แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
19
PA 1/ส
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ระหว่างxxxxxx 1 เดือนxxxxxx พ.ศ. 2564 ถึงxxxxxx 30 เดือนกันยายน พ.ศ. 2565
ผู้จัดทำข้อตกลง
ชื่อ นางxxxxxx ดิษฐ์เย็น ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ
สถานศึกษา โรงเรียนบ้านทุ่ม (ทุ่มxxxxxนุเคราะห์)
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1
รับเงินเดือนในอันดับ คศ.3 อัตราเงินเดือน 56,100 บาท
ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (xxxxxxระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามxxxxxxxจัด
การเรียนรู้จริง)
ห้องเรียนxxxxxxxxxxxxxxxxxพื้นฐาน
ห้องเรียนxxxxxx ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ
ห้องเรียนสายวิชาชีพ ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย
ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานตำแห่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการ ซึ่งเป็นตำแหน่งและวิทยฐานะที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 21 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาภาษาไทย จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาวิทยาการคำนวณ จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์
แนะแนว จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ลูกเสือ-เนตรxxxx จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมสังคมและสาธารณประโยชน์ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรม PLC จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานxxxxxxxxและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบxxxxนโยบายและจุดเน้น จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะxxxxxxการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการxxxxxxการด้วยก็ได้) ดังนี้
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง |
งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนา ตามข้อตกลงใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) |
ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) |
ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นxxxxxxเปลี่ยนแปลงไปในทาง xxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้น |
1. ด้านการจัด การเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้xxxxxxxxxxxxxxสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตรการออกแบบการจัดการเรียนรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ การศึกษา เคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้การจัดบรรยากาศที่xxxxxxxxและพัฒนาผู้เรียนและการอบรมและพัฒนาคุณลักษณะxxxxxของผู้เรียน |
ข้าพเจ้าจะxxxxxxการพัฒนางานต่าง ๆ ตามมาตรฐานตำแหน่ง ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/2 ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร บริบทของโรงเรียนบ้านทุ่มฯ นักเรียน และxxxxxxxx โดยความร่วมมือของคณะครู เป็นแบบอย่างxxxxxในการสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร 1.2 ริเริ่ม คิดค้น ออกแบบการจัด การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/3 โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 6 ขั้นตอน ที่เน้นวิธีการแบบเปิด และชุมชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ซึ่งคณะครูระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 2 ได้มีส่วนร่วมในการวิพากษ์ แล้วนำมาปรับปรุงและแก้ไขตามคำแนะนำ เป็นแบบอย่างxxxxxในการออกแบบ การจัดการเรียนรู้ 1.3 ริเริ่ม คิดค้น และพัฒนานวัตกรรม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษา เชิงรุก(Active Learning) 6 ขั้นตอน ที่เน้นวิธีการแบบเปิด และชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) xxxxxxเป็นแบบอย่างxxxxxในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.4 ริเริ่ม คิดค้น และพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ขึ้นใหม่ ให้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/2 ใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 6 ขั้นตอน ที่เน้นวิธีการแบบเปิด (Open Approach) และชุมชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อแก้ไขปัญหาในการเรียนรู้ของผู้เรียน เป็นแบบอย่างxxxxxในการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ 1.5 ริเริ่ม คิดค้น และพัฒนาการวัดและประเมินผลโดยการให้ผู้xxxxxxร่วมกันเป็นคณะกรรมการประเมินผล ตามสภาพจริง ด้วยวิธีการสังเกต ทดสอบ ประเมินชิ้นงาน ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียนและ นักเรียนประเมินตนเอง เป็นแบบอย่างxxxxx
ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จึงได้นำรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 6 ขั้นตอน ที่เน้นวิธีการแบบเปิด (Open Approach) ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน มีสมรรถนะในด้านความxxxxxxในการสื่อสารและความxxxxxxในการคิด และความxxxxxxในการแก้ปัญหา เป็นแบบอย่างxxxxxในการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ 1.7 ริเริ่ม คิดค้น และพัฒนาการจัดบรรยากาศที่เหมาะสมซึ่ง สอดคล้องกับความแตกต่างผู้เรียนเป็นรายบุคคล ได้จัดนักเรียนเป็นกลุ่มคละความxxxxxx เก่ง ปานกลาง อ่อน กลุ่มละ 4 คน จำนวน 9 กลุ่ม xxxxxxแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ และสร้างแรงบันดาลใจส่งผลผู้เรียนให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยีและเป็นแบบอย่างxxxxxในการจัดบรรยากาศที่xxxxxxxxและพัฒนานักเรียน 1.8 อบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงxxxxxxx และค่าxxxxความเป็นไทยxxxxxงาม โดยริเริ่ม พัฒนาด้วยการนำxxxxxxxx ไตรสิขา (ศีล สมาธิ xxxxx) มาบูรณาการในการจัด การเรียนรู้ทุกชั่วโมง โดยxxxxxถึงความแตกต่างของนักเรียนเป็นรายบุคคล และxxxxxx แก้ไขปัญหานักเรียนได้ และเป็นแบบอย่างxxxxx
|
1. นักเรียนชั้น ป.1/2 มีสมรรถนะด้านความxxxxxx ในการสื่อสารและความxxxxxxในการคิด ในระดับดีขึ้นไป 2. นักเรียนชั้น ป.1/2 มีxxxxxxxxxxทางการเรียน วิชาภาษาไทย ในระดับดีขึ้นไป 3. นักเรียนชั้น ป.1/2 มีทักษะการอ่านจับใจความ ในระดับดีขึ้นไป 4. นักเรียนชั้น ป.1/2 มีคุณลักษณะอันพึงxxxxxxx ในระดับดีขึ้นไป 5. นักเรียนชั้น ป.1/2 มี มีคุณธรรมอัตลักษณ์ (รับผิดชอบหน้าที่ มีxxxxx ใฝ่เรียนรู้) ในระดับดีขึ้นไป |
1. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 85 มีสมรรถนะด้านความxxxxxx ในการสื่อสาร ในระดับดีขึ้นไป 2. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 81 มีสมรรถนะด้านความxxxxxxในการคิด ในระดับดีขึ้นไป 3. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 90 มีxxxxxxxxxx ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ในระดับดีขึ้นไป 4. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 85 มีทักษะ การอ่านจับใจความ ในระดับดีขึ้นไป 5. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 90 มีคุณลักษณะ อันพึงxxxxxxx ในระดับดีขึ้นไป 6. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 87 มี มีคุณธรรมอัตลักษณ์ (รับผิดชอบหน้าที่ มีxxxxx ใฝ่เรียนรู้) ในระดับดีขึ้นไป |
2. ด้านการxxxxxxxxและสนับสนุน การจัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้xxxxxxxxxxx xxxจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา การxxxxxxการตามระบบ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน การปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา และการxxxxxxความร่วมมือกับผู้xxxxxx ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ |
ข้าพเจ้าจะxxxxxxการ ดังนี้ 2.1 พัฒนารูปแบบการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1/2 และรายวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการจัดทำข้อมูลนักเรียนรายบุคคล, จัดทำข้อมูลสารสนเทศxxxxxxxxxxxxxxทางการเรียน, ระบบปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน (CCT) ให้มีข้อมูลสารสนเทศที่เป็นปัจจุบัน ด้วยเพื่อใช้ในการxxxxxxxxสนับสนุนการเรียนรู้ แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และเป็นแบบอย่างxxxxx 2.2 xxxxxxการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน โดยxxxxxxการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/2 เพื่อ คัดกรองนักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือในแต่ละด้าน มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคล และxxxxxxความร่วมมือกับผู้ผู้xxxxxx เพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหานักเรียน และริเริ่มโครงการหรือจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ด้วยวิธีการที่หลากหลายในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และเป็นแบบอย่างxxxxx 2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา โดยปฏิบัติหน้าที่ เจ้าหน้าที่จัดทำระบบ Q-INFO โดยข้อมูลเป็นปัจจุบัน สะดวก นำมาเป็นแนวทางในการxxxxxxงาน ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการxxxxxxงานสูงขึ้นและเป็นแบบอย่างxxxxx
2.4 xxxxxxความร่วมมือกับผู้xxxxxx ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ โดยxxxxxxความร่วมมือกับผู้xxxxxx ภาคีเครือข่ายหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/3 จากหลากหลายช่องทาง xxxx กลุ่มไลน์ การโทรศัพท์ติดต่อ การสอบถาม การเยี่ยมบ้าน ฯลฯ ส่งผลให้แก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรียนได้ และเป็นแบบอย่างxxxxx |
1. นักเรียนชั้น ป.1/2 มีสมรรถนะด้านความxxxxxxในการสื่อสารและความxxxxxxในการคิด ในระดับดีขึ้นไป 2. นักเรียนชั้น ป.1/2 มีxxxxxxxxxxทางการเรียนวิชาภาษาไทย ในระดับดีขึ้นไป 3. นักเรียนชั้น ป.1/2 มีทักษะ การอ่านจับใจความ ในระดับดีขึ้นไป 4. นักเรียนชั้น ป.1/2 มีคุณลักษณะอันพึงxxxxxxx ในระดับดีขึ้นไป 5. นักเรียนชั้น ป.1/2 ได้รับ การพัฒนาเต็มตามศักยภาพ 6. นักเรียนชั้น ป.1/2 มี มีคุณธรรมอัตลักษณ์ (รับผิดชอบหน้าที่ มีxxxxx ใฝ่เรียนรู้) ในระดับดีขึ้นไป |
1. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 85 มีสมรรถนะด้านความxxxxxx ในการสื่อสาร ในระดับดีขึ้นไป 2. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 81 มีสมรรถนะด้านความxxxxxx ในการคิด ในระดับดี ขึ้นไป 3. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 90 มีxxxxxxxxxx ทางการเรียนวิชาภาษาไทยในระดับดีขึ้นไป 3. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 81 มีทักษะ การอ่านจับใจความ ในระดับดีขึ้นไป 4. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 90 มีคุณลักษณะ อันพึงxxxxxxx ในระดับดีขึ้นไป 5. นักเรียนชั้น ป.1/2 ทุกคน ได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ 6. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 87 xxxxxxxxxxxxxxxxxx
|
3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ลักษณะงานที่เสนอให้xxxxxxxxxxxxxxพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้และการนำความรู้ความxxxxxxทักษะxxxxxxจากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ |
ข้าพเจ้าจะxxxxxxการ ดังนี้ 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยจัดทำแผนพัฒนาตนเองของข้าราชการครู (ID-Plan) มีการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความxxxxxx ทักษะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา สมรรถนะวิชาชีพครูและความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และวิธีการสอนแบบเปิด (Open Approach) และนำผลการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่มีผลต่อคุณภาพผู้เรียน และเป็นแบบอย่างxxxxx 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยการมี ส่วนร่วม และเป็นผู้นำในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เข้าร่วมชุมชนการเรียน ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาxxx xxxxxx การพัฒนาทักษะการอ่านรู้เรื่องของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จัดการเรียนรู้ เชิงรุก (Active Learning) 6 ขั้นตอน ที่เน้นวิธีการแบบเปิด และชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) และเป็นแบบอย่างxxxxx
3.3 นำความรู้ความxxxxxx ทักษะxxxxxxจากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยการร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาและแก้ปัญหานักเรียนด้านการเรียนและพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนกับคุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและนำมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพนักเรียน รวมxxxxxxจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 6 ขั้นตอน ที่เน้นวิธีการแบบเปิด (Open Approach) ส่งผลต่อคุณภาพนักเรียน และเป็นแบบอย่างxxxxx |
1. นักเรียนชั้น ป.1/2 มีสมรรถนะด้านความxxxxxxในการสื่อสารและความxxxxxxในการคิด ในระดับดีขึ้นไป 2. นักเรียนชั้น ป.1/2 มีxxxxxxxxxxทางการเรียนวิชาภาษาไทย ในระดับดีขึ้นไป 3. นักเรียนชั้น ป.1/2 มีคุณลักษณะอันพึงxxxxxxx ในระดับดีขึ้นไป 4. นักเรียนชั้น ป.1/2 มี มีคุณธรรมอัตลักษณ์ (รับผิดชอบหน้าที่ มีxxxxx ใฝ่เรียนรู้) ในระดับดีขึ้นไป |
1. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 85 มีสมรรถนะด้านความxxxxxx ในการสื่อสาร ในระดับดีขึ้นไป 2. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 81 มีสมรรถนะด้านความxxxxxx ในการคิด ในระดับดี ขึ้นไป 3. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 90 มีxxxxxxxxxx ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ในระดับดีขึ้นไป 4. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 90 มีคุณลักษณะ อันพึงxxxxxxx ในระดับดีขึ้นไป 5. นักเรียนชั้น ป.1/2 ทุกคน ได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ 6. นักเรียนชั้น ป.1/2 ร้อยละ 87 มีคุณธรรมอัตลักษณ์ (รับผิดชอบหน้าที่ มีxxxxx ใฝ่เรียนรู้) ในระดับดีขึ้นไป |
หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนา ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และxxxxxxxจัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครูผู้จัดทำข้อตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางานต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ที่ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของรายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา xxxxxxเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้องแสดงให้เห็นxxxxxxปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลงxxxxxxประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2
3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการxxxxxxการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง xxxxxxxจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางาน ตามข้อตกลงเป็นสำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร
ส่วนที่
2
ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้
ของผู้เรียน
ประเด็นท้าทาย
เรื่อง
“การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่
1
โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active
Learning) 6 ขั้นตอน
ที่เน้น
วิธีการแบบเปิด และชุนชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)”
1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีนโยบายและจุดเน้น
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ในประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
จากสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านทุ่ม (ทุ่มประชานุเคราะห์) รายวิชาภาษาไทยในปีการศึกษา 2563 พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ที่ขาดทักษะ
การอ่านจับใจความ (อ่านรู้เรื่อง) กล่าวคือ ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านรู้เรื่อง (RT) ของผู้เรียน
มีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าร้อยละ 65
ครูผู้สอนจึงนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โดยเน้นวิธีการแบบเปิด (Open Approach) และชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) มาพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความ (อ่านรู้เรื่อง) เนื่องจากทักษะดังกล่าวเป็นทักษะที่มีความจำเป็นและเป็นประโยชน์แก่ผู้เรียน ที่จะนำไปสู่ทักษะการอ่านขั้นสูงเพื่อต่อยอด
การเรียนรู้ในรายวิชาอื่น ๆ ตลอดจนประโยชน์ในการอ่านเรื่องราวต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน
2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้
เชิงรุก (Active Learning) 6 ขั้นตอน ที่เน้นวิธีการแบบเปิด และชุนชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
วิธีการดำเนินการวงรอบที่ 1
-
วิธีการดำเนินการ
ระยะเวลา
1. เข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
ตุลาคม 2564 - กันยายน 2565
2. ร่วมวิเคราะห์ปัญหาและเลือกบทเรียนที่ต้องการพัฒนา
- จัดทำหน่วยการเรียนรู้
- จัดทำกำหนดการเรียนรู้
ตุลาคม – พฤศจิกายน 2564
3. ออกแบบและจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) 6 ขั้นตอน ที่เน้นวิธีการแบบเปิด
พฤศจิกายน 2564
4. ปรับปรุงแก้ไขแผนการจัดการเรียนรู้
พฤศจิกายน 2564
5. จัดการเรียนรู้ตามแผน/สังเกตการสอน 8 ชั่วโมง
ธันวาคม 2564 - มกราคม 2565
6. สะท้อนผลการจัดการเรียนรู้
ธันวาคม 2564 - มกราคม 2565
7. สรุปและจัดทำรายงานผล
กุมภาพันธ์ 2565
วิธีการดำเนินการวงรอบที่ 2
-
วิธีการดำเนินการ
ระยะเวลา
1. เข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
ตุลาคม 2564 - กันยายน 2565
2. ร่วมวิเคราะห์ปัญหาและเลือกบทเรียนที่ต้องการพัฒนา
- จัดทำหน่วยการเรียนรู้
- จัดทำกำหนดการเรียนรู้
พฤษภาคม – มิถุนายน 2565
3. ออกแบบและจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) 6 ขั้นตอน ที่เน้นวิธีการแบบเปิด
มิถุนายน-กรกฎาคม 2565
4. ปรับปรุงแก้ไขแผนการจัดการเรียนรู้
กรกฎาคม 2565
5. จัดการเรียนรู้ตามแผน/สังเกตการสอน 8 ชั่วโมง
กรกฎาคม 2565 - สิงหาคม 2565
6. สะท้อนผลการจัดการเรียนรู้
สิงหาคม 2565 - กันยายน 2565
7. สรุปและจัดทำรายงานผล
กันยายน 2565
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ
1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านทุ่มฯ ร้อยละ 85 มีทักษะการอ่านจับใจความ(อ่านรู้เรื่อง) ในระดับดีขึ้นไป
2.
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่
1
โรงเรียนบ้านทุ่มฯ
ร้อยละ 81
มีสมรรถนะสำคัญ
ด้านความสามารถในการคิด
ในระดับดีขึ้นไป
3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านทุ่มฯ ร้อยละ 85 มีสมรรถนะสำคัญ
ด้านความสามารถในการสื่อสาร ในระดับดีขึ้นไป
3.2 เชิงคุณภาพ
1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านทุ่มฯ มีทักษะการอ่านรู้เรื่องในระดับดีขึ้นไป
2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านทุ่มฯ มีสมรรถนะสำคัญด้านความสามารถ
ในการคิด ความสามารถในการสื่อสาร ในระดับดีขึ้นไป
ลงชื่อ........................................................................
(นางศิริพร ดิษฐ์เย็น)
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ
ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน
ตุลาคม 2564
ความเห็ นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอ
เพื่อพิจารณาอีกครั้ง ดังนี้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ....................................................................
(นายสันติ มุ่งหมาย)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่ม (ทุ่มประชานุเคราะห์
ตุลาคม 2564