คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล (ภาษาอังกฤษ) Ramathibodi Fellowship Training in Pain Medicine Curriculum
หลักสูตรและเกณฑ์การฝึกอบรมแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความช˚านาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา)
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๒
๑. ชื่อหลักสูตร
(ภาษาไทย) หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ ความช˚านาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความ ปวด (วิสัญญีวิทยา)
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยxxxxx (ภาษาอังกฤษ) Ramathibodi Fellowship Training in Pain Medicine Curriculum
๒. ชื่อวุฒิบัตร ชื่อเต็ม
(ภาษาไทย) วุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู้ความช˚านาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา)
(ภาษาอังกฤษ) Diploma of the Thai Board of Pain Medicine
ชื่อย่อ
(ภาษาไทย) ว.ว. อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (ภาษาอังกฤษ) Diploma, Thai Board of Pain Medicine ค˚าแสดงxxxxxxxฝึกอบรมท้ายชื่อ
(ภาษาไทย) ว.ว. (อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด) (ภาษาอังกฤษ) Diploma, Thai Board of Pain Medicine
๓. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
หน่วยระงับปวด ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยxxxxx (ภาคผนวก ๑)
๔. พันธกิจของแผนการฝึกอบรม/หลักสูตร
ภาควิชาวิสัญญีวิทยามีการก˚าหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และพันธกิจของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี แล้วน˚ามาก˚าหนดวัตถุประสงค์ และแผนงานของภาควิชาฯ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการด˚าเนินงานตามภารกิจหลักของ ภาควิชาฯ ในด้านการศึกษา การวิจัย การบริการวิชาการ และการดูแลสุขภาพ รวมทั้งมีการ ประเมินและการปรับปรุงแผนงานอย่างต่อเนื่อง
๔.๑ วิสัยทัศน์และพันธกิจของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
๔.๑.๑ วิสัยทัศน์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีเป็นสถาบันทางการแพทย์ชั้นน˚าใน ระดับxxxx
๔.๑.๒ พันธกิจ
จัดการศึกษา สร้างงานวิจัย ให้การบริการวิชาการ และดูแลสุขภาพ เพื่อสุข ภาวะของสังคม
พันธกิจด้านการศึกษา: จัดการศึกษาด้านการแพทย์ พยาบาลและวิทยาศาสตร์ สุขภาพ เพื่อตอบxxxxความต้องการของประเทศ
xxxxxxxxxxxการวิจัย: สร้างงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพ และการน˚าไปประยุกต์ใช้
xxxxxxxxxxxxxxxxxวิชาการ: ให้ความรู้ หรือค˚าปรึกษาทางวิชาการด้าน การแพทย์ พยาบาล และวิทยาศาสตร์สุขภาพ
พันธกิจด้านการดูแลสุขภาพ: ให้การดูแลสุขภาพ (สร้างเสริม ป้องกัน
รักษาพยาบาล แลฟื้นฟูสุขภาพ) ที่มีคุณภาพ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน และการวิจัย
๔.๒ xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
๔.๒.๑ วิสัยทัศน์
ให้บริการดูแลรักษาผู้ป่วยในงานวิสัญญีอย่างมีประสิทธิภาพและคุณภาพใน ระดับแนวหน้าของเอเชีย โดยเน้นบริการในระดับ Tertiary care
๔.๒.๒ พันธกิจ
(๑) ผลิตxxxxxxแพทย์ xxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxประสิทธิภาพ
(๒) สร้างสรรค์งานวิจัยที่มีคุณภาพ และxxxxxxน˚ามาประยุกต์ใช้ได้
(๓) ให้บริการทางวิสัญญี ตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยเน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
(๔) ด˚าเนินการพัฒนาคุณภาพกิจกรรมการให้บริการผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง (๕) ลดภาวะแทรกซ้อนในการให้บริการทางวิสัญญี
(๖) มีการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
๔.๓ พันธกิจของหลักสูตร
“ผลิตxxxxxxวิสัญญีแพทย์อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวดที่มีคุณธรรม จริยธรรม และ มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ พร้อมเรียนรู้และพัฒนาตนอย่างต่อเนื่อง สู่ความเป็นมืออาชีพ และมีความรับผิดชอบต่อสังคมตามความเหมาะสม” เพื่อตอบxxxxความต้องการของชุมชน สังคม และระบบบริการสุขภาพ
ในปัจจุบันการรักษาความปวดเริ่มมีบทบาทส˚าคัญในการดูแลรักษาผู้ป่วยxxxxxxxขึ้น องค์การอนามัยโรคได้นิยามความปวดว่าเป็นสัญญาณชีพที่ 5 และxxxxxxผู้ป่วยมีxxxxxxxxจะได้รับ การบ˚าบัดความปวดที่เหมาะสม ความปวดตามความหมายของ International Association for the Study of Pain (IASP) คือประสบการณ์ของความไม่สบายทั้งด้านความรู้สึกและxxxxxx xxxx xxxxxxxxกับการท˚าลาย หรือมีศักยภาพที่จะท˚าลายเนื้อเยื่อของร่างกาย การจัดการกับความปวดxxx xxxเหมาะสม xxxx การให้ยาระงับปวดxxxxxxxxxxและไม่มีประสิทธิภาพ หรือวิธีการบ˚าxxxxxxไม่ เหมาะสม อาจท˚าให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ และอาจเป็นปัจจัยที่ท˚าให้ผู้ป่วยต้องอยู่ โรงพยาบาลนานขึ้น การบ˚าบัดความปวดที่มีประสิทธิภาพจ˚าเป็นต้องอาศัย ผู้ที่มีความรู้ ความ ช˚านาญ และประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วย เนื่องจากการบ˚าบัดความปวดมีวิธีการหลากหลาย และทีมการดูแลจ˚าเป็นต้องประกอบด้วยสหสาขาวิชาชีพ หลักสูตรอนุสาขาวิชาวิสัญญีวิทยา ส˚าหรับการระงับปวด จะช่วยพัฒนาองค์ความรู้ ทักษะการดูแลรักษา และความช˚านาญของ แพทย์ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ป่วยและผู้ป่วยด˚ารงชีวิตอยู่อย่างมีคุณภาพชีวิต
วิสัญญีแพทย์มีความxxxxxxxxxในการระงับความรู้สึกส˚าหรับการผ่าตัดและการท˚า xxxxxxxต่างๆ รวมทั้งการระงับปวดหลังผ่าตัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ยาแก้ปวดชนิดโอปิ ออยด์และการสกัดกั้นการส่งผ่านกระแสxxxxxxความปวด (Nerve block) ท˚าให้วิสัญญีแพทย์ xxxxxxดูแลผู้ป่วยที่มีความปวดรุนแรงหรือxxxxxxxxxxxx xxxศึกษาฝึกอบรมต่อเนื่องเกี่ยวกับ ความปวดและการระงับปวดจะท˚าให้xxxxxศักยภาพในการดูแลรักษา ในกรณียากและxxxxxxx ขึ้นไปอีกรวมทั้งให้ค˚าปรึกษาและxxxxxxต่อได้อย่างเหมาะสม การฝึกอบรมหลักสูตรนี้ มี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพของxxxxxxxxxxxxxxxสนใจในการดูแลผู้ป่วยที่มีความปวดทั้ง เฉียบพลันและเรื้อรังซึ่งxxxxxx xxxxxxx หรือรักษายาก ในผู้ป่วยปวดทุกชนิด ทุกกลุ่มผู้ป่วย วัย และสาขา โดยxxxxxxได้จ˚ากัดอยู่ในกลุ่มผู้ป่วยหลังผ่าตัดเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อสอดคล้องกับปัญหา ของสังคมและxxxxxxxxxx เมื่อจบการฝึกอบรมแพทย์ฯจะxxxxxxวินิจฉัยสาเหตุและปัจจัยที่ เกี่ยวข้องกับความปวด วางแผนการรักษาร่วมกับคณะผู้ดูแลผู้ป่วยสาขาต่างๆ ผู้ป่วยเองและญาติ
รวมทั้งประเมินผลการรักษาได้ xxxxxxระงับปวดด้วยการใช้ยาแก้ปวดและยาเสริม และการไม่ ใช้ยา (Non-pharmacological pain management) ได้อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการท˚า xxxxxxxระงับปวดทุกรูปแบบ (Interventional pain management) และการแนะด้านจิตใจ xxxxxx สังคมที่เกี่ยวข้อง
นอกจากนี้ผู้รับการฝึกอบรมจะมีความxxxxxxในการท˚าวิจัย การสร้างองค์ความรู้ใหม่ รวมทั้งมีความxxxxxxในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ การท˚างาน ร่วมกับบุคลากรอื่นๆ การท˚างานเป็นกลุ่ม การบริหารจัดการ มีความรู้ความเข้าใจในระบบ สุขภาพ กระบวนการคุณภาพ และความปลอดภัย การบริหารความเสี่ยง เพื่อให้มีการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีความรับผิดชอบ มีจริยธรรม ทัศนคติ และเจตคติxxxxxต่อผู้ป่วย ผู้ร่วมงานและองค์กร
หน่วยระงับปวด ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยxxxxx มีความพร้อมในทุกๆด้าน อาทิxxxx มีบุคลากรที่มีความรู้ ความช˚านาญ เฉพาะด้านในการดูแลบ˚าบัดความปวด มีเครื่องมือและอุปกรณ์ส˚าหรับการตรวจวินิจฉัย และ การรักษาxxxxxxxxxx ตลอดจนมีจ˚านวนผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษามากเพียงพอ ดังนั้นภาควิชา วิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี จึงได้ก˚าหนดหลักสูตรการฝึกอบรมอนุ สาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) เพื่อฝึกอบรมผลิตxxxxxxวิสัญญีแพทย์อนุสาขาเวช ศาสตร์ความปวด ในการตอบxxxxความต้องการของชุมชน สังคม และระบบบริการสุขภาพ
๕. ผลลัพธ์ของแผนการฝึกอบรม/หลักสูตร
แพทย์ที่จบการฝึกอบรมจะมีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์ของแพทยสภา xxxxxx ปฏิบัติงานได้ในทุกส่วนของระบบสุขภาพ และxxxxxxสมัครสอบวุฒิบัตรวิสัญญีวิทยา อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวดได้ มีความรู้ความxxxxxxขั้นต่˚าตามสมรรถนะหลักทั้ง ๖ ด้านตรงตามความต้องการของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย ดังนี้
๕.๑ การดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีความปวด (Patient Care)
๕.๑.๑ มีทักษะในการดูแลผู้ป่วยที่มีความปวด ตั้งแต่การประเมินผู้ป่วย การวินิจฉัย และการรักษาแบบองค์รวม และการดูแลอย่างต่อเนื่อง
๕.๒ ความรู้ ความxxxxxxxxxและความxxxxxxในการน˚าไปใช้แก้ปัญหาของผู้ป่วยที่มีความ
ปวดทุกวัยและสังคมรอบด้าน (Medical knowledge and Skills)
๕.๒.๑ มีความรู้พื้นฐานในการบ˚าบัดความปวดทุกวิธี
๕.๒.๒ มีทักษะด้านวิสัญญีในการบ˚าบัดความปวด
๕.๓ การเรียนรู้จากการปฏิบัติ และการพัฒนาตนเอง (Practice-based Learning and Improvement)
๕.๓.๑ มีความคิดสร้างสรรค์ตามหลักวิทยาศาสตร์ในการสร้างความรู้ใหม่และพัฒนา ระบบบริการสุขภาพ
๕.๓.๒ ด˚าเนินการวิจัยทางการแพทย์และสาธารณสุขได้
๕.๓.๓ วิพากษ์บทความและงานวิจัยทางการแพทย์
๕.๓.๔ เรียนรู้และxxxxxประสบการณ์ได้ด้วยตนเองจากการปฏิบัติ
๕.๓.๕ มีเจตนารมณ์และxxxxxxxxxxxxxxจะเรียนรู้ตลอดชีวิต เข้าร่วมในกิจกรรม การศึกษาต่อเนื่อง (CME) หรือ การพัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง (CPD)
๕.๔ ทักษะปฏิสัมพันธ์ และการสื่อสาร (Interpersonal and Communication Skills)
๕.๔.๑ น˚าเสนอข้อมูลผู้ป่วยที่มีอาการปวด และอภิปรายปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ
๕.๔.๒ ถ่ายทอดความรู้และทักษะ ให้แพทย์ประจ˚าบ้าน นักศึกษาแพทย์ และบุคลากร ทางการแพทย์
๕.๔.๓ สื่อสารให้ข้อมูลแก่ญาติ และผู้ป่วย ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ โดยxxxxxxx เคารพการตัดสินใจและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
๕.๔.๔ มีxxxxxxxxxxxxxxxxดี ท˚างานกับผู้ร่วมงานทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ
๕.๔.๕ เป็นที่ปรึกษาและให้ค˚าแนะน˚าแก่แพทย์และบุคคลากรอื่น โดยเฉพาะทางอนุ สาขาเวชศาสตร์ความปวด
๕.๕ ความเป็นมืออาชีพ (Professionalism)
๕.๕.๑ มีคุณธรรมจริยธรรมและxxxxxxxxxxxต่อผู้ป่วยญาติผู้ร่วมงานเพื่อนร่วมวิชาชีพ และชุมชน
๕.๕.๒ มีทักษะxxxxxxxไม่ใช่เทคนิค (non-technical skills) และxxxxxxบริหารจัดการ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องได้เหมาะสม
๕.๕.๓ มีความสนใจใฝ่รู้และxxxxxxพัฒนาไปสู่ความเป็นผู้เรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต (Continuous Professional Development)
๕.๕.๔ มีความรับผิดชอบต่องานxxxxxxรับมอบหมาย
๕.๕.๕ ค˚านึงถึงxxxxxxxxxxส่วนรวม
๕.๖ การปฏิบัติงานให้เข้ากับระบบ (System-based Practice)
๕.๖.๑ มีความรู้เกี่ยวกับระบบสุขภาพของประเทศ
๕.๖.๒ มีความรู้และมีส่วนร่วมในระบบพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีอาการ ปวด
๕.๖.๓ ใช้ทรัพยากรสุขภาพอย่างเหมาะสม (Cost Consciousness Medicine) และ xxxxxxปรับเปลี่ยนการดูแลรักษาผู้ป่วยให้เข้ากับบริบทของการบริการ สาธารณสุขได้ตามมาตรฐานวิชาชีพ
๖. แผนการฝึกอบรม/หลักสูตร
๖.๑ เนื้อหาของการฝึกอบรม/หลักสูตร
เนื้อหาของการฝึกอบรมเป็นไปตามหลักสูตรและเกณฑ์การฝึกอบรมแพทย์ ประจ˚าบ้านเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความช˚านาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศ ไทย ฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกอบด้วย
๖.๑.๑ ความรู้พื้นฐานของการบ˚าบัดความปวดและระบบที่เกี่ยวข้อง ทั้ง basic sciences
และ clinical science ตามหลักสูตรและเกณฑ์การฝึกอบรมแพทย์ประจ˚าบ้าน xxxxxxเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความช˚านาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (xxxxxxxxxxxx) xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
ประเทศไทย ฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๒ (ภาคผนวก ๒)
๖.๑.๒ โรคหรือภาวะของผู้ป่วย แบ่งเป็น
ระดับที่ ๑ กลุ่มอาการปวดที่พบบ่อย และ/หรือ มีความส˚าคัญ ซึ่งแพทย์ ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องดูแลรักษาได้ด้วยตนเอง
ระดับที่ ๒ กลุ่มอาการปวดที่พบบ่อย และ/หรือ มีความส˚าคัญ ที่พบน้อยกว่า
ระดับ ๑ และมีความส˚าคัญ ซึ่งแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx ควร ดูแลรักษาได้ ภายใต้การควบคุมของอาจารย์
ระดับที่ ๓ กลุ่มอาการปวดที่พบบ่อย และ/หรือ มีความส˚าคัญ ที่พบน้อยกว่า
ระดับ ๑ และมีความส˚าคัญซึ่งแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx อาจ ดูแลรักษาได้ หรือ xxxxxxเรียนรู้โดยการศึกษาด้วยตนเอง หรือฟังบรรยาย และสถาบันฝึกอบรม ควรจัดให้มีการเรียนรู้โรคในกลุ่มนี้อย่างพอเพียงตามที่ก˚าหนดใน clinical skills ด้านต่างๆ ของหลักสูตรและเกณฑ์การฝึกอบรมแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxเพื่อ วุฒิบัตรแสดงความรู้ความช˚านาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขา เวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย ฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๒ (ภาคผนวก ๓)
๖.๑.๓ xxxxxxxทางวิสัญญีวิทยาในการบ˚าบัดปวด แบ่งเป็น
ระดับที่ ๑ xxxxxxxxxxแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องท˚าได้ด้วยตนเอง
ระดับที่ ๒ xxxxxxxxxxแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx ควรท˚าได้ (ท˚าภายใต้การ ดูแลของผู้เชี่ยวชาญ)
ระดับที่ ๓ xxxxxxxxxxแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx อาจท˚าได้ (ช่วยท˚าหรือได้
เห็น)
ตามที่ก˚าหนดใน procedural skills ด้านต่างๆ ของหลักสูตรและเกณฑ์การ ฝึกอบรมแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความช˚านาญ ใน การประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (xxxxxxxxxxxx) xxxxxxxxxxxวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย ฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๒ (ภาคผนวก ๔)
๖.๑.๔ การท˚าวิจัย
ขั้นตอนการท˚างานวิจัย เพื่อวุฒิบัตร อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) ราช วิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย ฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๒ (ภาคผนวก ๕)
๖.๑.๔.๑ การท˚างานวิจัย
แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องท˚างานวิจัย ได้แก่ งานวิจัยแบบ retrospective, prospective หรือ cross sectional อย่างน้อย ๑ เรื่อง หรือท˚า systematic review หรือ meta-analysis ๑ เรื่อง ในระหว่างการปฏิบัติงาน ๒ ปี โดยเป็นผู้วิจัยหลัก/ร่วม งานวิจัย ดังกล่าวต้องประกอบด้วยหัวข้อหลักดังนี้
- xxxxxxxxxxของการวิจัย
- วิธีการวิจัย
- ผลการวิจัย
- xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
- บทคัดย่อ
๖.๑.๔.๒ ขอบเขตความรับผิดชอบ
เนื่องจากความxxxxxxในการท˚าวิจัยด้วยตนเองเป็นสมรรถนะหนึ่งที่แพทย์
ประจ˚าบ้านxxxxxxอนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) ต้องxxxxxตาม หลักสูตรฯฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๒ และผลงานวิจัยฉบับxxxxxxxเป็นองค์ประกอบ หนึ่งของการประเมินคุณสมบัติผู้ที่จะได้รับวุฒิบัตรฯเมื่อสิ้นสุดการฝึกอบรม ดังนั้น หลักสูตรการอบรมจะรับผิดชอบการเตรียมความพร้อมให้กับแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx ในการจัดเตรียมโครงร่างการวิจัยไปจนสิ้นสุดการท˚างานวิจัยและจัดท˚ารายงานวิจัย
ฉบับxxxxxxxเพื่อน˚าส่งราชวิทยาลัยฯ ทั้งนี้สถาบันฝึกอบรมจะรายงานชื่องานวิจัย xxxxxxxxxxปรึกษา และความคืบหน้าของงานวิจัย ตามกรอบเวลาที่ก˚าหนดไปยังราช วิทยาลัยฯ เพื่อให้มีการก˚ากับดูแลอย่างทั่วถึง
๖.๑.๔.๓ คุณลักษณะของงานวิจัย
๖.๑.๔.๓.๑ เป็นผลงานที่ริเริ่มใหม่หรือเป็นงานวิจัยที่ใช้xxxxxxxxxมี
การศึกษาxxxxxxทั้งในและต่างประเทศแต่น˚ามาดัดแปลงหรือท˚าซ้˚าใน บริบทของสถาบัน
๖.๑.๔.๓.๒ แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxและอาจารย์ผู้ด˚าเนินงานวิจัยทุกxx xxxผ่านการอบรมด้านจริยธรรมการวิจัยในคน และ good clinical practice (GCP)
๖.๑.๔.๓.๓ งานวิจัยทุกเรื่องต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยฯของสถาบัน
๖.๑.๔.๓.๔ งานวิจัยทุกเรื่อง ควรด˚าเนินภายใต้ข้อก˚าหนดของ GCP หรือ xxxxxxxวิจัยที่ถูกต้องและเหมาะสมกับค˚าถามวิจัย
๖.๑.๔.๓.๕ ใช้ภาษาอังกฤษในการน˚าเสนอผลงานวิจัยฉบับxxxxxxx โดยเฉพาะในบทคัดย่อ
๖.๑.๔.๔ สิ่งที่ต้องปฏิบัติส˚าหรับการด˚าเนินการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย
๖.๑.๔.๔.๑ หลังได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย แล้ว ต้องด˚าเนินการท˚าวิจัยตามข้อตกลงโดยเคร่งครัด
๖.๑.๔.๔.๒ เมื่อมีการลงนามในเอกสารชี้แจงผู้ป่วยหรือผู้แทนเพื่อให้ ยินยอมเข้าร่วมวิจัย ต้องให้ส˚าเนาแก่ผู้ป่วยหรือผู้แทนxxxxxxx 1 ชุด
๖.๑.๔ .๔ .๓ ให้ระบุ ในเวชระเบียน ผู้ ป่ วยนอกหรือผู้ป่ วยในถึง สถานการณ์เข้าร่วมงานวิจัยของผู้ป่วย
๖.๑.๔.๔.๔ การตรวจหรือรักษาเพิ่มเติมจากโครงการวิจัยที่ผ่านการ อนุมัติแล้ว โดยการกระท˚าดังกล่าวxxxxxxเป็นส่วนหนึ่งของการดูแลรักษา ผู้ป่วยตามxxxx xxxxxxxxxท˚าxxxxxxว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น ยกเว้นได้มีการ ระบุและอนุมัติในโครงการวิจัยแล้ว และผู้วิจัยหรือคณะผู้วิจัยต้องเป็น ผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งทางตรงและทางอ้อมที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยและ ผู้ดูแลผู้ป่วย
๖.๑.๔.๔.๕ กรณีที่โครงการวิจัยก˚าหนดให้ท˚าการตรวจหรือรักษาที่ เพิ่มเติมจากการดูแลรักษาผู้ป่วยตามxxxx หากมีผลลัพธ์xxxxxxส่งผลต่อ ประโยชน์ให้การดูรักษาผู้ป่วย ให้ด˚าเนินการแจ้งคณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยเพื่อวางแผนแจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบต่อไป
๖.๑.๔.๔.๖ หากเกิดกรณีอื่นนอกเหนือการคาดการณ์ ให้รีบปรึกษา xxxxxxxxxxปรึกษาโครงการวิจัย หรือคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย
กรณีxxxxxxxxxxxxปรึกษาได้ ให้ย้อนกลับไปใช้หลักพื้นฐาน ๓ ข้อ ของ จริยธรรมทางการแพทย์ในการตัดสินใจ คือ
๖.๑.๔.๔.๖.๑ การถือประโยชน์สุขของผู้ป่วยเป็นหลัก และการไม่ ก่อให้เกิดความทุกข์ทรมานกับผู้ป่วย
๖.๑.๔.๔.๖.๒ การเคารพxxxxxของผู้ป่วย
๖.๑.๔.๔.๖.๓ การยึดมั่นในหลักความxxxxxxxของทุกคนใน สังคมที่จะได้รับบริการทางการแพทย์ตามมาตรฐาน
๖.๑.๔.๕ กรอบการด˚าเนินงานวิจัยในเวลา ๒ ปี (๒๔ เดือนของการฝึกอบรม) ระยะเวลาประมาณการมีดังนี้
เดือนที่ | ประเภทกิจกรรม |
๖ | จัดเตรียมค˚าถามวิจัยและติดต่อxxxxxxxxxxปรึกษาและจัดท˚าโครงร่างงานวิจัย |
๙ | สอบโครงร่างงานวิจัยและขออนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยและขอทุน สนับสนุนงานวิจัยจากแหล่งทุนทั้งภายในและนอกสถาบัน (ถ้าต้องการ) |
๙-๑๒ | เริ่มเก็บข้อมูลและน˚าเสนอความคืบหน้างานวิจัย |
๑๒-๑๘ | วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลงานวิจัย |
๑๘ | จัดท˚ารายงานวิจัยฉบับร่างให้xxxxxxxxxxปรึกษาปรับแก้ไข |
๒๔ | ส่งรายงานวิจัยฉบับxxxxxxxต่อสถาบัน เพื่อส่งต่อไปยังราชวิทยาลัยฯ ให้ท˚าการ ประเมินผล ส˚าหรับประกอบคุณสมบัติการเข้าสอบเพื่อวุฒิบัตรภาคปฏิบัติขั้น สุดท้าย |
๖.๑.๕ การเรียนรู้ทางด้านบูรณาการ ประกอบด้วย
๖.๑.๕.๑ ทักษะปฏิสัมพันธ์ และการสื่อสาร (Interpersonal and Communication Skills ได้แก่
- การสื่อสารและการสร้างความxxxxxxxxxxxดีระหว่างแพทย์ ผู้ร่วมงาน ผู้ป่วยและญาติ
- การบอกข่าวร้าย
- ปัจจัยxxxxxxxxความxxxxxxxxxxxดีระหว่างแพทย์และผู้ป่วย
- การบริหารจัดการ difficult case
- การตระหนักรู้พื้นฐานความเชื่อทางสุขภาพที่ต่างกัน
๖.๑.๕.๒ ความเป็นมืออาชีพ (Professionalism)
- การบริบาลโดยมีผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (patient-center care)
- การยึดถือประโยชน์ของผู้ป่วยเป็นหลัก
- การรักษาความน่าเชื่อถือแก่ผู้ป่วย สังคม โดยการรักษา มาตรฐานการดูแลรักษาผู้ป่วยให้ดีที่สุด
- การให้เกียรติและยอมรับเพื่อนร่วมวิชาชีพ เพื่อนร่วมงาน ผู้ป่วย
และญาติ
- ความxxxxxxในการปรับตัวให้เข้ากับสภาวะหรือเหตุการณ์xxx
xxxได้คาดคิดไว้ก่อน
- พฤตินิสัย
- ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์ และมีxxxxx
- การแต่งxxxให้เหมาะสมกับกาลเทศะ
- จริยธรรมทางการแพทย์
- การหลีกเลี่ยงการxxxxxประโยชน์ส่วนตัวในทุกกรณีการนับถือ ให้เกียรติ xxxxx และรับฟังความเห็นของผู้ป่วย ในกรณีผู้ป่วยไม่เห็นด้วยกับ การ รักษาหรือปฏิเสธการรักษา กรณีญาติและผู้ป่วยร้องขอตามxxxxxผู้ป่วย
- การขอความยินยอมจากผู้ป่วยและผู้xxxxxxในการดูแลรักษา
และxxxxxxx
- การปฏิบัติในกรณีที่ผู้xxxxxxร้องขอการรักษาที่ไม่มี
ประโยชน์หรือมีอันตราย
- การรักษาความลับและการเปิดเผยข้อมูลผู้ป่วย
- การประเมินขีดความxxxxxx และยอมรับข้อผิดพลาดของ
ตนเอง
- การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
- การก˚าหนดความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง
- การค้นคว้าความรู้ และประเมินความน่าเชื่อถือได้ด้วยตนเอง
- การประยุกต์ความรู้ที่ค้นคว้ากับปัญหาของผู้ป่วยได้
อย่างเหมาะสม
- การวิเคราะห์และวิจารณ์บทความทางวิชาการ
- การเข้าร่วมกิจกรรมวิชาการอย่างสม่˚าเสมอ
- การใช้ electronic databases และการใช้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ในการเรียนรู้
- การถ่ายทอดความรู้แก่แพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ ผู้ป่วย ผู้xxxxxxและญาติ
๖.๑.๕.๓ การปฏิบัติงานให้เข้ากับระบบ (System-based practice)
- ความรู้เกี่ยวกับระบบสุขภาพและการพัฒนาสาธารณสุขของชาติ
- ความรู้เกี่ยวกับระบบประกันสุขภาพ xxxx ระบบประกันสุขภาพ ระบบ ประกันสังคม ระบบสวัสดิการการรักษาพยาบาลของข้าราชการ เป็นต้นความรู้
เกี่ยวกับการประกันคุณภาพ และกระบวนการ hospital accreditation การประเมิน ประสิทธิภาพและxxxxxxxxxxของการดูแลรักษา
- ความรู้เกี่ยวกับ cost consciousness medicine xxxx นโยบายการใช้ยา ระดับชาติ บัญชียาหลักแห่งชาติ การใช้ยาอย่างสมเหตุผล เป็นต้น
- ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทางการแพทย์
๖.๑.๕.๔ การพัฒนาตนเองและการเรียนรู้จากการปฏิบัติ
- ทักษะและจริยธรรมในการวิจัย
- การดูแลรักษาผู้ป่วยแบบทีมสหวิชาชีพ
- การใช้ยาและทรัพยากรอย่างสมเหตุผล
- การบันทึกเวชระเบียนครบถ้วนถูกต้อง
- การประเมินความxxxxของผู้ป่วย
- การมีส่วนร่วมในองค์กร xxxx ภาควิชา/แผนก/กลุ่มงาน โรงพยาบาล/สถาบัน ราชวิทยาลัย เป็นต้น
๖.๒ วิธีการให้การฝึกอบรม
เนื่องจากอนุสาขาการระงับปวด เป็นสาขาวิชาทางการแพทย์เฉพาะทางที่ต้อง อาศัยความรู้อย่างกว้างขวางและลึกซึ้ง ร่วมกับความxxxxxxในการท˚าxxxxxxxxxx
xxxxxxและxxxxxxx ในการประเมิน การวินิจฉัยและการบ˚าบัดผู้ป่วยที่มีอาการปวด ทั้งปวดเฉียบพลัน ปวดเรื้อรัง ปวดพยาธิสภาพระบบxxxxxx ปวดจากมะเร็ง และการ ดูแลความปวดในผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต แพทย์ผู้เข้าฝึกอบรมผู้เชี่ยวชาญอนุสาขา การระงับปวดจึงควรมีความรู้ครอบคลุมเนื้อหาดังกล่าวทั้งในด้านทฤษฎีและปฏิบัติ
นอกจากความรู้และทักษะด้านการระงับปวดแล้ว แพทย์อนุสาขาการระงับปวด ควรมีความxxxxxxด้านอื่นๆ ที่ส˚าคัญ ได้แก่ ความxxxxxxในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ความxxxxxxด้านการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ การสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ การท˚างาน เป็นทีม การบริหารจัดการ ความรู้ความเข้าใจในระบบสุขภาพ กระบวนการคุณภาพ และความปลอดภัยเพื่อให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีความรับผิดชอบ มี จริยธรรม ทัศนคติ และเจตคติxxxxxต่อผู้ป่วย ผู้ร่วมงาน และองค์กร เพื่อก่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อการบริการทางวิสัญญี
ดังนั้นการเรียนxxxxxxxxเพียงอย่างเดียว จึงxxxxxxxxxxต่อการน˚าไปปฏิบัติงาน จริงเมื่อจบการฝึกอบรม การเรียนรู้xxxxxxxxxxxxxมีความส˚าคัญเป็นอย่างมากที่จะท˚าให้ xxxxxxxน˚าความรู้ทางทฤษฎีและประสบการณ์มาปรับใช้ ให้ได้ประโยชน์สูงสุด ดังนั้นภาควิชาฯ จึงจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxทั้ง xxxxxxxxและปฏิบัติ ดังนี้
๖.๒.๑ xxxxxxxx
ส˚าหรับแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxชั้นปีที่ ๑
หัวข้อ | จ˚านวน | ช่วงเวลาที่จัด | ผู้จัด |
Topic discussion: Pain fellowshiop program | ๔๘ ครั้ง | xxxxxx ๑๓.๐๐- ๑๔.๓๐ น. และxxxxxxxxx xxx ๒ ของ เดือน | หน่วยระงับ ปวด |
Essential Contents of Evidence- based Medicine (EBM) for pain fellow | ๙-๑๐ วัน | xxxxxx | อฝส |
การพัฒนาทักษะเบื้องต้นในการ | ๒ วัน | กลาง | คณะฯ |
ปฐมนิเทศแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx | กรกฎาคม | ||
อบรมเชิงปฏิบัติการช่วยชีวิตชั้นสูง (ACLS provider) | ๒ วัน | ตามเวลาที่ คณะก˚าหนด ช่วงต้นปี การศึกษา | คณะ ฯ |
กฎหมายและจริยธรรมทางการแพทย์ | ๔ ช.ม. | ตามที่ อฝส ก˚าหนด | อฝส |
โครงการฝึกอบรมการพัฒนาทักษะ ชีวิตในการท˚างานและสังคม (Workshop and Online program for Professional and personal skills development) | ๕ ครั้ง (ตาม เกณฑ์ของคณะ) | ตามตาราง คณะฯ | คณะฯ |
Interhospital acute pain teleconference | ๑๒ ครั้ง | ๑ ครั้งต่อ เดือน เวลา ๒ ชั่วโมง | ๖ สถาบัน |
ส˚าหรับแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxชั้นปีที่ ๒
หัวข้อ | จ˚านวน | ช่วงเวลาที่จัด | ผู้จัด |
Topic discussion: Pain fellowshiop program | ๔๘ ครั้ง | xxxxxx ๑๓.๐๐- ๑๔.๓๐ น. และxxxxxxxxx xxx ๒ ของ เดือน | หน่วยระงับ ปวด |
Interhospital acute pain teleconference | ๑๒ ครั้ง | ๑ ครั้งต่อ เดือน เวลา ๒ ชั่วโมง | ๖ สถาบัน |
ส˚าหรับแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxทุกชั้นปี (กิจกรรมเสริมหลักสูตร)
หัวข้อ | จ˚านวน | ช่วงเวลาที่จัด | ผู้จัด |
Problem solving | ๑๒ ชั่วโมง | ๗.๓๐-๘.๓๐ ตามตาราง activity ของ ภาควิชา ฯ | ภาควิชา ฯ |
Interesting case | ๑๕ ชั่วโมง | ||
journal club | ๒๐-๒๕ ชั่วโมง | ||
Inhalation review | ๖ ชั่วโมง | ||
Topic review | ๘ ชั่วโมง | ||
ICU review | ๖ ชั่วโมง | ||
Review article | ๑๓-๑๖ ชั่วโมง | ||
MMC | ๑๒ ชั่วโมง | ||
HA | ๑๒ ชั่วโมง | ||
Anesth-Neuro conference | ๔-๕ ชั่วโมง | ||
Research appraisal | ๘ ชั่วโมง | ||
Paper award | ๓ ชั่วโมง | ||
Staff lecture | ๑๒ ชั่วโมง | ||
Guest lecture | ๑๒ ชั่วโมง | ||
การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Anesthesia non-technical skills | ๑ ครั้ง | ตามxxxxxx ก˚าหนด | |
การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Communication skills | ๑ ครั้ง | ||
การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Difficult airway mangement | ๑ ครั้ง | ||
ประชุมวิชาการประจ˚าปีของราช วิทยาลัยฯและสมาคมการศึกษาเรื่อง ความปวดแห่งประเทศไทย | ๔ ครั้ง | ราชวิทยาลัย และสมาคม ฯ | |
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบสุขภาพ และเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข | หัวข้อละ ๑ ครั้ง ตลอดหลักสูตร | ตามxxxxxx ก˚าหนด | ราช วิทยาลัยฯ หรือหน่วย ระงับปวด |
หัวข้อหลักส˚าหรับ guest lecture และ staff lecture ในแต่ละปีจะ
ครอบคลุมหัวข้อ กฎหมายทางการแพทย์ จริยธรรมทางการแพทย์ การแพทย์ ทางเลือก การดูแลตนเองของแพทย์ ความรู้ทั่วไปxxxxxxxxxx และ/หรือระบบ สาธารณสุข อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้งต่อเรื่อง
ตลอดการฝึกอบรม ๒ ปี แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxจะต้องผ่านการเกณฑ์ ประเมินในการน˚าเสนอกิจกรรมทางวิชาการจ˚านวนขั้นต่˚าโดยเป็นผู้น˚าเสนอใน Topic discussion: Pain fellowshiop program ๒๐ ครั้งต่อผู้ฝึกอบรมชั้นปีที่ ๑
และ ๑ ครั้งต่อผู้ฝึกอบรมชั้นปีที่ ๒
๖.๒.๒ ภาคปฏิบัติ
แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxจะได้หมุนเวียนปฏิบัติงานในหน่วยต่าง ๆ ในแต่ ละชั้นปี ตามตาราง โดยจัดให้แพทย์ประจ˚าบ้านมีสมรรถนะในการดูแลรักษา ผู้ป่วยxxxxxขึ้นตามศักยภาพของชั้นปีที่สูงขึ้นดังตาราง
ชั้นปี ๑ | ชั้นปี ๒ | |
Chronic intractable pain | ๘ เดือน | ๔ เดือน |
Acute pain service (APS) | ๑ เดือน | ๑ เดือน |
Regional anesthesia (RA) | ๐.๕ เดือน | - |
Psychiatry | ๑ เดือน | - |
PM&R | ๑ เดือน | - |
Neurology | ๐.๕ เดือน | - |
Palliative medicine | - | ๐.๕ เดือน |
Geriatric medicine | - | ๐.๕ เดือน |
Pain ม.เชียงใหม่ | - | ๑ เดือน |
Palliative care ม.ขอนแก่น | - | ๑ เดือน |
Elective xxxxx | - | ๒ เดือน |
Research | - | ๒ เดือน |
๖.๓ จ˚านวนปีการฝึกอบรม มีระยะเวลา ๒ ปี
๖.๔ การบริหารการจัดการฝึกอบรม
ในการบริหารการจัดการฝึกอบรม ภาควิชา ฯ รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และมี ผลต่อการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร ทั้งจากปัจจัยภายนอก xxxx ความคาดxxxxของ xxxxxxและผู้ใช้xxxxxx กฎxxxxxxxจากแพทยสภา ราชวิทยาลัย ฯ กฎหมาย เศรษฐกิจ สังคม และปัจจัยภายใน xxxx นโยบายภาควิชา ฯ ทรัพยากร core competency รวมถึง xxxxxxxxxxของมหาวิทยาลัยxxxxx และคณะ ฯ มาเป็นกรอบในการจัดท˚าและบริหาร หลักสูตร โดยมีคณะกรรมการควบคุมดูแลการฝึกอบรมแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx (ภาคผนวก ๑) ซึ่งประกอบไปด้วย
๑) ประธานหลักสูตร ซึ่งมีประสบการณ์ปฏิบัติงานในสาขาเวชศาสตร์ความ ปวดมาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี
๒) กรรมการหลักสูตร
๓) หัวหน้าแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxแต่ละชั้นปี
เป็นผู้มีหน้าที่รับผิดชอบและอ˚านาจในการจัดการ xxxxxxงาน บริหาร และ ประเมินผลหลักสูตร
๖.๕ สภาวะการปฏิบัติงาน
๖.๕.๑ กิจกรรมทางวิชาการ ภาควิชา ฯ สนับสนุนให้แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxเข้าร่วม กิจกรรมทางวิชาการ xxxxxxxจัดขึ้นเองในภาควิชา ฯ จัดโดยคณะ ฯ จัดโดยราช วิทยาลัย ฯ หรือจัดโดยสมาคม ดังตาราง
เวลา/วัน | จันทร์ | xxxxxx | พุธ | xxxxx | ศุกร์ |
๗:๓๐ – ๘:๓๐ น. | กิจกรรมทางวิชาการส˚าหรับแพทย์ประจ˚าบ้าน และแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxทุกชั้นปี | ||||
๙:๐๐ – ๑๒:๐๐ น. | |||||
๑๓:๐๐ – ๑๔:๓๐ น. | Topic discussion: Pain fellowshiop program | Topic discussion: Pain fellowshiop program Interhospital acute pain conference (สัปดาห์ที่ ๒) |
๖.๕.๒ การปฏิบัติงานในเวลาราชการ แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxที่อยู่ในช่วงปฏิบัติงาน ในหน่วยระงับปวด จะถูกจัดให้ปฏิบัติงานในคลินิกระงับปวดหรือสถานที่ ต่างๆ ตาม rotation ที่ก˚าหนดไว้ โดยรับผิดชอบงานxxxxxxรับมอบหมายระหว่าง เวลา ๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. ภายใต้การดูแลของอาจารย์ระงับปวดประจ˚าวัน แพทย์ ประจ˚าบ้านxxxxxxชั้นปีที่ ๑ จะต้องปฏิบัติงานภายใต้การก˚ากับดูแลของอาจารย์ ในช่วง ๑ เดือนแรก หลังจากนั้น แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxจะได้รับการก˚ากับ ดูแลตามความxxxxxxของแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxอิงตามผลการประเมิน EPA/DOP ของแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx ความxxxxxxxของผู้ป่วย และการ ผ่าตัด
แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxมีหน้าที่ประเมินผู้ป่วยนอกที่คลินิกระงับปวด วางแผนการให้การระงับความรู้สึกด้วยตนเองก่อนรายงานอาจารย์ทราบ รวมทั้งประเมินผู้ป่วยในที่รับปรึกษาใหม่ รวมทั้งวางแผนการดูแลผู้ป่วย ร่วมกับอาจารย์อีกครั้ง และมีหน้าที่เยี่ยมผู้ป่วยในที่รับดูแลอยู่และรายงานความ คืบหน้าของผลการรักษาและความเปลี่ยนแปลงให้อาจารย์ประจ˚าวันทราบเพื่อ ปรับแผนการรักษาให้เหมาะสมต่อไป
๖.๕.๓ การxxxxxxxนอกเวลาราชการ ภาควิชา ฯ ก˚าหนดให้แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxแต่ ละชั้นปีxxxxxxxนอกเวลาราชการ (ภาคผนวก ๖) แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxมี หน้าที่ดูแลผู้ป่วยในที่มีความปวดเรื้อรังที่รับปรึกษาไว้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ยังเป็นที่ปรึกษาของแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxxxxxxxxxxปฏิบัติงานในหน่วยระงับ ปวด และรับปรึกษาผู้ป่วยรายใหม่จากแผนกต่างๆ
ในบางกรณีอาจมีผู้ป่วยปรึกษาใหม่นอกเวลาราชการซึ่งอาจต้องการการดูแลที่ มีความเร่งด่วน แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxที่รับปรึกษาและได้ท˚าการดูแลรักษา ผู้ป่วยดังกล่าวนอกเวลาราชการ xxxxxxเบิกค่าตอบแทนได้เป็นครั้งๆไป
๖.๕.๔ xxxxxxxxลา แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxมีxxxxxxxป่วย ลากิจ ลาพักผ่อน รวม
ทั้งสิ้น
ไม่เกิน ๑๐ วันต่อปี ในกรณีที่แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxหมุนเวียนไปปฏิบัติงาน ในสถาบันสมทบอื่น/ภาควิชาอื่นๆ จะต้องมีวันปฏิบัติงานไม่น้อยกว่าร้อยละ
๘๐ ของเวลาปฏิบัติงานในสถาบันสมทบ/ภาควิชานั้นๆ ในกรณีที่มีความ จ˚าเป็นอื่น xxxx เจ็บป่วยรุนแรง xxxxxxxxxxเพิ่มเติมได้ตามดุลพินิจของ
คณะกรรมการควบคุมดูแล ฯ ทั้งนี้ต้องผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรไม่น้อย กว่าร้อยละ ๘๐ จึงจะมีxxxxxเข้าสอบเพื่อวุฒิบัตร ฯ
๖.๖ การวัดและประเมินผล
เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตรของราชวิทยาลัยฯ ภาควิชาจัดให้มีการประเมิน แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxคลอบคลุมทั้งด้านความรู้ ทักษะ เจตคติ และกิจกรรม
ทางการแพทย์ในมิติต่างๆดังนี้
มิติที่ ๑ ประเมินสมรรถนะ EPA ตามที่ อฝส.ก˚าหนดโดยอาจารย์ (ภาคxxxxxxx ๗)
มิติที่ ๒ การรายงานผลการสอบจัดโดยสถาบัน (ผ่าน/ไม่ผ่าน) มิติที่ ๓ การรายงานประสบการณ์เรียนรู้จากผู้ป่วย xxxx portfolio มิติที่ ๔ การรายงานความxxxxxxxxงานวิจัย
มิติที่ ๕ การร่วมกิจกรรมประชุมวิชาการของ Pain medicine
มิติที่ ๖ การประเมินสมรรถนะด้าน professionalism และ interpersonal and communication skills โดยอาจารย์และผู้ร่วมxxx
xxxประเมินผลเหล่านี้แบ่งเป็น formative evaluation คือการประเมินระหว่าง การเรียนการสอนในแต่ละชั้นปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและกระตุ้นการเรียนรู้ ของแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx ประกอบด้วย การประเมิน EPA, DOP, ๓๖๐, portfolio, การน˚าเสนอกิจกรรมทางวิชาการของแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx และแบบประเมิน ความxxxxxxxxของงานวิจัย และ summative evaluation เป็นการประเมินเมื่อสิ้นสุดการ เรียนรู้ในแต่ละชั้นปีเพื่อตัดสินผลการเรียนและพิจารณาเลื่อนชั้นและส่งชื่อให้เข้าสอบ เพื่อวุฒิบัตรฯ ประกอบด้วย การสอบกลางปีและการสอบปลายปี
๖.๖.๑ การวัดและประเมินผลระหว่างการฝึกอบรมและการเลื่อนชั้นปี
๖.๖.๑.๑ การประเมินระหว่างฝึกอบรม
๑) การประเมินความรู้ ประเมินความรู้ด้านการระงับปวด ตามเนื้อหา สังเขปดังภาคผนวก ๒, ๓ และ ๔ โดยการสอบ ได้แก่
๑.๑) สอบกลางปี เป็นการสอบข้อสอบ MCQ และ short answer question (SAQ)
๑.๒) สอบปลายปี ประกอบด้วยข้อสอบ MCQ และ essay
๒) การประเมินทักษะ ประกอบด้วยการประเมิน
๒.๑) ทักษะทางคลินิกและทกษะทางxxxxxxx ประเมินโดยการ สอบปฏิบัติ EPA และ DOP กับอาจารย์แพทย์ตาม
ข้อก˚าหนดของราชวิทยาลัย
๒.๒) ทักษะการติดต่อสื่อสารและสร้างสัมพันธภาพ ประเมิน โดยการประเมิน EPA ตามเกณฑ์ของราชวิทยาลัยฯ และ แบบประเมิน ๓๖๐ ซึ่งจัดขึ้นปีละ ๑ ครั้ง โดยมีผู้ประเมิน เป็นอาจารย์แพทย์ แพทย์ประจ˚าบ้าน วิสัญญีพยาบาล ผู้ร่วมงานและผู้รับบริการ
๒.๓) ทักษะการน˚าเสนอทางวิชาการ และการสื่อสาร ประเมิน โดยแบบประเมินการน˚าเสนอกิจกรรมทางวิชาการจาก
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxนั้นทุกครั้ง
๓) การประเมินเจตคติ ประกอบด้วยการประเมิน
๓.๑) พฤตินิสัย xxxxxx xxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxพัฒนา
ความรู้และความxxxxxxทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง โดยประเมิน จาก EPA , แบบประเมิน ๓๖๐
๓.๒) ความรับผิดชอบในการท˚ากิจกรรมทางวิชาการและการท˚า portfolio
๓.๓) การเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการ แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxจะต้อง เข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการที่ภาควิชา ฯ จัดให้อย่างน้อยร้อยละ
๘๐ และต้องเข้าร่วมงานประชุมวิชาการของราชวิทยาลัยฯหรือ สมาคมการศึกษาเรื่องความปวด อย่างน้อย ๒ ครั้งตลอดระยะเวลา
๒ ปี
๔) การท˚างานวิจัย ประเมินติดตามการท˚างานวิจัยของแพทย์ประจ˚าบ้านxxx xxx ด้วยแบบประเมินความxxxxxxxxของงานวิจัยโดยมีข้อก˚าหนดคือ
๔.๑) แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxปี ๑ ต้องท˚าโครงร่างงานวิจัย จากนั้นได้ ยื่นขออนุญาตคณะกรรมการการท˚าวิจัยในคนของคณะ ฯ เพื่อให้ ได้รับหนังสืออนุมัติการท˚างานวิจัยจากคณะกรรมการการท˚าวิจัย ในคนของคณะ ฯ และส่ง research proposal
๔.๒) แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxปี ๒ ได้รับหนังสืออนุมัติการท˚างาน วิจัยจากคณะกรรมการการท˚าวิจัยในคนของคณะ ฯ เก็บข้อมูล
xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxผลการวิจัย ท˚างานวิจัยแล้วเสร็จ และเขียนงานวิจัยฉบับเต็ม
๖.๖.๑.๒ การเลื่อนชั้นปี ในการพิจารณาเพื่อตัดสินผ่านเกณฑ์ได้/ตก เพื่อเลื่อนชั้นปี แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxจะต้องผ่านการประเมินทั้งด้านความรู้ ทักษะ
เจตคติ และการท˚างานวิจัย โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้
๑) ด้านความรู้ พิจารณาคะแนนรวมจากการสอบ formative และ summative evaluation โดย คิดคะแนนเป็นร้อยละ ๔๐ จาก
๑.๑) MCQ สอบกลางปี คิดเป็น ร้อยละ ๑๐
๑.๒) SAQ สอบกลางปี คิดเป็น ร้อยละ ๑๐
๑.๓) MCQ สอบปลายปี คิดเป็น ร้อยละ ๑๐
๑.๔) ESSAY สอบปลายปี คิดเป็น ร้อยละ ๑๐
เกณฑ์การสอบxxxxxxxxในกรณีที่คะแนนรวมได้น้อยกว่าที่ ก˚าหนด
๒) ด้านทักษะ คิดคะแนนเป็นร้อยละ ๕๐ โดยแพทย์ประจ˚าบ้าน
xxxxxxต้องผ่านทักษะทางคลินิก xxxxxxx การสื่อสารและ การน˚าเสนอ โดยพิจารณาจาก
๒.๑) EPA แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องผ่านการประเมิน EPA แต่ละชนิดตามระดับ และจ˚านวนครั้งตามระยะเวลา xxxxxxวิทยาลัยฯ ก˚าหนด
๒.๒) DOP แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องผ่านการประเมิน DOP แต่ละชนิดตามระดับ และจ˚านวนครั้งตาม
ระยะเวลาxxxxxxวิทยาลัยฯ ก˚าหนด
๒.๓) ความxxxxxxในการน˚าเสนอในกิจกรรมทางวิชาการซึ่ง ประเมินโดยxxxxxxxxxxปรึกษา ต้องอยู่ในระดับไม่ต่˚ากว่า พอใช้
๓) ด้านเจตคติ คิดคะแนนเป็นร้อยละ ๑๐ โดยแพทย์ประจ˚าบ้าน
xxxxxxต้องผ่านการประเมินด้านเจตคติ โดยพิจารณาจาก
๓.๑) แบบประเมิน ๓๖๐ แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องได้รับ การประเมินผ่านเกณฑ์
๓.๒) Portfolio แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxจะต้องรวบรวม
ข้อมูลใน portfolio และส่งให้xxxxxxxxxxปรึกษาตรวจอย่าง น้อย ๔ ครั้งต่อปี ส˚าหรับแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxปี ๑
และ จ˚านวน ๒ ครั้งต่อปี ส˚าหรับแพทย์ประจ˚าบ้านxxx xxxปีที่ ๒ รวมทั้งมีหลักฐานการเข้าร่วมประชุมวิชาการ
ของสมาคมการศึกษาเรื่องความปวดแห่งประเทศไทย อย่างน้อย ๑ ครั้งต่อปีส˚าหรับแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx ทุกชั้นปี
๓.๓) ความรับผิดชอบในกิจกรรมทางวิชาการ ต้องเป็นที่พึง xxxxของxxxxxxxxxxปรึกษา
๓.๔) Log book แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องบันทึกข้อมูลผู้ป่วย ใน log book ของตนเองให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องผ่านเกณฑ์การประเมินทุกxxxxxxxxxxxxxผ่าน การประเมินได้เลื่อนชั้นปี หรือมีสิทธิ์ได้รับการเสนอชื่อให้เข้าสอบเพื่อวุฒิบัตรฯ ใน กรณีxxxxxxผ่านเกณฑ์การประเมิน มีแนวทางการพิจารณาดังนี้
- ผู้xxxxxxผ่านการสอบในหมวดความรู้ มีxxxxxสอบแก้ตัว ๑ ครั้ง
- ผู้xxxxxxผ่านหมวดทักษะ อาจพิจารณาให้ผ่านโดยมีเงื่อนไขให้ปฏิบัติงาน หรือฝึกอบรมเพิ่มเติมได้ ขึ้นกับดุลยพินิจของคณะกรรมการควบคุมดูแล ฯ
- ผู้xxxxxxผ่านหมวดเจตคติจะต้องแก้ไขในส่วนที่บกพร่อง จนกว่าจะได้รับ การพิจารณาว่าผ่านจากคณะกรรมการควบคุมดูแลการฝึกอบรม ฯ
ผู้xxxxxxผ่านการประเมินจะต้องอบรมซ้˚าชั้น หรือ สิ้นสุดการอบรมแล้วแต่กรณี โดยมีคณะอนุกรรมการฝึกอบรมฯ เป็นผู้พิจารณาตัดสินชี้ขาดร่วมกัน และแจ้งที่
ประชุมภาควิชา ฯ พิจารณา
ทั้งนี้แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxจะต้องปฏิบัติตามข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการ รักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. ๒๕๔๙ และมีความซื่อสัตย์xxxxxx มนุษยธรรม ความรับผิดชอบ ความเชื่อถือได้ ความตรงต่อเวลา ความใส่ใจในงานที่ท˚า ความมี xxxxxxxxxxxx ความxxxxxxxxxxxxxx ความมีน้˚าใจ กิริยาxxxxxxxxxดี
หากแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxมีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือปฏิบัติงานโดยขาด ความรับผิดชอบ ครั้งแรกจะxxxxxxxx ภาคทัณฑ์ และบันทึกในประวัติ ในกรณีxxxxxx ปรับปรุงพฤติกรรม อาจารย์ผู้ดูแลจะน˚าเข้าที่ประชุมคณะอนุกรรมการฝึกอบรมฯ เพื่อ พิจารณาและแจ้งที่ประชุมภาควิชา ฯ รับทราบและพิจารณาโดยอาจให้สิ้นสุดการอบรม หรือ ไม่ส่งชื่อให้เข้าสอบเพื่อวุฒิบัตรฯ
๖.๖.๑.๓ การอุทธรณ์ผลการตัดสิน แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxที่มีข้อสงสัยใน ผลการสอบหรือผลการประเมิน xxxxxxยื่นอุทธรณ์xxxxxx ประธาน คณะกรรมการควบคุมดูแลการฝึกอบรมแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx หรือ รองประธานคณะกรรมการฯ โดยมีกระบวนการในการ
ตรวจสอบผลการสอบ(ภาคผนวก ๘) ทั้งนี้แพทย์ประจ˚าบ้านxxx
xxxต้องท˚าการอุทธรณ์ผลการตัดสินภายใน ๗ วัน นับจากประกาศ ผลการสอบ
๖.๖.๒ การวัดและประเมินผลเพื่อวุฒิบัตร ฯ
๖.๖.๒.๑ คุณสมบัติผู้มีสิทธิ์เข้าสอบ
- ผ่านการฝึกอบรมครบตามหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของ ระยะเวลาการฝึกอบรม
- สถาบันฝึกอบรมเห็นxxxxxให้เข้าสอบ
๖.๖.๒.๒ เอกสารประกอบ
- เอกสารรับรองประสบการณ์ภาคปฏิบัติจากสถาบันฝึกอบรม ตามที่ก˚าหนด
- บทความงานวิจัยพร้อมส่งตีพิมพ์ (manuscript) และใบรับรอง จากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
- เอกสารรับรองการเข้าร่วมประชุมวิชาการ ๒ ครั้ง ตลอด ระยะเวลาของการฝึกอบรม
- เอกสารรับรองการปฏิบัติงานตามแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
๖.๖.๒.๓ วิธีการประเมินประกอบด้วย
- การสอบ ต้องได้คะแนนมากกว่าร้อยละ ๖๐ ประกอบด้วย
๑. ปรนัย (multiple choice question; MCQ) (น้˚าหนักคะแนนร้อยละ
๕๐)
๒. อัตนัย (modified essay question; MEQ, essay, short answer question; SAQ) (น้˚าหนักคะแนนร้อยละ ๓๐)
๓. การสอบxxxxxxxxxx xxxx Long case (น้˚าหนักคะแนนร้อยละ ๒๐)
- การสอบปากเปล่าและประเมินผลงานวิจัย (เกณฑ์ผ่าน/ไม่ผ่าน) เกณฑ์การพิจารณาตัดสินผลการประเมิน ต้องผ่านเกณฑ์ทั้ง ๒ ส่วน
• ถ้าสอบxxxxxxxxxxxผ่าน โดยกรรมการประจ˚าห้องสอบมีมติเกินสองใน สาม ให้สอบใหม่ทั้งหมดในปีการศึกษาหน้า
• ถ้าสอบปากเปล่าผ่าน แต่คะแนนรวมไม่เกินร้อยละ ๖๐ ให้สอบข้อเขียน ใหม่ได้ ๑ ครั้ง ถ้าคะแนนรวมยังไม่เกินร้อยละ ๖๐ ให้สอบใหม่ทั้งหมดใน ปีถัดไป
๖.๖.๓ แจ้งกระบวนการวัดและการประเมินผลให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบพร้อม ตรวจสอบ และมีกระบวนการของการอุทธรณ์
หากแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxมีข้อสงสัยในผลการสอบหรือผลการประเมิน
xxxxxxยื่นอุทธรณ์xxxxxx ประธานคณะกรรมการควบคุมดูแลการฝึกอบรมแพทย์ประจ˚า บ้านxxxxxx หรือ รองประธานคณะกรรมการฯ โดยมีกระบวนการในการตรวจสอบผลการ สอบ ทั้งนี้แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องท˚าการอุทธรณ์ผลการตัดสินภายใน 7 วัน นับจาก วันประกาศผลการสอบ
๖.๗ ตารางสรุปวิธีการให้การอบรมและประเมินผล
เพื่อให้มั่นใจได้ว่าการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลท˚าให้xxxxxผล ลัพธ์ตามสมรรถนะหลัก ๖ xxxx xxxหลักสูตรก˚าหนดไว้ ภาควิชา ฯ ได้สรุปวิธีให้การ ฝึกอบรม และการวิธีการประเมินผลไว้เป็นตารางดังแสดงในภาคxxxxxxx ๙
๗. การรับและคัดเลือกผู้เข้ารับการฝึกอบรม
๗.๑ คุณสมบัติของผู้เข้ารับการฝึกอบรม
๗.๑.๑) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
๗.๑.๑.๑ได้รับหนังสือวุฒิบัตรหรืออนุมัติบัตรฯหรือหนังสือรับรองจากแพทยสภา แสดงความรู้ความช˚านาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
๗.๑.๑.๒ ได้รับวุฒิบัตรหรือประกาศนียบัตรจากสถาบันต่างประเทศที่เทียบเท่า คุณสมบัติในข้อ ๗.๑.๑.๑ โดยการรับรองของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศ ไทย
๗.๑.๑.๓ เป็นแพทย์ประจ˚าบ้านปีสุดท้ายในสาขาวิสัญญีวิทยา
๗.๑.๑.๔ เป็นผู้มีxxxxxสอบเพื่อหนังสืออนุมัติบัตรหรือวุฒิบัตรฯสาขาวิชาวิสัญญี วิทยาในปีการศึกษานั้น
๗.๑.๑.๕ กรณีที่สอบวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู้ความช˚านาญในการประกอบ วิชาชีพเวชกรรมสาขาวิสัญญีวิทยาxxxxxx ให้xxxxxxxxxผ่านการคัดเลือก
๗.๑.๒) มีคุณสมบัติครบถ้วนตามเกณฑ์แพทยสภาในการเข้ารับการฝึกอบรมแพทย์ เฉพาะทาง
๗.๒ จ˚านวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ภาควิชา ฯ รับผู้เข้ารับการฝึกอบรมแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxปีละ ๒ คน เป็นไปตาม กฎxxxxxxxของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย ซึ่งก˚าหนดให้สถาบันฝึกอบรมรับผู้ เข้ารับการฝึกอบรมได้ในสัดส่วนปีละ ๑ คน ต่ออาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม ๒ คน รวมทั้งต้องมี งานบริการต่อจ˚านวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม ๑ คน ตามที่ก˚าหนดตามตารางต่อไปนี้
จ˚านวนผู้รับการฝึกอบรมปีละ ชั้นละ(คน) | ๑ | ๒ | ๓ | ๔ |
จ˚านวนอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรมปีละ ชั้นละ(คน) | ๒ | ๔ | ๖ | ๘ |
จ˚านวนผป่วยนอกxxxxxxรับบริการระงับปวด (รายต่อปี) | ๑๐๐ | ๒๐๐ | ๓๐๐ | ๔๐๐ |
จ˚านวนผป่วยในที่รับปรึกษาการบริการระงับปวด | ||||
ผู้ป่วยที่มีอาการปวดเฉียบพลัน (รายต่อปี) | ๑๐๐ | ๒๐๐ | ๓๐๐ | ๔๐๐ |
ผู้ป่วยที่มีอาการปวดเรื้อรังที่ไม่ใช่มะเร็ง (รายต่อปี) | ๕๐ | ๑๐๐ | ๑๕๐ | ๒๐๐ |
ผู้ป่วยที่มีอาการปวดจากมะเร็ง | ๕๐ | ๑๐๐ | ๑๕๐ | ๒๐๐ |
๘. อาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม
๘.๑ คุณสมบัติของประธานการฝึกอบรม
ต้องเป็นแพทย์ซึ่งได้รับวุฒิบัตร หรือหนังสืออนุมัติเพื่อแสดงความรู้ความช˚านาญใน การประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา และปฏิบัติงานด้านการบ˚าบัดความปวด อย่าง น้อย ๕ ปีภายหลังได้รับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติ ฯ
๘.๒ คุณสมบัติและจ˚านวนของอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม
๘.๒.๑ คุณสมบัติของอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม
ต้องเป็นแพทย์ซึ่งได้รับวุฒิบัตร หรือหนังสืออนุมัติเพื่อแสดงความรู้ความช˚านาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา และปฏิบัติงานด้านการบ˚าบัดความ ปวด อย่างน้อย ๒ ปีภายหลังได้รับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติ ฯ
๘.๒.๒ จ˚านวนอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม
ภาควิชา ฯ มีxxxxxxxxxxxxxxรับวุฒิบัตร ฯ หรือหนังสืออนุมัติเพื่อแสดงความรู้ความ ช˚านาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา และปฏิบัติงานด้านการบ˚าบัด ความปวด อย่างน้อย ๒ ปี ภายหลังได้รับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติฯและปัจจุบัน ปฏิบัติงานเต็มเวลาจ˚านวน ๕ คน (ภาคผนวก ๑๑) และมีการก˚าหนดนโยบายในการสรรหา และคัดเลือกอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรมเพื่อให้มีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์มาตรฐานของ หลักสูตร (ภาคผนวก ๑๑)
๘.๒.๓ หน้าที่ความรับผิดชอบ ภาระงานของอาจารย์
๑) ปฏิบัติตามกฎxxxxxxxข้อบังคับของภาควิชาฯ และคณะ ฯ
๒) ปฏิบัติงานตามพันธกิจหลักทั้งด้านการสอน การวิจัย และการบริการ อย่าง xxxxxตามข้อตกลงที่ให้ไว้กับภาควิชาฯ
๓) รับผิดชอบด้านการเรียนการสอนทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติตามxxxxxxรับ xxxxxxx xxxx
๓.๑) ควบคุมดูแลการเรียนการสอนในxxxxxxxx xxxx การดูแลกิจกรรมทาง วิชาการตามตารางxxxxxxรับมอบหมาย
๓.๒) ควบคุมและให้ค˚าแนะน˚าแก่แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxในการดูแล ผู้ป่วยxxxxxxคลินิกระงับปวดและผู้ป่วยในที่รับปรึกษา
๓.๓) มีส่วนร่วมการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ รวมถึง workshop ต่างๆ ให้กับแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx
๓.๔) มีส่วนร่วมในการประเมินแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx ทั้งการประเมิน การปฏิบัติงานรายวันและการจัดเตรียมข้อสอบส˚าหรับการสอบ formative และ summative evaluation
๓.๕) ควบคุม และให้ค˚าปรึกษา แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxในการท˚างานวิจัย
๔) รับผิดชอบงานบริการตามxxxxxxรับxxxxxxxxxxxในและนอกเวลาราชการ
๕) รับผิดชอบหน้าที่ในการด˚าเนินงานวิจัยตามข้อตกลงที่ให้ไว้กับภาควิชา ฯ
๖) รับผิดชอบงานอื่นๆxxxxxxรับxxxxxxx xxxx งานบริหาร หรืองานบ˚ารุง ศิลปวัฒนธรรมเป็นต้น
๗) ส˚าหรับxxxxxxxxxxxxxรับมอบหมายให้เป็นxxxxxxxxxxปรึกษา จะมีหน้าที่และ ภาระงานxxxxxเดิมดังแสดงในภาคผนวก ๑๒
๘.๒.๔ ระบบพัฒนาอาจารย์
ภาควิชา ฯ มีนโยบายในการพัฒนาอาจารย์ในด้านแพทยศาสตร์ศึกษา คือ อาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรมทุกคนต้องผ่านการอบรมแพทยศาสตร์ศึกษาซึ่งจัด โดยคณะ ฯ ภายใน ๑ ปี หลังจากได้รับการบรรจุเป็นอาจารย์ หลังจากนั้น ภาควิชา ฯ อนุญาตให้xxxxxxxxxxสนใจ xxxxxxเข้าร่วมการอบรมฟื้นฟูและ พัฒนาความรู้ทางด้านแพทยศาสตร์ศึกษาตามที่อาจารย์สนใจได้
ด้านวิชาการทางการแพทย์ แพทย์ประจ˚าบ้านที่บรรจุเป็นอาจารย์ทันทีหลัง จบการฝึกอบรม ฯ จะได้รับการจัดสรรให้ปฏิบัติงานตามหน่วยต่างๆ ในช่วง ๑-
๒ ปีแรก เพื่อฝึกฝนและพัฒนาอาจารย์ให้มีประสบการณ์ที่หลากหลาย หลังจากนั้นภาควิชา ฯ สนับสนุนให้อาจารย์ทุกคน มีความxxxxxxxxxเฉพาะทาง
ของตนเอง โดยมีทุนเพื่อฝึกอบรมในสาขาย่อยที่สนใจxxx xxxxในและ ต่างประเทศโดยความเห็นชอบของหัวหน้าหน่วย กรรมการบริหารภาควิชา ฯ และหัวหน้าภาควิชา ฯ ให้สอดคล้องกับแผนที่วางไว้
นอกจากพัฒนาอาจารย์ด้านแพทยศาสตร์ศึกษา และด้านวิชาการทาง การแพทย์แล้ว ภาควิชา ฯ ยังสนับสนุนให้อาจารย์ได้มีความรู้พื้นฐานทางด้าน การวิจัย โดยอนุญาตให้xxxxxxxxxxสนใจxxxxxxเข้าร่วมการอบรมเกี่ยวกับ xxxxxxxวิธีด้านการวิจัย ทั้งหลักสูตรระยะสั้น ไปจนกระทั่งหลักสูตรxxxxxx เอก ตามศักยภาพและความสนใจของอาจารย์
ภาควิชา ฯ สนับสนุนให้อาจารย์xxxxxxน˚าเสนอผลงานทางวิชาการใน ระดับนานาชาติ โดยได้รับทุนสนับสนุนจากคณะ ฯ และเป็นวิทยากรในการ ประชุ ม วิช าการทั้ งในและนอกประเทศได้ โดยความเห็ นชอบของ กรรมการบริหารภาควิชา ฯ และหัวหน้าภาควิชาฯ
๙. ทรัพยากรทางการศึกษา
ภาควิชา ฯ มีส˚านักงานอยู่ที่อาคาร ๑ ชั้น ๕ เป็นที่ท˚าการส˚าหรับxxxxxxxxxxxxxxx สนับสนุน และสถานที่หลักส˚าหรับจัดการเรียนการสอนxxxxxxxx มีหน่วยระงับปวดอยู่ที่ ศูนย์การแพทย์สิริกิตติ์ ชั้น ๖ และหน่วยช่วยหายใจอยู่ที่ อาคาร ๑ ชั้น ๒
๙.๑ xxxxxxที่และเครื่องมืออุปกรณ์xxxxxxxxxxส˚าหรับงานบริการ และการฝึกอบรม
๙.๑.๑ สถานที่ส˚าหรับการเรียนการสอน
๑) ห้องเรียน ห้องประชุม และห้องบรรยาย ของคณะ ฯ จ˚านวนมากกว่า
๕๐ ห้อง แต่ละห้องxxxxxxรองรับผู้เรียนได้ตั้งแต่ ๑๖-๓๕๐ คน
๒) xxxxxxxxxx xxxxxxx xxxxxxxxxxx (อาคาร ๑ ชั้น ๕) รองรับผู้เรียน
๑๕๐ คน
๓) ห้องการเรียนการสอน (อาคาร ๑ ชั้น ๕) รองรับผู้เรียน ๒๐ คน
๔) ห้องประชุม ๒ (อาคาร ๑ ชั้น ๕) รองรับผู้เรียน ๑๕ คน
๕) ห้องประชุมหน่วยบ˚าบัดระบบหายใจ (อาคาร ๑ ชั้น ๒ หน่วยบ˚าบัดระบบ หายใจ) รองรับผู้เรียน ๒๐ คน
๖) ห้องประชุมหน่วยระงับปวด (ศูนย์การแพทย์สิริกิตติ์ ชั้น ๖ หน่วยระงับ ปวด) รองรับผู้เรียน ๑๕ คน
๗) หน่วยห้องปฏิบัติการทักษะทางคลินิก อาคารเรียนและปฏิบัติการรวมด้าน การแพทย์และโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ชั้น ๓ มีห้อง skill lab จ˚านวน
๕ ห้อง
๘) ห้องผ่าตัดและจุดบริการวิสัญญีมากกว่า ๔๐ จุดต่อวัน
๙) ตึกผู้ป่วยใน xxxx การให้บริการระงับปวด ทั้งปวดเรื้อรัง และปวดฉับพลัน การดูแลผู้ป่วยวิกฤติ รวมถึงผู้ป่วยxxxxxxรับการบ˚าบัดระบบทางเดินหายใจ
๑๐)หน่วยบริการอื่นๆ xxxx หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกคลินิกระงับปวด (Pain clinic)
๙.๑.๒ อุปกรณ์ส˚าหรับการเรียนการสอน
๑) หุ่นส˚าหรับหัดท˚า spinal block ในภาควิชา ๕ ตัว
๒) หุ่น spine ๑ ตัว
๓) อุปกรณ์xxxxxxxxxxส˚าหรับฝึกงานจริงในการดูแลผู้ป่วย xxxx เครื่อง ultrasound, Fluoroscopy, Radio Frequency Generator ส˚าหรับท˚าxxxxxxx, และอุปกรณ์ส˚าหรับการท˚า regional analgesia เป็นต้น
๙.๒ ห้องสมุดและระบบบริการเวชสารสนเทศ
ในการเข้าถึงแหล่งข้อมูลทางวิชาการxxxxxxxxxx คณะฯ จัดให้มีห้องสมุด ซึ่งมี พื้นที่ ๑,๘๐๐ ตารางเมตร บรรจุ ๑๕๐ ที่นั่ง มีส่วนที่เปิดให้บริการ ๒๔ ชั่วโมง ให้
แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx xxxxxxใช้เป็นที่อ่านหนังสือได้ตลอดเวลา มีบรรณารักษ์ ช่วยบริการค้นหาข้อมูลxxxxxxxมีในระบบคณะฯ และมหาวิทยาลัย และแหล่งข้อมูลจาก มหาวิทยาลัยอื่นทั้งในและต่างประเทศ นอกจากนี้มหาวิทยาลัย ฯ ยังตอบรับเป็น
สมาชิกฐานข้อมูลวารสารทางวิชาการระบบออนไลน์ xxxx E-book, E-journal, Point of care references หลากหลายชนิด ซึ่งฐานข้อมูลเหล่านี้xxxxxxสืบค้นxxxxxxxจาก ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ไม่ว่าจะเชื่อมต่อผ่านระบบ VPN, application หรือผ่านทาง xxxx://xxxxxxxx.xxxxxxx.xx.xx
ส˚าหรับบริการสารสนเทศ คณะ ฯ จัดให้มีจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ทั้งมีสายและ ไร้สายในทุกพื้นที่ทั้งอาคารเรียน โรงพยาบาลและหอพัก ให้สะดวกใช้ตลอดเวลา โดย เชื่อมต่อผ่านเครือข่ายของมหาวิทยาลัย โดยให้มี username และ password ประจ˚าตัว ส˚าหรับการเชื่อมต่อ ซึ่งมีความเร็วเพียงพอและเสถียร และยังอนุญาตให้อาจารย์และ แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxxxxxxxใช้ระบบ e-mail ของมหาวิทยาลัยxxxxx ซึ่งดูแลโดย กองเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยได้
คณะฯ จัดหา sim card ส˚าหรับโทรศัพท์มือถือให้แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxทุก คน เพื่อใช้สื่อสารกันเอง และติดต่อกับโทรศัพท์ในโรงพยาบาลโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ส่วนโทรศัพท์และอุปกรณ์อื่นๆ แพทย์ประจ˚าบ้านจัดหามาเองตามนโยบาย bring your own device (BYOD)
ภาควิชา ฯ จัดให้มีคอมพิวเตอร์xxxxxxxxที่xxxxxxเข้าถึงระบบอินเตอร์เน็ตได้ ในห้องxxxแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx และในห้องคอมพิวเตอร์กลางภาควิชา ฯ เพื่อ
สืบค้นข้อมูลทางวิชาการ รวมทั้งสิ้น ๗ เครื่อง และจัดหาเครื่องพิมพ์ กระดาษ และ หมึกพิมพ์ให้พร้อมส˚าหรับการใช้งาน
๙.๓ จ˚านวนผู้ป่วย
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เป็นโรงพยาบาลระดับxxxxภูมิขนาด ใหญ่ คลินิกระงับปวดมีผู้ป่วยที่มีความปวดเรื้อรังมารับบริการมากกว่า ๓,๕๐๐ รายต่อ ปี และรับปรึกษาผู้ป่วยในที่มีความปวดเรื้อรังรุนแรงรักษายาก มากกว่า ๓๕๐ รายต่อ ปี ท˚าให้มั่นใจได้ว่ามีปริมาณผู้ป่วยเพียงพอต่อการเรียนรู้ของแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx นอกจากนี้แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxจะได้ผ่านการฝึกอบรมด้านการดูแลรักษาความ ปวดเฉียบพลัน เป็นเวลา ๒ เดือนตลอดหลักสูตร รวมxxxxxxxฝึกอบรมและปฏิบัติงาน ในสาขาวิชา/ภาควิชาที่เกี่ยวข้องแบบสหสาขา ได้มีโอกาสฝึกอบรมในสถาบันร่วม อื่นๆ รวมทั้งมีวิชาเลือกxxxxxในขณะเป็นแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxชั้นปีที่ ๒ เพื่อxxxxx ประสบการณ์การให้การดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีความปวดกลุ่มต่างๆให้ครอบคลุมยิ่งขึ้น
๙.๔ หน่วยงานสนับสนุน
คณะ ฯ มีกลุ่มสาขาวิชาระบาดxxxxxคลินิกและชีวสถิติ ซึ่งประกอบด้วยอาจารย์ แพทย์ และนักชีวสถิติxxxxxxxxxxxxด้านการท˚าวิจัยทางการแพทย์ คอยให้ค˚าแนะน˚า และ ช่วยเหลือแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxในการท˚างานวิจัย อย่างไรก็ตามบางครั้งการนัดนัก สถิติของคณะ ฯ อาจต้องใช้เวลานาน ภาควิชา ฯ จึงได้จัดให้มีนักสถิติของภาควิชา ฯ จ˚านวน ๒ คน เพื่อคอยช่วยเหลือแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxในการท˚างานวิจัยxxxxกัน นอกจากนี้ภาควิชายังมีบุคลากรสนับสนุนเพิ่มเติมคือ มีนักวิชาการศึกษา ๒ คน ท˚า หน้าที่ช่วยเหลือดูแล xxxxxxงาน และอ˚านวยความสะดวกในการจัดการเรียนการ สอน การสอบ และการประเมินผล
๑๐. การประเมินแผนการฝึกอบรม/หลักสูตร
หลักสูตรการฝึกอบรมนี้ได้รับการรับรองและด˚าเนินการฝึกอบรมภายใต้เกณฑ์ และการรับรองของแพทยสภา และราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย ซึ่ง ก˚าหนดให้มีการตรวจประเมินคุณภาพการฝึกอบรมตามเกณฑ์ที่ก˚าหนดไว้ทุก ๕ ปี โดย ราชวิทยาลัย ฯ เป็นผู้ด˚าเนินงานภายใต้การก˚ากับดูแลของแพทยสภา และมีอ˚านาจหน้าที่ ในการอนุมัติ หรือเพิกถอนการฝึกอบรมหากไม่ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่ก˚าหนด
ในการประเมินภายในภาควิชา ฯ อาจารย์แพทย์ และแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxจะ ได้ท˚าการประเมินหลักสูตรเป็นประจ˚าทุกปี โดยหัวข้อในการประเมินประกอบด้วย พันธ กิจของแผนการฝึกอบรม/หลักสูตร ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่พึงxxxxxxx แผนการฝึกอบรม ขั้นตอนการด˚าเนินงานของแผนการฝึกอบรม การวัดและประเมินผล ทรัพยากรทางการ
ศึกษา คุณสมบัติของอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม สถาบันฯร่วม และ ข้อควรปรับปรุง เป็น ประจ˚าทุกปี นอกจากนี้ยังมีการหาข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับหลักสูตรการฝึกอบรม และ ความxxxxxxในการปฏิบัติงานจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก xxxx แพทย์ผู้ส˚าเร็จการ ฝึกอบรม และผู้ใช้xxxxxxอีกด้วย
๑๑. การทบทวนและพัฒนา
เพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัย เหมาะสมกับปัจจัยภายนอก xxxx ความคาดxxxx ของผู้ใช้xxxxxx กฎxxxxxxxจากแพทยสภา ราชวิทยาลัย ฯ กฎหมาย เศรษฐกิจ สังคม และ ปัจจัยภายใน xxxx นโยบายภาควิชา ฯ ทรัพยากร core competency รวมถึงxxxxxxxxxxของ มหาวิทยาลัยxxxxx และคณะ ฯ รวมทั้งสอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วน เสียหลัก xxxx อาจารย์ และแพทย์ประจ˚าบ้าน ดังนั้นปัจจัยต่างๆดังกล่าวข้างต้น และข้อมูล xxxxxxจากการประเมินหลักสูตร จะถูกสรุป รวบรวม และน˚าเสนอในที่ประชุม คณะกรรมการควบคุมดูแลการฝึกอบรมแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxทุกปี เพื่อวิเคราะห์หา ปัญหา จุดแข็ง จุดอ่อนของการฝึกอบรม และหาแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร พร้อมทั้ง น˚าเสนอเพื่อขออนุมัติในที่ประชุมภาควิชา ฯ ต่อไป
๑๒. xxxxxxxxxxและการบริหารจัดการ
ภาควิชา ฯ บริหารจัดการหลักสูตร โดยสอดคล้องกับกฎxxxxxxxxxxก˚าหนดไว้ใน ด้านต่างๆ ได้แก่ การรับสมัครผู้เข้ารับการฝึกอบรม ทั้งเกณฑ์การคัดเลือกและจ˚านวนที่รับ กระบวนการฝึกอบรม การวัดและประเมินผล และผลลัพธ์ของการฝึกอบรมที่พึงxxxxxxx เมื่อส˚าเร็จการฝึกอบรม แพทย์ผู้ส˚าเร็จการฝึกอบรมจะได้รับประกาศนียบัตรรับรอง การส˚าเร็จการฝึกอบรม ซึ่งออกโดยคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และได้รับ การส่งชื่อเข้าสอบเพื่อหนังสือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความช˚านาญในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) ตามเกณฑ์มาตรฐานของราช
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
เพื่อให้การด˚าเนินการบริหารจัดการการฝึกอบรมเป็นไปตามแนวทางที่วางไว้ ภาควิชา ฯ ได้แต่งตั้ง และก˚าหนดให้คณะกรรมการควบคุมดูแลการฝึกอบรมแพทย์ ประจ˚าบ้านxxxxxx มีหน้าที่รับผิดชอบในการด˚าเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรม ฯ
นอกจากนี้ภาควิชา ฯ ยังจัดให้มีนักวิชาการการศึกษา ๓ คน ท˚าหน้าที่ดูแล xxxxxxxxx xxxจัดกิจกรรม academic activity, workshop, กิจกรรมนอกหลักสูตร และ การจัดสอบต่างๆ รวบรวมและประเมินผลการสอบและแบบประเมินต่างๆ รวมถึงท˚าการ ตรวจสอบและจัดให้มีการซ่อมแซมอุปกรณ์สื่อการเรียนการสอนให้พร้อมใช้อยู่เสมอ
๑๓. การประกันคุณภาพการฝึกอบรม
หลักสูตรได้รับการประกันคุณภาพ โดยมีการตรวจประเมินคุณภาพ จาก คณะกรรมการฝึกอบรมและสอบความรู้ความช˚านาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) เป็นประจ˚าทุก ๕ ปี
ภาคผนวก ๑
รายนามคณะอนุกรรมการจัดท˚าหลักสูตรและเกณฑ์การฝึกอบรมแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความช˚านาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx (วิสัญญีวิทยา)
ภาคผนวก ๒
เนื้อหาของหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความช˚านาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา)
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความช˚านาญในการ ประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) จะต้องครอบคลุมเนื้อหา
ดังต่อไปนี้ พร้อมทั้งแสดงระดับความส˚าคัญที่แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องทราบ โดยแบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่
ระดับที่ 1 มีความส˚าคัญ ซึ่งแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx ต้องทราบและให้การดูแลรักษาได้ ด้วยตนเอง
ระดับที่ 2 มีความส˚าคัญน้อยกว่าระดับ 1 ซึ่งแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx ควรทราบและดูแล รักษาได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์
ระดับที่ 3 มีความส˚าคัญน้อยกว่าระดับ 1 ซึ่งแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx อาจทราบและดูแล รักษา
ได้ หรือ xxxxxxเรียนรู้โดยการศึกษาด้วยตนเอง หรือฟังบรรยาย และสถาบันฝึกอบรมควรจัดให้มี การเรียนรู้โรคในกลุ่มนี้อย่างพอเพียง
หลักสูตร ครอบคลุมเนื้อหาดังต่อไปนี้
1. Foundational knowledge of pain medicine
1.1. Describe the anatomy and neurophysiology of nociception (1)
1.2. Describe the pathophysiology of acute pain including mechanisms, modulation and associated physiologic consequences (1)
1.3. Define the disorder of chronic pain utilizing the International Association for the Study of Pain (IASP) Classification of Chronic Pain (1)
1.4. Describe the pathophysiology of chronic pain including origins, mechanisms, modulation and associated physiologic consequences (1)
1.5. Describe current concepts of the placebo response and their implications for assessment and therapy (1)
1.6. Describe known genetic influences on pain and pharmacotherapy for pain as well as the role of genomic techniques in investigating pain physiology (1)
1.7. Summarize the mechanism of action, pharmacology, side effects and monitoring of the following drugs or drug classes: (1)
1.7.1. Opioid receptor agonists and antagonists
1.7.2. Serotonin/norepinephrine re-uptake inhibitors
1.7.3. Calcium channel blockers
1.7.4. Sodium channel blockers
1.7.5. Prostaglandin inhibitors
1.7.6. N- Methyl D- Aspartic acid (NMDA) receptor antagonists
1.7.7. Cannabinoids
1.7.8. Acetaminophen
1.8. Explain the administration, scoring, interpretation, limitations, and clinical utility of at least one validated outcome measure in each of the following domains:
1.8.1. Pain (1)
1.8.2. Mood (1)
1.8.3. Function (1)
1.8.4. Sleep (1)
1.8.5. Quality of life and health care utilization (1)
2. Psychiatry
2.1. Describe how psychiatric illness, relevant to pain medicine, may be modulated through predisposing, precipitating, perpetuating and protecting factors (1)
2.2. List important psychological mechanisms involved in pain and suffering (1)
2.3. Describe how neurobiological predisposition, childhood and early life experiences, cultural and societal environments may impact pain perception and experience using a bio-psycho-social model (1)
2.4. Identify characteristics of patients with pain who would most benefit from a formal psychological assessment (1)
2.5. Outline indications, contraindications, benefits (efficacy) and risks (safety) and summarize the evidence that supports the following clinical treatments (1)
2.5.1. Biofeedback
2.5.2. Cognitive Behavioral Therapy (CBT)
2.5.3. Hypnosis
2.5.4. Goal setting
2.5.5. Imagery training
2.5.6. Mindfulness Based Cognitive Therapy (MBCT)
2.5.7. Mindfulness Based Stress Reduction (MBSR)
2.5.8. Patient education programs
2.5.9. Patient self-management techniques
2.6. Define catastrophizing and kinesophobia as predictors of chronic pain treatment outcomes; describe common assessment tools for detecting each and outline interventions that can be used to reduce the severity of each condition (1)
2.7. List diagnostic criteria, describe appropriate screening questionnaires, outline the fundamentals of treatment strategies (and contraindications for other treatments), and state the indications for psychiatric or psychological assessment for the following psychiatric disorders
2.7.1. Major depressive disorder (1)
2.7.2. Bipolar mood disorders (1)
2.7.3. Post-traumatic stress disorder, panic disorder, social anxiety disorder, generalized anxiety disorder (1)
2.7.4. Substance use disorders (1)
2.7.5. Attention deficit disorders (2)
2.7.6. Somatoform disorders (1)
2.7.7. Personality disorders (1)
2.8. Explain the potential effect of pain treatments on psychiatric comorbidities
3. Neurology
3.1. Describe the epidemiology, pathophysiology, natural history, diagnosis, treatments and prognosis of common conditions causing neuropathic pain (1)
3.2. Describe the features of neuropathic pain including peripheral and central sensitization; list the common symptoms and signs of each and explain their role in the persistence of pain (1)
3.3. Demonstrate knowledge of diagnosis, appropriate investigations and management of common painful peripheral nervous system disorders, including but not limited to
3.3.1. Compression and entrapment syndromes
3.3.2. Ischemic nerve injuries
3.3.3. Infectious lesions including herpes zoster
3.3.4. Post-herpetic neuralgia
3.3.5. Painful diabetic neuropathy
3.4. Demonstrate knowledge of diagnosis, appropriate investigations and management of common painful central nervous system disorders including post-stroke pain, spinal cord injury, and multiple sclerosis (1)
3.5. Explain the appropriate use of clinical tests used to diagnose neuropathic pain (1)
3.6. Describe the indications for and limitations of imaging, nerve conduction studies, electromyography and quantitative sensory testing in the diagnosis of neuropathic pain (1)
3.7. Describe common validated tools that have been developed to assess neuropathic pain; identify their purpose, scoring, interpretation and limitations (1)
3.8. Describe the classification, mechanisms, assessment and management of chronic headache, and facial and oro-dental pain syndromes (1)
3.9. Identify the critical factors for assessing life-threatening headache including but not limited to early morning nausea and vomiting and focal neurological signs and symptoms (1)
3.10.Formulate a step-wise approach to pharmacotherapeutics and pain interventions for a patient with neuropathic pain, applying published consensus guidelines, and taking into consideration the patient’s individual medical complexity (1)
4. Cancer pain management (1)
4.1. Describe the epidemiology, pathophysiology, natural history, treatment and prognosis of common cancers
4.2. Outline common pain management problems that are unique to cancers or to their treatment
4.3. Describe the pain-related complications of chemotherapy, radiotherapy, pharmacotherapy and surgery
4.4. Explain how cancer cycles of recurrence and remission might affect pain assessment and treatment
4.5. Describe the psychological, social, cultural and spiritual effects of a life threatening disease on pain assessment and treatment
4.6. Utilize guidelines for the pharmacologic management of cancer pain; identify the differences with regards to utilizing opiates and co-analgesics in a variety of administration routes
4.7. Outline the management of pain-related complications of chemotherapy, pharmacotherapy, radiation, and surgery
4.8. Identify acute and life threatening complications of cancer including, but not limited to, raised intracranial pressure, spinal cord compression, and hypercalcemia
4.9. Describe the indications, contraindications, risks and benefits of anesthetic and neurosurgical procedures to control cancer related pain, including but not limited to local anesthetic and neurolytic blocks, and neuraxial drug delivery systems
4.10. Describe the elements of both an outpatient and inpatient cancer pain service
4.11. Identify characteristics of patients who would most benefit from psychosocial intervention, home care, and palliative care
5. Musculoskeletal system and rehabilitation (2)
5.1. Describe the epidemiology, pathophysiology, natural history, diagnosis, treatments and prognosis of common painful musculoskeletal diseases, including but not limited to inflammatory and degenerative joint disease, soft tissue rheumatism and diffuse body pain
5.2. Demonstrate knowledge of diagnosis, appropriate investigations and management of common rheumatic conditions including but not limited to rheumatoid arthritis, connective tissue diseases, seronegative arthritis, polymyalgia rheumatica, inflammatory myopathy and soft tissue pain disorders such as myofascial pain and fibromyalgia
5.3. Describe specific pain syndromes that may occur following spinal cord injury, post- stroke and after limb amputation
5.4. Demonstrate knowledge of the diagnosis and management of common xxxxxxxxxxx of the spine that may cause pain, including but not limited to mechanical back pain, intervertebral disc herniation with radiculopathy, spinal stenosis and whiplash associated disorders (1)
5.5. Demonstrate knowledge of diagnosis and management of emergent conditions of the spine, including but not limited to tumour, fracture, myelopathy, and infection (1)
5.6. Describe the indications for the various modalities of diagnostic imaging specific to MSK assessment; identify expected imaging abnormalities for common pain diagnoses; explain the relationship between imaging findings and pain (1)
5.7. Formulate an appropriate treatment plan for managing musculoskeletal pain (2)
5.8. Outline injection formulations and techniques that may be used to treat painful soft tissue and joint disorders (1)
5.9. Describe the principles, indications and limitations of physical treatments, including but not limited to exercise based treatment, passive physical therapies such as ultrasound, transcutaneous electrical nerve stimulation (TENS), manual therapies, manipulation and massage in the management of musculoskeletal pain (1)
5.10.Describe the principles, indications and limitations of occupational therapy management (pacing, ergonomics and work/daily activity modification) in the management of musculoskeletal pain (2)
5.11.Cite current evidence for the potential role of complementary and alternative medicine commonly used in managing musculoskeletal pain (1)
5.12.Identify functional domains as outcome measures for pain (2)
5.12.1. Summarize the principles of functional restoration in individuals with pain, and specify the evidence supporting different types of chronic pain activation programs
5.13.Describe the medico legal concepts of impairment, disability and handicap and how these apply to individuals with pain (2)
6. Acute pain management (1)
6.1. List common acute pain conditions, their epidemiology, pathophysiology, natural history, treatment and prognosis
6.2. Describe the elements of an acute pain assessment; explain how it may differ from a chronic pain assessment
6.3. Identify specific assessment techniques for acute pain
6.4. Describe how specific patient characteristics such as culture, age, cognitive impairment, language barrier, level of consciousness might affect acute pain assessment
6.5. Describe the adverse physiological and psychological effects, both immediate and long term, of inadequate pain management in the acute care setting
6.6. Identify patients whose injury, disease, or surgery, in combination with their psychological characteristics may put them at risk of developing chronic pain
6.6.1. Describe treatments which might decrease that risk
6.7. Describe the indications, contraindications, delivery routes, side effects, and complications of specific pharmacological interventions used for acute pain management including medications from the following classes: (1)
6.7.1. Opioid receptor agonists
6.7.2. Serotonin/norepinephrine re-uptake inhibitors
6.7.3. Calcium channel blockers
6.7.4. Sodium channel blockers
6.7.5. Prostaglandin inhibitors
6.7.6. NMDA receptor antagonists
6.8. Describe current methods of interventional techniques in acute pain management including their indications, contraindications, side effects, and complications including the following: (1)
6.8.1. Neuraxial block technique
6.8.2. Peripheral nerve and plexus block
6.8.3. Neuromodulation procedures
6.9. Describe the evidence for non-pharmacological techniques used for acute pain relief and describe how they can be successfully utilized in acute pain management (1)
6.10.Identify factors that complicate treatment of a patient with acute pain including previous chronic pain condition, opioid tolerance, substance abuse and psycho-social factors (1)
7. Pediatrics
7.1. Explain the common acute and chronic pain syndromes unique to pediatric patients, their epidemiology, pathophysiology, natural history, symptoms, signs, treatment and prognosis (1)
7.2. Describe how developmental, psychosocial, family and cultural factors affect the assessment of pain in pediatric patients and use this knowledge when formulating a treatment plan (1)
7.3. Use common validated tools to measure pain in neonates, children and adolescents, including children with cognitive impairment. Identify their purpose and explain their administration, scoring, interpretation and limitations, and define clinical utility (1)
7.4. Describe the differences between adults and children with regards to common analgesic pharmacotherapy and use this knowledge when formulating a treatment plan (1)
7.5. Describe approved strategies for safe prescribing and monitoring of off-label pain therapies in pediatric patients (1)
7.6. Describe non-pharmacologic approaches used in pediatrics to reduce procedural pain and to treat pain (2)
7.7. Outline the evidence regarding adverse physiological and psychological effects of inadequate pain management in neonates and infants (1)
7.8. Describe the assessment and management of a child or youth who experiences pain sensitization following repeated or prolonged exposure to acute pain episodes, for example in pediatric rheumatologic, oncologic or neurologic conditions (1)
8. Addiction Medicine
8.1. Define addiction, tolerance and physical dependence (1)
8.2. Describe the heterogeneity of opioid users in the population (abuse, misuse, diversion in pain and non-pain patients) and identify the health consequences of both untreated pain and opioid misuse or abuse (1)
8.3. Describe the core clinical features and treatment of patients with pain and addiction (1)
8.4. Stratify patients into low, moderate or high risk categories and identify patients who should be referred for addiction consultation prior to or during opioid therapy (1)
8.5. Describe the concept of "universal precautions" as it applies to treatment with opioids (1)
8.6. Employ validated risk assessment tools, and interviewing techniques to perform an appropriate risk assessment for a patient in whom opioids, benzodiazepines or cannabinoids are being considered (2)
8.7. Identify patients with co-morbid psychiatric and coping difficulties and select appropriate therapeutic strategies for pain management (1)
8.8. List aberrant drug-taking behaviors in patients prescribed opioids, identify which are more or less predictive of abuse, misuse or diversion and describe differential diagnoses for these behaviors (1)
8.9. Describe a range of treatment strategies for pain management in patients with addiction either active or in remission (1)
8.10.Identify strategies to reduce opioid diversion, including but not limited to health provider education, patient education regarding safe storage, improved treatment resources for patient with pain, government collaboration regarding surveillance and regulations, and abuse resistant formulations (1)
8.11.Outline appropriate withdrawal schedules and strategies for managing withdrawal symptoms for opioids and benzodiazepines (1)
9. Sleep Medicine (2)
9.1. Describe how sleep disorders may affect patients with acute and chronic pain and may be modulated through predisposing, precipitating, perpetuating and protecting factors
9.2. Describe the interaction between pain, sleep, medications, nonprescribed substances, anxiety and mood disorders
9.3. Identify the characteristics of patients who would most benefit from referral to a sleep clinic
9.4. Outline non pharmacologic and pharmacologic treatment options for the common sleep problems that occur in association with chronic pain disorders
ภาคผนวก ๓
Clinical skills in Pain Medicine
เมื่อสิ้นสุดการฝึกอบรม แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxควรมีความxxxxxxในการดูแลรักษา และท˚า xxxxxxxต่อไปนี้
I. Pain assessment
ระดับที่ 1 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องท˚าได้ด้วยตนเอง
ระดับที่ 2 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxควรท˚าได้ (ท˚าภายใต้การดูแล ของผู้เชี่ยวชาญ)
ระดับที่ 3 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxอาจท˚าได้ (ช่วยท˚าหรือได้เห็น)
Pain assessment | ระดับ 1 | ระดับ 2 | ระดับ 3 |
History and physical examination | 🗸 | ||
Multidimensional pain assessment and measurement | 🗸 | ||
Assessment in special population | 🗸 |
II. ภาวะปวด
แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องรู้ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม และภาวะแทรกซ้อนของการจัดการ ความปวดต่างๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ ตามที่สถาบันฝึกอบรมควรจัดการเรียนรู้ ดังนี้
ระดับที่ 1 กลุ่มอาการปวดที่พบบ่อย และ/หรือ มีความส˚าคัญ ซึ่งแพทย์
ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องดูแลรักษาได้ด้วยตนเอง
ระดับที่ 2 กลุ่มอาการปวดที่พบบ่อย และ/หรือ มีความส˚าคัญ ที่พบน้อยกว่า ระดับ 1 และมีความส˚าคัญ ซึ่งแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx ควร ดูแลรักษาได้ ภายใต้การควบคุมของอาจารย์
ระดับที่ 3 กลุ่มอาการปวดที่พบบ่อย และ/หรือ มีความส˚าคัญ ที่พบน้อยกว่า ระดับ 1 และมีความส˚าคัญซึ่งแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx อาจ
ดูแลรักษาได้ หรือ xxxxxxเรียนรู้โดยการศึกษาด้วยตนเอง หรือ
ฟังบรรยาย และสถาบันฝึกอบรมควรจัดให้มีการเรียนรู้โรคใน กลุ่มนี้อย่างพอเพียง
โรคหรือภาวะ | ระดับ 1 | ระดับ 2 | ระดับ 3 |
Postoperative pain | 🗸 | ||
Posttraumatic pain | 🗸 | ||
Painful medical conditions | 🗸 | ||
Cancer pain | 🗸 | ||
Central Neuropathic pain | 🗸 | ||
Peripheral Neuropathic pain | 🗸 | ||
Musculoskeletal pain | 🗸 | ||
Visceral pain | 🗸 | ||
Ischemic pain | 🗸 | ||
Headache | 🗸 | ||
Pain in special population (Elderly, Infant, Pregnancy) | 🗸 | ||
Other (OIH, Tolerance, Addiction) | 🗸 |
III.ทักษะทางคลินิกในการบ˚าบัดความปวด
แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องรู้ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม และภาวะแทรกซ้อนของการจัดการ ความปวดต่างๆ
แบ่งเป็น 3 ระดับ ตามที่สถาบันฝึกอบรมควรจัดการเรียนรู้ ดังนี้
ระดับที่ 1 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องท˚าได้ด้วยตนเอง
ระดับที่ 2 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxควรท˚าได้ (ท˚าภายใต้การดูแล ของผู้เชี่ยวชาญ)
ระดับที่ 3 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxอาจท˚าได้ (ช่วยท˚าหรือได้เห็น)
ทักษะทางคลินิก | ระดับ 1 | ระดับ 2 | ระดับ 3 |
การส่งตรวจทางคลินิกตามข้อบ่งชี้ ข้อห้าม และ ภาวะแทรกซ้อนxxx xxxจะเกิดขึ้น | 🗸 | ||
การแปลผลทางคลินิก | 🗸 | ||
การบ˚าบัดปวดด้วยการใช้ยา | 🗸 | ||
Diagnostic nerve blocks | 🗸 | ||
Somatic blocks | 🗸 | ||
• Peripheral block | 🗸 | ||
• Plexus block | 🗸 | ||
Sympathetic blocks | |||
• Celiac plexus block | 🗸 | ||
• Stellate ganglion block | 🗸 | ||
• Sphenopalatine ganglion block | 🗸 | ||
• Lumbar sympathetic block | 🗸 | ||
• Superior hypogastric block | 🗸 | ||
• Ganglion impar block | 🗸 | ||
Spinal analgesia | 🗸 | ||
Epidural analgesia | 🗸 | ||
Patient controlled analgesia | 🗸 | ||
Intravenous lidocaine infusion | 🗸 | ||
Intravenous ketamine infusion | 🗸 | ||
Spine intervention | |||
• Epidural steroid injection | 🗸 | ||
• Facet joint injection/ Medial branch block | 🗸 |
ทักษะทางคลินิก | ระดับ 1 | ระดับ 2 | ระดับ 3 |
• Selective nerve root injection | 🗸 | ||
• Sacroiliac joint injection | 🗸 | ||
Utilizing of Imaging for nerve blocks (Fluoroscopy, ultrasound) | 🗸 | ||
Neurolysis | |||
• Chemical | 🗸 | 🗸 | |
• Cryotherapy | |||
• Radiofrequency | 🗸 | ||
Peripheral injection | |||
• Hip/ shoulder/ knee injection | 🗸 | ||
• Piriformis injection | 🗸 | ||
การบ˚าบัดด้วยการไม่ใช้ยา | |||
• Acupuncture | 🗸 | ||
• Transcutaneous electrical nerve stimulation | 🗸 | ||
• Dry needling/ Trigger point injection | 🗸 |
IV. การประเมินหรือดูแลรักษา
ระดับที่ 1 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องท˚าได้ด้วยตนเอง
ระดับที่ 2 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxควรท˚าได้ (ท˚าภายใต้การดูแล ของผู้เชี่ยวชาญ)
ระดับที่ 3 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxอาจท˚าได้ (ช่วยท˚าหรือได้เห็น)
การประเมินหรือดูแลรักษา | ระดับ 1 | ระดับ 2 | ระดับ 3 |
ซักประวัติผู้ป่วยที่มีความปวด | 🗸 | ||
ประเมินความปวดด้านคุณภาพและปริมาณ | 🗸 | ||
ประเมินผลการระงับปวด | 🗸 | ||
xxxxxxxรักษาโดยใช้ยาที่ใช้บ่อย | 🗸 | ||
พิจารณาส่งต่อการรักษาได้ถูกต้อง | 🗸 | ||
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ | 🗸 | ||
xxxxxxงานและปรึกษากับผู้ร่วมการรักษาสาขา อื่นได้เหมาะสม | 🗸 | ||
เขียนแบบฟอร์มส่งปรึกษาได้ถูกต้อง | 🗸 | ||
แสดงพฤติกรรมและความรับผิดชอบในการดูแล ผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องและมีคุณธรรม | 🗸 |
ภาคผนวก ๔ Procedural skills in Pain Medicine
3 เดือน | 6 เดือน | 12 เดือน | 18 เดือน | 24 เดือน | |||
Entrustable professional activity (EPA) | EPA1 | History and physical examination | Level 3 | Level 4 | Level 5 | ||
EPA2 | Multidimensional pain assessment and measurement | Level 4 | Level 5 | Level 5 | |||
EPA3 | Cancer pain management | Level 3 | Level 4 | Level 5 | |||
EPA4 | Non-cancer pain management | Level 3 | Level 4 | Level 5 | |||
EPA5 | Acute pain management | Level 4 | Level 5 | ||||
EPA6 | Neuropathic pain management | Level 3 | Level 4 | Level 5 | |||
EPA7 | Palliative care | Level 3 | Level 4 | Level 5 | |||
EPA8 | Non-pharmacological pain management | Level 3 | Level 4 | Level 5 | |||
EPA9 | Spine intervention | Level 3 | Level 4 | Level 5 | |||
EPA10 | Somatic/Sympathetic block | Level 3 | Level 4 | Level 5 | |||
Direct observe procedural skill (DOP) | DOP1 | Pain intervention under fluoroscopic guidance | Level 3 | Level 4 | Level 5 | ||
DOP2 | Pain intervention under ultrasound guidance | Level 3 | Level 4 | Level 5 |
ภาคผนวก ๕
การท˚าวิจัย ขั้นตอนการท˚างานวิจัย
ตามหลักสูตรและเกณฑ์การฝึกอบรมแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความช˚านาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา)
ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทยฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๒
แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxต้องท˚างานวิจัย ได้แก่ งานวิจัยแบบ retrospective, prospective หรือ cross sectional อย่างน้อย ๑ เรื่อง หรือท˚า systematic review หรือ meta-
analysis ๑ เรอง ในระหว่างการปฏิบัติงาน ๒ ปี โดยเป็นผู้วิจัยหลัก/ร่วม งานวิจัยดังกล่าว
ต้องประกอบด้วยหัวข้อหลักดังนี้
๑. xxxxxxxxxxของการวิจัย
๒. วิธีการวิจัย
๓. ผลการวิจัย
๔. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
๕. บทคัดย่อ
คุณลักษณะของงานวิจัย
๑. เป็นผลงานที่ริเริ่มใหม่ หรือเป็นงานวิจัยที่ใช้xxxxxxxxxมีการศึกษาxxxxxxทั้งใน และต่างประเทศ แต่น˚ามาดัดแปลงหรือท˚าซ้˚าในบริบทของสถาบัน
๒. แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxและอาจารย์ผู้ด˚าเนินงานวิจัยทุกxx xxxผ่านการ อบรมด้านจริยธรรมการวิจัยในคน และ good clinical practice (GCP)
๓. งานวิจัยทุกเรื่องต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยฯของ สถาบัน
๔. งานวิจัยทุกเรื่อง ควรด˚าเนินภายใต้ข้อก˚าหนดของ GCP หรือxxxxxxxวิจัยที่ ถูกต้องและเหมาะสมกับค˚าถามวิจัย
๕. ควรใช้ภาษาอังกฤษในการน˚าเสนอผลงานวิจัยฉบับxxxxxxxโดยเฉพาะใน บทคัดย่อ
สิ่งที่ต้องปฏิบัติส˚าหรับการด˚าเนินการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย
๑. เมื่อได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยแล้ว ต้องด˚าเนินการ ท˚าวิจัยตามข้อตกลงโดยเคร่งครัด
๒. เมื่อมีการลงนามในเอกสารชี้แจงผู้ป่วยหรือผู้แทนเพื่อให้ยินยอมเข้าร่วมวิจัย ต้องให้ส˚าเนาแก่ผู้ป่วยหรือผู้แทนxxxxxxx ๑ ชุด
๓. ให้ระบุในเวชระเบียนผู้ป่วยนอกหรือผู้ป่วยในถึงสถานะการเข้าร่วมงานวิจัย ของผู้ป่วย
๔. การตรวจหรือรักษาเพิ่มเติมจากโครงการวิจัยที่ผ่านการอนุมัติแล้ว โดยการ กระท˚าดังกล่าวxxxxxxเป็นส่วนหนึ่งของการดูแลรักษาผู้ป่วยตามxxxx xxx xxxxxxท˚าxxxxxxว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น ยกเว้นได้มีการระบุและอนุมัติใน โครงการวิจัยแล้ว และผู้วิจัยหรือคณะผู้วิจัยต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้ง ทางตรงและทางอ้อมที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยและผู้ดูแลผู้ป่วย
๕. กรณีที่โครงการวิจัยก˚าหนดให้ท˚าการตรวจหรือรักษาที่เพิ่มเติมจากการดูแล รักษาผู้ป่วยตามxxxx หากมีผลลัพธ์xxxxxxส่งผลต่อประโยชน์ให้การดูรักษา ผู้ป่วย ให้ด˚าเนินการแจ้งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเพื่อวางแผนแจ้งผู้ที่ เกี่ยวข้องรับทราบต่อไป
๖. หากเกิดกรณีอื่นนอกเหนือการคาดการณ์ ให้รีบปรึกษาxxxxxxxxxxปรึกษา โครงการวิจัย หรือคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย กรณีxxxxxxxxxxxxปรึกษา ได้ ให้ย้อนกลับไปใช้หลักพื้นฐาน ๓ ข้อ ของจริยธรรมทางการแพทย์ในการ ตัดสินใจ คือ
๖.๑ การถือประโยชน์สุขของผู้ป่วยเป็นหลัก และการไม่ก่อให้เกิดความ ทุกข์ทรมานกับผู้ป่วย
๖.๒ การเคารพxxxxxของผู้ป่วย
๖.๓ การยึดมั่นในหลักความxxxxxxxของทุกคนในสังคมที่จะได้รับ บริการทางการแพทย์ตามมาตรฐาน
ขอบเขตความรับผิดชอบ
เนื่องจากความxxxxxxในการท˚าวิจัยด้วยตนเองเป็นสมรรถนะหนึ่งที่แพทย์ประจ˚าบ้าน อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) ต้องxxxxxตามหลักสูตรฯ ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
๒๕๖๒ และ ผลงานวิจัยฉบับxxxxxxxเป็นองค์ประกอบหนึ่งของการประเมินคุณสมบัติผู้ที่ จะได้รับวุฒิบัตรฯ เมื่อสิ้นสุดการฝึกอบรม ดังนั้นสถาบันฝึกอบรมจะต้องรับผิดชอบการ เตรียมความพร้อมให้กับแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxของสถาบันตนเองตั้งแต่การเตรียมโครง ร่างการวิจัย ไปจนสิ้นสุดการท˚างานวิจัยและจัดท˚ารายงานวิจัยฉบับxxxxxxxเพื่อน˚าส่งราช วิทยาลัยฯ ทั้งนี้สถาบันฝึกอบรมจะต้องรายงานชื่องานวิจัย xxxxxxxxxxปรึกษา และความ คืบหน้าของงานวิจัย ตามกรอบเวลาที่ก˚าหนดไปยังราชวิทยาลัยฯ เพื่อให้มีการก˚ากับดูแล อย่างทั่วถึง
กรอบการด˚าเนินงานวิจัยในเวลา ๒ ปี (๒๔ เดือนของการฝึกอบรม)
ระยะเวลาประมาณการมีดังนี้
เดือนที่ ประเภทกิจกรรม
๖ จัดเตรียมค˚าถามวิจัยและติดต่อxxxxxxxxxxปรึกษาและจัดท˚าโครง ร่างงานวิจัย
๙ สอบโครงร่างงานวิจัยและขออนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรม การวิจัยและขอทุนสนับสนุนงานวิจัยจากแหล่งทุนทั้งภายในและ นอกสถาบัน (ถ้าต้องการ)
๙-๑๒ เริ่มเก็บข้อมูลและน˚าเสนอความคืบหน้างานวิจัย
๑๒-๑๘ วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลงานวิจัย
๑๘ จัดท˚ารายงานวิจัยฉบับร่างให้xxxxxxxxxxปรึกษาปรับแก้ไข
๒๔ ส่งรายงานวิจัยฉบับxxxxxxxต่อสถาบันฝึกอบรม เพื่อส่งต่อไปยัง
ราชวิทยาลัยฯ ให้ท˚าการประเมินผล ส˚าหรับประกอบคุณสมบัติ การเข้าสอบเพื่อวุฒิบัตรภาคปฏิบัติขั้นสุดท้าย
ภาคผนวก ๖ การxxxxxxxนอกเวลาราชการ
ภาควิชา ฯ จัดให้แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxแต่ละชั้นปีxxxxxxxปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ และเป็นที่ปรึกษาให้กับแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxxxxxxxxxxปฏิบัติงานในหน่วยระงับปวด โดยดูแล
ผู้ป่วยในที่มีความปวดเรื้อรังที่รับปรึกษาไว้อย่างต่อเนื่อง และรับปรึกษาผู้ป่วยรายใหม่ในช่วงนอก เวลาราชการที่จ˚าเป็นต้องได้รับการดูแลแบบเร่งด่วน โดยxxxxxxเบิกค่าตอบแทนการปฏิบัติงานได้ เป็นครั้งๆไป ตามระเบียบการเบิกจ่ายค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ภาคผนวก ๗
Entrustable Professional Activities
EPA1 History taking and physical examination
เมื่อสิ้นสุด 3 เดือน ต้องได้ผลประเมินอย่างน้อยระดับ 3 : 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 6 เดือน ต้องได้ผลประเมินอย่างน้อยระดับ 4 : 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องได้ผลประเมินอย่างน้อยระดับ 5 : 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx....................................................xxxxxx......................................
ไม่ท˚า / ท˚าไม่ถูก | ท˚าxxxxxx ครบถ้วน | ท˚าได้ถูกต้อง ครบถ้วน | |
1. xxxxxxซักประวัติ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความปวด จากผู้ป่วย/ญาติ/ผู้ดูแล ได้ อย่างเหมาะสม | |||
2. xxxxxxซักประวัติเพื่อแยกสาเหตุของความปวด | |||
3. xxxxxxสร้างความxxxxxxxxxxxดีต่อผู้ป่วย (ครอบครัว/ผู้ดูแล) สื่อสารกับผู้ป่วยและญาติด้วยวาจาและxxxxxxxxxเหมาะสม | |||
4. ประเมินผู้ป่วยในสถานที่ สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ที่เหมาะสม และเคารพ ในxxxxxผู้ป่วย | |||
5. xxxxxxตรวจร่างกายทั่วไปในระบบต่าง ๆ ได้ถูกต้อง | |||
6. มีทักษะในการตรวจร่างกายเฉพาะ ในระบบที่เกี่ยวข้องกับความปวดของผู้ป่วย | |||
7. xxxxxxxxxxxxผลจากการซักประวัติ และตรวจร่างกาย เพื่อน˚าไปสู่การ วินิจฉัยแยกโรคที่พบxxxxxxx |
เกณฑ์ผ่าน : ท˚าได้ถูกต้องครบถ้วนทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า
ชื่ออาจารย์ผประเมิน .............................................(ลายเซ็น) (ตัวxxxxx)
EPA 2 Multidimensional pain assessment and measurement
เมื่อสิ้นสุด 6 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 4 : 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 5 : 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 5 : 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจ˚าบ้าน........................................... xxxxxx....................................................
ไม่ท˚า / ท˚าไม่ถูก | ท˚าxxxxxx ครบถ้วน | ท˚าได้ ถูกต้อง ครบถ้วน | |
1. ประเมินความปวดด้านภาวะxxxxxx (affective domain of pain) xxxx xxxxxxวินิจฉัยภาวะซึมxxxxxxxx ต้องการการรักษากับจิตแพทย์อย่างเร่งด่วนได้ | |||
2. ประเมินผลของความปวดต่อการท˚าxxx xxxนอน การเข้าสังคมxxxxxxxท˚างานและที่บ้าน (pain interference) | |||
3. ประเมินความปวดด้านการรับรู้ความปวด (cognitive domain of pain) และการจัดการความปวด (coping mechanism) โดยxxxxxxวินิจฉัย coping mechanism ที่ผิดxxxx xxxx xxxxxxxยา (dependency) หลีกเลี่ยง (avoidance) เพื่อประเมินข้อบ่งxxxxxxผู้ป่วยควรได้รับ coping-skill assessment & training จากจิตแพทย์หรือไม่ | |||
4. ส่งปรึกษาจิตแพทย์ แพทย์ทางเวชศาสตร์ฟื้นฟู เมื่อมีข้อบ่งxxx xxxx สงสัยว่าผู้ป่วยอาจมีภาวะซึมเศร้า หรือผู้ป่วยไม่ยอมเดินเพราะปวด | |||
5. ส่งปรึกษาแพทย์สาขาอื่นๆ ทีเกี่ยวข้องในการรักษาต้นเหตุของความปวด xxxx แพทย์มะเร็งxxxxx xxxxxศัลยกรรมกระดูก | |||
6. อธิบายแบบประเมินความปวดแบบหลายxxxxxxxมีใช้ในประเทศไทยและข้อบ่งxxx xxxx BPI (Brief pain inventory; ประเมิน pain intensity and pain interference), ODI (Oswestry disability index; ประเมิน low back pain intensity and function), Hospital Anxiety and Depression Scale (HADS; ประเมิน ความวิตกกังวลและซึมเศร้า) เป็นต้น |
เกณฑ์ผ่าน : ท˚าได้ถูกต้องทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า
ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน...........................................(ลายเซ็นต์) (ตัวxxxxx)
EPA 3: Cancer pain management
เมื่อสิ้นสุด 6 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx ..................................................................xxxxxx....................................................
ไม่ท˚า / ท˚าไม่ถูก | ท˚าxxxxxx ครบถ้วน | ท˚าได้ถูกต้อง ครบถ้วน | |
1. การประเมินผู้ป่วยโดยการซักประวัติ ตรวจร่างกาย การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ รวมxxxxxxประเมินภาวะทางจิตใจ สังคม จิตวิญญาณ และคุณภาพชีวิต | |||
2. การเลือกใช้เครื่องมือในการประเมินอาการปวดในผู้ป่วยที่สูญเสียการรับรู้ | |||
3. การวินิจฉัยแยกสาเหตุของอาการปวดจากมะเร็ง โดยอธิบายจากพยาธิสรีรวิทยาของความ ปวดได้ | |||
4. การวางแผนการรักษา (ครอบคลุมข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ประวัติการรักษาเดิม จากการปรึกษาทีมดูแลประคับประคองและมะเร็งxxxxx) | |||
5. การรักษาอาการปวดจากมะเร็ง การเลือกใช้ยา และวิธีการบริหารยา (แสดงให้เห็นได้ว่ามี การใช้หลักฐานเชิงxxxxxxxxในการเลือกแนวทางการรักษา) โดยการน˚าหลักการทางเภสัช วิทยา มาใช้ประกอบการให้ยาระงับปวดแก่ผู้ป่วย | |||
6. การรักษาผลข้างเคียงของยาระงับปวดที่พบบ่อย | |||
7. ใช้แนวทางสหสาขาวิชาชีพในการจัดการอาการปวดจากมะเร็ง (การปรึกษา xxxxxxงาน กับนักจิตวิทยา/จตแพทย์ รังสีแพทย์ อายุรแพทย์ ศัลยแพทย์ ฯลฯ หรือการประคับประคอง ด้านจิตวิญญาณได้อย่างเหมาะสม) | |||
8. การใช้ทักษะในการจัดการสภาวะทางจตใจที่มีผลต่ออาการปวดในผู้ป่วยมะเร็งระยะ ลุกลาม (xxxxxxระบุอาการทางจตใจที่เกิดเนื่องจากภาวะที่คุกคามต่อชีวิต xxxx โกรธ กลัว ซึมเศร้า หรือ วิตกกังวล) | |||
9. การอธิบายเกี่ยวกับxxxxxxxระงับปวด เมื่อมีข้อบ่งชี้ | |||
10. การสื่อสารและให้ค˚าแนะน˚ากับผู้ป่วยและ/หรือครอบครัว (ทั้งการพูดและการเขียน) | |||
11. การบริหารจดการด้านการดูแลผู้ป่วยภายใต้ข้อจ˚ากัดต่าง ๆ xxxx xxxxxxxxxxxxx xxxเดินทาง |
ล˚าบาก | |||
12. การพัฒนาตนเองด้านวิชาการที่เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยปวดจากมะเร็ง เพื่อน˚าลงสู่การปฏิบัติ | |||
13. ความรับผิดชอบ: งานxxxxxxรับมอบหมาย ความตรงต่อเวลา | |||
14. การประเมินโดยรวมของการจัดการอาการปวดจากมะเร็ง |
เกณฑ์ผ่าน : ท˚าได้ถูกต้องครบถ้วนทุกข้อ
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า
ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน .............................................(ลายเซ็น) (ตัวxxxxx)
EPA 4: Non-cancer pain management
เมื่อสิ้นสุด 6 เดือน ต้องได้ผลประเมินอย่างน้อยระดับ 3 : 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องได้ผลประเมินอย่างน้อยระดับ 4 : 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องได้ผลประเมินอย่างน้อยระดับ 5 : 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx......................................................... xxxxxx..........................................................
ไม่ท˚า / ท˚าไม่ถูก | ท˚าxxxxxx ครบถ้วน | ท˚าได้ถูกต้อง ครบถ้วน | |
1. ซักประวัติอาการปวดและประเมินอาการปวดเบื้องต้นได้ | |||
1. ตรวจร่างกายเพื่อประเมินอาการปวดเบื้องต้นได้ | |||
3. ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการได้อย่างเหมาะสม | |||
4. จ˚าแนกชนิดของอาการปวดเบื้องต้นได้ | |||
5. เลือกใช้ยาในการระงับปวดได้อย่างเหมาะสม | |||
6. ทราบภาวะไม่พึงxxxxxxxxxxเกิดจากยาและxxxxxxให้การรักษาเบื้องต้น ได้ | |||
7. เลือกใช้การระงับปวดxxxxxxใช้ยาได้อย่างเหมาะสม | |||
8. xxxxxxวางแผนการรักษา ติดตามอาการปวดของผู้ป่วยได้ | |||
9. xxxxxxให้ค˚าแนะน˚าผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับการใช้ยาและภาวะไม่พึง xxxxxxxxxxอาจเกิดขึ้นได้ | |||
10. สื่อสารกับผู้ป่วยและญาติด้วยวาจาและxxxxxxxxxเหมาะสม |
เกณฑ์ผ่าน : ท˚าได้ถูกต้องครบถ้วนทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า
ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน.................……………..…..……..(ลายเซ็นต์)… (ตัวxxxxx)
EPA 5 Acute pain management
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจ˚าบ้าน……………………………………………… xxxxxx…………………………………
ไม่ท˚า / ท˚าไม่ถูก | ท˚าxxxxxx ครบถ้วน | ท˚าได้ ถูกต้อง ครบถ้วน | |
1. ซักประวัติ ตรวจร่างกาย และประเมินผู้ป่วยที่มี Acute pain ได้ | |||
2. วางแผนแนวทางการรักษาและxxxxxxประยุกต์ใช้ guidelines รวมทั้ง ผู้ป่วยที่มีโรคทางxxxxxxxxxxxxxxxxอย่างเหมาะสม | |||
3. เลือกวิธีการรักษา ทั้งการใช้ยาและไม่ใช้ยาที่เหมาะสมกับผู้ป่วย | |||
4. วางแผนการรักษาร่วมกับผู้ป่วยและญาติได้ | |||
5. การให้ความรู้ อธิบายพยาธิxxxx xxxพยากรณ์โรค แนวทางและ ขั้นตอนการรักษาด้วยยาและxxxxxxxแก่ผู้ป่วยและญาติ | |||
6. ประเมินและติดตามผลการรักษา ให้การบ˚าบัดผลข้างเคียงได้อย่าง เหมาะสม | |||
7. xxxxxxสอนแพทย์ประจ˚าบ้าน / นักศึกษาแพทย์ / พยาบาล ได้อย่าง ถูกต้อง | |||
8. ลงบันทึกข้อมูลในเวชระเบียนได้อย่างถูกต้องครบถ้วน |
เกณฑ์ผ่าน : ท˚าได้ถูกต้องครบถ้วนทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า
ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน .............................................(ลายเซ็น) (ตัวxxxxx)
EPA 6 Neuropathic pain management
เมื่อสิ้นสุด 6 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจ˚าบ้าน…………………………………………………xxxxxx…………………………………
ไม่ท˚า / ท˚าไม่ ถูก | ท˚าxxxxxx ครบถ้วน | ท˚าได้ถูกต้อง ครบถ้วน | |
1. ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ให้การวินิจฉัยแยกโรคภาวะที่ท˚าให้เกิด neuropathic pain xxxxxxx | |||
2. อธิบายเครื่องมือที่มีความแม่นย˚าที่ใช้บ่อยเพื่อประเมิน neuropathic pain ในแงของวัตถุประสงค์ ของเครื่องมือ การให้คะแนน การแปลผล และข้อจ˚ากัด | |||
3. อธิบายลักษณะทางคลินิก อาการ/อาการแสดงที่พบxxxxxxx และ clinical tests ของ neuropathic pain รวมทั้ง peripheral และ central sensitization | |||
4. เลือกส่งตรวจเพิ่มเติมและแปลผลการส่งตรวจทางรังสีวินิจฉัย nerve conduction studies, electromyography และ quantitative sensory testing เพื่อการวินิจฉัย neuropathic pain ได้ | |||
5. วางแผนแนวทางการรักษาและxxxxxxประยุกต์ใช้ guidelines รวมทั้งผู้ป่วยที่มีโรคทางxxxxxx xxxxxxxxxxอย่างเหมาะสม | |||
6. วางแผนการรักษาร่วมกับผู้ป่วยและญาติได้ | |||
7. การให้ความรู้ อธิบายพยาธิxxxx xxxพยากรณ์โรค แนวทางและขั้นตอนการรักษาด้วยยาและ xxxxxxxแก่ผู้ป่วยและญาติ | |||
8. ประเมินและติดตามผลการรักษา ให้การบ˚าบัดผลข้างเคียงได้อย่างเหมาะสม |
เกณฑ์ผ่าน : ท˚าได้ถูกต้องครบถ้วนทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า
ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน .............................................(ลายเซ็น)… (ตัวxxxxx)
EPA 7: Palliative care
เมื่อสิ้นสุด 6 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx ..................................................................xxxxxx....................................................
ไม่ท˚า / ท˚า ไม่ถูก | ท˚าxxxxxx ครบถ้วน | ท˚าได้ ถูกต้อง ครบถ้วน | |
1. การประเมินผู้ป่วยที่ดูแลแบบประคับประคองโดยองค์รวม (ครอบคลุมการซักประวัติที่เกี่ยวข้อง การตรวจร่างกาย การส่งตรวจ รวมxxxxxxประเมินภาวะทางจิตใจ สังคม จิตวิญญาณ และการ ท˚างาน) | |||
2. การใช้แนวทางสหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (การปรึกษานักจิตวิทยา/ จิตแพทย์ หรือการประคับประคองด้านจิตวิญญาณได้อย่างเหมาะสม) | |||
3. การอธิบายสาเหตุและพยาธิสรีรวิทยาในกลไกการเกิดอาการไม่สุขสบายทางxxxต่างๆในผู้ป่วยที่ ดูแลแบบประคับประคอง | |||
4. การจัดการอาการปวดในผู้ป่วยที่ดูแลแบบประคับประคอง | |||
5. การจัดการอาการไม่สุขสบายทางxxxต่างๆ ในผู้ป่วยที่ดูแลแบบประคับประคอง รวมxxxxxxดูแล ในช่วงระยะท้ายของชีวิต | |||
6. การใช้ทักษะในการจัดการสภาวะทางxxxxxxxxมีในผู้ป่วยที่ดูแลแบบประคับประคอง (xxxxxx ระบุอาการทางxxxxxxxxเกิดเนื่องจากภาวะที่คุกคามต่อชีวิต xxxx โกรธ กลัว วิตกกังวล หรือ ซึมเศร้า) | |||
7. การใช้หลกั การทางจริยธรรมทางการแพทย์ในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (patient confidentiality, autonomy, medical futility) | |||
8. ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย (และ/หรือครอบครัว) ในการบอกความจริง (บอกข่าวร้าย) และการ วางเป้าหมายการรักษา โดยxxxxxxวางแผนการระงับปวดและอาการต่างๆในผู้ป่วยระยะท้าย (แนะน˚าวิธีการใช้ยาและวิธีต่างๆxxxxxxใช้ยา) | |||
9. ทักษะการสื่อสารและxxxxxxงานกับทีมสหสาขาวิชาชีพในเป้าหมายการดูแลผู้ป่วย (ทั้งการพูด การเขียน การบันทึก การส่งปรึกษา และการส่งต่อผู้ป่วย) | |||
10. ทักษะการพัฒนาตนเองด้านวิชาชีพและวิชาการ โดยxxxxxxน˚ามาประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วย แบบประคับประคอง (การใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ในการเลือกแนวทางการรักษา) |
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า
ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน .............................................(ลายเซ็น)… (ตัวxxxxx)
EPA 8: Non-pharmacological Pain Management
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 18 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx ..................................................................xxxxxx....................................................
ไม่ท˚า / ท˚าไม่ถูก | ท˚าxxxxxx ครบถ้วน | ท˚าได้ถูกต้อง ครบถ้วน | |
1. พิจารณาและอธิบายการระงับปวดโดยวิธีxxxxxxใช้ยาตามความเหมาะสม xxxx การฝังเข็ม การกระตุ้นด้วย ไฟฟ้า แม่เหล็กหรือแสงเลเซอร์ การท˚า nerve blocks ต่างๆ การรักษาทางจิตใจ การฟื้นฟูสมรรถภาพ กายภาพบ˚าบัด และการท˚าผ่าตัด เป็นต้น | |||
2. ทราบข้อบ่งชี้ ข้อห้าม และข้อควรระวัง ของวิธีต่างๆที่เลือกให้ผู้ป่วย | |||
๔. วางแผนการรักษา (ครอบคลุมข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง xxxx อธิบายผู้ป่วยและญาติให้เข้าใจ วาง วัตถุประสงค์ในการรักษาร่วมกัน และปรึกษาผู้เชี่ยวชาญสาขานั้นๆ) | |||
๕. ให้การรักษาที่ถูกต้อง หรือส่งปรึกษาและxxxxxxงานติดตามดูแลร่วมกับผู้เชยวxxxนั้นๆอย่างสม่˚าเสมอ | |||
๖. ประเมินผลการรักษาและxxxxxxจัดการกับภาวะแทรกซ้อนจากวิธีเหล่านั้น อธิบาย และดูแลรักษาได้ รวมทั้งxxxxxxวางแผนการรักษาต่อได้ | |||
๗. ให้ความส˚าคัญด้านxxxxxx สังคม และจิตใจ รวมทั้งคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและผู้ดูแลหรือญาติ | |||
๘. ใช้ multimodality ในการดูแลรักษาความปวดอย่างสม่˚าเสมอ | |||
๙. แสดงให้เห็นว่ามีการศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ |
เกณฑ์ผ่าน : ท˚าได้ถูกต้องครบถ้วนทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า
ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน .............................................(ลายเซ็น) (ตัวxxxxx)
EPA 9 Spine intervention
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 18 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx....................................................... xxxxxx....................................................
หัวข้อการประเมิน | ไม่ท˚า / ท˚าไม่ถูก | ท˚าxxxxxx ครบถ้วน | ท˚าได้ถูกต้อง ครบถ้วน |
1. xxxxxxซักประวัติ ตรวจร่างกายและให้การวินิจฉัยแยกโรคได้ | |||
2. xxxxxxอ่าน plain film, MRI spine ได้ | |||
3. xxxxxxเลือกผู้ป่วยที่เหมาะสมกับxxxxxxxxxxจะท˚าได้ | |||
4. อธิบายข้อดี ข้อเสีย และภาวะแทรกซ้อนของการท˚าxxxxxxxได้ | |||
5. อธิบายขั้นตอนการเตรียมตัวตั้งแต่ ก่อน ระหว่าง และหลังการท˚าxxxxxxxให้แก่ผู้ป่วยได้ | |||
6. xxxxxxประเมินและเตรียมผู้ป่วยก่อนท˚าxxxxxxxได้ | |||
7. ท˚าxxxxxxxได้ (ใช้เครื่องมือและยาถูกต้อง มี sterile technique xxxxx ไม่ท˚าให้ผู้ป่วยxxxxxxxทรมาน ขณะท˚าxxxxxxx) | |||
8. รู้จักปัองกันอันตรายจากรังสีแก่ตนเอง ผู้ป่วยและผู้ร่วมงาน | |||
9. xxxxxxxรักษาและดูแลผู้ป่วยหลังท˚าxxxxxxx | |||
10. การลงบันทึกในเวชระเบียนและ informed consent | |||
11. สื่อสารกับผู้ป่วยและญาติด้วยวาจาและxxxxxxxxxเหมาะสม |
เกณฑ์ผ่าน : ท˚าได้ถูกต้องครบถ้วนทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า
ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน.............................................(ลายเซ็นต์) (ตัวxxxxx)
EPA 10 Somatic / Sympathetic block
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 18 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจ˚าบ้าน........................................... xxxxxx....................................................
ไม่ท˚า / ท˚าไม่ถูก | ท˚าxxxxxx ครบถ้วน | ท˚าได้ถูกต้อง ครบถ้วน | |
1. ประเมินผู้ป่วยทั้งประวัติ ตรวจร่างกายและผล investigation ก่อนได้รับxxxxxxxระงับปวด พร้อมสรุปผลประเมินให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจ | |||
2. อธิบายสาเหตุปวดที่เป็นไปได้และแนวทางการรักษาโดยภาพรวม รวมทั้งอธิบายบทบาทและ วัตถุประสงค์ของxxxxxxx | |||
3. อธิบายข้อบ่งชี้และข้อห้ามในการท˚าxxxxxxxxxxจะท˚าได้ | |||
4. อธิบายขั้นตอนการท˚าxxxxxxxให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจ | |||
5. ชี้แจงข้อดี xxxx ประสิทธิภาพของxxxxxxx และข้อเสียของxxxxxxx รวมทั้งภาวะแทรกซ้อนxxx xxxเกิดขึ้นได้และวิธีการแก้ไขภาวะแทรกซ้อน ให้ผู้ป่วยและญาติจนเข้าใจพร้อมกับเซ็น ยินยอมเข้ารับxxxxxxx | |||
6. เลือกใช้ยาฉีดและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม พร้อมอธิบายเหตุผล | |||
7. วินิจฉัยภาวะแทรกซ้อนจากxxxxxxxและxxxxxxให้การรักษาเบื้องต้นได้ | |||
8. ติดตามและประเมินอาการปวดของผู้ป่วยหลังได้รับxxxxxxx รวมทั้งประเมินความพร้อมของ ผู้ป่วยก่อนให้ผู้ป่วยกลับบ้าน | |||
9. แนะน˚าผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติหลงั ได้รับxxxxxxxและภาวะไม่พึงxxxxxxxxxx อาจเกิดขึ้นได้ | |||
10. สื่อสารกับผู้ป่วยและญาติด้วยวาจาและxxxxxxxxxเหมาะสม |
เกณฑ์ผ่าน : ท˚าได้ถูกต้องทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า
ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน...........................................(ลายเซ็นต์) (ตัวxxxxx)
Direct Observation of Procedural Skills
DOPS 1 Intervention under fluoroscopic guidance
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 18 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx........................................................... xxxxxx.......................................................
Intervention under fluoroscopic guidance | ไม่ถูกต้อง / ไม่ปฏบัติ | ถูกต้องบางส่วน / ไม่xxxxxxx | ถูกต้องxxxxxxx แก้ปัญหาได้ (ถ้ามี) |
1. การเตรียมอุปกรณ์ | |||
1.1 ยาและอุปกรณ์ทางxxxxxxxxxxจ˚าเป็น | |||
1.2 sterile set, needles, syringes, น้˚ายาท˚าความสะอาด | |||
1.3 ยา: ยาชา, สารทึบรังสี, steroid, neurolytic agent | |||
1.4 สวมอุปกรณ์ป้องกันรังสี: ชุดตะกั่ว, thyroid shield, แว่นกันรังสี | |||
2. การเตรียมผู้ป่วย | |||
2.1 xxxxxxx XX access/ IV fluid ได้อย่างเหมาะสม | |||
2.2 อธิบายผู้ป่วยใหเข้าใจขนตอนและใหค้ วามร่วมมือในการท˚า xxxxxxx | |||
2.3 Monitoring | |||
2.4 Position | |||
3. เทคนิคการท˚าxxxxxxx | |||
3.1 Sterile technique | |||
3.2 การปรับxxxxxและ C-arm | |||
3.3 การบังคับเข็ม | |||
3.4 การแปลผลภาพถ่ายทางรังสี | |||
3.5 การสื่อสารกับผู้ป่วยในระหว่างท˚าxxxxxxx |
4. การติดตามหลังท˚าxxxxxxx | |||
4.1 การลงบันทึกใน procedural note | |||
4.2 ประเมินผล diagnostic block / therapeutic procedure | |||
4.3 ให้ค˚าแนะน˚าการปฏบัติตนภายหลังการท˚าxxxxxxx | |||
4.4 บอก complications ได้, รู้วิธีการแก้ไข, วิธีป้องกันและรักษา |
บันทึกค˚าแนะน˚าเพิ่มเติม …………………………………......…...…………………………………………………………………… | ||||
………………………………………………………………………………………...………………………………………………… | ||||
……………………………………………………………...……………………………………………………………………………. .. | ||||
ผลการประเมินทักษะการท˚าหัตการ | ผ่าน* | ไม่ผ่าน |
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า
อาจารย์ผู้ประเมิน (ลายเซ็นต์) (ตัวxxxxx)
DOPS 2 US guided intervention for pain management
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 18 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx ....................................................... xxxxxx.......................................................
Spinal block | ไม่ถูกต้อง / ไม่ปฏบัติ | ถูกต้องบางส่วน / ไม่xxxxxxx | ถูกต้องxxxxxxx แก้ปัญหาได้ (ถ้ามี) |
5. การเตรียมอุปกรณ์ | |||
1.5 เตรียมอุปกรณ์ช่วยหายใจ, US probe- linear or curved and cover | |||
1.6 Dressing set, needle, syringe, chlorhexidine | |||
1.7 ยา: ยาชา, type of steroid, vasopressor(for caudal or neuroaxial block) | |||
6. การเตรียมผู้ป่วย | |||
2.5 IV catheter for high risk block(sympathetic block, cervical spine) | |||
2.6 อธิบายผู้ป่วยใหเข้าใจและให้ความร่วมมือในการท˚าxxxxxxx | |||
2.7 Monitoring | |||
2.8 Position | |||
7. เทคนิคการ block | |||
3.1 Sterile technique | |||
3.6 ขั้นตอนถูกต้อง, needle visualisation especially tip of the needle | |||
3.7 Scaning technique and | |||
8. ทราบ complications | |||
4.5 บอก complication ได้, รู้วิธีการแก้ไข, วิธีป้องการและรักษา |
บันทึกค˚าแนะน˚าเพิ่มเติม …………………………………......…...…………………………………………………………………… |
………………………………………………………………………………………...………………………………………………… |
……………………………………………………………...………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………... |
ผลการประเมินทักษะการท˚าหัตการ | ผ่าน* | ไม่ผ่าน | ||
* ผ่าน: ได้ผลประเมินท˚าถูกต้องครบถ้วนทุกข้อ | ||||
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม □ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น □ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน □ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์ □ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ □ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า | ||||
อาจารย์ผู้ประเมิน................................................(ลายเซ็นต์) (ตัวxxxxx) |
ภาคผนวก ๘
แนวทางในการด˚าเนินการตรวจสอบผลการสอบ
แพทย์ประxxxบ้ำนxxxxxxฯขอตรวจสอบผลกำรสอบ ภำยใน ๗ วันนับจำกประกำศผล กำรสอบ โดยสำมำรถแจ้งโดยตรงกับประธำน/รองประธำนหลักสูตร ฯ
ประธำน/รองประธำนหลักสูตร ฯ พูดคุยซักถำมถึงเหตุผลxxxxxรอุทธรณ์ และส่วนของข้อสอบที่ขอตรวจสอบ
ประธำน/รองประธำนหลักสูตร ฯ ประสำนงำนกับนักวิชำกำรกำรศึกษำ ตรวจสอบผลกำรสอบให้กับแพทย์ประxxxบ้ำนxxxxxxฯ
ไม่มีข้อสงสัย มีข้อสงสัย
ไม่มีข้อสงสัย
ประสำนงำนกับอำจำรย์ผู้รับผิดชอบข้อสอบในส่วนที่มีปัญหำ เพื่อตรวจสอบผลกำรสอบให้กับแพทย์ประxxxบ้ำนxxxxxxฯ
สรุปผลกำรตรวจสอบ และแจ้งให้แพทย์ประxxxบ้ำนxxxxxxฯทรำบ
ประสำนงำนกับอำจำรย์ผู้ออกข้อสอบที่มีปัญหำ เพื่อตรวจสอบผลกำรสอบให้กับแพทย์ประxxxบ้ำนxxxxxxฯ
มีข้อสงสัย
ภาคผนวก ๙
ตารางสรุปวิธีการให้การอบรมและประเมินผล
๑) การดูแลรักษาผู้ป่วย (Patient Care)
มาตรฐานการเรียนรู้ | วิธีให้การฝึกอบรม | วิธีการประเมินผล |
มีทักษะในการดูแลผู้ป่วย ที่มีอาการปวด ตั้งแต่การ ประเมินผู้ป่วย การ วินิจฉัย การรักษา แบบ องค์รวม และการดูแล ต่อเนื่อง | แผนการฝึกอบรมก˚าหนดให้แพทย์ ประจ˚าบ้านxxxxxxมีการหมุนเวียน ปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยด้านการระงับปวด ในลักษณะที่หลากหลายปัญหา xxxx ความปวดเฉียบพลัน ความปวดเรื้อรังที่ เกิดจากสาเหตุของโรคมะเร็งและไม่ใช่ จากโรคมะเร็ง ความปวดจากเหตุแห่ง พยาธิสภาพxxxxxx ความปวดใน ผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต และความ ปวดที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด โดย ก˚าหนดให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทุกคน ได้รับการสลับหมุนเวียนไปยังแผนก ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกคณะ ตลอดระยะเวลาของการฝึกอบรม | -สังเกตการปฏิบัติงาน ในสถานการณ์จริง -แบบประเมิน EPA/DOP -แบบประเมิน ๓๖๐ -log book |
๒) ความรู้ ความxxxxxxxxxและความxxxxxxในการน˚าไปใช้แก้ปัญหาของผู้ป่วยและสังคมรอบด้าน (Medical knowledge and Skills)
มาตรฐานการเรียนรู้ | วิธีให้การฝึกอบรม | วิธีการประเมินผล |
๒.๑) มีความรู้พื้นฐาน ใน การบ˚าบัดความปวดทุกวิธี | - แผนการฝึกอบรมจัดให้แพทย์ประจ˚า บ้านxxxxxxทุกคนน˚าเสนอและอภิปราย องค์ความรู้พื้นฐานด้านการระงับปวด โดยก˚าหนดตารางการน˚าเสนอ Topic discussion เป็นประจ˚าทุกxxxxxx ๑๓.๐๐- ๑๔.๓๐ น. และxxxxxxxxxxxx ๒ ของทุกเดือน - แผนการฝึกอบรมจัดให้แพทย์ประจ˚า บ้านxxxxxxทุกคนเข้าร่วม Interhospital | -การสอบกลางปีและ ปลายปีในรูปแบบของ การสอบแบบ MCQ, SAQ, และ ESSAY -การสังเกตการท˚างาน หรือการสอบถามความรู้ ระหว่างปฏิบัติงาน ประจ˚าวัน |
Conference ซึ่งจัดโดยความร่วมมือ ของ 6 สถาบันผ่านระบบ Teleconference ทุกxxxxxxที่ ๒ ของ เดือน เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐ น. | ||
๒.๒) มีทักษะด้านวิสัญญี | - แผนการฝึกอบรมก˚าหนดให้ผู้เข้ารับ | -แบบประเมิน |
ในการระงับปวด | การฝึกอบรมได้เข้าปฏิบัติงานในห้อง | EPA/DOP |
ผ่าตัด เพื่อท˚าการประเมินและวาง | -แบบประเมิน ๓๖๐ | |
แผนการระงับปวดส˚าหรับผู้ป่วยที่มารับ | -log book | |
การผ่าตัดด้วยเทคนิคการระงับ | -การสอบกลางปีและ | |
ความรู้สึกเฉพาะส่วน และก˚าหนดให้ผู้ | ปลายปีในรูปแบบของ | |
เข้ารับการฝึกอบรมปฏิบัติงานดูแลด้าน | การสอบแบบ MCQ, | |
การระงับปวดเฉียบพลันหลังการผ่าตัด | SAQ, และ ESSAY | |
หรือมีความปวดเฉียบพลันจากสาเหตุ | -การสังเกตการท˚างาน | |
อื่นๆ xxxx การท˚าxxxxxxxทางการแพทย์ | หรือการสอบถามความรู้ | |
ผู้ป่วยอุบัติเหตุ เป็นต้น | ระหว่างปฏิบัติงาน | |
ประจ˚าวันในห้องผ่าตัด |
๓) การเรียนรู้จากการปฏิบัติและการพัฒนาตนเอง (Practice-based Learning and Improvement)
มาตรฐานการเรียนรู้ | วิธีให้การฝึกอบรม | วิธีการประเมินผล |
๓.๑) ด˚าเนินการวิจัย ทางการแพทย์และ สาธารณสุขได้ | - แผนการฝึกอบรมก˚าหนดให้ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมได้เรียนรู้ Essential Contents of Evidence-based Medicine (EBM) for pain fellow ในเดือนตุลคม เป็นระยะเวลา ๑๐ วัน -แผนการฝึกอบรมจัดxxxxxxxxxxปรึกษา ด้านงานวิจัยให้กับแพทย์ประจ˚าบ้านxxx xxx เพื่อเปิดโอกาสให้แพทย์ประจ˚า บ้านได้มีโอกาสเสนอความคิด สร้างสรรค์ตามหลักวิทยาศาสตร์ ใน การคิดหัวข้องานวิจัยของตนเอง - แผนการฝึกอบรมก˚าหนดให้ผู้เข้า ฝึกอบรมต้องท˚างานวิจัยอย่างน้อยหนึ่ง | -การประเมินติดตามการ ด˚าเนินงานวิจัยของ แพทย์ประจ˚าบ้านxxx xxx -ผลงานวิจัย -น˚าเสนอผลงานวิจัยเพื่อ ประกอบการสอบ วุฒิบัตร |
เรื่องเพื่อการสอบวุฒิบัตร | ||
๓.๒) วิพากษ์บทความ | - แผนการฝึกอบรมก˚าหนดให้ผู้เข้ารับ | -ประเมินจากการ |
และงานวิจัยทางการ | การฝึกอบรมได้เรียนรู้ Essential | น˚าเสนอและการมีส่วน |
แพทย์ | Contents of Evidence-based Medicine | ร่วมในการวิพากษ์ |
(EBM) for pain fellow และxxxxxx | บทความและงานวิจัยใน | |
วิพากษ์บทความและงานวิจัยทางการ | กิจกรรม journal club | |
แพทย์ | ||
- สนับสนุนให้แพทย์ประจ˚าบ้านxxx | ||
xxxเข้าร่วมจัดกิจกรรม journal club | ||
ของภาควิชา | ||
๓.๓) เรียนรู้และxxxxx | - แผนการฝึกอบรมก˚าหนดให้แพทย์ | -แบบประเมิน |
ประสบการณ์ได้ด้วย | ประจ˚าบ้านxxxxxxมีช่วงเวลาในการ | EPA/DOP |
ตนเองจากการปฏิบัติ | ท˚างานวิจัยเพื่อสนับสนุนให้มีโอกาสได้ | -แบบประเมิน ๓๖๐ |
เรียนรู้ศึกษาเพิ่มเติมได้อย่างเต็มที่ | -log book | |
- แผนการฝึกอบรมก˚าหนดให้แพทย์ | ||
ประจ˚าบ้านxxxxxxได้เรียนรู้เพิ่มเติมใน | ||
การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการในการ | ||
ดูแลผู้ป่วยร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ | ||
- แผนการฝึกอบรมก˚าหนดช่วงเวลาให้ | ||
แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxได้มีโอกาส | ||
elective ที่สถาบันภายในประเทศและ | ||
ต่างประเทศ |
๔) ทักษะปฏิสัมพันธ์ และการสื่อสาร (Interpersonal and Communication Skills)
มาตรฐานการเรียนรู้ | วิธีให้การฝึกอบรม | วิธีการประเมินผล |
๔.๑) น˚าเสนอข้อมูลผู้ป่วย ที่มีอาการปวด และ อภิปรายปัญหาอย่างมี ประสิทธิภาพ | - แผนการฝึกอบรมก˚าหนดให้แพทย์ ประจ˚าบ้านxxxxxxประเมินผู้ป่วยที่มี ความปวดทั้งในกลุ่มผู้ป่วยนอกและ ผู้ป่วยในของแผนกต่างๆ โดยมีอาจารย์ ผู้สอนเป็นที่ปรึกษาตามตารางของการ ปฏิบัติงานในแต่ละวัน - แผนการฝึกอบรมจัดให้แพทย์ประจ˚า | -แบบประเมิน EPA/DOP -แบบประเมิน ๓๖๐ -ประเมินจากการ น˚าเสนอกิจกรรมทาง วิชาการ |
บ้านxxxxxxทุกคนน˚าเสนอและอภิปราย ปัญหาของผู้ป่วยในกิจกรรม Interhospital Conference | ||
๔.๒) ถ่ายทอดความรู้และ ทักษะ ให้บุคลากร ทางการแพทย์ | - แผนการฝึกอบรมจัดให้แพทย์ประจ˚า บ้านxxxxxxทุกคนน˚าเสนอและอภิปราย องค์ความรู้พื้นฐานด้านการระงับปวด โดยก˚าหนดตารางการน˚าเสนอ Topic discussion เป็นประจ˚าทุกxxxxxx ๑๓.๐๐- ๑๔.๓๐ น. และxxxxxxxxxxxx ๒ ของทุกเดือน ให้กับแพทย์ประจ˚าบ้าน ทุกสาขาวิชาชีพ และพยาบาลวิชาชีพ - xxxxxxxxให้แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx ถ่ายทอดความรู้และทักษะทางการ แพทย์พื้นฐานด้านการระงับปวดให้กับ แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxรุ่นน้อง แพทย์ ประจ˚าบ้านสาขาวิสัญญีวิทยา นักศึกษา แพทย์ และผู้เข้าฝึกอบรมวิสัญญี ทั้งใน เวลาและนอกเวลาราชการ | -แบบประเมิน ๓๖๐ -ประเมินจากการ น˚าเสนอกิจกรรมทาง วิชาการ |
๔.๓) สื่อสารให้ข้อมูลแก่ ญาติ ผู้ดูแล และผู้ป่วย ได้ อย่างถูกต้อง เหมาะสมแก่ วัยและมีประสิทธิภาพ ด้วยxxxxx xxxxxการ ตัดสินใจและศักดิ์ศรีของ ความเป็นมนุษย์ | - แผนการฝึกอบรมจัดให้แพทย์ประจ˚า บ้านxxxxxxทุกคน เข้าร่วมกิจกรรมด้าน communication skill ของงานการศึกษา หลังxxxxxxจัดขึ้น เพื่อให้แพทย์ประจ˚า บ้านxxxxxxพัฒนาทักษะด้านการ สื่อสารที่มีประสิทธิภาพ - แผนการฝึกอบรมก˚าหนดให้แพทย์ ประจ˚าบ้านxxxxxxประเมินและท˚าการ รักษาผู้ป่วยที่มีความปวดทั้งในกลุ่ม ผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในของแผนกต่างๆ โดยมีอาจารย์ผู้สอนเป็นที่ปรึกษาตาม ตารางของการปฏิบัติงานในแต่ละวัน | -แบบประเมิน EPA -แบบประเมิน ๓๖๐ -สังเกตการปฏิบัติงาน ในสถานการณ์จริง |
๔.๔) มีxxxxxxxxxxxxxxxxดี ท˚างานกับผู้ร่วมงานทุก | - แผนการฝึกอบรมก˚าหนดให้แพทย์ ประจ˚าบ้านxxxxxxร่วมดูแลผู้ป่วยกลุ่ม | -แบบประเมิน ๓๖๐ -สังเกตการปฏิบัติงาน |
ระดับอย่างมี ประสิทธิภาพ | ผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในทุกแผนก ร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ xxxx อาจารย์ แพทย์ แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx แพทย์ ประจ˚าบ้าน ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาล เจ้าหน้าที่และบุคลากรทุก ระดับ | ในสถานการณ์จริง -แบบประเมิน EPA |
๔.๕) เป็นที่ปรึกษาและ ให้ค˚าแนะน˚าแก่แพทย์ และบุคคลากรอื่น โดยเฉพาะทางอนุสาขา เวชศาตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) | - แผนการฝึกอบรมก˚าหนดให้แพทย์ ประจ˚าบ้านxxxxxxxxxxxxให้ ค˚าปรึกษาและให้ค˚าแนะน˚าแผนการ รักษาด้านการระงับปวดของผู้ป่วยทุก แผนกทั้งในกลุ่มผู้ป่วยนอกและผู้ป่วย ใน - แผนการฝึกอบรมก˚าหนดให้ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมท˚างานเป็นทีมร่วมกับ แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxรุ่นน้อง แพทย์ ประจ˚าบ้านสาขาวิสัญญีวิทยา และสาขา อื่นๆ โดยxxxxxxให้ค˚าปรึกษาการดูแล ผู้ป่วยทั้งในเวลาราชการและนอกเวลา ราชการ | -แบบประเมิน ๓๖๐ |
๕) ความเป็นมืออาชีพ (Professionalism)
มาตรฐานการเรียนรู้ | วิธีให้การฝึกอบรม | วิธีการประเมินผล |
๕.๑) มีคุณธรรมจริยธรรม และxxxxxxxxxxxต่อผู้ป่วย ญาติ ผู้xxxxxx ผู้ร่วมงาน เพื่อนร่วมวิชาชีพและ ชุมชน | - แผนการฝึกอบรมจัดให้แพทย์ประจ˚า บ้านxxxxxxปฏิบัติxxxxxxดูแลผู้ป่วย และญาติร่วมกับอาจารย์ เพื่อให้เห็น role model xxxxx - แผนการฝึกอบรมจัดให้แพทย์ประจ˚า บ้านxxxxxxทุกคน เข้าร่วมกิจกรรมด้าน Professional and interpersonal skills development: soft skill ของงาน การศึกษาหลังxxxxxxจัดขึ้น เพื่อให้ แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxพัฒนาทักษะ | -แบบประเมิน ๓๖๐ |
ชีวิตในการท˚างานและการสังคม | ||
๕.๒) มีทักษะxxxxxxxไม่ใช่ เทคนิค (non-technical skills) และxxxxxx บริหารจัดการสถานการณ์ ที่เกี่ยวข้องได้เหมาะสม | - แผนการฝึกอบรมจัดให้แพทย์ประจ˚า บ้านxxxxxxทุกคน เข้าร่วมกิจกรรมด้าน Professional and interpersonal skills development: soft skill ของงาน การศึกษาหลังxxxxxxจัดขึ้น xxxx EQ for executive, leaderships, conflict management, บุคลิกภาพและการxxxxxx , bad and good presentation, mindfulness เพื่อให้แพทย์ประจ˚าบ้าน xxxxxxพัฒนาทักษะชีวิตในการท˚างาน และการสังคม | -แบบประเมิน ๓๖๐ -สังเกตการปฏิบัติงาน ในสถานการณ์จริง -แบบประเมิน EPA |
๕.๓) มีความสนใจใฝ่รู้ และxxxxxxพัฒนาไปสู่ ความเป็นผู้เรียนรู้ต่อเนื่อง ตลอดชีวิต (Continuous Professional Development) | - แผนการฝึกอบรมจัดให้แพทย์ประจ˚า บ้านxxxxxxทุกคนน˚าเสนอและอภิปราย องค์ความรู้พื้นฐานด้านการระงับปวด โดยก˚าหนดตารางการน˚าเสนอ Topic discussion - แผนการฝึกอบรมก˚าหนดให้แพทย์ ประจ˚าบ้านxxxxxxxxxxxxเลือกหัวข้อ งานวิจัยและท˚างานวิจัยที่สนใจศึกษา - แผนการฝึกอบรมสนับสนุนให้แพทย์ ประจ˚าบ้านxxxxxxxxxxxxเลือก สถาบันที่สนใจไป elective ได้ตาม ความเหมาะสม - แผนการฝึกอบรมสนับสนุนและเปิด โอกาสให้แพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxx xxxxxxเข้าร่วมกิจกรรมประชุมทาง วิชาการที่สนใจได้ | - Portfolio -ประเมินจากการ น˚าเสนอกิจกรรมทาง วิชาการ - แบบประเมิน ๓๖๐ |
๕.๔) มีความรับผิดชอบ ต่องานxxxxxxรับมอบหมาย | - แผนการฝึกอบรมก˚าหนดให้แพทย์ ประจ˚าบ้านxxxxxxรับผิดชอบงานต่าง ๆ ได้แก่ การปฏิบัติงานในและนอกเวลา | -แบบประเมิน ๓๖๐ -ประเมินจากการ น˚าเสนอกิจกรรมทาง |
ราชการ กิจกรรมทางวิชาการ และ งานวิจัย | วิชาการ -แบบประเมิน EPA | |
๕.๕) ค˚านึงถึง xxxxxxxxxxส่วนรวม | - แผนการฝึกอบรมสนับสนุนให้แพทย์ ประจ˚าบ้านxxxxxxมีส่วนร่วมในการท˚า กิจกรรมต่างๆของคณะฯ, ภาควิชา และ ภายนอก | - Portfolio การมีส่วน ร่วมในกิจกรรมทาง สังคม |
๖) การปฏิบัติงานให้เข้ากับระบบ (System-based Practice)
มาตรฐานการเรียนรู้ | วิธีให้การฝึกอบรม | วิธีการประเมินผล |
๖.๑) มีความรู้เกี่ยวกับ ระบบสุขภาพของ ประเทศ | - แผนการฝึกอบรมสนับสนุนการจัด core lecture เรื่องระบบสุขภาพของ ประเทศ | -การสอบกลางปีและ ปลายปีในรูปแบบของ การสอบแบบ MCQ, SAQ, และ ESSAY |
๖.๒) มีความรู้และมีส่วน ร่วมในระบบพัฒนา คุณภาพการดูแลรักษา ผู้ป่วยที่มีอาการปวด | - แผนการฝึกอบรมจัดกิจกรรมเสริม หลักสูตรสนับสนุนให้แพทย์ประจ˚า บ้านxxxxxxเข้าร่วมกิจกรรมคุณภาพ ของภาควิชา - แผนการฝึกอบรมสนับสนุนให้แพทย์ ประจ˚าบ้านxxxxxxเข้าร่วมกิจกรรม ปฐมนิเทศเพื่อxxxxxxxxองค์ความรู้ด้าน ระบบพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล | - Portfolio -ประเมินจากการท˚างาน ของแพทย์ประจ˚าบ้าน xxxxxx -แบบประเมิน ๓๖๐ |
๖.๓) ใช้ทรัพยากรสุขภาพ อย่างเหมาะสม (Cost Consciousness Medicine) และxxxxxxปรับเปลี่ยน การดูแลรักษาผู้ป่วยให้เข้า กับบริบทของการบริการ สาธารณสุขได้ตาม มาตรฐานวิชาชีพ | - แผนการฝึกอบรมสนับสนุน core Lecture เรื่องการใช้ทรัพยากรสุขภาพ อย่างเหมาะสม | -การสอบกลางปีและ ปลายปีในรูปแบบของ การสอบแบบ MCQ, SAQ, และ ESSAY |
ภาคผนวก ๑๐
รายชื่อxxxxxxxxxxปฏิบัติงานในหน่วยระงับปวด ภาควิชาวิสัญญีวิทยา
ล˚าดับที่ | ชื่อ - สกุล | อายุ | คุณวุฒิ | ประเภท (ถ้าเป็นบางเวลา ระบุจ˚านวนชั่วโมง/สัปดาห์) | |
เต็มเวลา | บางเวลา | ||||
1 | รศ.xx.xxxxxxx xxxxxx | 63 | พ.บ., ป.xxxxxxศึกษา, ว.ว. (วิสัญญีวิทยา), วท.ม.(พัฒนาสุขภาพ : ระบาดxxxxxคลินิก), อ.ว. (อนุสาขาการระงับปวด แขนง วิสัญญีวิทยา) | ✓ | |
2 | ศ.xx.xxxxx xxxxxxxxxxxxx | 60 | พ.บ., ป.xxxxxxศึกษา,ว.ว. (วิสัญญีวิทยา), Fellow in Anesthesia, University of Louisville, Kentucky, USA อ.ว. (อนุสาขาการระงับปวด แขนง วิสัญญีวิทยา) อ.ว. (อนุสาขาวิสัญญีวิทยาส˚าหรับผู้ป่วย โรคทางระบบxxxxxx) | ✓ | |
3 | ผศ.พญ.xxxxxx xxxxxรชาติ | 46 | พ.บ.,ป.xxxxxxศึกษา, ว.ว. (วิสัญญีวิทยา), อ.ว. (อนุสาขาการระงับปวด แขนง วิสัญญีวิทยา) อ.ว. (อนุสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว) Certificate of Clinical Fellow in Chronic pain, Management, SGH, Singapore | ✓ | |
4 | รศ.xx.xxx xxxxxxxxxxxxx | 42 | พ.บ., ป.xxxxxxศึกษา, ว.ว. (วิสัญญีวิทยา), อ.ว. (อนุสาขาการระงับปวด แขนง วิสัญญีวิทยา) อ.ว. (อนุสาขาเวชศาสตร์ครอบครัว) Certificate of Clinical Research Fellow in Neuroanesthesia, Certificate of Clinical Pain Fellowship Program | ✓ | |
5 | ผศ.xx.xxxxx xxxxxxx | 46 | พ.บ., ว.ว. (วิสัญญีวิทยา), ว.ว. (อนุสาขาการระงับปวด แขนงวิสัญญี วิทยา) | ✓ |
ภาคผนวก ๑๑ ประกาศภาคxxxx xxxxxxการคัดเลือกอาจารย์
ประกาศ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เรื่อง การคัดเลือกอาจารย์
๑. หลักการและแหตุผล
ที่ผ่านมาภาควิชา ฯ จัดให้มีการด˚าเนินการคัดเลือกแพทย์ที่คุณสมบัติและ ความxxxxxxเหมาะสม เพื่อบรรจุเป็นอาจารย์ในภาควิชา ฯ เป็นระยะ เพื่อรองรับภาระงาน ตามพันธกิจและวิสัยทัศน์ของภาควิชาฯ และคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้แก่ งานด้านการเรียนการสอน การวิจัย การบริการ การบ˚ารุงศิลปวัฒนธรรม และการ บริหาร รวมถึงงานอื่นๆ นอกเหนือจากพันธกิจทั้ง 5 ด้าน ดังกล่าว
๒. วัตถุประสงค์
เพื่อให้ได้มาซึ่งอาจารย์แพทย์ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล รามาธิบดี
๓. เกณฑ์การพิจารณา
๓.๑ คุณวุฒิ
๓.๑.๑ ได้รับxxxxxxแพทยศาสตรxxxxxx และมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม และ
๓.๑.๒ ได้รับวุฒิบัตรวิสัญญีวิทยา หรือผ่านการฝึกอบรมทางด้านวิสัญญีวิทยาจาก สถาบันที่แพทยสภารับรอง หรือจากสถาบันต่างประเทศซึ่งเป็นที่ยอมรับ หรือ
๓.๑.๓ ก˚าลังปฏิบัติงานเป็นแพทย์ประจ˚าบ้านชั้นปีสุดท้าย อย่างไรก็ตามภาควิชาฯ จะ ด˚าเนินการบรรจุเป็นอาจารย์เมื่อส˚าเร็จการฝึกอบรม และได้รับหนังสือรับรอง หรือได้รับวุฒิบัตรวิสัญญีวิทยาแล้วเท่านั้น
๓.๒ คุณสมบัติ
๓.๒.๑ มีคุณสมบัติทั่วไปครบถ้วน และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อบังคับ มหาวิทยาลัยxxxxx ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ.
๒๕๕๑ และประกาศคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เรื่อง รับสมัคร พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานมหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล รามาธิบดี และลูกจ้างชั่วคราวเงินนอกงบประมาณ
๓.๒.๒ มีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษผ่านเกณฑ์ที่คณะก˚าหนด คือ
- IELTS (Academic Module) ไม่ต่˚ากว่า 6 คะแนน หรือ
- TOEFL-IBT (Internet Base) ไม่ต่˚ากว่า 79 คะแนน หรือ
- TOEFL-ITP ไม่ต่˚ากว่า 550 คะแนน หรือ
- TOEFL-CBT ไม่ต่˚ากว่า 213 คะแนน หรือ
- MU GRAD test ไม่ต่˚ากว่า 80 คะแนน
๓.๒.๓ มีคุณธรรม จริยธรรม xxxxxxเป็นแบบอย่างxxxxxให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมใน ทุกระดับ
๓.๒.๔ มีประวัติการท˚างาน หรือหนังสือรับรองการท˚างานที่ผ่านมาอยู่ในเกณฑ์ดี
๓.๒.๕ มีประสบการณ์ในการท˚างานวิจัยหรือมีผลงานทางวิชาการตีพิมพ์xxxxxx
๔. กระบวนการพิจารณา
๔.๑ กระบวนการรับสมัคร
ประชาสัมพันธ์ผ่านที่ประชุมภาควิชาฯ และ/หรือ website ภาควิชาฯ
๔.๒ กระบวนการคัดเลือก
๔.๒.๑ ก˚าหนดวันประชุมเพื่อคัดเลือกและประกาศแจ้งให้อาจารย์ทราบ โดยภาควิชา ฯ จะน˚าใบสมัครของผู้ที่เข้ารับการคัดเลือกให้อาจารย์แพทย์ได้พิจารณา ล่วงหน้าก่อน อย่างน้อย ๑ สัปดาห์
๔.๒.๒ ผู้มีสิทธิ์ออกเสียงคัดเลือก ได้แก่ อาจารย์แพทย์ในภาควิชาฯ ทุกท่านที่ ปฏิบัติงานเต็มเวลา รวมถึงxxxxxxxxxxxxศึกษาต่อในประเทศ
๔.๒.๓ การลงคะแนนเสียง ใช้วิธีลงคะแนนลับ ตามแบบฟอร์มลงคะแนนที่เลขา ภาควิชาฯ ได้จัดเตรียมไว้ ในกรณีที่อาจารย์ไม่xxxxxxเข้าร่วมประชุมใน xxxxxxมีการออกเสียงลงคะแนนxxxxxxลงคะแนนล่วงหน้าได้ หรือxxxxxx ออกเสียงลงคะแนนก่อนและหลังการประชุมไม่เกิน 24 ชั่วโมง กรณีที่ อาจารย์ไม่xxxxxxลงคะแนนด้วยตนเองดังกล่าวได้ xxxxxxแจ้งการออก เสียงลงคะแนนทางโทรศัพท์มาที่เลขา ภาควิชาฯ ได้
๔.๓ เกณฑ์การตัดสิน
ผู้สมัครต้องได้รับคะแนนเสียงอย่างน้อยร้อยละ 80 ของผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนทั้งหมด หากมีผู้สมัครมากกว่าต˚าแหน่งที่xxxxxxรับได้ ผู้สมัครxxxxxxรับคะแนนเสียงมากที่สุดจะ ได้รับคัดเลือกตามจ˚านวนที่xxxxxxบรรจุได้ ผลการตัดสินของคณาจารย์ในภาควิชาฯ ถือ เป็นการสิ้นสุด
๕. หน้าที่ของอาจารย์แพทย์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยา
๕.๑ ปฏิบัติตามกฎxxxxxxxข้อบังคับของภาควิชา ฯ และคณะ ฯ
๕.๒ ปฏิบัติงานตามพันธกิจหลักทั้งด้านการสอน การวิจัย และการบริการ อย่างxxxxxตาม ข้อตกลงที่ให้ไว้กับภาควิชาฯ
๕.๓ รับผิดชอบด้านการเรียนการสอนทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติตามxxxxxxรับxxxxxxx xxxx
๕.๓.๑ ควบคุมดูแลการเรียนการสอนในxxxxxxxx xxxxการดูแลกิจกรรมทางวิชาการช่วง เช้าก่อนเข้าห้องผ่าตัด
๕.๓.๒ ควบคุมดูแลให้ค˚าแนะน˚าขณะนักศึกษาแพทย์ แพทย์ประจ˚าบ้าน แพทย์ประจ˚า บ้านxxxxxx และผู้เข้าฝึกอบรมวิสัญญีพยาบาล ในการให้บริการทางวิสัญญี ในห้องผ่าตัด ทั้งในและนอกเวลาราชการ
๕.๓.๓ มีส่วนร่วมการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ รวมถึง workshop ต่างๆ ของ ภาควิชา
๕.๓.๔ มีส่วนร่วมในการประเมินนักศึกษาแพทย์ แพทย์ประจ˚าบ้าน แพทย์ประจ˚าบ้าน xxxxxx และ ผู้เข้าฝึกอบรมวิสัญญีพยาบาล ตามxxxxxxรับxxxxxxx xxxxการ ประเมินการปฏิบัติงานรายวัน การสอบปฏิบัติ การจัดเตรียมข้อสอบส˚าหรับ การสอบ formative และ summative evaluation การตรวจและการคุม
๕.๓.๕ ควบคุมและให้ค˚าปรึกษา แพทย์ประจ˚าบ้าน และแพทย์ประจ˚าบ้านxxxxxxใน การท˚างานวิจัย
๕.๔ รับผิดชอบงานบริการตามxxxxxxรับxxxxxxxxxxxในและนอกเวลาราชการ
๕.๕ รับผิดชอบหน้าที่ในการด˚าเนินงานวิจัยตามข้อตกลงที่ให้ไว้กับภาควิชาฯ
๕.๖ รับผิดชอบงานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย เช่น งานบริหาร หรืองานบ˚ารุงศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น
๕.๗ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาให้กับ นักศึกษาแพทย์ แพทย์ประจ˚าบ้าน แพทย์ประจ˚าบ้านต่อ ยอด หรือผู้เข้ารับการฝึกอบรมวิสัญญีพยาบาลตามที่ได้รับมอบหมาย
๖. การพัฒนาตนเองของอาจารย์แพทย์
ภาควิชาฯ มีนโยบายในการพัฒนาอาจารย์ด้านแพทยศาสตรศึกษา โดยอาจารย์ผู้ให้การ ฝึกอบรมทุกคนต้องผ่านการอบรมแพทยศาสตรศึกษาซึ่งจัดโดยคณะ ฯ ภายในระยะเวลา ๑ ปี หลังจากได้รับการบรรจุเป็นอาจารย์ หลังจากนั้นภาควิชาฯ อนุญาตให้อาจารย์สามารถ เข้าร่วมการอบรมฟื้นฟูและพัฒนาความรู้ทางด้านแพทยศาสตรศึกษาตามที่อาจารย์มีความ สนใจได้
ด้านวิชาการทางการแพทย์ แพทย์ประจ˚าบ้านที่บรรจุเป็นอาจารย์ทันทีหลังจบการ ฝึกอบรมฯ จะได้รับการจัดสรรให้ปฏิบัติงานตามหน่วยต่างๆ ในช่วง ๑-๒ ปีแรก เพื่อ ฝึกฝนและพัฒนาอาจารย์ให้มีประสบการณ์ที่หลากหลาย หลังจากนั้นภาควิชา ฯ สนับสนุน ให้อาจารย์ทุกคน มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของตนเอง โดยมีทุนเพื่อฝึกอบรมในสาขา ย่อยที่สนใจได้ทั้งในและต่างประเทศ โดยความเห็นชอบของหัวหน้าหน่วย คณะกรรมการ บริหารภาควิชาฯ และหัวหน้าภาควิชา ฯ ให้สอดคล้องกับแผนที่วางไว้
นอกจากพัฒนาอาจารย์ด้านแพทยศาสตรศึกษา และด้านวิชาการทางการแพทย์แล้ว ภาควิชาฯ ยังสนับสนุนให้อาจารย์ได้มีความรู้พื้นฐานทางด้านการวิจัย โดยอนุญาตให้ อาจารย์ที่สนใจสามารถเข้าร่วมการอบรมเกี่ยวกับระเบียบวิธีด้านการวิจัย ทั้งหลักสูตร ระยะสั้น ไปจนถึงหลักสูตรปริญญาเอกตามศักยภาพและความสนใจของอาจารย์
ภาควิชาฯ ยังได้ให้การสนับสนุนอาจารย์ไปน˚าเสนอผลงานทางวิชาการในระดับ นานาชาติ ด้วยทุนอุดหนุนของคณะฯ รวมทั้งการเป็นวิทยากรในการประชุมวิชาการทั้งใน และต่างประเทศ โดยความเห็นชอบของคณะ- กรรมการบริหารภาควิชาฯ และหัวหน้า ภาควิชาฯ
ภาคผนวก ๑๒
หน้าที่และภาระงานของอาจารย์ที่ปรึกษา
๑. ให้ค˚าปรึกษาด้านวิชาการด้านทักษะอาชีพด้านบุคลิกภาพและทักษะชีวิตและด้านการ พัฒนาส่งเสริมศักยภาพด้านต่างๆแก่แพทย์ประจ˚าบ้านต่อยอดอย่างสม่˚าเสมอ
๒. คอยประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะในการท˚าหัตถการ ทักษะในการสื่อสาร และ ช่วยแนะแนวทางพัฒนา เมื่อความรู้และทักษะของแพทย์ประจ˚าบ้านต่อยอดไม่ผ่านตาม เกณฑ์ที่ภาควิชาก˚าหนด
๓. ติดตามบันทึกการปฏิบัติงานของแพทย์ประจ˚าบ้านต่อยอด จัดการให้แพทย์ประจ˚าบ้าน ต่อยอดได้ท˚าหัตถการในส่วนที่ยังไม่ได้ท˚า หรือยังไม่สามารถท˚าได้ด้วยตนเอง
๔. ติดตามความก้าวหน้าของงานวิจัยของแพทย์ประจ˚าบ้านต่อยอดอย่างสม่˚าเสมออย่าง น้อยทุก ๆ ๓ เดือน
๕. ตรวจสอบ portfolio และการบรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียนของแพทย์ประจ˚าบ้านต่อ ยอด
๖. คอยเฝ้าดู สังเกต การปฏิบัติงาน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง อาจารย์แพทย์ แพทย์ประจ˚า บ้านต่อยอด พยาบาล และผู้ร่วมง่านอื่น ๆ ตลอดระยะเวลาการฝึกอบรมเพื่อจะได้ตรวจ พบปัญหา และช่วยแนะน˚าการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมต่อเพื่อนร่วมงานเมื่อเกิดปัญหา ระหว่างเพื่อนร่วมงานขึ้น
๗. ประเมินทักษะในการสื่อสารของแพทย์ประจ˚าบ้านต่อยอดกับผู้ป่วย
๘. ควรพบแพทย์ประจ˚าบ้านต่อยอด ชั้นปีที่ ๑ ทุก ๒ เดือน และพบแพทย์ประจ˚าบ้านต่อ ยอด ชั้นปีที่ ๒ ทุก ๖ เดือน
๙. ให้ความใส่ใจและดูแลแพทย์ประจ˚าบ้านต่อยอดแบบองค์รวม และให้ค˚าแนะน˚าเมื่อพบ ปัญหา
๑๐. พยายามส่งเสริมให้แพทย์ประจ˚าบ้านต่อยอดมีพฤตินิสัยที่ดี เช่น มีความรับผิดชอบ ตรง ต่อเวลา แต่งกายเหมาะสมตามกาลเทศะ ซื่อสัตย์ยึดถือประโยชน์ของผู้ป่วยเป็นหลัก
๑๑. กระตุ้นและส่งเสริมให้แพทย์ประจ˚าบ้านต่อยอดมีทักษะในการค้นคว้าหาข้อมูลทาง การแพทย์ เพื่อน˚าไปสู่การเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต
๑๒. รายงานปัญหา และปรึกษากรรมการดูแลแพทย์ประจ˚าบ้านต่อยอดในกรณีที่มีปัญหา ใด ๆ เกิดขึ้น
๑๓.อาจารย์พึงปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของอาจารย์ซึ่งประกาศอยู่ในคู่มือของสภา คณาอาจารย์มหาวิทยาลัยมหิดล ตามแนวปฏิบัติข้อ ๑๔ คือ ยอมรับฟังความคิดเห็น เกื้อกูลต่อศิษย์ และรักษาความลับของศิษย์