ (ต่อ) 2.คุณนันทวดี เทียนไชย | -กังวล | -สนุก ท้าทาย | -ก็ยังกังวลอยู่บ้าง เพราะ เกรงว่าจะทําไม่สําเร็จ | -ความเข้าใจในการการ โครงงานเดิม คือการใช้ | -ดี เพราะคิดว่าเป็นส่วนหน่ึง ของการเพาะตนกล้า ความรู้ | -ให้ลุกขึ้นมาปฏิรูปตนเอง ไ ด้ แล้ ว เพราเราหลง |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพนธุ์ปัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | ||||
กระบวนการแก้ปัญหา การ ค้นหาคําตอบเพ่ือตอบข้อ สงสัย กระบวนการเรียนรู้ที่ เกิดจากโครงงานฐานวิจัย จะเป็นการทําโครงงานท่ีมี ระบบมากขึ้นมีเหตุผล ใช้ เหตุผลในการค้นหาคําตอบ เป็นระบบ | ความคิด ปัญญา ใ ห้ กั บ เยาวชนในอนาคต | ประเด็นกันมานานมาก แล้ว เรากําลังสร้างบาป ให้กับเด็ก ถ้าเราปรับวิธี เรียนเป็นวิธีสอน เด็กจะ รู้จักคิดเป็น ทําเป็น และ แกป้ ัญหาเป็น | ||||
โรงเรียนบ้าน คลองสมบูรณ์ (ต่อ) 3.คุณจักรเพชร เทียนไชย | -ตองมาด้วยหรือ | -ผ่ อนคลายความ กังวลลงได้บ้าง สนุก ได้รบความรู้ | -ดี รู้ขึ้นตั้งเยอะ พัฒนา ไปอีกแยะ หายเครียดไป มาก | -พอเข้าใจแล้ว ต่างจากเดิม มาก ง่ายกว่าเยอะ | -หนักใจ กลัวต้องทําให้ดี ไม่ สมงบประมาณท่ีได้รบั | -ท่านทําไมไม่ฟังวิทยากร ท่านจะรู้อะไรอีกและยังทํา เรื่องไปบอก รมต./เลขาฯ ว่าท่าน รมต.ต้องจัด กิจกรรมเหล่า นี้ ใ ห้ ครู |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพนธุ์ปัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | ||||
ครอบคลุมทั้งประเทศเม่ือ 15 ปีท่ีแล้ว เด็กจะได้ไม่ สินคิดกันค่อนประเทศ | ||||||
โรงเรียนวัด นางสาว 1.คุณธนวุฒิ สอน พงษ์ | -ก่อนมาอบรม เห มื อน ที่ เคย อบรมทั่วไปคือมา น่ั ง ฟั ง วิ ทยากร บรรยายหน้าห้อง แล้วให้ผู้เข้าร่วม อบรมถามปัญหา ที่ยังข้องใจหรือ สง สั ยคงเ ป็ น แบบเดิมเหมือน ทุ กค รั้ ง ที่ เคย | -วิธีได้พัฒนาสมอง เพิ่มอีกมาก สมองได้ อาหารดีๆอ ย่ าง น้ี บ่อยๆก็ดี -ก็ รู้ สึ ก ถึ งความ | -ได้เรียนรู้จากการคิด วิเคราะห์อย่างมีเหตุและ ผล ซ่ึ งเห ตุ และผล บางอย่างมันยังซับซ้อน ไปอีกหลายขั้น ทําให้คิด ไตร่ตรองรอบคอบมาก กว่าเดิมคิดให้มีเหตุผลใน เชิงที่สอดคล้องกันมาก ขึ้นโดยนึกถึงผลต่างๆท่ี จะเ กิ ด ข้ึ นและผล ที่ เกิดขึ้นนั้นมันมาจากเหตุ | -ต่างจากเดิมโดยสิ้นเชิงโดย โครงงานฐานวิจัยน้ันทําให้ เราต้องศึกษาข้อมูลให้ความ ข้ึนคิดให้มีเหตุผลซึ่งก่อน หน้านั้นเข้าใจว่าเป็นการทํา โครงงานตามท่ีเราสนใจโดย ศึกษาหาข้อมูลแล้วมาทํา การทดลองให้ได้ข้อเท็จจริง ซึ่งจริงๆแล้วนอกจากทํา โครงงานท่ีสนใจแล้วเรายัง ต้องมาทําโครงงานวิจัยใน | -ทําให้เราเปล่ียนพฤติกรรม บางอย่างจากคิดไม่มีเหตุผล ทํ าใ ห้ มี เห ตุ ผลมาก ข้ึ น ก่อนที่จะสรุปข้อเท็จจริงเรา ต้องวิเคราะห์ให้แน่ใจก่อน ว่าผลที่ตามมาถูกต้องหรือ ยงั | -บอกถึงการท่ีจะเกิดผล อะไรตามมาน้ันต้องคิดถึง เหตุที่มาก่อน ว่าเหตุมา จากอะไร ก่อนท่ีผลนั้นจะ เกิด แล้วผลนั้นส่งผลมัน ส่งผลอย่างไร ต้องคิดให้มี เหตุผลมากขน้ึ |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเก่ียวกับ “กระบวนการเรียนรทู้ ี่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเขาใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการได้ร่วม โครงการเพาะพนธ์ุปัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ท่ีไม่ไดมา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | ||||
อบรมผ่านมา | แตกต่างจากเดิมที่ อบรมเล็กน้อยจากท่ี วิทยากรบรรยายมา เป็นผู้มีส่วนร่วมมาก ขึ้น มีการใช้ความคิด มากขึ้ น ใ ห้ รั บ ฟั ง เห ตุ ผลของ ก าร ทํางานร่วมกันเป็นหมู่ คณะใ ห้ คิดอ ย่ างมี เ ห ตุ แ ล ะ ผ ล ที่ สอดคล้องกั นและ ขั ดแ ย้ ง กั น ทํ าใ ห้ เข้าใจเหตุผลมากข้ึน | ใดบ้างเรามองลึกลงหา เหตุให้มากข้ึนเพื่อหา ข้อเท็จจริงท่ีถูกต้องของ ผลท่ีตามมา | เร่ืองของโครงงานท่ีเราจะทํา ว่าต้องทําอย่างไร โดยเรา ต้องคิดหาเหตุผลที่ต้องทํา โครงงานน้ันแล้วได้อะไรบ้าง ผลที่ทําได้อะไรบ้าง |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการได้ร่วม โครงการเพาะพนธุ์ปัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | ||||
โรงเรียนวัด นางสาว (ต่อ) 2.คุณขวญชัย เปรียบยิ่ง | -ไม่รู้ว่าจะเข้ามา อบรมเพื่ออะไร แล้วจะนําความรู้ ท่ีได้ไปใช้อย่างไร ตอนไหน เพราะ อบรมมาเยอะแต่ ไ ม่ เคย นํ าการ อบรมแต่ละครั้ง มาไปใ ช้ ในการ จัดการเรียนการ สอนจริงๆ | -เ ป็ น ก า ร เ ปิ ด ความคิดให้รู้จักคิดใน เ ร่ื อง ที่ เ กี่ ยว กั บ ธรรมชาติ ไม่ใช่ยึด ตนเองเ ป็ นห ลั ก สามารถนําความรู้ ในขณะน้ันมาใช้โดย ยึ ด รู ปแบบการ มี เหตุผล | -ได้รับความรู้ ในการนํา ความรแ้ ละประสบการณ์ ที่ได้สามารถนําไปใช้ใน เร่ืองการเรียนการสอน เพราะบาง ที เรา ยึ ด ตนเองเป็นหลัก อธิบาย ตามตนเองแต่ไม่เคยอธิ บายามหลักธรรมชาติ เพราะบางทีสิ่งที่เราคิดก็ ไม่ใช่ว่าจะถูกเสมอ ยังมี ผิด ดังน้ัน แก่นแท้ของ การสอนท่ีได้จากการ อบรมใ ห้ เ ด็ กคิ ดเ ป็ น ระบบ ยึดการเรียนรู้ | -คิดว่าการวิจัยเดิมเป็นการ วิจัยท่ีเน้นครูคิดมากกว่า เพราะครูคิดเร่ืองระบบแต่ ให้นักเรียนเป็นคนอธิบาย ความคิดของครู แต่ในงานนี้ ครูเป็นคนคอยช่วยเหลือให้ นักเรียนเกิดทักษะการคิด อย่างมีเหตุผลมากขึ้นทําให้ นักเรียนอธิบายเรื่องต่างๆ อย่างสมเหตุสมผล | -เป็นการเปิดโลกใหม่ใน การศึกษาไทยในความคิด ครูเป็นหลักแต่ให้เด็กได้ใช้ ความคิดตนเองในการคิดหา เหตุผลส่ิงที่นักเรียนได้ คือ องค์ความรใู หม่ | -บางทีการเป็นครู ไม่ใช่ว่า มีความรู้ทุกเรื่อง ไม่ใช่ว่า ความคิดครูจะถูกทั้งหมด แต่ ถ้าเรายึ ดธรรมชาติ อธิบายตามหลักเหตุผล องค์ความรู้ที่ได้จะสามารถ นําไปใช้กับนักเรียนให้เกิด ประโยชน์สูงสุด |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการได้ร่วม โครงการเพาะพนธุ์ปัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | ||||
ดดยใช้ความเป็นเหตุเป็น ผลและสามารถ นํ า ความ รู้ ไปเ ช่ื อมโยง เหตุการณ์ต่างๆ ได้ | ||||||
โรงเ รี ยน วั ด นางสาว (ต่อ) 3.คุณจิดานันท์ สุวรรณศรี | -ไม่รู้ว่าเป็นการ อบรมอย่างไร เท่า แ ต่ ใ ห้ ไป นั่ ง ฟั ง อย่ างเดี ยวไหม หรือมีอะไรใหม่ๆ ในการอบรม ท่ี แตกต่างจากการ อบรมอื่น | -ไ ด้ แสดงความคิด และใ ช้ ความ คิ ด มากกว่าเดิม ได้มีการ แลกเปลี่ยนความ คิดเห็นจากท่านอ่ืนๆ และใช้ความคิดอย่าง เป็นขั้นตอน | -รู้สึกว่าท่ีมาอบรมในคร้ัง นี้ไม่เสียเวลาเปล่า เป็น ระยะเวลาในการมา อบรม 2 วัน ได้รู้เรื่อง ขั้นตอนในการทําวิจัย ปัญหาในการวิจัย การ ฝึ กใ ช้ คว า ม คิ ด ที่ จะ นํามาใช้ในการวิจัย | - การ วิ จั ยสามารถ ปรับเปลี่ยนบุคคลให้ตั้งอยู่ บนฐานข้อมูลและเหตุผล มี วิจารณญาณ วิเคราะ ห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์ และ เกิดนวัตกรรมได้ ข้ันตอน ของการวิจยไม่ว่าจะเป็นการ เข้าถึงความรู้ การประเมิน ความเชื่อของความรู้ การตี ค่า | -ดีท่ีจะได้ร่วมโครงการน้ี ต่อไป | -ท่านน่าจะได้รับการอบรม นี้เพราะจะได้นําไปพัฒนา ในโรงเรียนของท่าน |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเก่ียวกับ “กระบวนการเรียนรทู้ ่ีเกิด จากโครงงานฐานวิจยั ”ว่า และเป็นความเขาใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพนธป์ุ ัญญา | ถ้าใหเขียนจดหมายถึง เพื่อนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลังเสร็จสิน้ | ||||
โรงเรียนวัดดอน มะโนรา 1.คุณณัฐพล มีทา ทอง | -รู้สึกเฉยๆเพราะ อบรมมาบ่อยมาก (แต่ไม่ใช่เรื่องน)้ี | -เห น่ื อยแ ต่ ส นุ ก เพราะมีกิจกรรมให้ ทํ าใ ห้ คิ ดตลอด ระหว่างการอบรม | -โล่งใจ เสร็จซักที แต่ท่ี จะต้องทําต่อไปก็คือ นํา ประสบการณ์ท้ังหมดไป ถ่ ายท อ ดใ ห้ ค รู และ นักเรียนต่อไป | -มีความรู้ความเข้าใจมากข้ึน จาก ที่ เคยคิด ว่ าการทํา โครงงานหรือการทําวิจัย เป็นเรื่องท่ีไม่ยากเกินไปหาก | -เ ป็ นโครงงาน ที่ ดี มาก เพราะทําให้มีความรู้มากข้ึน เป็นการพัฒนาบุคลากรทาง การศึกษาที่ดีมาก | -อยากจะชวนมาอบรม ดวยไม่น่าเบ่ืออย่างที่คิด |
2.คุ ณ ปิ ยะพร พิเนตรเสถียร | -ทําตามหน้าท่ีที่ ต่อเนื่องจากครั้งท่ี แล้ว และเบื่อที่ จะ ต้ องมาเสา ร์ อา ทิ ต ย์ 50-50 มาก็ดี ไม่มาก็ดี | -มีความรู้เพิ่ม คิดเป็น จากที่รู้เรื่องวิจัยบ้าง พอไ ด้ เ ข้ า รั บการ อบรมทําให้รู้ขั้นตอน อ ย่ าง ชั ดเจน มี หลักการ มีตัวอย่างท่ี เราสามารถทําได้เอง | -สามารถทําวิจั ย ด้ วย ตนเองได้ และสามารถ นํากลับไปอ ธิ บายให้ นักเรียนท่ีสอนปฏิบัติให้ เกิดวิจยข้นมาเอง | คิดว่าจะทาํ -เม่ือก่อนทําวิจัยโดยการดู ตัวอย่างจากเล่มอื่นๆ แล้ว มาปรับคํา พู ด เ ป็ นของ ตนเองแต่พออบรมแล้วทํา ให้มีพื้นฐานหลักการคิด และจะนํามาปฏิบัติด้วย ตนเอง ลองทําเองได้ | -มีความรู้เพ่ิมจากเดิมมาก จากท่ีเราคิดไปเร่ือยเป่ือย คิดเฉพาะตนเอง เม่ือเข้า ร่วมโครงการแล้ว รู้สึกว่าเรา สามารถแชร์ความรู้ให้คนอื่น หรือรับความรู้จากคนอื่น เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่เรา ได้ | -เสียดายที่เพื่อนครูท่านอ่ืน ไม่ได้มาผ่อนคลาย แถมได้ ความรู้ดีดีติดตัวไปใช้ใน การสอน การดําเนินชีวิต คะ |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการได้ร่วม โครงการเพาะพนธุ์ปัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | ||||
โรงเรียนวัดดอน มะโนรา (ต่อ) 3.สุทธิกานต์ เลขาณุการ | -รู้สึกเหน่ือยกับ ภาระงาน ท่ี โรงเรียน แต่ก็เต็ม ใจและยินดีท่ีจะ มาเพราะรู้ว่าจะ ได้พัฒนาตนเอง และนําความรู้ที่ ไ ด้ ไป พั ฒนา นักเรียน | -ไ ด้ คิดตลอดเวลา และ จิ นตนาการ เชื่อมโยงการนําไปใช้ กับนักเรียน | -ได้วิธีการ กระบวน การคิด ได้ความรู้ ได้ พัฒนาตนอง เป็นเสาร์- อาทิตย์ที่ทําให้ตนเองมี คุณค่ามากขึ้น | -กระบวนการเรียนรู้ RBL เป็นกระบวนการท่ีทําให้ นักเรียนตอบปัญหาในส่ิงที่ ตนอยากรู้ได้ด้วยตนเอง ซ่ึง จากเดิมเข้าใจมุ่งเน้นไปท่ี ชิ้นงานไม่ใช่กระบวนการ | -รู้สึกโชคดีและดีใจท่ีได้รับ ความรูซ้ ึ่งจะนําไปพัฒนาเด็ก ต่อไป | -เราน่าจะมาจัดกระบวน การเรียนรู้แบบน้ีกัน เพ่ือ อนาคตของเด็กไทยเพ่ือ อนาคตของชาติ ผมอาจจะ เล่าบรรยายได้ไม่ท้ังหมด จึงอยากให้ท่านได้รับรู้เผ่ือ มีโอกาสเพ่ือเราจะได้คิด และเดินทางไปในทาง เดียวกนั |
4.คุ ณ สุ ธา สิ นี เพชรกระจ่าง | -ไม่ค่อยอยากมา เท่าท่ีควร เพราะ คิดว่าเร่ืองท่ีจะมา อบรมในค ร้ั ง นี้ เก่ียวกับการทํา | -รู้ สึ กป รั บเปล่ี ยน ทัศนคติจากเดิมบ้าง บาง ส่ วน เพราะ หลังจากไ ด้ เรียนรู้ กระบวนการในการ | -หากไ ด้ นํ า ทั กษะ กระบวนการคิดดังกล่าว ไปใช้ในการจักการเรียน การสอน น่ าจะเ ป็ น เค รื่ องมื อท่ี ดีในการ | -(ต้องขออภัยด้วยคะ ที่มา เข้าร่วมอบรมได้เพียงแค่ 1 วัน คือวันอาทิตย์จึงทําให้ไม่ เข้าใจถึงกรบวนการเรียนรู้ท่ี เกิดจากโครงงานฐานวิจัย | -รู้สึกดีใจท่ีได้มีโอกาสเรียนรู้ กระบวนการใหม่ๆ ในการ จัดการเรียนการสอนท่ีจะ ช่วยพัฒนาศักยภาพของ นกเรียนอย่างแทจริง | -คะแนนหรือผลการสอบ ของนักเรียนไม่ใช่ส่ิงเดียว ที่ จ ะ ป ร ะ เ มิ น ค่ า ความสามารถระ ดั บ สติปัญญาของนักเรียน |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพนธุ์ปัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | ||||
วิจัยและโครงงาน ซ่ึงถือว่าเป็นเร่ือง ไกลตัว ไม่คิดว่า จะนํามาใช้ในการ จัดการเรียนการ สอนจริงๆ | คิด จึงทําให้รู้ว่ามัน อาจไม่ใช่เรื่องที่ไกล ตัวมากเกินไป แต่ยัง รู้สึกว่าปรับใชก้ ับกลุ่ม สาระภาษาไทยได้ ยาก หรืออาจจะเป็น เพราะยังไม่ได้เห็น ตั วอ ย่ าง ห รื อ แนวทางท่ีเฉพาะ เจาะจงเท่าที่ควร | กระตุ้นให้นักเรียนใช้ ความคิดมากขน้ึ | มากเ ท่ าใด นั ก แ ต่ จะ พยายามศึกษาเพ่ิมเติม จาก เพื่อนครูที่ได้เข้าร่วมอบรม แบบเต็มรูปแบบในภายหลงั ) | อยากให้ลองมองทุกๆ อย่างแบบรอบดานคะ | ||
โรงเรียนดรุณานุ กูล 1.คุณรสริน ยม้ิ สุคนธ์ | -อยากรู้ว่าวันนี้จะ ได้รับความรู้เร่ือง ใด | -ส นุ กสนาน และ เข้าใจความหมายของ คําว่าวิจยมากข้ึน -เริ่มเข้าใจมากขึ้น | -เข้าใจหลักวิธีการและ เหตุผลที่จะนําไปใช้กับ นกเรียน | -ต่ าง เพราะเ ข้ าใจ จุดประสงค์ และความมุ่ง หมายของโครงงานฐานวิจัย มากขึน้ | -ดี ใจทํ าใ ห้ เรามาความ กระตือรือรนมากข้ึน | - (ไม่แสดงความคิดเห็น) |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพนธุ์ปัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | ||||
โรงเรียนดรุณานุ กูล (ต่อ) 2.คุ ณกนกพร วงศ์นิติกร | -เบ่ือไม่รู้ว่ามันคือ อะไร | - ได้รับรู้เลยว่าการ คิดอ ย่ างมี เห ตุ ผล สามารถนํามาใช้ใน ชีวิตได้อย่างจริงจังท้ัง ในการทํางาน และ การจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน | -เริ่มรู้สึกดีเกี่ยวกับการ ทําโครงงานบนฐานวิจยั | - เ ข้ าใ จ ถึ ง วิ ธี การของ กระบวนการเรียนรู้ท่ีเกิด จากโครงงานฐานวิจัยมาก ข้ึน รู้วิธีการและหลักการใน การคิดวิเคราะห์มากขึ้น | - รู้สึกดีใจเพราะทําให้ได้ ทักษะการเรียนรู้มากมาย | - น่าเสียดายที่ไม่ได้มา อบรม |
3. คุ ณเอกราช แสงสว่าง | - เมื่อคณาจารย์ จากสถา บั น นวัตกรรมมาชวน ทันทีในเวลานั้น ได้ตอบรับเข้าร่วม โครงการ เพราะรู้ ว่าส่ิงท่ีอาจารย์ | - ต้องนําความรู้ท่ีได้รับ ไปปรับใช้ในการบริหาร โรงเรียนรวมถึงการ จดการเรียนการสอนของ ครู และถ้ามีโอกาสและ ความเ ป็ นไปไ ด้ ควร ขยายผลใหเกิดกับผู้เรียน | - กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย จะ ส่งผลไปถึงความคิดและการ ร่วมกิจกรรมทั้งของผู้บริหาร ครู และนักเรียน ซึ่งจะทําให้ นั กเรียนมีความคิดและ ความเข้าใจท่ีคงทนส่งผลให้ | - ดีใจ และไม่ผิดหวัง | - เสียดายแทนอยากให้ทุก คนไ ด้ มารับความรู้ดีดี อย่างนี้ดวยกนั |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพนธุ์ปัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | ||||
นํามาให้น้ันต้องดี และ ท้ าทาย แน่นอน | และครูในทุกระดับชน้ั | ความ รู้ ที่ ไ ด้ รั บจาก กระบวนการเรียนรู้แบบนี้ ติดตัวนักเรียนเป็นผู้คิดอีก ด้วย | ||||
โรงเรียนดรุณานุ กูล (ต่อ) 4.คุณปิยธิดา | - ไ ม่ อยากม า เพราะงานยังไม่ เสร็จ | - รู้สึกได้รับความรู้ มากไปจนสมองอ่อน ล้า | - รู้สึกดีใจและสามารถ นํากระบวนการคิดท่ีได้ ไปใชให้เกิดประโยชน์ | - เข้าใจว่าการทําโครงงาน ฐานวิจัยเป็นเร่ืองเกี่ยวกับ การศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับส่ิง ที่เราสงสัยหรือจากการ ต้ังสมมติฐาน ซึ่งมีความคิด จากตอนแรกคือ โครงงาน ฐานวิจัยเป็นเรื่องที่น่าเบื่อ และยาก | - รู้สึกว่าเป็นส่ิงที่ดีและได้รับ ความรมู าก แต่ใช้เวลาศึกษา เรียนรู้ค่อนขางนาน | - ผอ . น่ าจ ะม าอบร ม ด้วยกันนะค่ะ |
5. คุ ณ อ้ อยใ จ น่ิมนวล | - ค่ อนข้างเ บื่ อ เพราะงาน ท่ี | - ค่ อน ข้ างส นุ ก กระตือรือร้น ที่จะหา | - โชค ดี ที่ ไ ด้ เ ข้ า ร่ วม กิ จกรรม รู้ สึ ก ว่ า มี | - เข้าใจมากขึ้น เมื่อก่อน เ ข้ าใจ ว่ าโครงงานเ ป็ น | - โชคดีที่ได้เข้าร่วมกิจกรรม ไ ด้ รั บความ รู้ ไ ด้ พัฒนา | - เข้าร่วมกิจกรรมของ พพปญ. ถึงแม้ไม่ได้พัก |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเก่ียวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเขาใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพันธป์ุ ัญญา | ถ้าใหเขียนจดหมายถึง เพื่อนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | |||
ก่อน | ระหว่าง | หลังเสร็จสน้ิ | |||||
โรงเรียนไม่เสร็จ ที่บ้านก็ไม่ได้ดูแล | กิจกรรมไปใ ช้ กั บ นั กเ รี ยนเ พื่ อใ ห้ นักเรียนไดค้ ิดมากขึ้น | ประโยชน์ต่อตนเองเพื่อ ไป พั ฒนา และ จั ด กิจกรรมส่งเสริม | ลักษณะคิดขั้นเดี ยว แ ต่ ตอน นี้ ไม่ ใ ช้ เพราะ RBL ลึกซ้ึงและละเอียดมากกว่า นั้ น เ ป็ นการ ส่ งเส ริ ม ความคิดของนักเรียนได้เป็น อย่างดี | ตนเอง เพ่ือจะนําไปพัฒนา นกเรียนต่อไป | ในช่วงวันหยุด แต่รับรอง ว่าจะได้อะไรมากมาย เพื่อ ไปพัฒนานักเรียนให้รู้จัก คิดเป็น ทําเป็นมากขึน้ | ||
โรงเรียนวัดสวน ส้ม 1. คุณวรรษมล วิรุณพนธ์ | - ใจ ห นึ่ ง ก็ ไ ม่ อยากมาเพราะ อยากพักผ่อนใน วันหยุด ใจหนึ่งก็ อยากม า ฟั ง วิทยากรจะใ ห้ ความรู้อะไรบ้าง เพราะตอบโจทย์ | - ก็สนุกดีได้พบเพ่ือน ใหม่ พบปะความคิด ใหม่ และได้แสดง ความคิดเห็นที่มีคน ยอมรับก็รู้สึกดี แต่ บางช่วงก็ตามไม่ค่อย ทันเลยรู้สึกงง อยู่บ้าง แต่ถ้าได้ทําคงจะตอบ | - ดี สนุก เข้าใจเหตุและ ผลข้ึ นมา อี กข้ั นห น่ึ ง ความคิดเชิงเหตุผลว่าคิด แบบไหน คิดอย่างไรก็ สามารถตอบโจทย์ได้บ้าง แต่ก็ยังไม่ท้ังหมดเพราะ ยังไม่ได้ลงมือทํา เจอ ปัญหาจริงๆ คงเข้าใจ | - ต่างจากเดิมท่ีว่าอยากรู้ อะไรต้องหาข้อมูลมาอ้างอิง เอาเพียงแค่ตัวเลขเท่านั้น แต่พออบรมเสร็จมันไม่ใช่ อ ย่ างท่ี คิ ด เราต้ องหา ประเด็นที่เราสนใจก่อนแล้ว เจาะประเด็นอย่างค่อยเป็น ค่อยไปจนสามารถตอบ | - เป็นการจุดประกายความ ไม่รู้ให้รู้และสามารถจะ นําไปประยุกต์กับรายวิชาท่ี สอนได้อย่างมากเก่ียวกับ กระบวนการคิด | - อยากให้เพ่ือนครูที่ไม่ ได้มาทําแบบน้ีลองมาเอา ไปทําด้วย |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจยั ”ว่า และเป็นความเขาใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพนธป์ุ ัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพื่อนคร/ผอ.ู ท่ีไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขยนบอกี อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลังเสร็จสน้ิ | ||||
ส่ิงที่เราสงสัยได้ ไหม | โจทย์ได้ | กว่านี้ | โจทย์ส่ิงที่เราต้ังคําถามไว้ให้ ได้อย่างสมเหตุสมผล | |||
โรงเรียนวัดสวน ส้ม (ต่อ) 2. คุณนริศรา วร สุทธิ์พิศาล | - เวลาจะ ต้ อง หมดไปกับการนั่ง ฟังเร่ืองราวต่างๆ ของ วิ ทยากร ผู้ นําเสนอ รู้สึกไม่มี สมาธิในการน่ังฟัง เท่าที่ควร | - เ ร่ิ ม ไ ด้ รั บ กระบวนการใ ช้ ความคิด การนําไปใช้ อยากให้อบรมในวัน ทําการมากกว่าใน วันหยุดเวลาจะไม่ ค่อยเอื้อเน่ืองจาก ต้ องการใ ช้ เวล า พกผ่อนกบครอบครวั | - ได้รับความรู้ ได้เพื่อน ต่างโรงเรียนได้นําแนว ทางการคิดการสอนไป ปรับใช้ในชีวิตประจําวัน และใชในการสอน | - กระชับและสามารถนําไป ปรับใช้ในเรื่องการเรียนการ สอน | - ได้ทักษะกระบวนการคิด การแยกแยะการนําเทคนิค ใหม่ๆไปใช้ในการเรียนการ สอนอย่างมีประสิทธิภาพ | - อยากให้มีการอบรมใน วันทําการมากกว่า ครูจะ ไ ด้ มี เวลา พั กผ่อน บ้ าง เพราะ ทุ กคน มี ภาร ะ ครอบครัวกนหมด |
3. คุณเพ็ญศรี | - อยากมา อยาก ทราบระบบการ คิดอย่างมีเหตุผล | - สนุกดี ไม่เบื่อ มี แบบฝึกให้ทําตลอด ชอบใหท้ ํางานเป็นทีม | - มีความรู้เพ่ิมมากข้ึน จากเ ดิ ม และเข้าใจ ระบบการคิดอ ย่ างมี | -เดิมเวลาจะทําวิจัยเหมือน เป็นงานยุ่งยาก ไม่อยากทํา เพราะ ไม่เข้าใจ ขั้นตอนใน | -ทําให้ความรู้เพ่ิมมากข้ึน จากเดิม นําไปใช้ประโยชน์ ไดท้ ังตวผูเรยนและครู | -อยากใหเพื่อนๆที่โรงเรียน ได้รับการอบรม เพราะ เ ป็ นความรู้ ที่ ดี นํ าไป |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเก่ียวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเขาใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพันธุป์ ัญญา | ถ้าใหเขียนจดหมายถึง เพื่อนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลังเสร็จสน้ิ | ||||
เ พ่ื อ นํ า ไ ป พัฒนาการสอน | มีความสามคคี | เหตุผล | การคิด การทํา กระตุ้นให้ นักเรียนคิดไม่เป็น ไม่รูจะต่อ ยอดอย่างไร แต่พอมาอบรม ฟังวิทยากรพูด ดูแล้วง่ายๆ สามารถทํา กั บเ ด็ กๆไ ด้ เขาใจง่ายไม่ยาก | พัฒนาตนเองในการสอน ได้ | ||
โรงเรียนวัดสวน ส้ม (ต่อ) 4.คุณเสาวลกษณ์ | -เป็นเรื่องท่ีเคยรู้ มาบ้าง น่าจะมี อะไรแตกต่าง | -ส นุ ก เ ข้ า ใ จ กระบวนการคิดเชิง เหตุผลมากข้ึน เพื่อ นําไปสู่การหาโจทย์ ทางวิจัย การคิดให้ ละเ อี ยดรอบคอบ รอบด้าน ยึดแนวทาง และบูรณาการใหมาก | -น่าจะนํารูปแบบและวิธี เทคนิคไปใช้กับนักเรียน เพื่อกระตุ้นให้นักเรียน คิด และมีส่วนร่วมในการ เรียนมากข้ึน ซ่ึงครูต้อง ใช้ความพยายามอย่าง มากในการกระตนุ เด็ก | -คิดว่าเป็นการฝึกให้นักเรียน ทําโครงงานต่างๆ แบบท่ี นักเรียนสนใจ โดยมี ครู วิทยากรเป็นพ่ีเลียง ความต่าง คือ การฝึกให้ นักเรียนคิดหาคําตอบจาก การป ฏิ บั ติ การส ร้ าง ประสบการณ์ให้นักเรียน | -เด็กๆของเราโชคดี ที่จะได้ เ รี ยน รู้ จากการ ฝึ ก ประสบการ ณ์ การ ทํ า โครงงานฐาน วิ จั ย การ วิทยากร พี่เลี้ยง ท่ีจะเป็น ผู้สอน เด็กน่าจะได้รับการ พัฒนา เ ป็ น นั กคิด และ เชื่อมโยงความรู้ไปใช้ในชีวิต | -น่าเสียดายมาก น่าจะมา เรียนรู้ด้วยตนเอง โอกาส หนาอย่าพลาดนะ |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพนธุ์ปัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | ||||
ขึน้ | เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง เขียนเชิงเหตุผล จากหลาย เหตุ หลายผลมากมาย ซึ่ง สามารถ บู รณาการการ เรียนรไู ดท้ ุกกลุ่มสาระ | จริง มีชีวิตที่ดีขึ้น | ||||
โรงเรียนศรัทธา สมุทร 1.คุ ณ ธ เ น ศ สมครไทย | -รู้สึกสนใจที่จะมา อบรม | -รู้ สึ ก ว่ าตนเองไ ด้ หลักการคิดท่ีดีข้ึน ละเอียดขน้ึ | -คิดว่าน่าจะใช้ความรู้ท่ี ได้จากการอบรมไปใช้ใน การจัดการเรียนรู้ให้กับ นักเรียนได้ดีขึ้น และจะ ดีกว่าน้ันถ้ามีการร่วมมือ ของคุณครู แต่ละวิชามา เข้าร่วมกิจกรรมและ กําหนดกิจกรรมเข้าสู่ กระบวนการเรียนรู้ของ | -กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย เป็น การค้นคว้าหาความรู้ของ นักเรียนโดยมีครูเป็นผู้ช้ีแนะ ให้ในบางประเด็นแล้วให้ นักเรียนไปทดลองศึกษา ค้นค ว้ า ต่ อจนเ กิ ดความ เข้าใจท่ีแท้จริง ต่างจากเดิม คือ จากเดิมจะรู้ว่าโครงงาน | -รู่สึกดีใจที่จะได้เทคนิคใน การจัดการเรียนรู้ใหม่ๆ | -อยากบอกว่าเราควรต้อง ทบทวนส่ิงที่ทํากบนกเรียน เ สี ยใหม่ แล้ ว กํ าหนด แนวทางในการจัดการ เ รียน รู้ ของเ ด็ กใ ห้ เ ด็ ก สามารถคิดได้ |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเก่ียวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเขาใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพันธป์ุ ัญญา | ถ้าใหเขียนจดหมายถึง เพื่อนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลังเสร็จสน้ิ | ||||
นักเรียนอย่างจริงจัง โดย มีการอํานวยจากฝ่าย บริหาร | ฐานวิจัยเป็นการเรียนโดยให้ เด็กทําโครงงานส่งตามหลัก ของการทําโครงงาน | |||||
โ ร ง เ รี ย น ทานตะ วันไตร ภาษา 1.คุณขวญชนา จันทร์ชื่น | -เหนื่อย เพราะว่า เ ป็ น วั นเสา ร์ - อาทิตย์ | -สนุกได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้กับเพ่ือนครู มี ประสบการ ณ์ เก่ียวกับการคิดมาก ข้ึน คิดอะไรเป็นเหตุ เป็นผลมากขึ้น | -ดีแล้วท่ีได้มาอบรม ถ้า ไม่มาก็ไม่รู้อะไรดีๆ ก็จะ คิดเหมือนเดิม ไม่มีการ พัฒนาตนเอง ต่อไปน้ีจะ คิดอะไรก็ต้องมีเหตุผล มากขึ้น เม่ือรู้เหตุก็จะ แกป้ ัญหาได้ | -เด็กเป็นผู้ค้นคว้าหาความรู้ โดยการคิดแบบมีเหตุผล จน ได้ข้อสรุปองค์ความรู้ใหม่ๆ รู้จักการแก้ปัญหาอย่างเป็น ระบบ ฝึกผู้เรียนทํางานเป็น ทีม สืบเสาะความรู้ด้วย ตนเอง ฝึกกระบวนการคิด วิเคราะห์ | -ดีใจเพราะจะไ ด้ พัฒนา ผู้เรียนให้คิดเป็น ทําเป็น แก้ปัญหาได้ | -เสียดายโอกาส |
โรงเรียน | ความรูส้ ึกจากการอบรม | ท่านมีความเขาใจเกี่ยวกับ “กระบวนการเรียนรู้ที่เกิด จากโครงงานฐานวิจัย”ว่า และเป็นความเข้าใจท่ีต่าง จากเดิมอย่างไร | ความรูส้ ึกของการไดร้ ่วม โครงการเพาะพนธุ์ปัญญา | ถาใหเขียนจดหมายถึง เพ่ือนครู/ผอ.ที่ไม่ได้มา อบรม ท่านจะเขียนบอก อะไร | ||
ก่อน | ระหว่าง | หลงั เสร็จสน้ิ | ||||
( ห น่ วยงาน สกว.) 1.คุณสุวิทย์ | -สง สั ยเ น้ื อหา เกี่ยวกับวิจัย ตัว เ ร า จ ะ เ ป็ น ประโยชน์หรือไม่ | -เร่ิมเห็นประโยชน์ จากสาระใหม่ ที่ สั ม พั น ธ์ กั บการ พัฒนาวิธีจัดการเรียน การสอนของตนเอง | -คิดว่าจะนําข้อมูล สาระ ที่ ไ ด้ รั บ ไปทดลอง ออกแบบ การ จั ด กระบวนการเรียนรู้ ที่ รู้สึกว่าตนเองมีทักษะ ความรู้มากขึ้น | -ระบบในสิ่งแวดล้อม ทุก ระดับความสัมพันธ์ภายใน ของตัวระบบเอง ซึ่งมีความ เ ป็ นเห ตุ เ ป็ นผลห รื อ ปฏิสัมพันธ์กันอยู่ภายใน ระบบน้ันๆ หากสามารถทํา ความเข้าใจโครงสร้างของ ระบบ และความสัมพันธ์เชิง เหตุผลที่มีต่อกันจะช่วยให้ การคิดมีวิจารณญาณที่ดี มาก ยิ่ งขึ้ น รอบคอบ ขึ้ น นําไปสู่การตัดสินใจหรือ สร้างทางเลือกที่ผิดพลาด น้อยลงได้ หรืออาจเกิดการ สร้างส่ิงใหม่ๆข้ึนได้จากการ เชื่อมโยงระบบเขาดวยกัน | - สนุกท้าทายเกิดการเรียนรู้ ตลอดเวลา | - ควรเปิดโอกาสเข้ามารับ การอบรมบ้าง อย่าทําแต่ งานท่ีรับผิดชอบอยู่เดิม โดยได้ความรู้ ทักษะใหม่ ๆ เพ่ิมเติม |
รายชื่อผู้บริหารและคณะครูผู้เขาร่วมกิจกรรม “System Thinking”
1. โรงเรียนเทพสุวรรณชาญวิทยา อําเภออัมพวา จังหวดสมุทรสงคราม (โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกด เขต 10)
ผูบริหาร
1 นาย บัณฑิตย์ ลิมปนชยพรกุล ผู้อํานวยการโรงเรียน *
รายชื่อคณะครูท่ีร่วมงานวิจัย
1 นาย | เถลิงรัฐ | มุกดาเวช | สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ |
2 นางสาว | ธิติมา | ปานพรหมมาศร์ | สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ |
2. โรงเรียนบานแพ้ววิทยา อําเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร (โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดเอกชน) ผูบริหาร
1 นางสาว เพ็ญประภา ศรีสุวรรณ ผู้อํานวยการโรงเรียน รายชื่อคณะครูที่ร่วมงานวิจยั
สพม.
1 นางสาว | กัญญารัตน์ พงษ์บานแพ้ว | สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ |
2 นางสาว | ดุฤษดี ยืดเนื้อ | สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย |
3 นาง | นุชจรี พัฒนเรืองกุล | สาระการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ |
3. โรงเรียนอัมพวันวิทยาล
10)
ผู้บริหาร
อําเภออัมพวา จงหวดสมทรสงคราม (โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด สพม. เขต
1 นาย ศักดา โกมลวานิช ผู้อํานวยการโรงเรียน *
รายช่ือคณะครูที่ร่วมงานวิจัย
1 นาง | ทิวาทิพย์ | เอ่ียมสอาด | สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา |
2 นางสาว | แสงเดือน | กลิ่นจงกล | สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ |
3 นาง | ศิริกุล | ธูปแพ | สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ |
4 นางสาว | ณัฐวรรณ | เกรียงวีระยุทธ | สาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ |
4. โรงเรียนท้ายหาด อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม (โรงเรียนมธยมศึกษา สังกัด สพม. เขต 10)
ผูบริหาร
1 นาย ธัตถพล คชสาร ผู้อํานวยการโรงเรียน รายชื่อคณะครูท่ีร่วมงานวิจัย
1 นาย ธวัชชัย กล่นกลึง สาระการเรียนรู้ สงคมศึกษา
2 นางสาว วิลาวรรณ สกุลแกว้ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร
3 นาง อรุณวรรณ กลั่นกลึง สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร
5. โรงเรียนบ้านคลองสมบูรณ์ อําเภออมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม (โรงเรียนมัธยมศึกษา สงกัด สพป. สมุทรสงคราม)
ผู้บริหาร
1 นาย วิเชียร ชูสงค์ ผูอ้ ํานวยการโรงเรียน รายช่ือคณะครูที่ร่วมงานวิจัย
1 นาย จักรเพชร เทียนไชย สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
2 นาง นันทวดี เทียนไชย สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และการงานอาชีพและเทคโนโลยี
3 นางสาว ปุณยฉัตร ถํากลาง สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
4 นาง ทัศนีย์ แสงเมฆ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
6. โรงเรียนวดนางสาว อําเภอกระทุ่มแบน จงหวดสมุทรสาคร (โรงเรียนมธยมศึกษา สังกัด สพป. สมุทรสาคร-โรงเรียนขยายโอกาสที่ปัจจุบนจดการเรียนการสอนจนถึงระดบชั้น ม. 6)
ผู้บริหาร
1 นาย สมหมาย แกวชิงดวง ผู้อํานวยการโรงเรียน *
1 นาย | ขวัญชัย | เปรียบยิ่ง | สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ |
2 นางสาว | ชลธิชา | ชัยมงคล | สาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ |
3 นาย | ธนวุฒิ | สอนพงษ์ | สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษ |
รายชื่อคณะครูที่ร่วมงานวิจัย
า
7. โรงเรียนวดดอนมะโนรา อําเภอบางคนที จังหวดสมุทรสงคราม (โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด สพป. สมุทรสงคราม)
ผู้บริหาร
1 นาง เสงี่ยม หวานคําเพราะ ผู้อํานวยการโรงเรียน *
รายชื่อคณะครูที่ร่วมงานวิจัย
1 นาย สุทธิกานต์ เลขาณุการ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
2 นาย ณัฐพล มีทาทอง สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒธรรม
3 นางสาว สุธาสินี เพชรกระจ่าง สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
4 นางสาว ปิยะพร พิเนตรเสถียร สาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ
8. โรงเรียนดรุณานุกูล อําเภอเมือง จังหวดสมุทรสงคราม (โรงเรียนมัธยมศึกษา สงกด สาสน์)
ผู้บริหาร
เอกชน เครือสาร
1 นาย เอกราช แสงสว่าง ผ รายช่ือคณะครูที่ร่วมงานวิจัย
่วยผ
ํานวยการโรงเรียน
1 นางสาว | กนกพร | วงศ์นิติกร | สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ |
2 นางสาว | ปิยธิดา | มีชะคะ | สาระการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษ |
3 นางสาว | รสริน | ยิ้มสุคนธ์ | สาระการเรียนรู้ ศิลบะ |
4 นาง | ออยใจ | นิ่มนวล | สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ |
9. โรงเรียนวัดสวนส้ม อําเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร (โรงเรียนมธยมศึกษา สังกดั สพป. สมุทรสาคร) ผู้บริหาร
1 นาง เสาวลักษณ์ เยี่ยมสวสดิ์ ผ รายชื่อคณะครูที่ร่วมงานวิจยั
ํานวยการโรงเรียน
1 นางสาว เพ็ญศรี บุญจุ่น สาระการเรียนร
2 นางสาว วรรษมล วิรุณพันธ์ สาระการเรียนร
3 นาง จิตรเกษม สว่างเดือน สาระการเรียนร
4 นาง นริศรา วรสุทธิ์พิศาล สาระการเรียนร
สังคมศึกษา คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
10. โรงเรียนศรัทธาสมุทร อําเภอเมือง จังหวดสมุทรสงคราม (โรงเรียนมธยมศึกษา สงกัด สพม. เขต 10)
ผูบริหาร
1 นาง ยุบล อันล้ําเลิศ ผู้อํานวยการโรงเรียน *
รายชื่อคณะครูที่ร่วมงานวิจัย
1 นางสาว พัทธ์หท สุขแสงดาว สาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ
2 นางสาว วลัยรัตน์ นาคสมพงษ์ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
3 นาย ธเนศ สมัครไทย สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
4 นางสาว สุทธาทินี ศรีสมุทร สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
11. โรงเรียนทานตะวนไตรภาษา อําเภอเมือง จงหวดสมุทรสาคร (โรงเรียนมธยมศึกษา สังกัด เอกชน) ผูบริหาร
1 นาย สุพจน์ ธนอนเวช ผู้อํานวยการโรงเรียน *
รายชื่อคณะครูที่ร่วมงานวิจัย
1 นางสาว ขวัญธนา จันทร์ชื่น สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
12. โรงเรียนสมุทรสาครวุฒิช
ผู้บริหาร
อําเภอเมือง จังหวดสมทรสาคร (โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด สพม. เขต 10)
1 นาย นพพร สุขวงศ์ ผ รายช่ือคณะครูที่ร่วมงานวิจัย
ํานวยการโรงเรียน *
1 นางสาว ภูมิใจ วิมานจนทร์ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร
2 นางสาว วิไลลักษณ์ จรเขตต์ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร
3 นางสาว นุชจรีย์ หุ่นเจริญ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา
4 นาง นงลักษณ์ รกธรรมม่ัน สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
หมายเหตุ รายชื่อที่ระบุเครื่องหมาย (*) คือผู้ที่ไม่มาเข้าเข้าร่วมประชุม
ภาคผนวก ค ผลของโปสเตอร์ “การออกแบบงานวิจัยเก่ียวกบปลากด” ของครูที่เข้าร่วมโครงการ
โปสเตอร์ | สาระวิชาที่ เก่ียวข้อง | ส่ิงที่ครูสามารถทําได้ | ส่ิงที่ครูต้องปรบั /พฒนา |
โรงเรียนสกลวิสุทธิ์ | วิทยาศาสตร์ | - สามารถระบุปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง กับคําถามท่ีสนใจได้ (ปัจจัยท่ีทํา ใหปลากดเปลี่ยนสี) - สามารถบอก ลํ า ดั บการ ดําเนินการทําวิจยได้ | - คําถามวิจัยท่ีสนใจยังไม่เฉพาะเจาะจง สามารถดําเนินการ วิจัยได้หลายรูปแบบตามตัวแปรต้นท่ีหลากหลาย อาทิ อุณหภูมิ อาหาร สิ่งแวดล้อม ซึ่งในการดําเนินโครงงานวิจัย ของนกเรียนควรเฉพาะเจาะจงมากกว่าน้ี - ควรมีการระบุว่าจะ control การทดลองอย่างไร เพื่อให้ ได้ผลที่ fair |
โรงเรียนท้ายหาด และ โรงเรียนบ้านคลองสมบูรณ์ | วิทยาศาสตร์ | - สามารถระ บุ คําถาม วิ จั ยท่ี เจาะจงได้ (ระบุตัวแปรต้นเพียง 1 ชนิด ในที่น้ีคือ อาหารที่มีผล ต่อการเปลี่ยนสีปลากัด) - วางแผนการดําเนินการวิจัยเป็น ข้ันตอนและระบุการควบคุมการ ทดลองไวด้ วย - ผลท่ีคาดเดาก็เป็นไปในทาง เดียวกับการวางแผนการทดลอง | - ควรหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับอาหารของปลากัด รวมถึง พฤติกรรมการกินอาหารของปลากัด เพื่อนํามาเป็นส่วน หน่ึงในการออกแบบการทดลองให้รัดกุมย่ิงขน้ึ - ควรศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเก่ียวกับอาหารปลากัดท่ีขายอยู่ ทั่วไปในท้องตลาด เพื่อนํามาปรับใช้ในการหาสัดส่วน และ องค์ประกอบของสูตรอาหารที่จะใช้ในการทดลอง |
โปสเตอร์ | สาระวิชาท่ี เกี่ยวข้อง | ส่ิงท่ีครูสามารถทําได้ | ส่ิงท่ีครูต้องปรบั /พัฒนา |
โรงเรียนวัดสวนส้ม | วิทยาศาสตร์ | - สามารถระบุส่ิงท่ีอยากรู้ได้ซึ่ง สามารถพัฒนาเป็นคําถามวิจัย ได้ - พอเห็นภาพของการออกแบบ การวิจัยโดยดูจากมีการควบคุม ตัวแปร | - ควรศึกษาขอมูล และเชื่อมโยงความรู้ทางวิทยาศาสตร์เก่ียว กลไกการควบคุมการทํางานของร่างกายของสัตว์นํ้าจืดและ สัตว์นํ้าเค็มก่อนทําการออกแบบการทดลอง เพราะปลากัด นั้นเป็นปลานํ้าจืดท่ีสามารถพอจะอยู่ในนํ้ากร่อยได้ขึ้นอยู่ กับสายพนธุ์ของเค้า ดงนนั การปรับเปลี่ยนสภาพของน้ําโดย ใช้น้ําจืด น้ําเค็ม นํ้ากร่อย ไม่สามารถตอบคําถามวิจัยที่ตั้ง ไวได้ - ควรระบุตัวแปรตามที่ต้องการวัดให้ชัดเจนกว่านี้ เพื่อให้ สามารถนําผลที่ไดมาเปรียบเทียบเพื่อลงข้อสรุป |
โรงเรียนวดสวนส้ม | วิทยาศาสตร์ | - สามารถตั้งคําถามวิจัยได้ - สา มา รถระ บุ ข้ั นตอนการ ดําเนินการวิจัยได้ และมีการ ระบุเรื่องการทําการทดลองซ้ํา เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีน่าเช่ือถือ สําหรบการลงข้อสรุป - มีการประมาณระยะเวลาที่จะ ดําเนินการวิจัย ซึ่งเก่ียวข้องกับ การวางแผนและออกแบบการ วิจัย | - คําถามวิจัยท่ีต้ังข้ึนยังเป็นคําถามวิจัยที่ไม่แสดงถึงการนํา ความรู้ท่ีได้จากการวิจัยไปใช้ประโยชน์ต่อ ควรศึกษาข้อมูล เพิ่มเติมเพื่อหาแง่มุมของการดําเนินการวิจัยเพื่อนําไปใช้ ประโยชน์ อาทิ ช่วงอายุใดที่เหมาะสมท่ีสุดในการผสมพันธุ์ ปลากัดเพ่ือให้ได้ปลากัดที่มีปริมาณมากและแข็งแรง หรือ ช่วงเวลาใดของปีท่ีเหมาะต่อการผสมพันธ์ุปลากัดแล้วให้ผล ผลิตสูงและดี - ควรมีการระบุว่าจะ control การทดลองอย่างไร เพื่อให้ ได้ผลที่ fair |
โปสเตอร์ | สาระวิชาที่ เกี่ยวข้อง | สิ่งที่ครูสามารถทําได้ | สิ่งที่ครูตองปรบั /พัฒนา |
โรงเรียนดรุณานุกูล | ภาษาไทย | - สามารถออกแบบการวิจัยจาก สิ่งที่อยากรู้ได้อย่างเป็นลําดับ ขนั ตอน - ในข้ันตอนการดําเนินการวิจัย มี การให้ผู้ทําวิจัยตรวจสอบข้อมูล จากหลายแหล่งข้อมูล (จากการ ค้นคว้า จากการสัมภาษณ์) เพื่อ หาข้อสรุปและข้อสังเกตจาก ข้อมูลท่ีได้ ซ่ึงขั้นตอนน้ีจะช่วย ฝึกผู้ดําเนินการวิจัยให้คิดและใช้ วิจารณญาณในการนําข้อมูลท่ีมี ความน่าเชื่อถือไปใช้หรือลง ข้อสรุป | - ควรคํานึงถึงแหล่งท่ีมาในการคนควาข้อมูล - ควรคํานึงถึงการเชื่อมโยงระหว่างสํานวนและปลากัด เพราะมีโอกาสเป็นไปได้ท่ีจะไม่มีการบันทึกไว้เป็นหลักฐาน ชัดเจน หรือหลักฐานที่มีไม่ตรงกัน หรือไม่อธิบายชัดเจน ดังนั้นอาจจะต้องทําการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับชีวิตหรือ พฤติกรรมปลากัดควบคู่ไปด้วย - ควรคํานึงถึงทักษะที่จําเป็นที่จะต้องฝึกให้นักเรียนก่อน ดําเนินโครงงาน อาทิ การสัมภาษณ์อย่างไรจึงจะได้ข้อมูลที่ ต้องการ |
โปสเตอร์ | สาระวิชาที่ เกี่ยวข้อง | ส่ิงท่ีครูสามารถทําได้ | สิ่งที่ครูตองปรบั /พัฒนา |
โรงเรียนบานแพ้ววิทยา (ตี่ตง) | เศรษฐศาสตร์ | - สามารถ ต้ั งคํ าถาม วิ จั ยไ ด้ เฉพาะเจาะจง (ต้องการรู้สาย พันธุ์ที่ขายดีในท้องตลาด) - สามารถวางแผนและออกแบบ วิจัยได้อย่างชัดเจนเป็นลําดับ ขนั ตอน | - ภาพรวมของโครงงานวิจัยช้ินน้ีค่อนข้างใหญ่ ใช้ระยะเวลา นานในการดําเนินการ อย่างไรก็ตาม โครงงานน้ีสามารถ แบ่งการดําเนินงานเป็นโครงงานย่อยๆ ได้อีก อาทิ โครงงานการสํารวจตลาดเพื่อหาสายพันธ์ุที่ขายดีใน ท้องตลาด โครงงานการปรบปรุงสายพนธ์ุปลากัด - ควรคํานึงถึงทักษะที่จําเป็นที่จะต้องฝึกให้นักเรียนก่อน ดําเนินโครงงาน อาทิ การสัมภาษณ์ผู้ประกอบการขายปลา กัดอย่างไรจึงจะได้ขอมูลที่ต้องการ |
โรงเรียนวดดอนมะโนรา โรงเรียนศรทธาสมุทร และโรงเรียนอมพวนวิทยาลัย | เศรษฐศาสตร์ | - สามารถ ตั้ งคํ าถาม วิ จั ยไ ด้ เฉพาะเจาะจง (ต้องการรู้สาย พนธุ์ท่ีขายดีในทองตลาด) - สามารถวางแผนและออกแบบ วิจยได้ | - ควรออกแบบการดําเนินการวิจัยให้ชัดเจนเป็นข้ันตอนท่ี ละเอียดมากขน้ึ - ควรคํานึงถึงแหล่งข้อมูลที่ไปค้นคว้านอกจากอินเตอร์เน็ต ด้วย - ภาพรวมของโครงงานวิจัยช้ินน้ีค่อนข้างใหญ่ ในส่วนของผล ท่ีคาดว่าได้รับ แต่ละข้อสามารถแบ่งเป็นโครงงานวิจัยย่อย ได้เลย โดยหัวข้อโครงงานที่น่าจะเป็นไปได้ คือ (1) โครงงานการสํารวจตลาดเพื่อหาสายพันธุ์ที่ขายดีใน ท้องตลาด และ (2) โครงงานการปรับปรุงสายพันธุ์ปลากัด |
ภาคผนวก ง
ข้อมูลสรุปแนวทางการจัดหองเรียนเพาะพนธุ์ปัญญาของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ
ลําดับ ที่ | โรงเรียน | นักเรียนระดบชั้น | แนวทางการจดการห้องเรียน ต่อสัปดาห์ |
1 | ท้ายหาด | ม.2 = 24 คน ม.3 = 20 คน (ตามหองท่ีครูแกนนํารบผิดชอบ) | ยงั ไม่ระบุ |
2 | อัมพวันวิทยาลัย | ม.2 = 40 คน | คาบสอนปกติ 2 คาบคู่ และคาบเด่ียว 1 คาบ |
3 | ศรัทธาสมุทร | ม.2 = 40 คน (หองพิเศษ) | ยงั ไม่ระบุ |
4 | เทพสุวรรณชาญ วิทยา | ม.1-3 = 30 คน | คาบปกติ (แนะแนว/บําเพ็ญ ประโยชน์/เพศศึกษา) และนอกเวลา |
5 | ดรุณานุกูล | ม.2 = 30 คน | คาบปกติที่ครูพ่ีเลี้ยงรับผิดชอบ |
6 | บ้านคลองสมบูรณ์ | ม.1-3 = 50 คน | 3 คาบติดกนั (วันศุกร์) |
7 | สกลวิสุทธิ | ม.2 = 17 คน ม.3 = 19 คน (นักเรียน ม.3 ส่วนใหญ่จะเรียนต่อท่ีเดิม) | ยงั ไม่ระบุ |
8 | วัดดอนมะโนรา | ม.1-3 = 50 คน | 3 คาบติดกนั |
9 | บ้านแพ้ววิทยา (ต่ีตง) | ม.2 = 47 คน | 3 คาบติดกัน |
10 | ทานตะวนั ไตรภาษา | ม.2 = 25 คน ม.3 = 20 คน | เพิ่มเติมคาบพิเศษ 3 คาบ |
11 | วัดสวนสม้ | ม.1-3 = 38 คน | 3 คาบติดกัน (วันพฤหสบดี) |
59