สัญญาเลขที่ RDG4510001
สัญญาเลขที่ RDG4510001
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณเรื่อง
การจัดสรรคลื่นความถี่
(การวิจัยในโครงการ “แนวทางการxxxxxxระบบโทรคมนาคมของประเทศไทย”)
โดย
xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxย และ xxxxx รัตนนฤมิตศร
สถาบนวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
xxxxxxxxxxxxxxxxxx
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
มีนาคม 2546
(ความเห็นในรายงานฉบับนี้เปนของผูวิจัย สกว. ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป)
คณะผูวิจัยขอขอบคุณสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ที่ใหการสนับสนุนการวิจัย และ เรือโทxxxxxx xxxรักษ ที่ใหคําแนะนําประเด็นดานกฎหมายบางประเด็น ขอบกพรองที่ยังxxมี เหลือxxxเปนของคณะผูวิจัยทั้งสิ้น
การจัดสรรคลื่นความถี่
คลื่นความถี่ (radio spectrum) เปนทรัพยากรท่ีจําเปนตอบริการโทรคมนาคมไรสาย บริการ แพรภาพกระจายเสียง การปองกันประเทศ การรับมือกับภาวะฉุกเฉิน การบังคับใชกฎหมาย การ
ขนสง และการวิจัยและพ นา ในสวนของกิจการโทรคมนาคม บริการโทรคมนาคมที่ใชคลื่น
ความถี่ ไดแก โทรศัพทเคลื่อนที่ วิทยุติดตามตัว ดาวเทียม และบริการโทรคมนาคมเฉพาะกลุม ตางๆ ทั้งนี้ คลื่นความถี่เปนทรัพยากรธรรมชาติที่ใชไดโดยไมหมดxxxxxxมีxxxอยางจํากัดในแตละ ชวงเวลา ความจํากัดของคลื่นความถี่สงผลใหการใชคลื่นความถี่โดยไมมีการควบคุมจะทําใหxxxx xxxรบกวนกันจนทําใหไมxxxxxxติดตอสื่อสารกันได ปญหาดังกลาวทําใหเกิดความจําเปxxxxรัฐ จะตองเขามากํากับดูแลการบริหารและจัดสรรคลื่นความถี่
รายงานฉบับนี้ไดวิเคราะหถึงแนวทางการจัดสรรคลื่นความถี่ใหผูใชแตละราย (frequency assignment) เปนหลัก เนื่องจากกิจกรรมดังกลาวมีความสําคัญในการกําหนดโครงสรางตลาดโทร คมนาคมวาจะมีการแขงขันเพียงใด และจะxxxxxxนําคลื่นความถี่ซึ่งเปนทรัพยากรที่มีxxxอยางจํากัด มาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดไดอยางไร นอกจากน้ี ขั้นตอนดังกลาวยังเปนขั้นตอนที่มีปญหามากใน
ประเทศไทยในชวงท่ีผานมา ดังจะเห็นไดจากการที่จะมีผู ระxxxxxxบางรายไดรับคลื่นความถี่ไป
เกินกวาความจําเปนในการใชงานจริง หรือมีผูประกอบการบางรายไดรับการจัดสรรคลื่นความถี่นอย เกินไปจนไมxxxxxxเขาสูตลาดได
กฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดสรรคลื่นความถี่ในประเทศไทยที่สําคัญคือ พ.ร.บ.องคกร จัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 และ พ.ร.บ.การประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 ตามกฎหมายดังกลาว อํานาจใน การจัดสรรคลื่นความถี่จะถูกโอนจากคณะกรรมการxxxxxxxxxxxxจัดและบริหารความถี่วิทยุแหง ชาติ (กบถ.) มาสูการจัดสรรโดยคณะกรรมการรวมระหวางคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและ กิจการโทรทัศนแหงชาติ (กสช.) และคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.) อยางไร ก็ตาม กฎหมายทั้งสองฉบับไมไดระบุถึงวิธีการจัดสรรคลื่นความถี่ไวอยางชัดเจน
คณะผูวิจัยมีขอเสนอแนะทางนโยบายเพื่อการจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับประกอบกิจการโทร คมนาคมในประเทศไทย ดังตอไปนี้
• กทช. ควรกําหนดวิธีการจัดสรรคลื่นความถี่ดวยวิธีการประมูล เนื่องจากการจัดสรรคลื่น ความถี่ดวยวิธีการประมูลเปนวิธีที่คํานึงถึงความคุมคา ความขาดแคลน และประโยชน สาธารณะมากกวาวิธีการอื่น
ทั้งนี้ กทช. xxxxxxใหแตมตอลวงหนาในการประมูลแกผูที่ใหบริการโทรคมนาคม รายยอย และนํารายไดจากการประมูลคลื่นความถี่บางสวนมาจัดสรรใหแกกองทุน พัฒนากิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชนสาธารณะและกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการ ศึกษาตาม พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ
อนึ่ง ความสําเร็จในการจัดสรรคลื่นความถี่ดวยการประมูลขึ้นxxxกับการออกแบบxxxxx โดยเฉพาะการสงเสริมใหxxxxxxxแขงขันในตลาด กทช.ควรมีมาตรการปองกันการกีด กันการแขงขันในการประมูล เชน ปองกันมิใหผูประกอบการที่มีความเกี่ยวโยงกันเขา ประมูลพรอมกัน กําหนดราคาขั้นตํ่าที่ยอมรับได (reserve price) เพื่อปองกันการสมคบ กันในการประมูล และลงโทษผูประกอบการที่กีดกันการแขงขันในการประมูลอยางรุนแรง เปนตน
• กทช.ควรกําหนดกฎเกณฑการใชคลื่นความถี่ที่มีประสิทธิภาพ ตรวจสอบการใชคลื่น ความถี่ของผูxxxxxรับการจัดสรร และในกรณีที่พบวามีผูประกอบการxxxxxไดใชคล่ืน ความถี่นั้นตามกําหนดเวลาหรือใชนอกวัตถุประสงค กทช. ควรใชอํานาจตามกฎหมาย ในการแกไขใหถูกตองหรือมีคําxxxxxxxถอนคืนการใชคลื่นความถี่ เพื่อนํามาจัดสรรใหมให เกิดประโยชนอยางแทจริง
• กทช.ควรออกประกาศกําหนดเก่ียวกับการเปลี่ยนโอนxxxxxใบอนุญาตใชคลื่นความถี่ อยางโปรงใส โดยกําหนดวา หากผูประกอบการมีการเปลี่ยนโอนxxxxxใดๆ ใหรายงาน หรือขออนุญาตจาก กทช. แลวแตกรณี
• คณะกรรมการรวมระหวาง กทช.และ กสช.ควรประกาศนโยบายและจัดทําแผนแมบท การบริหารคลื่นความถี่ ตลอดจนกําหนดกฎเกณฑในการจัดสรรคลื่นความถี่ลวงหนา นานxxxxx เพื่อใหผูประกอบการที่สนใจxxxxxxศึกษาขอมูลและวางแผนเตรียมการ ลวงหนาได
Executive Summary Spectrum Assignment
Radio spectrum is a limited natural resource and is indispensable for mobile telecommunications, broadcasting, defense, emergency handling, law enforcement, transportation and research and development activities. Examples of telecommunication services that rely on radio spectrum are mobile telephone, paging, satellite, etc. There is a strong rationale for the government to intervene in managing radio spectrum since unregulated usage would result in interference.
In this report, we will focus on the government’s roles in spectrum assignment, the act of assigning a particular frequency band to a licensed user. In particular, we analyze various options for spectrum assignment. In the past, spectrum in Thailand was assigned on a first-come, first-serve basis, which often resulted in inefficient and unfair assignment. Some operators were assigned too much spectrum, which were in turn sold at profitable prices, while others were provided with insufficient spectrum.
Laws related to spectrum assignment include the Organization of Frequency Allocation and Supervision of Radio Broadcasting, Television and Telecommunications Businesses Act 2000 and the Telecommunications Business Act 2001. According to these laws, spectrum assignment is under the jurisdiction of a joint committee between the National Telecommunications Commission (NTC) and the National Broadcasting Commission (NBC). However, the laws leave many aspects of spectrum assignment with insufficient detail. To efficiently assign the limited spectrum, we propose the following policy recommendations:
• Spectrum should be assigned by auctions to achieve the most efficient resource allocation. However, it is important that the auctions are designed properly to promote competition.
• The NTC should actively monitor the use of spectrum. In case that some spectrum are found to be under-utilized, the NTC should revoke the spectrum license and reassign it to other operators based on a competitive basis.
• Spectrum should be allowed to be tradable only when it was assigned competitively in the first place.
รายงานวิจัยเรื่อง การจัดสรรคลื่นความถี่
(การวิจัยในโครงการ “แนวทางการxxxxxxระบบโทรคมนาคมของประเทศไทย”)
สารบัญ
หนา
xxxxxxxxxxxxxxx xx
บทสรุปสําหรับผูบริหาร iii
Executive Summary v
1. แนวคิดพื้นฐานในการบริหารคลื่นความถี่ 1
1.1 แนวคิดพื้นฐาน 1
1.2 หลักเศรษฐศาสตรวาดวยการจัดสรรคลื่นความถี่ 3
2. ทางเลือกในการจัดสรรคลื่นความถี่ 5
2.1 วิธีการจัดสรรคลื่นความถี่ 6
2.2 ขxxx-ขอเสียของทางเลือกตางๆ 7
2.3 ขอโตแยงเกี่ยวกับการจัดสรรคลื่นความถี่โดยวิธีการประมูล 9
2.4 การเปลี่ยนโอนxxxxxxxxใชคลื่นความถี่ (spectrum trading) 12
3. ประสบการณของตางประเทศ 12
3.1 การประมูลคลื่นความถี่ในชวงตนxxxxxx 1990 13
3.2 การประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ป 2000-2001 16
4. การจัดสรรคลื่นความถี่ของประเทศไทย 19
4.1 การจัดสรรคลื่นความถี่ตาม พ.ร.บ.วิทยุคมนาคม 19
4.2 การจัดสรรคลื่นความถี่ตามกฎหมายใหม 24
5. ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 25
ภาคxxxxxxx 1 กระบวนการจัดประมูลคลื่นความถี่ของสหราชอาณาจักรและออสเตรเลีย 29
ภาคxxxxxxx 2 ประกาศคณะกรรมการxxxxxxxxxxxxจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ
เรื่อง กําหนดหลักเกณฑการจัดสรรความถี่วิทยุ 35
สารบัญตาราง ภาพ และกรอบ
หนา ภาพที่ 1 คลื่นความถี่ที่xxxxxxใชประโยชนได 1
ภาพที่ 2 ตนทุนและประโยชนทางสังคมในการใชคลื่นความถี่ในสภาพสถิต (static) 3
ภาพที่ 3 ตนทุนและประโยชนทางสังคมในการใชคลื่นความถี่ในสภาพxxxxx (dynamic) 4
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบทางเลือกในการจัดสรรคลื่นความถี่ 9
ตารางที่ 2 สรุปประสบการณการจัดสรรคลื่นความถี่ของตางประเทศ 20
ตารางที่ 3 การจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 21
กรอบที่ 1 รูปแบบของการประมูล 7
กรอบที่ 2 กรณีศึกษาการจัดสรรคลื่นความถี่ใหแกบริษัท TAC 23
กรอบที่ 3 กรณีศึกษาการจัดสรรคลื่นความถี่ใหแกบริการ PDC 1500 24
1. แนวคิดพื้นฐานในการบริหารคลื่นความถี่
1.1 แนวคิดพื้นฐาน
คลื่นความถี่ (radio spectrum) เปนทรัพยากรที่จําเปนตอบริการโทรคมนาคมไรสาย บริการ แพรภาพกระจายเสียง การปองกันประเทศ การรับมือกับภาวะฉุกเฉิน การบังคับใชกฎหมาย การ ขนสง และการวิจัยและพฒั นา ในสวนของกิจการโทรคมนาคม บริการโทรคมนาคมที่ใชคลื่นความถี่ ไดแ ก โทรศัพทเคลื่อนที่ วิทยุติดตามตัว ดาวเทียม และบริการโทรคมนาคมเฉพาะกลุมตางๆ
คลื่นความถี่เปนทรัพยากรธรรมชาติที่ใชไดโดยไมหมดxxxxxxมีxxxอยางจํากัดในแตละชวง เวลา (inexhaustible limited resource) ความจํากัดของคลื่นความถี่หมายxxxxxxที่ปริมาณการใช
คลื่นความถี่ถูกจํากัดตามชวงเวลา (time) สถานท (location) และกําลังสง (transmission power)
แมวาคลื่นความถี่ที่เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาจะมีปริมาณทั้งสิ้นถึง 3,000 GHz ก็ตาม ในปจจุบัน เรา xxxxxxใชคลื่นความถี่ไดเพียง 60 GHz เทานั้น ดวยพัฒนาการทางเทคโนโลยี คาดวาในxxxxx เราจะxxxxxxใชคลื่นความถี่ไดถึง 300 GHz (ดูภาพที่ 1) ความจํากัดของคลื่นความถี่สงผลใหการ ใชคลื่นความถี่โดยไมมีการควบคุมจะทําใหxxxxxxxรบกวนกัน จนทําใหไมxxxxxxติดตอสื่อสารกันได ปญหาดังกลาวทําใหเกิดความจําเปxxxxรัฐจะตองเขามากํากับดูแลการบริหารและจัดสรรคลื่นความถี่
ภาพที่ 1 คลื่นความถี่ที่xxxxxxใชประโยชนได
คลื่นความถี่ที่ใชในปจจุบัน
60 GHz | 300 GHz | ||
3 KHz | คลื่นความถี่ที่ใชได ในทางเทคนิค | 3000 GHz |
คลื่นความถี่ทั้งหมด
ที่มา : ITU (1998)
การบริหารคลื่นความถี่ (spectrum management) ประกอบไปดวยกิจกรรมหลัก 4 ประการ ดังตอไปนี้ คือ
1. การกําหนดยานความถี่ (allocation) เปนการกําหนดกรอบอยางกวางๆ ในการใช คลื่นความถี่ ดังเชนการจัดทําผังความถี่ (frequency table) ของประเทศตางๆ ตามขอ กําหนดการกํากับดูแลคลื่นวิทยุ (radio regulation) ของสหภาพโทรคมนาคมระหวาง ประเทศ (International Telecommunication Union) เชน คลื่นความถี่ชวง 800 MHz และ 1800 MHz ใชสําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ระบบ GSM คลื่นความถี่ชวง 1900 MHz ใช สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 เปนตน
2. การประกาศกฎเกณฑการบริหารคลื่นความถี่ (development of services rules)
เปนการจัดทําxxxxxxxและขอบังคับตางๆ เก่ียวกับการนําคลื่นความถี่ไปใชเพ่ือใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด เชน การใชคลื่นความถี่รวม (frequency sharing) และการใชคลื่น ความถี่ซํ้า (frequency reuse) เปนตน
3. การจัดสรรคลื่นความถี่แกผูใชแตละราย (assignment) เปนการจัดสรรคลื่นความถี่ ใหแกผูใชแตละราย xxxxxxxxxxในรูปแบบของการออกใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่ตามยาน ความถี่และเงื่อนไขที่กําหนดไว
4. การตรวจสอบและบังคับใชกฎหมาย (enforcement) เปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการ รับแจงและตรวจสอบเฝาฟงการใชคลื่นความถี่เพื่อแกไขปญหาการรบกวนกันของคลื่น ความถี่ รวมทั้งปองกันการใชคลื่นความถี่โดยไมไดรับอนุญาต เปนตน
ปจจัยสําคัญที่จะชวยใหการบริหารคลื่นความถี่เปนไปอยางมีประสิทธิภาพประกอบไปดวย การมีหนวยงานกํากับดูแลที่เปนxxxxx (independent regulator) การมีกฎxxxxxxxxxxมีความชัดเจน และxxxxxxคาดการณได (clear and predictable rules) และการมีกลไกการบริหารคลื่นความถี่ซึ่งมี ความยุติธรรมและโปรงใส (fair and transparent)
ในรายงานฉบับน้ี คณะผูวิจัยจะวิเคราะหถึงแนวทางการจัดสรรคลื่นความถี่ใหผูใชแตละราย (frequency assignment) เปนหลัก เนื่องจากกิจกรรมดังกลาวมีความสําคัญในการกําหนดโครงสราง ตลาดโทรคมนาคมวาจะมีการแขงขันเพียงใด และจะxxxxxxนําคลื่นความถี่ซึ่งเปนทรัพยากรที่มีxxx
อยางจํากัดมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดไดอยางไร นอกจากน ปญหามากในประเทศไทยในชวงที่ผานมา
ขั้นตอนดังกลาวยังเปนขั้นตอนที่มี
1.2 หลักเศรษฐศาสตรวาดวยการจัดสรรคลื่นความถี่
แนวคิดทางทฤษฎีในการบริหารคลื่นความถี่เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดแกสาธารณะ xxxxxx อธิบายไดดวยแนวคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตรเกี่ยวกับตนทุนและผลประโยชนทางสังคม (social cost and social benefit analysis) ดังแสดงในภาพที่ 2 องคประกอบที่สําคัญของภาพดังกลาวคือ ประโยชนทางสังคม (social benefit) และตนทุนทางสังคม (social cost) ประโยชนทางสังคมจาก การใชคลื่นความถี่จะxxxxxขึ้นเมื่อมีปริมาณการใชคลื่นความถี่xxxxxสูงขึ้น อยางไรก็ตามประโยชนดัง กลาวจะxxxxxขึ้นในอัตราที่ลดลง (diminishing return) เนื่องจากคลื่นความถี่ที่มีประโยชนในการใช มากมักจะถูกนํามาใชกอน ในทํานองเดียวกัน ตนทุนทางสังคม (social cost) จากการรบกวนกัน ของคลื่นความถี่จะxxxxxขึ้นอยางชาๆ ในชวงแรกเนื่องจากมีการใชคลื่นความถี่นอย แตจะxxxxxขึ้นใน อัตราเรงในชวงหลังเมื่อมีความxxxxxในการใชคลื่นความถี่
ภาพที่ 2 ตนทุนและประโยชนทางสังคมในการใชคลื่นความถี่ในสภาพสถิต (static)
ผลไดและตนทุน ทางสังคม
ต นทุนจากการรบกวนกันของคล่ืน ความถี่ (cost of interference)
ผลไดจากการสื่อสาร (benefit of communications)
V*
ผลไดทางสังคมสุทธิ
(Net Social Value)
ปริมาณการใชคลื่นความถ่ี
(Volume of Band Traffic)
T1 T* T2
ประโยชนทางสังคมสุทธิ (net social benefit) ของการใชคลื่นความถี่เพื่อการสื่อสารคือ ประโยชนทางสังคมจากการใชคลื่นความถ่ีหักลบดวยตนทุนทางสังคมจากการรบกวนกันของ สัญญาณ ปริมาณการใชคลื่นความถี่ที่กอใหเกิดประโยชนทางสังคมสุทธิสูงสุด (optimal utilization level) คือจุดที่ตนทุนหนวยสุดทาย (marginal cost) เทากับประโยชนหนวยสุดทาย (marginal utility)
พัฒนาการของเทคโนโลยีการสื่อสารไรสายและการบีบอัดสัญญาณ (data compression) ทํา ใหการใชคลื่นความถี่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ในเวลาเดียวกันการเกิดขึ้นของบริการโทรคมนาคม ใหมๆ ซึ่งแพรหลายไปยังผูใชอยางรวดเร็วก็ทําใหเกิดความตxxxxxใชคลื่นความถี่xxxxxขึ้น1 ภาพที่ 3 แสดงสถานการณที่ระดับการใชคลื่นความถี่ที่เหมาะสมเดิมxxxที่ TA* ตอมาเมื่อมีการ พัฒนาทางเทคโนโลยีและมีความตxxxxxใชคลื่นความถี่xxxxxขึ้น ประโยชนและตนทุนทางสังคมจะ เปลี่ยนไปในระดับที่สูงกวาเดิม (ณ ปริมาณการใชคลื่นความถี่เดิม ผลประโยชนที่ตกแกสังคมจะสูง ขึ้น ในขณะท่ีตนทุนทางสังคมลดลง) ระดับการใชคลื่นความถี่ที่เหมาะสมจึงเปลี่ยนไปที่จุด TB* เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว นโยบายการบริหารคลื่นความถี่จะตองมีความยืดหยุน (flexible) และมีลักษณะxxxxx (dynamic) เชน xxxxxxรองรับการจัดสรรคลื่นความถี่ใหม (reallocation) เพื่อ ตอบxxxxบริการตางๆ ที่เกิดขึ้นจากเทคโนโลยีและรูปแบบการบริโภคxxxxxxxxxนไป มิฉะนั้น ประโยชนที่สังคมจะไดรับจากการใชคลื่นความถี่ก็จะนอยกวาระดับที่ควรจะเปน
ภาพที่ 3 ตนทุนและประโยชนทางสังคมในการใชคลื่นความถี่ในสภาพxxxxx (dynamic)
ผลไดและตนทุน ทางสังคม
ตนทุน B
ผลได B
ตนทุน A
ผลได A
VB*
VA*
ผลไดทางสังคม สุทธิ B
ผลไดทางสังคม สุทธิ A
TA*
TB*
ปริมาณการใชคลื่นความถี่
(Volume of Band Traffic)
ที่มา : Hazlett (2001) pp. 23-26
1 Radiocommunications Agency ของสหราชอาณาจักร ไดจัดระดมสมองเพื่อวาดภาพสถานการณที่เปนไปไดของการหลอมรวมสื่อ และผลของการหลอมรวมสื่อตามภาพสถานการณตางๆ ตอความตxxxxxคลื่นความถี่ พบวาในทุกภาพสถานการณ ความตxxxxxคลื่น ความถี่ในxxxxxเมื่อเทียบกับป 2000 จะxxxxxขึ้น โดยเฉพาะในภาพสถานการณที่บริการโทรคมนาคมเคลื่อนที่มีความแพรหลายมาก ดู Radiocommunications Agency (2000)
2. ทางเลือกในการจัดสรรคลื่นความถี่
ในกรอบที่กวางที่สุด การจัดสรรคลื่นความถี่xxxxxxทําไดใน 3 แนวทางคือ การเปดใหมี การใชคลื่นความถี่โดยxxxxxโดยไมมีขอจํากัดใดๆ การกําหนดกรรมสิทธิ์ (property rights) ของคลื่น ความถี่แลวเปดใหมีการเปลี่ยนมือโดยxxxxx และการจัดสรรคลื่นความถี่โดยรัฐ ที่ผานมาเชื่อกัน วา การจัดสรรคลื่นความถี่จะตองกระทําโดยรัฐเทานั้น อยางไรก็ตาม ในชวงไมกี่ปที่ผานมา ไดมีการ เริ่มพูดxxxxxxนําหลักกรรมสิทธิ์ในคลื่นความถี่มาใชในประเทศพัฒนาแลวหลายประเทศ และบาง ประเทศเชนออสเตรเลียไดเปดใหxxxxxxเปลี่ยนมือคลื่นความถี่ได ในเวลาเดียวกัน พัฒนาการ ของเทคโนโลยีใหมๆ เชน พัฒนาการของเทคโนโลยีเครือขาย (wireless LAN) เชน เทคโนโลยี 802.11b ก็ทําใหxxxxxxxทดลองเปดใหมีการใชคลื่นความถี่โดยxxxxxในยานความถี่สูง ในรายงาน ฉบับน้ี คณะผูวิจัยจะจํากัดเนื้อหาการนําเสนอเฉพาะการจัดสรรคลื่นความถี่โดยรัฐเทานั้น เนื่องจาก การจัดสรรคลื่นความถี่ในสองแนวทางที่เหลือยังxxxในชวงเริ่มตนเทานั้น
กระบวนการในการจัดสรรคลื่นความถี่โดยรัฐxxxxxxทําหลายวิธี ในอดีตที่ผานมา การจัด สรรคลื่นความถี่มักอาศัยกลไกฝายxxxxxx (administrative approach) ในการคัดเลือกผูที่จะไดรับ การจัดสรรคลื่นความถี่ เชน การใชวิธีการจัดสรรคลื่นความถี่แบบมากอนไดกอน (first-come, first serve) การจัดสรรคลื่นความถี่แบบจับxxxx (lottery) และการจัดสรรคลื่นความถี่โดยการคัดเลือก เปรียบเทียบ (comparative evaluation) หรือxxxxxxจะเรียกกันโดยทั่วไปวา “การประกวดนางงาม” (beauty contest) โดยคาธรรมเนียมในการใชคลื่นความถี่จะถูกประเมินเพื่อใหครอบคลุมคาใชจาย ในการบริหารคลื่นความถี่ (spectrum management) ของหนวยงานกํากับดูแลเทานั้น ไมไดคิดถึง ตนทุนจากคาเสียโอกาสของสังคมในการใชคลื่นความถี่ในกิจกรรมอื่น
ในปจจุบัน หนวยงานกํากับดูแลดานโทรคมนาคมในตางประเทศหลายแหงไดxxxxxxxxxใชวิธี การจัดสรรคลื่นความถี่โดยการประมูลคลื่นความถี่ (spectrum auction) และใชวิธีการจัดสรรแบบ อื่นๆ ที่อาศัยกลไกตลาด (market-based approach) กันมากขึ้น โดยเฉพาะการจัดสรรคลื่นความถี่ แกบริการโทรคมนาคมเชิงพาณิชยxxxxxxxxคาสูง เชน คลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่รุxxxxสาม
(3G) ซึ่งสรางรายไดxx xฐอยาง มหาศาล เชน การประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่รุxxxx
สามในสหราชอาณาจักรxxxxxxสรางรายไดใหแกรัฐ 1.49 ลานลานบาท ในเยอรมัน 1.92 ลาน ลานบาท และในเนเธอรแลนด 1.05 แสนลานบาท
ในหัวขอนี้ คณะผูวิจัยจะวิเคราะหถึงขxxxและขอเสียของทางเลือกตางๆ ในการจัดสรรคลื่น ความถี่ เพื่อเปนแนวทางในการจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับบริการโทรคมนาคมในเชิงพาณิชยสําหรับ ประเทศไทย โดยวิธีการจัดสรรคลื่นความถี่ดังกลาวxxxxxxนําไปใชเปนแนวทางสําหรับการจัดสรร คลื่นความถี่สําหรับบริการแพรภาพกระจายเสียงทางวิทยุและโทรทัศนในเชิงพาณิชยไดเชนเดียวกัน2
2 อยางไรก็ตาม แนวทางที่เสนอในรายงานนี้อาจไมเหมาะสมในการจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับบริการแพรภาพกระจายเสียงทางวิทยุ และโทรทัศนซึ่งไมใชบริการเชิงพาณิชย เชน วิทยุชุมชนหรอื โทรทัศนทองถิ่นซึ่งมีจุดประสงคทางสังคม
2.1 วิธีการจัดสรรคลื่นความถี่
ทางเลือกหลักๆ ในการจัดสรรคลื่นความถี่มี 4 ทางเลือกคือ การจัดสรรแบบมากอนไดกอน การคัดเลือกแบบสุม การคัดเลือกเปรียบเทียบ และการประมูลคลื่นความถี่ โดย 3 วิธีแรกเปนการ จัดสรรโดยอาศัยกลไกรัฐ (administrative approach) สวนวิธีสุดทายเปนการจัดสรรโดยอาศัยกลไก ตลาด (market-based approach)
วิธีจัดสรรแบบมากอนไดกอน (first-come, first serve) ตามวิธีนี้ หนวยงานจัดสรรคลื่น ความถี่จะประกาศยานคลื่นความถี่ที่จะจัดสรรและจํานวนผูมีxxxxxxxรับจัดสรร โดยผูมาติดตอขอ คลื่นความถี่ที่ปฏิบัติตามตามxxxxxxxxxxกําหนดครบถวนกอนจะไดxxxxxในการใชคลื่นความถี่ ในอดีต วิธีนี้มักจะใชสําหรับชวงคลื่นความถี่ที่มีความตxxxxxxxมากนัก แตหากมีความตxxxxxคลื่นความถี่ มากกวาจํานวนใบอนุญาตก็จะใชวิธีคัดเลือกแบบสุม คัดเลือกเปรียบเทียบ หรือการประมูลแทน
วิธีการเลือกแบบสุม (lottery) ตามวิธีนี้ หนวยงานจัดสรรคลื่นความถี่จะประกาศยานคลื่น ความถี่ที่จะจัดสรรและจํานวนผูมีxxxxxxxนเดียวกับวิธีแรก หลังจากนั้นก็จะประเมินคุณสมบัติเบื้องตน (pre-qualification) ของผูขอใชคลื่นความถี่และเลือกผูมีxxxxxใชคลื่นความถี่ โดยวิธีการจับxxxxหรือ วิธีสุมอื่นๆ จากผูที่มีคุณสมบัติขั้นตน
วิธีการคัดเลือกเปรียบเทียบ (comparative evaluation) ตามวิธีการจัดสรรแบบนี้ หนวย งานจัดสรรคลื่นความถี่จะประกาศหลักเกณฑที่จะใชคัดเลือก และวิธีการใหคะแนนใหทราบลวงหนา ผูที่จะไดxxxxxใชคลื่นความถี่คือ ผูสมัครที่มีขอเสนอดีที่สุดตามหลักเกณฑที่ตั้งไว หรือไดคะแนนรวม สูงสุดนั่นเอง เกณฑในการคัดเลือกที่พบบxxxxxรวมถึงผลตอบแทนทางการเงินที่ผูสมัครจะเสนอให แกรัฐ คุณภาพของแผนงานธุรกิจ (business plan) ความพรอมทางการเงินของผูสมัคร ขอบเขต บริการ ราคาและคุณภาพบริการ ความครอบคลุมของพื้นที่บริการ การลงทุนและความรวดเร็วใน การวางโครงขาย และเทคโนโลยีที่จะใชในการใหบริการ เปนตน
วิธีการประมูลคลื่นความถี่ (spectrum auction) เปนวิธีการจัดสรรคลื่นความถี่ซึ่งอาศัย กลไกตลาดหรือกลไกทางดานราคา แนวคิดพื้นฐานของการประมูลคือ ความเชื่อที่วาผูที่เสนอราคา ในการประมูลสูงสุดคือผูที่มีความxxxxxxในการใชคลื่นความถี่ไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด และ ประโยชนสุทธิสูงสุดของสังคมจะเกิดขึ้น เมื่อผูที่มีประสิทธิภาพในการใชคลื่นความถี่สูงสุดไดรับการ จัดสรร กรอบที่ 1 สรุปวิธีการประมูลแบบตางๆ ซึ่งxxxxxxนํามาประยุกตใชในการประมูลคลื่น ความถี่
กรอบที่ 1 รูปแบบของการประมูล
เมอื่
การประมูลมี 4 รูปแบบหลัก คือ
1. English auction หรือเรียกวา first-price open-cry ascending auction กฎของการประมูล คือ เริ่มประมูล ผูขายจะประกาศจากราคาที่คอนขางตํ่าหรือตั้งราคาเริ่มแรกที่ราคาสํารองขั้นตํ่า (reserve
price) ราคาประมูลจะxxxxxขึ้นเรื่อยๆ ผูxxxxxxประมูลไดแกผ การประมูลงานศิลปะ โบราณวัตถุ บาน เปนตน
ูที่ใหราคาสูงที่สุด วิธีการประมูลแบบนี้มักใชกับ
2. Dutch auction หรือเรียกวา first-price open-cry descending auction กฎของการประมูล คือ เมอเริ่มตนประมูล ผูขายจะประกาศราคาที่สูงมากแลวราคาประมูลจะคอยๆ ลดลง จนเหลือผูประมูลที่ xxxxxxใหราคา ณ ระดับนั้นๆ วิธีการประมูลแบบนี้มักใชกับการประมูลดอกไม ปลา บุหรี่ เปนตน
3. First-price sealed-bid auction กฎของการประมูล คือ ผูประมูลยื่นซองประมูลพรอมกัน โดย
ไมทราบวาผูประมูลรายอื่นใหราคาใด ผูxxxxxxประมูลคือผูที่ยื่นราคาที่สูงสุดและจายที่ราคาประมูลที่สูงสุด
นั้น วิธีการประมูลแบบนี้มักใชกับการประมูลพันธบัตรรัฐบาล (treasury bills) ใบอนุญาตในการประกอบการ เหxxxxx (mineral rights) เปนตน
4. Second-price sealed-bid auction หรือเรยกตามชื่อนักเศรษศาสตรรางวัลโนเบลป 1996 ที่
คิดวธการประมูลแบบนี้วา Vickrey’s auction กฎของการประมูลคือ ผูประมูลยื่นราคาประมูลพรอมกัน โดย
ไมร วาผูประมูลรายอื่นใหราคาใด ผูxxxxxxประมูลคือผูที่ยื่นราคาสูงสุด โดยจายที่ราคาที่สูงอันดับสอง (second-highest price) วิธีการประมูลแบบนี้มักไดรับความสนใจทางทฤษฎีมากกวานําไปใชปฏิบัติจริง อยางไรก็ตาม ป 1990 xxxxxแลนดเคยนําวิธีนี้ไปใชประมูลคลื่นความถี่ ซึ่งไดผลไมเปxxxxนาxxxxนัก เนื่อง จากราคาสูงสุดแตกตางจากราคาที่จายจริงซึ่งเปนราคาที่สูงอันดับสองมาก
2.2 ขxxx-ขอเสียของทางเลือกตางๆ
ในการเปรียบเทียบขxxxขอเสียของทางเลือกในการจัดสรรคลื่นความถี่ เราจะพิจารณาใน 4 ประเด็น คือ ความมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ (economic efficiency) ความเปนธรรม (fairness) การสรางรายไดใหแกรัฐ (revenue) และความรวดเร็วในการจัดสรร (speed)
ความมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ (economic efficiency) 3
โดยหลักการทั่วไปแลว xxxxxในการใชคลื่นความถี่ควรจะตกxxxกับผูที่ใชคลื่นความถี่อยางมี ประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งเปxxxxแนชัดวาวิธีการคัดเลือกแบบสุมไมxxxxxxรับประกันไดวาจะไดผู ประกอบการที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เนื่องจากหนวยงานจัดสรรคลื่นความถี่อาจสุมไดผูประกอบการที่ xxxxxxใชคลื่นความถี่อยางมีหรือไมมีประสิทธิภาพก็ได ในสวนของวิธีการคัดเลือกเปรียบเทียบ แมวาจะพิจารณาเกณฑตางๆ และเลือกผูประกอบการที่มีแผนงานที่มีองคประกอบxxxxxที่สุด xxxxxx xxxxxxจะไดผูที่xxxxxxใชคลื่นความถี่ไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดก็ตาม แตการกําหนดเกณฑและ ใหนํ้าหนักกับเกณฑตางๆ เพื่อใหสะทอนการใชคลื่นความถี่อยางประสิทธิภาพก็ไมใชเรื่องงายในทาง ปฏิบัติ นอกจากนี้ เกณฑหลายอยางโดยเฉพาะเกณฑที่มีลักษณะเชิงคุณภาพก็ยากที่ทําการเปรียบ เทียบกันได
สําหรับวิธีการประมูลซึ่งใชกลไกทางดานราคาเปนเครื่องมือในการจัดสรรนั้น xxxxxในการใช คลื่นความถี่จะตกกับผูท่ีใหมูลคากับคลื่นความถี่สูงสุด หรืออีกนัยหนึ่งคือผูที่xxxxxxใชคลื่นความถี่ ไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดนั่นเอง อยางไรก็ตาม ขอสรุปดังกลาวจะเปนจริงไดก็ตอเมื่อการประมูล ไดรับการออกแบบมาอยางดี ทําใหxxxxxxxแขงขันกันอยางแทจริงภายใตกฎกติกาที่มีความชัดเจน เทานั้น
ความเปนธรรม (fairness)
การคัดเลือกแบบสุมและการประมูลเปนวิธีการจัดสรรคลื่นความถี่คอนขางมีความเปนธรรม และโปรงใสมาก ในทางตรงกันขาม การคัดเลือกเปรียบเทียบจะขึ้นxxxกับดุลยพินิจของผูคัดเลือก เปนหลัก และยากที่จะหลีกเลี่ยงความลําเอียงหรือการไดรับแรงกดดันจากกลุมผลประโยชน วิธีการ คัดเลือกเปรียบเทียบจึงมักถูกวิพากษวิจารณวาเปนวิธีการxxxxxสูจะโปรงใสและเปนธรรมนัก นอก จากนี้ ผูxxxxxxคัดเลือกมักไดรับกําไรสวนเกินจากการไดxxxxxxxxxxxในการใชคลื่นความถี่ดังกลาว ซึ่งหากใชวิธีการประมูล กําไรดังกลาวจะตกxxxกับภาครัฐแทน
การสรางรายไดใหแกรัฐ (revenue)
การคัดเลือกแบบสุมและคัดเลือกเปรียบเทียบเปนวิธีที่สรางรายไดใหแกรัฐคอนขางนอย เนื่องจากหนวยงานกํากับดูแลมักจะเก็บคาธรรมเนียมในการใชคลื่นความถี่เพียงเพื่อใหครอบคลุมคา ใชจายในการบริหารคลื่นความถ่ี (administrative cost) ของหนวยงานกํากับดูแลเทานั้น ซึ่งไมจะ
3 การจัดสรรคลื่นความถี่ตองคํานึงถึงประสิทธิภาพ 2 ประเภท คือประสิทธิภาพในเชิงเทคนิค (technical efficiency) และประสิทธิภาพ เชิงเศรษฐกิจ (economic efficiency) โดยประสิทธิภาพในเชิงเทคนิค คือ การจัดการใหไมxxxxxxxรบกวนกันของคลื่นความถี่ทั้งภายใน ประเทศและระหวางประเทศ ซึ่งตองอาศัยการจดั ทําผังความถี่ การจัดทําxxxxxxxกฎการใชคลื่นความถี่ และการตรวจสอบเฝาฟงการใช
คลนื่ ความถี่ เปนตน สวนประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจ คือ ความxxxxxxในการนําคลื่นความถี่ไปใชใหเกิดประโยชนทางเศรษฐกิจสูงสุด
สะทอนตนทุนคาเสียโอกาส (opportunity cost) จากการนําคลื่นความถี่ไปใชในกิจกรรมอื่น ใน ขณะที่การประมูลจะxxxxxxแกไขปญหาดังกลาวได และชวยสรางรายไดใหแกรัฐ เพื่อนําไปใชในการ ใหบริการโทรคมนาคมอยางทั่วถึงหรือเพื่อกิจการสาธารณะประโยชนอื่นๆ
ประสบการณของหลายประเทศยืนยันวา การประมูลคลื่นความถี่จะxxxxxxสรางรายไดให แกรัฐเปนอยางมาก เชน การประมูลคลื่นความถี่ในสหรัฐอเมริกาโดย FCC ในระหวางป 1994-2001 รวม 32 ครั้ง xxxxxxสรางรายไดใหแกรัฐไดถึง 1.7 ลานลานบาท4 เชนเดียวกับการประมูลคลื่น ความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่รุxxxxสามในหลายประเทศในยุโรป ดังxxxxxกลาวมาแลว
ความรวดเร็วในการจัดสรร (speed)
ประสบการณในหลายประเทศยังชี้ดวยวา การจัดสรรคลื่นความถี่โดยการประมูลหรือการจัด สรรแบบสุมxxxxxxทําไดอยางรวดเร็ว ในขณะที่การคัดเลือกเปรียบเทียบมักจะใชเวลานาน เชน รายงานของ FCC ตอรัฐสภาสหรัฐสรุปวา การประมูลเพื่อจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับบริการ PCS ใชเวลาเพียง 4.1 เดือน ในขณะที่การคัดเลือกแบบสุมเพื่อจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับบริการ โทรศัพทเคลื่อนที่ใชเวลา 14.6 เดือน สวนการคัดเลือกเปรียบเทียบเพื่อจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับ บริการแพรภาพกระจายเสียงใชเวลาถึง 4 ป5
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบขxxxและขอเสียของการจัดสรรคลื่นความถี่ในแตละทางเลือก
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบทางเลือกในการจัดสรรคลื่นความถี่
การคัดเลือกแบบ มากอนไดกอน | การคัดเลือก เปรียบเทียบ | การคัดเลือก แบบสุม | การประมูล | |
ประสิทธิภาพ | ตํ่า | ตํ่า | ตํ่า | สูง |
ความเปนธรรม | เปนธรรม | ไมเปนธรรม | เปนธรรม | เปนธรรม |
รายได | นอย | นอย | นอย | มาก |
ความเร็ว | เร็ว | ชา | เร็ว | เร็ว |
2.3 ขอโตแยงเกี่ยวกับการจัดสรรคลื่นความถี่โดยวิธีการประมูล
จากที่กลาวมาในหัวขxxxxแลวจะเห็นวา การประมูลเปนวิธีการจัดสรรคลื่นความถี่ที่มี ประสิทธิภาพ รวดเร็ว เปนธรรม ตลอดจนสรางไดใหรัฐแกสูงสุด อยางไรก็ตาม ยังมีขอโตแยง หลายประการถึงผลเสียของการประมูลคลื่นความถี่ ดังที่จะอภิปรายตอไป
4 ดู Kwerel (2001)
5 Federal Communications Commission (1997)
ใบอนุญาตที่มีราคาสูงจะสงผลใหอัตราคาบริการที่ประชาชนตองเสียแพงขึ้น?
กอนการประมูลผูประกอบการที่ตxxxxxคลื่นความถี่จะตองประมาณการคาบริการและรายได ในxxxxx แลวคํานวณxxxxxxxxxในรูปมูลคาปจจุบัน (present value) เพื่อกําหนดความxxxxxxใน การจายคาใบอนุญาตใชคลื่นความถี่ รายจายเพื่อคลื่นความถี่จึงไมมีผลกระทบตอราคาที่จะจัดเก็บ จากผูบริโภค เนื่องจากอัตราคาบริการไมไดขึ้นxxxกับตนทุนในอดีต (historical cost) หรือที่เรียกวา “ตนทุนจม” (sunk cost) ซึ่งเปนตนทุนxxxxxxxxxxxเรียกคืนxxxxxxได ในทางเศรษฐศาสตร การตั้ง ราคาของผูประกอบการจะขึ้นกับตนทุนคาเสียโอกาส (opportunity cost) และรายไดหนวยสุดทายที่ จะไดรับในการประกอบการ ตนทุนคาเสียโอกาสดังกลาวไมขึ้นxxxกับกระบวนการจัดสรรคลื่นความถี่ กลาวอีกนัยหนึ่ง อัตราคาบริการในxxxxx x จุดดุลยภาพ (market-clearing price) จะกําหนดโดย กลไกตลาด หรือขึ้นกับอุปทานของผูผลิตและอุปสงคของผูบริโภค6
ประสบการณในตลาดโทรคมนาคมสหรัฐอเมริกายืนยันอยางชัดเจนวาอัตราคาบริการไมได ขึ้นกับวิธีในการจัดสรรคลื่นความถี่ โดย FCC พบวา อัตราคาบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ของผูประกอบ การxxxxxรับใบอนุญาตใชคลื่นความถี่ดวยวิธีการคัดเลือกเปรียบเทียบหรือคัดเลือกแบบสุมไมไดตํ่า กวาอัตราคาบริการของผูประกอบการxxxxxรับใบอนุญาตใชคลื่นความถี่จากตลาดรอง (secondary market) หรือจากวิธีการประมูลแตอยางใด7
มีแนวโนมจะทําใหผูประกอบการสมรูกันในxxxxxเพื่อกีดกันการแขงขัน?
มีความวิตกกังวลวา ภาระทางการเงินจากการประมูลคลื่นความถี่ อาจทําใหผูประกอบการ สมคบกัน (collusion) เพื่อเอาเปรียบผูบริโภคได อยางไรก็ตาม การสมคบกันของผูประกอบการ ไมไดเกิดขึ้นจากวิธีการจัดสรรแตอยางใด เพราะแมวาหนวยงานกํากับดูแลจะใชวิธีการจัดสรรแบบ อื่น ก็ไมxxxxxxจะรับประกันไดวา ภายหลังจากที่ผูประกอบการไดรับใบอนุญาตใชคลื่นความถี่ไป แลว จะไมxxxxxxxสมคบกันของผูประกอบการแตอยางใด ความxxxxxxในการสมคบกันของ ผูประกอบการ นาจะxxxที่ประสิทธิภาพในการบังคับใชกฎหมายการแขงขันทางการคามากกวาxxxที่ วิธีในการจัดสรรคลื่นความถี่
6 ตัวอยางxxxxxxยกขึ้นมาเพื่ออธิบายเพื่อใหเขาใจงายขึ้น คือ การกําหนดราคาคาเชาบานซึ่งไมไดขึ้นxxxกับเงินที่เจาของที่ดินจายลงไป เพอ่ ใหไดกรรมสิทธิ์ที่ดินนั้น ทั้งนี้คาเชาบานจะขึ้นxxxกับปริมาณบานเชาที่มีxxx (supply condition) และขึ้นกับราคาที่ผูบริโภคxxxxxxจะ จาย (demand condition) หมายความวา เจาของที่ดินที่จายเงินไปมากไมxxxxxxจะตั้งราคาที่สูงเกินราคาที่ผูบริโภคxxxxxxจะจายได เชนเดียวกันกับเจาของที่ดินที่จายเงินนอย
7 Xxxx Xxxxxx (2001) pp.4 อางแลว
การประมูลเปนเพียงวิธีที่จะทําใหรายไดสูงสุดใหแกรัฐบาล?
วัตถุประสงคสําคัญของการประมูลคลื่นความถี่ คือ การจัดสรรใหมีการใชคลื่นความถี่ที่มีxxx จํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยการสรางรายไดแกรัฐจากการประมูลเปนเพียงวัตถุประสงคประการ หนึ่งเทานั้น ในทางตรงกันขาม หากการสรางรายไดสูงสุดแกรัฐเปนจุดประสงคเดียวในการจัดสรร คลื่นความถี่แลว วิธีการxxxxxกวาก็คือ การใหxxxxxในการผูกขาด (monopoly rights) บริการแก ผูประกอบการแทนการประมูลใบอนุญาตหลายใบเพื่อใหเกิดบริการที่แขงขันกัน ดังที่หลายประเทศที่ ใชการประมูลคลื่นความถี่ไดดําเนินการไป
ผูประกอบการรายเลกไมxxxxxxเขามาแขงประมูลกับรายใหญได?
ดังxxxxxกลาวไปแลววา การประมูลเปนวิธีที่ทําใหไดผูประกอบการที่xxxxxxนําคลื่นความถี่ ไปใชใหเกิดประโยชนไดสูงสุด เนื่องจากผูประกอบการทุกรายตางตxxxxxลงทุนในธุรกิจที่ใหผลตอบ แทนสูงสุดแกตน ดังนั้น ราคาที่ผูประกอบการแขงขันกันในการประมูลจึงเปนราคาที่สะทอนผลตอบ แทนในxxxxxxxxแตละรายคาดไว หากผูประกอบการรายxxxxxxแผนทางธุรกิจxxxxx xxxxxxนําคลื่น ความถี่ไปใชโดยใหxxxxxxตอบแทนสูง ความxxxxxxในการจายเพื่อใหไดใบอนุญาตใชคลื่นความถี่ก็จะ สูงไปดวย ผูประกอบการรายเล็กจึงมีโอกาสในการแขงขันเชนเดียวกับผูประกอบการรายใหญ ราย งานของ FCC ชี้ใหเห็นวาการประมูลคลื่นความถี่xxxxxไดใชในกิจการแพรภาพกระจายเสียง (non- broadcast spectrum) 27 ครั้งมีผูประกอบการรายเล็กไดใบอนุญาตไปถึง 22 ครั้ง
อยางไรก็ตาม หากรัฐตxxxxxจัดสรรความถี่ใหสูธุรกิจรายเล็กโดยตรง หรือใหนําความถี่ไป ใชเชิงสังคม รัฐก็มีทางเลือกในการจัดสรรอื่นๆ อีก เชน ใหเฉพาะผูประกอบการรายเล็กเขาประมูล คลื่นความถี่ ใหแตมตอแกผูประกอบการรายเล็กในการประมูล หรืออนุญาตใหผูประกอบการรายเล็ก จายคาธรรมเนียมเปนงวดได เปนตน
ผูประกอบการรายใหมไมxxxxxxเขามาแขงประมูลได?
เปxxxxxxxxxxวา ผูประกอบการรายเดิม (incumbent operator) ในกิจการโทรคมนาคม มักจะ
มีโอกาสเสนอราคาประมูลxx
xงกวาผู
ระxxxxxxรายใหม เชน ผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่
2 มีโอกาสในการประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 มากกวาผูประกอบการรายใหม เนื่องจาก ผูประกอบการเหลานั้นไดลงทุนในโครงสรางพื้นฐานไวแลวในระดับหนึ่ง และมีความไดเปรียบทาง การตลาดเปนอยางมาก เปนตน
อยางไรก็ตาม มิไดหมายความวาวิธีการจัดสรรดวยการประมูลจะทําใหผูประกอบการราย ใหมไมxxxxxxเขามาแขงประมูลได เน่ืองจากหากออกแบบการประมูลใหxxxxxxxxxxทําให ผูประกอบการรายใหมเขามาแขงขันไดเชนเดียวกัน เชน การประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพท
เคลื่อนที่ยุคที่ 3 ของสหราชอาณาจักร ซึ่งมีการกําหนดใหจํานวนใบอนุญาตใชคลื่นความถี่มีมากกวา จํานวนผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 2 โดยสงวนใบอนุญาตหนึ่งใบสําหรับผูประกอบการราย ใหมเทาxxxxxxxมีxxxxxประมูลได ซึ่งทําใหไดผูประกอบการรายใหมเขาสูตลาดไดในที่สุด เปนตน
2.4 การเปลี่ยนโอนxxxxxxxxใชคลื่นความถี่ (spectrum trading)
ดังที่กลาวไปแลววา การประมูลเปนวิธีการในการจัดสรรคลื่นความถี่ที่มีประสิทธิภาพทาง เศรษฐกิจสูงสุด อยางไรก็ตาม ทั้งวิธีการประมูลและวิธีการจัดสรรคลื่นความถี่อื่นๆ ไมไดมีหลัก ประกันวา ผูประกอบการxxxxxxxxxxในการใชคลื่นความถี่จะxxxxxxใชคลื่นความถี่อยางมีประสิทธิภาพ หรือไม ทั้งนี้เนื่องจากผูไดxxxxxในการใชคลื่นความถี่อาจประสบปญหาทางธุรกิจเนื่องจากการคาด การณสภาวะตลาดผิดพลาด หรืออาจประสบปญหาเมื่อเทคโนโลยีหรือความตxxxxxของผูบริโภค เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งสงผลทําใหผูประกอบการเหลานั้นไมไดเปนผูที่xxxxxxใชคลื่นความถี่ไดอยาง มีประสิทธิภาพสูงสุดตอไป8 ตามหลักเศรษฐศาสตร การอนุญาตใหมีการเปลี่ยนมือกรรมสิทธิ์ใน การใชคลื่นความถ่ีไดจะชวยใหคลื่นความถี่เปลี่ยนมือไปสูผูท่ีxxxxxxใชประโยชนไดมากที่สุดใน ขณะนั้นได
อยางไรก็ตาม ควรอนุญาตใหxxxxxxเปลี่ยนมือกรรมxxxxxในการใชคลื่นความถี่ก็ตอเมื่อคลื่น
ความถี่ถูกจัดสรรในครั้งแรกอยางมีประสิทธิภาพเทาน เชน เปนการจัดสรรโดยการประมูลที่มีการ
แขงขันอยางเต็มที่ มิฉะนั้นผูxxxxxรับคลื่นความถี่จากวิธีการคัดเลือกxxxxxมีประสิทธิภาพเชน การคัด เลือกเปรียบเทียบหรือการจัดสรรแบบสุม จะxxxxxxแสวงหาผลประโยชนไดอยางมหาศาลจากการ นําคลื่นความถี่ไปจําหนายตอ โดยที่รัฐไมไดประโยชน9
3. ประสบการณของตางประเทศ
ในหัวขอนี้ คณะผูวิจัยจะกลาวถึงประสบการณการจัดสรรคลื่นความถี่ดวยวิธีการประมูลใน ตางประเทศ โดยจะยกตัวอยางการประมูลคลื่นความถี่ของxxxxxแลนด ออสเตรเลีย และxxxxx อเมริกาในชวงตนxxxxxxxxx 1990 และการประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ใน
ยุโรปในระหวางป 2000-2001 ตัวอยางเหลานี้จะแสดงใหเห็นถึงขxxxและขอดอยของการออกแบบ
8 xxx
กรณีการประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทยุคที่ 3 ในยุโรปซึ่งเกิดขึ้นในชวงที่ตลาดอินเทอรเน็ตและโทรคมนาคมของโลกกําลัง
เติบโตสูง ทําใหผูประกอบการประเมินผลประโยชนจากคลื่นความถี่สูงเกินไป ภายหลังเมื่อตลาดชะลอตัวลง ผูประกอบการหลายราย จึงประสบปญหาดานเงินทุน และถูกลดอันดับเครดิตทางการเงิน
9 ตัวอยางของการแสวงหาผลประโยชนจากการเปลี่ยนมือคลื่นความถี่เชน ในสหรัฐในชวงป 1982-1993 มีการจัดสรรคลื่นความถี่แบบ สุม ซึ่งทําใหเกิดนักเก็งกําไรกลุมหนึ่งไดรับการจัดสรรคลื่นความถี่โดยเสียคาธรรมเนียมในอัตราที่ตํ่า แลวนําxxxxxในการใชคลื่นความถี่ ไปจําหนายตอใหแกผูประกอบการอื่นจนไดกําไรมหาศาล (ดู ตารางที่ 2)
การประมูลคลื่นความถี่แบบตางๆ ซึ่งจะเปนบทเรียนในการออกแบบการประมูลคลื่นความถี่สําหรับ ประเทศไทยตอไป
3.1 การประมูลคลื่นความถี่ในชวงตนxxxxxx 199010
ในชวงตนxxxxxx 1990 มีการประมูลคลื่นความถี่ซึ่งเปxxxxกลาวถึงโดยทั่วไป 3 ครั้ง คือ
การประมูลคลื่นความถี่ของxxxxxแลนดในป 1990 และของออสเตรเลียในป 1993 ซึ่งเปนตัวอยางของ การออกแบบการประมูลที่ผิดพลาด และการประมูลคลื่นความถี่ในสหรัฐอเมริกาในป 1994 ซึ่งเปนตัว อยางของการออกแบบการประมูลที่ประสบความสําเร็จและทําใหการจัดสรรคลื่นความถี่ดวยวิธีการ ประมูลเปxxxxxxxหลายในปจจุบัน
การประมูลคลื่นความถี่ในxxxxxแลนดเมื่อป 1990
เมื่อป 1990 xxxxxแลนดไดจัดการประมูลคลื่นความถี่สําหรับบริการแพรภาพกระจายเสียง โทรศัพทเคลื่อนที่ และวิทยุติดตามตัว กฎที่ใชในการประมูลก็คือ ใหผูสมัครยื่นซองประมูลพรอมกัน โดยไมทราบราคาของผูประมูลรายอื่น ผูxxxxxxประมูลคือผูที่ยื่นราคาสูงสุด ซึ่งจะจายคาธรรมเนียม การใชคลื่นความถี่เทากับราคาที่สูงเปนอันดับสองในการประมูล หรือที่เรียกวาการประมูลแบบปด ซองซึ่งใชราคาที่สูงสุดเปนอันดับที่สอง (second-price sealed bid) อยางไรก็ตาม ไมไดมีการ กําหนดราคาขั้นตํ่า (reserved price) ไวในการประมูลดังกลาว
ผลการประมูลปรากฏราคาที่ผูxxxxxxประมูลเสนอสูงกวาราคาที่สูงอันดับสองอยางมาก ซึ่ง ทําใหเกิดปรากฏการณที่ผูxxxxxxประมูลซึ่งเสนอราคา 100,000 ดอลลารxxxxxแลนด จายคาxxxxxใน การใชคลื่นความถี่เพียง 6 ดอลลารxxxxxแลนด ซึ่งเปนราคาที่สูงที่สุดเปนอันดับที่สอง และผูxxxxxx ประมูลซึ่งเสนอราคา 7 ลานดอลลารxxxxxแลนด จายคาxxxxxในการใชคลื่นความถี่เพียง 5,000 ดอลลารxxxxxแลนด เปนตน ผลก็คือรัฐบาลxxxxxแลนดซ่ึงคาดไววาจะมีรายไดจากการประมูล ประมาณ 250 ลานxxxxxแลนดดอลลาร ไดรายไดเพียง 36 ลานxxxxxแลนดดอลลารเทานั้น
การประมูลคลื่นความถี่ในออสเตรเลียเมื่อป 1993
เมื่อป 1993 ออสเตรเลียไดจัดประมูลคลื่นความถี่สําหรับบริการโทรทัศนผานดาวเทียม (satellite television) กฎของการประมูลคือ ใหผูสมัครยื่นซองพรอมกัน โดยไมทราบราคาของ ผูประมูลรายอื่น ผูxxxxxxประมูลคือผูที่ยื่นราคาสูงสุด โดยจายคาธรรมเนียมการใชคลื่นความถี่เทา กับราคาที่ยื่น หรือที่เรียกวาการประมูลแบบปดซองซึ่งใชราคาที่สูงสุด (first-price sealed bid)
10 เนอ้ หาสวนใหญในหัวขอนี้มาจาก Mcmillan (1994)
อยางไรก็ตาม การประมูลดังกลาวไมไดกําหนดใหผูประมูลวางเงินมัดจํา (deposit) ในกรณีxxxxxxxxx ประมูลแลวถอนตัว
ผลการประมูลปรากฏวา ผูประกอบการรายใหมxxxxxxxxxxxxประมูลและไดใบอนุญาตไป
2 ใบในราคา 212 และ 177 ลานดอลลารออสเตรเลียตามลําดับ อยางไรก็ตาม ผูxxxxxxประมูล ดังกลาวกลับไมยอมจายคาธรรมเนียม ผูจัดการประมูลจึงใหผูเสนอราคาอันดับรองลงไปเปนผูชนะ แทน แตก็ปรากฏวาผูประมูลรายหลังก็ยังไมยอมจายคาxxxxxxxxxxxนเดียวกัน ผูจัดการประมูลจึง ใหผูประมูลอันดับรองลงไปอีกเปนผูxxxxxxประมูล แตปญหาก็ยังเกิดขึ้นเชนเดิม จนกระทั่งเวลา ผานไปถึง 10 เดือน จึงไดผูประกอบการที่ยอมจายคาธรรมเนียมใบอนุญาตใบแรกไปในราคา 117 ลานดอลลารออสเตรเลีย และใบอนุญาตใบที่สองในราคา 77 ลานดอลลารออสเตรเลีย ทั้งสองราย ตางนําใบอนุญาตไปขายตอและไดกําไรมหาศาล
จากบทเรียนดังกลาว นับตั้งแตป 1997 จนปจจุบัน ออสเตรเลียไดหันมาใชวิธีจัดสรรคลื่น ความถี่ดวยวิธีการประมูลแบบใบอนุญาตหลายxxxxอมกัน (simultaneous ascending auction) ตามแบบของสหรัฐ
การประมูลคลื่นความถี่ในสหรัฐอเมริกาเมื่อป 1994
ในระหวางป 1927 ถึงป 1982 FCC ไดจัดสรรคลื่นความถี่ทั้งหมดดวยการคัดเลือกเปรียบ เทียบ อยางไรก็ตามในป 1982 ความตxxxxxใชคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ไดxxxxxขึ้นจน ถึงระดับที่มีผูขอใบอนุญาตเกินกวาหนึ่งพันราย ซึ่งเกินกวาความxxxxxxของ FCC ที่จะคัดเลือก เปรียบเทียบได รัฐสภาxxxxxxxxออกกฎหมายให FCC xxxxxxจัดสรรคลื่นความถี่ดวยวิธีการสุม (lottery) ได
ในชวงที่ FCC จัดสรรคลื่นความถี่แบบสุมนั้น มีผูสมัครมากกวา 400,000 ราย อยางไรก็ตาม ผูสมัครสวนใหญไมไดxxxxxxxxxจะใชคลื่นความถี่ในการประกอบการแตอยางใด แตเปนการสมัครเขามา เพื่อxxxxเก็งกําไรดวยการนําคลื่นความถี่xxxxxไปขายตอ มีตัวอยางของผูxxxxxรับจัดสรรคลื่นความถี่ บางรายที่xxxxxxขายตอใบอนุญาตไดถึง 41 ลานดอลลารสหรัฐ11
จากปญหาดังกลาวในที่สุด FCC จึงไดเปลี่ยนวิธีการจัดสรรคลื่นความถี่สวนใหญมาสูวิธีการ ประมูลแทนตั้งแตป 1994 เปนตนมา12 โดยออกแบบวิธีการประมูลขึ้นมาใหมที่เรียกวา “การประมูล
11 McMillan (1995)
12 อันที่จรง
(1959)
แนวคิดเรื่องการประมูลคลื่นความถี่ไดถูกเสนอขึ้นมาจากนักเศรษฐศาสตรในสหรัฐมาแลวตั้งแตป 1959 แลว ดู Coase
แบบใบอนุญาตหลายxxxxอมกัน” (simultaneous ascending auction) รูปแบบการประมูลดังกลาว คลายกับการประมูลแบบอังกฤษ (English auction) แตมีการออกแบบใหxxxxxxเพื่อแกไขปญหา ตางๆ และใหการประมูลมีประสิทธิภาพดังตอไปนี้
• ประมูลใบอนุญาตพรอมๆ กันหลายใบ (simultaneous bid) ซึ่งทําใหผูประมูล xxxxxxเลือกพื้นที่ที่ตxxxxxประกอบการไดพรอมๆ กัน
• กําหนดใหมีการประมูลแบบหลายรอบ (ascending bid หรือ multiple round) เพื่อ ลดปญหาที่เรียก “ความพายแพของผูชนะ” (winner’s curse) เนื่องจากการประมูล หลายรอบจะชวยใหผูประมูลไดขอมูลการประเมินมูลคาของคลื่นความถี่ของผูประมูล รายอื่นมาเปรียบเทียบกับการประเมินของตน ทําใหไมประมูลสูงเกินไป
• กําหนดกฎการใชxxxxxในการประมูล (activity rules) เชน หากตxxxxxประมูลใบ อนุญาต 3 ใบ ผูประมูลจะตองยื่นประมูลใบอนุญาตอยางนอย 3 ใบในทุกรอบ หาก ประมูลใบอนุญาตลดลงเหลือ 2 ใบ ในรอบตอๆ ไปก็จะxxxxxxยื่นประมูลใบอนุญาต ไดเพียง 2 ใบเทานั้น โดย FCC อนุญาตใหละเมิดกฎนี้ไดไมเกิน 5 ครั้ง ทั้งนี้เพื่อ ปองกันผูประมูลxxxxxตxxxxxคลื่นความถี่ไปใชในการประกอบการอยางแทจริงเขา รวมการประมูล
• กําหนดใหผูประมูลวางเงินมัดจํา โดยหากผูประมูลชนะถอนตัว ก็จะถูกริบเงินมัดจํา นั้น
• กําหนดราคาที่ยื่นประมูลขั้นตํ่าxxxxxขึ้นทุกครั้งเพื่อใหการประมูลสิ้นเสร็จสิ้นลงโดย เร็ว
• กําหนดใหคาธรรมเนียมการใชคลื่นความถี่xxxในรูปของเงินกอน (lump sum) ไมใช xxxในรูปของรอยละของรายได (royalty) ซึ่งทําใหxxxxxxบริหารการจัดเก็บคา xxxxxxxxxxxงายกวา
การประมูลคลื่นความถี่ในสหรัฐอเมริกาครั้งแรกคือ การประมูลใบอนุญาตใชคลื่นความถี่ 900 MHz สําหรับบริการ PCS (personal communications services) จํานวน 11 ใบ เมื่อเดือน กรกฎาคม 1994 การประมูลครั้งนั้นมีจํานวนรอบของการxxxxxxxxxกวา 40 รอบ ใชเวลา ประมูล 1 สัปดาห และทํารายไดใหแกรัฐบาลสหรัฐประมาณ 600 ลานดอลลาร ซึ่งมากกวาที่คาด การณไวถึง 10 เทา เมื่อดูในภาพรวมแลว ในชวงป 1994-1995 FCC ไดจัดประมูลใบอนุญาต ใชคลื่นความถี่ทั้งสิ้นประมาณ 2,500 ใบ ไดรายไดประมาณ 2.3 หมื่นลานดอลลาร ซึ่งสูงกวา 1 หมื่น ลานดอลลารที่คาดการณไว
ความสําเร็จดังกลาวทําใหหลายประเทศนําเอาวิธีการจัดสรรคลื่นความถี่โดยการประมูลไปใช โดยยึดวิธีการของ FCC เปนตนแบบ
3.2 การประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ป2000-2001
คลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ตามมาตรฐาน IMT-2000 ของสหภาพโทร คมนาคมระหวางประเทศ (ITU) เปนคลื่นความถี่ที่xxxในยาน 1900-2025 MHz13 ตามมาตรฐานดัง กลาว การใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ตองใชคลื่นความถี่อยางนอยที่สุด 2🗙5 MHz ในสหภา พยุโรป พบวาจํานวนใบอนุญาตคลื่นความถี่ที่xxxxxxจัดสรรใหแกผูประกอบการมีxxxประมาณ 4-6 ใบในแตละประเทศ
ตนแบบของการประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ในยุโรปมี 2 รูปแบบ
หลักคือแบบสหราชอาณาจ รและแบบเยอรมนั สหราชอาณาจักรใชวิธีการประมูลใบอนุญาต
พรอมๆ กันหลายใบตามแบบของ FCC ในสหรัฐ ในขณะที่เยอรมันไดประยุกตวิธีการประมูล ดังกลาวใหเปนวิธีการประมูลxxxxxกําหนดจํานวนผูประกอบการไวลวงหนา วิธีการประมูลแตละแบบ ใหผลสําเร็จและลมเหลวแตกตางกันเมื่อนําไปใชในประเทศตางๆ ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไป
การประมูลแบบสหราชอาณาจักร
สหราชอาณาจักรเปนประเทศแรกในโลกที่จัดประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุค ที่ 3 โดยกําหนดใหมีการประมูลใบอนุญาต 5 ใบ ในจํานวนนี้ 1 ใบ ซึ่งเปนใบอนุญาตที่ใหผูประกอบ การรายใหมเทาxxxxxxxxxxxxxเขาประมูลได ใบอนุญาตแตละใบมีขนาดชวงกวางของคลื่นความถี่ไม เทากัน
ในการประมูลมีผูที่ผานการตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องตน (pre-qualification) 13 ราย ผู ประกอบการเหลานี้ใชเวลาประมาณ 2 เดือนแขงขันกันในการประมูล 150 รอบ ผูxxxxxxประมูล
เปนผูประกอบการที่ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 2 xxxในขณะนั้น 4 ราย และมีผูประกอบการราย ใหม 1 ราย มูลคาการประมูลทั้งหมดสูงถึง 1.49 ลานลานบาท ซึ่งถือวาสูงที่สุดเทาxxxxxxมีมา ความสําเร็จของสหราชอาxxxxทําใหหลายประเทศในยุโรปลอกเลียนวิธีการนี้ไปใช (ดูรายละเอียด เพิ่มเติมในภาคxxxxxxx1)
เนเธอรแลนดไดจัดการประมูลโดยใชวิธีการของสหราชอาณาจักรโดยใหมีใบอนุญาต 5 ใบ อยางไรก็ตามเนื่องจากตลาดโทรศัพทเคลื่อนที่ของประเทศเนเธอรแลนดมีผูประกอบการโทรศัพท
13 โทรศพ
ทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 จะทําใหการติดตอสื่อสารผานโทรศัพทเคลื่อนที่รวดเร็วxxxxxxxขึ้น เนื่องจากอัตราการสงผานขอมูล รวดเร็ว
กวาโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 2 ถึง 200 เทา โทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 จึงxxxxxxใหบริการใหมๆ ไดเชน การทําธุรกรรม xxxxxทรอนิกส การถายโอนขอมูล การประชุมทางไกล การสงผานภาพหรือสัญญาณวิดีโอผานโทรศัพทเคลื่อนที่ ผูประกอบการโทร คมนาคมจึงใหความสนใจในการประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 เปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะในชวงกอนป 2001
เคลื่อนที่ยุคที่ 2 xxx 5 ราย เทากับจํานวนใบอนุญาตxxxx xxxทําใหคาดกันวามีผูเขามาแขงขันในการ ประมูลนอย แมวามีผูประกอบการที่ผานการตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องตน 9 ราย แตเมื่อถึงวัน ประมูลจริงกลับเหลือผูสมคั รเพียง 6 รายเทาxxxxxxxเขาประมูล ในที่สุดผูประกอบการรายใหมที่มี เพียงหนึ่งรายก็หยุดประมูล14 ดังนั้นผูประกอบการรายเดิมทั้ง 5 รายจึงไดใบอนุญาตใชคลื่นความถี่ ไป ดวยมูลคา 1.2 แสนลานบาท จากที่คาดการณไววาควรจะไดประมาณ 4 แสนลานบาท
จากประสบการณของเนเธอรแลนด รัฐบาลอิตาลีไดxxxxxกฎในการประมูลโดยใหลดจํานวนใบ อนุญาตลงในกรณีที่มีผูประกอบการที่ผานการคัดเลือกเบื้องตนนอยกวาจํานวนใบอนุญาต ในที่สุด รัฐบาลอิตาลีกําหนดใหมีใบอนุญาต 5 ใบ หลังจากพบวามีผูประกอบการที่ผานการคัดเลือกเบื้องตน 8 ราย อยางไรก็ตาม เมื่อถึงวันประมูลจริงเหลือผูประมูลเพียง 6 ราย และผูประกอบการรายหนึ่ง ไดถอนตัวจากการประมูลเมื่อประมูลไปไดเพียง 2 วัน การแขงขันที่จํากัดทําใหราคาของการ ประมูลxxxเหนือระดบั ราคาสํารองขั้นตํ่า (reserve price) เพียงเล็กนอยเทานั้น โดยมีผูประกอบการ รายเดิม 4 รายและรายใหม 1 ราย ไดใบอนุญาตไปดวยมูลคารวม 5.6 แสนลานบาทจากที่คาดการณ
วาควรจะไดประมาณ 1 ลานลานบาท
การประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ในสวิตเซอรแลนดถือเปนการประมูลที่ ลมเหลวที่สุด xxxxxxxการประมูลใชวิธีการของสหราชอาณาจักรเชนเดียวกัน ขอผิดพลาดก็คือ สวิต เซอรแลนดกําหนดใหมีใบอนุญาต 4 ใบ จากผูประกอบการที่ผานการคัดเลือกเบื้องตน 10 ราย อยางไรก็ตาม เมื่อถึงวันประมูลจริงเหลือผูประมูลเพียง 4 รายเทากับจํานวนใบอนุญาต ซึ่งเปนผลมา จากการที่รัฐบาลยินยอมใหผูประกอบการรวมกันประมูล (joint-bidding) ได ภายหลัง รัฐบาล xxxxxxเปลี่ยนกฎเกณฑการประมูล แตก็ไมสําเร็จ ผูประกอบการทั้ง 4 รายจึงxxxxxxประมูลโดย จายคาxxxxxxxxxxxxราคาสํารองขั้นตํ่า xxxxxxxxxคาเพียง 1 ใน 14 จากที่รัฐบาลคาดการณไว การ ประมูลดังกลาวถือเปนการประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 xxxxxxxxxคาการประมูล ตอหัวประชากรต่ําที่สุดในยุโรป คือประมาณ 3,000 บาทตอคนเทานั้น ในขณะที่มูลคาของสหราช อาณาจักรคือ 126,000 บาทตอคน เนเธอรแลนด 34,000 บาทตอคน และอิตาลี 42,000 บาทตxxx
xxxประมูลแบบเยอรมัน
เมื่อเดือนกรกฎาคมป 2000 รัฐบาลเยอรมันไดจัดประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อน ที่ยุคที่ 3 โดยปรับปรุงวิธีการประมูลของสหราชอาณาจักรไมกําหนดจํานวนใบอนุญาตลวงหนา แต ใหกลไกตลาดเปนผูก ําหนดจํานวนผูประกอบการเอง รัฐบาลเยอรมันแบงคลื่นความถี่ออกเปน 12 ชวง ผูประมูลจะตองประมูลคลื่นความถี่ 2 หรือ 3 ชวงเพื่อใชในใบอนุญาตหนึ่งๆ จํานวนใบอนุญาต
14 ผูประกอบการรายใหมคือ Versatel ตองถอนตัวจากการประมูลหลังจากไดรับคําขูจากผูประกอบการรายเดิมรายหนึ่ง (Telfort) แม วา Versaltel ไดรองเรียนตอรัฐบาลแลว รัฐบาลก็ไมมีมาตรการใดๆ ในการแกไขปญหา ดู Klemperer (2002) pp 833
ที่เปนไปไดจึงxxxระหวาง 4-6 ใบ การประมูลใชวิธีประมูลคลื่นความถ่ีหลายชวงพรอมกัน (simultaneous ascending auction) ในการประมูล มีผูประกอบการเขารวม 7 ราย โดยในจํานวน นี้เปนผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 2 xxxแลว 4 ราย ผลปรากฏวามีผูxxxxxxประมูล 6 ราย แตละรายไดคลื่นความถี่ไปรายละ 2 ชวง หรือประมาณ 10 MHz รายไดรวมจากการประมูลสูงสุด เปนประวัติการณถึง 1.92 ลานลานบาท15
หลังจากนั้น ในเดือนพฤศจิกายนป 2000 ออสเตรียไดใชวิธีการประมูลคลื่นความถี่ตามแบบ เยอรมัน โดยมีผูเขารวมประมูลเพียง 6 ราย เปนผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 2 xxxแลว 3 ราย อยางไรก็ตาม ในชวงนี้ผูประกอบการโทรคมนาคมสวนใหญเชื่อวา มูลคาของการประมูลคลื่น ความถี่ที่ผานมาท้ังในสหราชอาณาจักรและเยอรมันxxxในระดับที่สูงเกินไป จึงไมเสนอราคาในการ
ประมูลสูงมากน ผลการประมูลในออสเตรียเสร็จสิ้นลงอยางรวดเร็ว โดยผูเขาประมูลทั้ง 6 ราย ได
คลื่นความถี่ไปทุกราย รายละ 2 ชวงความถี่ และราคาการประมูลxxxใกลเคียงกับราคาสํารองขั้นตํ่าที่ ตั้งไว
การประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ในเอเชีย
ในป 2001 สิงคโปรไดจัดใหมีการประมูลใบอนุญาตใชคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ ยุคที่ 3 จํานวน 4 ใบ โดยผูไดรับใบอนุญาตแตละรายจะไดใชคลื่นความถี่ 2🗙15 MHz บวกกับ 5 MHz (unpaired spectrum) หนวยงานกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมของสิงคโปร (IDA) กําหนด ใหใชวิธีการประมูลใบอนุญาตพรอมๆ กันหลายใบ โดยตั้งราคาสํารองขั้นตํ่าของใบอนุญาตแตละใบ ไวท่ี 100 ลานดอลลารสิงคโปร ในชวงแรกมีผูประกอบการโทรคมนาคมประกาศเขารวมประมูล 4 รายเทากับจํานวนใบอนุญาต อยางไรก็ตามในวันประมูล มีผูประกอบการเขารวมจริงเพียง 3 ราย เทานั้น IDA จึงยกเลิกการประมูล และใหใบอนุญาตใชคลื่นความถี่แกผูประกอบการทั้ง 3 รายใน ราคาสํารองขั้นตํ่า มูลคารวม 300 ลานดอลลารสิงคโปร
ฮองxxxxกําหนดจํานวนใบอนุญาตใชคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ไว 4 ใบ เทากับสิงคโปร วิธีการที่ใชคือการคัดเลือกแบบผสม (hybrid) ดวยการแบงการคัดเลือกออกเปน 3 ชวง ชวงแรกเปนการประมูลเพื่อใหเหลือผูชนะ 4 ราย โดยใหผูประกอบการเสนอราคาประมูลเปน รอยละของรายไดจากการประกอบการ ทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยงของผูประกอบการ เมื่อเหลือผูประกอบ การ 4 รายจึงเขาสูชวงที่สองและชวงที่สามซึ่งเปนการตรวจสอบความเกี่ยวของระหวางผูประมูล และ แขงขันกันเพื่อคัดเลือกใบอนุญาตที่มีxxx
15 อยางไรก็ตาม หากคิดรายไดตอประชากร แลว รายไดจากการประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ของ สหราชอาณาจักรจะสูงกวาของเยอรมันเล็กนอย
ประสบการณการประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ในประเทศตางๆ ชี้ให เห็นวา แมวาในทางทฤษฎี การประมูลจะเปนการจัดสรรคลื่นความถี่ที่มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว เปน ธรรมและสรางรายไดใหแกรัฐสูงที่สุดก็ตาม การออกแบบการประมูลในรายละเอียดเปนสิ่งที่มีผลอ ยางยิ่งตอการxxxxxวัตถุประสงคดังกลาว บทเรียนที่สําคัญที่สุดก็คือ จะตองสงเสริมใหมีการแขงขัน กันอยางเต็มที่ในการประมูลเชน ตองไมกําหนดใหมีจํานวนใบอนุญาตเกินกวาจํานวนผูประกอบการ
ที่ผานการคัดเลือกเบื้องตน ตองมีมาตรการปองกันการถอนต ของผูประกอบการโดยไมมีเหตุผล
xxxxx และตองปองกันผูประกอบการรายใหญไมใหมีพฤติกรรมกีดกันผูประกอบการรายอื่นๆ ใน การประมูล
ตารางที่ 2 สรุปประสบการณการจัดสรรคลื่นความถี่ของประเทศตางๆ ดวยการประมูลและ ดวยการใชกลไกทางxxxxxx ตารางที่ 3 สรุปผลการจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ รุxxxx 3
4. การจัดสรรคลื่นความถี่ของประเทศไทย
ในหัวขอนี้ คณะผูวิจัยจะกลาวxxxxxxปญหาในการจัดสรรคลื่นความถี่ของประเทศไทยที่ผาน มา และหลักเกณฑในการจัดสรรคลื่นความถี่ในxxxxxxxxจะเกิดขึ้นภายใต พ.ร.บ. องคกรจัดสรรคลื่น ความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 และ พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544
4.1 การจัดสรรคลื่นความถี่ตาม พ.ร.บ.วิทยุคมนาคม
ในอดีตที่ผานมา หนวยงานที่ทําหนาที่บริหารคลื่นความถี่ของประเทศไทย คือกรมไปรษณีย โทรเลข สวนผูมีอํานาจในการจัดสรรคลื่นความถี่คือคณะกรรมการxxxxxxxxxxxxจัดและบริหาร ความถี่วิทยุแหงชาติ (กบถ.) ซึ่งมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมเปนประธาน กบถ. เปนผู กําหนดหลักเกณฑการจัดสรรคลื่นความถี่ใหแกผูขอใชคลื่นความถี่ ซึ่งประกอบดวยหนวยราชการ หรือรัฐวิสาหกิจที่มีความจําเปนตองใชคล่ืนความถี่ รัฐวิสาหกิจซึ่งมีหนาที่ใหบริการโทรคมนาคม สาธารณะ และหนวยงานเอกชนที่ตxxxxxใชคลื่นความถี่ในการใหบริการโทรคมนาคมในเชิง พาณิชย หรือเพื่อสาธารณประโยชน
การจัดสรรคลื่นความถี่ xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxย และ xxxxx รัตนนฤมิตศร
ตารางที่ 2 สรุปประสบการณการจัดสรรคลื่นความถี่ของตางประเทศ
ประเทศ | คลื่นความถี่ | วิธีการจัดสรร | ประสบการณ |
สหรัฐอเมริกา (1927-82) | บริการหลาย ประเภท | การคัดเลือกเปรียบเทียบ | กระบวนการคัดเลือกเปรียบเทียบของสหรัฐอเมริกามักจะใชเวลานานมากกวา 1 ป xxxxxxxxxxxxลาชาทําใหเกิดตนทุนแกทุกฝาย ในป 1982 ความตxxxxxใบอนุญาตใชคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่มีมากนับพันราย จนเกินความxxxxxxของ FCC ที่จะ xxxxxxคัดเลือกเปรียบเทียบได FCC จึงเปลี่ยนไปใชวิธีการจัดสรรแบบสุมเพื่อใหกระบวนการจัดสรรรวดเร็ว |
ญี่ปุน (1988) | โทรศัพทเคลื่อนที่ | การคัดเลือกเปรียบเทียบ | กฎหมายกําหนดใหคัดเลือกและมอบใบอนุญาตใชคลื่นความถี่แกผูประกอบการที่นําคลื่นไปใชเพื่อใหเกิดประโยชนสาธารณะสูงสุด แตในทางปฏิบัติมักพบวารฐั บาลจะใหผูประกอบการตอรองกันเองวา ผูประกอบการรายใดควรจะไดใบอนุญาต ในป 1988 เมื่อมี ผูประกอบการสองรายตxxxxxเขาสูตลาดแขงขันกับผูประกอบการรายเดิม (NTT) กระทรวงไปรษณียและโทรคมนาคมไดใหสอง บริษัทรวมกันขอใบอนุญาต 1 ใบ อยางไรก็ตาม บริษัททั้งสองไมxxxxxxตกลงกันได กระทรวงไปรษณียและโทรคมนาคมจึงให ใบอนุญาตแกบริษัททั้งสองในเขตพื้นที่ตางกัน |
เกาหลีใต (1992) | โทรศัพทเคลื่อนที่ | การคัดเลือกเปรียบเทียบ | ผูชนะคือกลุม Sunkyong ซึ่งประธานกลุมมีสายสัมพันธกับประธานาธิบดี Roe Tae-Woo หลังการคัดเลือกเสร็จสิ้นก็มีขอกลาวหา จากผูประกอบการรายอื่นวา รัฐบาลใชระบบxxxxxxxในการจัดสรรคลื่นความถี่ ในที่สุด ใบอนุญาตดังกลาวก็ถูกยกเลิกไป |
ฝรั่งเศส (1994) | โทรศัพทเคลื่อนที่ | การคัดเลือกเปรียบเทียบ | รัฐบาลประกาศวาจะคัดเลือกผูประกอบการที่มีแผนงานดีที่สุดตามเกณฑที่ตั้งไว อยางไรก็ตาม ในทางปฏิบัติ อํานาจการตัดสิน ใจขึ้นxxxกับนายกรัฐมนตรี Edxxxxx Xxxxxxxx xึ่งพิจารณาคัดเลือกระหวาง 3 บริษัท ในจํานวนนี้ บริษัทหนึ่งมีประธานบริษัทซึ่ง เคยเปนเจาหนาที่ระดับสูงในพรรครัฐบาล อีกบริษัทกําลังประสบปญหาทางการเงิน ในที่สุด ใบอนุญาตตกxxxกับบริษัทสุดทาย |
สหรัฐอเมริกา (1982-1993) | โทรศัพทเคลื่อนที่ | แบบสุม | เมื่อใชวิธีการจัดสรรแบบสุม ปญหาที่พบคือผูสมัครสวนใหญไมไดตั้งใจจะใชใบอนุญาตเพื่อประกอบธุรกิจ แตxxxxเก็งกําไร ในการจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ครั้งหนึ่ง มีผูสมัครกวา 400,000 ราย ผลปรากฏวาผูไดรับใบอนุญาตขายตอ ใบอนุญาตใหกับผูประกอบการรายxxxxxxxxxxในตลาดxxxแลว บางรายไดกําไรถึง 41 ลานดอลลารxxxxx |
xxxซีแลนด (1990) | การแพรภาพ กระจายเสียง โทรศัพทเคลื่อนที่ วิทยุติดตามตัว | การประมูลแบบ second-price sealed bid | เนื่องจากผูจัดประมูลไมไดต้งราคาสํารองขั้นตํ่าไว ทําใหเกิดกรณีที่ราคาประมูลสุดสุด ตางกับราคาที่จายจริง (ราคาสูงสุดอันดับ สอง) มาก เชน ราคาประมูลสูงสุด 1 ลานxxxxxแลนดดอลลาร แตจายเพียง 5,000 xxxxxแลนดดอลลาร |
ออสเตรเลีย (1993) | โทรทศั นผาน ดาวเทียม | การประมูลแบบ first-price sealed bid | ไมไดกําหนดใหมีการวางมัดจําเงินและการปรับเมื่อผูxxxxxxประมูลถอนตัว เกิดกรณีที่ผูประกอบการรายใหมที่เปนมาxxxxxx xxxประมูล แตไมจายเงินคาใบอนุญาต แลวนําใบอนุญาตไปขายตอไดกําไรxxxxxx |
xxxมา : รวบรวมจาก McMillan (1995), Haxxxxx (2001) และ ITU (2002)
20
ตารางที่ 3 การจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3
ประเทศ | จํานวน ใบอนุญาต | จํานวน ผูประกอบการ รายเดิม | วิธีการจัดสรร | เวลาจัดสรร | มูลคาคลื่นความถี่ (ลาน US$) |
ออสเตรเลีย | 6 | 3 | ประมูล | มี.ค.2001 | 610 |
ออสเตรีย | 6 | 4 | ประมูล | พ.ย.2000 | 618 |
เบลเยี่ยม | 4 | 3 | ประมูล | มี.ค.2001 | 421 |
สาธารณรัฐเชค | 2 | 2 | ประมูล | ธ.ค.2001 | 200 |
เดนมารก | 4 | 3 | ประมูล | ก.ย.2001 | 472 |
ฟนแลนด | 2 | 3 | คัดเลือกเปรียบเทียบ | มี.ค.1999 | นอยมาก (Nominal) |
ฝรั่งเศส | 4 | 3 | คัดเลือกเปรียบเทียบ+ คาธรรมเนียม | ก.ค.2001 | 553 |
เยอรมัน | 6 | 4 | ประมูล | ส.ค.2000 | 46,140 |
กรีก | 3 | 3 | ผสม (Hybrid) | ก.ค.2001 | 414 |
ฮองกง | 4 | 6 | ผสม | ก.ย.2001 | 170 บวกคาธรรม เนียมรายป |
อิสราเอล | 3 | 3 | คัดเลือกเปรียบเทียบ+ คาธรรมเนียม | ธ.ค.2001 | 157 |
อิตาลี | 5 | 4 | ผสม | ต.ค.2000 | 10,180 |
ญี่ปุน | 3 | 3 | คัดเลือกเปรียบเทียบ | มิ.ย.2000 | ฟรี |
เกาหลีใต | 3 | 2 | คัดเลือกเปรียบเทียบ+ คาธรรมเนียม | ส.ค.2001 | 2,886 |
มาเลเซีย | 3 | 3 | คัดเลือกเปรียบเทียบ | ธ.ค.2001 | นอ ยมาก |
เนเธอรแลนด | 5 | 5 | ประมูล | ก.ค.2000 | 2,500 |
xxxxxแลนด | 4 | 2 | ประมูล | ม.ค.2001 | 60 |
นอรเวย | 4 | 2 | คัดเลือกเปรียบเทียบ+ คาธรรมเนียม | พ.ย.2000 | 88 |
สิงคโปร | 3 (+1?) | 3 | ยกเลิกการประมูล | เม.ย.2001 | 166 |
สโลวาเนีย | 1 | 2 | ยกเลิกการประมูล | ธ.ค.2001 | 82 |
สเปน | 4 | 3 | คัดเลือกเปรียบเทียบ+ คาxxxxxxxxx | xx.ค.2000 | 480 |
สวีเดน | 4 | 3 | คัดเลือกเปรียบเทียบ | ธ.ค.2000 | 44 |
สวิสเซอรแลนด | 4 | 2 | ประมูล | ธ.ค.2000 | 120 |
ไตหวัน | 5 | 4 | ประมูล | ก.พ.2002 | 1,400 |
สหราชอาณา xxxx | 5 | 4 | ประมูล | เม.ย.2000 | 35,400 |
รวม | 99+ | 79 | 105,330+ |
หมายเหตุ : การคัดเลือกแบบผสม (hybrid) คือการคัดเลือกที่มีลักษณะผสมระหวางการคัดเลือกเปรียบเทียบกับ การประมูล
ที่มา : ITU “Licensing of 3G Mobile”, European Commission and 0XXxxxxxxx.xxx (xxx.0xxxxxxxxx.xxx/xxxxx.xxx)
พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 กําหนดหลักเกณฑในการพิจารณาจัดสรรคลื่นความถี่ไว กวางๆ ดังนี้
• การนําคลื่นความถี่ไปใชจะตองกอใหเกิดประโยชนสูงสุดของประเทศตามลําดับ ความสําคัญคือ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน การรักษาความมั่นคงและการปองกัน ประเทศ การปองกันชีวิตและทรัพยสิน การศึกษา การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ การวิจัยและพัฒนา เปนตน
• การใชคลื่นความถี่ใหเปนไปอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีหลัก เกณฑคือ ประการที่หนึ่ง ผูขอใชคลื่นความถี่จะตองxxxxxxใชบริการโทรคมนาคม สาธารณะกอน เมื่อมีหลักฐานแสดงวาไมxxxxxxใชบริการโทรคมนาคมสาธารณะได จึงจะไดรับการพิจารณาจัดสรรคลื่นความถี่ใหตามความจําเปน ประการที่สอง ผู ขอใชคลื่นความถี่จะตองแสดงเหตุผลxxxxxxxxxวาจะใชคลื่นความถี่ใหเ กิดประโยชน อยางแทจริงและไมมีทางเลือกใชสื่อโทรคมนาคมประเภทอื่น เปนตน
• การจัดสรรคลื่นความถี่จะตองสอดคลองกับตารางกําหนดคลื่นความถี่ (frequency allocation) เงื่อนไขและกระบวนการตางๆ ที่กําหนดไวในขอบังคับวิทยุ (radio regulation) ของ ITU
• กําหนดระยะเวลาใหใชคลื่นความถี่สําหรับกิจการวิทยุคมนาคมตางๆ ครั้งละไมเกิน
5 ป นับแตxxxxxxไดรับการจัดสรรคลื่นความถี่ เวนแต กบถ.จะกําหนดเปนอยางอื่น
จะเห็นวา การจัดสรรคลื่นความถี่ที่ผานมาของประเทศไทยอาศัยกลไกทางxxxxxxซึ่งยึด ตามหลักเกณฑดังกลาวขางตน ผูตxxxxxใชคลื่นความถี่ที่เขาหลักเกณฑดังกลาวจะถูกคัดเลือกตาม ลําดับที่ยื่นขอ (first-come, first serve)
ในกรณีของผูประกอบการโทรคมนาคมเชิงพาณิชยซึ่งเปนผูรวมการงานกับหนวยงานรัฐเชน องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย การสื่อสารแหงประเทศไทย กรมไปรษณียโทรเลข หรือกระทรวง คมนาคม การจัดสรรคลื่นความถี่จะขึ้นxxxกับขอกําหนดในสัญญารวมการงาน โดยสัญญารวมการ งานสวนใหญมักจะกําหนดใหหนวยงานรัฐเปนผูอํานวยความสะดวกในการขอรับการจัดสรรคลื่น ความถี่ใหแกบริษัทเอกชนคูสัญญา โดยไมไดกลาวถึงปริมาณคลื่นความถี่ที่จะไดรับ ดังนั้นหาก ในการทําสัญญารวมการงาน ไมมีการคัดเลือกผูประกอบการเอกชนภายใตกลไกการแขงขันที่ เปนธรรมและมีประสิทธิภาพแลว การจัดสรรคลื่นความถี่ก็จะเปนไปอยางไมเปนธรรมและไมมี ประสิทธิภาพไปดวย หลักเกณฑวาดวยการสงเสริมการใชคลื่นความถี่ใหเปนไปอยางประหยัด และมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดของประเทศที่กลาวมาขางตน จึงเปนหลักเกณฑ xxxxxไดมีการปฏิบัติอยางแทจริง
ตัวอยางซึ่งแสดงถึงความไมเปนธรรมและความไรประสิทธิภาพในการจัดสรรคลื่นความถี่ที่ ผานมาคือ การที่ผูประกอบการบางรายเชนบริษัท TAC ไดรับการจัดสรรคลื่นความถี่เกินกวาความ จําเปนจนxxxxxxนําคลื่นความถี่สวนเกินไปขายตอใหผูประกอบการรายอื่นได (ดูกรอบที่ 2) ใน ทางตรงกันขาม ในบางกรณี กลับมีการจัดสรรคลื่นความถี่นอยเกินไป ซึ่งทําใหผูประกอบการมีตน ทุนสูงเกินกวาจะประกอบการได เชนการจัดสรรคลื่นความถี่ใหแกบริการ PDC 1500 ซึ่งมีผลทําให ผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหมไมxxxxxxเขาสูตลาดเพื่อแขงขันกับผูประกอบการรายเดิม ได (ดูกรอบที่ 3)
จะเห็นไดวา หากมีการจัดสรรคลื่นความถี่อยางโปรงใสและมีกฎเกณฑที่เหมาะสม จะเปน การยากที่จะมีผูประกอบการรายใดไดรับคลื่นความถี่ไปเกินกวาความจําเปนในการใชงานจริง หรือ มี ผูประกอบการรายใดที่จะไดรับการจัดสรรคลื่นความถี่นอยเกินไปจนไมxxxxxxเขาสูตลาดได
กรอบที่ 2 กรณีศึกษาการจัดสรรคลื่นความถี่ใหแกบริษTทAC
บริษัท TAC ทําสัญญารวมการงานในการใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่กับการสื่อสารแหงประเทศไทย (กสท.) ในป 2533 สัญญาดังกลาวระบุวากสท.อํานวยความสะดวกใหแกบริษัทในการติดตอขอใชคลื่นความถี่ เพอ่ นาํ มาใหบริการจากกรมไปรษณียโทรเลขตามความตxxxxxของบริษัทเทาที่ กสท. จะxxxxxxดําเนินการให ได16
ผลการจัดสรรคลื่นความถี่xxxxxxxxรวมการงานดังกลาวปรากฏวาบริษัท TAC ไดคลื่นความถี่ยาน 1800 MHz เพอื่ ใหบริการโทรศัพทเคลื่อนที่ถึง 2🗙75 MHz ซึ่งมากเกินกวาความจําเปนหลายเทา17 แมสัญญา ระบุวาบริษัทจะโอนxxxxxหนาxxxxxxxxxxxนี้ใหแกบุคคลอื่นใดไมไดเวนแตไดรับความยินยอมเปนหนังสือจาก กสท. กอนก็ตาม ในป 2539 TAC ไดนําคลื่นความถี่ที่เหลือสวนหนึ่งมาขายตอใหแกผูใหบริการโทรศัพท เคลื่อนที่ในขณะนั้น 2 รายคือ บริษัทไวรxxx คอมมูนิเคชั่นส เซอรวิส จํากัด (WCS) ซึ่งภายหลังกลายเปนบริษัท TA Orange และบริษัทดิจิตัล โฟน คอรปอเรชั่น (DPC) ซึ่งภายหลังกลายเปนบริษัทในเครือของบริษัท AIS โดยบริษัททั้งสองไดรับคลื่นความถี่รายละ 2🗙12.6 MHz การทําธุรกรรมดังกลาวทําใหบริษัท TAC ไดxxx xxประโยชนตอบแทนถึง 4,280 ลานบาท โดยรฐั ไมไดxxxxxตอบแทนเพิ่มเติมเลย
ที่มา: เรียบเรียงจาก xxxxxx (2544)
16 ขxxxx 14.4 ของสัญญารวมการงานระหวางบริษัท TAC และการสื่อสารแหงประเทศไทย
17 บริษัท AIS ไดคลื่นความถี่ชวง 900 MHz เทากับ 2🗙7.5 MHz
กรอบที่ 3 กรณีศึกษาการจัดสรรคลื่นความถี่ใหแกบxxxPาDร C 1500
ในป 2539 รัฐบาลมีนโยบายการปรับลดคาบริการมือถือและเปดสัมปทานโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหม ใน ยานความถี่ 1500 MHz และ 1900 MHz โดยไดว างหลักการไววาผูรับสัมปทานโทรศัพทเคลื่อนที่รายใหมจะตอง จายคาธรรมเนียมใบอนุญาตรายปใหแกรัฐบาลปละ 350 ลานบาท และจะกําหนดอัตราคาบริการรายเดือนสูงสุด เอาไวไ มเกินเดือนละ 400 บาทจากผูใหบริการในขณะxxxxxxxเรียกเก็บในอัตราเดือนละ 500 บาท
คณะกรรมการศึกษาและxxxxxxxxxเสนอรางหลักเกณฑสําหรับคัดเลือกผูรับสัมปทาน โดยกําหนด คุณสมบัติผูประมูล เชน จะตองมีทุนจดทะเบียนไมตํ่ากวา 1,500 ลานบาท กําหนดมาตรฐานคุณภาพ อัตราคา บริการไมเกินเดือนละ 400 บาท เปนตน ซึ่งการคัดเลือกจะใชวิธีคัดเลือกเปรียบเทียบ โดยผูxxxxxรับคัดเลือกจะ ตองใหองคการโทรศัพทแหงประเทศไทยและการสื่อสารแหงประเทศไทยเขารวมถือหุนในบริษัทรวมไมตํ่ากวา รอยละ 26
ในโครงการโทรศัพทเคลื่อนที่ PDC 1500 MHz กรมไปรษณียโทรเลขไดอนุมัติใหคลื่นความถี่เพียง 2🗙4 MHz เทา นั้นซึ่งถือวานอยกวาความจําเปนมาก ทศท.คํานวณวาตนทุนในการใหบริการจะสูงมากเพราะ ตองติดตั้งสถานี (cell site) จํานวนมาก ซึ่งในป 2540 ประเทศไทยเกิดวิกฤตการณเศรษฐกิจ สํานักงานคณะ
กรรมการพฒนาการเศรษฐกิจและสงคมแหงชาติไดพิจารณาแลวไมเห็นดวยกับโครงการดังกลาวั จึงขอให
กระทรวงคมนาคมชะลอโครงการออกไป ที่มา: เรียบเรียงจาก xxxxxx (2544)
4.2 การจัดสรรคลื่นความถี่ตามกฎหมายใหม
xxxxxxxxxxแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ถือวาคลื่นความถี่เปนxxxxxxสาธารณะและ เปนหัวใจของการประกอบกิจการวิทยุโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคม มาตรา 40 ของxxxxxxxxxx กําหนดวา คลื่นความถี่ที่ใชในการสงวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และวิทยุโทรคมนาคมเปน ทรัพยากรสื่อสารของชาติ เพื่อประโยชนสาธารณะ และกําหนดใหมีองคกรของรัฐที่เปนxxxxxทํา หนาที่จัดสรรคลื่นความถี่และกํากับดูแลการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศนและ กิจการโทรคมนาคม โดยตองคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของประชาชนในระดับชาติและระดับทองถิ่น ทั้ง ในดานการศึกษา วัฒนธรรม ความมั่นคงของรัฐ และประโยชนสาธารณะอื่น รวมทั้งการแขงขันโดย xxxxอยางเปนธรรม
บทบัญญัติดังกลาวของxxxxxxxxxxทําใหมีการออกกฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดสรรคลื่น ความถี่ 2 ฉบับคือ พ.ร.บ.องคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 และ พ.ร.บ. การประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 ตาม กฎหมายดังกลาว อํานาจในการจัดสรรคลื่นความถี่จะถูกโอนจาก กบถ. มาสูการจัดสรรโดยคณะ
กรรมการรวมระหวางคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศนแหงชาติ (กสช.) และ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.) คณะกรรมการรวมดังกลาวมีอํานาจหนาที่ คือ
• กําหนดนโยบายและจัดทําแผนแมบทการบริหารคลื่นความถี่
• จัดทําตารางกําหนดคลื่นความถี่แหงชาติ
• กําหนดการจัดสรรระหวางคลื่นความถี่ท่ีใชในกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุ โทรทัศนและกิจการวิทยุโทรคมนาคม
• กําหนดหลักเกณฑการใชคลื่นความถี่เพื่อใหการใชคลื่นความถี่เปนไปอยางมี ประสิทธิภาพและปราศจากการรบกวนซึ่งกันและกัน
ในการเก็บคาธรรมเนียมใบอนุญาตใชคล่ืนความถ่ีสําหรับกิจการโทรคมนาคมนั้น พ.ร.บ. องคกรจัดสรรคลื่นความถ่ีฯ กําหนดให กทช. มีอํานาจกําหนดคาธรรมเนียมใบอนุญาตได (มาตรา 52) โดยที่ใบอนุญาตใหใชคลื่นความถี่เปนxxxxxเฉพาะตัวของผูไดรับใบอนุญาตจะโอนแกกันมิได เวน แตกรณีจําเปนและเหมาะสม ทั้งนี้ ตามxxxxxxxxxx กทช. กําหนด (มาตรา 53)
อยางไรก็ตาม กฎหมายทั้งสองฉบับไมไดระบุถึงวิธีการจัดสรรคลื่นความถี่ไวอยางชัดเจน มาตรา 11 ของ พ.ร.บ. การประกอบกิจการฯ xxxxxxxไวแตเพียงวา ในการกําหนดอัตราและหลัก เกณฑของคาธรรมเนียมการใชคลื่นความถี่ ให กทช. คํานึงถึงผลประโยชนสาธารณะ ความคุมคา ความขาดแคลนและวิธีการจัดสรรทรัพยากร สวนมาตรา 52 ของ พ.ร.บ.องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ ระบุใหกทช.มีอํานาจกําหนดคาธรรมเนียมใบอนุญาต โดยอาจลดหยอนหรือยกเวนคาธรรมเนียม ใหแกผูซึ่งแสดงวาการดําเนินการนั้นเปนไปเพ่ือประโยชนสาธารณะ ซึ่งมิไดแสวงหากําไรในทาง ธุรกิจ และให กทช. จัดสรรคาธรรมเนียมบางสวนแกกองทุนพัฒนากิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน สาธารณะและกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตาม พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ
5. ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
จากผลการวิเคราะหที่ผานมาในรายงานฉบับนี้ คณะผูวิจัยมีขอเสนอแนะทางนโยบายเพื่อ การจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับการประกอบกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทยดังตอไปนี้
การจัดสรรคลื่นความถี่โดยการประมูล
ดังที่กลาวมาแลววากฎหมายที่มีxxxไมไดระบุถึงวิธีการจัดสรรคลื่นความถี่ไวอยางชัดเจน มี เพียงมาตรา 11 ของ พ.ร.บ. การประกอบกิจการฯ ซึ่งระบุวา ในการกําหนดอัตราและหลักเกณฑของ คาธรรมเนียมการใชคลื่นความถี่ ให กทช. คํานึงถึงผลประโยชนสาธารณะ ความคุมคา ความขาด แคลนและวิธีการจัดสรรทรัพยากร บทบัญญัติดังกลาวเปดชองให กทช. xxxxxxจัดสรรคลื่นความถี่
ไดโดยวิธีการคัดเลือกเปรียบเทียบ และการประมูลคลื่นความถี่ อยางไรก็ตาม หากวิเคราะหตามหลัก วิชาการและประสบการณในตางประเทศดังที่กลาวมาแลว จะเห็นวาการจัดสรรคลื่นความถี่ดวยวิธี การประมูลเปนวิธีที่คํานึงถึงความคุมคา ความขาดแคลน และประโยชนสาธารณะมากกวาวิธีการอื่น
เมื่อนําบทบัญญัติในมาตรา 52 พ.ร.บ.องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ มาพิจารณารวมดวยจะ เห็นวา ตามแนวคิดดังกลาวขางตน กทช. xxxxxxใหแตมตอลวงหนาในการประมูลแกผูที่ใหบริการ โทรคมนาคมเพื่อประโยชนสาธารณะโดยไมแสวงหาผลกําไร และนํารายไดจากการประมูลคลื่น ความถี่บางสวนมาจัดสรรใหแกกองทุนพัฒนากิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชนสาธารณะและกอง ทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาตาม พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ
อนึ่ง ความสําเร็จในการจัดสรรคลื่นความถี่ดวยการประมูลขึ้นxxxกับการออกแบบxxxxx โดย เฉพาะการสงเสริมใหxxxxxxxแขงขันในตลาด เชน สําหรับตลาดบริการบางประเภทที่ยังไมมีการ แขงขันเต็มท่ี เราxxxxxxสงเสริมใหxxxxxxxแขงขันไดโดยกําหนดใหมีจํานวนใบอนุญาตมากกวา จํานวนผูประกอบการรายเดิมในตลาด (incumbent operator) หรือกําหนดใหมีใบอนุญาตที่สงวนไว ใหแกผูประกอบการรายใหมเปนการเฉพาะ นอกจากนี้ควรมีมาตรการปองกันการกีดกันการแขงขัน ในรูปแบบตางๆ เชนปองกันมิใหผูประกอบการที่มีความเกี่ยวโยงกันเขาประมูลพรอมกัน กําหนด ราคาขั้นตํ่าที่ยอมรับได (reserve price) เพื่อปองกันการสมคบกันในการประมูล และลงโทษ ผูประกอบการที่กีดกันการแขงขันในการประมูลอยางรุนแรง เปนตน
การถอนคืนคลื่นความถี่ที่จัดสรรไปโดยไมมีประสิทธิภาพ
มาตรา 54 ของ พ.ร.บ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ ใหอํานาจแกกทช.ในการมีคําสั่งถอนคืน การใชคลื่นความถี่จากผูประกอบการxxxxxไดใชคลื่นความถี่นั้นตามกําหนดเวลา หรือใชคลื่นความถี่ ในกิจการนอกวัตถุประสงค กทช. ควรกําหนดกฎเกณฑการใชคลื่นความถี่ที่มีประสิทธิภาพ ตรวจ สอบการใชคลื่นความถี่ของผูxxxxxรับการจัดสรร และในกรณีท่ีพบวามีผูประกอบการxxxxxไดใชคลื่น ความถี่นั้นตามกําหนดเวลา หรือใชนอกวัตถุประสงค กทช. ควรใชอํานาจตามกฎหมายในการแกไข ใหถูกตองหรือมีคําxxxxxxxถอนคืนการใชคลื่นความถี่ เพื่อนํามาจัดสรรใหมใหเกิดประโยชนอยางแท จริง
การเปลี่ยนมือใบอนุญาตใชคลื่นความถี่อยางโปรงใส
มาตรา 53 ของ พ.ร.บ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ กําหนดใหใบอนุญาตใชคลื่นความถี่เปน xxxxxเฉพาะตัวของผูไดรับใบอนุญาตจะโอนแกกันมิได อยางไรก็ตาม มาตรา 22 (4) ของ พ.ร.บ. การประกอบกิจการฯ ระบุวา ในกรณีที่จะมีการครอบงําหรือถูกครอบงํากิจการตามกฎหมายวาดวย
หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ใหผูรับใบอนุญาตรายงานใหกทช.ทราบ ซึ่งถือเปนการเปดกวางให xxxxxxเปลี่ยนมือใบอนุญาตใชคลื่นความถี่ไดโดยการครอบงํากิจการ แมวาตามหลักเศรษฐศาสตร การเปล่ียนมือจะชวยใหxxxxxxใชคลื่นความถี่ใหมีประสิทธิภาพสูงสุดก็ตาม การเปลี่ยนมือใบ อนุญาตใชคลื่นความถี่ควรจะตองเกิดขึ้นอยางโปรงใส และจํากัดเฉพาะผูxxxxxรับการจัดสรรคลื่น ความถี่จากการแขงขันเทานั้น กทช. จึงควรออกประกาศกําหนดเกี่ยวกับการเปลี่ยนโอนxxxxxใบ อนุญาตใชคลื่นความถ่ี โดยกําหนดวาหากมีการเปลี่ยนโอนxxxxxใดๆ ใหรายงานหรือขออนุญาตจาก กทช. แลวแตกรณี
การกําหนดนโยบายและวางแผนแมบทการบริหารคลื่นความถ
กxxxxการจัดสรรคลื่นความถี่ คณะกรรมการรวมระหวางกทช.และกสช.มีหนาที่ในการ ประกาศนโยบายและจัดทําแผนแมบทการบริหารคลื่นความถี่ลวงหนาตามบทบัญญัติในxxxxxxx 3 ของ พ.ร.บ. องคกรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ ซึ่งกําหนดใหแผนแมบทดังกลาวมีรายละเอียดที่เกี่ยวกับ ตารางกําหนดคลื่นความถี่ทั้งหมดที่ประเทศไทยxxxxxxนํามาใชประโยชนได แนวทางการดําเนิน การเกี่ยวกับคลื่นความถี่ระหวางประเทศ รายละเอียดเกี่ยวกับคลื่นความถี่ที่กําหนดใชในกิจการวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม
ทั้งนี้คณะกรรมการรวมฯ ควรประกาศนโยบายและจัดทําแผนแมบทการบริหารคลื่นความถ ตลอดจนกําหนดกฎเกณฑในการจัดสรรคลื่นความถี่ลวงหนานานxxxxx เพื่อใหผูประกอบการที่ สนใจxxxxxxศึกษาขอมูลและวางแผนเตรียมการลวงหนาได
เอกสารอางอิง
xxxxxx สวางสาลี, “พ.ร.บ.รวมทุน 2535 หนามยอกอภิมหาโครงการ”, สํานักพิมพมุมใหญ 2544.
Kex Xxxxxxx xnd Paxx Xxxxxxxxx, “The Biggest Auction Aver: The Sale of The British 3G Telecom Licences”, The Economic Journal 112, 2002.
Roxxxx Xxxxx, “The Federal Communications Commission”, Journal of Law and Economics
2, 1959, pp.1-40.
Federal Communications commission, “The FCC Report to Congress on Spectrum Auctions”, FCC 97-353 ,1997.
Laxxxxxx Xxxxx, “Auctions and Comparative Hearing: Two ways to Attribute Spectrum Licences”, Communication & Strategies, no.35, 3rd quarter 1999, pp.11-43.
Thxxxx X. Xaxxxxx, “The Wireless Craze, The Unlimited Bandwidth Myth, The Spectrum Auction Faux Pas, and the Punchline to Roxxxx Xxxxx’x ‘Big Joke’: An Essay on Airwave Allocation Policy,” AEI-Brookings Joint Center for Regulatory Studies Working Papers 01-02. Jan 2001.
International Telecommunication Union, “Preparation of handbooks for developing countries: economic, organization and regulatory aspects of the national spectrum management”, 1998.
International Telecommunication Union, “Trend in Telecommunication Reform 2002: Effective Regulation” 2002.
Paxx Xxxxxxxxx, ”How (not) to run auctions: The European 3G Telecom Auctions”, European Economic Review 46, 2002, pp.892-845.
Evxx Xxxxxx, “Auctioning Spectrum Rights”, Federal Communications Commission, 2001. Joxx XxXxxxxx, “Selling Spectrum Rights? ”, Journal of Economic Perspectives, Vol. 8, No.3,
1994, pp. 145-162.
Joxx XxXxxxxx, “Why Auction the Spectrum?”, Telecommunications Policy, Vol.19, No.3,
1995, pp.191-199.
Radiocommunications Agency, “Mapping the Future of Convergence and Spectrum Management: A Scenario-based Review of Spectrum Management Strategies in the Converged Era”, (xxx.xxxxx.xxx.xx), May 2000.
ภาคxxxxxxx 1 กระบวนการจัดประมูลคลื่นความถี่ของสหราชอาณาจักรและออสเตรเลีย
ภาคผนวกนี้จะอธิบายกระบวนการประมูลคลื่นความถี่อยางละเอียด โดยจะยกตัวอยางการประมูลคลื่น ความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ของสหราชอาณาจกรเมื่อป 2000 และการประมูลคลื่นความถี่สําหรับ บริการ PCS ของออสเตรเลียเมื่อป 1998
การประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ของสหราชอาณาจักร
ในป 2000 สหราชอาณาจักรไดจัดการประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 เปนประเทศ แรก โดยกําหนดใหมีใบอนุญาตจํานวน 5 ใบ ซึ่งสงวนไวใหกับผูประกอบการรายใหมหนึ่งใบ การประมูลใชวิธี simultaneous ascending auction ซึ่งเปนการประมูลใบอนุญาตพรอมกันทุกใบ (simultaneous bid) และเปนการ ประมูลหลายรอบ (ascending bid)
ใบอนุญาตใชคลื่นความถี่
สหราชอาณาจักรกําหนดใหมีใบอนุญาตใชคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 จํานวน 5 ใบ คือ ใบอนุญาต A มีขนาดเทากับ 2🗙15 MHz บวกกับ 5 MHz (unpaired spectrum) ใบอนุญาต B มีขนาดเล็กกวา A คือเทากับ 2🗙15 MHz ใบอนุญาต C, D และ E มีขนาดเทากับ 2🗙10 MHz บวกกับ 5 MHz (unpaired spectrum) โดยอนุญาตใหผูประกอบการโทรศัพทเคลื่อนที่ยุค 2 ที่xxxในตลาดในขณะนั้นประมูลเฉพาะใบอนุญาต B, C, D และ E เทานั้น ทั้งนี้ ใบอนุญาตมีอายุไปจนถึงป 2021 และมีเงื่อนไขกําหนดใหผูรับใบอนุญาตจะตองวาง โครงขา ยใหครอบคลุมรอยละ 80 ของประชากรภายในสิ้นป 2007
Paired Unpaired
ใบอนุญาต A ใบอนุญาต B ใบอนุญาต C-E
15 MHz 15 MHz
15 MHz 15 MHz
10 MHz 10 MHz
5 MHz
5 MHz
ตัวอยางการประมูล18
กฎเกณฑในการประมูลคือ ผูประมูลจะxxxxxxเลือกเสนอราคาสําหรับใบอนุญาตไดเพียง 1 ใบในแตละ รอบ หากผประมูลเปนผูเสนอราคาสูงสุดในรอบกอนแลว จะไมอนุญาตใหเสนอราคาสําหรับใบอนุญาตใดๆ ได จน กวา จะมีผูใหราคาสูงกวาราคาประมูลเดิม
รอบที่ 1 ผูเ ขารวมประมูลทุกรายเสนอราคาพรอมกัน โดยผูจัดประมูลจะประกาศราคาสูงสุด ผูประมูลที่ เสนอราคาสูงสุดจะตองจายที่ราคาที่เสนอหากการประมูลสิ้นสุดลงในรอบนั้น สมมติวาในรอบที่ 1 นี้ผูประกอบการ ก. ประมูล ใบอนุญาต A โดยใหราคาสูงสุดเทากับ 70 ในขณะที่ใบอนุญาต B, C และ D มีผูใ หราคาประมูลสูงสุด เทากับ 60, 50 และ 50 ตามลําดับ โดยไมมีผูใดประมูลใบอนุญาต E
70
60
50
50
A
B
C
D
E
รอบที่ 2 ในรอบนี้ ผูที่ใหราคาสูงสุดในรอบกอน เชน ผูประกอบการ ก. จะไมไดรับอนุญาตใหเสนอ ราคาในใบอนุญาตใดๆ สมมติวา การประมูลทําใหราคาใบอนุญาต A, B, D และ E สูงขึ้นดังภาพ สวนใบ อนุญาต C ไมมีการเสนอราคาxxxxx
100
70
80
60
50
50
60
50
50
A
B
C
D
E
50
รอบที่ 3 เนองจากมีผูเสนอราคาของใบอนุญาต A สูงขึ้น ผูประกอบการ ก. จึงxxxxxxเสนอราคาประมูล อีกได สมมติใหผูประกอบการ ก. ยายไปประมูลใบอนุญาต E โดยใหราคาประมูลเทากับ 60
50
60
120 |
100 |
70 |
110 |
80 |
60 |
50 |
50 |
50 |
50 |
60 |
50 |
A
B
C
D
E
18 ดูเอกสารเกี่ยวกับการประมูลคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ของสหราชอาณาจักรอยางละเอียดไดที่
50
60
รอบที่ 4 ในรอบนี้ ผูประกอบการ ก.จะไมไดรับอนุญาตใหประมูลใบอนุญาตใดๆ สมมติวา ในการ ประมูล มีผูเสนอราคาใบอนุญาต E สูงกวาที่ผูประกอบการ ก. เสนอไว
125 |
120 |
100 |
70 |
120 |
110 |
80 |
60 |
60 |
50 |
50 |
50 |
80 |
50 |
60 |
50 |
70 |
60 |
50 |
A
B
C
D
E
50
รอบที่ 5 ผูประกอบการ ก. ตัดสินใจเสนอราคาสําหรับใบอนุญาต A อีกครั้ง และกลายเปนราคาสูงสุด เทากับ 130
130 |
125 |
120 |
100 |
70 |
135 |
120 |
110 |
80 |
60 |
70 |
60 |
50 |
50 |
50 |
80 |
80 |
50 |
60 |
50 |
75 |
70 |
60 |
50 |
A
B
C
D
E
ผูช
รอบที่ 6 ในรอบนี้ ไมมีผูใดเสนอราคาใหมอีกและไมมีผูถอนการประมูล การประมูลจึงเสร็จxxxxxxxรอบที่ 6
60
นะการประมูลทุกรายจายตามราคาที่ตนชนะ และผูประกอบการ ก. ไดใบอนุญาต A
130 |
130 |
125 |
120 |
100 |
70 |
135 |
135 |
120 |
110 |
80 |
60 |
70 |
70 |
60 |
50 |
50 |
50 |
80 |
80 |
80 |
50 |
60 |
50 |
75 |
75 |
70 |
60 |
50 |
A
B
C
D
E
50
60
ในการประมูลใบอนุญาตใชคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ของสหราชอาณาจักรในป 2000
นั้น เมื่อการประมูลเสร็จสิ้น ไดผูxxxxxxประมูล 5 ราย เปนผูประกอบการรายเดิม 4 ราย คือ Vodafone,
AirTouch, BT, Orange และ One2One และมีผูประกอบการรายใหมคือ TIW มล
21.94 พันลานปอนด
คาการประมูลรวมประมาณ
การประมูลคลื่นความถี่สําหรบบริการ PCS ของออสเตรเลีย
นับตงั้ แตป 1997 ออสเตรเลียไดจัดการประมูลคลื่นความถี่ดวยวิธี simultaneous ascending auction ตัวอยางคลื่นความถี่xxxxxประมูลและจัดสรรไปแลวคือ คลื่นความถี่สําหรับบริการ PCS (personal communications services, 800 MHz และ 1800 MHz) ในป 1998 คลื่นความถี่สําหรับการสื่อสารไรสายความเร็วสูง (broadband wireless access, 27 GHz) ในป 2000 และคลื่นความถี่สําหรับโทรศัพทเคลื่อนที่ยุคที่ 3 ในป 2001 เปนตน ทั้งนี้ การออกใบอนุญาตใชคลื่นความถี่ของออสเตรเลียจะไมระบุเทคโนโลยีที่ใช หรือที่เรียกกันวา “เปนกลางทาง เทคโนโลยี” (technology neutral) นอกจากนี้ ใบอนุญาตยังxxxxxxขายตอได (tradable)
หัวขอนี้จะแสดงกระบวนการประมูลคลื่นความถี่ของออสเตรเลีย โดยยกตัวอยางการประมูลคลื่นความถี่
สําหรับบริการ PCS ทั้งนี้ การประมูลคลื่นความถี่ยานความถี่อื่นๆ ของออสเตรเลียก็ใชวิธีการที่คลายกัน
ใบอนุญาตใชคลื่นความถี่
หนวยงานกํากับดูแลกิจการโทรคมนาคมของออสเตรเลียหรือ ACA (Australian Communications Authority) ไมไดกําหนดจํานวนใบอนุญาตใชคลื่นความถี่ไวลวงหนา แตไดแบงคลื่นความถี่ออกเปนล็อต (lot) ตาม พื้นที่ทางภูมิศาสตรและชวงคลื่นความถี่ (bandwidth) วิธีนี้จงึ เปนวิธีที่ใหตลาดเปนผูตัดสินวาจะมีผูประกอบการ กี่ราย
ในการประมูลคลื่นความถี่สําหรับบริการ PCS ในชวงความถี่ 800 MHz และ 1800 MHz ACA ไดแบง ความถเปน 230 ล็อต ตามพื้นที่ 21 เขต โดยพิจารณาลักษณะทางภูมิศาสตร ความหนาแนนของประชากร และ
สถานทต
ง้ วิทยท
มีอยู เปนตน และแบงคลื่นความถี่ตามชวงความถี่เปน 22 ชวง เปนคลื่น 800 MHz ชวงความถ
2🗙5 จํานวน 4 ชวง และคลื่น 1800 MHz ชวงความถี่ 2🗙2.5 จํานวน 18 ชวง
วิธีการประมูล
ACA ไดเ ลือกใชวิธีการประมูลตามแบบ FCC คือวิธี simultaneous ascending auction การประมูลวิธีจะ คลายกับวิธีประมูลแบบ English auction คือมีการประมูลหลายรอบ การยื่นราคาในแตละรอบทําโดยการปดซอง (sealed bid) คอเสนอราคาประมูลเพียงคร้ังเดียวในแตละรอบ ผูจัดการประมูลจะประกาศเฉพาะราคาที่สูงสุด โดย ไมไดประกาศชื่อผูชนะ
ผูป
ระมูลทก
รายจะประมูลชวงคลื่นความถี่ทั้ง 230 ล็อตพรอมกันในทุกรอบ โดยการประมูลจะกําหนดไว
วันละ 2-6 รอบ ใชเวลาประมาณรอบละ 2-3 ชั่วโมง การประมูลมีกฎที่สําคัญดังนี้
• ระบุความตxxxxxคลื่นความถี่ลวงหนา
ผูประมูลจะตองระบุความตxxxxxคลื่นความถี่ลวงหนาในใบสมัคร โดย ACA จะกาหนดปริมาณคลื่นํ
ความถี่สูงสุดที่จัดสรรไดในแตละเขตพื้นที่ ทั้งนี้คลื่นความถี่ที่ผูประมูลตxxxxxจะถูกนําไปคํานวณเปน lot rating
เพอใชกาหํ นดxxxxxในการประมูล เชน ผูประกอบการ ก. ตxxxxxประมูลคลื่นความถี่ชวง 800 MHz ในพื้นที่ 5 เขต
คือ Brisbane, Sydney Melbourne, Adelaide และ Perth
ACA จะคํานวณ lot rating ของผประกอบการแตละรายโดยใช 2 ปจจัย คือ จํานวนประชากรและชวงคลื่น ความถี่ หากพื้นที่นั้นมีประชากรจํานวนมาก และมีชวงคลื่นความถี่สูง lot rating ก็จะมาก
พื้นที่ | ประชากร (A) | จํานวน สูงสุด (B) | ความตxxxxx คลื่นความถี่ของ ผูประกอบการ ก. (C) | คูณดวยชวงคลื่น ความถี่ (5 MHz) (D) = (C)🗙5 | lot rating (E) = (A)🗙(D)/100 |
Brisbane | 1,735,500 | 4 | 1 | 5 | 86,775 |
Sydney | 4,265,500 | 4 | 1 | 5 | 213,275 |
Melbourne | 3,246,700 | 4 | 1 | 5 | 162,335 |
Adelaide | 1,094,900 | 4 | 1 | 5 | 54,745 |
Perth | 1,189,100 | 4 | 1 | 5 | 59,455 |
รวม | 576,585 |
ดังนั้น ผูประกอบการ ก. จะมี lot rating รวมเทากับ 576,585 คา lot rating จะใชตอไปในการกําหนด xxxxxxxxประมูล และคามัดจําในการประมูล
• เริ่มประมูล
ในขนตอนสมัคร ผูประมูลจะตองจายคาใบสมัคร 10,000 ดอลลารออสเตรเลีย และจายคามัดจําเทากับ 2
ออสเตรเลียดอลลารตอ lot rating คามัดจําดังกลาวมีไวเพื่อเปนคาปรับหากผูประกอบการถอนประมูล ตามสูตรนี้ ผูประกอบการ ก. จะตองจายคามัดจํา 1,153,170 ดอลลารออสเตรเลีย
เมื่อเริ่มประมูล ผูจัดการประมูลจะกําหนดราคาเริ่มตนสําหรับประมูล สมมติกําหนดเทากับ 5 ดอลลาร
ออสเตรเลียตอ lot rating ดังนนั้
2,882,925 ดอลลารออสเตรเลีย
หากตxxxxxประมูลทั้งหมด 5 เขต ผูประกอบการ ก. จะตองเริ่มประมูลในมูลคา
พื้นที่ | lot rating (A) | ราคาประมูลเริ่มตน (B = (A)🗙5 |
Brisbane | 86,775 | 433,875 |
Sydney | 213,275 | 1,066,375 |
Melbourne | 162,335 | 811,675 |
Adelaide | 54,745 | 273,725 |
Perth | 59,455 | 297,275 |
รวม | 2,882,925 |
• การxxxxxขึ้นxxxขตองราคาประมูล (minimum bid increment)
ผูจัดการประมูลจะกําหนดการxxxxxขึ้นขั้นตํ่าของราคาประมูลของคลื่นความถี่ 230 ล็อตในแตละรอบ เชน อาจกาหนดใหราคาxxxxxขั้นตํ่า xxxxxขึ้นจากราคาสูงสุดในรอบกอนหนานั้นรอยละ 5 เปนตน และแจงใหผูประมูลทุก รายทราบลวงหนา
• กําหนดเปาหมายขาั้นใตน่ํ การประมูล (activity target)
ผูจดการประมูลจะประกาศเปาหมายขั้นตํ่าในการประมูลในแตละชวง (stage) เพอใหการประมูลเปนไป
อยางจรงิ จัง ตัวอยางเชน หากผูจัดการประมูลกําหนดใหเปาหมายขั้นตํ่าในการประมูลเทากับรอยละ 60 ของ lot rating ผูประกอบการ ก. จะตองประมูลขั้นตํ่าเทากับรอยละ 60 ของ 576,585 หรือเทากับ 345,351
ถาผูประกอบการ ก. เลือกประมูลเฉพาะที่เขต Sydney ซึ่งมี lot rating เทากบั 213,275 ซึ่งนอยกวาเปา หมายขั้นตํ่าที่กําหนดไว ในรอบตอไป ผูประกอบการ ก. จะถูกลดxxxxxxxxประมูลลง โดยในกรณีนี้xxxxxในการ ประมูลจะลดจาก 576,585 เหลือเพียง 335,458 (xxxxxถูกลดเทากับจํานวนที่ประมูลหารดวยเปาหมายการประมูล
ขั้นตํ่า หรือ 213,275 หาร 60%) แตหากผูประกอบการ ก. ประมูล ในเขต Sidney และ Melbourne ซึ่งรวมแลวม
lot rating เทากับ 375,600 ซึ่งมากกวาเปาหมายขั้นตํ่าที่กําหนดไว ก็จะไมถูกลดxxxxxxxxประมูล
• การปรับเงินมัดจําเมื่อชนะประมูลแลวถอนตัว (bid withdrawal penalties)
หากผช นะประมูลในแตละรอบถอนตัว จะตองเสียคาปรับเทากับสวนตางของราคาที่ชนะกับราคาหลังจาก
ปดการประมูลแลว เชน หากผูประกอบการ ก. xxxxxxประมูลในรอบที่ 4 ดวยราคาประมูล 3 ลานดอลลาร แตถอน
ตัว สมมติใหคลื่นความถี่ล็อตนี้ถูกประมูลไปดวยราคาสุดทายที่ 2.5 ลานดอลลาร ผูประกอบการ ก. จะตองเสียคา ปรับ 0.5 ลานดอลลาร เปนตน
• การสิ้นสุดการประมูล
การประมูลจะสิ้นสุดลงเมื่อไมมีผูเสนอราคาใหม (no new bid) และไมมีผูถอนการประมูล (no withdrawal)
xxxxx
ผลปรากฏวา การประมูลคลื่นความถี่ครั้งนี้ใชเวลาประมาณ 1 เดือน มีการประมูลทั้งสิ้น 89 รอบ เมื่อการ เสร็จสิ้นลง ไดผูxxxxxxประมูล 7 ราย เปนผูประกอบการรายใหม 4 ราย คือ Hutchison Telephone Pty
Ltd, AAPT Wireless Pty Ltd, Catapult Communications และผูประกอบการรายเดิม 3 รายคือ Telstra Corporation Ltd, Optus Mobile Pty Ltd และ Vodafone Networks Pty Ltd มูลคาการประมูลรวมทั้งสิ้น ประมาณ 350 ลานดอลลารออสเตรเลีย
ภาคxxxxxxx 2 ประกาศคณะกรรมการxxxxxxxxxxxxจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ เรื่อง กําหนดหลักเกณฑการจัดสรรความถี่วิทยุ
โดยทเปนการxxxxxกําหนดหลักเกณฑ xxxxxxxxx และกระบวนการตัดสินใจในการจัดสรรความถี่วิทยุ ซึ่งเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีxxxอยางจํากัด ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ มีความยุติธรรมและมีความโปรงใส
เพอื่ ตอบxxxxตอความตxxxxxใชความถี่วิทยุทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน ในการสงเสริมและรักษาผลประโยชน
สูงสุดของประเทศดานสงั คม เศรษฐกิจ และการเมือง รวมทั้งสงเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีและกิจการวิทยุคมนาคม
ใหเปนไปอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ xxxxxxxxxx และสอดคลองกับสภาพแวดลอมของการพัฒนากิจการวิทยุ
คมนาคมที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว
คณะกรรมการxxxxxxxxxxxxจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ (กบถ.) จึงเห็นxxxxxกําหนดหลัก เกณฑการจัดสรรความถี่วิทยุ ดังตอไปนี้
1. คุณสมบัติของผูขอจัดสรรความถี่วิทยุ
1.1 สว นราชการหรือรัฐวิสาหกิจที่มีความจําเปนตองใชวิทยุคมนาคม เพื่อชวยในการปฏิบัติหนาที่
1.2 รัฐวสาหกิจซึ่งมีหนาที่ใหบริการโทรคมนาคมสาธารณะตามกฎหมาย
1.3 เอกชนที่รัฐอนุญาตใหดําเนินกิจการโทรคมนาคมสาธารณะ
1.4 เอกชนซึ่งมีความเกี่ยวของกับสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจโดยตรง โดยเปนผูใหบริการในภารกิจตางๆ แกสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ
1.5 เอกชนที่มีความจําเปxxxxจะตองติดตอสื่อสารทางวิทยุคมนาคมกับสวนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจเพื่อ ประโยชนในการควบคุม ใหคําแนะนํา รายงานขอมูล หรือขอรับความชวยเหลือจากสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ
1.6 เอกชนที่ดําเนินกิจการซึ่งคณะกรรมการxxxxxxxxxxxxจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ กําหนดไว วา เปนประโยชนสําคัญตอการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของชาติ
2. หลกเกณฑการพิจารณาจัดสรรความถี่วิทยุ
2.1 การxxx ความถี่วิทยุไปประยุกตใชงานจะตองกอใหเกิดประโยชนสูงสุดของประเทศ ทั้งนี้ โดยจัดลําดับ ความสําคัญตางๆ ดังนี้
2.1.1 เพอื่ สงเสริมการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางโทรคมนาคมของประเทศ และบริการวิทยุคมนาคม
สาธารณะทั้งภายในและระหวางประเทศ โดยพัฒนาทั้งดานระบบ (System) เครือขาย (Network) และบริการ
(Service) ใหเปนไปอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและxxxxxxxxxx
2.1.2 เพอื่
2.1.3 เพอื่
2.1.4 เพอื่
สงเสริมการรักษาความมั่นคงและการปองกันประเทศ
สง เสริมการปองกันชีวิตและทรัพยสิน การปองกันและปราบปรามอาชญากรรม สงเสริมการศึกษา เผยแพรขาวสาร และความบันเทิง
2.1.5 เพอื่
2.1.6 เพอื่
สงเสริมการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สงเสริมการวิจัย พัฒนา และการสํารวจทางxxxxxศาสตร
2.1.7 เพื่อสงxxxxxxxxxxxตางๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของ
ประเทศ;
2.2 การสง เสริมการใชความถี่วิทยุใหเปนไปอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพสูงสุดโดยมีหลักเกณฑ ดังนี้
2.2.1 ผูขอจัดสรรความถ่ีวิทยุจะตองขอใชบริการโทรคมนาคมสาธารณะกอนเปนอันด แรก เมื่อมี
หลักฐานแสดงวาไมxxxxxxใชบริการโทรคมนาคมสาธารณะได จึงจะพิจารณาจัดสรรความถ่ีวิทยุใหใชงานตาม ความจําเปน
2.2.2 การขอจัดสรรความถ่ีวิทยุจะตองมีเหตุผลxxxxxxxxxแสดงวาจะใชความถี่วิทยุใหมีคุณคาอยาง แทจริง และไมมีทางเลือกใชสื่อโทรคมนาคมประเภทอื่น รวมทั้งหลีกเลี่ยงการใชความถี่วิทยุในยานความถี่วิทยุ ซึ่ง มีความxxxxxและคับคั่งสูง (Congestion)
2.2.3 หนว ยงานภายใตสังกัดเดี่ยวกัน กระทรวงเดียวกัน หรือรัฐวิสาหกิจเดียวกัน จะตองใชขาย สื่อสารรวมกันหรือความถี่วิทยุรวมกันตามความเหมาะสม เม่ือไมxxxxxxใชขายสื่อสารรวมกันหรือความถี่วิทยุ รว มกันไดโดยมีเหตุผลxxxxxxx xxxจะพิจารณาจัดสรรความถี่วิทยุใหใชงานเพิ่มเติม
2.2.4 การจัดสรรความถี่วิทยุจะตองนําความถี่วิทยุxxxxxรับการจัดสรรไปแลวมาใชงานซํ้า (Reuse) ให มากทสุด หรือใชใหมีประสิทธิภาพสูงสุด จนกระทั่งมีหลักฐานแสดงวาไมxxxxxxใชความถี่วิทยุซํ้าได หรือไดใช
อยา งมx
xxxxxxxxxxxxxxxxxลว จึงจะพิจารณาจัดสรรความถี่วิทยุใหใชงานเพิ่มเติม
2.2.5 การจัดสรรความถี่วิทยุจะคํานึงxxxxxxประยุกตใชเทคโนโลยีวิทยุคมนาคมxxxxxxxxxx ยานความถี่
วิทยุ ปริมาณขาวสาร จํานวนลูกขายวิทยุคมนาคม และความเหมาะสมกับคุณคา (Value) ของความถี่วิทยุ เพื่อให การใชความถี่วิทยุเปนไปอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพ
2.2.6 การจดสรรความถี่วิทยุโดยใหใชความถี่วิทยุรวมกัน (Sharing) จะตองเปนไปตามหลักเกณฑ
และบรรทดฐานในการxxxxxxxxxxxxใชความถี่วิทยุ เพื่อปองกันความถี่วิทยุรบกวนอยางรุนแรงซึ่งกันและกัน
2.3 การจดสรรความถี่วิทยุในลักษณะเปนกลุม (Block Allocation) จะคํานึงถึงความยืดหยุน (Flexibility) ใน
การใชความถี่วิทยุและการกําหนดมาตรฐานทางเทคนิคตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อxxxxความตxxxxxและความจําเปน ตางๆ ของผูใชความถี่วิทยุ
2.4 การจัดสรรความถ่ีวิทยุจะตองสอดคลองกับตารางกําหนดความถี่วิทยุ (Frequency Allocation Table) เงื่อนไขและกระบวนการตางๆ ที่กําหนดไวในขอบังคับวิทยุ (Radio Regulations) ของสหภาพโทรคมนาคม ระหวางประเทศ และปฏิบัติตามขอเสนอแนะของสํานักงานวิทยุคมนาคม สหภาพโทรคมนาคมระหวางประเทศ (ITU-R) ตลอดจนแผนความถี่วิทยุแหงชาติและขอตกลงระหวางประเทศที่เกี่ยวของ
2.5 การจัดสรรความถี่วิทยุใหแกกิจการวิทยุคมนาคมใดๆ ซึ่งตารางกําหนดความถี่วิทยุ (Frequency Allocation Table) ของขอบงคับวทยุ (Radio Regulations) ไดกําหนดใหใชความถี่วิทยุรวมประเภทกิจการหลัก
(Primary Service) กับกจ
การวท
ยุคมนาคมที่ใชความถี่วิทยุทั่วโลก (Worldwide) หรือกิจการวิทยุคมนาคมที่เกี่ยว
ของกับความปลอดภัยในการเดินอากาศหรือการเดินเรือ จะตองใหลําดับความสําคัญ (Priority) แกกิจการเหลานี้
เปนหลัก หรือจะตองกําหนดมาตรการพิเศษ เพื่อประกันวากิจการเหลานี้จะตองปราศจากการรบกวนในการใช ความถี่วิทยุอยางรุนแรง
2.6 การจดสรรความถี่วิทยุบริเวณชายแดน จะตองประกันวาไมกอใหxxxxxxxรบกวนอยางรุนแรง ตอความถี่
วิทยขุ หลัก
ไมxxx วิทยแุ
องประเทศเพื่อนบาน ทั้งนี้ โดยใชวิธีการและขั้นตอนการxxxxxxงานความถี่วิทยุกับประเทศเพื่อนบานเปน
2.7 การจัดสรรความถ่ีวิทยุจะกําหนดระยะเวลาใหใชความถี่วิทยุ สําหรับกิจการวิทยุคมนาคมตางๆ ครั้งละ
5 ป นับแตxxxxxxไดรับการจัดสรรความถี่วิทยุ เวนแตคณะกรรมการxxxxxxxxxxxxจัดและบริหารความถี่ หงชาติเห็นควรกําหนดเปนอยางอื่นแลวแตกรณี
2.8 กรณีคณะกรรมการxxxxxxxxxxxxจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ เห็นควรเปดใหมีบริการวิทยุ
คมนาคมประเภทใด หรือลักษณะใด จะพิจารณาคัดเลือกผูใหบริการวิทยุคมนาคม โดยวิธีการประมูลความถี่วิทยุ ภายใตหลักเกณฑ และเงื่อนไขที่กําหนด แลวใหกรมไปรษณียโทรเลขเสนอขอความเห็นชอบจากกระทรวงคมนาคม เพื่อดําเนินการตอไป
3. สิทธของผูไดรับการจัดสรรความถี่วิทยุ
xxxxxxxxไดรับการจัดสรรความถี่วิทยุเปนxxxxxเฉพาะของผูไดรับการจัดสรรความถี่วิทยุไมอาจใหบุคคลอื่นใช ความถี่วิทยุบางสวนหรือทงั้ หมด เวนแตจะไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการxxxxxxxxxxxxจัดและบริหารความถี่
วิทยแหงชาติแลวเทานั้น
4. มาตรการภายหลังการจัดสรรความถี่วิทยุ
4.1 ใหผูไดรับการจัดสรรความถ่ีวิทยุรายงานผลการใชความถี่วิทยุใหกรมไปรษณียโทรเลขทราบภายใน ระยะเวลา 1 ป นับแตxxxxxxไดรับการจัดสรรความถี่วิทยุ
4.2 หากผไู ดรับการจัดสรรความถี่วิทยุ ไมใชความถี่วิทยุxxxxxรับการจัดสรรภายในกําหนดระยะเวลา 2 ป
นับแตวนxxxxxรับการจัดสรรความถี่วิทยุ ใหการจัดสรรความถี่วิทยุนั้นเปนอันสิ้นผล เวนแตคณะกรรมการxxxxxx
xxxxxxจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติเห็นควรกําหนดเปนอยางอื่นแลวแตกรณี
4.3 หากตรวจสอบพบวาผูใชความถี่วิทยุไมไดนําความถี่วิทยุไปใชงานตามวัตถุประสงค หรือไมไดปฏิบัติ ตามเงื่อนไขที่กําหนด หรือนําความถี่วิทยุไปใหบุคคลอื่นใชงานโดยไมไดรับอนุญาตจากคณะกรรมการxxxxxxxxx xxxจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ หรือฝาฝนกฎหมายวาดวยวิทยุคมนาคม กฎ xxxxxxx ขอบังคับหรือ ประกาศทเกยวขอ ง หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ ใหกรมไปรษณียโทรเลขแจงยกเลิกการจัดสรรความถี่วิทยุ แลว รายงานใหคณะกรรมการxxxxxxxxxxxxจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติทราบ
4.4 หากการใชความถี่วิทยุxxxxxรับการจัดสรรกอใหxxxxxxxรบกวนการใชความถี่วิทยุของผูอื่นxxxxxรับการ จดสรรxxxกอนแลว ใหผูใชความถี่วิทยุมีหนาที่แจงใหกรมไปรษณียโทรเลขทราบ เพื่อบงชี้สาเหตุการxxxxxxxxเกิด
ขึ้น และผใู ชความถี่วทยุตองใหความรวมมือแกไขปญหาการxxxxxxxxเกิดขึ้น รวมทั้งรับผิดชอบคาใชจายตางๆ xxx
xxxมีขนจากการแกไขปญหาการรบกวนนั้น หากไมxxxxxxแกไขไดใหระงับการใชความถี่วิทยุ
4.5 หากปรากฏวาผูไดรับการจัดสรรความถี่วิทยุใชความถี่วิทยุโดยไมเต็มประสิทธิภาพในการรองรับ ปริมาณขาวสาร (Capacity) หรือจํานวนลูกขายวิทยุคมนาคม (Subscriber) หรือกรณีอื่นๆ คณะกรรมการxxxxxx xxxxxxจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติมีอํานาจเรียกคืนความถี่วิทยุบางสวนไดตามความเหมาะสม
4.6 คณะกรรมการxxxxxxxxxxxxจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ มีอํานาจ เปลี่ยนแปลงการจัดสรร
ความถี่วท
ยุใหแกผูไดรับการจัดสรรความถี่วิทยุไดตามความจําเปนและเหมาะสม ประกาศ ณ xxxxxx ๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๐
(นายสุวัจน ลิปตxxxxx) รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม
ประธานคณะกรรมการxxxxxxxxxxxxจัดและบริหารความถี่วิทยุแหงชาติ