และขณะเดียวกัน ผูวิจัยก็ไดรับการเอื้อเฟอชวยเหลือจากมิตรเพื่อนบานทางวิชาการใน พื้นที่วิจัยของสปป.ลาว Mr. Amnart Phewwanna ผูอํานวยการชลประทาน (IRRI Gation Construction Co.) แขวงบอแกว สปป.ลาว ที่ใหคําแนะนําในการสํารวจพื้นที่ตั้งแตแขวงบอแกว...
บรรษัทขามชาติxxxในลาวและเวียดนาม
xx. xxxxx xxxคันธ
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ
โครงการ “บรรษัทขามชาติxxxในลาวและเวียดนาม”
โดย ดร.xxxxx xxxคันธ
สิงหาคม 2555
สัญญาเลขที่ RDG5410002
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ
โครงการ “บรรษัทขามชาติxxxในลาวและเวียดนาม”
โดย ดร.xxxxx xxxxxxx
สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจย (สกว.)
(ความเห็นในรายงานนี้เปนของผ
ิจย
สกว. ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป)
คํานํา
การศึกษาวิจัยโครงการ “บรรษัทขามชาติxxxในลาวและเวียดนาม” ในรายงานการศึกษา วิจยไดมีการรวบรวมขอมูลเอกสาร สํารวจขอมูลภาคสนาม และการวิเคระหขxxxxxxxเกี่ยวกับประเด็น ของการศึกษา พัฒนาการการลงทุนและรูปแบบการลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxในสปป.ลาวและ เวียดนาม ปจจัยที่สนับสนุนการลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxในสป.ลาวและเวียดนาม รวมท้งปญหา และอุปสรรคของบรรษัทขามชาติxxxในสปป.ลาวและเวียดนาม เพื่อนําไปสูการทําความเขาใจ “บรรษัทขามชาติxxxในลาวและเวียดนาม” วามีนัยสําคัญตอการพัฒนาสปป.ลาวและเวียดนาม อยางไรในxxxxx
ท นี้ผลxxxxxร บจากการศึกษาวิจัย “บรรษทขามชาติxxxในลาวและเวยดนาม” ซึ่งถือเปนการ
การวิเคราะหและสังเคราะหขxxxxxxxไดในพื้นท่ีศึกษาทั้งในสปป.ลาว เวียดนาม และxxxxxxxx (xxxxxxนนาน) เพื่อใหxxxxxตามเปาหมายของการศึกษาวิจัยที่เทาทันตอสภาวการณในปจจุบัน xxx xxxxxxแสวงหาองคความรูที่วาเมื่อ “บรรษัทขามชาติxxxเขามาลงทุนในสปป.ลาวและเวียดนาม” จะเปนโอกาสหรือสรางความทาทายกับผลกระทบxxxxxรับหรือมีนัยตอสปป.ลาว เวียดนาม และไทย อยางไร เพื่อที่จะนําไปสูการดําเนินนโยบายเชิงxxxxศาสตรของไทยที่มีตxxxx และความสัมพันธ ระหวางไทยกบประเทศเพื่อนบานในxxxxxxxลุมแมน้ําโขงตอไป
การศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยตองขอขอบคุณสําหรับความชวยเหลือและคําแนะนําจากผูรูและ นักวิชาการหลายฝายดวยxxx xxเริ่มจาก ศ.ดร. สวัสxxx ตันตระรัตน ผูอํานวยการสํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) ที่สนับสนุนทุนการวิจัย รวมทั้ง รศ.xx. xxxxxx xxxxxxxxx และ คุณรุงxxx xxxxxพรxxxxx xxxไดใหโอกาสกับผูวิจัยทั้งในดานการสนับสนุนชวยเหลือ รวมท้ังใหคําแนะที่เปน ประโยชนในการศึกษาวิจัย และตองขอขอบคุณผูชวยวิจัย xxxxxxxxx xxxxxx ท่ีชวยหาขอมูลและ เดินทางติดตามขาพเจาในฐานะxxxxผูวิจัย ตลอดของการเดินทางสํารวจศึกษาในพื้นที่ภาคสนาม ท้ังสปป.ลาว เวียดนาม และสาธารณรัฐประชาชนxxx
และขณะเดียวกัน ผูวิจัยก็ไดรับการเอื้อเฟอชวยเหลือจากxxxxเพื่อนบานทางวิชาการใน พื้นที่วิจัยของสปป.ลาว Mr. Xxxxxx Phewwanna ผูอํานวยการชลประทาน (IRRI Gation Construction Co.) แขวงบอแกว สปป.ลาว ที่ใหคําแนะนําในการสํารวจพื้นที่ตั้งแตแขวงบอแกว หลวงน้ําxx xxxxพระบาง และนครหลวงเวียงจันทร ในสวนเวียดนามผูวิจัยยังไดผูชวยวิจัยลงเก็บ ขอมูลภาคสนาม อาจารย Le Thi Dieu Ninh มหาวิทยาลัยฮานอย xxxxxชวยในการลงพื้นที่เก็บขอมูล ในเวียดนาม ที่เริ่มท้ังแตxxxxxจิมินตจนถึงกรุงฮานอย และในสวนของxxxxxxxx (xxxxxxนนาน)
ไดรับการชวยเหลือจากทานอาจารย Xx Xxx Xxxx xxxxxxxxxxxราชภัฏสวนดุสิต xxxxxใหความ ชวยเหลือการลงพ้ืนxxx x xxxคุนหมิง xxxxxxนนาน
สุดทานน้ี ผูวิจัยตองขอขอบคุณ บุคคลและxxxxxxxxที่ใหความชวยเหลือ และใหขอมูล กับขาพเจาท้ังในสวนของสปป.ลาว เวียดนาม และสาธารณรัฐประชาชนxxx xxxxน้ีผูชวยวิจัยในแตละ ประเทศตางไดเปนผูเก็บรวบรวมขอมูล และไดเปนลามใหกับผูวิจัยอยางสมํ่าเสมอตลอดของการ ศึกษาวิจัย แมวาจะxxxxxxxเปลี่ยนแปลงวันเวลา หรือพื้นท่ีเก็บขอมูล ปญหาของการเขาถึง แหลงขอมูล ผูวิจัยจึงขอขอบคุณxxxxxทุกๆทาxxxxยังไมไดกลาวถึง รวมทั้งผูคนในมิตรไมตรีท้ังในสวน ของสปป.ลาว เวียดนาม และxxx (xxxxxxนนาน) ที่มีสวนรวมในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้
xxxxx xxxคันธ
2555
สารบัญ
หน
บทคัดยอ (ไทย/อังกฤษ) I
บทสรุปสําหรับผูบริหาร -I-
บทที่ 1 บทนํา 1
บทท่ี 2 แนวคิดทฤษฏีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 9
บทที่ 3 ขอมูลพ้ืนฐานสปป.ลาว และเวียดนาม 35
บทที่ 4 การลงทุนโดยตรงของบรรษัทขามชาติxxxในตางประเทศ 67
บทที่ 5 การลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxในสปป.ลาวและเวียดนาม 84
บทที่ 6 ปจจัยที่สนับสนุนการลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxในลาวและเวียดนาม 116
บทที่ 7 ปญหาและอุปสรรคการลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxในลาวและเวียดนาม 146
บทที่ 8 บทสรุป 177
บรรณานุกรม 192
ภาคผนวก นโยบายกาวออกไป (Going Global Policy) 206
การลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxในสปป.ลาวและเวียดนาม เริ่มในชวงxxxxxx 1980 มี ลักษณะการออกไปลงทุนแบบคอยเปนคอยไป การลงทุนจะมากหรือนอยขึ้นxxxกับรูปแบบ ความสัมพันธระหวางxxxกับสปป.ลาว และxxxกับเวียดนาม ซึ่งบางครั้งมีการฟนฟูความสัมพันธกัน และบางครั้งก็มีความขัดแยงกันสลับกันไปมา โดยxxxกับสปป.ลาวและเวียดนามมีทําxxxxxตั้งทาง ภูมิศาสตรที่มีพรมแดนติดตอกัน ซ่ึงทําใหมีความสะดวกในการคมนาคมขนสง และการแลกxxxxxxx xxxคาระหวางกัน การลงทุนของxxxxxxมีเปาหมายเพื่อการแสวงหาทรัพยากร การยายฐานการผลิต สินคาโดยเฉพาะการแปรรูปสินคาxxxxx xxxคาอุปโภคและบริโภค การลงทุนการพัฒนาโครงสราง พื้นฐาน เปนตน xxxxxxxxxxยังมีการกระชับความสัมพันธกับสปป.ลาวและเวียดนาม เพื่อเปนประตู การคาสูกลุมประเทศxxxxxxxลุมแมน้ําโขง (GMS) และกลุมประเทศอาเซียน (ASEAN)
พัฒนาการการลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxในสปป.ลาวและเวียดนาม ซึ่งxxxxxxxxง
การเขามาลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxxx 3 ชวงเวลา คือ ชวงแรกของพัฒนาการการออกไปลงทุนของบรรษัทขามชาติxxx (ค.ศ.1980-1990) ซึ่งถือ
เปนชวงที่บริษัทxxxเริ่มเขาไปแขงขันกับบริษัททองถิ่นในสปป.ลาวและเวียดนาม เร่ิมจะมีการคา ระหวางชายแดนxxxกับสปป.ลาวและเวียดนาม ในชวงนี้การลงทุนของxxxยังมีไมมากนัก แตมีการ ลงทุนในการเขาไปสัมปทานพื้นที่และการใหความชวยเหลือเพื่อพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เชน การ สรางถนน การชลประทาน เขื่อน สะพาน เปนตน ซึ่งมีผลกระทบทางบวกและทางลบตอประเทศที่มี xxxxxxxณการเมืองการxxxxxxแบบคอมมิวนิสตเหมือนกัน และที่มีนัยความสําคัญตxxxxคือ การ สรางภาพลักษณ (Country Image) ของxxxในฐานเปนผูใหความชวยเหลือ การพัฒนาศักยภาพทาง เศรษฐกิจของสปป.ลาวและเวียดนาม การสรางความไวเนื้อxxxxxxxซ่ึงกันและกัน การเปนเพื่อนบาxxxx xx และการสรางความรวมมือทางเศรษฐกิจที่หลากหลาย ในชวงนี้รัฐบาลxxxสนับสนุนบรรษัทขาม ชาติxxxxxxxxxxxxและเล็กออกไปลงทุนในตางประเทศ โดยรัฐบาลxxxจะเนนการสนับสนุนโครงการ พัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางวิศวกรรม โดยการออกไปลงทุนในชวงแรกจะตองไดรับการอนุมัติโดย รัฐบาลxxxใหออกไปลงทุนในตางประเทศ
ชวงที่สอง (ค.ศ. 1991-2000) เปนชวงหลังการลมสลายของสหภาพโซเวียด ผนวกกับการ ลองใตของเติ้งเสี่ยวxxxxxxxxเขตเศรษฐกิจพิเศษเซินเจิ้น เมื่อ ค.ศ. 1992 การผลักดันนโยบายทาง เศรษฐกิจของxxxออกสูโลกภายนอก และไดช้ีใหเห็นวาการพัฒนาเศรษฐกิจxxxxxเดินมาถูกทางแลว ในนโยบายxxxxxxxxxxxxใชกลไกการตลาด (Socialist Market Economy) นโยบายของxxxจะมีความ เกี่ยวพันกับความรวมมือทางเศรษฐกิจ ซึ่งสอดคลองกับxxxxxxใหความรวมมือในxxxxxxxลุมแมน้ําโขง
(GMS) เมื่อ ค.ศ. 1992 โดยความสัมพันธทางเศรษฐกิจxxxกับสปป.ลาวและเวียดนามนั้น พบวา มี การขยายตัวทางการคาxxxxxขึ้นในชวงxxxxxx 1990 xxxเปนผูสงออกเหล็กและเหล็กกลา xxxxxxxxxxxกล เชื้อเพลิง และน้ํามัน ไปเวียดนาม ขณะเดียวกันxxxนําเขาวัตถุดิบและ ทรัพยากรธรรมชาติจากเวียดนาม เชน สินแร เชื้อเพลิง ยางพารา ท่ีxxxxxสูงข้ึนเชนกัน สวนสปป.ลาวมี การซื้อสินคาจากxxx xxน xxxยนต xxxxxxxxxxx เคร่ืองบินและช้ินสวน และxxxมีการนําเขาสินคา เชน ไม ยางพารา ทองแดง เปนตน ทั้งนี้การสงออกสินคาของxxxมีการขยายตัวxxxxxขึ้น ดวยเหตุผลของ สภาวะแวดลอมทางการเมืองมีทิศทางxxxxxข้ึนระหวางxxxกับสปป.ลาวและเวียดนาม รวมทั้งตนทุน การคาที่ต่ําของxxxxxxxxxชวยการแขงขันในภาคอุตสาหกรรม ความไดเปรียบในเชิงภูมิศาสตร โดยเฉพาะภาคใตของxxx รวมท้งอัตราภาษีที่ต่ําและส่ิงอํานวยความสะดวกการคาในฐานะประเทศที่ มีพรมแดนติดตxxxx xxxกอใหxxxxxxxลงทุนระหวางxxxกับxxxxxxxลุมแมน้ําโขง ท้ังในxxxxxx xxxคา อุปโภคและบริโภค และการผลิตสินคาจากโรงงานอุตสาหกรรม
และในชวงวิกฤตเศรษฐกิจในเอเชีย ค.ศ. 1997 xxxxx วยพัฒนาเศรษฐกิจสปป.ลาว มีการ
ขยายตัวทางการคา และการลงทุน เนื่องจากxxxxxไดxxxxxกระทบมากนักในชวงวิกฤติเศรษฐกิจ และxxxxxxxของxxxxxxxxมากข้ึนในเวียดนาม เน่ืองจากนักลงทุนจากตางประเทศชะลอการลงทุนใน เวียดนาม และxxxกับเวียดนามยังไดมีขอตกลงความรวมมือทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี การลงทุน การ ธนาคาร และการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน การสนับสนุนการสงออก และการสนับสนุนเงินกูยืม ขณะเดียวกันxxxยังใหการสนบสนุนลาว ในชวงวิกฤต ค.ศ. 1998-1999 xxxxxxxxxxxx xxxxxเจอหxxx xxเดินทางไปลาว เม่ือ ค.ศ. 2000 ซึ่งทั้งสองประเทศไดมีการแลกเปลี่ยนผลประโยชนซึ่งxxxxxxxxx xxxก็เริ่มที่จะเขามามีบทบาททางเศรษฐกิจในสปป.ลาว เชน การแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ การ ขยายตลาดของสินคาxxxในตางประเทศ เปนตน
ชวงที่สาม (2001-ปจจุบัน) ในชวงนี้xxxเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลก (WTO) ค.ศ. 2001 xxxxxลงทุนในสปป.ลาวxxxxxขึ้นประมาณรอยละ 2 แตหลังจาก ค.ศ. 2000 สมยxxxxxxxxเจอหมิน ประธาณาxxxxx ไดเดินทางไปเยือนสปป.ลาว โดยลาวไดรับเงินชวยเหลือโดยไมคิดมูลคาประมาณ 160 ลานหยวน และ 80 ลานหยวนเปนเงินกูปราศจากดอกเบี้ย และสินเชื่อพิเศษ 300 ลานหยวน เพ่ือแลกกับโครงการลงทุนขนาดใหญของxxx โดยการสนับสนุนการการลงทุนของบรรษัทขามชาติxxx ในสปป.ลาว การจัดตั้งโรงงานปูนxxxxxต (Laos Vang Vieng Cement Factory) และศูนยวัฒนธรรม แหงชาติ (National Cultural Centre) นอกจากนี้xxxใหความชวยเหลือลาวในการสรางถนน Na Toey-Park Mun Highway ระยะทาง 166.5 กม.ในสวนอุตสาหกรรมมีการลงทุนของบริษัทxxxใน เวียดนาม เชน TCL Group การตั้งโรงงานผลิตเครื่องรับสงโทรทัศนท่ีมีศักยภาพการผลิต 500,000
เครื่องตอป และ บริษัทผลิตรถจักรยานยนต Lifan Motor ไดลงทุนตั้งโรงงานผลิตมอเตอรไซดเพื่อ ขายในตลาดเวียดนาม
รูปแบบการลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxในลาวและเวียดนาม การลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxในลาวและเวียดนาม จะมีลักษณะxxxxxxxเหมือนกันและ
แตกตางกัน โดย นโยบายการสงเสริมการลงทุนของสปป.ลาวและเวียดนามไดตนแบบการพัฒนา เศรษฐกิจมาจากxxx (คายสังคมนิยมคอมมิวนิสต) ซึ่งประสบความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยมีระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว ขณะเดียวกันผูนําประเทศของสปป.ลาวยังมีความผูกพันกับ การพัฒนาเศรษฐกิจxxxและเวียดนาม แมวาความสัมพันธระหวางxxxกับเวียดนามยังไมxxxxxxx เทาที่ควร แตท้ังสองประเทศยังมีความรวมมือกันทางเศรษฐกิจ โดยมีรูปแบบการลงทุน 3 รูปแบบ คือ (1) ธุรกิจรวมตามสญญา (2) วิสาหกิจผสมระหวางผูลงทุนตางชาติกับผูลงทุนภายในประเทศ (3) วิสาหกิจลงทุนตางประเทศ 100 เปอรเซ็นต ซึ่งบทบาทของxxxxxxเขามาลงทุนมีท้ัง การคา การลงทุน และการใหความชวยเหลือกับสปป.ลาวและเวียดนาม (ขยายความ)
ปจจัยการลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxในสปป.ลาวและเวียดนาม การดําเนินxxxxศาสตรการกาวออกไปลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxในตางประเทศ xxxมี
พัฒนาการและรูปแบบการลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxในตางประเทศxxxxxxxเหมือนกันและแตกตาง กนกับประเทศผูลงทุนขามชาติอื่นในตางประเทศ แตมีปจจัยxxxxxสรางความแตกตางกับการลงทุนใน ตางประเทศคือ การลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxในฐานะรัฐสังคมนิยมคอมมิวนิสตกับการออกไป ลงทุนในรัฐสังคมนิยมคอมมิวนิสต เชน สปป.ลาว และเวียดนาม กลาวคือ
xxxxxxxศาสตร (Geo-Politics)
จากxxxxศาสตรการพัฒนาการลงทุนของxxxในลาวและเวียดนาม โดยการใชนโยบายการ เปนเพื่อนบาxxxxxx xxxเปนหุนสวนทางxxxxศาสตร และการพัฒนาอยางxxxxxของxxx (Peaceful development) ในxxxxxxxxx 21 ผูนําxxxxxxxxxไดxxxxxxเชื่อมตอสายสัมพันธกับนานาประเทศ การใหความสําคัญกับการพัฒนาอยางxxxxx โดยการแสวงหาความมั่นคงในแนวทางพหุภาคี เพื่อ ผลประโยชนรวมกัน ซึ่งเปนเวลากวา 30 ป ทั้งแตxxxxxxxxxและเปดประเทศ การลดบทบาท xxxxxxxณทางการเมืองและการทหาร การขยายบทบาททางการทูตและการพัฒนาเศรษฐกิจ และ การมีความสัมพนธแบบมิตรภาพตอประเทศตางๆ ทั่วโลก กลาวคือ การทะยานขึ้นอยางxxxxxของxxx (Peaceful Rise) ไดสงผลใหxxxมีการปรับปรุงxxxxศาสตรกับประเทศตางๆ ซ่ึงเปนหลักคิดที่xxx xxxxxxตอบโจทยตอสังคมโลกเกี่ยวกับภัยคุกคามจากxxx (China Threat) ซึ่งเปนประเด็นของการ ตอบโตกับประเทศมหาอํานาจทางการเมืองและเศรษฐกิจ (สหรัฐอเมริกาและญี่ปุน) xxxxxxไดเขาไปมี บทบาทในเวทีโลก xxxxxxxของxxxในเศรษฐกิจโลกไดxxxxxขึ้นอยางรวดเร็ว และเริ่มที่จะเปนประเทศ
มหาอํานาจทางการเมืองและเศรษฐกิจ นโยบายการเปนเพื่อนบาxxxxxx (Good Neighbor Policy) ซึ่ง เปนแนวทางใหมของxxxในการดําเนินนโยบายทางการทูตและความสัมพันธระหวางประเทศ การ สรางความไววางใจกับประเทศเพ่ือนบานและการลดกระแสการตอตานและxxxxxxxxxxxx ซึ่งได กอใหเกิดนโยบายความสัมพันธxxxxxกับสปป.ลาวและเวียดนาม ภายใตสภาพแวดลอมใหมxxxxxx xxxxxxออกไปลงทุนในตางประเทศ xxxมีสวนรวมกับประเทศในxxxxxxxลุมแมน้ําโขง ตั้งแตxxxxxx 1990 ซ่ึงเปนการแสดงถึงนัยการดําเนินนโยบายการเปนเพื่อนบาxxxxxx และเปนประโยชนตอหลาย ประเทศ ขณะเดียวกันxxxกําลังนํามาซึ่งภัยคุกคามทางเศรษฐกิจตามมา ดังที่หลายประเทศยังมี
ความกังวลในxxxxxx xxxคาจ ทุนจนี และคนจนท่ีี เขามาสกลมประเทศภูุู มิภาคลุมแมน้ําโขง
ภูมิเศรษฐศาสตร (Geo-Economics)
ในชวงสงครามเย็น ภัยคุกคามจากลัทธิคอมมิวนิสตรวมถึงขบวนการxxxxxxxxตางๆ ที่ เคลื่อนไหวทั้งในลาว กัมพูชาและเวียดนาม (ประเทศอินโดxxxในอดีต) เริ่มที่จะคลี่คลายลงในรัฐบาล สมัย พลเอกxxxxxxx ชุณนะวัณ (ค.ศ. 1988-1991) จากนโยบาย “เปลี่ยนสนามรบเปนสนาม
การคา” ถือเปนการเปดความสัมพนธกบประเทศเพ นบานอย างเปนทางการ หลงการสนสดสงคราุ้ิั ม
เย็นในxxxxxxxอินโดxxx การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศxxx สปป.ลาว และเวียดนาม รัฐบาลแตละ ประเทศไดมีนโยบายพัฒนาพื้นที่ชายแดนผานโครงการสี่เหxxยมเศรษฐกิจ และความรวมมือใน xxxxxxxลุมแมน้ําโขง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกลาวสะทอนใหเห็นถึงมุมxxxxxxเปลี่ยนแปลงไปตอรัฐ พื้นที่ชายแดน การพัฒนาเพื่อใหพื้นที่ชายแดนเปนพื้นที่เศรษฐกิจหรือบางทีถูกเรียกวาเปน “ระเบียง เศรษฐกิจ” (Economic Corridor) จึงนับเปนปจจัยสําคัญท่ีทําใหพื้นท่ีชายแดนxxxกับสปป.ลาวและ เวียดนาม ไดปรับตัวเขาสูบทบาทใหมในฐานะเมืองชายแดนที่มีศักยภาพในการเปนเมืองประตู การคาที่ติดตอกับประเทศเพื่อนบานและนานาชาติ และเชื่อมโยงกับศูนยกลางเศรษฐกิจในxxxxxxx
การบูรณการทางเศรษฐกิจxxxกับสปป.ลาวและเวียดนาม ซ่ึงเปนผลมาจากการเปดการคา xxxxxxxกับอาเซียน (ASEAN-China FTA) xxxxxมีขอตกลงระหวางกัน และการคาจะเปนกลไกสําคัญ ในการxxxxxการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางxxxxxxxศาสตร (Geo-Politics) ที่สงผลตอการลดลง ของอาชญากรรมขามxxx การปกปองสิ่งแวดลxx xxxหยุดการคายาเสพติด โดยความรวมมือจะ นํามาซึ่งการสนับสนุนความสัมพันธทางเศรษฐกิจและความม่ันคงในxxxxxxx การลงทุนของxxxใน กลุมประเทศอาเซียน xxxxxมีการขยายการใหความชวยเหลือการการวางแผนสรางรถไฟความเร็วสูง ที่ผานจากxxxxxxxxxของxxxผานสปป.ลาวxxxxxไทยและมาเลเซีย xxxxxxxxxสวนในการสนับสนุน 27 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา มีความเร็ว 250 กิโลเมตรตอชั่วโมง รวมท้งการเชื่อมโยงเสนทางของ เวียดนามระยะทาง 1,570 กิโลเมตร ระหวางเมืองฮานอยและโฮจิมินห (ที่ถูกสรางดวยเทคโนโลยีของ ญี่ปุน)
ภูมิสังคมและวฒนธรรม (Geo-Socio-Cultural)
การคาหรือการลงทุนของxxxในเวียดนาม นอกจากการทําความเขาใจกับกฏxxxxxxxดาน การคาการลงทุนของเวียดนาม การศึกษาปจจัยทางภูมิสังคมและวัฒนธรรมยังเปนสวนชวยใหการ ลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxเปนไปอยางxxxxxxxxxนกัน คือ ประชาชนเวียดนามเปนคนรักชาติ เน่ืองจากมีการปลูกฝงกันมารุนตอรุนนับตั้งแตอดีต ดังนั้น การพูดคุยกับคนเวียดนามจึงไมควร กลาวถึงxxxxxxxxxxxxเวียดนาม การเมือง และศาสนา และควรหลีกเล่ียงการใชคําพูดที่ลบหลูหรือ ไมใหเกียรติแกรัฐบาลเวียดนาม ขณะเดียวกันควรละเวนกิจกรรมท่ีxxxxxxxxxxxxxตอตานระบบ สังคมนิยม เพราะจะไดรับการตอตานจากคนเวียดนามเชนเดียวกัน นอกจากนี้ประชาชนลาวเปน สังคมที่มีความเรียบงาย เปนเหตุผลใหม ีการเขามาลงทุนของxxxxxxสะดวกยิ่งข้ึน
ภูมิxxxxศาสตร (Geo-strategic)
การจบลงของสงครามเย็น (Cold War) ซึ่งไดนํามาสูการเจริญเติบโตทางการคาและการ ลงทุน ที่เชื่อมโยงระหวางลาว กัมพูชา พมา ไทย เวียดนาม และxxx เปนการxxxxxโอกาสความรวมมือ ทางเศรษฐกิจ จากสนามรบในอดีต (Battlefields) ไปสูสนามการคาโดยสมบูรณ แตผลประโยชนที่ แตละประเทศไดรับมาหลายเหตุผลดวยกันคือ การเปนxxxxxxxลุมแมนํ้าโขงที่มีความxxxxxxบูรณ ของทรัพยากร การเขาถึงตลาดขนาดใหญของxxxและอินเดีย การเขาถึงความมั่นคงในxxxxxxx และ สิ่งอํานวยความสะดวกในการคมนาคมขนสงที่เช่ือมโยงไดสะดวกยิ่งขึ้น
การพัฒนาทรพยากรxxxxxxxxและโครงสรางพ้ืนฐานของประเทศ จากผลประโยชนทางxxxx xxxศาสตร (Geopolitical Interest) และความใกลชิดทางภูมิศาสตร (Geographical proximity) ของ ประเทศในxxxxxxxลุมแมนํ้าโขง และ xxxxxxx xxx สปป.ลาว และเวียดนาม ตางไดนําแนวคิดของรัฐ สังคมนิยมมารกซิล (Marxist Socialist States) มีระบบการเมืองการxxxxxxพรรคเดียว เศรษฐกิจมี การวางแผนจากสxxxxxxที่มีความแตกตางกัน xxxเปนxxxxxxxxxxxxใชกลไกการตลาด (Socialist Market Economy) สปป.ลาวเปนกลไกเศรษฐกิจใหม (New Economic Mechanism) เวียดนามเปน การxxxxxxเศรษฐกิจ (Economic Renovation) ซึ่งxxxxxxx สปป.ลาว และเวียดนาม มีการxxxxxx เศรษฐกิจที่มีความคลายคลึงกันในการสนับสนุนการลงทุนโดยตรง (FDI) การคาxxxx การxxxxxx วิสาหกิจ การxxxxxxที่ดิน และ ภาคการเงิน เปนตน xxxxxxx xxx สปป.ลาว และเวียดนาม มีการxxxxxx เศรษฐกิจ จากนโยบายทางการเมืองสังคมนิยมเปนเศรษฐกิจที่ใชกลไกการตลาด การเปนรัฐหลัง สังคมนิยม (Post-socialism) เวียดนามมีการxxxxxxเศรษฐกิจ (Doi Moi) ตลาดxxxx โดยพรรค คอมมิวนิสตเวียดนามเปนผูควบคุมการดําเนินนโยบาย
xxxใหความสําคัญกับxxxxxxxศาสตรและภูมิเศรษฐศาสตร เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจภาค ตะวนตกของxxx (Go West Policy) การลดชองวางการพัฒนาระหวางภาคตะวันออกxxxxxxxxxxxกับภาค
ตะวันตกxxxxxxxx และกําหนดใหมหานครฉงชิ่งเปนศูนยกลางความเชื่อมโยงภาคกลางกับภาค ตะวันตกของxxx ขณะเดียวกันxxxยังจะใหความสําคัญกับภูมิเศรษฐศาสตรในโครงการความรวมมือ ทางเศรษฐกิจxxxxxxxลุมแมน้ําโขง (GMS) โดยใหxxxxxxนนานเปนประตูมุงลงใตสูxxxxxxxลุม แมน้ําโขง และxxxxกวางสีเปนประตู (Gate Way) สูอาเซียน ซึ่งบรรษัทขามชาติxxxจะเปนทั้งการ ดําเนินกิจกรรมทางการคา การลงทุน ใหความชวยเลือ และการใหกูรายใหญกับสปป.ลาวและ เวียดนาม และการใหความชวยเหลือทางดานสินคาแกเวียดนาม xxxเปนผูไดรับสัมปทานในการ กอสรางเขื่อนขนาดใหญในสปป.ลาว การเปนผูลงทุนปลูกยางพารา สวนปาลมนํ้ามัน ขณะเดียวกัน สินคาxxxจํานวนมากไหลบาทวมตลาดท่ีอยูชายแดนลาวและเวียดนาม และแผขยายไปยังประเทศใน xxxxxxxลุมแมนํ้าโขง
xxxxxxxxxxในอดีตxxxxxขยายxxxxxxxxxxูxxxxxxxลุมแมนํ้าโขง ขณะเดียวกันประชาชนของลาว และเวียดนาม สวนหนึ่งยังxxxxxเชื้อสายxxxหรือxxxxxxโพนทะเลในxxxxxxxลุมแมน้ําโขง ซึ่งสงผลให การลงทุนของบริษัทxxxxxรับการยอมรับมากกวานักลงทุนชาติอื่น ขณะเดียวกันความสัมพันธทาง การเมืองดวยxxxxxxxณสังคมนิยมคอมมิวนิสตเกิดความใกลชิดกันxxxxxมากข้ึน นโยบายการสงเสริม การลงทุนทั้งสปป.ลาวและเวียดนามที่เปดกวางมากข้ึน โดยเฉพาะเงินทุนจากxxxเปนหนึ่งของผู ลงทุน xxxxxมีสวนชวยกระตุนใหxxxxxxxพัฒนาเศรษฐกิจของสปป.ลาวและเวียดนาม และxxxยังมี ความไดเปรียบในฐานะประเทศเพ่ือนบาxxxxมีพรมแดนติดตอกันกับสปป.ลาวและเวียดนาม และการ พัฒนาเสนทางคมนาคมระหวางประเทศ เพ่ือเชื่อมตอเปนถนนสายเศรษฐกิจและการพัฒนาเสนทาง
คมนาคมเพ่ือเปดโอกาสทางการค และการลงทุนระหวางประเทศ จึงเปนปจจั ยหน่ึงท่ีเออต้ื อการเขา
มาของกลุมทุนxxxxxxxxxxxมากขึ้น ตั้งแตxxxxxมีนโยบายการกาวออกไปสูระดับโลก (Go Global) เพื่อ แสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ และการแสวงหาตลาดที่ขยายตัวในสปป.ลาวและเวียดนาม รวมท้ัง xxxxxxxลุมแมนํ้าโขง และอาเซียน ซ่ึงอาจจะนําไปสูการขยายxxxxxxxและภายคุกคามจากxxxใน xxxxx
การศึกษา เรื่อง บรรษัทขามชาติxxxในลาวและเวียดนาม มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา พัฒนาการของการลงทุนและรูปแบบการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของบรรษัทขามชาติxxx ในสปป.ลาวและเวียดนาม ปจจัยที่สนับสนุนการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของบรรษัทขามชาติ xxxในสปป.ลาวและเวียดนาม และปญหาและอุปสรรคในการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของ บรรษัทขามชาติxxxในสปป.ลาวและเวียดนาม โดยมีการศึกษาวิจัยเชิงสหวิทยาการ ผลการศึกษา พบวา
พัฒนาการการลงทุนของบรรษัทขามชาติxxxในสปป.ลาวและเวียดนาม ซึ่งxxxxxxxxงได
3 ชวงเวลา คือ ชวงแรกของพัฒนาการการออกไปลงทุนของบรรษัทขามชาติxxx (ค.ศ.1980-1990) ซ่ึงถือเปนชวงท่ีบริษัทจีนเริ่มเขาไปแขงขันกับบริษัททองถ่ินในสปป.ลาวและเวียดนาม เริ่มจะมีการคา ระหวางชายแดนจีนกับสปป.ลาวและเวียดนาม มีการลงทุนในการเขาไปสัมปทานพื้นที่และการให ความชวยเหลือเพื่อพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เชน การสรางถนน การชลประทาน เขื่อน สะพาน เปน ตน ชวงท่ีสอง (ค.ศ. 1991-2000) การผลักดันนโยบายทางเศรษฐกิจของจีนออกสูโลกภายนอก นโยบายของจีนจะมีความเกี่ยวพันกับความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (GMS) เมื่อ ค.ศ. 1992 จีนไดเขามามีบทบาททางเศรษฐกิจในลาวและเวียดนาม เชน การแสวงหา ทรัพยากรธรรมชาติ และการขยายตลาดของสินคาจีน เปนตน และชวงท่ีสาม (2001-ปจจุบัน) จีนได ลงทุนเพิ่มขึ้น การใหความเงินชวยเหลือ เงินกูปราศจากดอกเบี้ย และสินเชื่อพิเศษ เพื่อแลกกับ โครงการลงทุนขนาดใหญของจีนในสปป.ลาว เชน การจัดตั้งโรงงานปูนซีเมนต (Laos Vang Vieng Cement Factory) และศูนยวัฒนธรรมแหงชาติ (National Cultural Centre) ในสวนการลงทุนของ จีนในเวียดนาม เชน TCL Group และ Lifan Motor เปนตน
ปจจัยการลงทุนของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม มี 4 ประเด็น คือ (1) ภูมิรัฐศาสตร (Geo-Politics) จากยุทธศาสตรของจีนในลาวและเวียดนาม โดยการใชนโยบายการ เปนเพ่ือนบานที่ดี การเปนหุนสวนทางยุทธศาสตร และการพัฒนาอยางสันติของจีน (Peaceful development) การสรางความไววางใจกับประเทศเพื่อนบาน เพื่อการลดกระแสการตอตานและ หวาดระแวงจีน ขณะเดียวกันจีนกําลังนํามาซึ่งภยคกคามทางเศรษฐกิจตามมา เชน สินคาจีน ทุนจีน และคนจีน (2) ภูมิเศรษฐศาสตร (Geo-Economics) มีการพัฒนาเพ่ือใหพ้ืนที่ชายแดนจีนเปนพื้นที่ เศรษฐกิจท่ีมีศักยภาพในการเปนเมืองประตูการคาที่ติดตอกับประเทศเพ่ือนบานและเชื่อมโยงกับ ศูนยกลางเศรษฐกิจในภูมิภาค (3) ภูมิสังคมและวัฒนธรรม (Geo-Socio-Cultural) จีนมีความ ใกลชิดทางสังคมกับวัฒนธรรมในสปป.ลาวและเวียดนาม ยังเปนสวนชวยใหการลงทุนของบรรษัท
ขามชาติจีนเปนไปอยางราบร่ืนเชนกัน และ (4) ภูมิยุทธศาสตร (Geo-strategic) การจบลงของ สงครามเย็น (Cold War) ซึ่งไดนํามาสูการเชื่อมโยงทางการคาและการลงทุนของจีนกับประเทศใน ภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ขณะเดียวกันจีนมียุทธศาสตรโดยใหมณฑลยูนนานเปนประตูมุงลงใตสูภูมิภาค ลุมแมน้ําโขง และมณฑลกวางสีเปนประตู (Gate Way) สูอาเซียน
ปญหาและอุปสรรคในการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของบรรษัทขามชาติจีนในสปป. ลาวและเวียดนาม จากการที่ประชาชนของลาวและเวียดนามสวนหนึ่งยังคงสืบเชื้อสายจีนหรือชาว จีนโพนทะเลในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ซ่ึงสงผลกระทบเชงบวกใหกับการลงทุนของบริษัทจีนที่ไดรบการ ยอมรับมากกวานกลงทุนชาติอื่น ขณะเดียวกันความสัมพันธทางการเมืองดวยอุดมการณสังคมนิยม คอมมิวนิสตเกิดความใกลชิดกันเพิ่มมากขึ้น นโยบายการสงเสริมการลงทุนทั้งสปป.ลาวและ เวียดนามที่เปดกวางมากขึ้น โดยเฉพาะเงินทุนจากจีนเปนหนึ่งของผูลงทุน ที่ไดมีสวนชวยกระตุนให เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจของสปป.ลาวและเวียดนาม และจีนยังมีความไดเปรียบในฐานะประเทศ เพ่ือนบานที่มีพรมแดนติดตอกันกับสปป.ลาวและเวียดนาม จึงเปนปจจัยหน่ึงที่เอื้อตอการเขามาของ กลุมทุนจีนที่เพ่ิมมากขึ้น ตั้งแตจีนไดมียุทธศาสตรการกาวออกไปสูระดับโลก (Go out Strategy) รวมทั้งภูมิภาคอาเซียน ซึ่งอาจจะนําไปสูการขยายอิทธิพลและภายคุกคามจากจีน และยังนําไปสู ความรวมมือระหวางจีนกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในอนาคต
Abstract
The study of Chinese Multinational Corporations in Laos and Vietnam aimed at the development of investment and foreign direct investment of Chinese multinational corporations in Laos and Vietnam, factors that encourage foreign direct investment of Chinese multinational corporations in Laos and Vietnam, and problems and obstacles to foreign direct investment of Chinese multinational corporations in Laos and Vietnam. This Interdisciplinary Study reported three issues as stated in the objectives as follows:
Development of Chinese corporate investment in Laos and Vietnam can be divided into three phrases. First, the early development of the investment of Chinese multinationals (AD 1980-1990) started when the Chinese companies began to compete with local companies in Laos and Vietnam. It was the period among when China and Laos and Vietnam occurred. The China’s Investment in the concession area was to help develop infrastructure such as roads, irrigation, dams, bridges, etc. In the second phase (AD 1991-2000), China's economic policies aimed towards the outside world. China's policies are related to economic cooperation in the Mekong region (GMS) in 1992, when China had to play a role in the economy of Vietnam and Laos, for the pursuit of natural resources, and expansion of the market for Chinese goods. In the third phrase (2001 - present), China has increased investment by providing financial support, Interest-free loan, and extra credit in exchange of the investment of China in Laos, the establishment of a cement plant (Laos Vang Vieng Cement Factory) and the Center for National Culture (National Cultural Centre) in the Chinese investment in Vietnam, such as TCL Group and Lifan Motor, and etc.
The investment of Chinese multinational corporations in Laos and Vietnam is coalesced around four issues: (1) Geo-Politics: by the strategy of China in Laos and Vietnam. The policy covers good neighborliness, Strategic partnership, and development of China's peaceful (Peaceful development) to build trust with neighboring countries. Meanwhile, China is a threat to the economic cost of the two countries in terms of Chinese goods, China capital and the Chinese people; (2) Geo-Economics: by development of the
border area of China as a potential gateway to trade with neighboring countries and link to the economic centers in the region; (3) Geo-Socio-Cultural: Chinese are very close to Laos and Vietnam in terms of social culture. China contributed to the investment of Chinese multinational corporations as well as smooth; and (4) Geo-strategic: The end of the Cold War has led to China's trade and investment with countries in the region through Yunnan Province as the strategic gateway to Mekong Region, and Guangxi as the gateway to ASEAN.
Problems and obstacles to foreign direct investment of Chinese multinational corporations in Laos and Vietnam are also found. Some people of Laos and Vietnam are still Chinese descendants. Therefore, this has a positive impact on the investment of Chinese companies that have been recognized over the other investors. Meanwhile, the political ideology of socialism and communism of the two countries were close related. Policies to promote investment in the Laos and Vietnam are more open to the capital of China as one of the investors. The China’ investment has helped stimulates the economic development of Laos and Vietnam. China also has the advantage as the neighbor country of Laos and Vietnam. It is one of the factors contributing to the entry of the increasing Chinese capital. Since China implemented a strategic step into the ASEAN region and the world (Go out Strategy). Although this may lead to expansion and the threat by China, it led to cooperation between China and the ASEAN Economic Community (AEC) in the future.
บทนํา
1. ท่ีมาและความสําคัญ
เมื่อพรรคคอมมิวนิสตจีนภายใตการนําของเหมาเจอตงไดยึดอํานาจจีนแผนดินใหญและ มีการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1949 จีนไดปดประเทศเพ่ือแกไข ปญหาพื้นฐานภายในทั้งทางดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ภายใตการชี้นําของอุดมการณ คอมมิวนิสตทําใหจีนถูกมองจากสังคมโลกวาลึกลับดุจมานไมไผ (Bamboo Curtain) หลังจากนั้น เต้ิงเส่ียวผิงไดกาวขึ้นมามีอํานาจและมีการดําเนินนโยบายเปดประเทศ (Open Policy) ใน ค.ศ. 1978 ขณะเดียวกันก็มีการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zones: SEZs) มีการ ปรับตัวโดยการใชระบบเศรษฐกิจแบบเปดท่ีใชกลไกตลาดเขามาเปนแรงผลักดันการพัฒนาทางดาน เศรษฐกิจ ซึ่งเปนสังคมนิยมแบบใชกลไกการตลาด (Socialist Market Economy) ทําใหเศรษฐกิจ ของจีนกาวกระโดดอยางรวดเร็วและมีลักษณะเปนระบบทุนนิยมมากข้ึน
นอกจากน้ีในดานการพัฒนาเศรษฐกิจจีนยังไดมีการปรับปรุงโครงสรางเศรษฐกิจชาติ
เชิงยุทธศาสตรของการเขารวมองคการการคาโลก (World Trade Organization: WTO) เมื่อ ค.ศ. 2001 และการดําเนินการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 (2001-2005) จีน มียุทธศาสตรการกาวออกไปลงทุน (Go Out Strategy) ในตางประเทศ1 ซึ่งเปนแรงสงใหจีนสามารถ กาวข้ึนมาเปนประเทศมหาอํานาจแหงเอเชีย ในการรักษาดุลอํานาจทางการเมืองและเศรษฐกิจกับ ประเทศในภูมิภาคอ่ืน ๆ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป เปนตน
การกาวออกไปลงทุนของจีนในตางประเทศ ซึ่งถือวาเปนประเด็นใหมของการลงทุนโดย บรรษัทขามชาติจีน (Chinese Multinationals) ของรัฐสังคมนิยมคอมมิวนิสตในระดับโลก2 ในฐานะ ที่บรรษัทจีนเปนสวนหน่ึงของทุนนิยมโดยรัฐ (State Capitalism) ท่ีเกิดข้ึนในชวงหลังของการดําเนิน นโยบายเปดประเทศ (Open policy) เมื่อ ค.ศ. 1978 ซึ่งไดสงผลตอการพัฒนาประเทศเพื่อ
1 Friedrich Wu, “The Globalization of Corporate China”, NBR Analysis, Volume 16, Number 3, December 2005, pp.1-38. และ The Bank of Tokyo-Mitsubishi UFJ. Ltd., “Outward Investment by China Gathering Stream under the Go Global Strategy”, Economic Review, Vol. 1 No. 17, November 2006, pp. 1-6.
2 Alan M. Rugman, Jing li, “Will China’s Multinationals Succeed Globally or Regionally?”, European Management Journal, Vol. 25, No.5, October 2007, pp.333-343.
ผลประโยชนแหงรัฐ3 จนถึงศตวรรษที่ 21 เมื่อ ค.ศ. 2008 จีนมีเงินทุนสํารองระหวางประเทศ มากท่ีสุดในโลกถึง 2 ลานลานเหรียญสหรัฐอเมริกา บรรษัทขามชาติจีนตางไดดําเนินยุทธศาสตร การกาวออกไปลงทุน (Go Out Strategy) เชน Bank of China, Sinochem และ COFCO4 โดย มีเปาหมายเพ่ือการแสวงหาตลาด ทรัพยากรและวัตถุดิบ เทคโนโลยีที่ทันสมัยและการขยายกิจการ ไปสูธุรกิจอื่นๆ ในหลายประเทศ5 แมวาจีนจะใหความสนใจในการออกไปลงทุนยังตางประเทศ แตบรรษัทขามชาติจีนก็ใหความสนใจที่จะลงทุนในภูมิภาคลุมแมน้ําโขงที่มีความใกลชิด ทั้งทางภูมิ ยุทธศาสตร (Geo-Strategic) ภูมิรัฐศาสตร (Geo-politic) และภูมิเศรษฐศาสตร (Geo-economic) ที่เอ้ือตอการลงทุนและการเขามามีอิทธิพลของบรรษัทขามชาติจีนในภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง
การลงทุนของบรรษัทขามชาติจีนในกลุมประเทศภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง ไดเริ่มตนขึ้น ในชวงทศวรรษ 1980 หลังการสถาปนาความสัมพันธทางการทูตระหวางจีนกับประเทศสมาชิก ในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง6 และการผอนคลายในประเด็นการตอสูในอุดมการณทางการเมืองของ ประเทศตางๆในอินโดจีน รวมไปถึงการลมสลายของสหภาพโซเวียตในทศวรรษ 1990 จีนไดกาว ขึ้นมามีบทบาทและอิทธิพลทางดานเศรษฐกิจและการเมืองในภูมิภาค โดยการดําเนินนโยบาย มุงสูใต (The South Policy) ในโครงการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจภูมิภาคลุมแมน้ําโขง
3 Charles O. Lerche and Abdul Said, “Concepts of International Politics in Global Perspective”, 4th Edition, Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Punt ice-Hall, Inc., 1995, p. 28. แนวคิดผลประโยชน แหงชาติ (National Interest) มีประเด็นที่สําคัญ คือ (1) การดํารงรักษาความเปนชาติ (Self-Preservation) ไดแก การรักษาไวซึ่งรัฐบาล ดินแดน ประชาชนและอธิปไตยแหงรัฐ (2) ความมั่นคงปลอดภัย (Security) เพื่อปองกัน ภัยคุกคามตออธิปไตย และบูรณภาพแหงดินแดนและความมั่นคงของรัฐ (3) ความอยูดีกินดีของประชาชนในชาติ (Well-Being) (4) การแสวงหาศักดิ์ศรีและเกียรติภูมิของชาติ (Prestige) (5) การเผยแพรและปกปองอุดมการณ (Ideology) และ (6) การแสวงหาอํานาจของชาติ (Power)
4 Stephen Young, Neil Hood and Tong Lu, “International Development by Chinese Enterprises: Key Issues for the Future”, Long Range, Vol.31, No.6, 1998, pp. 886-893.
5 พิทยา สุวคันธ, “การทะยานขึ้นของจีนในศตวรรษที่ 21 : การกาวไปสูระดับโลก”, รัฐศาสตรสาร ฉบับ 28/1 (มกราคม-เมษายน 2550) คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลยธรรมศาสตร, 2550. หนา 191-242.
6 จีนมีความสัมพันธทางการทูตกับประเทศในภูมิภาคลุมนํ้าโขง คือ จีนมีความสัมพันธกับไทย ค.ศ. 1975 เวียดนามและ กัมพูชา ค.ศ. 1978 และเวียดนาม ค.ศ. 1991 นอกจากนี้รัฐบาลจีนเห็นวามณฑลยูนนานเปนมณฑล ที่ไมมีทางออกทะเล (Land Locked) และมีขออุปสรรคมากมาย ดังนั้นการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคตอง อาศัยความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ ดวยนโยบายเปดประตูสูใต (Go South Policy) ตลอดจนความ รวมมือกับกลุมประเทศในภูมิภาคลุมน้ําโขง ไดแก ไทย ลาว พมา กัมพูชา และเวียดนาม
(Greater Mekong Subregion Economic Corporation: GMS-EC) เม่ือ ค.ศ. 19927 ซึ่งนําไป สูการดําเนินนโยบายทางการทูต การเมืองและเศรษฐกิจในลักษณะการดําเนินนโยบายความสมพนธ ระหวางประเทศแบบใหม การขยายอิทธิพลและการขยายอํานาจทางการทูต หรือ Soft Power8 ของ สาธารณรัฐประชาชนจีนกับประเทศในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ทั้งในเรื่องการใหความชวยเหลือดาน การพัฒนาประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ การพฒนาสงคมและการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม เปนตน
ท้ังนี้ ประเทศในกลุมภูมิภาคลุมแมน้ําโขงในชวงหลังของทศวรรษ 1990 ไดมีการปรับ ใชระบบการเมืองการปกครองท่ีแตกตางกันหลากหลายรูปแบบ แตท่ีนาสนใจนั้นกลับพบวา ประเทศ ท่ีมีระบบการเมืองการปกครองสังคมนิยมคอมมิวนิสตที่มีรูปแบบเหมือนกับสาธารณรัฐประชาชนจีน คือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว)และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (เวียดนาม) ดวยเหตุผลดังกลาว จึงมีความสําคัญยิ่งและยังเปนประเด็นใหมท่ีเกิดข้ึนของการลงทุน โดยตรงจากตางประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) ที่เกิดขึ้นในคายสังคมนิยมคอมมิวนิสต และแตกตางจากการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศในคายเสรีนิยมประชาธิปไตย นอกจากนี้จีน กับสปป. ลาวและเวียดนามยังมีลักษณะที่เหมือนกันคือ การพัฒนาเศรษฐกิจสังคมนิยมท่ีเปดรับเอา ระบบทุนนิยมมาปรับใชในการพัฒนาประเทศ รวมไปถึงพื้นท่ีทางภูมิศาสตรที่มีพรมแดนติดตอกัน และความสัมพันธทางสังคมและวัฒนธรรมที่ใกลชิดกัน จึงเปนประเด็นการศึกษาวิจัยที่นาสนใจยิ่ง ในเวทีการลงทุนขามชาติของประเทศสงคมนิยมคอมมิวนิสต (จีน) ในสปป.ลาวและเวียดนาม
ดังน้นจึงเปนประเด็นคําถามของการวิจัยท่ีวา ในเมื่อจีนทะยานขึ้นเปนประเทศมหาอํานาจ ทางการเมืองและเศรษฐกิจ และการออกไปลงทุนในตางประเทศแลว “ทําไมบรรษัทขามชาติจีนจึงให ความสนใจท่ีจะเขามาลงทุนในสปป.ลาวและเวียดนาม” โดยเฉพาะในคายสังคมนิยมคอมมิวนิสตใน ภูมิภาคลุมแมน้ําโขง จีนไดใหความสําคัญในฐานะที่เปนประเทศเพ่ือนบานท่ีมีความใกลชิดและ ผูกพันทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม บรรษัทขามชาติจีนมีพัฒนาการและรูปแบบ การลงทุนโดยตรงจากตางประเทศในสปป.ลาวและเวียดนามอยางไร และมีปจจัยใด ที่ สนับสนุนการลงทุนของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม รวมไปถึงปญหาและอุปสรรค การลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม เพื่อ
7 ความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง (GMS-EC) เปนโครงการการพัฒนาที่ประเทศสมาชิกสามารถ ทําการคา และการลงทุนขามพรมแดนไดอยางเสรี แตการเคลื่อนยายคนขามพรมแดนยังคงมีขอจํากัด โดยมี วตถุประสงคเพื่อสงเสริมการขยายตัวทางการคา การลงทุน อุตสาหกรรม เกษตรกรรมและการบริการ เปนตน
8 Joseph S. Nye, Jr., “Soft Power: The Means to Success in World Politics”, New York: Public Affairs, 2004.
นําไปสูความรวมมือกันระหวางจีนกับสปป.ลาวและเวียดนาม ตลอดจนกลุมประเทศในภูมิภาคลุม แมนํ้าโขงใหเปนไปอยางมั่นคงและยั่งยืน
2. วัตถุประสงค
1. เพื่อศึกษาพัฒนาการของการลงทุนและรูปแบบการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของ บรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม
2. เพื่อศึกษาปจจัยที่สนับสนุนการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของบรรษัทขามชาติจีน ในสปป.ลาวและเวียดนาม
3. เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคในการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของบรรษัทขาม ชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม
3. ขอบเขตของการศึกษา
ขอบเขตของเร่ืองท่ีศึกษากรณี “บรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม” ในประเด็น นโยบายของรัฐบาลจีน บรรษัทขามชาติจีนที่เขามาลงทุนทั้งในเรื่องของการคา การใหความ ชวยเหลือและการแสวงหาผลประโยชนในสปป.ลาวและเวียดนาม เพ่ือศึกษาพัฒนาการและรูปแบบ การลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนามวามีลักษณะ เหมือนหรือแตกตางกันอยางไร (ทั้งในเรื่องพัฒนาการการลงทุน รูปแบบการลงทุนและประเภท กิจการการลงทุน) ศึกษาปจจัยที่สนับสนุนการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของบรรษัทขามชาติจีน ในสปป.ลาวและเวียดนาม (ประวัติศาสตร การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม) และเพ่ือศึกษา ปญหาและอุปสรรคการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและ เวียดนาม
ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา การศึกษาบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนามจะศึกษา ในสาธารณรัฐประชาชนจีน สปป.ลาวและเวียดนาม ประเด็นท่ีต้ังของบรรษัทขามชาติ (เมืองหรือ มณฑล) ของประเทศผูลงทุน (Home Country) และประเทศผูรับการลงทุน (Host Country) ในพื้นท่ี (เมือง แขวงหรือจังหวัด) ของสปป.ลาวและเวียดนาม ท้ังพัฒนาการการลงทุน รูปแบบการลงทุน ประเภทกิจการที่เปนบรรษัทขามชาติจีนท่ีมีขนาดใหญ (อาทิ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พลังงาน เหมืองแรและโครงสรางพื้นฐาน) และการดําเนินนโยบายการลงทุนที่สงผลตอการดําเนินนโยบาย ความสัมพันธระหวางจีนกับสปป.ลาวและเวียดนาม รวมไปถึงประเทศในกลุมภูมิภาคลุมแมน้ําโขง
ขอบเขตของระยะเวลาในการศึกษา เปนการศึกษาตั้งแตในชวงที่จีนเปดประเทศ (Open Policy) เมื่อ ค.ศ. 1978 และยุทธศาสตรการกาวออกไปลงทุน (Go-Out Strategy) ในตางประเทศ จนถึง ปจจุบันหรือตลอดเวลา 3 ทศวรรษของการเปดประเทศที่มุงขยายความสัมพันธกับประเทศ ตางๆดวยนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจการใชกลไกการตลาดสังคมนิยม (Socialist Market Economy) และการขยายอํานาจและอิทธิพลทางการทูต การเมือง เศรษฐกิจหรือ Soft Power กับประเทศตาง ๆ ท้ังในระดับทวิภาคี (Bilateral Level) กับสปป.ลาวและเวียดนาม และระดับ พหุภาคี (Multilateral Level) ในกลุมประเทศภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง
4. ระเบียบวิธีวิจัยสหวิทยาการ
การวิจัยคร้ังนี้ เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) และการวิเคราะหลักษณะพรรณนาความ (Descriptive Analysis) เพื่อ คนหาคําตอบโจทยการวิจัยวา “ทําไมบรรษัทขามชาติจีนจึงใหความสนใจเขามาลงทุนใน สปป.ลาว และเวียดนาม” โดยอาศัยหลักความสอดคลองกันระหวางพัฒนาการและรูปแบบการลงทุนโดยตรง จากตางประเทศของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม ปจจัยที่สนับสนุนการลงทุนของ บรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม และเพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคการลงทุนโดยตรง จากตางประเทศของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม ซึ่งจะเปนการทบทวนวรรณกรรม จากงานวิจัย บทความ รายงานทางวิชาการท่ีเก่ียวของกับบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและ เวียดนาม ตลอดจนรวบรวมขอมูลทุติยภูมิและขอมูลสถิติที่เกี่ยวของ ซ่ึงสามารถรวบรวมไดจาก หนวยงานราชการและเอกชนของจีน สปป.ลาว เวียดนามและประเทศในกลุมภูมิภาคลุมแมน้ําโขง และขอมูลจากเว็บไซตตางๆ เปนตน โดยมีกระบวนการและขั้นตอนการศึกษาวิจัย ดังนี้
การดําเนินการศึกษาวิจัย
การศึกษาวิจัยเอกสาร (Documentary Research) เก่ียวกับนโยบายตางประเทศของจีน พัฒนาการการลงทุน รูปแบบการลงทุน ประเภทและกิจการของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาว และ เวียดนาม ปจจัยที่สนับสนุนการลงทุนของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม ปญหาและ อุปสรรคของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนามที่เขามาแสวงหาผลประโยชนและจัดวา มีอิทธิพลในสปป.ลาวและเวียดนาม รวมท้งความรวมมือทางการทูต การเมืองและเศรษฐกิจระหวาง จีนกับสปป.ลาวและเวียดนาม จีนกับกลุมประเทศภูมิภาคลุมแมน้ําโขงตามกรอบความรวมมือ ในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (GMS) จีนกับอาเซียนตามกรอบของประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
การศึกษาและวิเคราะห ศักยภาพในการแขงขันของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและ เวียดนามวามีพัฒนาการในการลงทุน รูปแบบการลงทุนและประเภทกิจการการลงทุนจะมีลักษณะ เหมือนหรือแตกตางจากการลงทุนโดยตรงของประเทศอ่ืนๆในสปป.ลาวและเวียดนามอยางไร รวมถึง การวิเคราะหวามีปจจัยใดที่เอื้อตอการเขามาลงทุนโดยตรงของบรรษัทขามชาติจีนใน สปป.ลาวและ เวียดนาม เพื่อที่จะกําหนดปจจัยที่มีบทบาทและมีอิทธิพลตอการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของ บรรษัทขามชาติจีน รวมทั้งการวิเคราะหปญหาและอุปสรรคการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของ บรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม เพื่อที่จะกําหนดแนวโนมหรือทิศทางการลงทุนของ บรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม รวมถึงกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง โดยใช ขอมูลทุติยภูมิท่ีไดรวบรวมมา เพื่อประเมินภาพรวมของผลกระทบการเขามาของบรรษัทขามชาติจีน ในสปป.ลาวและเวียดนาม ท้งทางดานการเมืองเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่อาจเกิดขึ้นจากการ เขามามีบทบาทและมีอิทธิพลของบรรษัทขามชาติจีนในภูมิภาค เพ่ือที่จะรวบรวมขอมูลและนําไป วิเคราะหรวมกับขอมูลภาคสนาม อันจะกอใหเกิดประโยชนกับประเทศในกลุมภูมิภาคลุมแมน้ําโขง อยางเสมอภาคและเทาเทียมกันตอไป
การสํารวจและการรวบรวมขอมูล การศึกษาวิเคราะหและการรวบรวมขอมูลจากเอกสารขั้นตน จากนั้นจะทําการศึกษาการ
สํารวจภาคสนาม (Field Research) โดยทําการสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) เจาหนาที่รัฐ ทั้งประเทศผูลงทุนจีน (Home Country) และประเทศผูรับการลงทุนคือ สปป.ลาวและเวียดนาม (Host Country) เจาหนาที่วิสาหกิจจีน (Chinese Enterprise) หนวยงานที่กําหนดนโยบายและ สนับสนุนการลงทุนในอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง โดยสามารถแยกวิสาหกิจจีนออกไดเปน 4 ลักษณะ คือ รัฐวิสาหกิจ (State-Own Enterprises: SOEs) วิสาหกิจรวมหมู (Collective-Owned Enterprises: COEs) วิสาหกิจเอกชนหรือวิสาหกิจปจเจกชน (Public Enterprise และ Individual- Owned Enterprises: IOEs) และวิสาหกิจรวมทุนกับตางชาติ (Foreign-Invested Enterprises) เปนตน และในฐานะหุนสวนการลงทุนของบรรษัทขามชาติจีนในเวียดนาม เชน China State Construction Engineering, Harbin Power, TCL, Haier, Jialing, Chongqing Zhongshen, China North Industreis Corp. (NORINCO), China Metallurgical Construction Group, China Iron and Steel, Dusky Ltd., Aluminum Corporation of China, China Nonferrous Metal Mining and Construction Group, Chinese Railway Constructions firms, Shanghai Electric corp., Sino Steel corp. China National Machinery & Equipment Corp. เปนตน และในสปป.ลาว เชน China North Industries Corp. (NORINCO), China Import & Export Bank, Sinohydro, China National Material Industry Group Corporation (SINOMA), Zhongfei Geological Engineering
Exploration Academy, China National Electronics Import & Export Corporation (CNEIC), China Minmetals Non-ferrous Metals Co Ltd, Yunnan Natural Rubber Industrial Co. นอกจากนี้ ยังมีผูทรงคุณวุฒิและผูเช่ียวชาญที่มีความรูความเขาใจและมีประสบการณทางดาน พัฒนาการการลงทุน รูปแบบการลงทุนและประเภทการลงทุนของบรรษัทขามชาติจีนและปจจัย ที่สนับสนุนการลงทุนของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม เจาหนาที่ทั้งในระดับกําหนด นโยบายและระดับการปฏิบัติการในพื้นที่ที่ทําการศึกษา เพื่อใหทราบถึงมูลเหตุและเหตุผลของการ ลงทุนของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม ผลกระทบจากการเขามาของบรรษัทขาม ชาติจีนที่มีตอสปป.ลาวและเวียดนาม และความรวมมือระหวางจีนกบประเทศภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง
การเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนาม จากการเขามาของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและ เวียดนาม เพ่ือประเมินศักยภาพของบรรษัทขามชาติจีนที่มีแหลงที่ต้ังในเมืองหรือมณฑลตางๆของ จีนและวิเคราะหศักยภาพในการแขงขันของบรรษัทขามชาติจีนกบบรรษัทขามชาติอื่นๆในเมือง แขวง หรือจังหวัดตางๆของสปป.ลาวและเวียดนามกับกลุมประเทศในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง เพื่อเปนการ คาดการณอนาคต (Projection Study) วาการเขามาของบรรษัทขามชาติจีนจะกอใหเกิดผลกระทบ ท้งทางการทูต การเมือง เศรษฐกิจ สงคมและวัฒนธรรมตอสปป.ลาวและเวียดนามอยางไร รวมถึงจะ มีแนวโนมเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดในอนาคต
การวิเคราะหขอมูลและการจัดทํารายงาน
การวิเคราะหขอมูล (Data of Analysis) จากการวิจัยเอกสาร การสัมภาษณเชิงลึก และ การสํารวจภาคสนาม เพื่อประเมินผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนจากการเขามาลงทุนของบรรษัทขามชาติจีน ในสปป.ลาวและเวียดนาม ทั้งในมิติพัฒนาการการลงทุน รูปแบบการลงทุนและประเภทหรือกิจการ การลงทุนของบรรษัทขามชาติจีน ปจจัยที่สนับสนุนการลงทุนของบรรษัทขามชาติจีน ปญหาและ อุปสรรคการลงทุนของบรรษัทขามชาติจีน พรอมทั้งวิเคราะหผลกระทบจากการเขามาของบรรษัท ขามชาติจีนและความรวมมือระหวางจีนกับกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง เพื่อใหเปนไปใน ทิศทางที่ม่นคงและยั่งยืนตอไป
การนําเสนอขอมูล
การเผยแพรผลงานวิจัยแกประชาคมภูมิภาคลุมแมน้ําโขง การจัดประชุมสัมมนาวิชาการ เพื่อเผยแพรผลการศึกษาและการจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ
5. ระยะเวลาการศึกษาวิจัยและสถานท่ีทําการวิจัย
ระยะเวลาการศึกษาวิจัยท้ังหมด (1 ป)
สถานท่ีทําวิจัย ไดแก สาธารณรัฐประชาชนจีน สปป.ลาวและเวียดนาม
6. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. เพื่อไดเขาใจถึงพัฒนาการการลงทุนและรูปแบบการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของ บรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม
2. เพื่อสามารถเขาใจปจจัยที่สนับสนุนการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของบรรษัทขาม ชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม
3. เพื่อสามารถเขาใจปญหาและอุปสรรคในการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของบรรษัท ขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม
แนวคิดทฤษฏีและงานวิจยที่เกี่ยวของ
การศึกษาเรื่อง “บรรษัทขามชาติจีนในลาวและเวียดนาม” มีการใชแนวคิดและทฤษฎี 4 แนวคิดหลักคือ แนวคิดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) แนวคิดภูมิรัฐศาสตร (Geo-politics) แนวคิดภูมิเศรษฐศาสตร (Geo-economics) และแนวคิด การบูรณาการความรวมมือในภูมิภาค (Regional Integrations) รวมทั้งงานวิจัยที่เกี่ยวของกับ บรรษทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม กลาวคือ
1. แนวคิดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI)
แนวคิด การลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) ประกอบดวย 3 สวน คือ บรรษัทขามชาติ (Multinational Cooperation) ประเทศผูลงทุน (Home Countries) และประเทศผูรับการลงทุน (Host Countries) จะเห็นไดวาประเทศผูรับการลงทุนตาง ตองการทุนเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เน่ืองจากขาดแคลนเงินทุน เทคโนโลยี การจัดการ และการประกอบการ แมวาจะมีแรงงานและทรัพยากรอยูอยางมากมายแตก็ไมสามารถนํามาใช ประโยชนไดอยางเต็มที่ ดังนั้นประเทศผูรับการลงทุน (Host Countries) จึงเสนอนโยบายและสิทธิ พิเศษในการสนับสนุนการลงทุนเพื่อดึงดูดการลงทุนเขามาสูประเทศ อยางไรก็ตามการลงทุนมีทั้ง ผลดีและผลเสีย ไมวาจะเปนทางเศรษฐกิจ การเมือง สงคมและวฒนธรรม ท้งตอประเทศผูลงทุนและ ประเทศผูรับการลงทุน ท้ังนี้เน่ืองจากผูลงทุนมีความไดเปรียบดานเงินทุน เทคโนโลยีและการจัดการ โดยมีเปาหมายทางเศรษฐกิจคือ “การผลิตที่เพิ่มขึ้น การขายตองเพิ่มขึ้นและผลประโยชนหรือกําไร ท่ีเพิ่มขึ้น” ดงนั้นบรรษทขามชาติจึงมีความพยายามท่ีจะแสวงหาและครอบครองความไดเปรียบหรือ มีอํานาจควบคุมและสรางความสมพันธระหวางประเทศผูลงทุนและประเทศผรู ับการลงทุน
การอธิบายแรงจูงใจการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ เริ่มจากแนวคิดของ Hymer 1 ซึ่งได อธิบายวา การท่ีผูลงทุนจากประเทศพัฒนาแลวทําการเคล่ือนยายการลงทุนออกไปยังประเทศกําลัง พัฒนาเปนเพราะบริษัทมีความไดเปรียบในดานความรูข อมูลขาวสาร การตลาด ทรัพยากร กฎหมาย การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ตลอดจนสิ่งอ่ืนๆ ที่ทําใหบริษัทตางประเทศมีความไดเปรียบจาก
1 Stephen H. Hymer, “The International Operations of National Firms: A Study of Foreign Direct Investment,” Cambridge: Mass., M.I.T. Press, 1976.
การเปนเจาของทรัพยสินบางประการ (Ownership or Competitive Advantages) เหนือคูแขงใน ประเทศหรือเหนือกวาบริษัทในประเทศ เชน ความไดเปรียบจากการเปนเจาของเทคโนโลยี (Access to Superior Technology) ขอมูลขาวสาร ความรู การบริหารและการจัดการ เปนตน
ในเรื่องความไดเปรียบจากการเปนเจาของทรัพยสินบางประการ ซ่ึงเปนแรงจูงใจการลงทุน ในตางประเทศ โดย Lall และ Streeten2 ไดแบงความไดเปรียบดังกลาวออกเปน 3 ขั้นตอน คือ
(1) ความไดเปรียบที่กอใหเกิดอํานาจผูกขาด เนื่องจากการมีผูแขงขันจํานวนนอยราย (Oligopolistic Advantage) กลาวคือ บริษัทผูลงทุนตางชาติรายใหญมีความไดเปรียบเหนือกวาบริษัทในประเทศ
และบริษัทตางประเทศ ไดแก ความไดเปรียบดานท การจัดการ เทคโนโลยี การตลาด แหลงวั ตถุดิบ
ความไดเปรียบจากความประหยัดตอขนาดการผลิต ความไดเปรียบในอํานาจการตอรองและอํานาจ ทางการเมือง (2) ความไดเปรียบจากขอหนึ่งไดกระตุนใหเกิดการลงทุนโดยตรงแทนที่จะหาประโยชน จากความไดเปรียบทางอื่น เชน การผลิตในประเทศเพื่อการสงออก ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ วาจะลงทุนโดยตรงหรือจะผลิตเพื่อการสงออก ไดแก ตนทุนการผลิต นโยบายของรัฐบาล ความสําคัญของตลาด การแขงขันในตลาดและวัฏจักรของผลิตผล และ (3) ความไดเปรียบของการ ลงทุนโดยตรงที่มีเหนือการขายสิทธิบัตร ไดแก ขนาดของตลาด ความเสี่ยงในการลงทุน ความสามารถในการรักษาความลับทางเทคโนโลยี โครงสรางของตลาดอุตสาหกรรม การจัดการ องคการธุรกิจและนโยบายของประเทศผรู ับการลงทุน เปนตน
ทฤษฎีแหลงที่ตั้ง (Location Theory) ทฤษฎีแหลงที่ต้ังเปนอีกทฤษฎีหนึ่งซึ่งอธิบาย แรงจูงใจท่ีบริษัทเลือกลงทุนในประเทศหนึ่งมากกวาในประเทศอ่ืน ๆ ภายใตทฤษฎีน้ี Buckley3 ใหความสําคัญกับความแตกตางในปจจัยแหลงที่ต้ัง (Location Factor) ระหวางประเทศผูลงทุนกับ ประเทศผูรับการลงทุน เน่ืองจากแหลงที่ตั้งที่อันเหมาะสมของการลงทุนมีความสําคัญตอการ ลดตนทุนใหต่ําสุด (Cost Minimization) หรือการทํากําไรสูงสุด (Profit Maximization) กลาวคือ เมื่อ กําหนดระดับความตองการซื้อสินคาอยูท่ีหนวยผลิต ที่มีเปาหมายเพ่ือตองการกําไรสูงสุดแลวก็ จะเลือกทําการผลิตในแหลงท่ีตั้งที่ทําใหตนทุนรวมต่ําสุด โดยจะเห็นไดวาประเทศที่สามารถดึงดูด การลงทุนจะตองมีความไดเปรียบเฉพาะบางประการในแหลงที่ตั้ง (Local-Specific Advantages) ท่ีจะกําหนดแรงจูงใจในการลงทุนโดยตรง
2 Sanjaya Lall and Paul Streeten, “Foreign Investment, Transitionals and Developing Countries”, London and Basingstoke: Macmillan, 1977, pp. 20-28.
3 Peter J. Buckley, “A Critical View of Theories of the Multinational Enterprise,” in The Economic Theory of the Multinational Enterprise, ed. Peter J. Buckley and Mark Casson, London: Macmillan Press, 1985, pp. 11-15.
ประเทศผูรับการลงทุนยอมมีความไดเปรียบในดานปจจัยสถานที่ ซึ่งเหนือกวาประเทศ ผูลงทุน ทฤษฎีแหลงที่ตั้งมีความสัมพันธกับอุปทาน คือปจจัยตนทุน (Cost Factor) และอุปสงค คือ ปจจัยตลาด (Market Factor) ที่มีอิทธิพลตอการผลิต การวิจัยและการพัฒนา รวมถึงการ บริหารธุรกิจ ดังน้ันประเทศผูรับการลงทุนจะเปนเจาของความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบในแหลงที่ ตั้งเหนือประเทศผูลงทุน โดยประเทศผูรับการลงทุนจะดึงดูดใหผูลงทุนมาต้ังบริษัท เพื่อใชประโยชน จากความไดเปรียบในแหลงที่ตั้ง ความไดเปรียบนี้เกิดขึ้นเน่ืองจากประเทศผูรับการลงทุนมีคาจาง แรงงานที่ตํ่ากวาโดยเปรียบเทียบมีวัตถุดิบอุดมสมบูรณ มีการปกปองการคาโดยใชภาษีศุลกากรและ ไมใชภาษีศุลกากร (Tariff and Non Tariff) การเปนสมาชิกในเขตการคาหรือเขตการลงทุน เปนตน ดังนั้นทฤษฎีแหลงท่ีตั้งไมเพียงแตจะเปรียบเทียบตนทุนที่ผูลงทุนจะตองเผชิญ และการเลือกแหลง ท่ีตั้งเทาน้ัน หากยงขึ้นอยูกับแรงจูงใจในการขยายการลงทุนไปยังตางประเทศดวย
นอกจากนี้ Dunning4 ยงอธิบายถึงลกษณะของการลงทุนของบรรษัทขามชาติซึ่งการลงทุน น้ีสามารถขยายขามพรมแดนเพื่อลงทุนและผลิตสินคาในตางประเทศ ประโยชนของแหลงที่ ต้ังไมเพียงแตจะใหความสําคัญตอดานตนทุนของบริษัทในการเลือกสถานที่ลงทุนเทานั้น Dunning ยงพิจารณาถึงแรงจูงใจของบริษัทในการขยายการลงทุน ซึ่งประกอบดวย 4 ปจจัย คือ
(1) ปจจัยทรัพยากร วัตถุดิบและปจจัยการผลิตตางๆ (Availability and Cost of Input) เปนหลักประกนท่ีผูลงทุนจะเลือกสถานที่ลงทุน การกําหนดใหมีตนทุนทางธุรกรรมและชวงของปจจยั ที่มีความแตกตาง (Range of Different Factor Endowments) หรือราคาปจจัย (Factor Prices) หนวยผลิตที่มีผลตอการกําหนดตลาดสินคาและการบริการตนทุนที่ต่ํา ในการเลือกแหลงที่ตั้งการ ผลิต ผูลงทุนจะพิจารณาแหลงทรัพยากรและตนทุนการผลิตเปนเปาหมายแรก นอกจากนี้ปจจัย แรงงานก็นับเปนมูลเหตุสําคัญในประเทศกําลังพัฒนา โดยผูลงทุนจะขยายการลงทุนไปยังประเทศ กําลงพฒนาที่มีตนทุนแรงงานตํ่ากวาหรือเปนแหลงปจจัยการผลิตที่ประเทศตนขาดแคลน
(2) ปจจัยตลาด (Market Factor) เปนหลักการที่ผูลงทุนจะไดรับประโยชนจากการเลือก สถานที่ที่ใกลกับตลาดเพราะจะทําใหธุรกิจสามารถเขาถึงแหลงตลาดไดดี ลดตนทุนคาขนสงและ หลีกเล่ียงอุปสรรคตาง ๆ ที่ประเทศผูรับการลงทุนตั้งขึ้น ปจจัยตลาดมีดวยกันหลายอยาง เชน ขนาด ของตลาด การเจริญเติบโตของตลาด ระดับการพัฒนาเศรษฐกิจและสภาพการแขงขันในตลาดที่มี ผลตอศักยภาพของบริษัทในการไดเปรียบทั้งจากการประหยัดตอขนาด ทั้งที่เปนการผลิต (Production) และที่ไมใชการผลิต (Non-Production) ซึ่งมีผลตอการจูงใจการลงทุน กลาวคือ
4 Dunning John H., “The Determinants of International Production,” Oxford Economic Paper 25, November 1973, pp. 289-336.
หากตลาดประเทศผูรับทุนมีขนาดใหญและมีอัตราการขยายตัวในลักษณะของการเติบโต ก็อาจจะ เปนแรงจูงใจใหผูลงทุนตัดสินใจลงทุนในประเทศผูรับการลงทุน
(3) ปจจัยอุปสรรคการกีดกันทางการคา (Bypassing Trade Barriers) นโยบายของ ประเทศผูรับการลงทุนมีผลสาคญตอการดําเนินธรกิจ การตัดสินใจระหวางการเลือกที่จะสงออกและ การลงทุน บางคร้ังการลงทุนก็ถูกกระตุนเขาไปในประเทศที่ไมมีการกีดกันทางการคาและผลผลิตถูก สงออกไปยังประเทศที่มีการกีดกันการคา ดังน้ันการตั้งกําแพงภาษีที่สูงและการจํากัดโควตาการ นําเขาจะเปนตัวผลักดันใหธุรกิจซ่ึงเคยเปนผูสงออกหันมาลงทุนโดยตรง เนื่องจากอุปสรรคทางการ คาที่เกิดขึ้นเปนการเพ่ิมตนทุนตอธุรกิจผูสงออก เพื่อหลีกเลี่ยงอุปสรรคการคาดังกลาวจึงทําใหธุรกิจ เขามาลงทุนโดยตรงในประเทศนั้น
(4) ปจจัยนโยบายของรัฐบาล (Government-Policies Factors) นโยบายรัฐบาล ทั้งประเทศผูลงทุนและประเทศผูรับการลงทุนตางมีอิทธิพลตอการลงทุนโดยตรง นโยบายและการ ดําเนินงานของรัฐบาลสามารถชวยดึงดูดการลงทุนเขาสูประเทศได เชน นโยบายท่ีทําใหเกิดการ เติบโตทางเศรษฐกิจ ความมีเสถียรภาพทางดานเศรษฐกิจและการเมือง การมีโครงสรางพื้นฐาน ที่เพียงพอ การสงเสริมการลงทุน อัตราภาษีที่ต่ํา การสรางบรรยากาศการลงทุนและการลดความ เส่ียงของบริษัทในการหาแหลงที่ต้งของอุตสาหกรรม
แนวคิด การสังเคราะหปจจัยตางๆที่กําหนดการลงทุน (Eclectic Theory) ของ Dunning ไดอธิบายเหตุผลการลงทุนโดยตรงของบรรษัทขามชาติ ทั้งประเทศพัฒนาแลวและประเทศกําลัง พัฒนา ซ่ึงประกอบดวย 3 ปจจัย คือ (1) ความไดเปรียบในการเปนเจาของสินทรัพยบางอยาง (Ownership-Specific Advantage) ซึ่งความไดเปรียบในการเปนเจาของสวนใหญจะอยูในรูปของ การครอบครองทรัพยสินที่จับตองไมได (Intangible Assets) เชน ขนาดและความมั่นคงของกิจการ ความรูทางดานเทคโนโลยี การจัดการ การบริหารและการตลาด หรือความไดเปรียบที่เกิดจาก อํานาจผูกขาด (Monopoly Power) ความสามารถในการเขาถึงแหลงวัตถุดิบและตลาด (2) ความ ไดเปรียบที่เกิดจากการทําใหเปนประโยชนดวยตนเอง (Internalization Incentive Advantage) หรือ การทําใหเปนภายใน องคการธุรกิจจะหาประโยชนจากความไดเปรียบของตน โดยการขยายกิจการ ของตนออกไปในตางประเทศ (Internalization) ซึ่งจะทําใหธุรกิจไดรับผลประโยชนบางประการ เชน ตนทุนเก่ียวกับการตลาด การหลีกเล่ียงมาตรการการเขาแทรกแซงของรัฐบาล การตั้งกําแพงภาษี การกําหนดโควตา การควบคุมแหลงผลิตและราคาวัตถุดิบ การสรางความมั่นใจใหแกผูซื้อ ในตางประเทศ การใชกลยุทธในการกําหนดราคาขายในประเทศตางๆ ใหแตกตางกันได และ (3) ความไดเปรียบที่เกิดจากแหลงท่ีต้ัง (Location-Specific Advantage) ความไดเปรียบนี้จะรวมกับ ปจจัยการผลิตที่ใหผูลงทุนตัดสินใจลงทุนในตางประเทศ ความไดเปรียบจากแหลงที่ตั้งจะมาก
หรือนอยข้ึนอยูกับแหลงทรัพยากร คุณภาพของทรัพยากร ราคาของทรัพยากร คาใชจายในการขนสง การสื่อสาร การเขาแทรกแซงของรัฐบาล การควบคุมการนําเขา ปจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ความ แตกตางทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณี เปนตน 5
การลงทุนโดยตรงของบรรษัทขามชาติ ถือไดวาเปนมิติใหมในความสัมพันธระหวาง ประเทศเพราะรัฐ (State) ไดถูกทาทายเพิ่มขึ้นโดยตัวแสดงใหม (Actor) ที่กาวขึ้นมาในเวทีระหวาง ประเทศก็คือ บรรษัทขามชาติ (Multinational Cooperation: MNC) โดยสหประชาชาติ (United Nations)6 ไดกลาวถึงความสําคัญของบรรษัทขามชาติวา บรรษัทขามชาติจะสามารถเขามา มีอิทธิพลทั้งดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม โดยเขามาเก่ียวของในลักษณะของการ ควบคุม (Control) ความเปนเจาของและการจัดการในประเทศผูรับการลงทุน นอกจากน้ีองคการ การคาโลก (World Trade Organization: WTO) และ South Centre7 ไดนิยามการลงทุนโดยตรง วาเกิดขึ้นเมื่อ ผูลงทุนในประเทศหน่ึงมุงท่ีจะเขาไปบริหารจัดการสินทรัพยที่ตนเองครอบครองหรือ ไดมาในตางประเทศโดยการลงทุนสามารถพิจารณาได 3 สวน คือ (1) การลงทุนของบริษทแมออกไป ตั้งบริษัทลูกในตางประเทศ (2) การนําเอาผลกําไรจากบริษัทลูกมาลงทุนเพ่ิมและ (3) เงินกูระยะสั้น และระยะยาวจากบริษัทแมที่มีอํานาจในการบริหารจัดการและการควบคุม
จากแนวคิดดังกลาว สามารถใชไดสําหรับประเทศพัฒนาและประเทศกําลังพัฒนาที่มีการ ใชแนวคิดของทุนนิยมโดยเอกชน (Private Capitalism) ของประเทศท่ีมีการปกครองแบบเสรีนิยม ประชาธิปไตย แตสาธารณรัฐประชาชนจีนเปนรัฐสังคมนิยมคอมมิวนิสตท่ีมีลักษณะทุนนิยมโดยรัฐ (State Capitalism)8 ดังนั้นแนวคิดท่ีจะอธิบายพัฒนาการการลงทุน รูปแบบการลงทุนและประเภท การลงทุนของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม ไมสามารถอธิบายไดครอบคลุม ทุกประเด็นได ท้ังดวยเหตุผลของสาธารณรัฐประชาชนจีน สปป.ลาว และเวียดนาม ถือเปนประเทศ
5 Dunning John H., “International Production and the Multinational Enterprise”, London: George Allen and Unwin Publishers, Ltd.,1981 ; John H. Dunning, “Multinational Enterprises and the Global Economy”, New York: Addison-Wesley Company, 1993, pp. 53-55 ; John H. Dunning, “The New Geography of Foreign Direct Investment,” in The Political Economy of Globalization, edited by Ngaire Woods, Basingstoke: Macmillan Press Ltd., 2000, pp. 20-53.
6 UN, Department of Economics and Social Affairs, “Multinational Corporation in World Development”, New York: UN, 1974, p. 5.
7 South Centre, “Foreign Direct Investment, Development and the New Global Economic Order, A Policy Brief for the South”, Geneva: South Centre, 1997, p. 27.
8 Shaun Breslin, “Capitalism with Chinese Characteristics: the Public, the Private, and the International”, Working Paper No.104, Asian Research Centre, June 2004, pp.1-30.
ท่ีใชระบบการเมืองการปกครองแบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต และทั้งสามประเทศก็ยังใชระบบ เศรษฐกิจสังคมนิยมแบบใชกลไกการตลาด (Socialist Market Economy) ทั้งนี้ยังมีปจจัยการเมือง และเศรษฐกิจเขามาเกี่ยวของดวยเสมอ เชนเดียวกับปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีความ เกี่ยวของในแบบฉบับของวัฒนธรรมเอเชียหรืออารยธรรมตะวันออก ซึ่งอารยธรรมและวัฒนธรรมจีน มีบทบาทและมีอิทธิพลตอสปป.ลาวและเวียดนามมากกวาวัฒนธรรมอื่นๆในพื้นท่ีอนุภูมิภาคลุม แมน้ําโขง ซ่ึงมีลักษณะที่ไมเหมือนกับวัฒนธรรมตะวันตก รวมไปถึงการดําเนินนโยบายทางการทูต การเมืองและเศรษฐกิจระหวางประเทศท่ียึดถือเอาผลประโยชนแหงรัฐ (National Interest) เปนสําคัญ
ทั้งนี้การลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม แมจะมีพัฒนาการ รูปแบบและปจจัยตางๆที่เขามาเกี่ยวของแลว ยังมีเงื่อนไขอ่ืนๆที่เก่ียวของและ สัมพันธกัน กลาวคือจีนกับกลุมประเทศในภูมิภาคลุมแมน้ําโขงมีความสัมพันธกันทางประวัติศาสตร มาเปนเวลายาวนาน โดยความสัมพันธระหวางจีน สปป.ลาวและเวียดนามมีความเก่ียวพันกับปจจัย ดานภูมิศาสตรของภาคพื้นทวีป (Mainland) และภาคพื้นสมุทร (Marineland) ทั้งภูมิยุทธศาสตร (Geo-Strategic) ภูมิรัฐศาสตร (Geo-Politics) และภูมิเศรษฐศาสตร (Geo-Economics) ที่จะกอใหเกิดความรวมมือ และการสรางความสัมพันธระหวางประเทศ หรือกลุมประเทศในภูมิภาค ลุมแมน้ําโขง (GMS) และการจัดตั้งเขตการคาเสรีจีน-อาเซียน (China-ASEAN Free Trade Area: CAFTA) เปนตน
2. แนวคิดภูมิรัฐศาสตร (Geo-Politics)
การขยายอํานาจของจีนยุคใหมที่เปนปรากฏการณของพัฒนาการการขยายอํานาจ (Soft Power) ของจีนและปจจัยการขยายอํานาจของจีน ทั้งประเด็นทางการคา การลงทุน และการ ใหความชวยเหลือกับประเทศตางๆในภูมิภาค9 ไดมีมุมมองของแนวคิดที่สําคัญคือ ภูมิยุทธศาสตร (Geo-strategic) ซึ่งเปนพื้นท่ีทางภูมิศาสตรของภูมิภาคลุมแมน้ําโขง โดยแบงไดเปนสองประเด็นคือ พ้ืนท่ีทางยุทธศาสตรแบบแข็ง (Hard Power) ซึ่งเปนพ้ืนที่ทางภูมิศาสตรของการขยายตัวของกอง กําลัง และการทหาร เพื่อแสวงหาความม่ันคงทางการเมืองและผลประโยชนแหงรัฐ
9 Wang Jisi., “China’s Changing Role in Asia, The Rise of China and A Changing Asian Order”, (ed. Kokubun Ryosei and Wang Jisi), Tokyo: Japan Center for International Exchange, 2004, pp.3-21.
(National Interest)10 และพ้ืนที่ทางยุทธศาสตรแบบออน (Soft Power) ซ่ึงเปนพื้นที่ของการขยาย อิทธิพลนโยบายตางประเทศ การเมืองและวัฒนธรรม11 ที่เกี่ยวของกับการมีบทบาท การเขาถึงและ การควบคุมแหลงทรัพยากร ขนาดตลาดท่ีใหญ การครอบงําเศรษฐกิจและวัฒนธรรม นอกจาก ภูมิภาคลุมแมน้ําโขงจะเปนพ้ืนที่ทางยุทธศาสตรทั้งแบบแข็งและแบบออนแลว ยังมีประเด็นของ สงคราม การแบงแยกดินแดนและการอพยพการขามพรมแดน เปนตน ซึ่งจะสงผลดีและผลเสียตอ ความไดเปรียบเชิงภูมิศาสตร (Geographical Advantage) ของแตละประเทศในภูมิภาค12
ภูมิรฐศาสตร (Geo-politics) ถือเปนพื้นที่ทางยุทธศาสตรที่วาดวยการเมืองของอุดมการณ การขยายอิทธิพลทางการเมือง ความมั่นคงและการทหาร การเชื่อมโยงระหวางอํานาจทางการเมือง กบพื้นท่ีทางภูมิศาสตร มีปจจัยหลักคือ อาณาเขต ประชากร แหลงที่ต้ัง และทรัพยากร โดยขึ้นอยูกับ สถานภาพของรัฐหรือประเทศและพฤติกรรมระหวางประเทศ ภูมิรัฐศาสตรจึงถือวาเปนพื้นที่
ที่มีลักษณะเปนรูปธรรมของอํานาจ พื้นท และดนแดนิ ไดแก ถนนที่ตัดจากยนนานมงตรงมาุู
สูพรมแดนทางตอนเหนือของไทย เสนทางนี้ในอดีตไทยเห็นวาเปนเสนทางที่แสดงถึงภัยคุกคามจาก จีน (China Threat) เพราะเสนทางดังกลาวเอ้ืออํานวยตอการสงกองกําลังจากยูนนานมายังพรรค คอมมิวนิสตแหงประเทศไทยและหลายประเทศในภูมิภาค หรือนักสังเกตการณไดตีความวาเปน เสนทางที่จีนไดสรางขึ้นอาจจะเตรียมการเพ่ือสงกําลังทหารเขามายึดครอบครองไทย และประเทศใน อินโดจีนจนทําใหเสนทางเหลาน้ีถูกปดฉากลงและเปล่ียนไปสูเสนทางเศรษฐกิจแทน
3. แนวคิดภูมิเศรษฐศาสตร (Geo-Economics)
ภูมิเศรษฐศาสตร (Geo-Economics) ความสัมพันธระหวางพ้ืนที่และเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ เขตแดนหรือพื้นที่ เมื่ออุดมการณทางการเมืองไดสิ้นสุดลง เศรษฐกิจ พื้นท่ีและดินแดนของประเทศ ตางๆในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ไดกาวขามเขาสูยุคของการแขงขันและความรวมมือทางเศรษฐกิจที่มี
10 Michael O’Hanlon., “Resources for “Hard Power : The 2010 Budget for Defence, Homeland Security, and Related Programs” Foreign policy, Working Paper, Number 2, February 2009. http://www.brookings.edu/papers/2009/02 national_ security_budget_ohanlon.aspx (Retrieved December 12, 2011)
11 Joseph S. Nye, Jr., “Soft Power: The Means to Success in World Politics”, New York: Public Affairs, 2004.
12 Thomas Lum, Wayne M. Morision, and Bruce Vaughn., “China’s Soft Power” in Southeast Asia”, CRS Report for Congress, Congressional Research Service, 4 January 2008, pp. 1-24.
ผลประโยชนแหงชาติ (National Interest) มาเปนอุดมการณหลักของการพัฒนาประเทศ ซึ่งเห็นได จากที่จีนไดดําเนินนโยบายทางการทูตเพื่อนบานที่ดี (Good Neighbor) ทั้งนี้ถนนจากยูนนาน ในฐานะของการเปนภัยคุกคามทางทหารและความมั่นคงจึงไมมีความสําคัญมากนัก หลายประเทศ ไดปดฝุนถนนสายนี้เพราะไมมีใครคิดถึงภัยคุกคามแบบเกา อยางไรก็ตามนอกจากจีนเสนอที่ จะมีเสนทางเช่ือมกับภาคเหนือของไทย จีนยังมีโครงการที่จะสรางถนนเชื่อมกับภาคเหนือของพมา ลาวและเวียดนาม ซึ่งเสนทางเหลานี้กําลังเปนตัวแทน “สภาพแวดลอมใหม” ของภูมิภาคลุมแมน้ํา โขง13
ท น้ีระบบการเมืองและเศรษฐกิจที่มีความแตกตางและความเหมือนกันระหวาง จีน สปป.
ลาว และเวียดนาม ท่ีมีแนวทางของสังคมนิยมมารกซิลต ระบบการเมืองแบบพรรคเดียว มีการ เปลี่ยนผานจากระบบการวางแผนเศรษฐกิจสวนกลาง โดยมีการปรับเปลี่ยนท่ีสําคัญคือ จีน เปล่ียนแปลงไปเปน สังคมนิยมที่ใชกลไกการตลาด (Socialist Market Economy) สปป.ลาว เปล่ียนแปลงไปเปนจินตนาการใหม (New Economic Mechanism) และเวียดนามเปลี่ยนแปลงไป เปนการปฏิรูประบบเศรษฐกิจ (Economic Revolution) โดยความแตกตางและขอบขายของการ ปฏิรูปท่ีมีท้ังเหมือนกันและคลายคลงกัน การสนับสนุนการลงทุนจากตางประเทศ กฎระเบียบการคา และการลงทุน การปฏิรูปรัฐวิสาหกิจและการปฏิรูปการเงิน เปนตน14
ดังนั้นหากพิจารณาการขยายอํานาจของจีนในทางภูมิรัฐศาสตรและภูมิเศรษฐศาสตร จาก สถานการณยุคหลังสงครามเย็น ไดทําใหพื้นที่หรือเสนทางการเชื่อมโยงกับสปป.ลาวและเวียดนาม ซึ่งเดิมถูกสรางขึ้นเพ่ือเปาประสงคทางดานความมั่นคง การทหาร ก็ไดกลายเปนพื้นที่และเสนทาง เศรษฐกิจ ซึ่งมีสวนชวยอยางมากในการกระชับความสัมพันธระหวางประเทศเพราะจะเกิดการคา การลงทุนและการทองเที่ยว ตลอดจนการแลกเปล่ียนวัฒนธรรมจากรัฐหนึ่งไปสูอีกรัฐหนึ่ง การติดตอ ในเรื่องตางๆความสัมพันธระหวางรัฐ กลุมชาติพันธุและชนกลุมนอย ซึ่งจะทําใหเกิดการบูรณาการ เศรษฐกิจ (Economic Integration) ของจีน มณฑลยูนนานกับภูมิภาคลุมแมน้ําโขง15 อันกอใหเกิด ความเปนภูมิภาคเดียวกันท่ีมีความแนบแนนกันมากขึ้นในอนาคต
13 พิทยา สุวคันธ., “ภูมิยุทธศาสตรของกลุมประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง”, มุมมอง: สหวิทยาการ,
วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยลําปาง, 2553, หนา 29-54.
14 Mya Than, “Intra-Regional and Cross-Border Economic Cooperation” in “The Mekong Arranged & Rearranged”, (edited by Maria Serna L. Diokno and Nguyen Van Chinh), SEASREP Foundation, 2006, p.145.
15 Sandra Poncet., “Economic Integration of Yunnan with The greater Mekong Subregion”, Asian Economic Journal, Vol.20, No.3, 2006, pp. 303-317.
4. แนวคิดการบูรณาการความรวมมือในภูมิภาค (Regional Integrations)
การบูรณาการในภูมิภาคระหวางจีนกับกลุมประเทศภูมิภาคลุมแมน้ําโขงมีพ้ืนท่ีติดตอกัน ทางภูมิศาสตร จีน (มณฑลยูนนาน) ซึ่งไมมีทางออกทะเล ถือเปนประตูสูภาคใตของจีนสูลาว พมา และเวียดนาม กัมพูชาและไทยของภาคพื้นทวีป (Mainland) เอเชียตะวันออกเฉียงใต ขณะเดียวกัน จีน (กวางสี) เปนประตูสูเอเชียตะวันออกเฉียงใตหรืออาเซียน16 ทั้งนี้จุดเปลี่ยน เมื่อ ค.ศ. 1992 คือ การที่ธนาคารเพื่อการพัฒนาแหงเอเชีย (ADB) ไดมีการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ลุมแมนํ้าโขง (Greater Mekong Sub-region: GMS) มีโครงสรางพัฒนาทางเศรษฐกิจ (North- South Economic Corridor: NSEC) จีน พมา ไทย (คุนหมิง เชียงรุง เชียงตุง เชียงราย) และจีน ลาว ไทย (คุนหมิง เชียงรุง หลวงนํ้าทา บอแกว เชียงของ เชียงราย)17 ซ่ึงเปนปรากฏการณของการ เชื่อมโยงความสัมพันธใหมระหวางประเทศในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง18
- จีนกับกลุมประเทศลุมแมน้ําโขง: กอน ค.ศ. 1992
ประเทศลุมแมน้ําโขงหรือศูนยอํานาจรัฐในอดีตไดเปล่ียนแปลงไปกับการลาอาณานิคมของ จักรวรรดินิยม อังกฤษ ฝร่ังเศสและสหรัฐอเมริกา การใชกองกําลังหรือการทหารเขายึดครองพื้นที่ ตางๆ ของอินโดจีนทั้งยุทธศาสตรแบบแข็ง (Hard power) กองกําลังหรือกองทัพ และแบบออน (Soft Power) การคาและการลงทุน ซ่ึงทําใหศูนยอํานาจรัฐเปลี่ยนแปลงไป ขณะเดียวกันจีนขยาย ความสัมพันธโดยดําเนินนโยบาย Hard Power ต้ังแตการสถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีน เม่ือ ค.ศ. 1949 ตามหลักการอุดมการณคอมมิวนิสตในยุคเหมาเจอตง นโยบายสงเสริมและ สนับสนุนการปฏิวัติคอมมิวนิสต รวมทั้งการสนับสนุนขบวนการปลดแอกในประเทศอาณานิคม (เชน พมา ลาว เวียดนามและกัมพูชา ยกเวนไทย) นโยบายที่มีลักษณะแข็งกราวไมยอม ประนีประนอม หลังจากนั้น จีนไดดําเนินยุทธศาสตร Soft Power ในยุคของเต้ิงเส่ียวผิงในเรื่องการ ชวยเหลือดานการพัฒนาเศรษฐกิจและการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม จีนมีนโยบายตางประเทศให เศรษฐกิจนําหนาการเมือง การทหาร ไมยึดติดกับอุดมการณมารค-เลนินและความคิดของเหมาเจอ
16 http://www.adb.org (Retrieved December 12, 2011)
17 พิทยา สุวคันธ, “วิเคราะหการเมือง – ความมั่นคงของจีน มุมมองจีนกับลุมแมน้ําโขง”, ขาวจีนศึกษา ศูนยจีน ศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปที่ 11 ฉบับท่ี 3 ก.ค. – ก.ย. พ.ศ. 2553. หนา 14-17.
18 จีนมหาอํานาจใหมกําลังเปนตัวแปรหลักของความเปลี่ยนแปลงในลุมแมน้ําโขง จีนกําลังลองตามลําน้ําโขงเพ่ือ พิชิตดินแดนสุดทายแหงลุมแมน้ําโขง ซึ่งครั้งหนึ่งอดีตมหาอํานาจเกาอยางอังกฤษ ฝรั่งเศส ไดพยายามทวนน้ําขึ้น ไปสูตนน้ําที่จีน
ตง นโยบายท่ีมีลักษณะยืดหยุน ไมกาวราวพรอมตอรองกับนานาประเทศแตก็ยังรักษาผลประโยชน สูงสุดของจีนคือ ความม่นคงแหงรัฐ เอกราชของชาติและบูรณภาพแหงดินแดน19
- จีนกับกลุมประเทศลุมแมนํ้าโขง: หลัง ค.ศ. 1992
จีนมีนโยบายเปดประเทศ (Open Policy) เมื่อ ค.ศ. 1978 ซึ่งอยูในยุคสงครามเย็น (Cold War) จากน้ันเม่ือ ค.ศ. 1992 คือการลองใตของเต้ิงเสี่ยวผิง (Southern Tour) การผลักดันการปฏิรูป เศรษฐกิจสังคมนิยมที่มีลักษณะเฉพาะแบบจีน (Socialist Market Economy with Chinese Characteristics) ซึ่งสงผลตอการกําหนดนโยบายตางประเทศ การดําเนินนโยบายมุงสูภาคใต (Go-South Policy) ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตและในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ 5 ป ฉบับที่ 9 (ค.ศ.1996-2000) การปฏิรูปเศรษฐกิจไปสูภาคตะวันตก (Go West Policy) การพัฒนาอยางสันติ (Peaceful Development) และการทะยานข้ึนอยางสันติ (Peaceful Rise) และขณะเดียวกันในชวง แผนพัฒนาเศรษฐกิจ 5 ป ฉบับที่ 10 (ค.ศ. 2001-2005) จีนเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลก (WTO) และไดดําเนินนโยบายออกไปสูขางนอก (Go-Out Policy) ซึ่งมีทัศนะจากนักวิชาการ ตะวันตกไดกลาวถึงแนวคิดภัยคุกคามจากจีน (China Threat Theory)20 เหตุผลหนึ่งคือ บรรษัทขาม ชาติจีน CNOOC พยายามเขาไปซื้อกิจการของ Unocal ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเปนที่มาของ “China Threat” ที่จะสงผลกระทบตอความมั่งคงแหงมาตุภูมิและความมั่นคงทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา แตในศตวรรษที่ 21 นี้ จีนเร่ิมที่จะแผขยายอํานาจมายังลุมแมนํ้าโขงเพื่อการแสวงหาพันธมิตรทาง เศรษฐกิจ
นอกจากนี้พื้นที่เศรษฐกิจหรือภูมิเศรษฐศาสตร ีเสนทางท ี่จะเช่ือมตอจากจ ีนมายงประเทศั
ภูมิภาคลุมแมน้ําโขง และยังสงผลในทางการเมืองใหเกิดความใกลชิดกันระหวางจีนกับประเทศ ในภูมิภาคมากขึ้น หากเสนทางเหลานั้นสรางสําเร็จและเปดไดจริงก็จะทําใหภูมิภาคจีนตอนใต กับ ลุมแมนํ้าโขง (เอเชียตะวันออกเฉียงใต) เกิดการบูรณาการอยางแทจริงท้ังความมั่นคงทางการ เมืองและความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ซึ่งอาจกลาวไดวาเสนทางเหลานี้คือ สะพานเช่ือม (Gate Way) ของภูมิภาคทั้งสองเขาดวยกนอยางไมเคยมีมากอน
การสรางเสนทางในภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง ซึ่งอาจจะยังมีการสรางความกังวลใหกับรัฐชาติ หลายกลุมหลายฝายดวยกันหรืออาจจะเปนภัยคุกคามแบบเดิมเปนหลัก แตในสถานการณใหม ทําใหหลายประเทศตางตองออกมายอมรับวาภัยคุกคามทางทหารจากจีนไมใชเปนประเด็นหลัก แตภายใตแนวโนมและเงื่อนไขของสถานการณการเมืองระหวางประเทศดังที่เปนอยู จีนยังไมนา
19 ดูเพิ่มเติม พิทยา สุวคันธ. (2553). หนา 14.
20 Herbert Yee and Zhu Feng, “Chinese Perspectives of the China Threat: Myth or Reality?”, RoutledgeCurzon, Taylor&Francis Group, London and New York, 2002, pp. 21-42.
จะเปนภัยคุกคามทางทหารแตอยางใด แตหากเสนทางดังกลาวนาจะเปนภูมิเศรษฐศาสตรของจีน ท่ีมุงเปดภาคใตของจีนท่ีถือเปน “จุดเปดทางเศรษฐกิจ” การขยายอํานาจออกสูโลกภายนอกทั้งใน เร่ืองการคาและการลงทุนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต21
5. งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ
การศึกษางานที่เก่ียวของกับ “บรรษัทขามชาติจีนในลาวและเวียดนาม” ในงานวิจัยตางๆ ท่ีผานมายังไมมีงานวิจัยท่ีเกี่ยวของกนโดยตรง แตจะมีความเกี่ยวพนกับจีน สปป.ลาว และเวียดนาม รวมทั้งประเด็นท้ังทางการเมืองและเศรษฐกิจ กลาวคือ
ประเด็นของการลงทุนในลุมแมน้ําโขง Msami Ishida ไดศึกษาเรื่อง เขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zones) และระเบียงเศรษฐกิจ (Economic Corridors)22 พบวา เขตเศรษฐกิจ พิเศษเปนสวนแรกสุดของการเปนตัวเรงสําหรับการพัฒนาในภูมิภาคในประเทศกําลังพัฒนา เชน จีนและประเทศตางๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซ่ึงเขตเศรษฐกิจพิเศษจะนิยามความหมายพื้นที่ทาง ภูมิศาสตรที่มีลักษณะเฉพาะพื้นที่ท่ีเปดกวางของกฎหมายทางเศรษฐกิจมากกวากฎหมายอื่นๆทาง เศรษฐกิจ โครงสรางของเศรษฐกิจพิเศษ เชน Border Zones, Export Processing Zone (EPZ) Free Trade Zones และ Provide Special Incentives (เชน ไดรับการยกเวนภาษีหรือการลดภาษี ใหกับนักลงทุน) ซึ่งจุดมุงหมายของงานช้ินน้ีกลาวถึงเขตเศรษฐกิจพิเศษในสปป.ลาว พมา และ เวียดนาม ใน 4 รูปแบบคือ Metropolitan Areas, Ports and Harbors, Border Areas และ Junctions หรือ Intersections ซึ่งขึ้นอยูกับประสบการณของแตละประเทศในอาเซียนและระเบียง เศรษฐกิจในภูมิภาคลุมแมน้ําโขงภายใตโครงการความรวมมือทางเศรษฐกิจ ซ่ึงงานไดกลาวถึงการ แยกแยะแหลงที่ตั้งสําหรับการตั้งคําถามสําหรับการสํารวจวิธีการใช (Flowchart approach-based surveys) และการนําเสนอกลยุทธเฉพาะประเทศ (Presenting country-specific strategies) เปนสําคัญ
21 Kurlantzick Joshua, “China’s Charm: Implication of China Soft Power”, Carnegie Endowment for International Peace, 47 June, 2006, pp.1-8.
22 Ishida Masami, “Special Economic Zones and Economic Corridors”, ERIA Discussion Paper Series, June, 2009, pp. 1-21.
การพฒนาแมนํ้าโขงและการมีสวนรวมของจีน (ยูนนาน) ในความรวมมือภูมิภาคลุมแมน้ํา โขง23 การพัฒนาแมน้ําโขงคือความปรารถนารวมกันของคนในภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง โดยเฉพาะจีน ท่ีมีบทบาทสําคัญในการพฒนาความรวมมือภูมิภาคลุมแมน้ําโขง เมื่อมีโครงการในภูมิภาคลุมแมน้ํา โขงเขามาในพ้ืนท่ี รัฐบาลจีนก็ดูจะมีเจตคติท่ีดีตอโครงการในภูมิภาคลุมแมน้ําโขงและเขาไปมีสวน รวมในกลไกสรางความรวมมือและใหความรวมมือ มณฑลยูนนานคือหัวใจสําคัญในการมีสวนรวม ของจีนในความรวมมือในภูมิภาคลุมแมน้ําโขงและยังผลักดันใหมีการพัฒนาความรวมมือ โดย มีมณฑลยูนนานรับผิดชอบหลายโครงการเกี่ยวกับโครงสรางพื้นฐาน และไดดําเนินการแลวเสร็จเปน จํานวนมาก การมีสวนรวมของยูนนานในความรวมมือในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ซึ่งชวยสงเสริมการ พัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของยูนนาน ตลอดจนการเปดตัวอยางกวางขวางของยูนนานที่ยัง เอื้อตอสัมพันธภาพกับประเทศเพ่ือนบานและธํารงความมั่นคงของประเทศได จีนจะยังคงผลักดัน ใหมีการพัฒนากับประเทศในกลุมภูมิภาคอีกดวย
ท้งนี้ประชาชนในภูมิภาคลุมแมน้ําโขงมีความปรารถนาที่จะพัฒนาลุมแมนํ้าโขงเพ่ือใหเกิด ประโยชนแกพวกเขาแตมีอุปสรรคเนื่องจากสาเหตุทางประวัติศาสตรหลายประการ อาทิ สงคราม เวียดนาม บริเวณคาบสมุทรอินโดจีนที่ยังไมสงบสุข กระทั่งส้ินสุดสงครามเย็นจึงเริ่มปรับปรุง บรรยากาศทางการเมืองและความมั่นคงขึ้น หลายประเทศอยางกมพูชา ลาว พมาและเวียดนามเริ่ม ดําเนินการปฏิรูปและเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจแบบเนนกลไกการตลาด การสรางความรวมมือทาง การเมืองและความมั่นคง สมาชิกทั้ง 6 ประเทศในภูมิภาคลุมแมนํ้าโขงตระหนักถึงความสําคัญของ ความรวมมือทางเศรษฐกิจและสังคม ตอมาโลกาภิวัตนทางเศรษฐกิจเติบโตอยางรวดเร็วสงเสริม กระบวนการความรวมมือแบบบูรณาการ กลไกหนึ่งก็คือ การสรางความรวมมือในการพัฒนา ลุมแมน้ําโขงอยางกวางขวาง จีนมีสวนรวมอยางมากในกลไกความรวมมือและการเปนสมาชิกสําคญั ของกลุมประเทศภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง ดังนี้ คือ
1. จีนผูกขาดความสําคญตอความรวมมือในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง
1.1 ตําแหนงและเจตคติของจีนตอความรวมมือในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง เนื่องจาก มีความเสี่ยงในการเผชิญหนากับปญหาตางๆ จากกระแสโลกาภิวัตนที่ไดทําใหประเทศกําลังพัฒนา
ในภูมิภาคลุมแมน้ําโขงไดรวมมือกนท ทางเศรษฐกิจและสังคม เห็นไดจากตว อยางของความรวมมอื
ในภูมิภาคลุมแมน้ําโขงที่ไดดําเนินการโครงการความรวมมือกวา 100 โครงการท้ังดานโครงสราง พื้นฐาน ทรัพยากรพลังงาน การคาและการลงทุน เทคโนโลยีการติดตอส่ือสาร สภาพแวดลอม
23 Zhenming Zhu, “Mekong development and China’s (Yunnan) participation in the Greater Mekong Subregion Cooperation”, Ritsumeikan International Affairs, 8, 2010, pp.1-16.
การทองเท่ียว การเกษตรและการพฒนาทรพยากรมนุษย ทุกโครงการก็ประสบความสําเร็จเปนอยาง ดี จีนซึ่งมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาความรวมมือในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง รัฐบาลจีนก็มีเจตคติที่ดี ตอกลุมประเทศในลุมแมน้ําโขงและมีสวนรวมในกลไกความรวมมือเปนอยางดี ดังจะเห็นไดจากการ แสดงออกของผูนําจีนหลายทาน ซ่ึงผูนําจีนเหลานี้ไดกลาวสุนทรพจนและแสดงใหเห็นวาจีนมี ความเก่ียวพนที่มีการผูกมดประเด็นสําคัญตอความรวมมือในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง
1.2 เปาหมายในภาพรวมจากการมีสวนรวมของจีนในความรวมมือกับกลุมประเทศ ภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง เปาหมายโดยรวมจากการมีสวนรวมของจีนในความรวมมือ GMS คือ การ เช่ือมโยงระหวางตะวันตกเฉียงใตของจีนกับคาบสมุทรอินโดจีนที่ตระหนกถึงการติดตอทางการตลาด ระหวางตะวันตกเฉียงใตของจีนกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต เพิ่มการแลกเปล่ียนระหวางกันและ ขอผูกพันทางเศรษฐกิจ ผลักดันทางเศรษฐกิจหลายระดับ รูปแบบและลักษณะ รวมถึงความรวมมือ ทางเทคโนโลยี และยังตระหนักถึงการพัฒนาในอนุภูมิภาค สรางโอกาสการจางงาน เพิ่มรายได ขจัดความยากจน สงเสริมความกาวหนาทางสังคมและยกระดับชีวิตประชาชนใหความรวมมือใน ภูมิภาคอยางลึกซึ้ง สรางความสัมพันธทางเศรษฐกิจเพื่อประโยชนรวมกัน สรางการคาระหวาง ประเทศอยางเหมาะสมและลงทุนทางสภาพแวดลอม ผลักดันใหเกิดสันติภาพและการพัฒนา ในภูมิภาคอยางม่นคงและมิตรภาพระหวางจีนกับเอเชียตะวันออกเฉียงใตอยางยาวนาน
จากเปาหมายโดยรวมจากการมีสวนรวมของจีนในความรวมมือ GMS พบวาจุดเนนของ จีนไดแก (1) การมีสวนรวมของจีนในความรวมมือ GMS คือองคประกอบสําคัญของกลยุทธการ เปดตัว จีนเนนนโยบายตางประเทศในการสรางมิตรภาพและการเปนหุนสวนกับประเทศเพื่อนบาน เพ่ือสรางบรรยากาศระหวางประเทศที่ดีเพื่อการปฏิรูปและเปดตัวของจีนรวมถึงปรับโครงสรางให นําสมัยดวย (2) เพื่อสรางเครือขายการขนสงและเปดประเทศเพื่อเชื่อมโยงระหวางตะวันตกเฉียงใต ของจีนกับเอเชียตะวันออกเฉียงใตใหเอื้อตอการขับเคลื่อนของประชาชนและสินคาระหวางกัน การ วาง รากฐานการบูรณาการทางเศรษฐกิจในภูมิภาค และ (3) เพื่อชวยใหตะวันตกเฉียงใตของจีนกับ ภูมิภาคที่พัฒนาไดชาสามารถเรงการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม โดยมีการตระหนักถึงประโยชน รวมกันผานการมีสวนรวมในความรวมมือ GMS
1.3 มุมมองของจีนและหลักความรวมมือ GMS อยางลึกซึ้ง
- เนื่องจากประเทศใน GMS มีทั้งขนาด ระดับการพัฒนาและเง่ือนไขของแต ละชาติท่ีหลากหลาย จึงควรใชหลักการใหคําปรึกษาและประโยชนรวมกันอยางเสมอภาค สงเสริม
ความรวมมือบนฐานความเคารพซึ่งกันและก ใหคาปรกษาดวยมตรภาพและความสมิึํ ัครใจ
- ควรใชหลักการรวมศูนยกลางโครงการตางๆ และเนนผลการปฏิบัติงาน สงเสริมความรวมมือในโครงการตางๆเพื่อนําไปสูการพัฒนาโดยรวมทางเศรษฐกิจของประเทศ ในแถบลุมแมนํ้าโขง
คอยเปนคอยไป
- ควรใชหลักการเนนไปที่พื้นที่สําคัญและดําเนินการตามขั้นตอนที่ละข้ันและ
- ปฏิบัติตอแตละประเทศดวยความจริงใจและสงเสริมการใหคําปรึกษาและ
ความไววางใจระหวางกัน มุงมั่นสรางความผูกพันอันใกลชิด การเพิ่มความเขาใจซึ่งกันและกัน ตลอดจนสรางการทํางานรวมกันใหมีบรรยากาศที่ม่ันคง และกลมเกลียวเพื่อประโยชนรวมกัน ในภูมิภาค
- เพิ่มการพัฒนาการขนสง พลังงานและการติดตอสื่อสารรวมถึงทําใหระบบ โครงสรางภายในของประเทศตางๆ สามารถเชื่อมโยงกันไดภายในเพื่อสนับสนุนการยกระดับ ความรวมมือในกลุมประเทศภูมิภาคลุมแมน้ําโขง
- สงเสริมทั้งความรวมมือในภูมิภาค และการพัฒนาภายในแตละประเทศ ตอบสนองความตองการของทรัพยากรบุคคล นโยบายที่พึงประสงค การพัฒนาทางอุตสาหกรรมและ การเงินในแนวทางท่ีสมดุล ไดผลประโยชนอยางคุมคาจากทั้งภายในและภายนอกภูมิภาคเพื่อการ พัฒนาความรวมมือในหลายพ้ืนที่อยางสมดุล
- ทําใหเกิดความสมดุลระหวางการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และการปกปอง สภาพแวดลอม พัฒนาทรัพยากรอยางมีเหตุผลและมุงไปท่ีการปกปองสภาพแวดลอมและอนุรักษ พลังงานเปนสําคัญเพื่อการพัฒนาความรวมมือของภูมิภาคอยางยั่งยืน
1.4 ความสําเร็จของจีนในโครงการความรวมมือ GMS
รัฐบาลจีนสรางกลุมความรวมมือของชาติเพ่ือศึกษาการพัฒนาภูมิภาคลุมแมน้ํา โขง-ลานชาง (the Lancang-Mekong River Subregion) ใน ค.ศ. 1994 รวมกับคณะกรรมการและ การปฏิรูปแหงรัฐ (State Development and Reform Commission) กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) และคณะกรรมาธิการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงรัฐ (the State Science and Technology Commission) เพ่ือประชุมอภิปรายถึงประเด็นดานความรวมมือในพื้นที่ใหม นโยบาย การวัดผลและความคิดเห็น นอกจากนี้ยังใหทุนสรางทางหลวงคุนหมิง-กรุงเทพฯ (Kunming- Bangkok Highway) ในลาว การใหทุนสํารวจชองทางการปรบปรุงแมน้ําโขงตอนบน ใหการฝกอบรม บุคลากรดานการเกษตร วัฒนธรรมและเทคโนโลยีการส่ือสารกวา 500 คน ตอมาใน ค.ศ. 2004 จีนใหทุนธนาคารเพื่อการพัฒนาแหงเอเชีย (ADB) เพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและแกปญหา ความยากจน และเมื่อ ค.ศ. 2005 จีนขยายการผลิตเพื่อจูงใจดานภาษีจากลาว กัมพูชาและพมา
เพื่อเพ่ิมความรวมมือทางการคาภายในภูมิภาค ผูนําจนยังคงสนับสนุนการใหทุนซึ่งเอื้อตอศักยภาพ ในความรวมมือในอนุภูมิภาค จนถึงการประชุมสุดยอด GMS ครั้งที่ 3 เมื่อ ค.ศ. 2008 จีนก็ยังขยาย บทบาทความรวมมือในกลุมสมาชิกของ GMS ในหลายๆดาน
2. การมีสวนรวมของยูนนานในความรวมมือ GMS
2.1 การพฒนาทางสงคมและเศรษฐกิจของยูนนาน
มณฑลยูนนานตั้งอยูบนชายแดนตะวันตกเฉียงใตของจีนติดกับลาว พมาและ เวียดนามทางตะวันตกและทางใต นอกจากน้ียังอยูใกลกับไทย กัมพูชา บังคลาเทศและอินเดีย มีอาณาเขตอยูทางตนแมน้ําโขง อิระวดีและฮวงโห ท่ีสําคัญยังเปนทางผานจากจีนเขามายังเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตและเอเชียใต แมยูนนานจะมีทรัพยากรมากมายและความไดเปรียบทางภูมิศาสตร ในการเขามายังตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต แตพบวายังมีฐานะยากจนและดอยพัฒนา หลังจาก จีนมีนโยบายปฏิรูปและเปดตวยูนนานก็ยังมีโอกาสในการพัฒนาไดนอยอยูดี ใน ค.ศ. 1990 รัฐบาล ผลักดันกลยุทธในการพัฒนา โดยจะสรางใหยูนนานเปนจังหวัดที่มีอํานาจในการพัฒนาเศรษฐกิจ แบบสีเขียวที่เต็มไปดวยวัฒนธรรมของชาติและมีสีสัน รวมถึงการเปนทางผานไปยังเอเชียตะวันออก เฉียงใตและเอเชียใต ดวยความพยายามอยางหนักและยาวนานก็เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญใน ยูนนานเมื่อพิจารณาจากคา GDP ที่เพิ่มขึ้น ปริมาณการสงออกและนําเขาที่เพิ่มขึ้น รายไดของ ประชาชนในเมืองและเกษตรกรที่เพิ่มขึ้น กลาวไดวาจุดแข็งทางเศรษฐกิจของยูนนานอยูเบื้องหลัง พื้นที่แนวชายฝงและพ้ืนที่ภายในประเทศของจีนนั่นเอง
2.2 นยสําคัญการมีสวนรวมของยูนนานในความรวมมือ GMS
- ยูนนานตั้งอยูติดกับแมนํ้าลานชาง-แมโขงตอนบน ดวยสภาพภูมิศาสตร ยูนนานอยูในที่ราบลุมแมน้ําโขงจึงเปนเหตุผลในการมีสวนรวมในความรวมมือ GMS โดยรัฐบาลจีน เริ่มที่มณฑลยูนนาน
- ยูนนานจําเปนตองเปดเสนทางไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเอเชียใต แตดวยการพัฒนาที่ลาหลังจึงตองเนนไปที่การพัฒนาทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะเรื่องการขนสง ยูนนานจําเปนตองสรางเครือขายการติดตอสื่อสารท่ีเชื่อมโยงกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต ขจัดการ ติดตอ สื่อสารท่ีเปนคอขวดและเปดออกไปสูทะเล ยูนนานจึงมุงเนนไปที่การสรางเสนทางการขนสง เหนือ-ใต 3 แหง เพื่อเช่ือมโยงยูนนานกับกลุมประเทศ GMS
- เปนประโยชนตอการเปดตัวของยูนนานไปยังโลกภายนอก ยูนนานสามารถ ผานเขาไปยังตลาดระหวางประเทศไดโดยสะดวก ซึ่งชวยใหวิธีการทางเศรษฐกิจกับประเทศเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตแข็งแกรงข้ึน ดังนั้นยูนนานสามารถใชทรัพยากรและตลาดของตนเองกับตางชาติ ไดอยางเต็มท่ีเพื่อสงเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม
- ยูนนานจําเปนตองรักษาบรรยากาศของสันติภาพและประเทศเพื่อนบานให มั่นคงเพราะตําแหนงทางภูมิศาสตรอันมีลักษณะเฉพาะของยูนนานท่ีมีชายแดนติดกับ 3 ประเทศ จึงตองสรางความสมพนธที่ดีขึนกบประเทศเพื่อนบานท้ังการสรางมิตรภาพและการใหความรวมมือ
- ยูนนานดําเนินการวดผลความสําเร็จของโครงการความรวมมือ GMS
- เนื่องจากการสรางกลไกความรวมมือ GMS จึงมีการดําเนินโครงการสําคัญ หลายโครงการที่เก่ียวกับโครงสรางภายในท่ีรับผิดชอบ โดยมณฑลยูนนานตามขอตกลงการบริหาร ของ GMS ไดแก (1) เสนทางการขนสง (2) หนวยยอยการขนสงทางรถไฟ (3) โครงการขนสงทาง
น้ํา (4) โครงการขนสงทางอากาศ (5) โครงการเทคโนโลยีการสื่อสาร (6) การสรางและการสงผาน พลังงาน ยูนนานไดด ําเนินการวดผลความสําเร็จของโครงการเมื่อเริ่มโครงการโดยเสริมความเขมแข็ง ที่ภาวะผูนําและการจัดการดวยการสรางกลุมผูนํา เพื่อประสานความรวมมือในการดําเนินงานเพื่อ การพัฒนาอนุภูมิภาค (ลุมแมนํ้าลานชาง-แมโขง) เพื่อกระตุนใหมีงานวิจัยเพิ่มข้ึน ดวยความ พยายามของกลุมคนพื้นเมืองในยูนนานและการสนับสนุนอยางเต็มที่จากรัฐบาลกลาง จึงประสบ ความสําเร็จอยางยิ่งจากโครงการ GMS นอกจากนี้ยังมีโครงการความรวมมืออื่นๆ เชน การคาและ การลงทุน การทองเที่ยว การคาแถบชายแดน การพัฒนาทรัพยากรมนุษยก็อยูภายใตความสําเร็จนี้ อีกไมนานดวยการมีสวนรวมในความรวมมือ GMS มณฑลยูนนานจะสามารถขยายพื้นที่การพัฒนา เศรษฐกิจ สงเสริมการปรับปรุงการกระจายอํานาจการผลิต ผลักดันไปสูความเปนเมือง นําไปสูการ ปฏิรูปทางอุตสาหกรรม เอื้อตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในเขตชายแดน
3. ยูนนานเผชิญกับความทาทายในความรวมมือ GMS
ยูนนานจําเปนตองเอาชนะปญหาและอุปสรรคบางประการในความรวมมือ GMS ดังนี้
- ยูนนานเปนมณฑลท่ีดอยพัฒนาในจีน แมจะมีเศรษฐกิจที่เขมแข็งกวาบาง ประเทศในอนุภูมิภาค จําเปนตองเพิ่มการสรางโครงสรางภายในแตไมมีงบประมาณเพียงพอในการ พฒนาโครงการสําคัญ
- มีความกระตือรือรนในการลงทุนนอยและควรขับเคล่ือนการลงทุนเพิ่มขึ้น โดย เฉพาะการลงทุนขนาดกลางและขนาดยอมของการมีสวนรวมในความรวมมือ GMS ที่ยังมี ปญหาอยู
- การแลกเปล่ียนขอมูลยังไมเพียงพอ โดยเฉพาะขอมูลหมุนเวียนในภาครัฐและ แวดวงการศึกษา รฐบาลขาดการตระหนักและความรูเก่ียวกับความรวมมือ GMS ยังมีปญหาในการ ใชขอมูลรวมกัน
- การเปดตัวของยูนนานที่ลาชากวาพื้นท่ีในประเทศและแนวชายฝง ขณะนี้มณฑล และเมืองอื่นๆเห็นความสําคัญของการเปดสูตลาดอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่แนว
ชายฝงในจีน ความสามารถของยูนนานในการเปดตลาดระหวางประเทศยังมีจํากัดจึงตองแขงขัน จากในประเทศ
- หลายประเทศในอนุภูมิภาคมีระบบสังคม เปาหมายการพัฒนาท่ีตางกัน ซึ่งอาจ นําไปสูความขัดแยงกับชาติอื่น ในกระแสการพัฒนาความรวมมือ GMS ทําใหเพ่ิมความยากในการ ประสานงานระหวางกัน
- มีหลายองคประกอบและฝายที่มีสวนรวมในงานความรวมมือของอนุภูมิภาค ในมณฑลยูนนานแตการประสานงานยังไมเพียงพอ
- ยูนนานตองเผชิญปญหาความมั่นคง ชายแดนยูนนานบน 3 ประเทศและ สวนที่อยูติดกับสามเหลี่ยมทองคําอันเปนแหลงผลิตยาเสพติดและกลุมคายาเสพติดที่ผิดกฎหมาย ความสะดวกในการขนสงอาจเพิ่มอาชญากรรมระหวางชาติ ซึ่งจําเปนตองเพิ่มอํานาจของเจาหนาที่ ทรัพยากรทางการเงินและการผลิตในการแกไขสถานการณตางๆ
4. บทสรุป
ความรวมมือในกลุมประเทศภูมิภาคลุมน้ําโขง ซ่ึงเปนผลมาจากโลกาภิวัตนและการ บูรณาการของภูมิภาคซ่ึงสรางความสําเร็จอันยิ่งใหญ การมีสวนรวมในความรวมมือ GMS เปน โอกาสสําคัญในการเปดตัวของยูนนานทําใหไดประโยชนอยางเต็มที่คือไดขยายพื้นท่ีการเปดตัวของ ยูนนาน ไดสรางชองทางเพื่อเขาไปสูตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต ความรวมมือ GMS เนนที่การ สงเสริมขอผูดมัดทางเศรษฐกิจ ขจัดความยากจนซึ่งเอื้อตอการพัฒนาเปนสําคัญ เปาประสงคของ ยูนนานที่ตองการการปฏิรูปอยางลึกซึ้ง ลดปญหาความยากจนอยางเรงดวนและสนับสนุนการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ขยายการเปดตัวของยูนนาน สงเสริมมิตรภาพกับประเทศเพื่อนบานและ ธํารงความมั่นคงของรัฐ ความรวมมือ GMS จึงมีบทบาทสําคัญตอการเติบโตทางเศรษฐกิจและ สงเสริมสถานภาพในระดับนานาชาติของจีน มณฑลยูนนานซึ่งเปนหัวใจสําคัญของจีนในความ รวมมือ GMS จะเปนความพยายามในการผลักดันความรวมมือ GMS ใหกาวตอไปในฐานะที่จีนคือ
ผูรับผิดชอบหลกในความรวมมือน แมจะประสบปญหามากมายกลไกความรวมมอื GMS ก็ไดแสดง
ถึงพลังและศักยภาพใหปรากฏ กระบวนการความรวมมือจึงดําเนินไปภายใตความพยายามของทุก ประเทศในภูมิภาคและประสบความสําเร็จเพ่ิมขึ้นเร่ือยๆ
มุมมองและนโยบายของลาวตอ GMSจากการศึกษาของ Nouansavanh, Khamlusa24
พบวา
24 Nouansavanh Khamlusa, “Lao PDR perspectives and policies towards GMS”, RitsumeikanI International Affairs, 8, 2010, pp.17-30.
1. ความรวมมือระดบนานาชาติ
รูปแบบความรวมมือกับประเทศอ่ืนๆ มีลักษณะเปนพหุภาคีตามระดับความแตกตางทาง ภูมิศาสตร ในระดับยอยลงมาอาจมีลักษณะเปนทวิภาคีหรือพหุภาคี ไดแก (1) รวมมือหรือจับคู จงหวดชายแดน (2) ความรวมมือ 3 และ 4 ฝายระหวางจังหวัดตางๆของลาว เวียดนาม กัมพูชา ไทย พมาและจีน มีความรวมมือในอาเซียน เชน อนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง (GMS) และ ยุทธศาสตรความ รวมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี เจาพระยา แมโขง ระหวางกัมพูชา ลาว พมา ไทยและเวียดนาม (AMECS)
2. จุดเร่ิมตนของ GMS
แนวคิด GMS เกิดขึ้นในป 1957 มีการตั้งคณะกรรมการลุมน้ําโขงขึ้นแตยังมีความขัดแยง ทางการเมืองท้ังจากภายในและภายนอกซึ่งมีความรวมมือในระดับต่ํา จนถึง ค.ศ. 1992 ธนาคาร เพ่ือการพัฒนาแหงเอเชีย (ADB) ไดสรางความรวมมือในภูมิภาคเปนคร้ังแรกเพื่อสงเสริมการพัฒนา ผานการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีใกลชิดระหวางประเทศสมาชิกและสรางความสําเร็จจาก โครงการอนุภูมิภาคดานการขนสง พลังงาน การส่ือสารทางไกล ส่ิงแวดลอม การพัฒนาทรัพยากร มนุษย การทองเท่ียว การคา การลงทุนในภาคเอกชนและการเกษตร ลาวจึงไดมีสวนรวมในความ รวมมือทางเศรษฐกิจของ GMS ในครั้งน้ีดวย
3. เหตุผลการเขารวมใน GMS
3.1 เหตุผลของท่ีต้ังทางภูมิศาสตร สปป.ลาวใชกลยุทธการเช่ือมตอของแผนดิน เนื่องจากลาวถูกขนาบดวยประเทศที่มีอํานาจตอเศรษฐกิจอยางไทย เวียดนาม และจีนทําใหสปป. ลาวตองพึ่งพาประเทศเพื่อนบานสูง แตการเช่ือมตอกับจีนก็สามารถเปนสะพานเชื่อมระหวางจีนไป ยงอาเซียนท้งั 6 ชาติได
3.2 สปป.ลาวเชื่อวาการจะเริ่มตนไปสูนานาชาติคือ กระบวนการเชิงรุกและเชิงบวก ของภูมิภาคและของโลกจึงตระหนักวาความรวมมือและการบูรณาการในภูมิภาคจะนําไปสูการ พัฒนาได
3.3 ประเทศในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง ไดยึดถือแมน้ําโขงเปนสําคัญและประเด็นดาน ส่ิงแวดลอมของประเทศหน่ึงยอมมีอิทธิพลตอทุกประเทศ จึงจําเปนตองใชความพยายามรวมกันของ ทุกประเทศเขาไปจัดการ
3.4 สปป.ลาวเห็นวาภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง คือกาวหน่ึงของกระบวนการภูมิภาคที่ลาว
จะคอยๆเรียนรูท่ีจะขับเคลื่อนในบริบทของโลกาภิวัตน
4. กลยุทธการเชื่อมตอแผนดิน
ี่กําลังเติบโต
รัฐบาลลาวพยายามเปล่ียนจากประเทศที่ถูกปดไปเปนประเทศเชื่อมตอแตก็มีอุปสรรค ที่ตองใชตนทุนสูงและเสี่ยงที่จะทําไมสําเร็จ นอกจากนี้จีน เวียดนามและไทยก็อาจไดประโยชนจาก ชองทางนี้มากกวาลาวเพราะสามารถสงออกสินคาจํานวนมากและหลากหลายกวาระหวางกันได กลยุทธการเชื่อมตอแผนดินนี้เปนการดําเนินงานตามกลยุทธการขจัดความยากจนของชาติ ซึ่งไดรับ การสนับสนุนจากรัฐบาลลาวภายใตกรอบความรวมมือของภูมิภาคและอนุภูมิภาค (ASEAN, GMS และ ACMECS) ผูนําของลาวก็พยายามเรียกรองใหชาติ GMS พยายามพัฒนาระบบโครงสราง ภายในเพื่อสงเสริมความสามารถในการแขงขันไดของภูมิภาคโดยขยายเสนทางการเชื่อมโยงผาน การติดตอแบบพหุภาคี นอกจากน้ียังขอใหชาติ GMS ยื่นมือเขามาปรับปรุงการเช่ือมโยงระบบ โครงสรางภายในโดยสรางกลไกและกฎเกณฑที่เอ้ือตอการขนสงสินคาและมวลชนระหวางประเทศ รวมถึงใหสรางบรรยากาศที่ดีเพื่อตระหนักถึงโครงการความรวมมือ ACMECS ทั้งแบบทวิภาคีและ พหุภาคี จึงจําเปนตองแกปญหาเร่ืองการคา ภาษี การขนสง เกณฑคาธรรมเนียมและการบริการ เพื่อใหเกิดความรวมมือที่ราบรื่นและรวดเร็วมากข้ึน ซ่ึงสงผลตอศักยภาพและการแขงขันในตลาดได นอกจากนี้ลาวยังแจงใหไทยเนนไปท่ีระบบโครงสรางภายในดานการขนสง โดยเฉพาะการสราง สะพานขามแมน้ําโขงที่เช่ือมระหวางแขวงคํามวนกับจังหวัดนครพนม รวมถึงท่ีเชื่อมระหวางหวย ทรายกับเชียงของ เพื่อเปนเสนทางการติดตอและขนสงโดยหวังผลถึงนักทองเที่ยวแบบธรรมชาติ ซึ่งเปนภารกิจสําคัญของความรวมมือนี้
5. ผลของความรวมมือ GMS
ผลสําคัญของความรวมมือทางเศรษฐกิจของ GMS ใน ค.ศ. 1992 โครงการความ รวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนาชวยใหตระหนักถึงการแลกเปลี่ยนมุมมอง การขยายการคา การลงทุนและการทองเที่ยวรวมถึงความเขาใจประชาชนของกลุมประเทศใน GMS อันเปนผลจาก การปรับปรุงและขยายระบบโครงสรางภายในของการขนสงที่สําคัญ รวมถึงการลดสาเหตุของความ ยากจน จึงมีความพยายามลดอุปสรรคที่ไมใชดานกายภาพในการขนสงคนและสินคาขามแดนผาน ขอตกลงขามแดน GMS ในจุดสําคัญซึ่งชวยลดตนทุนและเวลาในการเดินทาง เพิ่มการคาขามแดน และโอกาสทางเศรษฐกิจตามพื้นที่แนวชายแดนและปรับปรุงสัญญาระหวางกัน ระบบโครงสราง ภายในของการขนสงพบวามีความกาวหนาในความรวมมือดานอื่นๆดวย ไดแก พลังงาน การสื่อสาร ทางไกล การทองเที่ยว การเกษตร การอนุรักษส่ิงแวดลอม การพัฒนาทรัพยากรมนุษยและสงเสริม การคาการลงทุน เปนตน
5.1 โครงการสรางและสงผานพลังงานใหมชวยขยายความรวมมือสวนยอยของ พลังงานอื่นที่อยูในกระบวนการและเปนการวางรากฐานการคาและตลาดพลังงานของภูมิภาค
ในอนาคต ดวยเหตุที่สปป.ลาวเต็มไปดวยพลังงานน้ําทําใหลาวจะสามารถสงออกกระแสไฟฟา พลังน้ําตามเงื่อนไขน้ีไดเปนอยางดี
5.2 การสื่อสารทางไกล ซึ่งถือเปนสวนสําคัญของภูมิภาคและการพัฒนาเครือขาย ขอมูลหลักของ GMS ท่ีอยูในชวงเร่ิมแรกของการพัฒนา
5.3 การทองเที่ยวมีแผนปฏิบัติการที่กําหนดใชถึงอีก 5 ปขางหนาโดยครอบคลุม การสงเสริมจุดหมายของการทองเที่ยวอยางเดียวรวมถึงการทองเที่ยวท่ีเชื่อมโยงถึงการพัฒนาระบบ โครงสรางภายในดวย
5.4 การเกษตรมีโครงการสงเสริมการคาสินคาการเกษตรขามชายแดน ชวยทําให เช่ือมั่นถึงความปลอดภัยของอาหารและปรับปรุงความเปนอยูที่ดีของเกษตรกรได
5.5 การพัฒนาทรัพยากรมนุษยมีโครงการปองกันและควบคุมโรคติดตอและแผน พนมเปญที่มีโครงการเรียนรูการจดการในการพัฒนาเพื่อความสําเร็จของรัฐบาล
5.6 ดานสิ่งแวดลอมมีการใชโครงการสรางความเขาใจในการบอกถึงความทาทาย ทางสิ่งแวดลอมที่สําคัญ รวมถึงการสรางแนวทางการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพที่กําลัง เดินหนาอยางเต็มที่
5.7 ดานการคาและการลงทุนมีความกาวหนาในการสรางบรรยากาศที่เอื้ออํานวย ซ่ึงเปนสิ่งที่นาปรารถนาและเหมาะแกการแขงขันผาน Strategic Framework for Actions on Trade Facilitation and Investment (SFA-TFI) ซึ่งชวยวางรากฐานความรวมมือท่ียั่งยืนและอยางลึกซึ้ง
6. ชองวางระหวาง CLMV และ ASEAN-6
เมื่อสปป.ลาวกลายเปนสมาชิกของ ASEAN เมื่อ ค.ศ. 1997 คา GDP ตอหัวของกลุม CLMV เทากับ 276 เหรียญสหรัฐอเมริกาและมีคาเฉล่ียของกลุม ASEAN-6 เทากับ 8,994 เหรียญ สหรัฐอเมริกา ซึ่งสูงเปน 33 เทา และในป 2007 ก็กลายเปน 23 เทา ซึ่งมีชองวางที่แคบลงแตยังมีอยู แสดงวาคาเฉลี่ยของ GDP ชี้วากลุม CLMV ไดรบประโยชนจากการเปนสมาชิกของอาเซียน
7. เสนทางดานเศรษฐกิจกับสปป.ลาว
จากการเปดเผยของ ADB และ JBIC เมื่อ ค.ศ. 2005 พบวาการเขารวมของลาวในกลุม ประเทศอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง ลาวไดประโยชนดานทาเลท่ีตั้งจูงใจใหมีเปาหมายในการพฒนาผาน การบูรณาการของภูมิภาคอยางมาก การลงทุนของ GMS ในลาวยังสงเสริมการพัฒนาในพื้นที่ หางไกลที่ถูกปดก้ันดวย ท้ังน้ีมิใชเพียงระบบโครงสรางภายในทางกายภาพเพื่อการคาและการ
สงผานเทาน้ัน แตยังไดประโยชนในชุมชนทองถิ่นตลอดเสนทางดวย อาทิ ถนนของชุมชน ดาน สุขอนามัย การศึกษาและโครงการเกี่ยวกับโรคเอดสรวมถึงการสรางศักยภาพในทองถิ่น นอกจากนี้ ลาวยังหวังจะไดประโยชนจากการปรับปรุงการเชื่อมตอที่มีการบูรณาการมากขึ้น กลยุทธนี้จะดึงดูด การลงทุนดานระบบโครงสรางภายในเกี่ยวกับการขนสง ซึ่งจําเปนในการปรับปรุงความสามารถใน การแขงขันผานการลดระยะเวลาการเดินทางและตนทุนการขนสงได นอกจากเสนทางเชื่อมตอ ระหวางประเทศแลว ลาวยังวางแผนจะสรางระบบทางรถไฟเชื่อมตอเมืองสําคัญของประเทศกับ ประเทศเพื่อนบานดวย อยางไรก็ตามลาวยังไดประโยชนจากเครือขายถนนใหม แมขณะน้ีลาว อาจจะยังเปนเพียงประเทศทางผานเพราะมีระยะหางจากไทยกับเวียดนามหรือไทยกับจีนคอนขาง นอยแตก็ถือวามีความสําคญทางเศรษฐกิจ จึงมีขอเสนอแนวทางการแกไขดังนี้
7.1 สําหรบรัฐบาลลาว
- ที่ต้งของคลังสินคาตองกาหนดใหชัดเจนและจูงใจใหจัดเก็บสินคา
- กระตุนการสรางระบบขนสงรวมกันตลอดเสนทางเพ่ือไดประโยชนจาก รถบรรทุกของลาวที่เขาไปในไทยและเวียดนามได
- กระตุนการสรางการใหบริการตามขางทางท้งปมนํ้ามันและจุดแวะพัก
7.2 สําหรับการทองเท่ียว: รัฐบาลควรพัฒนาโดย
- สรางแรงจูงใจในการสรางโรงแรม
- ปรับปรุงเงื่อนไขถนนหนทาง
- ปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกในการทองเที่ยว เชน หองน้ํา ตลาด โรงแรม การดึงดูดนักทองเที่ยว
- บริการเร่ืองการทําวีซาที่ไมยุงยาก
- บริการเรื่องการแลกเปลี่ยนเงิน
- ทําการตลาดเชิงรุกเร่ืองการทองเที่ยว
- เนนที่การทองเท่ียวแบบย่ังยืน การทองเท่ียวเชิงอนุรักษ
- สรางความเชื่อมั่นเร่ืองวัตถุระเบิดที่อยูในเขตการทองเที่ยว
- ส่ิงอํานวยความสะดวกในสถานที่ทองเที่ยว เชน ที่จอดรถโดยสาร หองน้ํา สะอาด รานขายของที่ระลึก โดยดูแลถึงตนทุนการจัดการ การใหคําแนะนําการทองเที่ยวและ ภัตตาคารหรือหองเชาขนาดเล็ก
Zone: SASEZ)
7.3 สําหรับเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวันเซโน (Savanh Seno Special Economic
- สรางความพรอมระบบโครงสรางพื้นฐานภายในเขตนี้
- รัฐบาลทองถิ่นจูงใจดวยเรื่องภาษีและขอกําหนดเงื่อนไขตางๆ
- กฎเกณฑและขอบังคบการขามแดนควรเอื้อตอการขนสงสินคา
- จําเปนตองพัฒนาฝมือแรงงาน
- พัฒนากลยุทธการตลาดที่ดี
- เชิญชวนการลงทุนในรานคาปลอดภาษีและหางสรรพสินคา
- พื้นท่ีคลังสินคาควรสรางไวตลอดเสนทาง
- พื้นที่จัดเก็บสินคาควรลงทุนอยางมีศักยภาพตามกฎเกณฑและขอบังคับ
ของ 3 ประเทศที่ตองเปลี่ยนรถบรรทุกตลอดเสนทาง การปรากฏเพิ่มขึ้นของจีนในลาววันนี้
รายงานจากขอสังเกตของหนังสือพิมพทองถ่ินตั้งแตเดือนมีนาคม ค.ศ. 2007
ถึงกุมภาพนธ ค.ศ. 200925 จากการศึกษาของ Kazuhiro Fujimura (2009) พบวา การปรากฏเพิ่มข้ึน ของจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนประเด็นที่สื่อใหความสนใจเมื่อไมนานมานี้ โดยจีนพยายาม ทําใหมีความยืดหยุนมากที่สุด เชน การแลกเปลี่ยนของบุคลากรในระดับสูงรวมถึงการไปเยือนโดย เจาหนาท่ีระดับสูงสุดของรัฐบาลกลางก็เกิดขึ้นบอยครั้งระหวาง 2 ประเทศ นอกจากนี้ยังมีการ แลกเปลี่ยนทวิภาคีระหวางฝายที่ยึดถือหลักการใหเกียรติกับการใชกําลังทหาร แตจีนเนนการเขาไป ในลาวโดยการแสดงบทบาททางดานเศรษฐกิจ ปริมาณการคาแบบทวิภาคีเพิ่มขึ้นและจีนกลายเปน ผูลงทุนสูงสุดในลาว ความสัมพันธแบบทวิภาคีกําลังปรากฏในดานอื่นดวย อาทิ ดานสังคมและ การศึกษา/วัฒนธรรม รัฐบาลลาวเต็มใจที่จะรับความชวยเหลือและการลงทุนอยางเปนทางการ แตรัฐบาลลาวก็ยังมีความรูสึกท่ีซับซอนอยู
จีนมีความสําคัญตอลาวเน่ืองจากจีนกําลังกระชับความสัมพนธแบบทวิภาคีกบลาวรวมถึง จีนไดสรางกิจกรรมที่เสริมสรางความเขมแข็งในระดับชุมชนของสปป.ลาว ซึ่งพิจารณาไดจาก บทความตางๆในหนังสือพิมพภาษาอังกฤษทองถิ่น ตั้งแตเดือนมีนาคม 2007 ถึงกุมภาพันธ 2009
25 Kazuhiro Fujimura, “The increasing presence of China in Laos today: A report on fixed point observation of local newspapers”, from March 2007 to February 2009, Ritsumeikan Kokusai Chiiki Kenkyu, 30, 2009, pp.65-83.
ซ่ึงตางจากญี่ปุนที่ไมมีอิสระในการตีพิมพงานวิจัยเกี่ยวกับลาว จนกระทั่ง เมื่อ ค.ศ. 2008 ลาวออก กฎหมายใหสื่อมวลชนมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและกระตุนใหแสดงออกถึงสิ่งที่เรียกรองได ยกเวนสิ่งที่ขัดกับที่กฎหมายระบุหามไวชัดเจน เนื่องจากหนังสือพิมพภาษาอังกฤษทองถิ่นสามารถ เผยแพรขอเท็จจริงไดนอยกวาที่รัฐบาลตองการใหเผยแพร ผูเขียนจึงเห็นวาจําเปนตองเฝาติดตาม และพิจารณาอยางละเอียดถึงบทความเหลานี้เพ่ือเปาหมายในการทราบถึงความเคลื่อนไหวของจีน ในลาว โดยการนําขอมูลการสงเกตแบบเจาะประเด็นมาจาก Vientiane Times และ the KPL News
ความสัมพันธระหวางลาวกับจีนข้ึนอยูกับวันนี้ ลาวสรางความสัมพันธทางการทูตกับจีนเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1961 ซึ่งในสมัยนั้น
ความสัมพันธมีการพลิกผันไปมา มีสถานการณระหวางประเทศที่กําลังเปลี่ยนแปลง รวมถึงปญหา บานปลายของการเปนศัตรูระหวางเวียดนามกับกัมพูชาท่ีจีนใหการสนับสนุน การรุกรานกมพูชาของ เวียดนาม การปะทะทางทหารระหวางจีนกับเวียดนามและการถอนกองทัพทหารของเวียดนามออก จากกัมพูชา เนื่องจากเวียดนามถือเปนพี่ใหญของลาว ความสัมพันธกับจีนจึงแปรผันไปตาม 2 ประเทศนั้น ความสัมพันธแบบทวิภาคีคอยๆเพิ่มระดับขึ้นและพัฒนาอยางกวางขวางขึ้น การมา เยือนของผูนําทางการปกครองที่เกิดขึ้นเสมอในระดับรัฐบาล รัฐสภาและฝายนิติบัญญัติ ทั้ง 2 ประเทศมีความรวมมือดานการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรม การเปนที่ปรึกษาในระดับลึกซึ้งหรือ ความรวมมือของภูมิภาค ประธานาธิบดีจีนนายเจียงเจอหมิน (Jiang Zemin) เยือนลาวเปนครั้งแรก เมื่อเดือนพฤศจิกายน ป 2000 ทั้ง 2 ประเทศไดยืนยันขอตกลงรวมกันถึงความรวมมือในการพัฒนา อยางมั่นคงในระยะยาว การเปนประเทศเพ่ือนบานที่ดี มิตรภาพและสรางความไววางใจระหวางกัน และเมื่อ ค.ศ. 2006 ผูนําทั้ง 2 ประเทศไดเยี่ยมเยือนแลกเปลี่ยนกัน จนถึง ค.ศ. 2009 ท้ัง 2 ประเทศ มีสถานทูตในเมืองหลวงและลาวมีสถานกงสุลในคุนหมิงและฮองกง
การพัฒนาความสัมพันธแบบทวิภาคีในชวงเดือนมีนาคม 2007 ถึงกุมภาพันธ 2009
- การเยือนของผูนําระหวางกัน
ผูนําลาวเยือนจีนในหลายครั้ง ไดแก รวมงานเปดพิธีแขงขันโอลิมปก เมื่อ ค.ศ. 2008 การสรางความสัมพันธแบบทวิภาคีเพื่อพัฒนาทางเศรษฐกิจ การเกษตร ระบบโครงสรางพื้นฐาน พลังงาน เหมืองแร ความมั่นคงทางอาหาร เสนทางการบินและความรวมมืออนุภูมิภาคแมน้ําโขงเพื่อ สรางขอตกลงความรวมมือ 6 ประการ นอกจากนี้ยังไดเยือนหลายๆเมือง เพื่อความรวมมือดานการ ลงทุนรวมกันโดยเฉพาะในอาเซียนกับจีนและกลุมประเทศลุมแมน้ําโขง จากรายงานพบวามีความ สําเร็จในความรวมมือทางเศรษฐกิจ การคาและการลงทุน นอกจากนี้จีนยังใหเงินชวยเหลือลาว ในการซอมแซมถนน ใหเครดิตในการซื้อเครื่องบิน โครงการใยแกวนําแสงและโรงงานไฟฟา พลังถานหินในลาว เปนตน
- ความสมพันธระหวาง 2 ฝายและของกองทัพ การเยือนระหวางกันของผูนําคอมมิวนิสตทั้ง 2 ประเทศกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลง
ของรัฐบาลดังน มีความเห็นพองที่จะเพ่ิมความสัมพันธระหว าง 2 ฝายและ 2 ประเทศ มีการประชมุ
เพื่อหารือเรื่องเพิ่มความรวมมือระหวางลาวกับจีน แตเดิมกองทัพลาวซื้ออาวุธจากรัสเซียแตขณะนี้ เปลี่ยนมาเปนจีนแทน นอกจากนี้ยังมีการแลกเปลี่ยนทางทหารดวย
- ขอผูกพันดานเศรษฐกิจ รัฐบาลจีนและบริษัทเอกชนในจีนกําลังสงเสริมใหทํากิจกรรมทางเศรษฐกิจภายใน
ประเทศและกับลาว พบวามีการสงออกจากลาวไปยังจีนเพิ่มขึ้น อาทิ ไมซุงและผลิตภัณฑจากไม ขาวโพด ผลผลิตจากเหมืองแรและปาไม เสื้อผา อุปกรณทางอุตสาหกรรม วัตถุดิบ อุปกรณกอสราง และเครื่องจักรทางการเกษตร จนกระทั่งจีนเปนผูลงทุนในลาวสูงพอๆกับไทยและเวียดนาม ตอมา จีนลงทุนดานพลังงานนํ้ากับลาวในการผลิตกระแสไฟฟา ทําเหมืองแรแซฟไฟร ทองคํา โรงงานทํา ปูนซีเมนต สวนดานการเกษตรรวมกันทําโรงยางและมันสําปะหลังในการผลิตพลังงานชีวภาพ แตเมื่อราคายางตกลงจีนตองการเปลี่ยนจากการปลูกยางเปนพืชที่ทํากําไรชนิดอ่ืน เชน การปลูก ผลไมและขาวเพื่อบริโภคภายในประเทศและสงออกดวย นอกจากนี้จีนยังชวยเหลือลาวในการสราง สนามกีฬาเมื่อลาวเปนเจาภาพกีฬาซีเกมสดวย ดานการขนสงจีนชวยเหลือลาวในการปรับปรุง สนามบิน การสรางถนนและการซอมสะพานอีก 5 แหง โดยใหเงินกูดอกเบี้ยระดับต่ํา จีนยังมีสวน ชวยดานการทองเท่ียวทั้งการจัดสรรที่ดินและการสรางโรงแรมอีกดวย
- ความสัมพันธระหวางลาวกับจีนในดานอื่นๆ
1. ดานยาเสพติด รัฐบาลจีนใหทุนสนับสนุนในการสรางศูนยฟนฟูและรักษาผูติดยาเสพติดในลาว
2. การดําเนินคดี
ทั้ง 2 ประเทศสนับสนุนความรวมมือในการดําเนินคดีของรัฐ มณฑลยูนนานใหความ ชวยเหลือเจาหนาท่ีหลายเมืองของลาวผานการฝกอบรมดานการดําเนินคดี
3. สหภาพการคา
มีการแลกเปลี่ยนแบบทวิภาคีเกิดขึ้นระหวางสหภาพการคา จีนใหเจาหนาที่สหภา พการคาหลายแหงของลาวมาฝกอบรมในจีน
4. ดานการศึกษาและวัฒนธรรม จีนใหทุนสนับสนุนการปรับปรุงดานโทรทัศนและวิทยุในลาว โดยลาวก็อนุญาตใหจีน
เขาไปตั้งบริษัทบริการเคเบิ้ลทีวีและอินเทอรเน็ตในลาวถึง 20 ป และจีนยังตั้งระบบรายการออก อากาศทางโทรทัศนของจีนในลาวเปนภาษาจีนและภาษาอังกฤษ นอกจากนี้ยังทําสัญญาใหบริการ
สัญญาณดาวเทียมกับฮองกงดวย สวนดานการศึกษามีการตั้งมหาวิทยาลัยซูโจว (Soochow University) ข้ึนในลาวโดยใหทุนการศึกษาแกนักศึกษาระดับปริญญาตรีและโท รวมถึงการใหทุน ไปศึกษาตอที่จีน
5. ดานบรรเทาภัยพิบัติและการปองกันโรคระบาด ลาวและจีนเตรียมการสรางศูนยรายงานแผนดินไหวขึ้น 2 แหง เปนคร้ังแรกในลาว
และเมื่อครั้งจีนเกิดแผนดินไหวครั้งใหญ ลาวก็เสนอเงินชวยเหลือแกจีนเชนกัน นอกจากน้ีใน เหตุการณน้ําทวมแมน้ําโขงในลาวเหนือจนถึงลาวใต รัฐบาลจีนก็บริจาคเงินชวยเหลือประชาชนลาว ท่ีประสบอุทกภัยนั้น สวนดานการปองกันโรคระบาดเมื่อครั้งอหิวาตกโรคระบาดในลาว จีนก็สง ยารักษาโรค เวชภัณฑและเงินชวยเหลือมาให
6. ปฏิบัติการในระดับทองถ่ิน
จีนใหเงินสนับสนุนผูวาการเมืองพงสาลี (Phongsaly) เพื่อพัฒนาการทํางานและมี การทําบันทึกความเขาใจระหวางกันเพ่ือสงเสริมการปลูกยูคาลิปตัส รวมถึงการออกทุนในการสราง ตลาดและโรงแรมหางจากสะหวันเขตไป 30 กิโลเมตร ประมาณรอยละ 80 ของธุรกิจจีนในลาวมา จากมณฑลยูนนานและมีแผนจะพัฒนาอีก 9 เมืองในลาวดานระบบโครงสรางภายใน อุตสาหกรรม และหัตถกรรม รวมถึงความรวมมือระหวางเมืองในลาวเหนือกับมณฑลยูนนานในดานการคา การลงทุน การเกษตรและการทําปาไม
ท นี้สรุปวาจีนมีความสัมพันธที่หลากหลายและเหนียวแนนกับลาว ซ่ึงจีนมักเลือกโครงการ
ทั้งภายในและภายนอกเวียงจันทนที่สําคัญ เชน การสรางสนามกีฬาใหลาวเม่ือครั้งเปนเจาภาพ ซีเกมส สรางศูนยวัฒนธรรมแหงชาติ ในดานการทูตรัฐบาลลาวพยายามไมพึ่งพาจีนมากเกินไปแต ใชการสรางความสมดุลทางการทูต โดยสรางขอผูกมัดที่เขมแข็งกับชาติอื่นในภูมิภาคท่ีมีอํานาจและ เปนมิตรกัน นอกจากนี้ลาวยังใหความรวมมือกับญ่ีปุนเปนอยางดีโดยมีการสื่อสารระหวางประเทศ อาเซียนและญี่ปุนใหดําเนินไปอยางราบรื่น นอกจากนี้ผูนําลาวยังเยือนประเทศตางๆอีกหลาย ประเทศรวมถึงสหรัฐอเมริกาดวย ในภาพรวมแลวรัฐบาลลาวยังคงจัดการความสัมพันธกับจีนโดย รักษาสมดุลของอํานาจตามนโยบายตางประเทศ ขณะที่เรื่องภายในประเทศคนลาวก็ยังมีความรูสึก ท่ีซับซอนเกรงวาจะมีการปรากฏของจีนในลาวเพ่ิมข้ึนมากเกินไป
กลาวไดวาการศึกษาวิจัย “บรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม” เปนการใชกรอบ แนวคิดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) แนวคิดภูมิรัฐศาสตร (Geo-politics) แนวคิดภูมิเศรษฐศาสตร (Geo-economics) และแนวคิดการบูรณาการความรวมมือ ในภูมิภาค (Regional Integrations) รวมทั้งงานวิจัยที่เก่ียวของกับบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาว และเวียดนาม ดังที่กลาวมาขางตนเพื่อนําไปสูการคนหาตําตอบวา “ทําไมจีนจึงสนใจเขามาลงทุน
ในสปป.ลาวและเวียดนาม” และการลงทุนของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนามนั้นจะ สงผลกระทบตอสปป.ลาวหรือเวียดนามอยางไร และมีนัยสําคัญตอประเทศไทยอยางไร รวมทั้ง ประเทศในภูมิภาคลุมแมน้ําโขงในอนาคต
ขอมูลพ้ืนฐานสปป.ลาวและเวียดนาม
การศึกษา “บรรษัทขามชาติจีนในลาวและเวียดนาม” ซึ่งถือวาเปนประเทศที่มีพรมแดน
ทางภูมิศาสตรติดตอกัน ระบบการเมืองการปกครองท่ีเสมือนกัน รวมท้งมีความใกล ิดทางสงคมและ
วัฒนธรรม ซึ่งในการศึกษาทําใหสามารถเขาใจขอมูลพื้นฐานของท้ังสองประเทศ ในบทนี้จะกลาวถึง ขอมูลพื้นฐานของสปป.ลาวและเวียดนาม รูปแบบการลงทุนในสปป.ลาวและเวียดนาม รวมถึง ศักยภาพของสปป.ลาวและเวียดนาม กลาวคือ
3.1 ขอมูลพ้ืนฐานของสปป.ลาวและเวียดนาม
3.1.1 ขอมูลพ้ืนฐานของ สปป.ลาว1 ขอมูลทั่วไป
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People's Democratic Republic: Lao PDR) หรือเรียกยอๆวา สปป.ลาว ซึ่งเปนประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึ่งไมมีทางออกสูทะเล (Land Locked) มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร (ประมาณครึ่งหน่ึงของประเทศไทย) เนื่องดวย ตลอดแนวชายแดนของสปป.ลาว ซึ่งมีความยาวรวม 5,083 กิโลเมตร ลอมรอบดวยชายแดนของ ประเทศเพื่อนบาน 5 ประเทศ ซึ่งทิศเหนือติดกับจีน ทิศใตติดตอกับกัมพูชา ทิศตะวันออกติดกับ เวียดนาม ทิศตะวันตกติดกับไทยและพมา
ใน ค.ศ. 2010 สปป.ลาว มีประชากรท้ังส้ิน 6,993,767 ลานคน ซึ่งแบงออกเปน 3 ชวงอายุ โดยประชากรสวนใหญอยูในวัยทํางาน คือ มีอายุระหวาง 15-64 ป ประมาณ 3.95 ลานคนหรือ รอยละ 56.5 ของประชากรทั้งหมด รองลงมาอายุระหวาง 0-14 ป มีประมาณ 2.82 ลานคนหรือ
รอยละ 40.5 และอายุตั้งแต 65 ปข้ึนไป ประมาณ 0.21 ลานคนหรือรอยละ 3.1 ทั้งนี้แมวา สปป.ลาว จะมีประชากรเพียง 6.9 ลานคน แตประชากรสปป.ลาวกลับมีเช้ือชาติที่หลากหลาย โดยมีเชื้อชาติ ลาวลุมมากท่ีสุดรอยละ 68 รองลงมาเปนลาวเทิงรอยละ 22 ถัดมาเปนลาวสูงรอยละ 9 และชนเผา
รอยละ 1 รวมประมาณ 68 ชนเผา ซึ่งในสปป.ลาวประชาชนสวนใหญนับถือศาสนาพุทธรอยละ 75 รองลงมานับถือผีรอยละ 17 ที่เหลือนับถือศาสนาคริสต ประมาณ 100,000 คน และอิสลาม ประมาณ 300 คน
1 สถาบนระหวางประเทศเพื่อการคาและการพฒนา, คูมือลงทุนดานการเกษตรในสปป.ลาว, 2553 หนา 1-4.
สปป.ลาว มีระบบการปกครองแบบสังคมนิยมมีพรรคการเมืองพรรคเดียว คือ พรรค ประชาชนปฏิวัติลาว (Lao People’s Revolutionary Party) ซ่ึงเปนองคกรที่มีอํานาจสูงสุดในการ ช้ีนําการปกครองภายในประเทศ เริ่มเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 1975 (พ.ศ. 2518) ปจจุบันมีทานพล โทจูมมะลี ไชยะสอน เปนประธานประเทศและมีทานทองสิง ทํามะวง เปนนายกรัฐมนตรี2 นอกจากนี้ ยังมีสภาแหงชาติ ท่ีประกอบไปดวยสมาชิกจํานวน 115 คน ที่ประชาชนเปนผูเลือกจากผูที่พรรค ประชาชนปฏิวัติลาวเสนอ
เขตการปกครองในสปป.ลาวมีทั้งหมด 16 แขวง และ 1 เขตปกครองพิเศษ (นครหลวง เวียงจันทน) 139 เมือง (อําเภอ) โดยแตละเมืองแบงออกเปนบาน (หมูบาน) รวม 10,027 บาน และ แบงพื้นที่ตามภูมิศาสตรจะมี 3 ภาคคือ ภาคเหนือ มี 7 แขวง ไดแก พงสาลี หลวงน้ําทา อุดมไซย บอแกว หลวงพระบาง หัวพันและไชยยะบุรี ภาคกลาง มี 1 เขตปกครองพิเศษ นครหลวงเวียงจันทน และ 5 แขวง ไดแก เชียงขวาง เวียงจันทร บอลิคําไซ คํามวนและสะหวันนะเขต ภาคใตมี 4 แขวง ไดแก สาละวัน เซกอง จําปาสกและอันตะปอ โดยแตละแขวงจะมีเจาแขวงเปนผูปกครองสูงสุด
ระบบเศรษฐกิจและสังคม
- ระบบเศรษฐกิจ สปป.ลาวมีการปฏิรูปจากระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมสูระบบเศรษฐกิจระบบตลาดเมื่อ
ค.ศ. 1986 จนถึงปจจุบันดวยการนํา “นโยบายจินตนาการใหม” (New Economic Mechanism: NEW) มาใช ซึ่งสปป.ลาวมีผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) ใน ค.ศ. 2009 ประกอบดวยภาค การเกษตรรอยละ 29.9 ภาคอุตสากรรมรอยละ 33.10 ภาคบริการรอยละ 37.00
การลงทุนใน ค.ศ. 2008 มีการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ (FDI) รวม 152 โครงการ มูลคารวมประมาณ 1,215 ลานเหรียญสหรฐอเมริกา สาขาที่มีการลงทุนมากที่สุด คือ สาขาพลังงาน ไฟฟา 640 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา รองลงมาเปนสาขาอุตสาหกรรมและหัตกรรม 156 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา สาขาเหมืองแร 102 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา สาขาเกษตร 78 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา และสาขาการกอสราง 56.5 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา เปนตน
- การใชที่ดินภาคการเกษตร
การใชที่ดินของสปป.ลาว เม่ือ ค.ศ. 2008 เน้ือที่ทั้งประเทศของสปป.ลาว จํานวน 148 ลาน ไร มีพ้ืนที่เปนปาไม 100.4 ลานไรหรือรอยละ 67.84 ของเนื้อท่ีทั้งหมด รองลงมาเปนเนื้อที่การเกษตร
30.55 ลานไรหรือรอยละ 20.64 ของเนื้อที่ท้ังหมด โดยจะเปนเนื้อที่นา 12.27 ลานไรหรือรอยละ
2 ทรงฤทธิ์ โพนเงิน “จูมมะลี”ควบอํานาจสูงสุดในลาวตออีก 5 ป http://www.oknation.net/blog/mekong/ 2011/07/04/entry-1 (สืบคนเมื่อ 12/12/2011)
8.29 ของเน้ือที่ท้งหมด3 โดยมีพื้นท่ีที่มีการชลประทาน เน้ือที่ชลประทานฤดูฝนรวมทุกประเภท 2.10 ลานไร คิดเปนรอยละ 29 ของเนื้อที่การเกษตรท้ังประเทศ สวนเนื้อที่ชลประทานฤดูแลงมี 1.24 ลาน ไรหรือเทากับรอยละ 17 ของเนื้อท่ีการเกษตรทั้งหมด
- ภาวะเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจของสปป.ลาวมีพัฒนาการที่ดีข้ึนตามลําดับโดยในชวง 20 ปนับตั้งแตปรับ เปล่ียนระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมสูระบบเศรษฐกิจเสรีการตลาด สปป.ลาวมีการขยายตัวทาง เศรษฐกิจอยางตอเนื่องในอัตราเฉลี่ยรอยละ 6.2 ตอปประชากรมีรายไดเพิ่มขึ้นจากประมาณ 200 เหรียญสหรัฐอเมริกา เมื่อ ค.ศ. 1986 เปน 491 เหรียญสหรัฐอเมริกา ใน ค.ศ. 2005 ภาคอุตสาหกรรมขยายตัวในอัตราไมตํ่ากวา รอยละ 10 ตอป โดยอุตสาหกรรมพลังงานไฟฟาเปน สาขาหลกท่ีสรางรายไดใหแกประเทศ
ใน ค.ศ. 2005 สปป.ลาวมีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจรอยละ 7.2 เพิ่มจากรอยละ 6.6 ใน ค.ศ. 2004 ภาคเกษตรกรรม มีพื้นที่เพาะปลูกเพ่ิมขึ้น 190,000 เฮกตาร (1,187,500 ไร) และผลิต ขาวได 2.6 ลานตัน ภาคอุตสาหกรรม รัฐบาลสปป.ลาวไดอนุมัติสัมปทานโครงการไฟฟาพลังนํ้า เหมืองแร (เชน ทองคํา ทองแดง ดีบุก ถานหิน สังกะสีและยิปซั่ม เปนตน) โครงการผลิตซีเมนตและ เหล็กในหลายพื้นท่ีเพื่อเพิ่มการสงออก ดานการคมนาคมขนสง การกอสรางถนนเชื่อมโยงลาวกับ ประเทศในอนุภูมิภาคมีความคืบหนาอยางมาก ถนนท่ีสรางแลวเสร็จ ไดแก ถนนหมายเลข 9 (ไทย- ลาว-เวียดนาม) และถนนหมายเลข 18 B (ลาว-เวียดนามตอนใต) ในขณะท่ีถนนหมายเลข 3 (ไทย- ลาว-จีน) ถนนหมายเลข 8 และหมายเลข 12 (ไทย-ลาว-เวียดนาม)
- การคาการลงทุน
การลงทุนรฐบาลลาวไดปรับปรุงกฎระเบียบเพ่ือเสริมสรางบรรยากาศใหเอื้ออํานวยตอการ ลงทุนมากยิ่งขึ้น เชน มาตรการดานภาษี อนุญาตใหนครหลวงเวียงจันทน แขวงจําปาสักและแขวง หลวงพระบาง มีอํานาจอนุมัติโครงการลงทุนที่มีมูลคาไมเกิน 2 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา สวนแขวง อ่ืน ๆ สามารถอนุมัติโครงการลงทุนที่มีมูลคาลงทุนไมเกิน 1 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา ทําใหการ ลงทุนจากตางประเทศในลาวมีแนวโนมเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่อง โดยใน ค.ศ. 2003 มีมูลคา 465 ลาน เหรียญ ค.ศ. 2004 มีมูลคา 533 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา และ ค.ศ. 2005 มีมูลคา 1.6 พันลาน เหรียญสหรัฐอเมริกา นักลงทุนท่ีสําคัญ ไดแก ไทย เวียดนาม ฝรั่งเศส ออสเตรเลียและจีน เปนตน
3 สถาบันวิจัยกสิกรรมและปาไมแหงชาติ (NAFRI), สปป.ลาว, 2008. ดูเพิ่มเติม www.boi.go.th/thai/clmv/ Back_index/2010_laos_0.html (สืบคนเมื่อ 12/12/2011)
- โครงการความรวมมือในภูมิภาค
การรวมกลุมประเทศอาเซียน สปป.ลาวไดเขาเปนสมาชิกอาเซียนเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1997 ไดเปนประธานคณะกรรมการประจําอาเซียนเม่ือกรกฎาคม ค.ศ. 2004 โดยไทยไดใหความ รวมมือแกสปป.ลาว เพื่อใหสามารถมีสวนรวมในอาเซียนไดอยางทดเทียมกับประเทศสมาชิกอาเซียน เกา ทั้งในกรอบความริเร่ิมเพื่อการรวมตัวของอาเซียน การใหสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร รวมทั้งให ความรวมมือแกลาวเพื่อเตรียมความพรอมในโอกาสท่ีลาวเปนเจาภาพจัดการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งท่ี 10 ค.ศ.2004 โดยไดจัดการดูงานใหเจาหนาท่ีลาว ใหการสนับสนุนดานวัสดุอุปกรณสําหรับ จัดตั้งศูนยขาว มูลคาประมาณ 11.80 ลานบาท และใหความชวยเหลือทางการเงินเพื่อปรับปรุง สนามบินวัดไตมูลคาประมาณ 320 ลานบาท4
ยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจอิระวดี-เจาพระยา-แมโขง (Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy: ACMECS) ลาวมีสวนรวมในกรอบ ACMECS อยางแข็งขันและสปป.ลาวไดเปนประธานการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อปรับ ACMECS Plan of Action และทบทวนโครงการความรวมมือในสาขาตาง ๆ ระหวางวันที่ 1-2 มิถุนายน ค.ศ. 2006 ที่กรุงเทพฯและเปนเจาภาพจัดการประชุม ACMECS ระดับรัฐมนตรีที่เมืองดอนโขง แขวง จําปาสัก ระหวางวนที่ 3-4 กรกฎาคม ค.ศ. 20065
ความรวมมือในกรอบสามเหลี่ยมมรกต ลาวเปนเจาภาพจัดการประชุมระดับรัฐมนตรี ความรวมมือในกรอบสามเหล่ียมมรกต ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 2003 ที่แขวงจําปาสัก ที่ ประชุมไดเห็นชอบปฏิญญาวาดวยความรวมมือดานการทองเท่ียว ซึ่งมีสาระสําคัญมุงใหความ สําคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมการทองเท่ียว เพ่ือชวยกระตุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของ ประเทศสมาชิกและไดกําหนดพ้ืนที่ความรวมมือเพื่อผลักดันใหกรอบความรวมมือมีความเดนชัด คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ภาคตะวันตกเฉียงเหนือของกัมพูชาและภาคใตของลาว ทั้งนี้ไทย ไดจัดสรรงบประมาณ 2 ลานบาท ในโครงการปรับปรุงศูนยขอมูลขาวสารการทองเที่ยวสามเหล่ียม มรกตที่แขวงจําปาสักดวย
- ดานสังคมและการพฒนา
ลาวยังคงประสบปญหาที่ตองเรงแกไขท่ีสําคัญไดแก ปญหาราคาน้ํามันที่เพ่ิมสูงขึ้น ปญหา การขาดดุลการคาในอัตราสูง คาเงินกีบไมมีเสถียรภาพ การจัดเก็บรายไดต่ํากวาเปาหมายและ ปญหาการฉอราษฎรบังหลวง เปนตน
4 www.thaisavannakhet.com/vientiane/th/.../cooperation3/ (Retrieved December 12, 2011)
5 http://www.ounon19.com/relation_Thai_Laos2.htm (Retrieved December 12, 2011)
3.2 ขอมูลพ้ืนฐานของเวียดนาม6
3.2.1 ขอมูลทั่วไป
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) ตั้งอยูในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกฉียงใต ทิศเหนือติดกับจีน ทิศใตและทศตะวันออกเฉียงใตติดกับอาวไทย ทิศตะวันออกติด ทะเลจีนใต ทิศตะวันตกติดกับสปป.ลาวและกัมพูชา เวียดนามมีประชากรประมาณ 90.5 ลานคน (กรกฎาคม ค.ศ. 2011)7 มีเชื้อชาติเวียดนามประมาณรอยละ 85-90 สวนที่เหลือเปนจีน Hmong ไทย เขมร Cham และชาวเขาเผาตางๆ (Mountain Groups) มีการนับถือศาสนาพุทธ (นิกาย มหายาน) รอยละ 70 สวนท่ีเหลือนับถือศาสนาศริสต (สวนใหญนับถือนิกายโรมันคาทอลิก), Hao Hao, Cao Dai, ศาสนาอิสลามและความเชื่อท่ีสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ (Indigenous Beliefs)
การเมืองและการปกครอง เวียดนามปกครองดวยระบบสงคมนิยมคอมมิวนิสต โดยมีพรรค คอมมิวนิสตเวียดนาม (Communist Party of Vietnam: CPV) เปนพรรคการเมืองเดียวในประเทศ ทําใหมีบทบาทอยางมากในการกําหนดแนวทางการบริหารประเทศในทุกดาน โครงสรางการปกครอง ของเวียดนามแบงเปน 3 ระดับ ที่สําคัญไดแก (1) สภาแหงชาติ (The National Assembly) เปน องคกรฝายนิติบญญตั ิ ประกอบดวยสมาชิกท่มาจากการเลอกตั้งจํานวน 498 คน ท้งนี้สภาแหงชาติมี อํานาจในการแกไขรัฐธรรมนูณและการออกกฎหมายตางๆของเวียดนาม นอกจากนี้ยังมีอํานาจให ความเห็นชอบในการแตงตั้งถอดถอนประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรีและรองนายกรัฐมนตรี ปจจุบัน สภาแหงชาติเปดโอกาสใหสมาชิกสภาฯ สามารถซักถามการบริหารงานของรัฐบาลเปนรายบุคคลได ระหวางสมัยประชุม (2) องคกรฝายบริหาร ทําหนาที่กําหนดนโยบายและบริหารประเทศ โดยผูท่ีมี บทบาทสําคัญทางการเมืองในเวียดนาม มี 3 คน ซึ่งดํารงตําแหนงตางๆดังนี้ เลขาธิการพรรคฯ ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี และ (3) รัฐบาลทองถิ่น (People’s Committee of Province) เวียดนามมีสภาประชาชนและคณะกรรมการประชาชนประจําทองถิ่นเปนองคกรบริหารสูงสุดประจํา ทองถิ่น โดยรัฐบาลทองถิ่นจะบริหารงานตามกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎระเบียบที่รัฐบาลกลางได
บญญ
ิไว
3.2.2 ความสัมพันธระหวางประเทศ
เวียดนามเขาเปนสมาชิกของกลุมอาเซียน (ASEAN) เม่ือวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1995
และเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1997 เขาเปนสมาชิกของกลุม APEC นอกจากนี้เวียดนามยังจัดทํา
6 ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศ, สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam), ขอมูล ณ เดือนพฤษภาคม 2005 หนา 1-25.
7 https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/vm.html (Retrieved December 12, 2011)
ขอตกลงการคาทวิภาคีกับประเทศตางๆ เชน สหรัฐอเมริกาอเมริกา คิวบา อารเจนตินา บราซิล ชิลี เปนตน และเม่ือ ค.ศ. 2004 เวียดนามลงนามในความตกลงการคาทวิภาคีกับ EU เมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 2004 และกับสิงคโปรเมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2004 การลงนามในความตกลงดังกลาวเปน ความพยายามของเวียดนามท่ีจะเขาเปนสมาชิก WTO ไดใน ค.ศ. 2005
นอกจากน้ี จีนกับเวียดนามยังมีความขัดแยงระหวางประเทศในเรื่องกรรมสิทธิในการ ปกครองหมูเกาะ Spratly และหมูเกาะ Paracel ในทะเลจีนใต ซึ่งยังคงเปนปญหาความขัดแยง ระหวางเวียดนามกับจีน ฟลิปปนส บรูไน ไตหวันและมาเลเซีย แมวาที่ผานมาเวียดนามจะไดเปด เจรจาเพื่อแกไขปญหาความขัดแยงดังกลาวกับบางประเทศ เชน ฟลิปปนสและจีนแลว แตความ ขัดแยงก็ยังคงเกิดขึ้นเปนระยะๆ โดยลาสุดรัฐบาลเวียดนามออกมาประกาศย้ําถึงสิทธิในการ ครอบครองอธิปไตยเหนือหมูเกาะ Spratly ของเวียดนามอีกคร้ัง (หลังจากท่ีรัฐบาลจีนไดประกาศ แสดงความเปนเจาของเหนือหมูเกาะ Spratly และนานนํ้ารอบหมูเกาะดังกลาวเชนกัน)
3.2.3 เศรษฐกิจการลงทุนจากตางประเทศ
นบต้ังแต ค.ศ. 1986 เปนตนมา รฐบาลเวียดนามไดเรงปฏิรูประบบเศรษฐกิจอยางตอเน่ือง ภายใตนโยบายโดยเหมย (Doi Moi) ซึ่งสงผลใหเศรษฐกิจของเวียดนามขยายตัวอยางรวดเร็ว ขณะเดียวกันการดําเนินนโยบายท่ีเปดรับการลงทุนจากตางประเทศมากขึ้นทําใหเวียดนามกลับ กลายเปนแหลงดึงดูดการลงทุนท่ีไดรับความสนใจเปนอยางมากจากนักลงทุนตางชาติ
ปจจัยสําคัญที่สนับสนุนใหเวียดนามเปนประเทศที่นาลงทุน ไดแก
- การเมืองในประเทศมีเสถียรภาพ เวียดนามปกครองดวยระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียวคือ พรรคคอมมิวนิสตเวียดนาม ซึ่งมีบทบาทในการกําหนดแนวทาง
กาบริหารประเทศในทุกดาน ขณะเดียวกนผ ําประเทศมีความมงม่ันท่ีจะพัฒนาประเทศอยางจรงจงัิ
สงผลใหการดําเนินนโยบายทางเศรษฐกิจของเวียดนามเปนไปอยางตอเนื่อง ซึ่งชวยสรางความมั่นใจ ใหแกนักลงทุนที่เขาไปประกอบธุรกิจในเวียดนาม
- ทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ โดยเฉพาะทรัพยากรพลังงานและแรธาตุ เชน การมี แหลงนํ้ามันดิบกระจายอยูท่ัวทุกภาค ทําใหเวียดนามเปนประเทศผูสงออกน้ํามันดิบที่สําคัญใน ภูมิภาคอาเซียน นอกจากนี้วียดนามยังมีปริมาณเช้ือเพลิงสํารอง เชน กาซธรรมชาติ ปโตรเลียมและ ถานหินอยูในระดับสูง อีกทั้งยังมีแรธาตุสําคัญ เชน บอกไซต โปแตสเซียมและเหล็ก รวมท้ัง ทรพยากรปาไม ซึ่งลวนเปนวตถุดิบสําคญสาหรับการลงทุน ในสวนของทรัพยากรดินและน้ําที่มีอยาง เพียงพอทั้งในดานปริมาณและคุณภาพ ซึ่งเอื้อตอการเพาะปลูกสงผลใหเวียดนามเปนแหลงผลิต สินคาเกษตรหลายรายการจนติดอันดับประเทศผูสงออกสินคาเกษตรรายใหญของโลก เชน พริกไทย
(อันดับ 1 ของโลก) ขาว (อันดับ 2 ของโลก รองจากไทย) กาแฟ (อันดับ 2 ของโลก รองจากบราซิล)
เม็ดมะมวงหิมพานต (อันด 3 ของโลก) และอาหารทะเล (อนดบัั 6 ของโลก)
- การเปนตลาดขนาดใหญที่มีศักยภาพ เวียดนามมีประชากรสูงถึง 90.5 ลานคน นอก จากนี้การที่เวียดนามปดประเทศมานานทําใหประชากรไมมีทางเลือกในการใชจายเงิน อยางไรก็ตาม หลังจากเปดประเทศ ชาวเวียดนามตางก็ตื่นตัวกับสินคาและบริการใหมๆ ทําใหมีการจับจายใชสอย มากขึ้น ประกอบกับชาวเวียดนามเร่ิมมีกําลังซ้ือมากขึ้น ตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่อยูในชวง ขาขึ้น ประกอบกับปริมาณเงินโอนกลับประเทศของชาวเวียดนามโพนทะเล (Viet Kieu) อยูใน ระดับสูง นอกจากนี้ชาวเวียดนามสวนใหญมีความตองการสินคาอุปโภคบริโภค (โดยเฉพาะสินคาที่ มีคุณภาพดี) จํานวนมากและเพิ่มขึ้นทุกป ท้ังนี้ประชากรท่ีมีกําลังซื้อสูงสวนใหญอาศัยอยูในนคร โฮจิมินหและเมืองรอบนอก ฮานอยและเมืองตางๆ บริเวณใกลสามเหล่ียมปากแมน้ําโขง ซึ่งเปนเมือง สําคัญทางเศรษฐกิจ
- การเนนนโยบายเปนมิตรกับทุกประเทศและใหความสําคัญกับความปลอดภัย ซึ่งเปน
สิ่งสําคัญที่ทําใหนักลงทุนเกิดความเชื่อมั่นและกลาตัดสินใจเขามาลงทุน ทั้งนี้ดานความปลอดภัย และการสรางความสงบสุขเวียดนามมีกฎหมายท่ีเข็มงวดและมีบทลงโทษรุนแรง ทําใหเวียดนามแทบ ไมมีปญหาอาชญากรรมขั้นรายแรง
- เวียดนามใหความสําคัญกับการพัฒนาเสนทางคมนาคมขนสงทั้งทางบก ทางน้ําและ ทางอากาศ ตลอดจนสาธารณูปโภคตางๆท่ีเกี่ยวเนื่องใหมีความสะดวกและทนสมัยยิ่งขึ้น เพื่อรองรับ การขยายตัวของการคาและการลงทุน โดยเฉพาะการพัฒนาเสนทางหมายเลข 9 ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ โครงการพัฒนาเสนทางระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (West-West Economic Corridor: EWEC) ซึ่งจะชวยใหการเดินทางและการขนสงสินคาระหวางไทย-ลาว-เวียดนามสะดวกรวดเร็วขึ้น
- ความไดเปรียบดานแรงงาน ประชากรในเวียดนามประมาณรอยละ 65 อยูในวัยทํางาน (มีอายุระหวาง 15-64 ป) และอัตราการรูหนังสือของชาวเวียดนามสูงกวารอยละ 90 ทําใหเวียดนาม มีแรงงานจํานวนมากพอที่มีความสามารถทํางานในอุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูงและในภาค การเงินไดอยางมีประสิทธิภาพ ขณะท่ีแรงงานไรฝมือในเวียดนามมีอัตราคาจางคอนขางต่ําเมื่อเทียบ กับหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต
- นโยบายสงเสริมการลงทุนของรัฐบาลเวียดนามที่ผานมารัฐบาลเวียดนามไดมีการ ปรบปรุงกฎระเบียบตางๆ ใหเอื้อตอการลงทุนจากตางประเทศ ที่สําคญไดแก
1. การยกเวนภาษีนําเขาวัตถุดิบ ซึ่งใชผลิตสินคาเพื่อสงออกภายในเวลาไมเกิน
270 วนั นับตั้งแตวันท่ีนําเขาวัตถุดิบ เพื่อสนบสนุนการผลิตเพื่อการสงออก
2. การอนุญาตใหนักลงทุนตางชาติสามารถสงผลกําไรกลับประเทศไดอยางเสรี โดยลาสุดรัฐบาลเวียดนามประกาศยกเลิกการเก็บภาษีจากผลกําไรที่โอนกลับ ประเทศ (Profit Remittance Tax)
3. การอนุญาตใหกิจการที่ถือหุนโดยชาวตางชาติ 100 เปอรเซ็นต การโอนผล ขาดทุนสะสม (Loss Forward) ไปหักกลบลบหน้ีกับผลกําไรในปตอๆไปไดอีก
5 รอบระยะเวลาบัญชี เชน เดียวกับกิจการที่ถือหุนโดยชาวเวียดนาม 100
เปอรเซ็นต และกิจการท่ีชาวเวียดนามรวมทุนกับชาวตางชาติ
4. การปฏิรูประบบภาษีเงินไดนิติบุคคลและภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา รวมทั้งการ ทยอยยกเลิกระบบสองราคา เพื่อใหเกิดความเทาเทียมกันระหวางนักลงทุน ตางชาติกับนกลงทุนชาวเวียดนาม
นอกจากนี้รัฐบาลเวียดนามยังจัดทําขอตกลงเพื่อสงเสริมและคุมครองการลงทุนและขอ ตกลงเพ่ือการเวนการเก็บภาษีซอนกับประเทศตางๆรวมทั้งไทยดวย และการมีสวนรวมในประชาคม โลก เชน การเปนสมาชิกกลุมอาเซียน เอเปค การจัดทําขอตกลงการคาทวิภาคีกับสหรัฐอเมริกา การ สรางความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานภายใตกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจอิระวดี-เจาพระยา- แมโขง (ACMECS) และกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (GMS) รวมทั้งการ เขาเปนสมาชิกขององคการการคาโลก (WTO)
3.3 จีนกบการลงทุนในสปป.ลาวและเวียดนาม การลงทุนขามชาติของจีนในตางประเทศไดอาศัยความสามารถในการแขงขันและการยาย
ฐานการผลิตไปยังประเทศที่มีโอกาสทางเศรษฐกิจ โดยมีวิสาหกิจจีนที่มีการขยายออกไปลงทุนใน ตางประเทศ มี 3 ประเภทคือ (1) กิจการการผลิต (Production Sector) ทั้งการผลิตในภาค เกษตรกรรม (Agricultural Processing) ภาคอุตสาหกรรม (Manufacturing) และเหมืองแร (Mining) (2) กิจการการคา (Trading Sector) ทั้งการคาสง (Wholesale) และการคาปลีก (Retail)
(3) กิจการบริการ (Service Sector) โดยในสวนของการแบงประเภทกิจการตามเกณฑขนาดธุรกิจวา กิจการน้นๆ เปนกิจการขนาดยอม ขนาดกลางและขนาดใหญ
การขยายอิทธิพลของจีนในสปป.ลาวและเวียดนามน้ัน พบวา ทั้งสามประเทศตางมีการ เชื่อมโยงทางเศรษฐกิจทั้งการเชื่อมโยงทางภูมิศาสตรระหวางกันและกัน ตลอดจนการเชื่อมโยงกับ เศรษฐกิจกับประเทศอื่นๆในภูมิภาค ซึ่งโดยทั่วไปเมื่อประเทศมีนโยบายเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกัน มากขึ้นแลว โอกาสในการเขาไปลงทุนและทําการคาระหวางประเทศในประเทศน้ันยอมมีมากขึ้น ตามไปดวย รวมทั้งโอกาสทางการคาและการลงทุนในประเทศนั้นๆ ซึ่งมีกรอบความรวมมือและ
ขอตกลงทางการคาการลงทุนระหวางกนหลายกรอบท่ีจีน สปป.ลาวและเวียดนามไดเปนสมาชิกและ มีพันธะผูกพัน ท้ังกรอบความรวมมือในระดับภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (GMS) กรอบขอตกลงในระดับ ภูมิภาคอยางอาเซียน (ASEAN) และกรอบขอตกลงในระดับโลกภายใตองคการการคาโลก (WTO)
เม่ือกรอบความรวมมือ ASEAN ไดขยายวงกวางขึ้นไปสูประเทศคูคาท่ีสําคัญ 3 ประเทศ คือ จีน ญี่ปุนและเกาหลีใต จึงทําใหกรอบความรวมมือ ASEAN ขยายเปน ASEAN+3 ซึ่งสงผลให เม็ดเงินลงทุนจาก 3 ประเทศดังกลาวเริ่มไหลเขาสูประเทศลาวและเวียดนามมากขึ้น และหลังจาก นั้นเมื่อทั้งสามประเทศพยายามเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลก (WTO) กรอบความรวมมือใน ระดับโลกก็ไดมีการพัฒนาขึ้นอยางตอเน่ือง จีนเขาเปนสมาชิกเมื่อ ค.ศ. 2001 เวียดนามไดเขาเปน สมาชิกเมื่อ ค.ศ. 2005 (ยกเวน สปป.ลาว) ก็สงผลใหตองปฏิบัติตามพันธะสัญญาภายใตกรอบ WTO ไดเริ่มผอนคลายขอจํากัดและกฎระเบียบท่ีเก่ียวของกับการลงทุนจากตางประเทศและการคา ระหวางประเทศ ไดสงผลใหคล่ืนเม็ดเงินลงทุนจากตางประเทศที่นอกเหนือจากประเทศในกลุม ASEAN+3 ไหลเขาสูประเทศลาวและเวียดนามเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง8
นอกจากกรอบความรวมมือในระดับภูมิภาคอาเซียนแลว กรอบความรวมมือท่ีมีขอบเขต จํากัดในกลุมประเทศสมาชิกอาเซียนใหมกัมพูชา ลาว พมาและเวียดนาม (CLMV) คือ GMS และ ACMECS ท้ังน้ีโดยกลุมประเทศลุมแมนํ้าโขง (GMS) เปนกรอบความรวมมือที่ริเร่ิมโดยธนาคารเพื่อ การพัฒนาแหงเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) โดยมีเปาหมายเพื่อสงเสริมการพัฒนา และเช่ือมโยงเศรษฐกิจของประเทศในกลุมประเทศลุมนํ้าโขง ไดแก ไทย กัมพูชา พมา ลาว เวียดนาม และจีนตอนใต (มณพลยูนนานและกวางสี) โดยสิ่งท่ีเห็นไดคอนขางชัดเจนจากโครงการ GMS คือ การพัฒนาสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานและเสนทางคมนาคมระหวางประเทศในกลุมลุมแมน้ําโขง ใน สวนกลุม ACMECS น้ันเปนแผนยุทธศาสตรความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกหาประเทศ คือ ไทย กัมพูชา พมา ลาวและเวียดนาม
สําหรับการเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลก (WTO) ลาวไดแจงความจํานงขอสมัครเขา เปนสมาชิก WTO เมื่อวันท่ี 19 กุมภาพันธ ค.ศ. 1998 ซึ่งท่ีประชุมคณะมนตรีใหญ (General Council) เห็นชอบใหจัดต้ังคณะทํางานเพื่อตรวจสอบความพรอมของลาวท่ีจะปฏิบัติตามขอตกลง ตางๆและขอพูกพันในการเปดตลาดสินคาและบริการภายใต WTO
ตอมาในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2001 ลาวไดยื่นเอกสารรายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายการคา ตางประเทศของตน (Memorandum on the Foreign Trade Regime) ตอคณะทํางานฯและไดมีการ
8 เวียดนามไดเขาเปนสมาชิกอาเซียน ลําดับที่ 7 เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1995 ลาว (และพมา) เปนสมาชิก อาเซียนพรอมกัน เม่ือวันที่ 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1997
พิจารณาเอกสารดังกลาวในช้ันแรกเมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 2003 และเม่ือวันที่ 28 ตุลาคม 2004 คณะทํางานฯ ไดจัดการประชุมอยางเปนทางการครั้งแรกเพ่ือเจรจาการเขาเปนสมาชิกของลาว โดย ลาวไดมีการเสนอเอกสารเพ่ิมเติมอาทิ เร่ืองนโยบายเกษตร นโยบายทรัพยสินทางปญญา (TRIPS) มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) และมาตรการท่ีเปนอุปสรรคทางการคา (TBT) เปนตน เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006 ลาวไดยื่นขอเสนอฉบับแรกเรื่องการเขาสูตลาดสินคาและไดมี
การประชุมคณะทํางาน ฯ เพื่อเจรจาอยางเปนทางการครั้งที่ 2 เมื่อวันท่ี 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006
และเมื่อเวียดนามตองการเขาเปนสมาชิก WTO ซึ่งสงผลกระทบตอการคาระหวางประเทศ ที่สําคัญคือ ในดานการสงออกจะชวยใหเวียดนามมีลูทางในการสงออกดีข้ึน การกีดกันการนําเขา สินคาจากประเทศคูคาจะนอยลง โดยเฉพาะสินคาสงออกของประเทศ เชน สิ่งทอ กาแฟและขาว สวนในดานการนําเขาสินคา เวียดนามมีขอผูกพันตองลดภาษีนําเขา เพิ่มโควตาหรือยกเลิกการ กําหนดโควตานําเขาสินคาเกษตร และมิใชสินคาเกษตรท่ีสําคัญหลายรายการมีขอผูกพันตองลด ภาษีลงใหอยูใน ชวงระหวางรอยละ 0-35 โดยบางรายการมีขอผูกพันใหลดภาษีลงเปนชวงๆ ซึ่งชวง สุดทายสิ้นสุดใน ค.ศ. 2014
สินคาเกษตรหลายรายการไดรับการปกปองโดยระบบโควตาภาษีคือ หากนําเขาในปริมาณ ที่อยูในโควตาจะเสียภาษีในอัตราต่ํา ปริมาณที่นําเขาเกินโควตาจะเสียภาษีในอัตราสูง เชน ไข ใบ ยาสูบ น้ําตาล เกลือ โดยเฉพาะสินคาเกลือ เวียดนามอางวาเกลือเปนที่มาของรายไดหลกของชาวนา เกลือที่ยากจน ซึ่งมีประมาณ 100,000 คน ตามแนวชายฝงทะเล จึงจําเปนที่ตองใหการปกปอง ชาวนาเกลือ และเวียดนามมีขอผูกพันจะไมใหการอุดหนุนการสงออกสินคาเกษตร แตสามารถให การอุดหนุนภายในแกเกษตรกรหากไมเปนการบิดเบือนทางการคาและปริมาณการผลิต โดยสามารถ ใหการอุดหนุนไดสูงสุดไมเกิน 246 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา
การเปดตลาดสินคาบริการ เวียดนามไดใหขอผูกพันท่ีจะเปดตลาดแกธุรกิจหลายรายการ เชน การใหบริการทางบัญชีคนตางดาวถือหุนไดถึง 100 เปอรเซ็นต หรือธุรกิจบางประเภทกําหนด ชวงเวลาใหคนตางดาวมีสัดสวนถือหุนเพิ่มข้ึนในลักษณะทยอยเปนขั้นๆจนถึง 100 เปอรเซ็นต ภาย ใน ค.ศ. 2012 เชน ธุรกิจขนสงสินคาดวน (Express Delivery Courier Services) ขณะเดียวกัน เวียดนามก็สวนสิทธิที่จะจํากัดสัดสวนการถือหุนของคนตางดาวในบริษัท เชน ธุรกิจโทรคมนาคมมี ขอจํากัดสัดสวนไวใหถือหุนไดไมเกินรอยละ 49 หรือรอยละ 65 ซึ่งขึ้นอยูกับประเภทธุรกิจที่ลงทุน
สปป.ลาวมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 6 ฉบับ คือ ฉบับที่ 1 (ค.ศ. 1981-
1985) ฉบับที่ 2 (ค.ศ. 1986-1990) นโยบายจินตนาการใหม เนนระบบการคาเสรี ฉบับที่ 3 (ค.ศ.
1991-1995) เนนการคาเสรี ฉบับที่ 4 (ค.ศ. 1996-2000) เนนการคาเสรี ฉบับที่ 5 (ค.ศ. 2001-2005)
โดยในปแรกของการใชแผนดังกลาว พรรคประชาชนปฏิวัติ และฉบับที่ 6 (ค.ศ. 2006-2010) ลาวได
จัดการประชุมสมัชชาพรรคฯ คร้ังที่ 7 ที่ประชุมไดกําหนดเปาหมายและแนวทางการพัฒนาประเทศ
ในระยะส
(ค.ศ. 2001-2005) ระยะกลาง (ค.ศ. 2010) และระยะยาว (ค.ศ. 2020) ท่ีสําคัญดังนี้ ในระยะสั้นและระยะกลาง (ค.ศ. 2001-2005) จะผลักดันใหเศรษฐกิจขยายตัวอยาง
ตอเนื่องในอัตราเฉลี่ยไมต่ํากวารอยละ 7 ตอป ยุติการทําไรเลื่อนลอย ยุติการปลูกฝนและลดอัตรา ความยากจนลงครึ่งหนึ่งภายใน ค.ศ. 2005
ในระยะยาว (ค.ศ. 2020) จะพัฒนาประเทศให าวพนจากสถานการณเปนประเทศพั ฒนา
นอยท่ีสุด ประชากรมีรายไดเฉลี่ยประมาณ 1,000 เหรียญสหรัฐอเมริกาอเมริกา เพิ่มจาก ค.ศ. 2001
ประมาณ 3 เทาตัว ท้งน้ีสามารถจําแนกนโยบายการพฒนาแตละภาคของ สปป.ลาว ไดดังน้ี คือ
- พื้นที่ภาคเหนือ ไดแก แขวงอุดมไชย บอแกว ไชยะบุรี ซึ่งติดกับไทย นโยบายการพัฒนา
ท่ีสําคัญ ไดแก อุตสาหกรรมแปรรูปและการปลูกพืช เชน ฝาย ถ และขาวโพด เปนตน
- พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก แขวงหลวงพระบาง เชียงขวาง พงสาลี ซึ่งมีเขต แดนติดตอกับไทยและจีน นโยบายการพัฒนาท่ีสําคัญคือ การเล้ียงสตวและปลูกพืช
- พื้นท่ีภาคกลาง ไดแก แขวงคํามวนและสะหวันนะเขต ซ่ึงติดตอกับไทยและเวียดนาม นโยบายการพัฒนาที่สําคญคือ การปลูกพืชอาหารและอุตสาหกรรม
- พ้ืนที่ภาคใต เปนพื้นที่สีเหลี่ยมเศรษฐกิจซึ่งติดตอกับไทย กัมพูชาและเวียดนาม ซึ่งมี นโยบายการพัฒนาที่สําคัญคือ การปลูกกาแฟ ขาวโพดและผัก เปนตน
จากแผนพัฒนาซึ่งไดกําหนดเปาหมายในประเด็นตางๆดังนี้ คือ การขยายตวทางเศรษฐกิจ กําหนดอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจรอยละ 7.2 ตอป มุงขจัดความยากจน กําหนดใหพลเมืองของ ประเทศมีรายไดเพิ่มขึ้นจากประมาณ 380 เหรียญสหรัฐอเมริกาอเมริกาตอคนตอป ใน ค.ศ. 2004 เพิ่มเปน 720 เหรียญสหรัฐอเมริกาอเมริกาตอคนตอป การสงออกรัฐบาลลาวไดกําหนดเปาหมาย มูลคาสงออกขยายตัวรอยละ 10 ตอป
ในสวนของเวียดนาม นโยบายของรัฐบาลยังคงรกษาทิศทางการปฏิรูปเศรษฐกิจและสังคม ตามนโยบาย “โดย เหมย” (Doi Moi) การดําเนินการเรงปรับตัวเขากับกระแสเศรษฐกิจและสังคมโลก ทําใหเวียดนามมีพัฒนาการทางเศรษฐกิจในเชิงบวกอยางตอเน่ือง มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ รอยละ 7-8 ตอป พลังขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจที่สําคัญคือ การเติบโตของการลงทุนจากตางประเทศ การสงออกวัตถุดิบ (น้ํามันและกาซธรรมชาติ) สิ่งทอ เครื่องหนังและสินคาเกษตร ขณะที่การ ทองเที่ยวและภาคบริการก็พัฒนาไปมาก เวียดนามไดพยายามปรับปรุงแกไขกฎระเบียบตางๆ ให สอดคลองกับขอกําหนดของ WTO มีการปฏิรูปและการปรับปรุงกลไกภาครัฐ พรอมทั้งไดพยายาม ศึกษาและเรียนรูประสบการณการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมจากหลายประเทศ
ในชวงของการประชุมสมัชชาพรรคฯ สมัยท่ี 10 นายกรัฐมนตรีของเวียดนามไดแถลงแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ค.ศ. 2006-2010 ซึ่งระบุถึงเปาหมายและทิศทางของการพัฒนา ประเทศในชวง 5 ปขางหนา คือ (1) ดําเนินการตามนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจ Doi Moi เพื่อใหอัตรา การเพิ่มของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศเติบโตรอยละ 8 หรือมากกวาภายใน ค.ศ. 2010 (ให
ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศเพิ่มขึ้นเปน 94-98 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกาอเมริกา) (2) สราง ความเขมแข็งใหกับระบบเศรษฐกิจการตลาดแบบสังคมนิยม เพ่ือกาวสูความเปนประเทศที่กําลัง พัฒนาและทันสมัยใน ค.ศ. 2020 (3) พัฒนาเศรษฐศาสตรบนฐานแหงความรู (Knowledge-based economy) (4) ปรับปรุงคุณภาพการศึกษา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และเรงรัดพัฒนาทรัพยากร มนุษย ทั้งน้ีเวียดนามมีนโยบายเนนหนักเรื่องการสงเสริมธุรกิจเอกชน เรงปฏิรูปรัฐวิสาหกิจตางๆ และเชิญชวนนักลงทุนจากตางประเทศ
การเรงรัดพฒนาโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจขนาดใหญเพื่อรองรับการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ เชน การต้ังเขตเศรษฐกิจพิเศษตามเมืองสําคัญ (ที่ จังหวัด บาเรีย วุง เตา ซึ่งอยูใกลนคร โฮจิมินห) การปรับปรุงทาเรือน้ําลึก (ดานังและที่อาวคัมรานห) และทาอากาศยานนานาชาติให ทันสมัย ในสวนของการเตรียมความพรอมดานพลังงานไฟฟา เวียดนามไดมีแผนการลงทุนโดยใช งบประมาณหลายพันลานเหรียญสหรัฐอเมริกาอเมริกาเพื่อปรับปรุงโรงไฟฟาทั่วประเทศ พรอมทั้งมี การสรางเขื่อนใหมที่จังหวัดเซินลาทางภาคเหนือของเวียดนาม ซ่ึงจะเปนเขื่อนที่มีขนาดใหญที่สุดใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต รวมทั้งกําลังเตรียมโครงการสรางโรงงานไฟฟาพลังงานนิวเคลียร โดยมี เปาหมายใหสรางเสร็จภายใน ค.ศ. 2020 ในดานอุตสาหกรรม เวียดนามกําลังพัฒนาหลายดานที่ สอดคลองกับสภาพและเงื่อนไข เชน อุตสาหกรรมตอเรือ โดยเวียดนามสามารถตอเรือสินคาขนาด ระวาง 53,000 ตันไดและตั้งเปาที่จะตอเรือขนาดระวาง 1 แสนตัน โดยไดรับความรวมมือดาน เทคโนโลยีจากตางประเทศ
เวียดนามยังคงตองใชเงินทุนจํานวนมากในการพัฒนาประเทศ สวนหนึ่งไดรับจากการ ลงทุนของตางชาติ ซึ่งขณะนี้มีการกระจายอํานาจใหรัฐบาลทองถิ่นอนุมัติโครงการลงทุนระดับเล็ก และกลางได นอกจากนี้เวียดนามยังไดรับความชวยเหลือจากตางประเทศ (International Development Assistance: IDA) และองคกรตางๆ เชน ธนาคารเพื่อการพัฒนาแหงเอเชีย (ADB) ธนาคารเพื่อความรวมมือระหวางประเทศแหงญี่ปุน (JBIC) องคการความรวมมือระหวางประเทศ ของญ่ีปุน (JICA) และยังมีเงินจากกลุมชาวเวียดนามโพนทะเลหรือเวียดเกียว (Viet Kieu) หลายลาน คน ที่สงเขาไปพัฒนาเศรษฐกิจของเวียดนาม
ลาวกบสิทธิพิเศษดานการคาระหวางประเทศที่ไดรับ ญี่ปุนไดใหระบบสิทธิพิเศษทางภาษีตอสปป.ลาว ประกอบดวย 2 สวนคือ (1) สําหรับ
ผลิตภัณฑทางกสิกรรมปาไมและประมง (2) ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเหมืองแร รวมถึงสินคาท่ีใช ผลิตภัณฑทางกสิกรรมหรือผลิตภัณฑทางปาไมเปนสวนประกอบหลกั เปนตน
สวนสิทธิพิเศษดานอตราภาษีที่มีผลบังคับใชรวมกัน (Agreement on Common Effective Preferential Tariff: CEPT) สัญญาวาดวยการใหสิทธิพิเศษดานอัตราภาษีนี้ เปนสวนสําคัญในการ ปฏิบัติแผนลดอัตราภาษีของเขตการคาเสรีอาเซียนหรืออาฟตา (CEPT Scheme AFTA)
นอกจากนี้ยังมีการลดอัตราภาษีสินคานําเขาของจีน จํานวน 202/238 รายการ ใหแกการ สงออกสินคาของลาวไปยังจีน ทําใหราคาสินคาของลาวสามารถแขงขันไดในจีน
นอกจากน้ีสปป.ลาวไดสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเปนการท่ัวไป (Generalized System of Preferences: GSP) จากประเทศผูนําเขามากถึง 35 ประเทศท่ัวโลก เชน ประเทศในกลุมสหภา พยุโรปและญี่ปุน เปนตน
นักลงทุนสวนมากจะเปนจีน เวียดนาม ไทย ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย ในสวนอุตสาหกรรมที่ นักลงทุนตางชาติเขาไปลงทุนมากที่สุด ไดแก การผลิตพลังงานไฟฟา (โครงการขนาดใหญที่มีการ ลงทุนสูง) การลงทุนดานการเกษตร การลงทุนดานการกอสราง อุตสาหกรรมและหัตกรรม การคา เหมืองแร โรงแรมภตตาคาร การบริการ ส่ิงทอ ที่ปรึกษาและอุตสาหกรรมไม เปนตน
การลงทุนในลาวมีแรงจูงใจสําคญคือ โครงการขนาดใหญสามารถเขาไปแสวงหาทรพยากร (Resources Seeking) เชน การลงทุนในอุตสาหกรรมพลังงานไฟฟา การลงทุนภายใตขอตกลง เกษตรพันธะสัญญา (Contract Framing) เปนตน และการแสวงหาตลาด (Market Seeking) เชน บริการโทรคมนาคม ธนาคารและการประกันภัย เปนตน สวนผูลงทุนขนาดกลางและยอมจะลงทุน เพื่อการแสวงหาตลาด โดยเฉพาะตลาดภายในประเทศ เชน ธุรกิจสงสินคาอุปโภค ธุรกิจโรงแรมตาม เมืองทองเท่ียว ธุรกิจแปรรูปผลิตภัณฑทางการเกษตร (เชน น้ําตาล) ธุรกิจรานอาหาร ธุรกิจบริการ ซอมรถยนตและรถจักรยานยนต ธุรกิจจําหนายอะไหลชิ้นสวนรถจักรยานยนต ธุรกิจผลิตถุงพลาสติก เปนตน
ในชวงทศวรรษของการดําเนินนโยบายเปดประเทศ เวียดนามประสบความสําเร็จในการ ดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ โดยรัฐบาลเวียดนามไดดําเนินการปรับปรุงแกไขกฎระเบียบ การคาและการลงทุนใหเกิดความคลองตัวสอดคลองกับมาตราฐานสากล สงเสริมการลงทุนในดาน สิทธิพิเศษตางๆ เชน การถือครองที่ดิน มาตราการดานภาษี อํานวยความสะดวกกระบวนการ จดทะเบียบตั้งโรงงานและเรงดําเนินนโยบาย One-Price Policy เพ่ือลดตนทุนการลงทุนแกนักลงทุน ตางชาติในสาขาโทรคมนาคม ไฟฟาและคมนาคมขนสง เปนตน
ประเทศท่ีลงทุนในเวียดนามมากท่ีสุด คือ สิงคโปร รองลงมา คือ เกาหลีใตและไตหวัน ตามลําดับ อยางไรก็ตามถึงแมวาสิงคโปรจะมีเงินลงทุนมากที่สุด แตก็มิไดหมายความวาธุรกิจท่ีมา ลงทุนเปนธุรกิจของสิงคโปร ทั้งนี้เนื่องจากสิงคโปรเปนที่ตั้งสาขาประจําภูมิภาคของกิจการขามชาติ จากหลายประเทศ ดังน้ันตัวเลขเม็ดเงินการลงทุนจากสิงคโปรจึงรวมการลงทุนของกิจการขามชาติ เหลานั้นดวย ในขณะที่เกาหลีใตมีการลงทุนในเวียดนามเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งการลงทุนในดาน อสงหาริมทรพย (เชน การสราง/พัฒนานิคมอุตสาหกรรม) และการผลิตสินคาอุตสาหกรรม (เชน การ แปรรูปสินคาเกษตรและอุตสาหกรรมส่ิงทอ เปนตน)
เวียดนามมีการลงทุนจากตางชาติในกลุมอุตสาหกรรมท่ีหลากหลาย ทั้งในอุตสาหกรรม หนัก อุตสาหกรรมเบา อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมบริการ (เชน โทรคมนาคม โรงแรม การ กอสรางสํานักงานและอพารทเมนท) ทั้งนี้เนื่องจากนักลงทุนตางชาติมีความม่ันใจในศักยภาพการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของเวียดนาม โดยจังหวัดที่นักลงทุนตางชาตินิยมเขาไปลงทุนมากท่ีสุด ไดแก นครโฮจิมินห ฮานอย ดองไน บินหเยืองและบาเรีย-หวุงเตา เปนตน
การลงทุนในเวียดนามพบวามีผูลงทุนที่ขยายฐานการคา ขยายฐานการผลิตและลงทุนกอ ต้ังธุรกิจใหมที่เวียดนาม โดยเลือกลงทุนในเขตนครโฮจิมินหเนื่องจากเปนเมืองการคาที่มีประชากร มาก รองลงมาไดแกเมืองฮานอย โดยมีแรงจูงใจดานการแสวงหาตลาด (Market Seeking) ที่ลงทุน ในเวียดนามท่ีสําคัญ ไดแก
- การที่อุตสาหกรรมปลายน้ํายายฐานการผลิตมาเวียดนามจึงตองยายตามมาดวย
- การที่ชาวเวียดนามมีการเติบโตของรายได ่ีเพิ่มขนอย้ึ างรวดเรวและชาวเวี็ ยดนามสวน
หนึ่งไดรับรายไดเสริมจากชาวเวียดนามโพนทะเลทําใหมีกําลังซ้ือสูง
- การที่ชาวเวียดนามเพิ่งผานพนจากภาวะสงครามมาไดไมนาน ตางก็มีความมั่นใจใน ภาวะการเติบโตทางเศรษฐกิจจึงมีความตองการบริโภคสินคามาก
- การท่ีรัฐบาลเวียดนามมีแผนการลงทุนกอสรางและพัฒนาสาธารณูปโภคเปนอยาง มาก มีการพัฒนาอุตสาหกรรมบริการอยางรวดเร็วทําใหเปนโอกาสของอุตสาหกรรมสนับสนุน (เชน อุตสาหกรรมสนบสนุนตางๆ ของโรงแรมและรานคา)
- การท่ีเวียดนามไดรับสิทธิพิเศษทางการคาท้ังในระดับอนุภูมิภาคและระดับโลกทําให การผลิตสินคาท่ีเวียดนามสามารถเขาถึงตลาดตางประเทศไดงายกวา
อยางไรก็ตามแรงจูงใจที่สําคัญอีกประการหนึ่งของนักลงทุนในเวียดนาม เพื่อแสวงหา ประสิทธิภาพ (Efficiency Seeking) ของการลงทุน ทั้งน้ีเนื่องจากเวียดนามเปนประเทศที่ยังคงมี คาจางแรงงานในระดับที่คอนขางต่ําและแรงงานมีคุณภาพคอนขางสูงเม่ือเทียบกับประเทศอื่นๆใน
ภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง การยายฐานการผลิตมายังเวียดนามจึงทําใหผูประกอบการสามารถลดตนทุน และรักษาความไดเปรียบในการแขงขันการผลิตสินคา
จีนสนับสนุนการยายและขยายฐานการผลิตและการคาไปยังประเทศเศรษฐกิจใหมใน ประเทศเพื่อนบานที่มีศักยภาพในดานปจจัยการผลิต ตลาดในประเทศและชองทางการคาระหวาง ประเทศ โดยลาวและเวียดนามตางมีสมาชิกภาพตามกรอบความรวมมือในระดับอนุภูมิภาค เชน ACMECS และ GMS ซึ่งมีการตกลงในการอํานวยความสะดวกดานการลงทุน และการขนสงสินคา ระหวางประเทศสมาชิก นอกจากนี้การท่ีประเทศตางๆในกลุม CLMV ตางเปนสมาชิกใน ASEAN และ WTO (ยกเวน สปป.ลาว) ไดสงผลใหประเทศตางๆเหลานี้มีศักยภาพในดานตลาดสินคาสงออก เปนอยางมาก ท้ังนี้เน่ืองจากประเทศในกลุมนี้ไดรับสิทธิพิเศษทางการคาจากประเทศที่มีกําลังซื้อสูง อยางมาก เชน สหรัฐอเมริกาอเมริกา สภาพยุโรป ญ่ีปุน เกาหลีใต จีนและประเทศในอาเซียน เปนตน ในชวงสองทศวรรษที่ผานสปป.ลาวและเวียดนาม ตางมีการปรับนโยบายเศรษฐกิจของตน ใหมีความเปนเสรีและมีการทํางานของกลไกตลาดมากข้ึน เพื่อสงเสริมใหประเทศมีการพัฒนาทาง เศรษฐกิจอยางรวดเร็ว นอกจากนี้รัฐบาลลาวและเวียดนามตางพยายามปรับนโยบายเศรษฐกิจและ สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจอยางเต็มที่เพื่อดึงดูดการลงทุนจากนักลงทุนตางชาติ เนื่องจากเล็งเห็น วาการลงทุนจากตางชาติเปนกลไกที่สําคัญที่จะเรงการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ผานการจางงาน การเพิ่มเม็ดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ การยกระดับฝมือแรงงาน การยก ระดับสาธารณูปโภค การยกระดับเทคโนโลยีการผลิตในประเทศ การแกไขปญหาการขาดดุลการคา เปนตน นอกจากนี้ลาวและเวียดนามตางมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ยที่สูงกวารอยละ 7-8 ตอป ซึ่งเปนปจจัยดึงดูดใหนักลงทุนตางชาติใหความสนใจกับตลาดภายในประเทศเหลานี้ ถึง
แมวาจะมีขอจํากดในดานเสถียรภาพของราคาสินคาบางก็ตาม
นอกเหนือการสงเสริมการพัฒนาประเทศผานการลงทุนจากตางชาติแลว ลาวและ เวียดนามตางมีเปาหมายที่จะลดระดับความยากจนและกระจายโอกาสการประกอบอาชีพไปยัง ประชากรกลุมตางๆ ใหทั่วถึงมากข้ึน และยังมีผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประชากรใน เขตพื้นที่ ซึ่งเปนผลจากการเปดประเทศเขาสูการเช่ือมโยงทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก รวมทั้ง นโยบายสงเสริมการลงทุนอยางจริงจังไดทําใหมีการขยายตัวของเม็ดเงินลงทุนเขาสูประเทศในลาว และเวียดนาม
จากสถานการณการคาการลงทุนของประเทศตางๆในลาวและเวียดนาม จะเห็นไดวา ประเทศที่มีการพัฒนาและเติบโตของการคาการลงทุนสูงที่สุดคือ เวียดนาม ทั้งนี้เนื่องจากปจจัยที่ เปนองคประกอบหลายประการทั้งทางดานขนาดและกําลังซื้อของตลาด นโยบายสงเสริมของรัฐบาล ความพรอมทางดานปจจัยการผลิต โดยมีมูลคาของการลงทุนในเวียดนามสูงมากในแทบทุกชนิด
อุตสาหกรรม ท้ังอุตสาหกรรมหนัก อุตสาหกรรมเบา อสงหาริมทรัพย ภาคบริการและภาคการเกษตร อยางไรก็ตามลาวก็มีการขยายตัวการลงทุนในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการใชทรัพยากรธรรมชาติ เปนปจจัยการผลิต (เชน โรงไฟฟาพลังน้ําและเหมืองแร เปนตน) และอุตสาหกรรมท่ีเก่ียวของกับการ ทองเที่ยว (เชน โรงแรมและรานอาหาร เปนตน) พ้ืนท่ีที่มีการลงทุนจากตางชาติในเวียดนาม เชน โฮจิมินหและจังหวัดใกลเคียง ฮานอย และดานัง ในสวนลาวมีเวียงจันทน สะหวันนะเขต จําปาสัก เปนตน
การลงทุนดานการผลิตหรือจําหนายสินคาอุปโภคบริโภค มีแรงจูงใจทางดานการแสวงหา ตลาด (Market Seeking) เปนหลัก โดยเฉพาะตลาดในประเทศทั้งนี้เนื่องจากทั้งลาวและเวียดนาม เพิ่งเปดประเทศมาไมนานนัก จึงทําใหมีผลิตภัณฑที่เปนที่วางในตลาดเปนจํานวนมาก ซึ่งถือเปน โอกาสทางธุรกิจ โดยมีทั้งการลงทุนในอุตสาหกรรมการผลิต การคาและการบริการ เวียดนามมี แรงจูงใจการลงทุนดานการแสวงหาประสิทธิภาพ (Efficiency Seeking) เพื่อใหมีตนทุนการผลิตที่ ลดลง (เชน การทําการเกษตรแบบพันธะสัญญา (contract framing) การยายฐานการผลิตสวนหนึ่ง ของอุตสาหกรรมพลาสติกและยางรถยนตไปยังเวียดนาม) และการแสวงหาตลาดลูกคากลุม อุตสาหกรรม (คือ ผูผลิตปลายน้ํา เชน ปศุสัตว โรงแรม อิเล็กโทรนิกส และจักรยานยนต เปนตน) สวนการลงทุนโดยมีแรงจูงใจในดานการแสวงหาทรัพยากร (Resources Seeking) นั้นมักเปนการ ลงทุนของกิจการขนาดใหญ เชน การลงทุนในธุรกิจพลังงานและการลงทุนในอุตสาหกรรมเหมืองแร ในสปป.ลาว สวนการลงทุนของกิจการขนาดเล็กมักอยูในรูปของอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการ เกษตร เปนตน
การลงทุนของจีนในลาวและเวียดนามมีเปาหมายของการลงทุนโดยใชเงินลงทุนของตนเอง ทั้งหมด (เนื่องจากเปนไปไดยากท่ีจะเขาถึงแหลงเงินทุนในประเทศปลายทาง) ซึ่งมีการลงทุน 3 รูปแบบ คือ (1) การลงทุนโดยตรงทั้งหมดซึ่งมกเปนกรณีของกิจการขนาดใหญ (2) การลงทุนโดยการ รวมทุนกับคนทองถิ่น และ (3) การลงทุนโดยใหผูรวมดําเนินธุรกิจทองถิ่นจดทะเบียนเปนเจาของ กิจการ ซึ่งผูลงทุนขนาดกลางและเล็กมักเลือกรูปแบบการลงทุนสองวิธีสุดทาย เน่ืองจากมีความเชื่อ วาจะทําใหสามารถทําธุรกิจในประเทศนั้นไดอยางราบร่ืนและมีตนทุนในการดําเนินการที่ตํ่ากวา ซึ่ง สามารถนําผลกําไรที่ไดรับไปขยายการลงทุน (Reinvestment) ตอไปได ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความ เช่ือมั่นในศักยภาพการลงทุนในลาวและเวียดนาม
ลาว
1. กฎระเบียบการลงทุน
กฎหมายหลักที่เกี่ยวของกับการลงทุนของตางชาติในลาวคือ กฎหมายการสงเสริมการ ลงทุนจากตางชาติ ค.ศ. 2004 (Law on the Promotion of Foreign Investment 2004) โดย
นโยบายการสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศของรัฐบาลลาว ซึ่งจะใหสิทธิประโยชนทางภาษีโดย เฉพาะการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลแกผูประกอบการที่เขาไปต้ังโรงงานในลาว รวมท้ังพื้นที่ทาง เหนือซึ่งสวนใหญขาดแคลนระบบสาธารณูปโภคข้ันพื้นฐาน จะไดรับการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคล เปนเวลา 7 ป หลังจากน้นจึงเสียภาษีในอตรารอยละ 10 เทียบกบอัตราปกติรอยละ 35
ทั้งนี้นักลงทุนที่สนใจเขาไปลงทุนในพ้ืนที่ทางภาคเหนือของลาว ตองยื่นคํารองขออนุญาต ลงทุนพรอมกับเอกสารการลงทุนและบทวิพากษทางเศรษฐกิจ แสดงผลวิเคราะหความเปนไปไดของ โครงการลงทุน รวมท้ังแผนธุรกิจโดยละเอียดตอผูปกครองแขวงที่ตองการเขาไปลงทุน โดยผูปกครอง สวนใหญที่มีอํานาจอนุมัติโครงการลงทุนวงเงินไมเกิน 3 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกาอเมริกา ยกเวน แขวงหลวงพระบาง ซึ่งเปน 1 ใน 4 แขวงใหญนอกเหนือจากแขวงจําปาสัก แขวงสะหวันนะเขตและ นครหลวงเวียงจันทนที่ผูปกครองแขวงมีอํานาจอนุมัติโครงการลงทุนวงเงินลงทุน 5 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา ทั้งยังสามารถยื่นขออนุญาตลงทุนกับคณะกรรมการสงเสริมและคุมครองการลงทุน ภายในและตางประเทศ (Department of Domestic and Foreign Investment: DDFI) ในนครหลวง เวียงจนทน หากโครงการลงทุนมีมูลคาเกินอํานาจอนุมัติของผูปกครองแขวง
ตามกฎหมายสงเสริมและบริหารการลงทุนจากตางประเทศในสปป.ลาว เม่ือ ค.ศ. 2004 โครงการลงทุน ที่ไดรับอนุญาตจากกรมสงเสริมและคุมครองการลงทุนภายในและตางประเทศ ของสปป.ลาวจะไดรับประโยชนดานภาษีดังนี้ คือ (1) ยกเวนภาษีนําเขายานพาหนะ เครื่องจักร อุปกรณที่ใชในการผลิตและวตถุดิบ (2) ยกเวนภาษีสงออกสําหรับสินคาสงออกหรือสินคาสงออกตอ
(3) ลดอตราภาษีกําไรใหธุรกิจหางไกล ตามเขตพื้นท่ีการลงทุน ดังน้ี
เขต 1 พื้นที่หางไกลทุรกันดาร โดยนักลงทุนตางชาติจะไดรับยกเวนภาษีกําไรเปนเวลา 7 ป
หลังจากน้ันจะเสียภาษีในอัตรารอยละ 10
เขต 2 พื้นที่ที่มีระบบสาธาณณูปโภคพ้ืนฐานจํากัด นักลงทุนตางชาติจะไดรับยกเวนภาษี กําไรชวง 5 ปแรก เริ่มเสียภาษีอัตรารอยละ 7.5 ใน 3 ปตอมา และรอยละ15 ในระยะเวลาหลัง จากนั้น
เขต 3 พื้นท่ีที่มีระบบสาธารณูปโภคโดยสมบูรณ นักลงทุนตางชาติจะไดรับยกเวนภาษีที่ เรียกเก็บจากกําไรเปนเวลา 2 ป และเสียภาษีอัตรารอยละ 10 ใน 2 ปตอไป หลังจากนั้นจะเสียภาษี
กําไรรอยละ 20
2. รูปแบบและขั้นตอนการลงทุน รูปแบบการลงทุนของตางชาติในลาว มี 3 รูปแบบ คือ
- สญญาความรวมมือทางธุรกิจ (Business Cooperation by Contract) เปนการรวม ธุรกิจระหวางนักลงทุนทองถิ่นและนักลงทุนตางชาติ โดยไมตองมีการจัดตั้งบริษัทใหม มีการทํา สญญาเพื่อกําหนดแนวทางและการแบงผลประโยชนในการประกอบธุรกิจ
- การรวมทุน (Joint Ventures) เปนการรวมทุนระหวางนักลงทุนตางชาติกับนักลงทุน ทองถิ่นหรือกบรฐบาลลาว โดยมีสัดสวนเงินทุนจดทะเบียนไมนอยกวารอยละ 30
- การลงทุนโดยชาวตางชาติเปนเจาของทั้งหมด 100 เปอรเซ็นต (Foreign Owned Enterprise) นักลงทุนตางชาติตองขออนุมัติจากคณะกรรมการสงเสริมและคุมครองการลงทุนภาย ในและตางประเทศ (DDFI) กอน จึงจะสามารถจดทะเบียนต้ังสาขาหรือสํานกงานตัวแทนในลาวได
3. ขั้นตอนการขออนุมตั ิการลงทุน9
ตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุน ค.ศ. 2004 ไดกําหนดใหนักลงทุนตางชาติท่ี สนใจลงทุนในลาวยื่นเอกสารที่เกี่ยวของ ไดแก สําเนาหนังสือเดินทางของผูลงทุน เอกสารแสดง ประวัติของผูลงทุน ผลการศึกษาความเปนไปไดในการลงทุนหรือแผนธุรกิจและเอกสารที่เกี่ยวของ กับโครงสรางการถือหุนของกิจการใหกับคณะกรรมการสงเสริมและจัดการการลงทุน (Committee for Promotion and Management of Investment: CPMI) ของแตละแขวง (หนวยงานในสังกัดของ DDFI) ซ่ึงใหบริการแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร (One Stop Service)
หลังจากน้ CPMI จะประสานงานกับหนวยราชการตางๆ และหนวยราชการสวนท องถ่ินที่
เกี่ยวของพิจารณาขอเสนอดังกลาวในกรอบระยะเวลาท่ีกําหนด คือ 15 วันทําการสําหรับการลงทุน ในสาขาอุตสาหกรรมท่ีมีการสงเสริม 25 วันทําการสําหรับการลงทุนในสาขาอุตสาหกรรมที่เปดใหมี การลงทุนแบบมีเงื่อนไขและ 45 วันทําการสําหรับโครงการลงทุนประเภทอื่น โดยนักลงทุนท่ีผานการ พิจารณาจะไดรับเอกสารใบอนุญาตลงทุนของตางชาติ (Foreign Investment License) ใบรับรอง การจดทะเบียบวิสาหกิจ (Enterprise Registration Certificate) และใบรับรองการขึ้นทะเบียนภาษี (Tax Registration Certificate) พรอมกันในคร้งเดียว
นอกจากนี้ตามกฎหมาย Prime Ministry Decree No 301 ค.ศ. 2005 ไดกําหนดอํานาจใน การอนุมัติโครงการลงทุนยังข้ึนอยูกับมูลคาการลงทุนดวย โดยโครงการลงทุนขนาดใหญที่มีมูลคา การลงทุนเกินกวา 20 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกาอเมริกา ไดรับการอนุมัติจากนายกรัฐมนตรี สวน ประธานและรองประธาน DDFI มีอํานาจอนุมัติเฉพาะโครงการลงทุนที่มีมูลคาการลงทุนไมเกิน 10 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกาอเมริกาและโครงการที่มีเงินลงทุนไมเกิน 3 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา
9 ขั้นตอนและกฎระเบียบที่เกี่ยวของอาจมีการเปลี่ยนแปลง ผูสนใจลงทุนใน สปป.ลาว ควรศึกษาขอมูลเกี่ยวกับ ข้ันตอนและรายละเอียดการขออนุมัติลงทุนเพิ่มเติมดวย http://invest.laopdr.org/ (Retrieved December 12, 2011)
อเมริกา สามารถขอรับการอนุมัติจากแขวงตางๆ ได (แขวงที่มีขนาดใหญมีอํานาจอนุมัติโครงการ ลงทุนท่ีมีมูลคาไมเกิน 5 ลานเหรียญสหรฐอเมริกาอเมริกา)10
หลังจากไดรับอนุญาตแลว กิจการที่รับอนุญาตจะตองมีการเริ่มกิจกรรมการลงทุนท่ีระบุไว ในแผนการลงทุนท่ีไดเสนอตอ CPMI และสอดคลองกับกฎหมายของสปป.ลาว ภายในระยะเวลา 90 วัน โดยหากนักลงทุนไมลงทุนภายในระยะเวลาดังกลาว ใบอนุญาตลงทุนฉบับดังกลาวก็อาจถูก ยกเลิกได
อยางไรก็ตามจากรายงานซึ่งจัดทําโดยธนาคารโลก (World Bank) เรื่อง Building Export Competitiveness in Laos (2010)11 ไดแสดงใหเห็นวาขั้นตอนในการขออนุญาตลงทุนในทางปฏิบัติ มิไดสะดวกราบร่ืนและรวดเร็วดังที่ระบุไวในกฎหมาย และสถานการณดังกลาวไดกระตุนใหกิจการ หลายแหงเลือกที่จะจัดตั้งธุรกิจในลักษณะไมเปนทางการ (และตองจํากัดโอกาสในการเติบโต) และ ในรายงานผลการสํารวจสภาพแวดลอมการลงทุน World Bank Doing Business Report (2012)12 ไดกลาววา สปป.ลาวเปนประเทศท่ีตองใชเวลาในการจดตั้งธุรกิจนานและอยูในอันดับ 165 ของโลก
4. หนวยงานที่เกี่ยวของกับการลงทุน หนวยงานหลักที่รับผิดชอบการลงทุนของตางประเทศ คือ คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน
(Department for the Promotion and Management of Domestic and Foreign Investment: DDFI) สังกัดคณะกรรมการแผนการและการลงทุน (Committee for Planning and Investment) มี หนาท่ีบริหารนโยบายและพิจารณาอนุมัติโครงการลงทุนทุกประเภทในลาว และรับผิดชอบดานเงินกู และเงินชวยเหลือจากตางประเทศ
5. สิทธิประโยชนและมาตราการสงเสริมการลงทุนของตางชาติ
5.1 ไดรับความสะดวกจากรัฐในการกอต้ังและการดําเนินการการผลิตธุรกิจตาม ระเบียบกฎหมาย
5.2 ไดรับการปกปองสิทธิและผลประโยชนอันชอบธรรมท่ีไดมาจากการดําเนินธุรกิจ
ของตน
5.3 เปนเจาของกรรมสทธ์ติิ อทรพยสั ินของตน
5.4 ไดรบผลประโยชนั จากการเชาหรอสื มปทานที่ดนิ
10 www.u.s.embassyVentiane , 2010. (Retrieved December 12, 2011)
11 http://siteresources.worldbank.org/LAOPRDEXTN/Resources/293683-1301084874098/LDR2010 Wealth_and_Sustainability.pdf , “Lao PDR Development Report 2010 Natural Resource Management for Sustainable Development”, 2010. (Retrieved December 12, 2011)
12 www.doingbusiness.org/data/exploreeconomies/lao-pdr/ (Retrieved December 12, 2011)
5.5 การใชแรงงานตางประเทศ เมื่อมีความจําเปนแตไมใหเกินรอยละ 10 ของแรงงาน ของวิสาหกิจ
5.6 ผูลงทุนตางประเทศและสมาชิกครอบครัว รวมท้งนักวิชาการพนักงานที่เปนชาวตาง ประเทศของวิสาหกิจลงทุนจะไดรับความสะดวกในการขอเขาออกและอาศัยอยูในลาวระยะยาว ตามขอตกลงของรฐบาลมีเง่ือนไขขอสัญชาติลาวไดตามกฎหมายวาดวยสัญชาติลาว
5.7 ไดรับการปกปองทรพยสินทางปญญาท่ีจดทะเบียนกบหนวยงานที่เกี่ยวของของลาว
5.8 สงผลกําไร ทุนและรายรับอื่นๆ (ภายหลังที่ไดปฏิบัติพันธะทางดานภาษีอากรและ คาธรรมเนียมอื่นๆตามกฎหมายแลว) กลับประเทศของตนหรือประเทศท่ีสาม โดยฝากธนาคารที่ต้ัง อยูในลาว
5.9 เปดบญชีเงินกีบและเงินตราตางประเทศที่ธนาคารที่ตั้งอยูในลาว
5.10 รองขอความเปนธรรมหรือฟองรองตอองคการที่เก่ียวของในกรณีที่เห็นวาตนถูก เบียดบังผลประโยชนในการดําเนินธุรกิจ
5.11 ไดร ับสิทธิประโยชนดานภาษีและผลประโยชนอ่ืนๆ ตามที่ไดกําหนดไวในกฎหมาย
5.12 ในระยะยกเวนหรือลดหยอนอากรกําไรน้ันจะไดร ับการยกเวนอากรต่ําสุด โดยสิทธิ ประโยชนทางดานภาษีน้ีจะขึ้นอยูกับพ้ืนท่ีการลงทุนของกิจการวาอยูในเขตสงเสริมการลงทุนใด (มี ทั้งหมด 3 เขต)
ในรอบบัญช
5.13 กําไรที่นําไปขยายกิจการของตน ที่ไดรับอนุญาติไปแลวน
จะถูกยกเวนอากรกําไร
5.14 ไดรับการยกเวนสินคานําเขาภาษีสรรพสามิต และภาษีการคา (อากรตัวเลขธุรกิจ)
ในการนําเขาสินคา
5.15 ไดรับการยกเวนภาษีขาออกสําหรับผลิตภัณฑเพื่อสงออก เวียดนาม
1. กฎระเบียบการลงทุน
ในการประชุมสมัชชาแหงชาติครั้งที่ 6 ของเวียดนาม เมื่อ ค.ศ. 1986 นับเปนจุดเปลี่ยนที่ สําคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจสูระบบตลาดภายใตการควบคุมของรัฐบาล ตอมาในการประชุม สมัชชาพรรคครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม ค.ศ. 1987 จึงมีการออกกฎหมายสงเสริมการลงทุนจาก ตางประเทศ (Law on Foreign Direct Investment) เปนครั้งแรก จนถึงปจจุบันมีการปรับปรุงแกไข 4 ครั้ง (เมื่อ 30 มิถุนายน ค.ศ.1990, 23 ธันวาคม ค.ศ. 1992, 12 พฤศจิกายน ค.ศ.1996, และ 9 มิถุนายน ค.ศ. 2000) หลงจากน้นมีการแกไขบทบัญญัติที่เกี่ยวของเปนระยะๆ ลาสุดมีประกาศแกไข เงื่อนไขและสิทธิประโยชนของนักลงทุนตางประเทศ เม่ือ ค.ศ. 2003 และ ค.ศ. 2004
ท้ังน้ีหนวยงานท่ีมีหนาที่ดูแลการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศคือ Foreign Investment Agency ในสังกัดกระทรวงวางแผนและการลงทุน (Ministry of Planning and Investment: MPI) และมีหนวยงานระดับกรม (Department of Planning and Investment: DPI) ประจําอยูในทุก จังหวัด กฎหมายการลงทุนจากตางประเทศของเวียดนามใหการรับประกันวาจะใหการปฏิบัติอยาง เปนธรรมและเทาเทียมกนตอนักลงทุนตางชาติที่ลงทุนในเวียดนามในดานตางๆ ดังนี้
(1) ไมมีการยึดทรัพยสินหรือโอนกิจการลงทุนของตางประเทศเปนของรัฐ ตลอด ระยะเวลาของการลงทุน
(2) ใหการรับประกันวาจะปกปองสิทธิในทรัพยสินอุตสาหกรรมและผลประโยชนใน การถายทอดเทคโนโลยีในเวียดนาม
(3) รัฐบาลจะปกปองผลประโยชนของนักลงทุนอยางสมเหตุสมผล หากมีการ เปลี่ยนแปลงกฎหมายใดๆที่กอใหเกิดความเสียหายแกนักลงทุน เชน หากกฎหมายท่ีประกาศใช ภายหลังทําใหผลประโยชนของนักลงทุนลดลง นักลงทุนท่ีลงทุนกอนหนาที่กฎหมายใหมประกาศใช มีสิทธิเลือกใชส ิทธิประโยชนตามกฎหมายเดิมได
(4) รัฐบาลรับประกนการใหส ิทธิการโอนยายไปตางประเทศสําหรับ
- กําไรจากการดําเนินธุรกิจ
- เงินที่ไดร ับจากการจดเตรียมเทคโนโลยีและการบริการ
- เงินตนและดอกเบ้ียของเงินก
- เงินลงทุน
ากตางประเทศในระหวางดําเนินกิจการ
- เงินและทรพยส ินอื่นๆ ท่ีมีกรรมสิทธิ์โดยชอบดวยกฎหมาย
- รายไดหลังหกภาษีรายไดของแรงงานตางชาติที่ทํางานในเวียดนาม
(5) เม่ือเกิดขอพิพาทระหวางผูรวมทุนหรือระหวางบริษัทตางชาติกับสถาบันใดๆ ของเวียดนามและไมสามารถตกลงกันได สามารถเสนอใหอนุญาโตตุลาการหรือองคกรอื่นๆตามที่ ตกลงกันเปนผไู กลเกล่ียหรือประนีประนอมได
(6) การอนุญาตใหบริษัทตางชาติดําเนินการลงทุนได 50 ป และสามารถตอเวลาได
ถึง 70 ป
2. รูปแบบการลงทุนและวิธีการลงทุนในสปป.ลาวและเวียดนาม
รูปแบบการลงทุน รูปแบบการลงทุนของตางชาติในเวียดนาม ตามกฎหมายการลงทุน (Law on Investment) ไดแบงการลงทุนจากตางประเทศเปน 5 ประเภท ไดแก
(1) สัญญารวมลงทุนธุรกิจ (Business Co-operation Contract: BCC) ซึ่งเปนการ รวมทุนทําธุรกิจระหวางนักลงทุนตางชาติกับนักลงทุนเวียดนาม ซึ่งอาจมีมากกวา 1 ราย เขารวมทํา
ธุรกิจดวย มีความยืดหยุนมากท่ีสุด นิยมทําในอุตสาหกรรมประเภทน้ํามัน โทรคมนาคมและการ โฆษณา ซ่ึงตามกฎหมายสัญญาลักษณะน้ีไมถือวาเปนการจัดตั้งบริษัทจํากัดแหงใหมแตเปนการ สรางความผูกพันโดยสัญญาของโครงการนั้นๆ ดวยความสมัครใจของทั้งสองฝายในการจัดสรร หนาที่ความรับผิดชอบกําไรและขาดทุนและไมมีขอกําหนดเร่ืองเงินทุนข้นต่ําของตางชาติ ในสวนของ ระยะเวลาของสัญญาขึ้นนั้นอยูกับการตกลงกันและนักลงทุนตางชาติสามารถโอนเงินกําไรกลับ ประเทศไดไมยาก แมวาจะไมมีขอจํากัดในเรื่องระยะเวลาแตสวนใหญแลวสัญญาชนิดนี้จะเปน สัญญาระยะส้ัน ขอเสียของการลงทุนประเภทน้ีคือ ไมมีการจํากัดความรับผิดชอบหากเกิดการ ขาดทุน อีกท้ังนักลงทุนตางชาติยังขาดความเปนอิสระในการบริหารงาน
(2) กิจการรวมทุน (Joint Venture: JV)ในอดีตกิจการรวมทุนเปนรูปแบบที่นิยมกัน มากในเวียดนามแตปจจุบันเริ่มลดลง เนื่องจากมักมีปญหาดานการบริหารงานและการขยายธุรกิจ กิจการรวมทุนกอตั้งโดยสัญญารวมทุนระหวางนักลงทุน13 ตางชาติรายเดียวหรือหลายรายกับ นักลงทุนของเวียดนามรายเดียวหรือหลายรายเพื่อดําเนินกิจการทางธุรกิจรวมกัน หรือบางกรณีอาจ เปนการดําเนินการระหวางรัฐบาลตางประเทศกับรัฐบาลเวียดนามก็ได การลงทุนประเภทน้ีเปนการ ต้งบริษทใหมในรูปหุนสวนท่ีจํากัดความรับผิดชอบ มีสภาพเปนนิติบุคคลตามกฎหมายของเวียดนาม การกอต้ังตองไดรับใบอนุญาตและจดทะเบียนกอตั้งจากกระทรวงวางแผนและการลงทุน (Ministry of Planning and Investment: MPI) ทั้งนี้ผูที่เขารวมลงทุนจะมีกฎหมายกําหนดท่ีชัดเจนเก่ียวกับ การลงทุนโดยมีสัดสวนทุนของแตละฝายที่ชดเจนตามขอตกลง นกลงทนตางชาติอาจลงทุนในรูปของ เงินตราตางประเทศ โรงงาน เครื่องจักรและอุปกรณ สิทธิบัตร ความรูทางเทคนิคกระบวนการทาง เทคนิคและการบริการทางเทคนิค ซ่ึงจะมีการประเมินคาทุนเหลาน้ันเปนตัวเงินโดยใชราคาตลาด ณ เวลาน้นั สําหรบนกลงทุนชาวเวียดนามอาจลงทุนในรูปเงินตราของเวียดนามหรือเงินตราตางประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ดิน โรงงานหรือแรงงาน ไมมีการกําหนดเพดานของการลงทุนรวมหรือสัดสวน การลงทุนของนักลงทุนตางชาติ แตโดยทั่วไปสัดสวนการลงทุนจากตางชาติตองไมนอยกวารอยละ 30 ของเงินลงทุนท้ังหมด ในสวนของกําไรและความเส่ียงตางๆ ของกิจการรวมทุนจะเฉลี่ยไปในแต ละฝายที่รวมลงทุนตามสัดสวนของทุน ระยะเวลาของการลงทุนจะกําหนดไวชัดเจนในสัญญาหากไม สามารถทําไดตามเวลาที่กําหนดอาจถูกยกเลิกสัญญาทันที ระยะเวลาของสัญญากําหนดไวไมเกิน 50 ป แตทั้งนี้ขึ้นอยูกับเงินลงทุนดวย
13 สําหรับนักลงทุนท่ีมีความประสงคจะลงทนในนครโฮจมิ ินท สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดจาก http://www.itpc.hochiminhcity.gov.vn/en/guidebook/ITPC%20Guideboo2006.pdf , 2006. (Retrieved December 12, 2011)
กิจการรวมทุนจะดําเนินการโดยคณะกรรมการบริหาร (Board of Management: BOM) ซึ่งประกอบดวยผูแทนจากแตละฝายตามสัดสวนของเงินลงทุน ท้ังน้ีสมาชิกอยางนอย 2 คน ใน BOM จะตองมาจากฝายเวียดนาม สวนประธานของ BOM มาจากการแตงตั้งโดยผูรวมกิจการ ทั้ง สองฝายซึ่งเห็นชอบรวมกนเปนเอกฉนทและ BOM จะแตงต้งผูอํานวยการทั่วไปและรองผูอํานวยการ ท่วไปเพ่ือรับผิดชอบในการบริหารกิจการ ซ่ึงผูอํานวยการท่ัวไปหรือรองผูอํานวยการทั่วไปคนท่ี 1 คน ใดคนหนึ่งจะตองเปนตัวแทนจากฝายเวียดนาม
(3) กิจการที่ชาวตางชาติเปนเจาของท้ังหมด (Wholly Foreign–owned Enterprise) จากการท่ีตางชาติเปนเจาของเองทั้งหมด ซ่ึงนบเปนอีกทางเลือกหนึ่งของการลงทุนในเวียดนาม โดย เปนการลงทุนขององคกรหรือเอกชนจากตางประเทศท้ังหมด การลงทุนดังกลาวจะตองไดรับอนุมัติ จาก MPI หรือเจาหนาที่ทองถ่ินกอน การลงทุนในลักษณะนี้มีสถานะเปนบริษัทจํากัดตามทาง
กฎหมายการลงทุนของเวียดนามและผ งทุนมอานาจเตมในการบรหาริ็ํี
อนึ่ง คําวา "เงินลงทุน" ในเวียดนามมีศัพทสําคัญ 2 คําคือ "Registered Capital" หมายถึง มูลคาลงทุนทั้งหมดของโครงการน้ัน และ "Legal Capital" หมายถึง เงินลงทุนตามกฎหมายที่ นักลงทุนตางชาติจะตองนําเขามาลงทุนในประเทศคือ ไมตํ่ากวารอยละ 30 ของมูลคาเงินลงทุน ทั้งหมดในโครงการนั้น ซึ่งอาจนําเขามาเปนเงินสดหรือเครื่องจักรอุปกรณและเทคโนโลยีตางๆ โดย นักลงทุนจะตองเปดบัญชี "Capital Account" กับธนาคาร เพื่อใชเปนหลักฐานในการนําเงินเขามา ลงทุนและสามารถใชในการโอนเงินระหวางประเทศได แตสําหรบการใชจายในการดําเนินงานประจํา วันตองแยกบัญชีตางหากที่ เรียกวา "Operating Account" นอกจากนี้นักลงทุนไมสามารถกูเงินระยะ ยาว (เกิน 1 ป) จากธนาคารเกินรอยละ 70 ของมูลคาลงทุนของโครงการแตไมมีขอจํากัดในการกู ระยะส้ัน
(4) กิจการที่ทําสัญญากับภาครัฐเปนรูปแบบการลงทุนที่เปนขอตกลงระหวางหนวย งานราชการของเวียดนามกับนักลงทุนตางชาติ ซึ่งอาจเปนบริษัทตางชาติถือหุนทั้งหมดหรือบริษัท รวมทุนกับเวียดนาม เพ่ือที่จะสรางหรือดําเนินการในโครงการสาธารณูปโภคข้ันพื้นฐาน เชน สะพาน ถนน สนามบิน ทาเรือ ประปา ไฟฟา เปนตน โดยผูลงทุนจะไดรับอนุญาตใหดําเนินโครงการใน ระยะเวลาที่เพียงพอที่จะทําใหไดรับเงินลงทุนคืนพรอมกําไรที่สมเหตุสมผล ทั้งนี้ขึ้นอยูกับขอกําหนด ในสัญญา โดยอาจเปนสัญญาในรูป BOT (Build-Operate-Transfer: BOT)คือ สรางเสร็จแลว สามารถหาผลประโยชนไดในชวงเวลาหนึ่งกอนโอนกิจการเปนของรัฐ หรือ BTO คือ สรางเสร็จแลว ตองโอนใหรัฐกอน จึงเปดดําเนินการเพ่ือหาผลประโยชนไดในชวงเวลาหนึ่ง หรือ BT (Build- Transfer-Contract: BT) คือสรางเสร็จแลวตองโอนใหรัฐทันที โดยรัฐจะอนุญาตใหนักลงทุนตางชาติ ไปลงทุนในโครงการอ่ืนๆ เพื่อใหไดรับผลตอบแทนตามสมควร เปนตน ทั้งนี้รัฐบาลเวียดนามได
สนับสนุนการลงทุนตางชาติในรูปแบบดังกลาวโดยการใหสิทธิพิเศษในการใชที่ดินและสิ่งอํานวย ความสะดวกตางๆ รวมทั้งสิทธิพิเศษทางดานภาษี เปนตน
(5) กิจกรรมอ่ืน ๆ นอกจากนี้ นักลงทุนอาจขยายกิจการในเวียดนามในรูปแบบอื่นๆ ได เชน การตั้งสํานักงานตัวแทนทางการคาและการลงทุนในเวียดนาม เพ่ือทําหนาท่ีแทนบริษทแมใน ตาง ประเทศหรือการขยายสาขาของธุรกิจบางประเภท เชน ธนาคาร ประกันภัย การบัญชีหรือ
กฎหมาย เปนต แตจะมีขอบเขตการดําเนินกจการทิ ี่คอนขางจากัดํ
อนึ่งรัฐบาลกําลังปรับปรุงกฎหมายสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศใหม โดยจะรวม กฎหมายการลงทุนในประเทศและการลงทุนจากตางประเทศเขาดวยกันพรอมกับปรับปรุงใหม ที่ สําคัญไดแก การเพิ่มรูปแบบการลงทุนมากข้ึน เชน การรวมหุนในบริษัท (Joint Stock Company) หางหุนสวน (Partnership) บริษัทเอกชน (Private Enterprise) และการควบรวมกิจการ (Merger and Acquisition) รวมทั้งจะยกเลิกเงื่อนไขที่หามชาวตางชาติถือหุนในกิจการของชาวเวียดนามเกิน รอยละ 30 ดวย
3. การขออนุมัติลงทุน
ตามหนังสือคูมือการประกอบธุรกิจและลงทุนในเวียดนาม ซึ่งจัดทําโดย Foreign Investment Agency (FIA) ซึ่งเปนหนวยงานภายใต Ministry of Planning and Investment of Vietnam (2007)14 ไดระบุวาข้นตอนในการอนุมัติลงทุนของตางชาติจะมีความแตกตางกันตามขนาด มูลคาเงินลงทุนและสาขาที่ลงทุน ซึ่งแบงออกไดเปน 3 กรณี คือ
(1) การจดทะเบียนธุรกิจ (Business Registration) สําหรับกิจการของนักลงทุนใน ประเทศขนาดเล็กที่มีมูลคาเงินลงทุนนอยกวา 940,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา และไมอยูในสาขา อุตสาหกรรมลงทุนที่มีเง่ือนไขกําหนดตองทําการจดทะเบียนดงกลาว
(2) การจดทะเบียนลงทุน (Investment Registration) สําหรับกิจการตางชาติท่ีมี มูลคาเงินลงทุนนอยกวา 19 ลานเหรียญสหรฐอเมรกา (และกิจการของนักลงทุนในประเทศท่ีมีมูลคา เงินลงทุนระหวาง 0.94 ถึง 19 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา) และไมอยูในสาขาอุตสาหกรรมลงทุนท่ีมี เงื่อนไขกําหนด ตองทําการจดทะเบียนดังกลาวและตองไดรับใบรับรองการลงทุน (Investment Certificate) ซ่ึงทําหนาท่ีเสมือน Business Registration ใหกิจการเริ่มดําเนินการได
(3) การประเมินการลงทุน (Investment Evaluation) สําหรับกิจการของทั้งนกลงทุน ตางชาติและนักลงทุนในประเทศที่มีมูลคาเงินลงทุนเกินกวา 19 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา หรือการ
14 http://www.vietpartners.com/Statistic-fdi.htm , Ministry of Planning and Investment of Vietnam, 2007. (Retrieved December 12, 2011)
ลงทุนในอุตสาหกรรมลงทุนท่ีมีเง่ือนไขกําหนดจะตองผานการพิจารณาประเมินการลงทุน โดยเกณฑ ที่ใชพิจารณาไดแก (1) สถานภาพตามกฎหมายและศักยภาพทางการเงิน (2) ความสอดคลองกับ
แผนยุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม (3) ผลประโยชนที่เกิดขึ้นกับรัฐบาลหรือประชากร เวียดนามในดานศักยภาพการผลิตแบบใหม เทคโนโลยีอุตสาหกรรม การขยายตลาดและการสราง งาน (4) การพยากรณรายรับ (5) ระดับเทคโนโลยีและความชํานาญ (6) ความมีประสิทธิภาพในการ
ใชทรัพยากร (7) การคุมครองสิ่งแวดลอม (8) มีแผนการใชและจายผลตอบแทนการใชที่ดินที่ชัดเจน
(9) มาตรการจูงใจท่ีโครงการไดรับ กลุมอุตสาหกรรมลงทุนท่ีมีเงื่อนไขกําหนด
- สาขาท่ีมีผลกระทบตอความม
- การเงินและธนาคาร
คง ความปลอดภัย ความสงบและการปองกันประเทศ
- สาขาอุตสาหกรรมท่ีมีผลกระทบตอสาธารณสุข
- ส่ิงพิมพ การพิมพ การเผยแพรขอมูลขาวสารและวัฒนธรรม
- บริการดานบันเทิง
- ธุรกิจอสังหาริมทรัพย
- การสํารวจ ขุดเจาะทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทางนิเวศ
- การพัฒนาการศึกษาและการฝกอบรม
อยางไรก็ตาม จังหวัด นิคมอุตสาหกรรมและเขตการคาพิเศษบางแหงในเวียดนามจะมี หนวยงานเฉพาะที่จะอํานวยความสะดวกดานการขออนุมัติโครงการการลงทุนแบบครบวงจร (One
Door Policy) ใหแกนกลงทุนตางชาติที่จะลงทุนในพื้นที่ โดยข ตอนทั้งหมดจะใชเวลาเพียงประมาณ
7-10 วนั สําหรับการลงทุนในสาขาท่ีไมใชสาขาที่มีเง่ือนไขพิเศษ
ทั้งนี้จากรายงานของ U.S. Department of State (2006)15 ไดจัดทํารายงาน Investment Climate Statement–Vietnam ข้ึน โดยรายงานฉบับดังกลาวไดกลาวชมเชยถึงการเปล่ียนผานของ เศรษฐกิจเวียดนามที่มีผลทําใหสภาพแวดลอมการลงทุนไดรับการปรับปรุงใหดีข้ึน อยางไรก็ตาม รายงานฉบบดังกลาวไดระบุถึงส่ิงที่นักลงทุนตางชาติพึงตระหนักกอนพิจารณาลงทุน ไดแก ความไม พรอมของสาธารณูปโภค ระบบการเงิน ความไมโปรงใส การเปลี่ยนแปลงนโยบายภาษีเงินได ภาษี สงออก-นําเขาและการไมใหความคุมครองแกนักลงทุนอยางเต็มท่ีโดยเฉพาะกรณีการถูกเรียกสินบน
4. หนวยงานท่ีเกี่ยวของกับการลงทุน
15 http://www.uscc.gov/researchpapers/2011/GoingOut.pdf , 2011. (Retrieved December 12, 2011)
หนวยงานหลักท่ีรับผิดชอบการลงทุนของตางชาติ คือ กระทรวงวางแผนและลงทุน (Ministry of Planning and Investment – MPI) ทําหนาท่ีพิจารณาอนุมัติโครงการลงทุน รวมท้ังให ความชวยเหลือเบื้องตนเกี่ยวกับการลงทุนในเวียดนาม ตลอดจนประสานงานกับหนวยงานอื่นๆ ที่ เก่ียวของ ทั้งนี้หากเปนการลงทุนธุรกิจการเงินและธนาคารควรติดตอกับธนาคารแหงชาติของ เวียดนาม (State Bank of Vietnam) โดยตรง
ในสวนของการพิจารณาอนุมัติน้ันมีฝายที่ทําหนาท่ีอนุมัติการลงทุน 3 ฝาย โดยแตละฝาย มีขอบขายของโครงการที่มีอํานาจอนุมัติตางกันดังนี้
1. นายกรัฐมนตรี (PM) ซึ่งมีหนาที่พิจารณาอนุมัติ (1) โครงการลงทุนสาขาท่ีสําคัญไดแก สนามบิน ทาเรือ เหมืองแร ปโตรเคมี โทรทัศนกระจายภาพและเสียง คาสิโน การผลิตบุหรี่ มหาวิทยาลัยและการสราง/พัฒนานิคมประเภทตางๆ (2) โครงการลงทุนที่มีมูลคาโครงการสูงกวา 1,500 ลานดองเวียดนาม ในสาขาเคร่ืองใชไฟฟา แอลกอฮอล เบียร การคา เปนตน (3) โครงการ ลงทุนของตางชาติในสาขาการขนสงทางทะเล ไปรษณีย เครือขายโทรคมนาคมและอินเทอรเน็ต การ พิมพ เปนตน
2. คณะกรรมการบริหารจังหวัด (PCs) ซึ่งมีหนาท่ีพิจารณาอนุมัติโครงการลงทุนท่ีอยูนอก นิคมประเภทตางๆที่อยูนอกเหนือจากในขอที่ 1 และโครงการการลงทุนในสาธารณูปโภคของนิคมท่ี ไมมีคณะกรรมการบริหาร
3. คณะกรรมการบริหารของนิคม (MBs) ซ่ึงมีหนาที่พิจารณาอนุมัติโครงการลงทุนที่อยูใน นิคมที่อยูนอกเหนือจากขอที่ 1 และโครงการลงทุนพัฒนาสาธารณูปโภคในนิคมที่มีคณะกรรมการ บริหาร
ขณะเดียวกันคณะกรรมการบริหารจังหวัดและคณะกรรมการบริหารนิคมหลายแหงตาง พยายามดึงดูดการลงทุนจากตางชาติ โดยการปรับระบบการพิจารณาอนุมัติโครงการใหสะดวก สําหรับนักลงทุนตางชาติมากข้ึน ทั้งในดานการลดเวลารอคอย การจัดใหมีศูนยบริการเบ็ดเสร็จครบ วงจรสําหรับนักลงทุน ซึ่งทําใหนักลงทุนตางชาติไดรับความสะดวกขึ้น แตก็ทําใหเกิดนักลงทุนเกิด ความสบสนในกฎระเบียนและขั้นตอนที่ตางกนในแตพ้ืนที่ (U.S. Department of State 2006)16
4. สิทธิประโยชนและมาตรการสงเสริมการลงทุนของตางชาติ กฎหมายการลงทุนจากตางประเทศของเวียดนามใหการรับประกันวาจะใหการปฏิบัติ
อยางเปนธรรมและเทาเทียมกนตอนกลงทุนตางชาติท่ีลงทุนในเวียดนามในดานตางๆ ดังนี้
16 www.state.go/ , U.S. Department of State, 2006. (Retrieved December 12, 2011)
1. ไมมีการยึดทรัพยสินหรือโอนกิจการลงทุนของตางประเทศเปนของรัฐ ตลอดชวงระยะ เวลาของการลงทุน
2. ใหการรับประกันวาจะปกปองสิทธิในทรัพยสินอุตสาหกรรมและผลประโยชนในการ ถายทอดเทคโนโลยีในเวียดนาม
3. รัฐบาลจะปกปองผลประโยชนของนักลงทุนอยางสมเหตุสมผล หากมีการเปล่ียนแปลง กฎหมายใดๆ ที่กอใหเกิดความเสียหายแกนักลงทุน เชน หากกฎหมายที่ประกาศใชภายหลังทําให ผลประโยชนของนักลงทุนลดลง นักลงทุนที่ลงทุนกอนหนาที่กฎหมายใหมประกาศใชมีสิทธิเลือกใช สิทธิประโยชนตามกฎหมายเดิมได
4. รฐบาลรบประกนการให ิทธการโอนยิ ายไปตางประเทศสาหรบัํ
- กําไรจากการดําเนินธุรกิจ
- เงินที่ไดรบจากการจดเตรียมเทคโนโลยีและการบริการ
- เงินตนและดอกเบี้ยของเงินกูจากตางประเทศในระหวางดําเนินกิจการ
- เงินลงทุน
- เงินและทรพยสินอื่นๆ ที่มีกรรมสิทธิ์โดยชอบดวยกฎหมาย
- รายไดหลังหกภาษีรายไดของแรงงานตางชาติที่ทํางานในเวียดนาม
5. เม่ือเกิดขอพิพาทระหวางผูรวมทุน หรือระหวางบริษัทตางชาติกับสถาบันใดๆ ของ เวียดนามและไมสามารถตกลงกันได สามารถเสนอใหอนุญาโตตุลาการหรือองคกรอื่นๆ ตามที่ตกลง กันเปนผูไกลเกล่ียหรือประนีประนอมได
6. อนุญาตใหบริษัทตางชาติดําเนินการลงทุนได 50 ป และสามารถตอเวลาไดถึง 70 ป รัฐบาลของเวียดนามสงเสริมการลงทุนจากตางชาติอยางจริงจัง โดยตั้งเปาหมายเพื่อ
ดึงดูดการลงทุนทางตรงจากตางชาติ (ทั้งรายเดิมและรายใหม) ใหไดถึง 17.5 – 19 พันลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา ในชวงระหวาง ค.ศ. 2006-2010 (มูลคาเงินลงทุนทางตรงจากตางชาติสะสมต้ังแตเปด ประเทศ เม่ือ ค.ศ. 1988 ถึง ค.ศ. 2005 เทากับ 50.5 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา) ซึ่งตามรายงาน ประจํา ป ค.ศ. 2007 ขององคการประชุมดานการคาและพัฒนาแหงสหประชาชาติ (UNTAD)17 ได นําเสนอผลการสํารวจความคิดเห็นจากนกธุรกิจขามชาติตางๆท่วโลก ซ่ึงพบวาเวียดนามเปนประเทศ ท่ีนาลงทุนมากที่สุดเปนลําดับที่ 6 ของโลก และอันดบท่ี 3 ของเอเชีย (รองจากจีน และอินเดีย)
17 http://www.unctad.org/en/docs/wir2007_en.pdf , UNTAD World Investment Report, 2007. (Retrieved December 12, 2011)
3.4 วิเคราะหขอมูลพื้นฐานสปป.ลาวและเวียดนาม การลงทุนของบรรษัทขามชาติจีนในสปป.ลาวและเวียดนามสอดคลองกับนโยบายเปดรับ
การลงทุนจากตางประเทศของลาวและเวียดนาม โดยแตละประเทศตางมีการออกกฎหมายรองรับ การลงทุนจากตางชาติอยางชัดเจนในชวงสองทศวรรษที่ผานมา และมีการจัดตั้งหนวยงานที่มีหนาท่ี รับผิดชอบเกี่ยวกับการพิจารณาและอํานวยความสะดวกการลงทุนของตางชาติ เพื่อสงเสริมและ กระตุนการลงทุนจากตางชาติ สวนในดานขั้นตอนการขออนุมัติลงทุนนั้นก็มีการจัดทําเปนคูมือ สําหรับนักลงทุนตางชาติอยางชัดเจน
ทั้งนี้แมวาในกฎหมายท่ีเกี่ยวของกับการลงทุนของท้ังลาวและเวียดนามมีทั้งการสงเสริม และไมสงเสริมใหลงทุน แตในทางปฏิบัติก็ใชวาการลงทุนในสาขาอื่นๆนอกเหนือจากสาขาดังกลาว จะไดรับอนุมัติใหลงทุนไดทุกกรณี ทั้งนี้เนื่องจากรัฐบาลของแตละประเทศตางตองพิจารณาถึง ประโยชนที่ประเทศของตนจะไดรับและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับประชาชนและผูประกอบการทองถิ่น เชน เปนอุตสาหกรรมที่สงออกเพื่อสรางรายไดใหกับประเทศหรือไม เปนอุตสาหกรรมท่ีกอใหเกิดการ จางงานมากนอยเพียงใด เปนอุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูงกวาที่เปนอยูในประเทศ หรือไม เปนอุตสาหกรรมที่แขงขันกับผูประกอบการในระดับพื้นที่หรือไม เปนอุตสาหกรรมที่ใชเงิน ลงทุนสูงหรือไม เปนอุตสาหกรรมที่กอใหเกิดผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมหรือไม เปนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีในอนาคตหรือไม เปนตน ดังนั้นนกธุรกิจที่สนใจไปลงทุนใน ประเทศกลุมดงกลาวจึงควรแสดงถึงผลประโยชนที่จะเกิดข้นกับประเทศนั้นอยางเปนรูปธรรม ชัดเจน และทําไดจริงเพื่อที่จะไดรับลําดับการพิจารณาที่ดีข้ึน
กฎระเบียบและขั้นตอนการลงทุนในสปป.ลาวและเวียดนาม การลงทุนของจีนในลาวและเวียดนามจะมีกฎระเบียบและขั้นตอนการลงทุนที่แตกตางกัน
เนื่องจากทั้งสองประเทศมีการออกกฎหมายรองรับการลงทุนจากตางประเทศอยางชัดเจนและมีการ จัดตั้งหนวยงานที่มีหนาท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับการพิจารณาและมีการอํานวยความสะดวกการลงทุน ของตางชาติเพื่อสงเสริมและกระตุนใหเกิดการลงทุนจากตางชาติ
สวนในดานขั้นตอนการขออนุมัติลงทุนน้ัน มีการจัดทําเปนคูมือสําหรับนักลงทุนตางชาติ อยางชัดเจนทั้งในรูปแบบของเอกสารและโฮมเพจ ซึ่งหากพิจารณาจากกฎหมายและคูมือการลงทุน แลว นักลงทุนอาจเห็นวามีความสะดวกในการยื่นคํารองขออนุมัติการลงทุน แตในทางปฏิบัตินั้นผล การศึกษาพบวายิ่งในข้ันตอนการขออนุมัติการลงทุนตองมีการติดตอหนวยงานมากขึ้นเทาใดความ ยุงยากซับซอน ระยะเวลาและคาใชจายที่ใชก็ยิ่งมากข้ึนเทานั้น ซึ่งนักลงทุนที่ลงทุนสวนใหญยังมี ความเห็นวาขั้นตอน ระยะเวลาและคาใชจายในการลงทุนมิไดเปนไปตามเอกสารคูมือของทาง ราชการแตก็มีแนวโนมท่ีสะดวกมากขึ้นอยางตอเนื่อง
สําหรับนักลงทุนจีนไมตองเผชิญกับความยุงยากซับซอนของกระบวนการอนุมัติลงทุนและ จัดตั้งธุรกิจในลาวและเวียดนาม มีทางเลือกใหนักลงทุนเขาลงทุนในนิคมอุตสาหกรรม (สวนใหญ เปนของรัฐและเอกชน) นอกจากจะมีสาธารณูปโภคที่พรอมแลว นักลงทุนที่ลงทุนในนิคม อุตสาหกรรมและมีเงินลงทุนตามที่กฎหมายกําหนดจะไดรับบริการแบบเบ็ดเสร็จในจุดเดียว ณ สํานักงานของนิคมอุตสาหกรรม ทั้งนี้เนื่องจากรัฐบาลท้ังของลาวและเวียดนามมักจัดสรรเจาหนาที่ รัฐบาลทําหนาท่ีเก่ียวกับการพิจารณาอนุมัติการลงทุนใหทําหนาท่ีประจําในนิคมอุตสาหกรรม การ ลงทุนในนิคมอุตสาหกรรมมักมีขอจํากัดในประเด็นคาเชาของที่ดินที่สูงกวานอกนิคมและการลงทุน ในนิคมอุตสาหกรรมมักไมเหมาะสมสําหรับธุรกิจบางประเภท (เชน การคาและการบริการ เปนตน )
นอกจากนี้ในสปป.ลาวและเวียดนาม มักมีการกระจายอํานาจการตัดสินใจอนุมัติโครงการ
ลงทุนท่ีมีมูลคาไมสูงมากนักใหกบหนวยงานปกครองระดับทองถิ่น (จังหวดหรือเขต) ซึ่งในทางปฏิบตั หนวยงานปกครองระดบทองถิ่นเหลาน้ีในบางประเทศตางมีมาตรการของกฎระเบียบ ข้ันตอนการขอ อนุมัติสาขาท่ีสงเสริมการลงทุนและมาตราการสงเสริมการลงทุน ตลอดจนระยะเวลาและคาใชจายท่ี
ตองการใชในการขออนุมัติการลงทุนที่แตกตางกัน ดังน้ันนักลงทุนที่สนใจลงทุนทําธุรกิจในพื้นท่ีใด นอกจากการศึกษากฎระเบียบการลงทุนของสปป.ลาวและเวียดนามแลว ซึ่งจะตองศึกษากฎระเบียบ และรายละเอียดของการสงเสริมการลงทุนในพ้ืนที่ลงทุนดวย
การสงเสริมการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศของจีนในสปป.ลาวและเวียดนาม โดยมี มาตรการสงเสริมการลงทุนของตางชาติท่ีสําคญของสปป.ลาวและเวียดนาม ดังนี้คือ
ตารางท่ี 1 เปรียบเทียบการลงเสริมการลงทุนของสปป.ลาวและเวียดนาม สปป.ลาว เวียดนาม
- ไดร ับสิทธิพิเศษทางภาษีตามเขต/พื้นท่ีกําหนด
- การยกเวนภาษียานพาหนะ และเคร่ืองจกร
- ยกเวนภาษีสินคาสงออก
- ไดรับการปกปองสิทธิและผลประโยชนอัน ชอบธรรม
- การยกเวน /ลดหยอนภาษีสําหรับสาขา อุตสาหกรรมที่กําหนด
- การยกเวน/ลดหยอนภาษีสําหรับสาขา อุตสาหกรรมที่กําหนด
- ใหหลกประกนความม่นคงในการลงทุน ท
ดาน
- อนุโลมใหใชแรงงานตางประเทศไดเม่ือจําเปน
การยึดทรัพย ทรัพย
ินทางปญญา
(ไมเกินรอยละ 10)
- สงผลกําไร รายไดกลบได (ผานธนาคารในลาว)
- ใหการรับประกันผลกระทบจากการ เปล่ียนแปลงกฎหมาย
- รับประกันสิทธิในการโอนกําไร รายได เงินตน ดอกเบี้ย เปนตน
ศกยภาพของสปป.ลาวและเวียดนาม สปป.ลาวและเวียดนามตางมีทรัพยากรธรรมชาติท่ีอุดมสมบูรณที่เหมาะสําหรับการลงทุน
ที่เกี่ยวของกับเกษตรกรรม ทั้งการปลูกพืชตามภูมิประเทศและภูมิอากาศท่ีเหมาะสม การทําปศุสัตว การประมงหรือแมกระทั่งอุตสาหกรรมที่ใชทรัพยากรธรรมชาติเปนปจจัยการผลิตอยาง แรธาตุ เชน ถานหิน ทองคํา ทองแดงและน้ํามัน เปนตน และอุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวของกับการทองเที่ยวตามแหลง ทองเที่ยวทางธรรมชาติ
อยางไรก็ตามปจจัยการผลิตหลักที่สปป.ลาวและเวียดนามท่ีตางขาดแคลน และนับเปน โอกาสของการลงทุนนักลงทุนจีน คือ เงินทุน เทคโนโลยี ดังน้ันรัฐบาลของสปป.ลาวและเวียดนามจึง สงเสริมการลงทุนในประเภทธุรกิจที่ไดมีการตักตวงและทําลายทรัพยากรธรรมชาติของลาวและ เวียดนามและเปนการลงทุนที่มีการเพิ่มมูลคาของทรัพยากรและยกระดับเทคโนโลยีการผลิต ตลอดจนการถายทอดเทคโนโลยีทางการผลิต รวมทั้งปจจัยการผลิตดานแรงงานนั้นในเชิงปริมาณ ของกําลงแรงงานน้นจะเห็นไดอยางชดเจนวาเวียดนามมีกําลังแรงงานมากกวาสปป.ลาว
สําหรับกิจการที่ทําการผลิตในอุตสาหกรรมปลายน้ํา ซ่ึงตองใชวัตถุดิบเปนสินคาขั้นกลาง จากผูผลิตรายอื่น การลงทุนทําการผลิตอาจตองนําเขาวัตถุดิบจากประเทศอื่นไปทําการผลิต ท้ังนี้ เน่ืองจากสปป.ลาวยังมีผูประกอบการที่ผลิตสินคาในอุตสาหกรรมสนับสนุนคอนขางนอย สวน เวียดนามนั้นการเติบโตอยางรวดเร็วในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งจะสงผลใหมีการเติบโตและพัฒนาของ อุตสาหกรรมสนับสนุน
ในสวนปจจัยสนับสนุนดานสาธารณูปโภค ประเทศที่มีการพัฒนาสาธารณูปโภคไดมากคือ เวียดนาม เนื่องจากไดรับความชวยเหลือจากองคการระหวางประเทศและการจัดสรรงบประมาณ ของรัฐบาลเวียดนาม โดยรัฐบาลเวียดนามมีแผนสนับสนุนพัฒนาสาธารณูปโภคตางๆ ทั้งโรงงาน ผลิตไฟฟา โรงกลั่นน้ํามัน ถนน เสนทางรถไฟ สนามบิน เครื่อขายโทรคมนาคม อยางเปนระบบ สวนสปป.ลาวมีแผนกอสรางโรงผลิตไฟฟาเพื่อการสงออกอยางตอเน่ือง สงผลใหม ีไฟฟาใชในประทศ อยางเพียงพอในราคาที่เหมาะสม ถึงแมวาจะยังมีขอจํากัดในดานสาธารณูปโภคที่เกี่ยวกับการ คมนาคมก็ตาม
สวนศักยภาพดานตลาดนั้น แบงออกได 2 ประเภทคือ ตลาดภายในประเทศ ซึ่งสามารถ พิจารณากําลังซื้อของประชาชนไดจากระดับรายไดตอหัวตอปของประชากร และเวียดนามเปน ประเทศที่มีประชากรที่มีกําลังซ้ือสูงกวาสปป.ลาว เมื่อพิจารณาในดานการตลาดตางประเทศท่ีควร พิจารณาคือ สิทธิพิเศษทางดานการคาที่แตละประเทศเหลานี้ไดรับ รวมทั้งการไดรับสิทธิพิเศษ การคาตามกรอบขอตกลงของอาเซียน
สปป.ลาวมีศกยภาพในดานคาแรงงานที่ยังคอนขางตํ่ามีทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ ั้งแรธาต
พลังน้ําและที่ดินสําหรับทําการเกษตร แตยังขาดแคลนเทคโนโลยีการผลิตและมีขอจํากัดในดาน ตลาดในประเทศที่มีประชากรนอย ความพรอมของสาธารณูปโภคและการไมมีพรมแดนติดทะเลจึง ทําใหการขนสงสินคาระหวางประเทศตองผานประเทศอื่น
จุดแข็ง: สปป.ลาวมีพรมแดนติด 5 ประเทศทําใหสามารถใชลาวเปนเสนทางเชื่อมโยงการ ขนสงกับจีน ไทย เวียดนาม พมาและกัมพูชา ลาวมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณและแหลง พลังงานไฟฟา รัฐบาลลาวในระบบสังคมนิยมมีเสถียรภาพ มีนโยบายใหมีการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจ พิเศษในพ้ืนที่แตละภาคของลาว
จุดออน: สปป.ลาวมีระบบเศรษฐกิจยังไมกระต ใหเกิดการพัฒนาอยางเตมท่ี็ การอนุญาต
ใหลงทุนขึ้นอยูกับผูปกครองของแตละแขวง แรงงานของลาวสวนใหญเปนแรงงานไรฝมือ มีขอจํากัด ในการนําผลกําไรของผูลงทุนกลับประเทศ ระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานยังขาดการพัฒนา ผูถือ บัตรผานแดนเดินทางผานเขาพ้ืนที่ตางๆ ในลาวไมสะดวก ตลาดภายในประเทศมีขนาดเล็ก
โอกาส: ลาวมีพรมแดนติดตอหลายประเทศ หากการกอสรางเสนทางเชื่อมโยงแลวเสร็จจะ มีความไดเปรียบในการติดตอและการสงสินคาผานลาวไปยังประเทศอื่น เชน จีน เวียดนาม เปนตน ประชากรลาวมีเจตคติที่ดีตอสินคาไทยในดานคุณภาพเม่ือเปรียบเทียบสินคาจากจีนและเวียดนาม รฐบาลสงเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมการเกษตร
อุปสรรค: การขนสงสินคาผานแดนยังมีความซบซอน อุตสาหกรรมคาปลีกตองอาศัยความ สัมพันธยาวนาน การทํา Contract Farming ยังมีอุปสรรคในการเขาถึงที่ดิน การพัฒนาเสนทาง คมนาคมเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบานคอนขางยากและไมมีศักยภาพ แรงงานมีเจตคติที่ไมดีตอ งานบริการ
เวียดนามนับวามีศักยภาพสูงมากทั้งในดานกําลังแรงงานที่ประชากรสวนใหญของประเทศ อยูในวัยหนุมสาว คาแรงยังคอนขางต่ํา การพัฒนาของสาธารณูปโภคอยางตอเนื่อง ขนาดของตลาด ภายในประเทศที่มีประชากรมาก รวมทั้งชองทางการสงออกสินคาไปยังตลาดตางประเทศ เสถียรภาพทางการเมืองและเศรษฐกิจ แตมีขอจํากัดคือความรุนแรงในการแขงขันทั้งนี้เนื่องจาก เวียดนามเปนประเทศที่นกลงทุนตางชาติเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว
จุดแข็ง: เวียดนามมีชายฝงทะเลยาวจากเหนือจรดใตประมาณ 2,100 กิโลเมตร ทําใหเปน ประตูชายฝงทะเลที่ใหญที่สุดของอินโดจีน มีเสถียรภาพทางการเมืองและความปลอดภัยสูง เศรษฐกิจเวียดนามขยายตัวในเกณฑสูงอยางตอเนื่อง (โดยเฉพาะในเขตเมือง) มีทรัพยากรทั้งน้ํามัน ถานหิน ประมงที่อุดมสมบูรณ ต้ังอยูในทําเลที่สะดวกตอการขนสงสินคาไปยังประเทศในภูมิภาค เอเชียตะวันออกมีเขตเศรษฐกิจพิเศษเปนจํานวนมาก
จุดออน: กฎหมายและระเบียบหลายประการของเวียดนามท่ีเกี่ยวของกับการลงทุนมีการ เปลี่ยนแปลงบอย ขาดบุคลากรที่มีฝมือและความชํานาญเฉพาะทาง นักลงทุนทองถิ่นขาดแคลน เงินทุนเปนอุปสรรคตอการรวมทุนกับตางชาติ ขาดอุตสาหกรรมสนับสนุนอีกมาก การแขงขันทาง ธุรกิจเริ่มมีความรุนแรงมากข้ึน
โอกาส: เวียดนามมีความชัดเจนในมาตรการสงเสริมการลงทุนจากตางชาติมากขึ้นจาก การเขาเปนสมาชิกองคการระหวางประเทศตางๆ เวียดนามเปนแหลงลงทุนอุตสาหกรรมขนาดใหญ ของโลกทําใหเปนโอกาสของการลงทุนในอุตสาหกรรมสนับสนุนประชาชนเวียดนาม รัฐบาลสงเสริม การลงทุนจากตางประเทศอยางจริงจัง ทางรถไฟจากคุนหมิง-เวียดนามทําใหการคาขายระหวางจีน กับเวียดนามทําไดสะดวกกวาเดิม ไดร บเงินชวยเหลือจากตางชาติและการโอนรายไดจากชาวจีนโพน ทะเลเขาสูระบบเศรษฐกิจจํานวนมาก รัฐบาลมีทิศทางการพัฒนาสาธารณูปโภค พลังงานและการ คมนาคมที่ชดเจน
อุปสรรค: เวียดนามเริ่มเผชิญการแขงขันที่สูงขึ้นในตลาดโลกโดยเฉพาะการแขงขันจากจีน นักลงทุนตางชาติขาดความเชื่อม่ันในระบอบการปกครองและอุปนิสัยของนักลงทุนทองถิ่น มี เทือกเขาสูงตลอดแนวชายแดนเวียดนาม-ลาว ทําใหเกิดขอจํากัดในการพัฒนาเสนทางคมนาคม ขนสงที่มีมาตรฐานได ไมสามารถพัฒนาการคมนาคมขนสงไดสะดวกเทาที่ควร เนื่องจากขาดเงินทุน ราคาท่ีดินและอสังหาริมทรัพยที่เพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว รัฐบาลยังคุมครองการลงทุนในอุตสาหกรรม บางสาขา เชน รานอาหาร รานคาปลีก เปนตน
การลงทุนโดยตรงของบรรษัทขามชาติจีนในตางประเทศ
พัฒนาการทางเศรษฐกิจของจีนท่ีทะยานขึ้น เริ่มตั้งแตยุคของการเปดประเทศเมื่อ ค.ศ. 1978 ขณะเดียวกันการกาวออกไปลงทุนในตางประเทศของจีนเริ่มในชวงหลังที่จีนเปนผูมีบทบาทใน ฐานะเปนผูรับการลงทุนจากตางประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) แตขณะเดียวกันจีน ก็กาวมาเปนผูออกไปลงทุนในตางประเทศ (Outward Direct Investment) มากยิ่งข้ึน โดยจากขอมูล สถิติของกระทรวงพาณิชยจีน (MOFCOM) รายงานวา จีนไดขยับขึ้นจากประเทศผูออกไปลงทุนใน ตางประเทศจากอันดับท่ี 12 ใน ค.ศ. 2009 มาเปนประเทศผูลงทุนในตางประเทศติดอันดับ 5 ของ
โลก เม่ือ ค.ศ. 2010 มีบรรษัทขามชาติจีนกวา 13,000 แหงไดออกไปลงทุนในตางประเทศกวา 177 แหงทั่วโลก1 และบรรษัทขามชาติจีนไดกาวขึนมาเปนผูลงทุนโดยตรงในตางประเทศท่ใหญสุดในกลุม ประเทศกําลังพัฒนา
ท้ังนี้การลงทุนของจีนในตางประเทศไดเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ที่เริ่มในชวงหลังที่จีนเขาเปน สมาชิกองคการการคาโลก (WTO) เมื่อ ค.ศ. 2001 แตเม่ือพิจารณาต้ังแต ค.ศ. 2005 มีมูลคาการ ลงทุนนอกประเทศ 2.7 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา และขยับเพ่ิมเปนมูลคา 26.5 พันลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา ใน ค.ศ. 2010 โดยภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก ถือเปนภูมิภาคที่นักลงทุนจีนใหความสนใจ ในการลงทุนมากที่สุดประมาณรอยละ 60 ของมูลคาการลงทุนนอกประเทศของจีน2 โดยในบทนี้จะ กลาวถึง การลงทุนโดยตรงของบรรษัทขามชาติจีนในตางประเทศ โดยการศึกษาภาพรวมการลงทุน โดยตรงของบรรษัทขามชาติจีนในตางประเทศ พัฒนาการการลงทุนโดยตรงของบรรษัทขามชาติจีน ในตางประเทศ แนวทางนโยบายการลงทุนโดยตรงของบรรษัทขามชาติจีนและบทบาทของบรรษัท ขามชาติจีนในตางประเทศ กลาวคือ
1. ภาพรวมการลงทุนโดยตรงของบรรษทขามชาติจีนในตางประเทศ จีนขยายการลงทุนโดยตรงในตางประเทศ (Outward Foreign Direct Investment) เพิ่ม
สูงขึ้นทุกป ใน ค.ศ. 2005 การลงทุนโดยตรงในตางประเทศของจีนมีมูลคาสูงกวา 10 พันลานเหรียญ สหรัฐอเมริกาเปนครั้งแรก โดยเริ่มจาก ค.ศ. 2000-2005 มูลคาการลงทุน (FDI) เติบโตเฉล่ียรอยละ
1 UNITED, 2009. และ http://www.marketeer.co.th/marketeertoday_detail.php?marketeertoday_id=3247 (Retrieved December 12, 2011)
2 Nargiza Salidjanova, Policy Analyst for Economic and Trade Issues, Going Out: An Overview of China’s Outward Foreign Direct Investment, USCC Staff Research Report, March 30, 2011.
65.6 ตอป โดยรัฐบาลจีนคาดการณวา เมื่อ ค.ศ. 2010 จะมีมูลคาสูงถึง 60 พันลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา3 โดยมีการการลงทุนในตางประเทศของจีนในแตละภูมิภาค กลาวคือ
ทวีปเอเชีย
การลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ (FDI) ในเอเชียสะสมจนถึง ค.ศ. 2005 มีมูลคา 40.6 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา โดยประเทศที่จีนไปลงทุนโดยตรงมากที่สุดคือ ฮองกง เกาหลีใต มาเลเซีย เยเมน มองโกเลีย สหรัฐอาหรับเอมิเรสต เวียดนาม และลาว เปนตน สําหรับการลงทุนของ จีนในกลุมประเทศเอเชียกลางจะเริ่มมีมากขึ้น ในชวงหลังการกอต้ังองคกรความรวมมือเซียงไฮ (Shanghai Cooperation Organization: SCO) เมื่อ ค.ศ. 1996 จีนรวมกับ 5 ประเทศในเอเชียกลาง ไดแก รัสเซีย คาซัคสถาน คีรกิซสถาน ทาจิกิสถาน หลังจากนั้นอุชเบกิสถานเขารวมเปนสมาชิก เมื่อ ค.ศ. 2001 โดยมีเปาประสงคเพ่ือการรกษาความม่ันคงในภูมิภาค การเปนเขตสันติภาพและเสรีภาพ ตลอดจนมีการบริหารแหลงนําเขาพลังงานท่ีมีความหลากหลายมากข้ึน4
จีนไดมีเปาหมายของการลงทุนในโครงการทางดานพลังงานขนาดใหญในคาซัคสถาน เมื่อ ค.ศ. 2004 ไดมีการตกลงสรางทอนํ้ามันยาว 1,000 กิโลเมตร มูลคา 3.5 พันลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา (จากภูมิภาคคารากันดาตอนกลางจนถึงมณฑลซินเจียง)5 และเม่ือ ค.ศ. 2005 China National Petroleum Corporation (CNPC) ไดตกลงซื้อ Petro-Kazakhstan มูลคา 4.2 พันลาน เหรียญสหรัฐอเมริกา6 จีนยังไดทําสัญญาการซ้ือขายนํ้ามันกับอุชเบกิสถาน เม่ือ ค.ศ. 2005 โดยมี มูลคา 600 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา โดยการลงทุนในอุซเบกินสถานทําใหบริษัทพลังงานของจีน CNPEC ไดรับการคาดหมายวาจะไดลงทุนในแหลงนํ้ามัน 23 แหงของประเทศ โดยไดรับผล ตอบแทนรวมกันแบบแบงปนผลประโยชนหาสิบกับหาสิบ (50:50) ของผูลงทุนและผูรับการลงทุน สําหรับกลุมประเทศตะวันออกกลาง จีนไดมีการนําเขานํ้ามันจากภูมิภาคตะวันออกกลางคิดเปน สัดสวนมากกวารอยละ 50 ของการนําเขาน้ํามันทั้งหมดของจีน ซึ่งมีซาอุดิอาระเบีย อิหรานและ โอมานเปนผูสงออกหลักของจีน
3 สุรชัย ศิริไกร, “จีน มหาอํานาจในศตวรรษท่ี 21”, www.asia.tu.ac.th/china/paper070850.doc (สืบคนเม่ือ 12/12/201)
4 http://www.sectsco.org/EN/ (Retrieved December 12, 2011)
5 http://chineseinfo.boi.go.th/CIC/Document/Reference/ShowDoc.aspx?cName=40 (Retrieved December 12, 2011)
6 เขียน ธีระวิทย, “บทบาทของจีนในเอเชีย”, http://www.thaiworld.org/th/include/answer_search.php?question_id=592 (สืบคนเมื่อ 12/12/201)
นอกจากน้ี จีนยังสนใจศักยภาพของกิจการการบริการน้ํามันของภูมิภาคตะวันออกกลาง โดยเมื่อ ค.ศ. 2001 มีการตกลงทําสัญญาการใหบริการนํ้ามันประมาณ 3,000 สัญญา มูลคา 52.7 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา และสําหรับอิหรานไดมีการลงนามขอตกลงเบื้องตน เมื่อ ค.ศ. 2004 การซื้อขายกาซไนโตรเจนเหลวจากอิหรานปริมาณ 10 ลานตันตอป เปนเวลากวา 25 ป โดยมีมูลคา การซื้อขายประมาณ 100 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา และในสวนของซาอุดิอาระเบียไดลงนามใน สัญญาการขุดเจาะและการผลิตกาซธรรมชาติรวมกับ Sinopec เม่ือ ค.ศ. 2004 โดยมีมูลคาการซ้ือ ขายของโครงการในระยะแรก 300 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา7
ภูมิภาคละตินอเมริกา
การลงทุนสะสมจากจีนในภูมิภาคละตินอเมริกาจนถึง ค.ศ. 2005 มีมูลคา 11.5 พันลาน
เหรียญสหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 20 และการลงทุนจากจีนมีมูลคา 6.5 พันลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 52.6 และโดยประเทศท่ีเปนเปาหมายหลักในการลงทุน ไดแก หมู เกาะเคแมน หมูเกาะเวอรจินไอรแลนด หมูเกาะบาฮามัส บราซิล เม็กซิโก ชิลี อารเจนตินา เปรู และเวเนซูเอลา ซ่ึงจีนไดทําสญญามากกวา 400 ขอตกลงทางการคาและโครงการกับประเทศในแถบ ละตินอเมริกา จีนไดวางแผนในการลงทุนมีมูลคา 100 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา และเมื่อ ค.ศ. 2004 บริษัท Chinese Steelmaker Baosteel ไดตกลงซื้อขายกับบริษัทถลุงเหล็กของบราซิล Companhia Vale do Doce (CVRD) ในดานการบริหารและการลงทุนเหมืองแร8
ทวีปยุโรป
การลงทุนของจีนสะสมในทวีปยุโรปจนถึง ค.ศ. 2005 มีมูลคา 1.6 พันลานเหรียญ
สหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 2.8 และการลงทุนของจีนใน ค.ศ. 2005 มีมูลคา 0.5 พันลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 4.2 โดยมีกลุมเปาหมาย ไดแก รัสเซีย เยอรมัน คาซัคสถาน สหราช อาณาจักร เคอรกิสถาน เปนตน โดยเม่ือ ค.ศ. 2004 บริษัท TCL และ Thomson Electronics ได รวมกันกอตั้ง TCL-Thomson Electronics (TTE) ซ่ึงไดกลายเปนผูผลิตเครื่องรับโทรทัศนที่ใหญที่สุด
7 กุลนันทน คันธิก, “ความมั่นคงพลังงานโลก Global Energy Security”, (สุรชาติ บํารุงสุข บรรณาธิการ), จุลสาร ความม่นคงศึกษา ฉบับที่ 83 สนันสนุนการพิมพโดย สถาบันการขาวกรอง สํานกขาวกรองแหงชาติ, ตุลาคม 2553. 8 http://english.cri.cn/3126/2006/12/22/Zt264@176736.htm และ http://chineseinfo.boi.go.th/CIC/Document/Reference/ShowDoc.aspx?cName=40 (Retrieved December 12, 2011)
ในโลกดวยมูลคาทรพย
ิน 500 ลานเหรียญสหรฐอเมริกา และมีกําลังการผลิตเคร่ืองรับโทรทศนส
ี 20
ลานเคร่ืองตอป9 เพ่ือเปนฐานการผลิตสินคาและการกระจายสินคาไปยังตางประเทศท่วโลก ทวีปแอฟริกา
การลงทุนสะสมของจีนในทวีปแอฟริกาจนถึง ค.ศ. 2005 ของจีนมีมูลคา 1.6 พันลาน เหรียญสหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 2.8 โดยมีมูลคาใกลเคียงกับกลุมประเทศยุโรปและการลงทุนใน ค.ศ. 2005 มีมูลคา 0.4 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 3.3 โดยมีประเทศเปาหมาย หลัก ไดแก ซูดาน ไนจีเรีย สาธารณรัฐแอฟริกาใต อียิปต แอลจีเรีย แซมเบีย เปนตน ซ่ึงจีนไดบรรลุ ขอตกลงทางการคารวมกับ 40 ประเทศ และไดกอตั้งสภาธุรกิจจีน-แอฟริกา (China-Africa) เพื่อ ผลักดันการคาและการพัฒนารวมกัน จีนเปนผูลงทุนในแอฟริกาเปนลําดับสาม10 และไดมุงเนนใน แหลงน้ํามันสํารองในประเทศซูดาน ไนจีเรีย แองโกลาและกาบอง เปนตน สําหรับกิจการธุรกิจ กอสราง ธุรกิจโทรคมนาคม การทําไมและการประมง ยังเปนภาคอุตสาหกรรมพ้ืนฐานที่ไดตกลง รวมมือกัน โดยมีขอตกลงการซ้ือขายกิจการภาคธุรกิจจีน เมื่อ ค.ศ. 2004 PetroChina ไดทําสัญญา แบบ 1 ป ในการจัดซื้อนํ้ามันมูลคา 800 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา จาก Nigerian National Petroleum Corporation ซึ่งสามารถผลิตนํ้ามันได 30,000 บารเรลตอวัน CNPC ไดลงทุน 14.4 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา ในบริษัทน้ํามันซูดาน (Sudanese oil) ในเดือนเมษายน 2005 โดยมี มูลคาการกลั่น 628.4 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกาซึ่ง CNPC ไดสรางทอนํ้ามันความยาว 1,500 กิโลเมตร เชื่อมตอระหวางแหลงน้ํามัน Heglig กับทาขนสงในซูดาน โดยซูดานเปนแหลงน้ํามัน สํารองท่ีสําคัญของจีน11
ทวีปอเมริกาเหนือ
การลงทุนสะสมของจีนในทวีปเอมริกาเหนือ จนถึง ค.ศ. 2005 มีมูลคา 0.7 พันลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 2.2 การลงทุนโดยตรงของจีน เมื่อ ค.ศ. 2005 มีมูลคา 0.3 พันลาน เหรียญสหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 2.6 ประเทศเปาหมายหลัก ไดแก สหรัฐอเมริกา หมูเกาะเบอร
9 Pter J. Williamson and Anand P. Raman, “How China Reset Its Global Acquisition Agenda”, Harvard Business Review, April 2011. p.4 https://archive.harvardbusiness.org/cla/web/pl/product.seam?c=573&i=9873&cs=279b575c9f0cbb0fa be763b13286f527 (Retrieved December 12, 2011)
10 Thomas Lun, Hannah Fischer, Julissa Gomez-Granger, Anne Leland, China’s Foreign Aid activities in Africa, Latin America, and Southeast Asia, Congressional Research Service, February 25, 2009.
11 Perterson Institute for International Economics, Chinese Investments to Secure Natural Resource , www.pii.com
มิวดา แคนาดา โดยบริษทเลโนโว (Lenovo) สัญชาติจีน ไดเขาซื้อกิจการคอมพิวเตอรสวนบุคคลของ ไอบีเอ็ม (IBM) สัญชาติอเมริกา มูลคา 1.75 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา เมื่อ ค.ศ. 2004 การซื้อ ขายดังกลาวไดทําให Lenovo กลายเปนผูผลิตเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลท่ีใหญที่สุดเปนอันดับ สามของโลก รองจากเดล และฮิวเล็ตแพ็คการด12
ภูมิภาคโอเชียเนีย
การลงทุนโดยตรงสะสมของจีนในภูมิภาคโอเชียเนีย (ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด) จนถึง ค.ศ. 2005 มีมูลคา 0.7 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 1.7 การลงทุนโดยตรงของจีน เม่ือ ค.ศ. 2005 มีมูลคา 0.2 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา คิดเปนรอยละ 1.7 ประเทศเปาหมายหลัก ไดแก ออสเตรเลีย โดยเม่ือ ค.ศ. 2003 China Huaneng Group ไดตกลงจายเงิน 227 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา สําหรับการจัดสรรผลประโยชนรวมกันแบบแบงหาสิบตอหาสิบ (50:50) กับกิจการ ผลิตไฟฟา OzGen13 ซ่ึงการซื้อขายดังกลาวไดทําใหมีการซื้อกิจการโรงงานไฟฟาในตางประเทศที่ เปนโครงการขนาดใหญของจีน
ภูมิภาคอาเซียน
การลงทุนโดยตรงของจีนในภูมิภาคอาเซียน จากขอมูลใน ค.ศ. 2004-2005 จีนมีแนวโนม ลงทุนในอาเซียนลดลง โดยใน ค.ศ. 2004 มีการลงทุนท่ีมีมูลคา 670.3 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา คิด เปนสัดสวนรอยละ 2.6 และใน ค.ศ. 2005 ลงทุนมีมูลคา 569.8 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา นอกจากน้ี เมื่อเปรียบเทียบการลงทุนของจีนใน ค.ศ. 2005 พบวามูลคาการลงทุนของจีนในไทยยังต่ํากวาการ ลงทุนของจีนในประเทศอื่นๆ เชน สิงคโปรและเวียดนาม เปนตน อยางไรก็ตาม เมื่อ ค.ศ. 2006 จีนได วางเปาหมายเปล่ียนแปลงไปโดยมีการมุงเนนจากกลุมประเทศพัฒนาแลวในทวีปอเมริกาเหนือและ ทวีปยุโรป โดยไดเขามาลงทุนในภูมิภาคอาเซียนมากขึ้น เพราะตองการขอไดเปรียบในดานการชวย ลดขอจํากัดจากการกีดกันทางการคา การลดตนทุนการผลิตและตองการขยายตลาดในภูมิภาค
อาเซียนท่ีมีประชากรประมาณ 580 ลานคน14 รวมท กรอบความรวมมอจื ีนกบอาเซั ียน
12 Cui Qingxin, “In the wake of Lenovo-IBM deal”, http://news.xinhuanet.com/english/2004- 12/16/content_2343989.htm , www.chinaview.cn 2004-12-16 20:26:14 (Retrieved December 12, 2011)
13 http://www.chinaeconomicreview.com/pdf/2004028321755.pdf ,
http://www.smh.com.au/articles/2003/12/18/1071337098877.html (Retrieved December 12, 2011)
14 Julia Kubny & Hinrich Voss, “China’s FDI in ASEAN: Trends and impact on host countries”, http://gdex.dk/ofdi10/Kubny%20Voss_Chinas%20FDI%20in%20ASEAN.pdf (Retrieved December 12, 2011)
ท้ังน้ี การลงทุนโดยตรงของจีนในตางประเทศ ตลอดระยะเวลาของการเปดประเทศเมื่อ ค.ศ. 1978 มีการเติบโตอยางคอยเปนคอยไปและมีทิศทางการเปลี่ยนแปลงจากปจจัยผลักดันที่มี ภาครัฐเปนศูนยกลางไปสูการปลดปลอยสูภาคเอกชน และจากการมุงเนนการแสวงหาทรัพยากร ธรรมชาติไปสูการมุงเนนความรวมมือกันทั้งในดานทรัพยากร การขยายตลาด และการพัฒนา เทคโนโลยี และการบริหารจัดการธุรกิจสมัยใหม การลงทุนของจีนไดขยายตัวอยางตอเน่ืองทั้งใน ระยะสั้น ระยะกลางและระยะยาว โดยมีสาเหตุประการหนึ่งของจีนเกิดจากการขาดดุลอุปทานทาง ดานพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติท่ีเปนปจจัยพื้นฐานสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
โดยรัฐบาลจีนไดคาดการณกันวา เมื่อ ค.ศ. 2020 การบริโภคนํ้ามันของจีนจะเติบโต ประมาณรอยละ 50 ในขณะที่การผลิตภายในประเทศจะเกิดภาวะชะงักงันและอาจสงผลปริมาณ การสํารองน้ํามันที่ไมเพียงพอตอการใชภายในประเทศ ซึ่งทําใหจีนจะตองพ่ึงพาประเทศผูผลิตน้ํามัน ในตางประเทศมากข้ึน ดังนั้นรัฐบาลจีนจึงไดวางแผนยุทธศาสตรเพ่ือลดความเส่ียงดังกลาวดวยการ สงเสริมและสนับสนุนบรรษัทดานพลังงานของจีนออกไปลงทุนในตางประเทศ เพื่อมุงไปสูการ กระจายแหลงนําเขาทางดานพลังงานและทรพยากรธรรมชาติจากตางประเทศ
ทั้งนี้ ภาคธุรกิจของจีนที่มีขนาดใหญ ไดมีการวางแผนลงทุนในตางประเทศ ซ่ึงเปนกลุม อุตสาหกรรมท่ีจีนไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบกับประเทศคูแขงทั่วโลก เชน อุตสาหกรรมเครื่องจักร อุตสาหกรรมเคร่ืองใชไฟฟาและอุตสาหกรรมเบา เปนตน15 ซึ่งจะมีการเพิ่มจํานวนการลงทุนใน ตางประเทศมากกวาการลงทุนในอุตสาหกรรมทางดานพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ ปจจัยท่ีมี อิทธิพลตอการตัดสินใจออกไปลงทุนในตางประเทศ ไดแก การเพิ่มศักยภาพของธุรกิจในตางประเทศ การเขาถึงเทคโนโลยีสมัยใหม ระบบภาษีของตางประเทศที่จูงใจการลงทุน การเขาซื้อกิจการที่มีตรา ผลิตภัณฑเปนที่ยอมรับในระดับโลก ความตองการหลีกเลี่ยงมาตรการกีดกันทางการคาท่ีไมใชภาษี ตลอดจนการดําเนินนโยบายการกาวออกไปของรัฐบาลที่ทําใหบรรษัทขามชาติจีนทั้งรัฐวิสาหกิจและ วิสาหกิจเอกชนไดรับประโยชนอยางมากในการออกไปลงทุนในตางประเทศ ซึ่งสิ่งเหลานี้จะเปน ปจจัยผลักดันทั้งในระยะส้ัน ระยะกลาง และระยะยาวของการลงทุนของจีนในตางประเทศ ขณะเดียวกันสําหรับในสวนของเปาหมายของการลงทุน พบวากลุมประเทศอาเซียนถือเปนกลุมแรก ที่จีนตองการไปลงทุน รองลงมาคือยุโรป และอเมริกาเหนือ ตามลําดับ
การลงทุนนอกประเทศของบรรษัทขามชาติจีนมีแนวโนมขยายตัวไดอยางตอเนื่อง แมวา ธุรกิจในจีนจะประสบปญหาจากวิกฤตเศรษฐกิจการเงินโลก เมื่อ ค.ศ. 1997 แตก็ไมสงผลกระทบตอ
15 Xingwang Qian, “China’s Outward Direct Investment and Its Oil Quest”, SUNY, Buffalo State College,
This Version: January 2011, http://faculty.buffalostate.edu/qianx/index_files/ChinaOilQuest.pdf (Retrieved December 12, 2011)
จีนมากนักเม่ือเทียบกับประเทศตะวันตก และจีนยังมีศักยภาพดานเงินทุน เทคโนโลยี ความรูและ ประสบการณ จึงทําใหจีนสามารถออกไปแสวงหาโอกาสการขยายการลงทุนในตางประเทศมากขึ้น ท้งน้ีปจจัยสําคัญสนับสนุนใหการลงทุนโดยตรงของจีนในตางประเทศเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ไดแก
- เพื่อแสวงหาความม่นคงดานแหลงทรัพยากรและแหลงพลังงาน ซึ่งจําเปนตอการเติบโต ทางเศรษฐกิจของจีนในฐานะที่เปนประเทศบริโภคพลังงานเปนอันดับตนๆ ของโลก เชน การเขาไป ลงทุนผลิตนํ้ามันในแอฟริกา ตะวันออกกลาง และรัสเซีย รวมทั้งการลงทุนดานเหมืองแรใน ออสเตรเลีย16
- เพื่อชวยอํานวยความสะดวกดานการดําเนินธุรกิจในตางประเทศ เชน การทําธุรกิจ บริการดานการขนสงและประกันภยั รวมถึงการออกไปลงทุนดานโครงสรางพื้นฐานและโลจิสติกสใน เสนทางเศรษฐกิจและการคมนาคมขนสงของภูมิภาค เพ่ือสงเสริมการคาและการลงทุนระหวาง ประเทศเพ่ิมมากขึ้น
- เพื่อแสวงหาแหลงผลิตท่ีมีตนทุนแรงงานต่ํากวาในตางประเทศ เชน เวียดนาม ลาว แอฟริกา และลาตินอมเริกา เนื่องจากคาแรงงานในจีนแถบมณฑลชายฝงทะเลไดพุงสูงขึ้นอยาง ตอเน่ือง จึงทําใหจีนออกไปแสวงหาแรงงานท่ีตํ่าและผลประโยชนท่ีเพิ่มขึ้นในตางประเทศ
- เพื่อแสวงหาโอกาสหรือชองทางธุรกิจ โดยรัฐวิสาหกิจในจีนที่เคยมีบทบาทสูงในภาค ธุรกิจจีนดวยอํานาจผูกขาด เริ่มมีบทบาทลดลงจากการเปดประเทศของจีน ซึ่งทําใหวิสาหกิจเหลาน้ี จําเปนตองออกไปแสวงหาโอกาสในการสรางรายไดในตางประเทศมากข้ึน
- เพื่อสงเสริมความเข็มแข็งของการวิจัยและพัฒนา (Research & Development: R&D)
เพื่อการแขงขันในระดับโลก ถือเปนการสรางแบรนดสินคาใหกับบริษัทเพ่ือออกไปยังตางประเทศ
ทดแทนการแขงขันกับแบรนด างชาตทิ ี่เขามาลงทนในจนและยี ังเปนการใช ประโยชนจากเงินทุนของ
จีน รวมถึงการสรางเครดิตใหกับเคร่ือขายในการแขงขันระดับโลก ซึ่งไมเพียงการแสวงหาแหลงลงทุน เพ่ือพัฒนาสินคาที่ตนทุนต่ําเทานั้นแตยังใชวิธีซ้ือแบรนดสินคาที่แข็งแกรงในตางประเทศแทนดวย
- เพื่อลดปญหาความขัดแยงกับประเทศผูนําเขาสินคาจากจีน จากปญหาการไดดุล การคากับหลายประเทศทั่วโลก ทําใหจีนตองเผชิญการกีดกันทางการคาที่มิใชภาษี (Non-tariff barriers: NTBs) จากประเทศคูคามากขึ้น ดังนั้นทางการจีนจึงสงเสริมใหภาคธุรกิจจีนออกไปต้ัง โรงงานผลิตหรือไปลงทุนในประเทศผูนําเขาสินคา ตลอดจนเพื่อขยายตลาดสินคาจีนใหกวางขวาง มากขึ้นและยังชวยลดภาวะการแขงขันอยางรุนแรงภายในประเทศอีกดวย
16 Yevgeniya Korniyenko and Toshiaki Sakatsume, “Chinese investment in the transition countries”, Working Paper No. 107, Prepared in January 2009.
- คาเงินหยวนท่ีแข็งคาขึ้นเม่ือเทียบกับเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา จีนจะยังคงรักษาระดับ การแข็งคาของเงินหยวนไมใหมากจนเกินไป และยังคงใหเงินหยวนเพ่ิมคาแบบคอยเปนคอยไป แต แนวโนมท่ีจีนอาจยืดหยุนคาเงินใหแข็งคามากขึ้นเพ่ือบรรเทาแรงกดดันจากสหรัฐอเมริกา การทํา ธุรกิจในตางประเทศอาจมีตนทุนใกลเคียงกับการทําธุรกิจในจีนมากขึ้น จากทิศทางคาเงินหยวนที่มี แนวโนมแข็งคาขึ้นทําใหนักธุรกิจในจีนอาจหันกลับไปลงทุนในตางประเทศมากขึ้น
- เพื่อแสวงหาแหลงวัตถุดิบสําหรับการผลิตในภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะแถบภูมิภาค ลุมแมนํ้าโขง ซ่ึงเปนแหลงผลิตสินคาทางการเกษตรที่อุดมสมบูรณ เพื่อนํามารองรับการขยายตัวของ เศรษฐกิจจีนในระยะยาวในพมา ลาว เวียดนาม กับพูชาและไทย
ทั้งนี้การลงทุนบรรษัทขามชาติจีนจากจีนในตางประเทศนั้น มีดวยกันหลายรูปแบบทั้งการ ลงทุนโดยตรงและการลงทุนดวยวิธีการอ่ืนๆ ซึ่งการลงทุนโดยตรงแบงไดเปนการรวมทุนจีนกับตาง ชาติ (Sino-Foreign Joint Ventures) ความรวมมือทางธุรกิจ (Co-operative Business) การเปน เจาของวิสาหกิจ (Exclusively Foreign Owned Enterprises) การแสวงประโยชนรวม (Joint Exploitation) และบริษทรวมทุนตางชาติ (Foreign Funded Share Holding Compares) เปนตน17
ท้ังน้ี ทามกลางสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจโลกท่ีเปล่ียนไป ประเทศในเอเชียโดยเฉพาะ จีนกําลังกาวขึ้นมามีบทบาทในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโลกมากขึ้น ขณะท่ีเพื่อนบานในภูมิภาค อาเซียนตางก็เรงพัฒนาเตรียมความพรอมสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ค.ศ. 201518 ซึ่งเมื่อ พิจารณาจากการจัดอันดับความสามารถในการแขงขันโดยสถาบันชั้นนําระดับโลก ที่แมวาการจัด อันดับความ สามารถในการแขงขันโดย Institute for Management Development (IMD) จีน ยอมจะมีความสามารถในการแขงขันเพิ่มข้ึนเม่ือเทียบช้ันกับประเทศที่พัฒนาแลว
2. พฒนาการการลงทุนของบรรษทขามชาติจีนในตางประเทศ
การลงทุนของจีนในตางประเทศ ไดรับผลสืบเน่ืองมาจากนโยบายการกาวออกไปของจีน ถือไดวาจีนประสบความสําเร็จเปนอยางมาก ที่เปนเชนน้ีเพราะจีนสามารถผลักดันใหท้ังรัฐวิสาหกิจ และวิสาหกิจเอกชนเขาไปลงทุนในตางประเทศไดขยายเพิ่มข้ึนทุกป โดยนโยบายดังกลาวกําลังไดรับ ความสนใจทั้งภาครัฐและภาคเอกชนของประเทศตางๆทั่วโลก ซึ่งพัฒนาการลําดับความเปนมาของ
17 Andrew Szamosszegi and Cole Kyle, “An Analysis of State‐owned Enterprises and State Capitalism in China”, U.S.-China Economic and Security Review Commission, October 26, 2011 18 http://www.asean.org/Fact%20Sheet/AEC/2007-AEC-001-2.pdf (Retrieved December 12, 2011)
นโยบายเชิง ยุทธศาสตรการกาวออกไปลงทุน (Going Global Strategy) ในตางประเทศ แบงเปน 5
ชวงเวลา ไดดังนี้คือ19
ชวงที่ 1 (ค.ศ. 1978-1985) ในชวงแรกของการเปดประเทศ (Open Policy) เมื่อ ค.ศ. 1978 จีนไดมีการปฏิรูประบบเศรษฐกิจจนถึงกลางทศวรรษ 1980 รัฐวิสาหกิจจีนภายใตการกํากับ ดูแลของกระทรวงพาณิชย (MOFCOM) และรัฐบาลมณฑล (เมืองและจังหวัด) มีบทบาทอยางสูงใน การสนับสนุนการออกไปลงทุนในตางประเทศ ซึ่งลักษณะการออกไปลงทุนเกือบทั้งหมดจะมี ลักษณะการรวมทุน (Joint Venture) กับบรรษัทตางชาติ โดยมีเปาหมายเพื่อการแสวงหา ประสบการณและการเรียนรเู ทคโนโลยีจากตางประเทศ
ชวงท่ี 2 (ค.ศ. 1985-1991) เร่ิมเม่ือ ค.ศ. 1985 ภาคธุรกิจของจีนทั้งรัฐวิสาหกิจและ วิสาหกิจเอกชนไดรับอนุญาตใหสามารถออกไปจัดตั้งบริษัทในตางประเทศได และในชวงน้ีพบวา กระทรวงความสัมพันธทางเศรษฐกิจและการคาระหวางประเทศไดออกระเบียบใหม (The Approval Procedures and Management Methods for Setting up Non-trade Joint Venures Abord) ตอมาใน ค.ศ. 1989 คณะบริหารควบคุมอัตราแลกเปลี่ยน (State General Administing Abord)
ระเบียบท สองไดกลายเปนกรอบนโยบายท ี่สําคญของจั ีนในการสงเสรมการลงทิ ุนในตางประเทศ ซึ่ง
สงผลใหมีการขยายการลงทุนเพิ่มข้ึนใน 120 ประทเศ มีโครงการลงทุน 891 โครงการ มูลคา 1.2
พนลานเหรียญสหรัฐอเมริกา
ชวงที่ 3 (ค.ศ. 1992-2000) ในชวงตนทศวรรษ 1990 รัฐบาลจีนไดเปลี่ยนแปลงนโยบาย ครั้งสําคัญ โดยจากเดิมเปนเพียงการอนุญาตใหภาคธุรกิจออกไปจัดตั้งบริษัทสาขาในตางประเทศ ไปสูนโยบายการสงเสริมภาคธุรกิจใหออกไปลงทุนในตางประเทศ โดยนโยบายดังกลาวมีเปาหมาย เพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขันใหกับภาคธุรกิจจีน และการหลีกเล่ียงมาตรการการกีดกันทาง การคาของประเทศผูนําเขา ทั้งยังไดขยายไปสูระบบการตัดสินใจเชิงนโยบายของรัฐบาลกลางและ รัฐบาลทองถิ่นมากย่ิงข้ึน โดยรัฐบาลไดมีการจัดสัมมนาเพื่อเพิ่มโอกาสของธุรกิจในตางประเทศและ การสนับสนุนการออกไปลงทุนยงตางประเทศมากยิ่งข้ึน
ชวงที่ 4 (ค.ศ. 2000-2010) เปนชวงที่จีนไดเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลก (WTO) เม่ือ ค.ศ. 2001 ขณะเดียวกันในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 5 ป ฉบับที่ 10-11 (ค.ศ. 2001-2005 และ ค.ศ. 2006-2010) รัฐบาลจีนไดวางแผนยุทธศาสตรกาวออกไป (Going Global Strategy) และใน ค.ศ. 2006 รัฐบาลจีนไดมีแนวคิดที่จะจัดต้ังสถาบันสนับสนุนการบริการและการ
19 พิทยา สุวคันธ, “การทะยานขึ้นของจีนในศตวรรษท่ี 21: การกาวไปสูระดับโลก”, รัฐศาสตรสาร ปที่ 28 ฉบับที่ 1 (มกราคม- เมษายน) 2550, คณะรฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, หนา 191-242.
ยกระดับกลไกสําหรับการประสานงานการลงทุนระหวางประเทศ และการจัดการความเสี่ยงระหวาง ประเทศ โดยมุงเนนไปยังนโยบายกาวออกไปทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค รวมท้ังการจัดต้ัง กองทุนการลงทุนในตางประเทศ
ชวงที่ 5 (ค.ศ. 2010-ปจจุบัน) เปนชวงที่จีนไดผนวกความรวมมือทางเศรษฐกิจกับอาเซียน (ASEAN) และกลุมประเทศในลุมแมน้ําโขงอยางแนบแนนมากยิ่งขึ้น การเปดกรอบความรวมมือกับ ตางประเทศ จนการเกิดขึ้นของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ((ASEAN Economic Community: AEC) เมื่อ ค.ศ. 2015 ทําใหเปนปจจัยสําคัญของการขยายบทบาทและอิทธิพลของจีนในอาเซียน เพ่ิมมากขึ้น20
ทั้งนี้เนื่องจากยุทธศาสตรการกาวออกไปลงทุน (Going Global Strategy) ซึ่งถือเปนยุทธ ศาสตรแหงชาติของรัฐบาลจีนในการสนับสนุนบรรษัทขามชาติจีนออกไปลงทุนในตางประเทศ รัฐบาลกลางของจีนมีพิมพเขียวในการออกไปลงทุนในตางประเทศในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติฉบับที่ 11 ซึ่งมีมูลคาการลงทุนในตางประเทศมากกวา 60 พันลานเหรียญ สหรฐอเมริกา
จากการที่จีนไดกาวข้ึนมาเปนผูนําเศรษฐกิจใหญเปนอันดับสองของโลก รองจาก สหรัฐอเมริกา และมีเงินทุนสํารองระหวางประเทศมากท่ีสุดในโลก 2 ลานลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (ค.ศ. 2008) ขณะเดียวกันกระทรวงพาณิชยจีน (MOFCOM) ไดสํารวจขอมูลพบวา ประชาชนกวา 600 ลานคน มีวิถีชีวิตความเปนอยูที่ดีข้ึนและประชาชน 446 ลานคนกําลังมีชีวิตที่ดีขึ้น จากการซ้ือ สินคาอุปโภคและบริโภคทั้งในเรื่อง เส้ือผาหรือส่ิงทอ เครื่องใชไฟฟาภายในบาน ทั้งน้ีจีนยังสนับสนุน วิสาหกิจขนาดใหญขนาดกลางและขนาดเล็กออกไปลงทุนในประเทศเพ่ือนบานที่พรมแดนติดตอกัน อยางกรณีในกลุมประเทศภูมิภาคลุมแมน้ําโขง21และกลุมประเทศอาเซียน เชน ลาว และเวียดนาม เปนตน
20 Samuel C. Y. Ku, “China’s Changing Political Economy with Southeast Asia: Starting a New Page of Accord”, Asian Perspective, Vol. 30, No. 4, 2006, pp. 113-140.
http://www.asianperspective.org/articles/v30n4-f.pdf (Retrieved December 12, 2011)
21 Lim Tin Seng, China’s Active Role in the Greater Mekong sub-region: a “win-win” outcome?, EAI Background Brief No. 397, Date of Publication: 6 August 2008, http://www.eai.nus.edu.sg/BB397.pdf (Retrieved December 12, 2011)
3. แนวทางนโยบายการลงทุนของบรรษทขามชาติจีนในตางประเทศ สําหรับนโยบายการลงทุนของจีนในตางประเทศ ซึ่งเปนพื้นที่การรับรูของประเทศมหาอําน
จทางเศรษฐกิจ (สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน) และประเทศกําลังพัฒนาอื่นๆ ที่เห็นถึงศักยภาพการไหล ออกไปลงทุนของบริษัทจีน และยังเปนไปตามความตองการท่ีรัฐบาลจีนไดใหความสนใจในการ สนับสนุนยุทธศาสตรการกาวออกไปลงทุน (Going Global Strategy) เริ่มแรกในกลุมประเทศเพื่อน บานในอาเซียนและภูมิภาคลุมแมน้ําโขง และประเทศกําลังพัฒนารวมทั้งประเทศดอยพัฒนาในแอฟ ริกาและลาตินอเมริกา โดยจีนไดเขาไปลงทุนเกี่ยวกับการเกษตรแปรรูป การพัฒนาทรัพยากรปาไม การสํารวจเหมืองแรและการแสวงหาทรพยากรแรธาตุ เปนตน โดยมีแนวทางของการออกไปลงทุนใน ตางประเทศดังตอไปน้ี
- สําหรับรัฐบาลจีนไดใหคําแนะนําและชวยสงเสริมบริษัทหรือวิสาหกิจทองถิ่นออกไป ลงทุนในตางประเทศ ซ่ึงจะเปนประเทศหรือเขตพ้ืนท่ีความรวมมือกับตางชาติ กรณีของ Haier Group ซ่ึงเปนบริษทชั้นนําของการผลิตเคร่องใชไฟฟาภายในบาน โดยการกําหนดเปาหมายเปนแหง แรกในเขตพื้นที่ความรวมมือทางเศรษฐกิจและการคาในปากีสถาน เมื่อ ค.ศ. 2006 ซึ่งมีลักษณะ คลายๆกับพื้นท่ีตางๆในกลุมประเทศของอาเซียน โดยเฉพาะกลุมประเทศในลุมแมน้ําโขง รัฐบาลจีน สามารถปรับเปลี่ยนนโยบายโดยมีความตระหนักถึงระบบการเงิน การประกันภัย ระบบภาษี ทั้งนี้ก็ เปนไปเพื่อลดความเสี่ยงท่ีจะตองเผชิญในตางประเทศ
- ความรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) รัฐบาลจีนใหความ สนใจเปนพิเศษ เพ่ือใหเกิดความยอมรับของสังคมทองถ่ินและการพัฒนาท่ีเหมาะสม รวมทั้งการ พัฒนาในระยะยาว รัฐบาลจีนจะใชวิสาหกิจทองถิ่นโดยการเพ่ิมความรับผิดชอบตอสังคมและการ กําหนดจุดของการแสวงหาผลประโยชนในระยะส้ันที่เหมาะสม ที่จะตองมีการกลาวถึงสิ่งอํานวย ความสะดวกในทองถิ่น การจัดหาผลประโยชนท ี่เพิ่มข้ึนของการจางงานในทองถ่ินและการมีสวนรวม ของประชาชนในการปกปองสิ่งแวดลอมและกิจกรรมตางๆท่ีจะลดปญหาความยากจนของประชาชน ในแตละประเทศ22
- กระทรวงพาณิชยจีน (MOFCOM) จะใหแนวทางในการลงทุนออกไปสูตางประเทศ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมการผลิตในประเทศที่มีความแตกตางกัน และการสนับสนุนสิ่งอํานวยความ สะดวกในการลงทุนในตางประเทศ ทั้งกฏระเบียบขอบังคับ การใหความชวยเหลือดานบุคลากร เงินทุน และเทคโนโลยีตางๆ เปนตน
22 Chloe Yang, “Corporate Social Responsibility and China’s Overseas Extractive Industry Operations: Achieving Sustainable Natural Resource Extraction”, FESS Issue Brief, August 2008, pp.1-3.
- ความตองการขอตกลงท่ีเหมาะสมสําหรับความรวมมือทางเศรษฐกิจแบบทวิภาคี จีนกับ ไทย จีนกับลาว จีนกับเวียดนาม ที่จะตองพิจารณาถึงภาคการผลิต โครงการ การเงินหรือเงินทุนและ กลไกความรวมมือตางๆ ที่จะตองกําหนดกรอบความรวมมือรวมกันระหวางรัฐบาลกับรัฐบาล และ เอกชนกับเอกชน
การออกไปลงทุนของจีนมีอยูหลายภาคการผลิต เชน อุตสาหกรรมเบา เครื่องจักรกล เสื้อผาและส่ิงทอ และเครื่องใชไฟฟาภายในบาน การลงทุนในภาคการแสวงหาทรัพยากร ซึ่งเปนยุทธ ศาสตรท่ีมีความสําคญในระยะยาว บรรษัทจีนจากมณฑลชายฝงทะเล ซึ่งมีตนทุนการผลิตท่ีสูงขึ้นทงั้ คาจางแรงงานและวัตถุดิบ ดังน้นการขยายการลงทุนในลาว และเวียดนาม จึงถือเปนทางเลือกที่ดีใน การออกไปลงทุนดานอุตสาหกรรมการผลิต รัฐบาลจีนยังสนับสนุนการออกไปลงทุนอยางเสรี และ การอํานวยความสะดวกเชิงนโยบายในการจัดตั้งเขตการคาเสรี (FTA) กับประเทศเพ่ือนบานที่อยูราย รอบจีน เพราะวาโครงสรางทางการเมืองและเศรษฐกิจที่แตกตางกัน การคาและการลงทุนขาม ประเทศและภูมิภาค โดยเฉพาะการเปดเสรีของแตละประเทศจะเปนแนวทางในการอํานวยความ สะดวกทางการคากับประเทศที่มีความแตกตางกันของโครงสรางระบบเศรษฐกิจของแตละประเทศ
4. บทบาทของบรรษัทขามชาติจีนในตางประเทศ
การสนบสนุนของรัฐบาลจีนในการดําเนินนโยบาย “การกาวออกไป” ลงทุนของบรรษทขาม ชาติจีนในตางประเทศ ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (ค.ศ. 2001-2005) และเมื่อ ค.ศ. 2003 รัฐบาลจีนไดริเริ่มการวางยุทธศาสตรการสงเสริมการลงทุนโดยตรงในตางประเทศ โดย เปนสวนหนึ่งของการดําเนินนโยบายการกาวออกไป โดยมีนโยบาย กฏระเบียบ และมาตรการตางๆ ที่สําคัญ ดงนี้ คือ
- การสนบสนุนขอมูลเศรษฐกิจใหแกภาคธุรกิจ เพื่อเปนเคร่ืองชวยในการตัดสินใจ โดยการ จัดทําเคร่ืองชี้วัดทางเศรษฐกิจเกี่ยวกับการลงทุนในตางประเทศ ท้งในระดับประเทศและทองถิ่น และ ประเภทอุตสาหกรรม และการจัดทําฐานขอมูลปจจัยที่สงผลกระทบและโอกาสการลงทุนในประเทศ ตางๆ ซึ่ง เม่ือ ค.ศ. 2005 องคการระหวางประเทศกับจีนยังไดสนับสนุนการดําเนินนโยบายการกาว ออกไปของจีน โดย Multilateral Investment Guarantee Agency (GIGA) ไดจัดการสัมมนาเชิง ปฏิบัติการระหวางกระทรวงการคลังจีน (Chinese Ministry of Finance) และธนาคารเพ่ือการ สงออกและนําเขาของจีน (China Exim Bank) และบรรษัทเงินทุนระหวางประเทศ (International Finance Corporation: IFC) เกี่ยวกับความรวมมือกันของสํานักงานคณะกรรมการการพัฒนาและ การปฏิรูปแหงชาติ (National Development and Reform Commission: NDRC), บริษัท ซิโนชัวร (SINOSURE) ซึ่งเปนบริษทสงออกและบริหารสินเช่ือ, คณะกรรมการบริหารและกํากับดูแลสินทรัพย
แหงชาติจีน (The State Asset Supervision and Administration Commission: SASAC), กระทรวงพาณิชยจีน (Ministry of Commerce) และบริษัทชับบประกันภัย (Chubb Insurance)23 โดยการสัมมนาไดนําไปสูการสรางความรวมมือกันของภาคสวนตางๆกวา 200 องคกร ซึ่ง 2 ใน 3 เปนองคกรท่ีมาจากภาคธุรกิจ และที่เหลือมาจากรัฐบาลกลาง รัฐบาลทองถ่ินและองคกรระหวาง ประเทศ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในดานการแสวงหาโอกาสการลงทุนในตางประเทศของจีน
- การอํานวยความสะดวกในการอนุม ิโครงการดวยการจัดตั้งคณะผูแทนจากรัฐบาลกลาง
และรัฐบาลทองถิ่น เพื่อสรางความเขมแข็งและความรวดเร็วในการตัดสินใจในการอนุมัติโครงการ ลงทุนในตางประเทศ โดยในอดีตบรรษัทที่ตองการอออกไปลงทุนในตางประเทศจะตองไดรับการ อนุมัติจากรัฐบาลกลาง แตเมื่อ ค.ศ. 2003 กระทรวงพาณิชยจีน (MOFCOM) และสํานักงานบริหาร เงินตราตางประเทศ (State Administration of Foreign Exchange: SAFE) ไดอนุญาตใหภาคธุรกิจ ที่ตองการออกไปลงทุนในตางประเทศที่มีมูลคาการลงทุนนอยกวา 3 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา ซ่ึง สามารถไดรับการอนุมัติจากรัฐบาลทองถ่ินได โดยไมจําเปนตองรอกระบวนการอนุมัติท่ีใชระยะเวลา ยาวนานและซับซอนจากรัฐบาลกลาง24 ซึ่งผลจากการดําเนินมาตรการดังกลาวทําใหระยะเวลา 11 เดือนแรกของ ค.ศ. 2003 มีบริษัทจากจีนออกไปลงทุนในตางประเทศในลักษณะของการควบรวม และเขาซื้อกิจการเพิ่มมากขึ้นถึงรอยละ 92 เมื่อเทียบกบั ค.ศ. 2002
- การอํานวยความสะดวกทางดานการเงิน ทั้งในดานการบริหารจัดการอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศและการสนับสนุนทางการเงิน โดยรัฐบาลจีนไดมีการจัดต้ัง Sovereign-Wealth Fund ที่เรียกวา China Investment Corporation (CIC) เอาเงินทุนสํารองระหวางประเทศ จํานวน 200,000 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกา เพื่อออกไปลงทุนในตางประเทศ25 โดยรัฐบาลจีนพยายามสราง
23 Tian Zhou, “International Portfolio Diversification Study from a China’s Perspective”, Aarhus School of Business University of Aarhus MSc in Finance and International Business, January 2010.
24 Philippe Gugler and Bertram Boie, “The Emergence of Chinese FDI: Determinants and
Strategies of Chinese MNEs”, Paper presented at the Conference, “Emerging Multinationals : Outward Foreign Direct Investment from Emerging and Developing Economies”, Copenhagen Business School, Copenhagen, Denmark 9-10 October 2008, http://gdex.dk/ofdi/20%20Gugler%20Philippe.pdf
(Retrieved December 12, 2011)
25 www.econnews.org/487/ziw4872.html (Retrieved December 12, 2011) ทั้งนี้ Sovereign-Wealth Fund มี ขนาดใหญเปนอันดับ 4 ของโลก รองจากกองทุนในลักษณะเดียวกันของประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส สิงคโปร และนอรเวย
ความยืดหยุนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรากับตางประเทศ และการดําเนินนโยบายสนับสนุน ทางดานการเงิน (เงินกู) ใหแกภาคธุรกิจของจีน เพื่อไปดําเนินกิจการลงทุนในตางประเทศ ดังน้ี
- การจัดต้ังคณะกรรมการบริหารและกํากับดูแลสินทรัพยแหงชาติจีน (State Asset Supervision and Administration Commission: SASAC) เมื่อ ค.ศ. 2003 เพื่อทําหนาที่ในการ ดําเนินการใหรัฐวิสาหกิจที่อยูภายใตการกํากับของรัฐทั้งหมด ใหสามารถเขาไปดําเนินการลงทุนใน ตางประเทศในลักษณะบรรษัทขามชาติขนาดใหญ โดยไดกําหนดเปาหมายไวใน ค.ศ. 2010 จะมี รัฐวิสาหกิจจํานวน 50 แหง สามารถเขาไปดําเนินกิจการในตางประเทศในลักษณะของบริษัทขาม ชาติขนาดใหญได และสามารถนํารัฐวิสาหกิจดังกลาวเขาไปจดทะเบียบในตลาดหลักทรัพยในตาง ประเทศ26
- รัฐบาลจีนอนุญาตใหภาคธุรกิจสามารถออกไปลงทุนบริหารความเส่ียงในตางประเทศ เมื่อ ค.ศ. 2005 โดยคณะมุขมนตรี (State Council) ไดอนุมัติใหกองทุนความมั่นคงทางสังคม แหงชาติ (National Social Security Fund: NSSF) สามารถเขาไปลงทุนในกองทุนเงินตรา ตางประเทศในตลาดตางประเทศและเมื่อ ค.ศ. 2004 ไดอนุญาตใหบริษัทประกันภัยของจีนที่มี คุณสมบัติผานเกณฑสามารถเขาไปลงทุนในกองทุนการประกันภัยที่เปนเงินตราตางประเทศ27 และ ยงอนุญาตใหบริษัทประกันภยสามารถออกไปลงทุนบริหารความเสี่ยงในตางประเทศไดโดยจะตองมี มูลคาการลงทุนไมเกิน 1.75 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกา ซึ่งรัฐบาลกลางไดอนุญาตใหรัฐบาล ทองถิ่นใน 22 พื้นท่ี/เขตและสามารถอนุมัติการลงทุนดังกลาวไดในระดับท่ีไมเกิน 200 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา
- ธนาคารเพ่ือการพัฒนาของจีน (China Development Bank) ไดอนุมัติเงินกูจํานวน 10 พันลานเหรียญสหรัฐอเมริกาแกบริษัทโทรคมนาคมหัวเหวย เม่ือธันวาคม ค.ศ. 2004 เพื่อสนับสนุน การดําเนินกิจการในตางประเทศ ซ่ึงปริมาณสินเชื่อดังกลาวมีมูลคามากกวา 5 เทา ของปริมาณ สินเชื่อรวมที่บริษัทไดรับจากการลงทุนในตางประเทศ
- ธนาคารเพื่อการนําเขาและสงออกของจีน (China Exim Bank) และกรมการคากรุงปกกิ่ง (Beijing Municipal Bureau of Commerce) ไดรวมกันกอตั้ง a briefing “Financing Products and Policy for Beijing Companies “Going Global” Practices” เมื่อ ค.ศ. 2005 ซึ่ง ธนาคารเพื่อ
26 Fortune 500, China Daily, “54 Chinese companies enter Fortune 500 list, 3 in the top 10”, 11 Jul 2010,
http://www.whatsonxiamen.com/news13301.html (Retrieved December 12, 2011)
27 Mikael Mattlin, “Chinese strategic state-owned enterprises and ownership control”, BICCS Asia Paper Vol. 4 (6), http://www.vub.ac.be/biccs/site/assets/files/apapers/Asia%20papers/Asia%20Paper% 204(6).pdf (Retrieved December 12, 2011)
การนําเขาและการสงออกของจีน (China Exim Bank) ไดอนุมัติเงินมูลคา 10.3 พันลานหยวน ใหกับ กลุมบริษัทวิศวะการกอสรางปกก่ิง (Beijing Construction Engineering Group Corporation: BCEGC), ผูกอตั้งกลุมและการกอสรางในตางประเทศ (Founder Group and CGC Overseas Construction Co.Ltd (CGCOC)28 เพื่อสนับสนุนใหการดําเนินกิจการของบริษัทในตางประเทศ
- ธนาคารเพ่ือการนําเขาและสงออกของจีน (China Exim Bank) ไดอนุมัติสินเชื่อมูลคา
158.6 พันลานหยวน เมื่อ ค.ศ. 2005 ใหกับโครงการบริหารความเสี่ยงรวมถึงโครงการลงทุนขนาด ใหญ เชน การฟนฟูเสนทางรถไฟ Benguela ในแองโกลา การทําเหมืองแรทองแดงในคองโกและ แซมเบีย การสรางศูนยการใหบริการโรงแรมแบบครบวงจรในเซียราลีโอน และการสรางเขื่อนไฟฟา พลังน้ําในพมา คองโก เอธิโอเปย ลาว ซูดานและแซมเบีย ซึ่งมีมูลคาทั้งสิ้นประมาณ 20 พันลาน เหรียญสหรัฐอเมริกา และยังมีตัวอยางของการเขาซื้อกิจการ Ssangyong Moter ของ Shanghai Auto ซึ่งจากขอมูลพบวาปริมาณสินเชื่อกวารอยละ 66 ที่ใชในการเขาซ้ือกิจการไดรับการสนับสนุน ทางการเงินผานเงินกูจากธนาคารท่ีเปนรัฐวิสาหกิจของรัฐบาลจีน ซึ่งเปนการใหสินเชื่อสงออกและ การรับประกันการกูเงินของธนาคาร29
- รัฐบาลไดเร่ิมการอุดหนุนทางการเงินแกบริษัทตางๆ เม่ือ ค.ศ. 2004 โดยการสนับสนุน บริษัทใหออกไปลงทุนในการเขาซ้ือกิจการและสํารวจแหลงสํารองทรัพยากรธรรมชาติในตางประเทศ เชน คณะกรรมการเพื่อการปฏิรูปและการพัฒนาไดวางนโยบายโดยกําหนดเงื่อนไขใหธุรกิจพลังงาน ของจีนท่ีตองการเขาไปลงทุนในตางประเทศที่ไดร ับการสนับสนุนทางการเงินจากภาครฐเปนพิเศษจะ ตองเขาไปซ้ือกิจการในอุตสาหกรรมพลังงานตนนํ้าตางๆในตางประเทศ
- การเพิ่มความสามารถเชิงการแขงขันใหกับภาคธุรกิจและรัฐวิสาหกิจของรัฐ โดยรัฐบาล จีนไดเริ่มนโยบายการสรางบรรษัทและรัฐวิสาหกิจช้ันนํา30 ที่ไดตั้งเปาหมายไววาจะตองมีบริษัทหรือ รัฐวิสาหกิจชั้นนํา จํานวน 30-50 แหง ภายใน ค.ศ. 2010 โดยบริษัทหรือรัฐวิสาหกิจจะไดรับการ สนับสนุนจากรัฐบาล ทั้งดานการสนับสนุนขอมูลเศรษฐกิจจากรัฐบาล อัตราภาษีและคาเชาพื้นที่ จดต้งกิจการในระดับต่ํา การไดรับการสนับสนุนสินเช่ือดอกเบี้ยต่ําจากธนาคารที่เปนรัฐ วิสาหกิจ ซึ่ง
28 http://chineseinfo.boi.go.th/CIC/Document/Reference/ShowDoc.aspx?cName=40 (Retrieved December 12, 2011)
29 http://lt.china.com.cn/english/BAT/148001.htm (Retrieved December 12, 2011)
30 Peter Nolan, “Evaluation of the World Bank’s Contribution To Chinese Enterprise Reform”, The World Bank Operations Evaluation Department, 2005, http://lnweb90.worldbank.org/oed/oeddoclib.nsf/DocUNIDViewForJavaSearch/C115BD744564229F852 56FF000590B8C/$file/china_cae_enterprise_reform.pdf (Retrieved December 12, 2011)
ปจจุบันรัฐบาลมีทุนสํารองระหวางประเทศประมาณ 2 ลานลานเหรียญสหรัฐอเมริกา (เมื่อ ค.ศ. 2010) ดังนั้นจึงสามารถสนับสนุนรัฐวิสาหกิจที่มีความพรอมไดอยางเต็มที่ในการเขาซื้อกิจการใน ตางประเทศ ซ่ึงรัฐบาลไดผลักดันใหเกิดการพัฒนาบริษัทหรือรัฐวิสาหกิจชั้นนํา โดยมุงเนนใน อุตสาหกรรมดานการพัฒนาพลงงานและทรัพยากรธรรมชาติ เปนตน
ทั้งนี้ จีนไดมีการสรางความไดเปรียบในเชิงยุทธศาสตรการกาวออกไปลงทุนใน ตางประเทศ ท้ังในเชิงภูมิรัฐศาสตรและภูมิเศรษฐศาสตรในภูมิภาคตางๆ และการเพิ่มขีด ความสามารถในการแขงขัน รัฐบาลจีนไดสนับสนุนบริษัทหรือรัฐวิสาหกิจขนาดใหญที่มีตรา ผลิตภัณฑเปนที่รับรูของตลาดในตางประเทศ ซ่ึงตัวอยางของบริษัทในระดับโลกของจีน ไดแก ไฮ เออร (Haier) บริษัทเครื่องใชไฟฟาภายในบาน ที่ครอบครองสวนแบงทางการตลาดมากกวาคร่ึงของ ตลาดตเู ย็นขนาดเล็กในสหรัฐอเมริกา กาแลนซ (เตาอบไมโครเวฟท่ีมีปริมาณการผลิตคิดเปนหนึ่งใน สามของเตาอบไมโครเวฟในโลกภายใตตราผลิตภณฑของตวเอง) และเบียรชิงเตา31 ซึ่งการสนับสนุน ตางๆของภาครัฐไดสรางความไดเปรียบใหกับบริษัทของจีน เพราะสามารถลดตนทุนดานสินเชื่อได อยางมาก โดยรัฐวิสาหกิจท่ีไดรับการตั้งเปาหมายใหเปนบริษัทช้ันนําของโลก เชน Changhong, Huawei และ TCL เปนตน32 ในการสรางภาพลักษณประเทศจีน (Country Image) และภาพลักษณ แบรนดสินคาจีน (Brand Image) ในตางประเทศทั่วโลก
กลาวไดวา เศรษฐกิจจีนมีควมเกี่ยวพันกับเศรษฐกิจโลกเพิ่มมากขึ้น หลังจากที่จีนเขาเปน สมาชิกองคการการคาโลก (WTO) เม่ือ ค.ศ. 2001 และวิสาหกิจจีนสามารถพัฒนาตนเองกาวไปเปน บรรษัทขนาดใหญและขามชาติเพิ่มขึ้น จากนนโยบายของรัฐบาลจีนดวยยุทธศาสตรการกาวออก ไปสูตางประเทศ (Go out Strategy) ที่คอยใหความชวยเหลือกับบรรษัทขามชาติจีน ทั้งในเรื่อง
ขอมูลการลงทุนในเรื่องประเทศและกิจการหรือโครงการลงทุน การสนับสนุนเงินทุนให ับวิสาหกิจจีน
อออกไปลงทุนในตางประเทศ ทั้งนี้มีหนวยงานของรัฐ The State Asset Supervision and Administration Commission เมื่อ ค.ศ. 2003 มีการจัดอันดับวิสาหกิจชั้นนําของประเทศท่ีเปน วิสาหกิจขนาดใหญใน 50 บริษัทช้ันนําของโลก (Fortune 500) บริษัททั้งหมดจะมีการสนับสนุนการ ออกไปลงทุนโดยรัฐบาลจีน ขณะเดียวกันขนาดของโครงการการลงทุนที่นอยกวา 3 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา รฐบาลทองถิ่นสามารถอนุมัติใหออกไปลงทุนในตางประเทศได ซึ่งมณฑลยูนนานและ มณฑลกวางสี เริ่มที่จะสนบสนุนใหว ิสาหกิจจีนออกไปลงทุนในประเทศเพื่อนบานที่มีพรมแดนติดกับ จีนมากยิ่งขึ้นท้งในสวนของ พมา สปป.ลาว และเวียดนาม เปนตน
31 http://chiangmaicompass.blogspot.com/2009/06/tsingtao.html (Retrieved December 12, 2011) 32UNCTED, “China: an emerging FDI outward investor”, 4 December 2003, http://www.unctad.org/sections/dite_fdistat/docs/china_ebrief_en.pdf (Retrieved December 12, 2011)
ขณะเดียวกันในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 5 ป ฉบับที่ 10 รัฐบาลxxxxx สนับสนุนใหบรรษัทxxxออกไปลงทุนเพื่อการแสวงหาแหลงทรัพยากรธรรมชาติ แหลงนํ้ามันและกาซ xxxxxxxx เพื่อเปนแหลงพลังงานสํารองและความม่ันคงดานพลังงานของประเทศ นอกจากนี้ เมื่อ ค.ศ. 2004 รัฐบาลxxxxxมีxxxxศาสตร การสนับสนุนบรรษัทขามชาติxxxออกไปลงทุนในการแสวงหา แหลงทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อนํากลับเขามาในประเทศในการตอบxxxxตอความตxxxxxทรัพยากร xxxxxxxxxxตอการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ โดยมีการสนับสนุนงบประมาณจาก China Exim Bank และ Xxxxxxxx ซึ่งมีบทบาทหลักในการสนับสนุนการคาและการลงทุน เมื่อ ค.ศ. 2005 China Exim Bank ไดสนับสนุนเงินกูประมาณ 158.6 พันลานหยวน (ประมาณ 20 พันลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา) ในกับบรรษัทขามชาติxxxxxxxรัฐวิสาหกิจและวิสาหกิจเอกชนใหออกไปลงทุน ตาม นโยบายxxxxศาสตรของxxxกับตางประเทศ
จากเสนทาง การเริ่มตนของรัฐบาลxxxในการสนับสนุนการออกไปลงทุนในตางประเทศ หลังการเปดประเทศ เมื่อ ค.ศ. 1978 รัฐบาลxxxxxดําเนินการอยางตอเนื่องในการxxxxxxวิสาหกิจxxx การออกกฏxxxxxxx และมาตราการการออกไปลงทุน ทั้งในสวนรัฐบาลกลางและรัฐบาลxxxxเพื่อ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งการxxxxxxxxxxxxโยงกับตางประเทศท้ังประเทศพัฒนาและ กําลังพัฒนา (เอเชีย แอฟริกา และลาตินอเมริกา) อยางไรก็ตามการที่บรรษัทขามชาติxxxxxรับการ สนับสนุนทั้งกฏหมาย และกฏระเบียบการลงทุน และงบประมาณ บรรษัทขามชาติxxxมีxxxxxxxประสบ ความสําเร็จและความลมเหลวในการลงทุน ทั้งนี้เนื่องมาจากกฏหมาย กฏxxxxxxx ระบบเศรษฐกิจ การเมือง และธรรเนียมการปฏิบัติทางธุรกิจในแตละประเทศที่มีแตกตางกัน แมวาเปนประเทศท่ีมี ระบบการเมืองxxxxxxเดียวกันก็ยังมีความแตกตางกันเชนxxx xxxxในเพ่ือนบานอยางสปป.ลาว และ เวียดนาม (xxxxxxxลุมแมน้ําโขง) ซึ่งยังไดสรางความทาทายตxxxxในการเขามาลงทุนเสมือนกับ หลายประเทศหลานxxxxxxxทั่วโลก