Contract
xxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
“เอกสารลับ” ก็เปิดเผยได้ค่ะ
หลายคนxxมีความxxxxxxxxxจะมีงานทําxxxxxxxxx เป็นอาชีพxxxxxxxxxxxxตามxxxxxx มีรายได้พอเลี้ยง ครอบครัวและมีเงินออม ที่สําคัญต้องปราศจากหนี้สิน หากใครxxxxxxทําได้ตามนี้xxxxxxชีวิตมีความมั่นคงในระดับ xxxxxxxxxxและxxxxxxxxx แต่ชีวิตจริงxxxxxxเป็นเหมือนภาพฝัน ส่วนใหญ่ต้องดิ้นรนและกว่าจะมั่นคงทางด้านรายxxxxxใช้ เวลาเกือบทั้งชีวิต โดยเฉพาะอาชีพรับราชการหากไม่มีการวางแผนทางการเงินมาตั้งแต่ต้นก็xxxxxxxxยากกับการ ต้องเป็นหนี้ ดังxxxxชีวิตของข้าราชการคนหนึ่งxxxxxxลงโทษทางวินัยเพราะการเป็นหนี้ xxxxxxxxอยู่ว่า ...
นาง ข. ได้มีหนังสือถึงผู้อํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร เพื่อร้องเรียนนาง ค. ข้าราชการครูโรงเรียนแห่งหนึ่งที่ยืมเงินจากนาง ข. ไปแล้วไม่ยอมชําระหนี้ นาง ข. จึงxxxxxxxคดีต่อ ศาลและศาลมีคําสั่งพิพากษาให้นาง ค. ชําระหนี้ให้นาง ข. เดือนละ ๗,๐๐๐ บาท xxxxxxxxประนีประนอม ยอมความ แต่นาง ค. ก็ไม่ชําระหนี้ ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวไม่เหมาะสมกับการรับราชการครู เห็นควรดําเนินการทางxxxxx xxxxxxแก่กรณี สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาครได้มีหนังสือถึงผู้อํานวยการโรงเรียน ดังกล่าว ให้พิจารณาดําเนินการตามอํานาจหน้าที่และรายงานให้สํานักงานเขตฯ ทราบ โรงเรียนฯ จึงมีคําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ สืบสวนและสอบสวนกรณีดังกล่าว โดยนาง ค. ได้ให้ถ้อยคํากับคณะกรรมการฯ สรุปได้ว่า เป็นลูกหนี้ ตามคําพิพากษาจริง เหตุที่ต้องยอมรับสภาพใช้หนี้เดือนละ ๗,๐๐๐ บาท xxxxxxxมีเงินเดือนรับxxxxx
xxxเกินเดือนละ ๔,๐๐๐ บาท และไม่มีรายได้อื่น ๆ จึงไม่xxxxxxใช้หนี้ตามคําพิพากษาได้ ประกอบกับ ทนายความผู้ฟ้องร้องแนะนําให้คู่ความตกลงกันเอง ซึ่งนาง ค. ไม่มีทนายความแนะนําจึงเชื่อ คําเสนอแนะของทนายผู้ฟ้อง ส่วนประเด็นการไม่ชําระหนี้หลังจากมีคําพิพากษานั้น นาง ค. แจ้งว่า ได้ชําระหนี้ให้เจ้าหนี้เดือนละ ๑,๐๐๐ บาท เป็นเวลา ๓ เดือนติดต่อกันแต่เนื่องจากมีค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการศึกษาของบุตรจึงได้งดชําระหนี้ไป โรงเรียนฯ เห็นว่านาง ค. ไม่มีxxxxxxxxชําระหนี้ ตามคําพิพากษาจึงเป็นความผิดเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเสื่อมเสียกรณีผู้อื่นไม่ทราบข้อเท็จจริง จึงมี คําสั่งให้ว่ากล่าวxxxxxxxxนาง ค. และให้ชําระหนี้ต่อไป
โรงเรียนฯ จึงได้ส่งสํานวนเกี่ยวกับการสอบสวนและการลงโทษทางวินัย นาง ค. ให้แก่สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาครพิจารณา สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาฯ พิจารณาแล้วเห็นว่า การงดโทษไม่เหมาะสมแก่กรณี เนื่องจากนาง ค. xxxxxxxxxxxx ขัดขืนคําพิพากษาของศาลxxxxxxxตนเองมีเงินเดือน หากxxxxxxxจะชําระหนี้ก็xxxxxxผ่อนชําระได้ ตามกําลัง จึงมีคําสั่งxxxxxโทษจากงดโทษเป็นภาคทัณฑ์ และได้เสนอเรื่องนี้ไปยังคณะอนุกรรมการ
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (อ.ก.ค.ศ.) เขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสาครพิจารณา ซึ่ง อ.ก.ค.ศ. มีมติเห็นชอบ ต่อมา นาง ข. ได้มอบอํานาจให้นาย ง. ดําเนินการขอข้อมูลรายละเอียดและผลการพิจารณาเกี่ยวกับ
การดําเนินการทางxxxxxของนาง ค. จากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แต่ถูกปฏิเสธการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร โดยให้เหตุผลว่าเป็นการดําเนินการภายในหน่วยงาน และเป็นเอกสารที่เป็นความลับของทางราชการตามความในxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ซึ่งเป็นข้อมูลข่าวสารของราชการที่มี กฎหมายคุ้มครองไม่ให้เปิดเผยตามมาตรา ๑๕ (๖) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร ของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ นาย ง. จึงอุทธรณ์คําสั่งไม่ให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารดังกล่าว
- ๒ –
คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดินและการบังคับ ใช้กฎหมายพิจารณาแล้วเห็นว่า ข้อมูลรายละเอียดและผลการพิจารณาการดําเนินการทางxxxxxกรณีดังกล่าว ได้ดําเนินการเสร็จสิ้นแล้ว ไม่ใช่ข้อมูลความเห็นหรือคําแนะนําภายในหน่วยงานของรัฐในการดําเนินการเรื่องหนึ่งเรื่องใด ตามมาตรา ๑๕ (๓) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ และถึงแม้จะมีการกําหนดให้ข้อมูล ดังกล่าวเป็นข้อมูลข่าวสารลับตามxxxxxxxว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ก็ไม่ตัดอํานาจ คณะกรรมการวินิจฉัยให้เปิดเผย ประกอบกับผู้อุทธรณ์เป็นผู้รับมอบอํานาจจากผู้ร้องเรียนจึงเป็นผู้มีส่วนได้เสียโดยตรง ในข้อมูลข่าวสารนั้นด้วย ดังนั้น เมื่อxxxxxxxxxxxxxxxปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ ประโยชน์สาธารณะ และประโยชน์ของเอกชนที่เกี่ยวข้องประกอบกันแล้ว ตามมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ และอาศัยอํานาจตามมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.x. 0000 xxxวินิจฉัยให้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเปิดเผยข้อมูลตามคําขอ พ ร้อมทั้งให้สําxxxxxxมีคํารับรองถูกต้อง แก่ผู้อุทธรณ์
จะเห็นได้ว่า กฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการได้ให้การคุ้มครองxxxxxxxxxxxx และxxxxxxxxxx ของประชาชน แม้ว่าหน่วยงานรัฐจะปฏิเสธการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารโดยแจ้งว่าเป็นเอกสารลับและมีกฎหมายคุ้มครอง ไม่ให้เปิดเผยก็ตาม หากประชาชนหรือผู้ขอข้อมูลใช้xxxxxยื่นหนังสืออุทธรณ์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูล ข่าวสารแล้วก็อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการฯ จะเป็นผู้พิจารณาวินิจฉัยว่าจะเปิดเผยข้อมูลข่าวสารนั้นได้มากxxxx xxxxxใด
เมื่อใดที่ท่านมีปัญหาในการขอข้อมูลข่าวสารจากหน่วยงานของรัฐ หรือได้รับการปฏิเสธในการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสาร xxxxxxปรึกษาและขอรับคําแนะนําxxxxxxสํานักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ สํานักงาน ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ทําเนียบรัฐบาล กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ หมายเลขโทรศัพท์ ๐ ๒๒๘๓ ๔๖๗๗ – ๘๐ หรือ จะเดินทางมาด้วยตนเอง หรือส่งหนังสือทางไปรษณีย์ก็ได้ค่ะ
...................................................
(คําxxxxxxxx xxx สค ๒๒๒/๒๕๕๗)