แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
โรงเรียนเทศบาล 7 รถไฟสงเคราะห์ สำนักการศึกษาเทศบาลxxxxxxxxxxx ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ระหว่างxxxxxx 1 เดือน xxxxxx พ.ศ. 256๖ ถึงxxxxxx 3๐ เดือน กันยายน พ.ศ. 256๗ ผู้จัดทำข้อตกลง ชื่อ.....xxxxxxฏาพร..............xxxxxxx.....บุรัมย์.................ตำแหน่ง……ครู…..วิทยฐานะ…ครูชำนาญการพิเศษ….. สถานศึกษา.....โรงเรียนเทศบาล 7 รถไฟสงเคราะห์ ....... สังกัด......สำนักการศึกษาเทศบาลxxxxxxxxxxx..........
รับเงินเดือนในอันดับ คศ. ...3......... อัตราเงินเดือน ...4๕,๐๖0 บาท
PA1/ส
จริง)
ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (xxxxxxระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามxxxxxxxจัดการเรียนรู้
🗹 ห้องเรียนxxxxxxxxxxxxxxxxxพื้นฐาน
🞎 ห้องเรียนxxxxxx
🞎 ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ
🞎 ห้องเรียนสายวิชาชีพ
🞎 ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่ง..ครู..วิทยฐานะ..ครูชำนาญการพิเศษ..
ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. ที่กำหนด
1.1 ชวโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน....๒๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ มีรายละเอียดดังนี้
ภาคเรียนที่ 2 / 2565 รวม....22 ชวโมง/สัปดาห์
สาระ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | ระดับชั้น | ชั่วโมง/สัปดาห์ |
ภาษาไทย | ท1๑1๐1 | ภาษาไทย | ป.๑/๑ | 5 |
คณิตศาสตร์ | ค1๑1๐1 | คณิตศาสตร์ | ป.๑/๑ | 5 |
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | ว1๑1๐1 | วิทยาศาสตร์ | ป.๑/๑ | 2 |
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม | ส1๑1๐1 | สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม | ป.๑/๑ | 2 |
ศิลปะ | ศ1๑1๐1 | ศิลปะ | ป.๑/๑ | 1 |
ภาษาต่างประเทศ | อ1๑1๐1 | ภาษาอังกฤษ | ป.๑/๑ | 1 |
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม | ส1๑232 | หน้าที่พลเมือง | ป.๑/๑ | 1 |
ภาษาไทย | ท1๑2๐1 | ภาษาไทยเสริม | ป.๑/๑ | 1 |
การงานอาชีพ | ง 1๑2๐1 | พัฒนาทักษะการเรียนรู้ 2 | ป.๑/๑ | 1 |
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน | ก1๑9๐1 | แนะแนว | ป.๑/๑ | 1 |
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน | ก1๑9๐2 | ลูกเสือxxxxx | ป.๑/๑ | 1 |
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน | ก1๑9๐3 | ชุมนุม | ป.๑/๑ | 1 |
ภาคเรียนที่ 1/2566 รวม....๑๙ ชั่วโมง/สัปดาห์
สาระ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | ระดับชั้น | ชั่วโมง/สัปดาห์ |
ภาษาไทย | ท1๑1๐1 | ภาษาไทย | ป.๑/๑ | 5 |
คณิตศาสตร์ | ค1๑1๐1 | คณิตศาสตร์ | ป.๑/๑ | 5 |
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | ว1๑1๐1 | วิทยาศาสตร์ | ป.๑/๑ | 2 |
ศิลปะ | ศ1๑1๐1 | ศิลปะ | ป.๑/๑ | 1 |
ภาษาต่างประเทศ | อ1๑1๐1 | ภาษาอังกฤษ | ป.๑/๑ | 1 |
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม | ส1๑232 | หน้าที่พลเมือง | ป.๑/๑ | 1 |
ภาษาไทย | ท1๑2๐1 | ภาษาไทยเสริม | ป.๑/๑ | 1 |
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน | ก1๑9๐1 | แนะแนว | ป.๑/๑ | 1 |
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน | ก1๑9๐2 | ลูกเสือxxxxx | ป.๑/๑ | 1 |
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน | ก1๑9๐3 | ชุมนุม | ป.๑/๑ | 1 |
1.2 งานxxxxxxxxและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน ................14 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน ....๘ ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบxxxxนโยบายและจุดเน้น จำนวน ................................2 ชั่วโมง/สัปดาห์
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู(ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะxxxxxxการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ ใช้ในการ xxxxxxการด้วยก็ได้)
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่แสดงให้ เห็นxxxxxxเปลี่ยนแปลงไปในทาง xxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น หรือxxxxxxxxxxสูงขึ้น (ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) |
1. ด้านการจัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุมถึง | |||
1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร *ริเริ่ม พัฒนารายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ ให้ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร บริบทของ สถานศึกษา ผู้เรียนและxxxxxxxx xxxxxxแก้ไข ปัญหาในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนได้ พัฒนาสมรรถนะและการเรียนรู้เต็มตาม ศักยภาพส่งผลให้คุณภาพการจัดการเรียนรู้ สูงขึ้น และเป็นแบบอย่างxxxxx ในการสร้างและ หรือพัฒนาหลักสูตร | 1.ริเริ่ม พัฒนาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ให้ สอดคล้องกับหลักสูตรxxxxxxxการศึกษาขั้น พื้นฐานพุทธศักราช2551(ฉบับปรับปรุง 2560) เพอื่ นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนภาคเรียน ที่ ๒ ปีการศึกษา 2566 2. ปรับปรุง ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการ เรียนรู้และตัวชี้วัด ให้สอดคล้องกับหลักสูตร สถานศึกษาเพื่อนำไปใช้ในการจัดการเรียนการ สอน ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 2566 3. ปรับปรุง คำอธิบายรายวิชาในหลักสูตร สถานศึกษา เพื่อนำไปใช้ในการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 2566 | 1. ผู้เรียน ได้เรียนรู้ตามหลักสูตร สถานศึกษาตามนโยบายของกรม xxxxxxxxการxxxxxxส่วนท้องถิ่น 2. ผู้เรียน ได้เรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดตรงตามหลักสูตรแต่ละ ชั้นปี 3. ผู้เรียน ได้เรียนรู้ตามคำอธิบาย รายวิชาในหลักสูตรสถานศึกษาในแต่ ละชั้นปี | 1. ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียนxxxxxx เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 2. ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียน xxxxxx เรียนตามมาตรฐานการเรียนxxx xxxxxxวัดและผลการเรียนรู้ตรงตาม หลักสูตรสถานศึกษา 3. ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียน xxxxxx เรียนตามคำอธิบายรายวิชาตรง ตามหลักสูตรสถานศึกษา |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่แสดงให้ เห็นxxxxxxเปลี่ยนแปลงไปในทาง xxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น หรือxxxxxxxxxxสูงขึ้น (ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) |
๑.๒ออกแบบการจัดการเรียนรู้ * ริเริ่ม คิดค้น การออกแบบการจัดการ เรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ xxxxxx แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพการจัดการ เรียนรู้ให้สูงขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจําวิชา คุณลักษณะอันพึง xxxxxxx และxxxxxxxxxxสําคัญตามหลักสูตร มีกระบวนการคิดและค้นพบองค์ความรู้ด้วย ตนเอง และสร้างแรงบันดาลใจ และเป็น แบบอย่างxxxxx ในการออกแบบการจัดการ เรียนรู | 1. ริเริ่ม พัฒนาจัดทำโครงสร้างรายวิชารายวิชา คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยที่ ๑2 เรื่อง การบวกที่ผลบวกไม่เกิน 100 ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนา สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตร สถานศึกษา 2. ปรับปรุงหน่วยที่ 1๒ เรื่องการบวกที่ผลบวก ไม่เกิน 100 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เพื่อ นำไปใช้ในการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของ ผู้เรียน | 1. ผู้เรียน ได้เรียนรู้ตามโครงสร้าง รายวิชาคณิตศาสตร์ ในหลักสูตร สถานศึกษาในระดับ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑ 2. ผู้เรียน ได้เรียนรู้ตามหน่วยการ เรียนรู้ที่ ๑2 เรื่องการบวก รายวิชา คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ตรงตามความสนใจและความxxxx ของผู้เรียน | 1. ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียน xxxxxx เรียนตามโครงสร้างรายวิชา คณิตศาสตร์ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑ ตรงตาม หลักสูตรสถานศึกษา 2. ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียน xxxxxx เรี ยน ต ามห น่ วยการเรียน รู้ รายวิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑ |
๑.๓ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ * มีการริเริ่ม คิดค้นและพัฒนานวัตกรรม การ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่xxxxxxแก้ไขปัญหา ในการจัดการเรียนรู้ ทําให้ผู้เรียนได้พัฒนา เต็มตามศักยภาพ เรียนรู้และทํางานร่วมกัน มี กระบวนการคิดและค้นพบองค์ความรู้ด้วย ตนเอง และสร้างแรงบันดาลใจ และเป็น | 1. จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๒ เรื่อง การ บวกที่ผลบวกไม่เกิน 100 หน่วยที่ ๑2 เรื่องการ บวกและการลบจำนวนนับไม่เกิน 100 รายวิชา คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เพื่อนำไปใช้ ในการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน | 1. ผู้เรียน ได้เรียนรู้ตามแผนการ จัดการ เรียนรู้ที่๑๒ เรื่อง การบวกที่ผลบวก ไม่เกิ 100 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1๒ เรื่องการบวก รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นป ระถมศึกษาปีที่ 1 ตรงตาม ความสนใจและความxxxxของผู้เรียน | 1. ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียนมี xxxxxxxxxxทางการเรียนตาม แผนการจัดการเรียนรู้สูงขึ้น และ ผู้เรียนมีความพึงxxxxต่อการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่แสดงให้ เห็นxxxxxxเปลี่ยนแปลงไปในทาง xxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น หรือxxxxxxxxxxสูงขึ้น (ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) |
แบบอย่างxxxxx ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ | 2. ริเริ่ม พัฒนาจัดทำวิธีการสอนแบบคอน สตรัคตี้วิต ในแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาทักษะ การคิดขั้นสูงของผู้เรียน | 2. ผู้เรียน ได้เรียนรู้จากด้วยรูปแบบ การเรียนรู้วิธีการสอน และเทคนิค การสอน ที่ครูผู้สอนพัฒนาขึ้น | 2. ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียน มี xxxxxxxxxxทางการเรียน ตาม แผนการจัดการเรียนรู้สูงขึ้น และ ผู้เรียนมีความพึงxxxxต่อการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน |
1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ มีการริเริ่ม คิดค้น และพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับ กิจกรรมการเรียนรู้ xxxxxxแก้ไขปัญหาใน การเรียนรู้ของผู้เรียนและทําให้ผู้เรียนมีทักษะ การคิด และxxxxxxสร้างนวัตกรรมได้ และ เป็นแบบอย่างxxxxxในการสร้างและหรือพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ | 1. ริเริ่มพัฒนา สื่อการสอนแบบ คอนสตรัคตี้วิต ในแผน การจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยที่ ๑2 เรื่องการ บวกที่ผลบวกไม่เกิน 100 เพื่อนำไปใช้ในการ พัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน | 1. ผู้เรียน ได้เรียนรู้ด้วยรูปแบบการ จัดการเรียน รู้แบบ คอนสตรัคตี้xxxxxx ครูผู้สอนพัฒนาขึ้น | 1. ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียน มี xxxxxxxxxxทางการเรียน ตาม แผนการจัดการเรียนรู้สูงขึ้น และ ผู้เรียนมีความพึงxxxxต่อการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยสื่อของ ครูผู้สอน |
1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีการริเริ่ม คิดค้นและพัฒนารูปแบบการวัด | 1. ริเริ่มพัฒนา เครื่องมือวัดและประเมินผลการ เรียนรู้ให้ครอบคลุมการวัดด้านความรู้(K) ด้าน ทักษะ (S) ด้านคุณลักษณะอันพึงxxxxxxx(A) | 1. ผู้เรียน ได้รับการพัฒนา กระบวนการเรียนรู้ด้วยเครื่องมือวัด และประเมินผลการเรียนรู้ | 1. ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียน มี xxxxxxxxxxทางการเรียน ตาม แผนการจัดการเรียนรู้สูงขึ้น และ |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่แสดงให้ เห็นxxxxxxเปลี่ยนแปลงไปในทาง xxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น หรือxxxxxxxxxxสูงขึ้น (ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) |
และประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง ด้วย วิธีการที่หลากหลายเหมาะสมและสอดคล้อง กับมาตรฐานการเรียนรู้ และนําผลการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ มาใช้แก้ไขปัญหาการ จัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง และเป็นแบบอย่างxxxxxในการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ | และด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน(C) เพื่อ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ๒. มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย เหมาะสม และสอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้ให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องโดยรูปแบบการวัดผลจากการร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ มุ่งเน้นการประเมินตาม สภาพจริงให้สอดคล้องกับผู้เรียนมีการวัดความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาด้วยแบบทดสอบ มีการ สะท้อนผลให้ผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้xxxxxxx พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพและการทำแบบฝึก ทักษะ โดยใช้การสังเกต การตรวจแบบฝึกทักษะ แบบประเมินคุณลักษณะ ด้านความรับผิดชอบ สนใจใฝ่รู้ และความมีxxxxx | ประกอบการเรียนแผนการจัดการ เรียนรู้ที่ครูผู้สอนสร้างขึ้น | ผู้เรียนมีความพึงxxxxต่อการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน |
1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อ แก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ | 1. ริเริ่มพัฒนา การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล นำข้อมูลมาศึกษา วิเคราะห์และออกแบบวิธีการ | 1 . ผู้เรียน ได้รับ การพัฒนาด้วย กระบวนการวิจัยและพัฒนาที่ครู | 1. ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียน มี ทักษะทางภาษา และสมรรถนะ |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่แสดงให้ เห็นxxxxxxเปลี่ยนแปลงไปในทาง xxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น หรือxxxxxxxxxxสูงขึ้น (ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) |
มีการ ริเริ่ม คิดค้น วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผล ต่อคุณ ภาพ ผู้เรียน และนําผลการศึกษา วิเคราะห์และสังเคราะห์ มาใช้แก้ไขปัญหา หรือพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ให้สูงขึ้น และเป็นแบบอย่างxxxxxในการศึกษา วิเคราะห์ และสั งเค ราะห์ เพื่ อแ ก้ ไข ปั ญ ห าห รื อ พัฒนาการเรียนรู้ | แก้ปัญหา เพื่อนำไปใช้กับผู้เรียน และสรุปผลการ แก้ปัญหาการเรียนรู้ของผู้เรียน สังเคราะห์ บันทึกผลหลังการสอน เพื่อสะท้อนปัญหาและ xxxxxxx xxxเกิดจากการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์เพื่อนำไปสู่ กระบวนการแก้ปัญหาด้วยการวิจัยและพัฒนา | ผู้xxxxxมาใช้ในการแก้ปัญหาการ เรียนรู้ของผู้เรียน | ในการสื่อสาร สูงกว่าเกณฑ์ที่ กำหนด |
1.7 จัดบรรยากาศที่xxxxxxxxและพัฒนา ผู้เรียน มี การริเริ่ ม คิ ด ค้ น และพัฒ นาการจัด บรรยากาศที่เหมาะสม สอดคล้องกับความ แตกต่างผู้เรียนเป็นรายบุคคล xxxxxxแก้ไข ปัญหาการเรียนรู้ และสร้างแรงบันดาลใจ xxxxxxxxและพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดกระบวนการ คิด ทักษะชีวิต ทักษะ การทํางาน ทักษะการ | 1. ริเริ่มพัฒนา รายงานผลการพัฒนาแหล่ง เรียนรู้ ด้วยกระบวนการสร้างห้องเรียนแบบ ผสมผสาน ในการจัดกิจกรรมในชั้นเรียนรายวิชา คณิตศาสตร์ | 1. ผู้เรียนได้รับการxxxxxxxxและ พั ฒ น าก า ร เรี ย น รู้ จ าก ก า ร จั ด บ ร x x xก า ศ ใน ห้ อ ง เรี ย น แ บ บ ผสมผสานจากครูผู้สอน | 1. ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียน มี ค ว า ม พึ ง x x x x ต่ อ ก า ร จั ด บรรยากาศที่xxxxxxxxต่อการ เรียนรู้ของผู้เรียน |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่แสดงให้ เห็นxxxxxxเปลี่ยนแปลงไปในทาง xxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น หรือxxxxxxxxxxสูงขึ้น (ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) |
เรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี และเป็นแบบอย่างxxxxxใน การจัดบรรยากาศxxxxxxxxและพัฒนาผู้เรียน | |||
1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะxxxxxของ ผู้เรียน มีการอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงxxxxxxxและ ค่าxxxx ความเป็นไทยxxxxxงาม โดยริเริ่มคิดค้น และพัฒ นารูปแบบการดําเนินการที่มี ประสิทธิภาพ คํานึงถึงความแตกต่างของ ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และxxxxxxแก้ไข ปั ญ ห าและพั ฒ น าผู้ เรี ยน ได้ และเป็ น แบบอย่างxxx xx ในการอบรมและพัฒ นา คุณลักษณะxxxxxของผู้เรียน | 1 . การอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณ ธรรม จริยธรรม คุณ ลักษณะอันพึงxxxxxxx และ ค่าxxxxความเป็นไทยxxxxxงาม โดยผ่านกิจกรรม ต่าง ๆ xxxxกิจกรรมโฮมรูม กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมวันสำคัญต่างๆxxxxxถึงความแตกต่าง ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล | 1 . ผู้เรียน มีคุณ ธรรม จริยธรรม คุณ ลั กษณะอันพึงxxxxxxxและ ค่าxx xxxxxxxxxxงามตามเกณ ฑ์ ที่ สถานศึกษากำหนด | 1. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีคุณธรรม จริยธรรม คุณ ลักษณะอันพึง xxxxxxxและค่าxxxxxxxxxxxxงาม ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด |
2. ด้านการxxxxxxxxและสนับสนุน ลักษณะงานที่เสนอให้xxxxxxxxxxxxxx |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่แสดงให้ เห็นxxxxxxเปลี่ยนแปลงไปในทาง xxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น หรือxxxxxxxxxxสูงขึ้น (ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) |
2.1 จัดทําข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน และรายวิชา มีการริเริ่ม คิดค้น และพัฒนารูปแบบการ จัดทำข้อมูล สารสนเทศของผู้เรียนและ รายวิชา ให้มีข้อมูลเป็นปัจจุบัน เพื่อใช้ในการ xxxxxxxxสนับสนุนการเรียนรู้แก้ไขปัญหา และ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน และเป็นแบบอย่างxxxxx | 1. ริเริ่มพัฒนาข้อมูลสารสนเทศ ของผู้เรียนรายบุคคลในประจำชั้น (ตามคำสั่ง โรงเรียน) และทุกรายวิชาที่จัดการเรียนการสอน ให้มีข้อมูลเป็นปัจจุบัน เพื่อใช้ในการxxxxxxxx สนับสนุนการเรียนรู้ แก้ไขปัญหาและพัฒนา คุณภาพผู้เรียน ในรูปแบบการวิเคราะห์ผู้เรียนผ่านการ ประเมิน SDQ, การเยี่ยมบ้าน โดยมีข้อมูลเป็น ปัจจุบัน ๒. มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนใน รายวิชาคณิตศาสตร์ โดยการสะท้อนผลการ เรียนให้ผู้เรียนทราบทุกสัปดาห์ที่มีการบันทึกผล การเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนทราบเพื่อให้มีการ ปรับปรุงแก้ไขผลการเรียนในเรื่องใด หรือผู้เรียน คนใดยังไม่ส่งภาระงาน หรือชิ้นงานที่กำหนด หรือยังxxxxxxทดสอบ และมีการแจ้งเตือนเพื่อให้ ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการตรวจสอบข้อมูลอย่าง สม่ำเสมอ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา | 1. ผู้เรียน ได้รับการกำกับ ติดตาม และให้ ค ำป รึ กษา แนะนำจาก ครูผู้สอนจากข้อมูลสารสนเทศที่ ครูผู้สอนพัฒนาขึ้น ๒. ผู้เรียนได้รับข้อมูลสารสนเทศ ทางการเรียนในรายวิชาต่าง ๆ และ ผู้เรียนได้รับการปรับปรุง แก้ไขและ พัฒนาเป็นรายบุคคลตามข้อมูล สารสนเทศในรายวิชา | 1. ร้อยละ ๘๐ ของผู้เรียน ได้รับ ก ารกำกับ ติ ดตาม และให้ คำปรึกษา แนะนำจากครูผู้สอน จากข้อมูลสารสนเทศที่ครูผู้สอน พัฒนาขึ้น ๒. ร้อยละ ๘๐ ของผู้เรียน ได้รับ ก ารกำกับ ติ ดตาม และให้ คำปรึกษา แนะนำจากครูผู้สอน จากข้อมูลสารสนเทศที่ครูผู้สอน ในแต่ละรายวิชาที่พัฒนาขึ้น |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่แสดงให้ เห็นxxxxxxเปลี่ยนแปลงไปในทาง xxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น หรือxxxxxxxxxxสูงขึ้น (ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) |
คุณภาพผู้เรียน | |||
2.2 ดําเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียน มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียน รายบุคคล และxxxxxxความร่วมมือกับผู้มี ส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหา ผู้เรียน และริเริ่มโครงการหรือจัดกิจกรรมเชิง สร้างสรรค์ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ในการ ดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียน และเป็นแบบอย่างxxxxx | 1. ริเริ่มพัฒนา สารสนเทศของผู้เรียน - xxxxxxการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน และxxxxxxความร่วมมือกับผู้xxxxxxผ่าน line group, messenger group หรือใช้โทรศัพท์ - xxxxxxการเยี่ยมบ้ านเพื่ อป้ องกันและ แก้ปัญหาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ - ประเมิน SDQ นักเรียนในชั้นเรียน ที่ปรึกษา - จัดกิจกรรม Home Room ในชั้นเรียน มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศ เกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคลและxxxxxx ความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อ พั ฒ น าและแก้ไขปั ญ ห า ผู้ เรี ยน โด ยการ xxxxxxการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน | 1. ผู้เรียนได้รับการดูแลช่วยเหลือ และแก้ปัญหาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และช่วยเหลือทุกด้าน โดยการมีส่วน ร่วมของครูและผู้xxxxxxนักเรียน เพื่อลดปัญหาการออกจากโรงเรียน กลางคัน | 1. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ ได้รับการ ดูแลช่วยเหลือและแก้ปัญ หา ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ ผู้เรียน ได้รับการดูแลและช่วยเหลือทุก ด้าน โดยการมีส่วนร่วมของครู และผู้xxxxxxนักเรียน เพื่อลด ปัญหาการออกจากโรงเรียน กลางคัน |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดxxxxให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่แสดงให้ เห็นxxxxxxเปลี่ยนแปลงไปในทาง xxxxxขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น หรือxxxxxxxxxxสูงขึ้น (ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) |
2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่นๆ ของ สถานศึกษา ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่นๆ ของ สถานศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการจัด การศึกษาของสถานศึกษา โดยมีการพัฒนา รูปแบบหรือแนวทางการดําเนินงานให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น และเป็นแบบอย่างxxxxx | 1. ปฏิบัติงานตามคำสั่ง ของผู้บังคับบัญชา เกี่ยวกับงานวิชาการของสถานศึกษา 2. ปฏิบัติงานตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา และ งานอื่นๆ นอกเหนือจากงานในวิชาที่รับ มอบหมาย | 1 . ผู้เรียน ได้รับการพัฒ นาด้าน ความรู้ จากครูผู้สอนด้านวิชาการ 2. ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาทักษะ คุณ ลักษณะ และสมรรถนะของ ผู้เรียน | 1. ร้อยละ ๗๕ ของผู้เรียนได้รับ การพัฒนาด้านความรู้ 2. ร้อยละ ๗๕ ของผู้เรียน ได้รับ การพัฒนาทักษะ คุณลักษณะ และสมรรถนะของผู้เรียน |
2.4 xxxxxxความร่วมมือกับผู้xxxxxx ภาคี เครือข่าย และหรือสถานประกอบการ การxxxxxxความร่วมมือกับผู้xxxxxx ภาคี เครือข่าย และหรือสถานประกอบการ เพื่อ ร่วมกันแก้ไขปัญหาและพัฒนา ผู้เรียน และ เป็นแบบอย่างxxxxx | 1. ปฏิบัติงานxxxxxxรับมอบหมายในการxxxxxx ความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและผู้xxxxxx 2. ปฏิบัติงานxxxxxxรับมอบหมายการเป็นภาคี เครือข่ายกับหน่วยงานภายนอก | 1 . ผู้ เรี ย น ได้ รั บ ก า ร ดู แ ล ให้ คำปรึกษา แนะนำจากครูผู้สอน 2. ผู้เรียน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ เครือข่ายภาคีภายนอกสถานศึกษา | 1 . ร้ อยละ ๗๐ ของผู้ เรี ยน ครูผู้สอน ผู้xxxxxxและชุมชนมี ความพึงxxxxต่อการให้บริการ ของสถานศึกษา |
3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ลักษณะงานที่เสนอให้xxxxxxxxxxxxxx | |||
3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง | 1. ริเริ่มพัฒนา แผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) ประจำปีงบ ประมาณ 256๖ เพื่อพัฒนางาน | 1. ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาด้าน ความรู้(K) ทักษะ (S) คุณลักษณะอัน | 1. ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียนได้รับ การพัฒนาด้านความรู้ ทักษะ คุณ |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะxxxxxxการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่แสดงให้ เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น หรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) |
*มีพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องเพื่อให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษาสมรรถนะ วิชาชีพครูและความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและ วิธีการสอนและเป็นแบบอย่างที่ดี | ตามมาตรฐานภาระการงานของครูและบุคลากร ทางการศึกษาทั้งหน่วยงานภายในและภายนอก | พึงประสงค์ (A) และสมรรถนะสำคัญ ของผู้เรียน (C) จากครูผู้สอนที่ได้รับ การพัฒนาตนเอง | ลักษณะฯ และสมรรถนะที่สำคัญ ของผู้เรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด |
3.2 มีส่วนร่วมและเป็นผู้นําในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อแก้ไขปัญหา และสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการ จัดการเรียนรู้และเป็นแบบอย่างที่ดี | 1. ริเริ่มพัฒนา แบบบันทึกการเข้าร่วมกิจกรรม ชุมนุมแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสะท้อนผลการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ของครูและผู้อำนวยการโรงเรียนใน กลุ่ม(PLC)ในปีการศึกษา 2565 | 1. ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาคุณภาพ การจัดการเรียนรู้จากครูผู้สอน | 1. ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียน มี ความพึงพอใจต่อการพัฒ นา กระบวนการจัดการเรียนรู้ของ ครูผู้สอน |
3.3 นําความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ ได้จาก การพัฒนาตนเอง และวิชาชีพมาใช้ ในการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการ | 1. ริเริ่มพัฒนา กิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดย ใช้วิธีการสอนแบบคอนสตรัคตี้วิตเพื่อพัฒนา กระบวนการการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนรายวิชา คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2566 | 1 . ผู้ เรี ย น ไ ด้ รั บ ก า ร พั ฒ น า กระบวนการเรียน รู้ที่ ครูผู้ส อน พัฒนาขึ้น | 1. ร้อยละ ๗๐ ของผู้เรียน มี ความพึงพอใจต่อการเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน |
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานตำแหน่ง | งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) | ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖) | ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่แสดงให้ เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น หรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖) |
เรียนรู้ |
หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน.ตามแบบ PA1 ให้เป็นไปตามบริบทและสภาพการจัดการ เรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษาและข้าราชการครูผู้จัดทำ ข้อตกลง
2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ส่งผล โดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวมของ รายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้อง แสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง สามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA2
3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (Outcomes)และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรมและการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนา งานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA2 จากการปฏิบัติงานจริงสภาพการจัดการ เรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็น สำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบัน
ดำรงตำแหน่งครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของวิทย ฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ คือ ริเริ่มพัฒนาการจัดการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการ ปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้)
ประเด็นท้าทาย เรื่องการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง การบวกและการลบจำนวนที่มีผลลัพธ์และตัวตั้งไม่เกิน 100 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัค ติวิสต์
1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
จากการสังเกตผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/๑ มักจะพบว่าผู้เรียนขาดทักษะขบวน การคิด แก้ปัญหาจากการเรียนเป็นบางครั้งและที่สำคัญผู้เรียนประถมศึกษาปีที่ 1/๑ ส่วนมากจะมีปัญหาในการตัดสินใจ การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ เนื่องจากคณิตศาสตร์เป็นวิชาที่เป็นนามธรรมซึ่งเป็นสิ่งที่เข้าใจยากผลการเรียนที่ ออกมาไม่ดีเท่าที่ควร คุณครูจึงคิดหาวิธีแก้ไขในการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง การบวกที่ผลบวกไม่เกิน 100 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ตามแนวคิดตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ให้ดี ขึ้น
2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
วิธีดำเนินการ | ขั้นตอนการดำเนินการ | ระยะเวลาดำเนินการ |
P (PLAN) | 1. ศึกษาขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดตามแนวคิดทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ 2.วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด(K S A C) 3.จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับรูปแบบการสอนที่ พัฒนาขึ้น 4.วางแผนและกำหนดระยะเวลาตามแผนงาน | 1 – 31 ตุลาคม 2565 |
D (DO) | 5.ทดลองใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กับนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย (ระยะท1ี่ ) 6.วิเคราะห์ผลการจัดการเรียนรู้ 7.ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีความเหมาะสมกับผู้เรียน | 1 – 30 พ ฤศ จิ ก ายน 2565 – 31 ธันวาคม 2565 |
C (CHECK) | 8.ออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลหลังทดลองกิจกรรม 9.สร้างเครื่องมือประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนและความพึงพอใจ ของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน 10.เก็บรวบรวมข้อมูลกับนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย | 1 ม ก ร าค ม 2566 – 29 กุมภาพันธ์ 2566 |
A (ACT) | 11.การปรับปรุง ทบทวน พัฒนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม (PLC) 12.เผยแพร่สื่อและรายงานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประจำปี งบประมาณ 2566 (1 ต.ค. 2565 – 31 มี.ค. 2566) | 1 – 31 มีนาคม 2566 |
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ
- ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑/๑ จำนวน 2๕ คน ที่เรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นร้อยละ ๗๕ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
- ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑/๑ จำนวน 2๕ คน ที่เรียนรายวิชาคณิตศาสตร มีทักษะการคิดสูงขึ้นร้อยละ ๗๕ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
- ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑/๑ จำนวน 2๕ คน ที่เรียนรายวิชาคณิตศาสตร มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์สูงขึ้นร้อยละ ๗๕ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
3.2 เชิงคุณภาพ
๑. ได้พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง การบวกที่ ผลบวกไม่เกิน 1๐0 ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ คิดแก้ปัญหา
๒. นักเรียนมีความรู้ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดวิชาคณิตศาสตร์และมีความสามารถในการ
แก้ปัญหาได้
ลงชื่อ
(นางรัชฎาพร บุรัมย์) ตำแหน่ง ครู
ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน
๓๑ มีนาคม 256๖
ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
()เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน
( )ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไขและเสนอเพื่อพิจารณา อีกครั้ง ดังนี้
.........................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ........................................................................
(นางธนพร แก้วชารุณ) ผู้อำนวยการสถานศึกษา
โรงเรียนเทศบาล 7 รถไฟสงเคราะห์
๓๑ ตุลาคม 256๖