เกณฑ์วัดการดำเนินงาน หน่วยวัด น้ำหนัก (ร้อยละ) ผลการดำเนินงานในอดีต ค่าเกณฑ์วัดปีบัญชี ๒๕๖๔ การปรับ ค่าเกณฑ์วัด ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑. การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ๕ ๑.๑ ความสามารถในการบริหารแผนลงทุน ๕ ๑.๑.๑ ร้อยละของภาพรวมการเบิกจ่าย...
บันทึกข้อตกลงประเมินผลการxxxxxxงานขององค์การสะพานปลา (อสป.) ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔
เกณฑ์วัดการxxxxxxงาน | หน่วยวัด | น้ำหนัก (ร้อยละ) | ผลการxxxxxxงานในอดีต | ค่าเกณฑ์วัดปีบัญชี ๒๕๖๔ | การปรับ ค่าเกณฑ์วัด | |||||||||
๒๕๕๙ | ๒๕๖๐ | ๒๕๖๑ | ๒๕๖๒ | ๒๕๖๓ | ๑ | ๒ | ๓ | ๔ | ๕ | |||||
๑. | การxxxxxxงานตามxxxxxxxxxx | ๕ | ||||||||||||
๑.๑ ความxxxxxxในการบริหาร แผนลงทุน | ๕ | |||||||||||||
๑.๑.๑ ร้อยละของภาพรวมการเบิกจ่าย ที่เกิดขึ้นจริงในช่วงปี | ร้อยละ | ๒.๕ | ๗๒.๔๖ | ๖๕.๑๕ | ๔๗.๐๖ | ๔๐.๓๗ | ๙๓.๖๗ | ๘๐ | ๘๕ | ๙๐ | ๙๕ | ๑๐๐ | -/+ ๕ | |
๑.๑.๒ ร้อยละความxxxxxx ในการเบิกจ่ายตามแผน | ร้อยละ | ๒.๕ | ๘๑.๗๐ | ๕๖.๙๘ | ๗๗.๒๙ | ๓๙.๘๑ | ๗๗.๖๐ | ๘๐ | ๘๕ | ๙๐ | ๙๕ | ๑๐๐ | -/+ ๕ | |
๒. | ผลการxxxxxxงานของรัฐวิสาหกิจ | ๕๕ | ||||||||||||
• ตัวชี้วัดทางการเงิน | ||||||||||||||
๒.๑ กำไร (ขาดทุน) จากการxxxxxxงาน ก่อนหักค่าเสื่อมราคา รายจ่ายตัดบัญชี และดอกเบี้ยจ่าย (EBITDA) | ล้านบาท | ๒๐ | ๖.๑๘ | ๑๕.๖๙ | ๑๓.๐๖ | ๑.๘๒ | ๓๕.๘๖ | ๑๙ | ๒๑ | ๒๓ | ๒๕ | ๒๗ | -/+ ๒ | |
• ตัวชี้วัดที่ไม่ใช่ทางการเงิน | ||||||||||||||
๒.๒ การxxxxxประสิทธภาพในการบรหาร จัดการขององค์กร | ระดับ | ๖ | - | - | - | ๒.๙๕๐๐ | ๓.๔๐๐๐ | ๑ | ๒ | ๓ | ๔ | ๕ | -/+ ๑ | |
๒.๓ สุขอนามัยและคุณภาพน้ำทิ้งของ สะพานปลาและท่าเทียบเรือประมง | ๕ | |||||||||||||
๒.๓.๑ ระดับความสำเร็จของ สะพานปลาและท่าเทียบเรือ ประมงที่มีคุณภาพน้ำทิ้ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน | ระดับ | ๒.๕ | ๕ | ๕ | ๕ | ๕ | ๔.๗๕ | ๑ | ๒ | ๓ | ๔ | ๕ | -/+ ๑ |
เกณฑ์วัดการxxxxxxงาน | หน่วยวัด | น้ำหนัก (ร้อยละ) | ผลการxxxxxxงานในอดีต | ค่าเกณฑ์วัดปีบัญชี ๒๕๖๔ | การปรับ ค่าเกณฑ์วัด | |||||||||
๒๕๕๙ | ๒๕๖๐ | ๒๕๖๑ | ๒๕๖๒ | ๒๕๖๓ | ๑ | ๒ | ๓ | ๔ | ๕ | |||||
๒.๓.๒ ระดับความสำเร็จของ สะพานปลาและท่าเทียบเรือ ประมงที่ผ่านหลักเกณฑ์ การตรวจวัดมาตรฐาน ด้านสุขอนามัยของ ท่าเทียบเรือประมง สะพานปลา กิจการแพปลา หรือตลาดกลาง ซื้อขายสินค้าสัตว์น้ำ ตามประกาศกรมประมง | แห่ง | ๒.๕ | - | - | ๑๒ | ๑๓ | ๑๓ | ๑๐ | ๑๑ | ๑๒ | ๑๓ | ๑๔ | -/+ ๑ | |
๒.๔ ระดับความสำเร็จของการจัดทำ แผนแม่บทการพัฒนาสะพานปลา และท่าเทียบเรือประมงของ อสป. | ระดบั | ๒๔ | - | - | - | - | - | ๑ | ๒ | ๓ | ๔ | ๕ | -/+ ๑ | |
๓. | Core Business Enablers | ระดับ | ๔๐ | - | - | - | - | ๒.๗๑๒๔๑ | ๑ | ๒ | ๓ | ๔ | ๕ | -/+ ๑ |
๓.๑ การกำกับดูแลxxxxxและการนำองค์กร | ๕ | ๑.๘๐๔๒ | ||||||||||||
๓.๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ | ๕ | ๑.๕๙๕๐ | ||||||||||||
๓.๓ การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน | ๕ | ๑.๓๒๐๐ | ||||||||||||
๓.๔ การมุ่งเน้นผมีส่วนได้ส่วนเสีย และลูกค้า | ๕ | ๑.๑๖๙๒ | ||||||||||||
๓.๕ การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล | ๕ | ๑.๓๖๗๓ | ||||||||||||
๓.๖ การบริหารทุนมนุษย์ | ๕ | ๒.๐๓๑๕ |
เกณฑ์วัดการxxxxxxงาน | หน่วยวัด | น้ำหนัก (ร้อยละ) | ผลการxxxxxxงานในอดีต | ค่าเกณฑ์วัดปีบัญชี ๒๕๖๔ | การปรับ ค่าเกณฑ์วัด | ||||||||
๒๕๕๙ | ๒๕๖๐ | ๒๕๖๑ | ๒๕๖๒ | ๒๕๖๓ | ๑ | ๒ | ๓ | ๔ | ๕ | ||||
๓.๗ การจัดการความรู้และนวัตกรรม | ๕ | ๑.๒๔๕๙ | |||||||||||
๓.๘ การตรวจสอบภายใน | ๕ | ๒.๓๖๗๑ |
หมายเหตุ : ๑. ๑ หมายถึง ผลประเมินด้าน Core Business Enablers (รวม Handicap) โดย Handicap = ๑.๐๙๙๙ คำนวณจาก (คะแนนประเมินผลหมวดกระบวนการตามระบบ การประเมินคุณภาพรัฐวิสาหกิจ/คะแนนประเมินผลด้านการบริหารจัดการองค์กรของรัฐวิสาหกิจ ประจำปีบัญชี ๒๕๖๒ - คะแนนประเมิน Baseline) x ๐.๘
๒. - หมายถึง ไม่มีผลการxxxxxxงานในอดีต
คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ
เกณฑ์วัดการxxxxxxงาน | คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ |
๑. การxxxxxxงานตามxxxxxxxxxx ๑.๑ ความxxxxxxในการบริหารแผนลงทุน ๑.๑.๑ ร้อยละของภาพรวมการเบิกจ่าย ที่เกิดขึ้นจริงในช่วงปี | • ความxxxxxxในการบริหารแผนลงทุนประจำปี ๒๕๖๔ เป็นการxxxxxxการเบิกจ่ายเงินตามงบลงทุนของรัฐวิสาหกิจ ทั้งในส่วน ของงบลงทุนเพื่อการxxxxxxงานxxxxและงบลงทุนตามโครงการพัฒนาต่างๆ xxxxxxรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี • โดยxxxxxxxละของภาพรวมการเบิกจ่ายที่เกิดขึ้นจริงในช่วงปี ๒๕๖๔ คำนวณจากร้อยละของยอดสะสมการเบิกจ่ายที่เกิดขึ้นจริง ในช่วงปีบัญชี ๒๕๖๔ เทียบกับวงเงินตามงบลงทุน โดยมีสูตรการคำนวณดังนี้ = ยอดเงินสะสมของการเบิกจ่ายงบลงทุนที่เกิดขึ้นจริงในช่วงปีบัญชี ๒๕๖๔ x ๑๐๐ ยอดเงินตามงบลงทุน ปีบัญชี ๒๕๖๔ xxxxxxรับอนุมัติให้เบิกจ่าย • ทั้งนี้ ให้ใช้ตัวเลขการเบิกจ่ายงบลงทุนที่เกิดขึ้นจริงที่รวบรวมโดยสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) ส่วนยอดสรุป ตัวเลขงบลงทุนที่อนุมัติให้เบิกจ่ายได้ให้ใช้ยอดสรุป ณ สิ้นปีบัญชี ที่รวบรวมโดย สคร. xxxxเดียวกันเป็นฐานและมีการปรับตัวเลข ตามรายละเอียดต่างๆ ที่รัฐวิสาหกิจแสดงตัวเลขในรายงานสรุปการเบิกจ่ายงบลงทุนและความxxxxxxxxของโครงการลงทุน โดยให้เป็นไปตามการพิจารณาของคณะอนุกรรมการประเมินผลการxxxxxxงานรัฐวิสาหกิจ (SubPac) |
๑.๑.๒ ร้อยละความxxxxxxในการเบิกจ่าย ตามแผน | • คำนวณจากค่าเฉลี่ยของร้อยละการเบิกจ่ายงบลงทุนxxxxxxxxในแต่ละไตรมาส โดยมีสูตรการคำนวณดังนี้ ⎛ X1*100+ X2*100+ X3*100+ X4*100⎞ ⎜ Y1 Y2 Y3 Y4 ⎟ ⎝ ⎠ 4 กำหนดให้ X๑, X๒, X๓, X๔ = ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมที่รัฐวิสาหกิจเบิกจ่ายแต่ละไตรมาส Y๑, Y๒, Y๓, Y๔ = วงเงินงบประมาณตามแผนการใช้จ่ายเงินในปีงบประมาณแต่ละไตรมาส • ทั้งนี้ ให้ใช้ตัวเลขการเบิกจ่ายงบลงทุนที่เกิดขึ้นจริงรายไตรมาสของ สคร. |
เกณฑ์วัดการxxxxxxงาน | คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ |
๑.๑.๒ ร้อยละความxxxxxxในการเบิกจ่าย ตามแผน (ต่อ) | • ส่วนยอดสรุปตัวเลขงบลงทุนที่อนุมัติให้เบิกจ่ายได้ ให้ใช้ยอดสรุปรายไตรมาสจากรัฐวิสาหกิจที่จัดส่งให้ สคร. และบริษัทที่ปรึกษา เป็นประจำxxxxxx ๑๕ ของเดือนแรกของทุกไตรมาส • การปรับตัวเลขตามรายละเอียดต่างๆ ที่รัฐวิสาหกิจแสดงตัวเลขในรายงานสรุปการเบิกจ่ายงบลงทุนและความxxxxxxxxของโครงการ ลงทุน และให้เป็นไปตามการพิจารณาของคณะอนุกรรมการประเมินผลการxxxxxxงานรัฐวิสาหกิจ (SubPac) • กรณีมีการปรับเปลี่ยนงบลงทุนจากการขออนุมัติผ่านสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติระหว่างปีบัญชี ให้ปรับยอดอนุมัติที่เบิกจ่ายได้เฉพาะของไตรมาสที่ปรับเปลี่ยนและไตรมาสที่เหลือของปีบัญชีเท่านั้น การปรับค่าเกณฑ์วัด : • ช่วงการปรับเท่ากับร้อยละเฉลี่ย -/+ ๕ ต่อเกณฑ์วัด ๑ ระดับ โดยกำหนดค่าเกณฑ์วัดแต่ละระดับเป็นดังนี้ |
๒. ผลการxxxxxxงานของรัฐวิสาหกิจ | • กำไร (ขาดทุน) จากการxxxxxxงานก่อนหักค่าเสื่อมราคา รายจ่ายตัดบัญชี และ ดอกเบี้ยจ่าย (EBITDA) • สูตรคำนวณ : รายได้จากการxxxxxxงาน – ค่าใช้จ่ายจากการxxxxxxงาน โดย ไม่นับรวมรายได้xxxxxxเกี่ยวกับการxxxxxxงาน ค่าใช้จ่าย xxxxxxเกี่ยวกับการxxxxxxงาน ค่าเสื่อมราคา รายจ่ายตัดบัญชี และดอกเบี้ยจ่าย • รายได้จากการxxxxxxงาน ได้แก่ รายได้จากโครงการซื้อขายสินค้าสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ FMO รายได้จากการจำหน่ายสัตว์น้ำ รายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม รายได้จากการจำหน่ายสัตว์น้ำคุณภาพ รายได้จากค่าบริการและค่าธรรมเนียม รายได้ค่าตัดจำหน่ายไฟฟ้าและน้ำประปา รายได้ค่าxxxx xxxxxxxxเช่าโอนเป็นรายได้ และรายได้จากการxxxxxxงานอื่น |
• ตัวชี้วัดทางการเงิน | |
๒.๑ กำไร (ขาดทุน) จากการxxxxxxงาน ก่อนหักค่าเสื่อมราคา รายจ่ายตัดบัญชี และดอกเบี้ยจ่าย (EBITDA) |
ร้อยละเฉลยี่ | ๘๐ เทียบเท่าคะแนนระดับ ๑ |
ร้อยละเฉลยี่ | ๘๕ เทียบเท่าคะแนนระดับ ๒ |
ร้อยละเฉลยี่ | ๙๐ เทียบเท่าคะแนนระดับ ๓ |
ร้อยละเฉลยี่ | ๙๕ เทียบเท่าคะแนนระดับ ๔ |
ร้อยละเฉลยี่ | ๑๐๐ เทียบเท่าคะแนนระดับ ๕ |
เกณฑ์วัดการxxxxxxงาน | คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ |
๒.๑ กำไร (ขาดทุน) จากการxxxxxxงาน ก่อนหักค่าเสื่อมราคา รายจ่ายตัดบัญชี และดอกเบี้ยจ่าย (EBITDA) (ต่อ) | • รายได้xxxxxxเกี่ยวกับการxxxxxxงาน ได้แก่ รายได้จากการจำหน่ายน้ำมันลดราคาช่วยเหลือxxxxxxxx รายได้จากการจำหน่ายน้ำมัน ในเขตxxxxxxxxxxxให้xxxxxxxxชายฝั่ง รายได้กองทุนสวัสดิการ ดอกเบี้ยรับจากกองทุนสงเคราะห์ รายได้จากการรับบริจาค ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร และรายได้อื่น ๆ • ค่าใช้จ่ายจากการxxxxxxงาน ได้แก่ ต้นทุนโครงการซื้อขายสินค้าสัตว์น้ำและผลตภณั ฑ์ FMO ต้นทุนจำหน่ายสัตว์น้ำ ต้นทุนจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ต้นทุนจำหน่ายสัตว์น้ำคุณภาพ ค่าใช้จ่ายในการxxxxxxงาน และค่าใช้จ่ายในการบริหาร • ค่าใช้จ่ายxxxxxxเกี่ยวกับการxxxxxxงาน ได้แก่ ต้นทุนจากการจำหน่ายน้ำมันลดราคาช่วยเหลือxxxxxxxx ต้นทุนจากการจำหน่าย น้ำมันในเขตxxxxxxxxxxxให้xxxxxxxxชายฝั่ง เงินโอนเป็นทุนxxxxxxxxการประมง ค่าใช้จ่ายกองทุนสวัสดิการ โบนัสกรรมการ และพนักงาน ค่าเบี้ยประชุมในส่วนของค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าตอบแทนผู้อำนวยการในส่วนของค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าเสื่อมราคา และค่าใช้จ่ายอย่างอื่น |
• ตัวชี้วัดที่ไม่ใช่ทางการเงิน | • ประเมินผลจากระดับความสำเร็จในการxxxxxxงานตามแผนงาน/แผนxxxxxxxxxxของ อสป. ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ ตามรายละเอียด ดังนี้ - xxxxxxxxxxxxx ๑ พัฒนาและปรับปรุงการบริหารจัดการสู่องค์กรxxxxxxxxxxอย่างมีxxxxxxxxxx (ถ่วงน้ำหนักร้อยละ ๕๐) ๑. โครงการพัฒนาพนักงาน อสป. ประจำปี ๒๕๖๔ ๒. โครงการนำร่อง Digital Transformation ระยะที่ ๑ (Module ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลและบัญชี) - xxxxxxxxxxxxx ๓ สร้างศักยภาพการจัดหารายได้และพัฒนาสะพานปลาท่าเทียบเรือประมงให้ทันสมัย (ถ่วงน้ำหนักร้อยละ ๕๐) ๑. โครงการหารายได้จากการxxxxxxกิจกรรมตลาด ผลิตภณั ฑ์และบริการ ๒. โครงการหารายได้จากการบริหารสินทรัพย์สะพานปลาและท่าเทียบเรือประมง |
๒.๒ การxxxxxประสิทธภาพในการบรหารจัดการ ขององค์กร |
เกณฑ์วัดการxxxxxxงาน | คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ |
๒.๒ การxxxxxประสิทธภาพในการบรหารจัดการ ขององค์กร (ต่อ) | • ระดับค่าเกณฑ์วัด ทบทวนแผนปฏิบัติการ ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ ให้แล้วเสร็จ โดยมีองค์ประกอบที่ครบถ้วน เทียบเท่าคะแนนระดับ ๑ และได้รับความเห็นชอบจากผู้อำนวยการ อสป. และคณะกรรมการ อสป. ผ่านเกณฑ์วัดระดับ ๑ และมีความสำเร็จของโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ เทียบเท่าคะแนนระดับ ๒ คิดเป็นร้อยละ ๗๕ ของโครงการตามแผนทั้งหมด ผ่านเกณฑ์วัดระดับ ๑ และมีความสำเร็จของโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ เทียบเท่าคะแนนระดับ ๓ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของโครงการตามแผนทั้งหมด ผ่านค่าเกณฑ์วัดระดับ ๓ และมีจำนวนโครงการที่มีผลการxxxxxxงานดีกว่าxxxxxxxxxxxกำหนด เทียบเท่าคะแนนระดับ ๔ หรือเร็วกว่าxxxxxxxxxxxกำหนดไว้ตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ คิดเป็นร้อยละ ๗๕ ของโครงการตามแผนทั้งหมด ผ่านค่าเกณฑ์วัดระดับ ๔ เทียบเท่าคะแนนระดับ ๕ - มีจำนวนโครงการที่มีผลการxxxxxxงานดีกว่าxxxxxxxxxxxกำหนดหรือเร็วกว่าxxxxxxxx xxxกำหนดไว้ตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของโครงการ ตามแผนทั้งหมด - จัดทำรายงานสรุปภาพรวมของการxxxxxxงานตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ ของ อสป. พร้อมระบุปัญหาและข้อเสนอแนะ เสนอต่อคณะกรรมการ อสป. ให้แล้วเสร็จ ภายในxxxxxx ๓๑ xxxxxx ๒๕๖๔ เงื่อนไข : • แผนปฏิบัติการ ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ ควรกำหนดองค์ประกอบเชิงคุณภาพ ได้แก่ รายละเอียดกิจกรรม/ขั้นตอนการxxxxxxงาน วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ขั้นตอน ระยะเวลา งบประมาณ ค่าใช้จ่าย หรือเงินลงทุน ผู้รับผิดชอบ ตัวชี้วัดและxxxxxxxxxxxสะท้อน ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ผลลัพธ์ทางการเงิน รายxxxxxxคาดว่าจะได้รับ ต้นทุนการxxxxxxการ กระบวนการติดตาม ผลการxxxxxxงานของแผนปฏิบัติการ ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ ซึ่งหากโครงการใดxxxxxxกำหนดรายละเอียดดังกล่าว จนทำให้ ผู้ประเมินไม่xxxxxxประเมินการxxxxxxงานตามกิจกรรมและเป้าหมายของแต่ละโครงการได้ จะxxxxxxโครงการนั้นเป็นโครงการ xxxxxxแล้วเสร็จ |
เกณฑ์วัดการxxxxxxงาน | คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ |
๒.๒ การxxxxxประสิทธภาพในการบรหารจัดการ ขององค์กร (ต่อ) | • หากแผนงาน/โครงการใดในแต่ละxxxxxxxxxxของ อสป. ไม่xxxxxxxxxxxxการได้อันเนื่องจากปัจจัยภายนอกที่ อสป. ไม่xxxxxx ควบคุมได้ อสป. ต้องเสนอแผนงาน/โครงการอื่นที่สอดคล้องและสะท้อนผลสำเร็จของxxxxxxxxxxนั้น เพื่อใช้สำหรับการประเมิน ผลการxxxxxxงานแทนแผนงาน/โครงการxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxการได้ • อสป. ต้องจัดทำรายงานสรุปผลการxxxxxxงานตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ และนำเสนอคณะกรรมการ อสป. เพื่อพิจารณาเป็นรายไตรมาส รวมถึงต้องเป็นรายงานที่อย่างน้อยประกอบไปด้วย องค์ประกอบ ๓ ส่วนหลัก ได้แก่ ๑) การสรุปผลการxxxxxxงานรายไตรมาส ๒) ปัญหาและxxxxxxxxxxเกิดขึ้นในไตรมาสนั้นๆ และ ๓) การคาดการณ์สำหรับไตรมาสที่เหลือ ทั้งนี้ หากไม่xxxxxxxxxxxxการได้ จะปรับลด ๐.๒๕๐๐ คะแนน • แผนปฏิบัติการ ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ ต้องxxxxxxการทบทวนเป้าหมายในการxxxxxxงานแต่ละxxxxxxxxxxให้xxxxxxวัดผล การxxxxxxงานได้ชัดเจน โดยเฉพาะxxxxxxxxxxxxx ๑ พัฒนาและปรับปรุงการบริหารจัดการสู่องค์กรxxxxxxxxxxอย่างมีxxxxxxxxxx ต้องมีการxxxxxxxxxxxxในการพัฒนาและปรับปรุงการบริหารจัดการสู่องค์กรxxxxxxxxxxอย่างมีxxxxxxxxxxและวัดผลลัพธ์ การxxxxxxงาน และxxxxxxxxxxxxx ๓ สร้างศักยภาพการจัดหารายได้และพัฒนาสะพานปลาท่าเทียบเรือประมงให้ทันสมัย ต้องมีการxxxxxxxxxxxxรายได้และวัดผลลัพธ์ หากไม่มีการxxxxxxxxxxxxและวัดผลลัพธ์ จะปรับลด ๐.๕๐๐๐ คะแนน หมายเหตุ : • ความสำเร็จของการxxxxxxโครงการพิจารณาจาก ๑) โครงการxxxxxxxxxxxxงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนดในแผน ๒) โครงการxxxxxxxxxxxxงานได้ตามเป้าหมาย |
๒.๓ สุขอนามัยและคุณภาพน้ำทิ้งของสะพานปลา และท่าเทียบเรือประมง | • ประเมินผลจากความสำเร็จของการxxxxxxโครงการปรับปรุงสุขอนามัยสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงของ อสป. โดยพิจารณา ๒ ประเด็น ได้แก่ ๑. ระดับความสำเร็จของสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่มีการรักษามาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้ง และ ๒. จำนวน สะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่ผ่านหลักเกณฑ์การตรวจวัดมาตรฐานด้านสุขอนามัยของท่าเทียบเรือประมง สะพานปลา กิจการแพปลา หรือตลาดกลางซื้อขายสินค้าสัตว์น้ำตามประกาศกรมประมง |
เกณฑ์วัดการxxxxxxงาน | คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ |
๒.๓.๑ ระดับความสำเร็จของสะพานปลา และท่าเทียบเรือประมงที่มีคุณภาพน้ำทิ้ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน | • คุณภาพน้ำทิ้งของสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมง พิจารณา ดังนี้ คุณภาพน้ำทิ้งของสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงทั้งหมด ๑๔ แห่ง ได้แก่ สะพานปลาสมุทรปราการ xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx ท่าเทียบเรือประมงหัวหิน ท่าเทียบเรือประมงชุมพร ท่าเทียบเรือประมงหลังสวน ท่าเทียบเรือประมง สุราษฎร์ธานี ท่าเทียบเรือประมงสงขลา ๒ ท่าเทียบเรือประมงปัตตานี ท่าเทียบเรือประมงนราธิวาส ท่าเทียบเรือประมงสตูล ท่าเทียบเรือประมงระนอง ท่าเทียบเรือประมงภูเก็ต และท่าเทียบเรือประมงอ่างxxxx โดยประเมินจากจำนวนแห่งของสะพานปลา และท่าเทียบเรือประมงที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากท่าเทียบเรือประมง สะพานปลา และกิจการแพปลา (เกณฑ์มาตรฐานฯ) ทุกข้อ ซึ่งตรวจโดยหน่วยงานที่เชื่อถือxxxxxxxของรัฐหรือเอกชน โดยการสุ่มตรวจแต่ละแห่งไตรมาสละ ๑ ครั้ง |
โดยที่กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน ดังนี้ ๑. ค่าความเป็นกรด – ด่าง (pH) มีค่าระหว่าง ๕.๐ – ๙.๐ ๒. บีโอดี (BOD – Biochemical Oxygen Demand) มีxxxxxxเกิน ๒๐๐ มิลลิกรัมต่อลิตร ๓. สารแขวนลอยทั้งหมด (Total Suspended Solids) มีxxxxxxเกิน ๒๐๐ มิลลิกรัมต่อลิตร ๔. น้ำมันและไขมัน (Oil and Grease) มีxxxxxxเกิน ๒๐ มิลลิกรัมต่อลิตร ๕. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx (TKN – Total Kjeldahl Nitrogen) มีxxxxxxเกิน ๒๕๐ มิลลิกรัมต่อลิตร • ระดับค่าเกณฑ์วัด | |
มีจำนวนสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ๑๐ แห่ง เทียบเท่าคะแนนระดับ ๑ | |
มีจำนวนสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ๑๑ แห่ง เทียบเท่าคะแนนระดับ ๒ | |
มีจำนวนสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ๑๒ แห่ง เทียบเท่าคะแนนระดับ ๓ | |
มีจำนวนสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ๑๓ แห่ง เทียบเท่าคะแนนระดับ ๔ | |
มีจำนวนสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ๑๔ แห่ง เทียบเท่าคะแนนระดับ ๕ |
เกณฑ์วัดการxxxxxxงาน | คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ |
๒.๓.๑ ระดับความสำเร็จของสะพานปลา และท่าเทียบเรือประมงที่มีคุณภาพน้ำทิ้ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (ต่อ) | เงื่อนไข : • สะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ หมายถึง สะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงนั้นจะต้องผ่านเกณฑ์ มาตรฐานฯ ครบทั้ง ๕ ข้อ และผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ จากการสุ่มตรวจทั้ง ๔ ครั้ง ในปีบัญชี ๒๕๖๔ และหากสะพานปลา ท่าเทียบเรือประมงใดสุ่มตรวจไม่ครบปีละ ๔ ครั้ง จะปรับลดคะแนน ๐.๒๕๐๐ คะแนนจากผลการประเมิน • ในกรณีxxxxxxxxxxxและท่าเทียบเรือประมงแห่งใดไม่เข้าข่ายเกณฑ์การตรวจมาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้ง อสป. จะต้องแสดงหลักฐาน ของการไม่เข้าข่ายเกณฑ์การตรวจมาตรฐานคุณภาพน้ำทิ้งดังกล่าว |
๒.๓.๒ ระดับความสำเร็จของสะพานปลา และท่าเทียบเรือประมงที่ผ่านหลักเกณฑ์ การตรวจวัดมาตรฐานด้านสุขอนามัย ของท่าเทียบเรือประมง สะพานปลา กิจการแพปลา หรือตลาดกลางซื้อขาย สินค้าสัตว์น้ำตามประกาศกรมประมง | • ประเมินผลจากจำนวนสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงของ อสป. ที่ผ่านหลักเกณฑ์การตรวจวัดมาตรฐานตามประกาศ กรมประมง เรื่อง มาตรฐานด้านสุขอนามัยของท่าเทียบเรือประมง สะพานปลา กิจการแพปลา หรือตลาดกลางซื้อขายสัตว์น้ำ และหลักเกณฑ์ในการออกหนังสือรับรอง พ.ศ. ๒๕๖๒ (หลักเกณฑ์การตรวจวัดมาตรฐานฯ) และได้รับหนังสือรับรองจากกรมประมง ภายในปีบัญชี ๒๕๖๔ • ระดับค่าเกณฑ์วัด จำนวนสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่ผ่านหลักเกณฑ์การตรวจวัดมาตรฐานฯ ๑๐ แห่ง เทียบเท่าคะแนนระดับ ๑ จำนวนสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่ผ่านหลักเกณฑ์การตรวจวัดมาตรฐานฯ ๑๑ แห่ง เทียบเท่าคะแนนระดับ ๒ จำนวนสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่ผ่านหลักเกณฑ์การตรวจวัดมาตรฐานฯ ๑๒ แห่ง เทียบเท่าคะแนนระดับ ๓ จำนวนสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่ผ่านหลักเกณฑ์การตรวจวัดมาตรฐานฯ ๑๓ แห่ง เทียบเท่าคะแนนระดับ ๔ จำนวนสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่ผ่านหลักเกณฑ์การตรวจวัดมาตรฐานฯ ๑๔ แห่ง เทียบเท่าคะแนนระดับ ๕ เงื่อนไข : • สะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงทั้ง ๑๔ แห่ง จะต้องได้รับหนังสือรับรองตามประกาศกรมประมงดังกล่าว หากสะพานปลา และท่าเทียบเรือประมงแห่งใดxxxxxxรับหนังสือรับรองจากกรมประมงภายในปีบัญชี ๒๕๖๔ จะปรับลด ๐.๒๕๐๐ คะแนนต่อแห่ง จากผลการประเมิน • ในกรณีxxxxxxxxxxxและท่าเทียบเรือแห่งใดไม่เข้าข่ายหลักเกณฑ์การตรวจวัดมาตรฐานฯ อสป. จะต้องแสดงหลักฐาน ของการไม่เข้าข่ายการได้รับการตรวจวัดมาตรฐานดังกล่าว |
เกณฑ์วัดการxxxxxxงาน | คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ |
๒.๓.๒ ระดับความสำเร็จของสะพานปลา และท่าเทียบเรือประมงที่ผ่านหลักเกณฑ์ การตรวจวัดมาตรฐานด้านสุขอนามัย ของท่าเทียบเรือประมง สะพานปลา กิจการแพปลา หรือตลาดกลางซื้อขาย สินค้าสัตว์น้ำตามประกาศกรมประมง (ต่อ) | หมายเหตุ : • สะพานปลาและท่าเทียบเรือที่ต้องขอรับการตรวจวัดมาตรฐานฯ จำนวน ๑๔ แห่ง ได้แก่ สะพานปลาสมุทรปราการ xxxxxxxx xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx ท่าเทียบเรือประมงหัวหิน ท่าเทียบเรือประมงชุมพร ท่าเทียบเรือประมงหลังสวน ท่าเทียบเรือประมงสุราษฎร์ธานี ท่าเทียบเรือประมงสงขลา ๒ ท่าเทียบเรือประมงปัตตานี ท่าเทียบเรือประมงนราธิวาส ท่าเทียบเรือ ประมงสตูล ท่าเทียบเรือประมงระนอง ท่าเทียบเรือประมงภูเก็ต และท่าเทียบเรือประมงอ่างxxxx • สะพานปลากรุงเทพควรได้รับการตรวจรับมาตรฐานที่เหมาะสมกับบริบทการxxxxxxงานในปัจจุบัน xxxx การเป็นแพปลาหรือตลาดกลาง ซื้อขายสินค้าสัตว์น้ำ โดยไม่มีการทำกิจกรรมประมง • สะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่ไม่มีกิจกรรมการขนถ่ายสินค้าสัตว์น้ำ ๓ แห่ง ได้แก่ ท่าเทียบเรือประมงตราด ให้เช่าพื้นที่ เพื่อวางอุปกรณ์ประมงและจอดxxxเรือ ท่าเทียบเรือประมงสงขลา ๑ ให้เอกชนพัฒนาพื้นที่ ท่าเทียบเรือประมงปราณบุรี เป็นพื้นที่ ว่างเปล่าและไม่มีการxxxxxxกิจกรรมขนถ่ายสินค้าสัตว์น้ำ |
๒.๔ ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนแม่บท การพัฒนาสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมง ของ อสป. (แผนแม่บทฯ) | • ประเมินผลจากระดับความสำเร็จในการจัดทำและxxxxxxการตามแผนแม่บทฯ ทั้ง ๑๘ แห่ง • ระดับค่าเกณฑ์วัด จัดทำแผนแม่บทฯ ทั้ง ๑๘ แห่ง โดยมีการวิเคราะห์ศักยภาพในแต่ละพื้นที่ในการxxxxxxงาน เทียบเท่าคะแนนระดับ ๑ ทั้งเชิงพาณิชย์และเชิงสังคม ความพร้อมในการxxxxxxงาน ข้อจำกัดในการxxxxxxงาน และความต้องการความคาดxxxxของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละพื้นที่ และการวิเคราะห์ การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สิน (Asset Utilization) รูปแบบการลงทุน แหล่งที่มาของเงินลงทุน และความจำเป็นในการxxxxxxงาน (หากไม่มีความจำเป็นในการxxxxxxงานสำหรับบางแห่ง ควรวิเคราะห์และสรุปผลการวิเคราะห์ xxxxxxหยุดxxxxxxการ และกำหนดแนวทางในการคืนพื้นที่ หรือการลดบทบาทในการxxxxxxงาน) รวมทั้งการวิเคราะห์ลักษณะการxxxxxxงานในแต่ละ สะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่จะxxxxxxงานในเชิงพาณิชย์หรือเชิงสังคม เพื่อสรุปสัดส่วน การxxxxxxงานในเชิงพาณิชย์หรือเชิงสังคมของสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงของ อสป. |
เกณฑ์วัดการxxxxxxงาน | คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ |
๒.๔ ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนแม่บทฯ (ต่อ) | ผ่านเกณฑ์วัดระดับ ๑ และนำเสนอแผนแม่บทฯ ทั้ง ๑๘ แห่ง ต่อคณะกรรมการ อสป. เทียบเท่าคะแนนระดับ ๒ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ พร้อมทั้งเสนอกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รับทราบ ภายใน xxxxxx ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ ผ่านเกณฑ์วัดระดับ ๒ และxxxxxxการตามแผนแม่บทฯ โดยมีความสำเรจของการxxxxxxงาน เทียบเท่าคะแนนระดับ ๓ ตามแผนปฏิบัติการของการพัฒนาสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมง ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ จำนวน ๖ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของโครงการตามแผนฯ ทั้งหมด ผ่านค่าเกณฑ์วัดระดับ ๓ และการxxxxxxงานตามแผนปฏิบัติการของการพัฒนาสะพานปลา เทียบเท่าคะแนนระดับ ๔ และท่าเทียบเรือประมง ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ ทั้ง ๖ แห่ง ดีกว่าxxxxxxxxxxxกำหนด หรือเร็วกว่าxxxxxxxxxxxกำหนดไว้ตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ คิดเป็นร้อยละ ๕๐ ของเป้าหมายของโครงการตามแผนฯ ทั้งหมด ผ่านค่าเกณฑ์วัดระดับ ๔ เทียบเท่าคะแนนระดับ ๕ - การxxxxxxงานตามแผนปฏิบัติการของการพัฒนาสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมง ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ ทั้ง ๖ แห่ง ดีกว่าxxxxxxxxxxxกำหนดหรือเร็วกว่าxxxxxxxxxxxกำหนดไว้ ตามแผนปฏิบัติการ ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ของเป้าหมายของโครงการ ตามแผนฯ ทั้งหมด - จัดทำรายงานสรุปภาพรวมของการxxxxxxงานตามแผนปฏิบัติการของการพัฒนา สะพานปลาและท่าเทียบเรือประมง ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ ทั้ง ๖ แห่ง พร้อมระบุปัญหา และข้อเสนอแนะ เสนอต่อคณะกรรมการ อสป. ให้แล้วเสร็จภายในxxxxxx ๓๑ xxxxxx ๒๕๖๔ เงื่อนไข : • แผนแม่บทฯ ทั้ง ๑๘ แห่ง จะต้องกำหนดองค์ประกอบเชิงคุณภาพ ได้แก่ รายละเอียดกิจกรรม/ขั้นตอนการxxxxxxงาน วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ขั้นตอน ระยะเวลา งบประมาณ ค่าใช้จ่าย หรือเงินลงทุน ผู้รับผิดชอบ ตัวชี้วัดและxxxxxxxxxxxสะท้อน ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ผลลัพธ์ทางการเงิน รายxxxxxxคาดว่าจะได้รับ ต้นทุนการxxxxxxการ กระบวนการติดตาม |
เกณฑ์วัดการxxxxxxงาน | คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ |
๒.๔ ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนแม่บทฯ (ต่อ) | ผลการxxxxxxงานของแผนปฏิบัติการ ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ ซึ่งหากโครงการใดxxxxxxกำหนดรายละเอียดดังกล่าว จนทำให้ ผู้ประเมินไม่xxxxxxประเมินผลการxxxxxxงานตามกิจกรรมและเป้าหมายของแต่ละโครงการได้ จะxxxxxxโครงการนั้นเป็นโครงการ xxxxxxแล้วเสร็จ • แผนแม่บทการพัฒนาxxxxxxxxxxxxxxxxx ต้องเป็น ๑ ใน ๖ แห่งที่จัดทำแผนปฏิบัติการของการพัฒนาสะพานปลาและท่าเทียบเรือ ประมง ประจำปีบัญชี ๒๕๖๔ และxxxxxxงานตามแผนปฏิบัติการตามค่าเกณฑ์วัดระดับ ๓ หากไม่xxxxxxการ จะxxxxxxxxxผ่าน เกณฑ์วัดระดับ ๓ • แผนแม่บทฯ ทั้ง ๑๘ แห่ง ต้องเป็นการวิเคราะห์และศึกษาศักยภาพรายพื้นที่ว่าจะxxxxxxการในเชิงพาณิชย์หรือเชิงสังคม ในแต่ละสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงเพื่อจัดทำเป็นแผนแม่บททางธุรกิจ ซึ่งต้องมีการกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดที่เป็นรูปธรรม และสะท้อนความสำเร็จในเชิงพาณิชย์และเชิงสังคม รวมทั้งความต้องการและความคาดxxxxของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละพื้นที่ โดยสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงแต่ละแห่งต้องมีประมาณการทางการเงิน ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วย รายได้ ค่าใช้จ่าย สินทรัพย์ และเงินลงทุน จุดเด่นในแต่ละสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงที่มุ่งเน้นความคุ้มค่าทางสังคมและเศรษฐกิจ รวมทั้ง เป้าหมายรายได้ ปริมาณการขนถ่ายสัตว์น้ำ มาตรฐานสุขอนามัยและคุณภาพน้ำทิ้ง หากโครงการใดxxxxxxกำหนดรายละเอียด ดังกล่าวได้จะxxxxxxแผนแม่บทการพัฒนาสะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงของแห่งนั้นๆ ยังจัดทำแผนแม่บทไม่สำเร็จ และไม่นับเป็นผลการxxxxxxงานในปีบัญชี ๒๕๖๔ • อสป. ต้องจัดทำฐานข้อมูลxxxxxxxxxxเกี่ยวกับข้อมูลสัตว์น้ำผ่านท่า ปริมาณการทำประมงน้ำเค็มทั้งหมดในประเทศ รวมทั้งข้อมูล ของคู่เทียบที่สำคัญของ อสป. และการวิเคราะห์ว่าคู่เทียบที่สำคัญของ อสป. ว่าจะเปรียบเทียบในประเด็นใด เพื่อเป็นฐานข้อมูล ประกอบการกำหนดตัวชี้วัดการxxxxxxงาน หากไม่มีการจัดทำฐานข้อมูลดังกล่าว จะปรับลดผลการxxxxxxงานเท่ากับ ๐.๒๕๐๐ คะแนน หมายเหตุ : • ความสำเร็จของการxxxxxxงานตามแผนแม่บทฯ พิจารณาจาก ๑) โครงการxxxxxxxxxxxxงานได้ตามระยะเวลาที่กำหนดในแผน ๒) โครงการxxxxxxxxxxxxงานได้ตามเป้าหมาย • สะพานปลาและท่าเทียบเรือประมงของ อสป. ทั้ง ๑๘ แห่ง ได้แก่ สะพานปลากรุงเทพ สะพานปลาสมุทรปราการ xxxxxxxx xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx ท่าเทียบเรือประมงหัวหิน ท่าเทียบเรือประมงชุมพร ท่าเทียบเรือประมงหลังสวน |
เกณฑ์วัดการxxxxxxงาน | คำจำกัดความหรือสูตรการคำนวณ |
๒.๔ ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนแม่บทฯ (ต่อ) | ท่าเทียบเรือประมงสุราษฎร์ธานี ท่าเทียบเรือประมงสงขลา ๑ ท่าเทียบเรือประมงสงขลา ๒ ท่าเทียบเรือประมงปัตตานี ท่าเทียบเรือ ประมงนราธิวาส ท่าเทียบเรือประมงสตูล ท่าเทียบเรือประมงระนอง ท่าเทียบเรือประมงภูเก็ต ท่าเทียบเรือประมงอ่างxxxx ท่าเทียบเรือประมงตราด ท่าเทียบเรือประมงปราณบุรี |
๓. Core Business Enablers | Core Business Enablers ประกอบด้วย การประเมินผล ๘ ด้าน ได้แก่ ๑) ด้านการกำกับดูแลxxxxxและการนำองค์กร ๒) ด้านการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ๓) ด้านการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ๔) ด้านการมุ่งเน้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและลูกค้า ๕) ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล ๖) ด้านการบริหารทุนมนุษย์ ๗) ด้านการจัดการความรู้และนวัตกรรม ๘) ด้านการตรวจสอบภายใน |