Contract
ข้อตกลงเบื้องต้นในการทวนสอบ
รายงานการปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกขององค์กร
1. รายละเอียดขององค์กรที่ขอรับการทวนสอบ | |
1.1 ชื่อองค์กร | เทศบาลเมืองนราธิวาส |
1.2 ที่อยู่/ที่ตั้งขององค์กร | สำนักงานเทศบาลเมืองนราธิวาส ถนนxxxxxบำรุง ตำบลบางนาค อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส 96000 |
1.3 ประเภทองค์กร | องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น (ประเทศไทย) |
1.4 ชื่อ-สกุลของผู้xxxxxxงาน | ชื่อ-สกุล: นางนูร์xxxxxxน xxxxxxx ตำแหน่ง: เจ้าพนักงานสุขาภิบาลชำนาญงาน |
1.5 ที่อยู่ที่ใช้ในการติดต่อ | กอง/หน่วยงาน: สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม |
1.6 เบอร์โทรที่ใช้ในการติดต่อ | โทรศัพท์: 085-2844976 |
1.7 E-mail ที่ใช้ในการติดต่อ | |
2. ข้อตกลงเบื้องต้นในการทวนสอบ | |
2.1 วัตถุประสงค์ในการทำรายงาน | เพื่อแสดงผลและรายงานค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร |
2.2 วัตถุประสงค์ในการทวนสอบ | เพื่อขอรับรองผลคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรตามแนว ทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร |
2.3 แนวทางที่ใช้ในการกำหนดขอบเขต ขององค์กร (Organization Boundary): | o Equity Share o Financial Control o Operational Control o Geographical Boundary o Geopolitical Boundary |
2.4 ขอบเขตขององค์กรที่ครอบคลุม ในการติดตามปริมาณการปล่อย และดูดกลับก๊าซเรือนกระจก | สำนักงานเทศบาลเมืองนราธิวาส กำหนดส่วนราชการ ประกอบด้วย 7 ส่วนงาน ( 3 สำนัก 4 กอง) ได้แก่ สำนักปลัด สำนักช่าง สำนักการศึกษา กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม กองคลัง กองสวัสดิการ และกองวิชาการและแผนงาน |
2.5 ขอบเขตขององค์กรที่xxxxxเข้ามาใน การติดตามปริมาณการปล่อยและ ดูดกลับก๊าซเรือนกระจก | 1.โรงเรียน จำนวน 6 แห่ง 2.ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล จำนวน 1 แห่ง 3.สถานxxxนุบาลจำนวน 1 แห่ง 4.สถานีขนส่งเทศบาลเมืองนราธิวาส จำนวน 1 แห่ง 5.สำนักงานป้องกันและxxxxxxสาธารณภัย จำนวน 2 แห่ง |
2.6 เกณฑ์/มาตรฐานในการจัดทำ รายงานการปล่อยและดูดกลับก๊าซ เรือนกระจกที่ต้องการให้ใช้ในการ ทวนสอบ | หลักเกณฑ์อ้างอิงตาม “แนวทางการประเมินคาร์บอน ฟุตพริ้นท์สำหรับองค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น” โดย องค์การ บริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ฉบับที่ 1, กันยายน 2561 |
3. ขอบเขตการxxxxxxงานเบื้องต้น (Operational Boundary) | |
3.1 ชนิดของก๊าซที่ทำการรายงาน | o เฉพาะ CO2 o CO2, CH4, N2O, PFCs, HFCs, SF6, NF3 o อื่น ๆ โปรดระบุ |
3.2 ประเภทของแหล่งปล่อยและดูด กลับก๊าซที่ครอบคลุมในการทำ รายงาน | o เฉพาะการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยตรง (Scope 1: Direct GHGs Emission) o เฉพาะการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยตรงและการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยอ้อมจากการใช้พลังงาน ( Scope 1: Direct GHGs Emission & Scope 2: Indirect GHGs Emission) o ครอบคลุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยตรง การ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยอ้อมจากการใช้พลังงาน และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยอ้อมอื่น ๆ Scope 1: Direct GHGs Emission Scope 2: Indirect GHGs Emission Scope 3: Other Indirect GHGs Emission |
3.3 แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดย ตรงที่ทำการรายงาน | การxxxไหม้ที่อยู่กับที่ การxxxไหม้ที่มีการเคลื่อนที่ และการ รั่วไหลและอื่นๆ การกำจัดมูลฝอยด้วยวิธีฝังกลบ |
3.4 แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดย อ้อมจากการใช้พลังงานที่ทำการ รายงาน (ถ้ามี) | การใช้ไฟฟ้าจ่ายเงินและไฟฟ้าฟรีจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค |
3.5 แหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดย อ้อมอื่นๆ ที่ทำการรายงาน (ถ้ามี) | การใช้กระดาษสำนักงาน (A4 สีขาว 80 และ70 แกรม) และ การใช้น้ำประปาจากการประปาส่วนภูมิภาค |
3.6 ระยะเวลาในการติดตามผล | 1 xxxxxx 2562 ถึง 30 กันยายน 2563 (ประจำปีงบประมาณ 2563) |
4. ระดับของการทวนสอบ (Level of Assurance) | |
4.1 ระดับการทวนสอบ | o Limited o Reasonable |
4.2 ระดับความมีสาระสำคัญ | o 2% Threshold o 5% Threshold o อื่น ๆ. % Threshold |
5. มาตรฐานต่าง ๆ ที่องค์กรเคยได้รับ (xxxx ISO9000, ISO14000, ISO50001, ฯลฯ) | |
- |
ข้อมูลและเอกสารที่ใช้ในการทวนสอบ
1. ข้อมูลและเอกสารเบื้องต้นที่ทางผู้ทวนสอบต้องได้รับก่อนการทวนสอบ
- รายงานการปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจก
- Worksheet ที่ใช้ในการคำนวณปริมาณการปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจก