สัญญาเลขที่ RDG52S0039
โครงการวิจัย เรื่อง “แนวทางแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง โดยชุมชนมีส่วนร่วม บ้านxxxxxxxxxว์ หมู่ที่ 4 ต˚าบลท่าก˚าช˚า อ˚าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี”
สัญญาเลขที่ RDG52S0039
...................................................................................................................................
ส่วนที่1 บทน˚า
1.1 ความเป็นมาและความส˚าคัญของปัญหา
ประเทศไทยมีแนวชายฝั่งทะเลทั้งสิ้น 2,667 กิโลเมตร การกัดเซาะชายฝั่งทะเลเป็นปัญหาที่ เกิดขึ้นในทุกจังหวัดทั้งฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยและด้านอันดามันตลอด 23 จังหวัดริมชาย ฝั่งทะเลของ ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งชายฝั่งทะเลบริเวณอ่าวไทยตอนบน ตั้งแต่แม่น้้าบางปะกงจนถึงแม่น้้า แม่กลองครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัด คือจังหวัดฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม เป็นพื้นที่xxxxxxxxxxและพบมีการกัดเซาะชายฝั่งมากกว่า 25 เมตรต่อปี โดยในช่วง 28
ปีที่ผ่านมามีการกัดเซาะในพื้นที่ซึ่งเป็นที่ราบน้้าทะเลขึ้นถึงและป่าชายเลนพังทลายไปประมาณ 1 กิโลเมตร ในขณะที่ชายฝั่งทะเลด้านอันดามันซึ่งมีความยาวชายฝั่งทะเลทั้งสิ้นประมาณ 1,014 กิโลเมตร นั้นพบว่าชายฝั่งทะเลที่พบการกัดเซาะรุนแรง ทั้งสิ้นประมาณ 114 กิโลเมตร (คิดเป็น 4.3% ของพื้นที่ ชายฝั่งทะเลทั้งประเทศ) และส้าหรับชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยตั้งแต่บริเวณชายฝั่งภาคตะวันออกจาก จังหวัดตราดจนถึงบริเวณชายแดนภาคใต้จังหวัดนราธิวาสซึ่งมีความยาวชายฝั่งทะเลทั้งสิ้น 16,531 กิโลเมตร มีชายฝั่งทะเลที่พบการกัดเซาะรุนแรงมากกว่า 5 เมตรต่อปีจนถึงมากกว่า 20 เมตรต่อปี ประมาณ 485 กิโลเมตร (คิดเป็น 18.2 % ของพื้นที่ชายฝั่งทะเลทั้งประเทศ)
ในส่วนของชายฝั่งทะเลฝั่งxxxxxxx xxระยะทางรวม 1,653 กิโลเมตร ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ชายฝั่ง ทะเล ตั้งแต่ภาคตะวันออกจากจังหวัดตราดจนถึงชายฝั่งทะเลภาคใต้ จังหวัดนราธิวาส และจากการศึกษา ของ รศ.xx.xxxxxxx xxxxxxxxxxxx หัวหน้าหน่วยศึกษาภัยพิบัติและข้อสนเทศเชิงพื้นที่ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พบว่าชายฝั่งทะเลอ่าวไทยถูกน้้าทะเลกัดเซาะอยู่ในขั้นรุนแรง คือ เฉลี่ยมากกว่า 20 เมตรต่อปี รวมทั้งสิ้น 180.9 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ดินที่หายไปในทะเลประมาณ 56,531 ไร่ และใน
รอบ 30 ปี ที่ผ่านมา พื้นที่ดินชายฝั่งทะเลถูกกัดเซาะรวมทั้งสิ้น 113,042 ไร่ ครอบคลุมชายฝั่งทะเล 599 กิโลเมตรหรือ ร้อยละ 21 ของพื้นที่ชายฝั่งทะเลทั้งหมด
จากการส้ารวจของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเมื่อปี 2550 พบว่าในส่วนของจังหวัด ปัตตานี มีพื้นที่กัดเซาะชายฝั่งที่อยู่ในขั้นรุนแรงอยู่ 4 พื้นที่ด้วยกันดังนี้
1) ชายฝั่งทะเลบ้านxxxxxxxxxว์ อ้าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี พื้นที่นี้ตั้งอยู่บริเวณxxxxxx ทราย ใกล้ปากxxxxxxxxxมูโดยโค้งxxxxxxxจะติดทะเลต่อเนื่องไปกับแนวxxxxxxxด้านตะวันตกและมี xxxxxxxxอยงอกยื่นออกไปทางตะวันตกปิดปากxxxxxxxxกัน การกัดเซาะในพื้นที่นี้เกิดเป็นระยะทาง ยาวประมาณ 1 กิโลเมตร อัตราการกัดเซาะประมาณ 10-12 เมตรต่อปีโดยการกัดเซาะจะเห็นได้ชัด บริเวณหลังโรงเรียนxxxxxxxxxว์ xxxxxxxด้านหน้าจะถูกกัดเซาะหายไปหมด
2) ชายฝั่งทะเลบ้านตะโละสมิแล อ้าเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ชายฝั่งทะเลบริเวณนี้เป็นส่วน หนึ่งของxxxxxxxxอยแหลมตาxxxxxงอกเป็นแนวxxxxxxxออกไปตั้งแต่หาดตะโละกาโปร์ยื่นไปในทะเลมี ทิศทางตะวันตกxxxxxxxxxx-ตะวันออกxxxxxxxx ชายฝั่งทะเลของบ้านตะโละสะมีแลเป็นส่วนคอดกิ่วของ แนวxxxxxxทรายที่ยื่นออกไปที่จะโค้งงx xxxxxxxที่นี่จะหนาประมาณ 2-3 เมตรเท่านั้น เพราะเกิด จากคลื่นในทะเลxxxxxxxที่พัดพาทรายมาทับถมบนป่าชายเลนเดิมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในหน้ามรสุม ตะวันออกxxxxxxxxxx การกัดเซาะเกิดขึ้นบนxxxxxxxxxxxxxxมีระยะทางยาวประมาณ 2 กิโลเมตร อัตราการกัดเซาะเฉลี่ยของบริเวณนี้ประมาณ 5-6 เมตรต่อปี
3) ชายฝั่งทะเลบ้านท่ากุน-บ้านท่าด่าน อ้าเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ลักษณะxxxxxxxปัจจุบัน เป็นxxxxxxxแคบมีความกว้างประมาณ 100-200 เมตร ถัดเข้าไปด้านในพื้นที่ของxxxxxxxเดิมซึ่งเป็น ที่อยู่อาศัยและสวนมะพร้าว การกัดเซาะรุนแรงเกิดขึ้นเฉพาะแห่งบริเวณรอยต่อบ้านท่ากุน-บ้านท่าด่าน เป็นระยะยาวประมาณ 0.5 กิโลเมตร การกัดเซาะเกิดขึ้นด้วยอัตราประมาณ 6 เมตรต่อปี ทรายที่ถูกกัด เซาะจะถูกพัดพาไปกับกระแสน้้าชายฝั่งและสะสมตัวอยู่ในบริเวณข้างเคียงจนเกิดเป็นxxxxxxทรายงอก ยื่นออกไปเป็นระยะทางยาวประมาณ 4 กิโลเมตร
4) ชายฝั่งทะเลบริเวณxxxxxxxxอยแหลมตาชี จังหวัดปัตตานี xxxxxxxxอยแหลมตาชีในระยะ หลังได้มีการกัดเซาะเกิดขึ้นxxxxxxxxxตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 การกัดเซาะเกิดขึ้นมากและเป็นประxxxxxxโค้งด้าน เหนือของxxxxxxบริเวณหน้ากระโจมไฟทหารเรือสภาพชายฝั่งมีลักษณะเป็นxxxxxxxปัจจุบันมีร่องน้้า และxxxxxxทรายอยู่ด้านหน้า การกัดเซาะที่เกิดขึ้นท้าให้ร่องน้้าและxxxxxxทรายนี้ถูกท้าลายไปกัดเซาะ เข้าไปถึงxxxxxxxปัจจุบันที่มีต้นสนขึ้นเป็นแนวยาว เดิมต้นสนเหล่านี้จะปกคลุมหาดด้านในและจะมอง ไม่เห็นทะเล เมื่อต้นสนล้มตายลงไปเป็นแถบท้าให้คลื่นรุกเข้ามากัดเซาะได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น อัตราการ กัดเซาะที่นี่มากกว่า 5 เมตรต่อปี เป็นระยะทางยาวประมาณ 3 กิโลเมตร สาเหตุการกัดเซาะที่นี่เกิดจาก คลื่นลมในฤดูมรสุมตะวันออกxxxxxxxxxx เคลื่อนเข้าสู่จุดนี้โดยตรงเพราะxxxxxxxโค้งตั้งฉากกับทิศทาง ลมและคลื่นทั้งทางทิศเหนือและตะวันตกxxxxxxxxxx บริเวณนี้มีการก่อสร้างรอxxxxxxxxxxxส่วนโค้ง ด้านล่างของxxxxxxxxอยห่างจากกระโจมไฟลงไปทางตะวันตกxxxxxxxxประมาณ 3 กิโลเมตร โดยสร้าง เป็นแนวหินทิ้งตั้งฉากกับชายฝั่ง เพื่อป้องกันทรายไม่ให้เคลื่อนตัวลงใต้ไปปิดปากแม่น้้าปัตตานี
ลักษณะของการกัดเซาะชายฝั่งทะเลในเขตอ้าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี พบว่าบริเวณชายฝั่ง ทะเลที่ถูกกัดเซาะอย่างรุนแรงอยู่บริเวณบ้านxxxxxxxxxว์ ต้าบลท่าก้าช้า หมู่บ้านแห่งนี้มีประชากรทั้งสิ้น 2,110 คน มีโรงเรียนสังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษาปัตตานี เขต 2 จ้านวน 1 โรงเรียน และมีโรงเรียน
สอนศาสนาอิสลามส้าหรับเด็กเล็ก (ตาดีกา) จ้านวน 1 โรงเรียน ประชากรส่วนใหญ่ในชุมชน คิดเป็น ร้อยละ 90 ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน ลักษณะของพื้นที่ ตั้งอยู่บริเวณxxxxxxทรายใกล้ปากxxxx xxxxxxxxxว์ โดยโค้งxxxxxxxจะติดทะเลต่อเนื่องไปกับแนวxxxxxxxด้านตะวันตกและมีเขื่อนกั้นทราย บริเวณปากxxxxxxxxxxxxxว์ทางทิศตะวันออกของหมู่บ้าน การกัดเซาะในพื้นที่นี้เกิดเป็นระยะทางยาว ประมาณ 3 กิโลเมตร อัตราการกัดเซาะประมาณ 10 – 15 เมตรต่อปี โดยการกัดเซาะจะเห็นได้ชัดบริเวณ ด้านหลังโรงเรียนบ้านxxxxxxxxxว์ xxxxxxxด้านหน้าจะถูกกัดเซาะหายไปหมด สาเหตุของการกัดเซาะที่ ชุมชนแห่งนี้ มีxxxxxxxเกิดจากสภาพxxxxxxxxของพื้นที่ได้รับxxxxxxxของคลื่นและกระแสน้้า รวมทั้งการ สร้างเขื่อนกั้นทรายบริเวณปากxxxxxxxxxxxxxว์
สภาพxxxxxxบ้านxxxxxxxxxว์ที่ถูกกัดเซาะดังกล่าว เกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่องประมาณ 4 – 5 ปี แล้ว และxxxความรุนแรงยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ ชาวบ้านพบว่า ในแต่ละปีxxxxxxจะถูกกัดเซาะไปประมาณ 10 – 15 เมตร ซึ่งxxxxxxxxxจากบ้านพักครู ซึ่งตั้งอยู่ด้านหลังโรงเรียนบ้านxxxxxxxxxว์ อยู่ใกล้xxxxxx ถูกคลื่นกัดเซาะจนเหลือแต่เสาบ้านจมอยู่ในน้้าทะเล นอกจากนี้สภาพของสวนมะพร้าวของชาวบ้านxxxxxx อยู่ลึกเข้ามาจากxxxxxxก็ถูกน้้าท่วมถึง เนื่องจากแนวxxxxxxได้หายไปเรื่อย ๆ xxxxxxxxxพื้นที่กังวลใจ กับสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะหากไม่มีการแก้ไขปัญหาอย่างxxxxxxxxxแล้ว คลื่นลมก็จะ กัดเซาะทั้งในส่วนของโรงเรียนบ้านxxxxxxxxxว์ และโรงเรียนสอนศาสนาอิสลาม (ตาดีกา) ซึ่งเป็น โรงเรียนที่มีความส้าคัญยิ่งในการอบรมสั่งสอนบุตรหลานของสมาชิกในชุมชน เพราะหากไม่มีโรงเรียน ทั้ง 2 แห่งนี้ ลูกหลานในชุมชนก็จะต้องไปศึกษาที่อื่น ๆ ซึ่งอยู่ไกลจากชุมชนไปมาก จะส่งผลให้เด็กขาด โอกาสในการศึกษาเล่าเรียนได้
ต่อมาเมื่อช่วงเดือนxxxxxx ปี 2547 ที่ผ่านมา ทางxxxxxxxxxชุมชนได้ร่วมกันออกไปปักเสา คอนกรีตขนาดความยาว 2.5 – 3.5 เมตร เพื่อใช้เป็นแนวในการเพาะเลี้ยงหอยแมลงภู่ และชาวบ้านได้ สังเกตและเก็บข้อมูลพบว่า ด้านหลังของแนวxxxxxxที่ปักเสาคอนกรีตถูกกัดเซาะลดน้อยลง ทั้งนี้เพราะ เสาคอนกรีต ช่วยลดความรุนแรงและการปะทะของคลื่นลม กลุ่มxxxxxxxxพื้นบ้านส่วนใหญ่ในพื้นที่จึง ได้มีการประชุมหารือร่วมกันและเห็นว่าในท่ามกลางสภาพปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งที่เข้าขั้นวิกฤตของ ชุมชนดังกล่าว xxxxxxxxพื้นบ้านในพื้นที่จึงมีความต้องการที่จะร่วมxxxxxxเนินการชะลอความรุนแรง ของการกัดเซาะชายฝั่งโดยการปักเสาคอนกรีตซึ่งนอกจากจะช่วยชะลอการกัดเซาะชายฝั่งทะเลแล้วยังเป็น การสร้างแหล่งอนุบาลสัตว์น้้าวัยอ่อนxxxxxขึ้นอีกด้วย ทางชุมชนจึงได้มีการเสนอความเห็นและความ ต้องการไปยังภาคส่วนต่างๆในการชะลอผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่งและฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง จนกระทั่งในปี 2550 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ได้จัดสรรงบประมาณตามโครงการ ป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลแบบเร่งด่วนโดยชุมชนมีส่วนร่วมในวงเงิน 1.35 ล้านบาท โดยการปักเสา ปูนซิเมนต์ในทะเล และในปี 2551 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จ้านวน 3,115,160 บาท จากศูนย์ อ้านวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ตามโครงการปักเสาปูนซิเมนต์เพื่อชะลอความรุนแรง ของคลื่น และป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งโดยชุมชนมีส่วนร่วม เป็นการด้าเนินโครงการเพื่อการปักเสาปูน
ในทะเลxxxxxในบริเวณพื้นที่ที่มีการกัดเซาะ ผลจากการด้าเนินงานโครงการดังกล่าวในช่วงระยะเวลาที่ ผ่านมา ได้ก่อให้xxxxxxในเชิงxxxxxxxxกับชาวบ้านที่สังเกตเห็นxxxxxคือการxxxxxขึ้นของทรายบริเวณ ด้านหลังแนวเสาปูนที่ปักไว้ และการxxxxxขึ้นของปริมาณทรัพยากรประมงจากการออกท้าการประมงใน บางฤดูกาล
อย่างไรก็ตามในปี 2552 นี้ทางกลุ่มองค์กรxxxxxxxxxพื้นที่ได้มีการxxxxxxกับทา งกรม ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเพื่อให้มีการด้าเนินโครงการปักเสาปูนซิเมนต์เพื่อชะลอความรุนแรงของ คลื่นและป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งโดยชุมชนมีส่วนร่วม ให้เป็นโครงการต่อเนื่องระยะสุดท้าย เพื่อจะได้ ปักเสาปูนให้เต็มบริเวณพื้นที่ที่มีการกัดเซาะชายฝั่งของหมู่บ้านxxxxxxxxxว์ และโครงการดังกล่าวได้รับ การอนุมัติแล้ว ขณะนี้อยู่ในขั้นตอนของการจัดซื้อxxxxxxxตามxxxxxxxของทางราชการ
การที่กลุ่มxxxxxxxxxพื้นที่เลือกใช้วิธีการในการปักเสาปูนซิเมนต์เพื่อชะลอการกัดเซาะนั้น เนื่องมาจากปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งหรือการพังทลายของชายฝั่งเป็นปัญหาเร่งด่วนxxxxxxxxxxxxxxอยู่ทั่วไป xxxxxxเกิดขึ้นเฉพาะพื้นที่ชายฝั่ง จ.ปัตตานีเท่านั้น เป็นปัญหาส่วนใหญ่ของหลายพื้นที่ ที่เกิดจากการ พัฒนาพื้นที่ชายฝั่งด้วยโครงสร้างวิศวกรรมชายฝั่ง ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงของรูปร่างของxxxxxxอันไม่ พึงxxxxxxxจะต้องได้รับการศึกษาไว้ก่อนที่จะด้าเนินการก่อสร้างโครงสร้างชายฝั่งใด ๆ โดยเฉพาะชายฝั่ง จังหวัดปัตตานีที่มีxxxxxxxชายฝั่งเป็นแนวยาวและตรง xxxxxxxxxxxต่อการกระท้าของมนุษย์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการเคลื่อนที่ของตะกอนกับโครงสร้างชายฝั่งต่าง ๆ จะต้องได้รับการวิเคราะห์อย่าง ละเอียด และมีการติดตามผลกระทบอย่างต่อเนื่อง เพื่อน้ามาสรุปเป็นมาตรการป้องกันการกัดเซาะและ รักษาชายฝั่งทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อไป xxxxxxxxพื้นบ้านในพื้นที่บ้านxxxxxxxxxว์มีความเห็น ร่วมกันว่าการที่จะแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างยั่งยืน จึงไม่ควรจะเป็นการสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่อื่นใด xxxxxขึ้นไปอีก แต่ควรจะหาวิธีการหรือมาตรการที่ท้าอย่างไรจึงจะxxxxxxxxxxxxxเติมทรายให้กับชายฝั่ง ในพื้นที่จ.ปัตตานี ซึ่งน่าจะเป็นมาตรการที่จะให้ผลxxxxxที่สุด และxxxxxxกระทบต่อเนื่องไปยังพื้นที่ ข้างเคียงอื่นๆน้อยที่สุดในxxxxx
จากฐานคิดของชาวบ้านดังกล่าวที่ต้องการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งด้วยวิธีการxxxxxxใช้ วิธีการก่อสร้างโครงสร้างวิศวกรรมชายฝั่งขนาดใหญ่xxxxการสร้างเขื่อนกันคลื่นในรูปแบบต่างๆ ฯลฯ ประกอบกับประสบการณ์ตรงที่ชาวบ้านได้เรียนรู้จากการไปปักเสาคอนกรีตเพื่อเป็นแนวในการเพาะเลี้ยง หอยแมลงภู่ และชาวบ้านได้สังเกตเห็นว่า ด้านหลังของแนวxxxxxxที่ปักเสาคอนกรีตถูกกัดเซาะลด น้อยลง เนื่องมาจากเสาคอนกรีต ช่วยลดความรุนแรงและการปะทะของคลื่นลมได้ดังได้กล่าวไว้ข้างต้น แล้วนั้น จากทั้งฐานคิดและประสบการณ์ดังกล่าวท้าให้xxxxxxxxxพื้นที่ได้เสนอแนวคิดดังกล่ าวต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และน้าไปสู่การด้าเนินโครงการดังกล่าว ดังนั้นจึงจ้าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมี กระบวนการศึกษาอย่างเป็นระบบโดยชุมชนมีส่วนร่วมเพื่อจะได้ข้อมูลที่xxxxxxบ่งชี้ข้อเท็จจริงได้อย่าง ชัดเจนว่าการปักเสาปูนซิเมนต์เพื่อชะลอการกัดเซาะชายฝั่งขององค์กรชาวบ้านนั้นก่อให้xxxxxxx เปลี่ยนแปลงมากxxxxxxxxxใด ในมิติด้านเศรษฐกิจ สังคม ซึ่งxxxxxxxxxxxxxxมีส่วนร่วมและความพึง
xxxxของประชาชนในพื้นที่บ้านxxxxxxxxxว์ ต้าบลท่าก้าช้า อ.หนองจิก จังหวัดปัตตานีและถ้าหาก แนวคิดในการแก้ปัญหาด้วยวิธีการดังกล่าวเป็นแนวทางที่xxxxxxช่วยชะลอการกัดเซาะชายฝั่งรวมทั้ง xxxxxxเป็นการฟื้นฟูแหล่งทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งในบริเวณพื้นที่กัดเซาะชายฝั่งxxx xxจะเป็นการ สรุปองค์ความรู้ เพื่อน้าไปสู่การพัฒนาและxxxxxxให้เกิดxxxxxxxxxxxxขึ้นในพื้นที่อื่นๆต่อไป
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพชายฝั่งทะเล เศรษฐกิจ สังคม จากการ ด้าเนินงานชะลอการกัดเซาะชายฝั่งด้วยวิธีการปักเสาปูนซีเมนต์ในทะเล บ้านxxxxxxxxxว์ หมู่ที่ 4 ต้าบล ท่าก้าช้า อ้าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
1.2.2 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งโดยใช้xxxxxxxxxxxxxxxxx
1.3 พื้นที่ศึกษาและกลุ่มเป้าหมาย
1.3.1 พื้นที่ศึกษา
บ้านxxxxxxxxxว์ หมู่ที่ 4 ต้าบลท่าก้าช้า อ้าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ครอบคลุมพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร ตั้งแต่ปากxxxxxxxxxxxxxว์ไปทางตะวันตก 2.0 กิโลเมตรและห่างจากฝั่ง 500 เมตร
1.3.2 กลุ่มเป้าหมาย
สมาชิกxxxxxxxxพื้นบ้านหมู่บ้านxxxxxxxxxว์ ต.ท่าก้าช้า อ.หนองจิก จ.ปัตตานี
1.4 ประเด็น /ค˚าถามในการวิจัย
ทั้งนี้ในการศึกษาข้อมูลในชุมชนนั้น ทางทีมวิจัยมีแนวประเด็นค้าถามดังต่อไปนี้
1.4.1 การปักเสาปูนซิเมนต์ในทะเลxxxxxxชะลอการกัดเซาะชายฝั่งในพื้นที่เป้าหมายของ โครงการได้หรือไม่ อย่างไร
1.4.2 การปักเสาปูนซิเมนต์ในทะเลก่อให้xxxxxxxเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพชายฝั่งทะเล เศรษฐกิจ และสังคมของสมาชิกในชุมชนเป้าหมายอย่างไร
1.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.5.1 ได้ฐานข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพชายฝั่งทะเล เศรษฐกิจ สังคม จากการ ด้าเนินงานชะลอการกัดเซาะชายฝั่งด้วยวิธีการปักเสาปูนซีเมนต์ในทะเล บ้านxxxxxxxxxว์ หมู่ที่ 4
ต้าบลท่าก้าช้า อ้าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
1.5.2 xxxxxxxสร้างกระบวนการเรียนรู้กับxxxxxxxxxพื้นที่และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการ
คลี่คลายปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งโดยใช้xxxxxxxxxxxxxxxxx ที่ไม่ใช่การก่อสร้างที่เป็นโครงสร้างวิศวกรรม ชายฝั่งขนาดใหญ่
ส่วนที่ 2
ข้อมูลเบื้องต้นและบริบททั่วไปของพื้นที่ที่ท˚าการศึกษา
2.1 สภาพพื้นที่
2.1.1 ประวัติชุมชน
บ้านตันหยงเปาว์ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต้าบลท่าก้าช้า อ้าเภอ หนองจิก จังหวัดปัตตานี อยู่ในเขตองค์การ บริหารส่วนต้าบลท่าก้าช้า อ้าเภอหนองจิก ค้าว่า “ตันหยงเปาว์” แปลว่าแหลมมะม่วง มาจากค้า 2 ค้า มาจากภาษามลายูท้องถิ่น คือค้าว่า ตันหยง ซึ่งแปลว่า แหลม และค้าว่าเปาว์ แปลว่า มะม่วง ผู้อาวุโสใน ชุมชนเล่าว่าในอดีตที่ผ่านมา บริเวณที่ตั้งหมู่บ้าน มีต้นมะม่วงป่า ขนาดใหญ่เป็นจ้านวนมาก จากการ สอบถามผู้อาวุโสในหมู่บ้านเเละตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้องพบว่าหมู่บ้านดังกล่าวตั้งขึ้นมาประมาณ 4 ช่วงอายุคน หรืออย่างน้อยประมาณ 200 ปี เเต่ช่วงเวลาที่เเน่ชัดไม่สามารถระบุได้ จากค้าบอกเล่าของ พ่อของผู้อาวุโสท่านหนึ่ง (เปาะสู) กล่าวว่าเดิมทีเดียวมีครัวเรือนเพียง 13ครัวเรือน พื้นที่ตั้งหมู่บ้าน ตันหยงเปาว์เดิมมีลักษณะเป็นเกาะมีเเม่น้้าล้อมรอบ บางส่วนของพื้นที่ทางทิศเหนือของหมู่บ้านปัจจุบัน กลายเป็นทะเลทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของหมู่บ้าน ปัจจุบันเป็นหมู่บ้านดั้งเดิมชื่อ ก้าปงปาตา (บ้าน ปาตา) ตั้งอยู่ห่างจากหมู่บ้านตันหยงเปาว์ ประมาณ 2 กิโลเมตร เเต่เนื่องจากการกัดเซาะของคลื่นลม ปัจจุบันหมู่บ้านดังกล่าวไม่เหลือร่องรอยให้เห็นอีกเเล้วประชากรที่อยู่เดิมส่วนหนึ่งย้าย มาอยู่ในพื้นที่ ตันหยงเปาว์ บางส่วนก็ย้ายไปยังพื้นที่อื่น ๆ (ปิยะ กิจถาวรและคณะ. 2543)
สภาพชุมชนในอดีต
หมู่บ้านตันหยงเปาว์ในอดีตมีความอุดมสมบูรณ์มาก ชาวบ้านจะตั้งบ้านเรือนอยู่ตามแนวล้าคลอง และนิยมท้าการประมงในคลองและบริเวณป่าชายเลนมากกว่าออกไปทะเลนอก เพราะคลองลึกกว้าง สภาพป่าชายเลนสมบูรณ์หนาทึบ มีไม้โกงกางขนาดใหญ่ใช้ท้าเสาเรือนได้ ต้นแสมโตขนาดคนโอบไม่ รอบ มีไม้กายูกอแยใช้ท้าทุ่นลอยได้ ทนและอุ้มน้้าได้ดี ใช้ได้นานเป็น 10 ปี ต้นมะพร้าวฝั่งคลองตรงข้าม แทบมองไม่เห็นเพราะป่าทึบมาก ทรัพยากรมีมากหากินง่าย ในป่าชายเลนริมคลองจะมีฝูงลิงเป็นร้อย ๆ ตัว หมูป่าก็มีเยอะมาก มีเสือปลา เหี้ย มู่สัง ค่างหน้าขาว โดยเฉพาะค้างคาวแม่ไก่นับเป็นหมื่นๆ ตัว มี อีกา เหยี่ยวแดง เหยี่ยวนกเขา นกเป็ดน้้ามีนับเป็นพันๆตัว ไก่นา ปูนา นกยาง นกซีตา (นกฉัตรสีแดง) นกกูแว (ตัวเหมือนห่านมีสีด้า) ชาวบ้านเมื่อมีเวลาว่างก็จะตัดไม้ในป่าชายเลนไปขายในเมือง เอาเงินมา ซื้อข้าวสาร ได้ปลามาท้าปลาแห้งไปขายแลกข้าสาร
สภาพชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชนในอดีตมีการพึ่งพิงและใช้ทรัพยากรชนิดต่างๆจากป่าชายเลน เป็นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น หมวกที่ชาวบ้านใช้เรียกว่า “ซาแม็ง” ท้าด้วยใบจากใช้คลุมหัวกันแดดกันฝน เวลาออกทะเล เพิงกันแดดกันฝนที่เรียกว่า “แซง” ก็ท้าจากใบจาก ใบเตย ใบลาน ที่ตักน้้าท้าจากไม้และ กะลามะพร้าว กล่องที่เรียกว่า “กอเตาะ” ท้าจากไม้กว้างประมาณ 5 นิ้ว ยาวครึ่งเมตร ขุดท้าเป็นรู ท้าเป็น
ลิ้นชักเหมือนตู้ ใช้ใส่เบ็ด เครื่องมือประมง บุหรี่ กล่องใส่อาหารมีฝาปิด ก็เอาไม้ท่อนใหญ่ๆ มาขุดตรง กลางใช้ใส่ข้าว กับข้าว เป็นเสบียงเวลาออกทะเล โอ่งก็ท้าจากไม้ กระต่ายขูดมะพร้าว ตัวกระต่ายท้าจาก ไม้แกะเป็นรูปต่างๆ แสงสว่างก็ใช้ “ไต้” ท้าจากเปลือกมะพร้าว เปลือกเสม็ด แล้วพันด้วยใบมะพร้าว ให้ แสงสว่างเวลากลางคืน แห อวน ที่ถักจากด้ายก็ต้องเอาเปลือกไม้มาต้มและเอาน้้าต้มเปลือกไม้นี้มาหมัก ใช้ย้อมอวน ย้อมแห เพื่อความคงทน เพราะยางจากเปลือกไม้จะไปหุ้มอวนท้าให้น้้าไหลผ่าน ด้ายไม่เปื่อย ใช้ได้ 1-10 ปี สมัยก่อนชาวประมงที่ไหนก็ต้องใช้เปลือกไม้ย้อมแห ย้อมอวนกันทั้งนั้น เวลาชาวบ้านเจ็บ ไข้ไม่สบาย ก็ใช้หมอชาวบ้าน ใช้สมุนไพร หายาจากป่าชายเลน ทั้งที่เป็นหญ้าและเป็นต้นไม้ อาการ เจ็บป่วยแต่ละอย่าง จะใช้พืชและชิ้นส่วนต่างๆของพืชที่แตกต่างกัน เช่น ราก เปลือกไม้ ลูก ยอดไม้ หญ้า แต่ละประเภทก็จะใช้แต่ละส่วนที่แตกต่างกัน หมอชาวบ้านจะรู้ว่าเป็นโรคอะไร ต้องใช้ส่วนไหนในการ รักษาและมีส่วนผสมอย่างไร บนบกขวานเล่มเดียวใช้ตัดฟืนในป่าชายเลน หาเลี้ยงคนได้ 4-5 คน การตัด ไม้ จะตัดยาวท่อนละประมาณ 1-1.8 ฟุต เพื่อใช้ท้าไม้ฟืน สมัยก่อนไม่ห้ามตัดไม้ เพราะคนที่อยู่ในเมือง คนที่อยู่นอกเมือง ต่างก็ต้องใช้ไม้ฟืนหุงข้าว ที่หมู่บ้านจะมีเรือมารับซื้อไม้ฟืน เป็นแม่ค้านายหน้า (ใช้เรือ โป๊ะ) เรือแกลัง เป็นเรือใช้ใบไม่มีเครื่องยนต์ บรรทุกไม้ฟืนกลับไปขายที่ปัตตานี เครื่องมือประมงที่ใช้ ส่วนใหญ่ใช้ท้าการประมงในคลองได้แก่ แหกุ้ง อวนปลากระบอก อวนชัก โพงพาง รุนกุ้ง ตกเบ็ด ลอบ ไซปูด้า ยอ แหปลา เบ็ดราว อวนปลากะพงท้าจากเชือก เพราะทรัพยากรในคลองมีหลากหลายชนิดมาก เช่น ปลาดุกทะเลซึ่งมีเยอะมาก ปลากดหัวแข็ง ตะพาบน้้า แมงดาทะเลที่เข้ามาวางไข่ ปลากะพงขาว ปลา กะพงแดง ปลากุเลา ปลาเก๋า ปลานวลจันทร์ จะมีมาก ปลายูโป (เหมือนปลากระบอกแต่ครีบเหลือง) ปลามังกร (ปลามีรง) ปลาอีค่อม ปลาท่องเที่ยว ปลาตีน ปลาไหลหูด้า ปลาตูนา กุ้งกุลาด้า (ขนาด 20 ตัว / กิโลกรัม) กุ้งขาว กุ้งหวายแดง กุ้งหัวมัน และปูด้าซึ่งมีเยอะมาก รวมทั้งมีจระเข้ด้วย ธรรมชาติของจระเข้ นั้นจะต้องอยู่ในน้้าลึกในแหล่งที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์มีอาหารเพียงพอ ถ้าในคลองมีจระเข้ด้วย ธรรมชาติของจระเข้นั้นต้องอยู่ในน้้าลึกในแหล่งที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์มีอาหารเพียงพอ ถ้าในคลองมี จระเข้อยู่จะแสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร
นอกจากนี้ ริมฝั่งทะเลหน้าหมู่บ้านมีป่าชายเลนพื้นที่ประมาณ 400 ไร่ มีสายน้้าตื้นๆ ไหลผ่าน ขนาดความลึกแค่เข่า มีแอ่งน้้าขนาดกว้าง 5-6 ไร่ ดินใต้แอ่งเป็นดินเปลือกหอยและก้อนกรวด ในเดือน สิงหาคม – พฤศจิกายน ของแต่ละปี จะมีนกเป็ดน้้านับๆพันตัวบินมาอาศัยอยู่ เวลาบินมาแต่ละทีจะมืดไป หมด บริเวณแอ่งน้้านี้ชาวบ้านได้อาศัยวางอวนปลากระบอก รุนกุ้ง วางลอบปู แต่ในปี 2521 มีเจ้าหน้าที่ ป่าไม้ มาว่าจ้างชาวบ้านให้ตัดไม้แสมในป่าชายเลนทิ้ง โดยบอกว่าเป็นป่าไม้ที่ไม่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ จะ ปลูกไม้โกงกางแทน จ้างชาวบ้านคนละ 30บาท/วัน ต่อมาขึ้นเป็น 70 บาท/วัน โค่นต้นแสมจนหมด แล้ว ท้าการปลูกไม้โกงกางในปีต่อมา ปลูกเป็นหย่อมๆแต่พอโค่นดินก็แห้ง สายน้้าที่เคยมีตื้นเขินและแห้งไป ในที่สุด ฝักต้นโกงกางที่ปักไว้ก็ตายไม่งอกเพราะดินแห้ง ต่อมาเกิดน้้าท่วมใหญ่ ทรายถูกกระแสคลื่นซัด เข้ามาทับต้นไม้จนตายหมด ป่าชายเลนริมฝั่งก็หายไป
ในทะเล เมื่อก่อนอวน 1 ผืนยาว 60 วา สามารถท้าการประมงเลี้ยงคนได้ประมาณ 20 คน พอถึง ฤดูมรสุมก็ออกหากินในคลอง ใช้เครื่องมือขนาดยาว 1 เมตร รุนกุ้ง รุนเคยตามชายฝั่ง ตามป่าเลนเลี้ยง ครอบครัวได้ แต่ปัจจุบันอวน 50 ผืนเลี้ยงคน 1 ครอบครัวก็ยังไม่ได้ ต้องท้ามาหากินไปวันๆ วันไหนหา ปลาไม่ได้ก็อดในอดีตช่วงฤดูมรสุม ออกทะเลไม่ได้ ชาวบ้านจะออกไปตกเบ็ดบริเวณปากอ่าวได้ปลามา เยอะ ก็จะท้าปลาแห้งเอาไปแลกข้าวสาร เมื่อก่อนชาวบ้านใช้อวนลอยกุ้ง จับกุ้งแชบ๊วยได้ 5 เดือนต่อปี ปัจจุบันจับได้เพียงประมาณ 15 วันต่อปีเท่านั้น
ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร
กลุ่มผู้สูงอายุในหมู่บ้านได้ร่วมกันทบทวนและจัดท้าแผนที่และแสดงที่ตั้งของหมู่บ้านและชุมชน ข้างเคียง รวมทั้งสภาพของทรัพยากร เมือปี พ.ศ. 2470 หรือประมาณ 70 ปีที่แล้ว ผลจากการทบทวนและ วิเคราะห์ร่วมกันกลุ่มผู้สูงอายุ ได้สรุปลักษณะที่เห็นได้เด่นชัดและมีความส้าคัญต่อชุมชนในอดีตว่าที่ตั้ง หมู่บ้านในอดีต มีกลุ่มบ้านใหญ่สองกลุ่มบ้านคือ ก้าปงปาตา (บ้านปาตา) และบ้านตันหยงเปาว์
บ้านก้าปงปาตาเป็นชุมชนดั้งเดิม ที่อยู่อาศัยมาตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษ หมู่บ้านมีขนาดใหญ่มาก ใหญ่กว่าบ้านตันหยงเปาว์ และอยู่ไกลจากที่ตั้งหมู่บ้านตันหยงเปาว์มาก ไกลขนาดเวลาตีกลองจะไม่ได้ยิน เสียง สภาพปากอ่าวไม่เหมือนในปัจจุบัน ตามแนวชายฝั่งจะมีต้นมะพร้าวกับป่าชายเลนขึ้นหนาแน่นมาก และสามารถเดินเท้าตามชายฝั่งได้จนถึงบ้านบางตาวา ตรงปากอ่าวเป็นบ้านก้านัน สภาพของอ่าวหน้า หมู่บ้านมีขนาดกว้างใหญ่มาก มีหญ้าทะเลที่อุดมสมบูรณ์
ที่บ้านตันหยงเปาว์รอบๆหมู่บ้านเป็นป่าชายเลน ชุมชนจะอยู่กันหนาแน่นกันกลางหมู่บ้าน มีบ้าน ประมาณ 100 หลัง มีคลองเชื่อมต่อกับหมู่บ้านอื่นๆ ถึงกันหมด ในคลองจะมีเกาะ ที่บ้านตันหยงเปาว์มี คลองเชื่อมไปถึงบ้านแคนา มีคลองดอน คลองสายหมอ คลองบางเขาและคลองขุดที่เชื่อมต่อถึงแม่น้้า ปัตตานี ทางทิศใต้ของหมู่บ้านเป็นอ่าวท่าก้าช้า มีคลองยามูซึ่งแยกเป็นสามทาง ทิศเหนือไปบางพารา ทิศ ใต้ไปเกาะหม้อแกง ตามแนวชายคลองจะเป็นป่าชายเลนเกือบหมด ล้าคลองมีน้้าลึกชาวบ้านใช้เรือถ่อเป็น พาหนะสัญจรไปมากันได้โดยสะดวก ถ้าเดินตามชายหาดจะไปเจอปากคลองซึ่งอยู่ไกลจากหมู่บ้านมาก มี เกาะเปาะกาซึ่งมีสายน้้าล้อมรอบแต่ไม่มีคนอยู่ มีเจ๊ะนิ ตรงข้างเกาะมีหมู่บ้านปูลาเจาะเละมีชาวบ้านอยู่ หลายสิบครัวเรือน แต่ปัจจุบันไม่มีแล้ว
สภาพในอดีตที่น่าสนใจอีกอย่างก็คือ เมื่อประมาณ 60 กว่าปีที่แล้ว จะมีคนจีนประมาณ 5-7 หลังคาเรือนอาศัยอยู่ทางทิศตะวันตกของหมู่บ้าน เป็นคนต่างด้าวที่มาจากเมืองจีน ประกอบอาชีพเป็น “แพปลา” ทั้งหมด แต่ในปัจจุบันมีครัวเรือนคนจีนเหลืออยู่เพียงครัวเรือนเดียวเท่านั้น ความทรงจ้าที่มีต่อ กลุ่มคนจีนในหมู่บ้านก็คือ “เถ้าแก่เป็นคนดี จิตใจสะอาด รู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กับชาวบ้าน” พวกเขาอยู่ ร่วมกันได้ไม่มีปัญหาอะไรกัน ลักษณะเช่นนี้เป็นแบบฉบับของวิถีชีวิตที่มีการอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ ซึ่งเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติของท้องถิ่นและของชุมชน นอกจากนี้แล้ว การที่มีพ่อค้าคนจีนอาศัยอยู่เป็น กลุ่มใหญ่ในหมู่บ้านบริเวณนี้ซึ่งอาจจะถือว่าพื้นที่อยู่ห่างไกลจากศูนย์กลางเมืองน่าจะเป็นร่องรอยบ่ง ชี้ให้เห็นว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจของท้องถิ่นในยุคนั้นมีความเคลื่อนไหวที่คึกคักภายในตัวเองมาก
พอสมควร เพราะในสมัยนั้นจะมีทั้งพ่อค้าคนจีนและมีเรือสินค้าจากมาเลเซียมาจอดแวะในคลองที่ หมู่บ้านเพื่อท้าการค้าขายอยู่ระยะเวลานานเป็นเดือน พื้นฐานของความเคลื่อนๆไหวทางสังคมและ เศรษฐกิจในท้องถิ่นจึงอาจจะเกิดจากความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่และการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสมนั่นเอง
กล่าวในแง่ทรัพยากรธรรมชาติ ความทรงจ้าของผู้อาวุโสก็คือสภาพของอ่าวบริเวณหน้าหมู่บ้าน จะมีขนาดกว้างใหญ่มาก และจะมีหญ้าทะเลที่อุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านส่วนใหญ่ท้ามาหากินกันในบริเวณ อ่าว โดยใช้เครื่องมืออวนชัก มีการท้าโพงพางเป็นจุดๆ ตามแนวชายฝั่งมีสวนมะพร้าวกับป่าชายเลนขึ้น หนาแน่นมากและสามารถเดินเท้าตามแนวชายฝั่งได้จนถึงบ้านบางตาวา ผู้เฒ่าอายุ 60 ปี ผู้หญิงบรรยาย ภาพของความอุดมสมบูรณ์และการท้ามาหากินในชุมชนว่า “… ผมลงทะเลตั้งแต่อายุ 15 ปี ที่บ้านตันหยง เปาว์นี้เป็นแหล่งกุ้ง ปลาทู ปลาหลังเขียว ปูด้า เวลาคลื่นใหญ่ ๆ หากินในทะเลไม่ได้ก็มาหากินในคลอง ดักแร้วปูด้าได้ทีละ 3-4 กระสอบ... คนปานาเระ สายบุรี นราธิวาส ตากใบ คนจากประเทศมาเลเซียก็มา หากินที่นี่ในช่วงฤดูมรสุม คนยากจนออกทะเลกันไม่ได้ก็มาท้ากินที่นี่...”
ลักษณะการประกอบอาชีพประมงของชาวบ้านสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของทรัพยากร พื้นที่ทางภูมิศาสตร์และความสัมพันธ์ทางสังคมอย่างเห็นได้ชัด ผู้เฒ่าหลายคนมีความเห็นว่าชาวบ้าน ตันหยงเปาว์ในอดีต “… ออกทะเลกันน้อย หากินในคลองเป็นหลัก…” เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะว่าในคลอง มีทรัพยากรมาก ชาวบ้านก็ตั้งบ้านเรือนอยู่ตามแนวล้าคลอง บนฝั่งก็อุดมสมบูรณ์ด้วยป่า ไม่ต้องออกไปสู้ คลื่นลมในทะเล ส่วนใหญ่ท้าโพงพาง ทอดแห ท้าเบ็ดราว ลอบปู ไซปู และอวนกุ้งเล็กในคลอง แต่ก็มี บางส่วนที่หากินในทะเลโดยจะวางอวนกุ้งใหญ่ อวนที่ใช้ในทะเลจะเป็นอวนเชือกด้ายดิบไม่ใช่ไนล่อน โดยเอาด้ายดิบมาปั่นแล้วย้อมด้วยเปลือกไม้โกงกางซึ่งหาได้ง่ายในสมัยก่อนการย้อมนี้ก็เพื่อให้อวน ทนทานกับน้้าทะเลนั่นเอง การหากินที่พึ่งพิงกับธรรมชาติ มีความพอดีพอควรจึงเป็นลักษณะที่เห็นได้ชัด โดยทั่วไป ตัวอย่างเช่นผู้อาวุโสผู้หนึ่งเล่าว่า “เปาะจิหากินในล้าคลอง ใช้โพงพาง แห ลอบปู หาได้ทุกวัน แล้วแต่ขยัน พอถึงฤดูกุ้งก็ออกไปหากินชายฝั่ง ใช้เรือพายจับกุ้งได้ 1,000 ตัว ขายได้เงิน 15 บาท เป็นกุ้งตัว ใหญ่ (ในตอนนั้น) ข้าวสาร 6 ลิตร 1 บาท ต่อมาค่อยๆแพงขึ้น สมัยก่อนใช้อวนถัก อวนกุ้งชั้นเดียว สมัยก่อนหากุ้งได้ 5 บาทต่อวันก็พอแล้ว ... ใน 1 ปีออกทะเลน้อยที่สุด รวมแล้วออกได้ 2 เดือนใช้เรือพาย เล็ก การพอกินพออยู่ขึ้นอยู่กับแต่ละบ้าน ถ้ารู้จักประหยัดก็จะพอเหลือเก็บไว้กิน” (ปิยะ กิจถาวรและคณะ. 2543)
2.1.2 ที่ตั้งและอาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อ อ่าวปัตตานี
ทิศใต้ ติดต่อ พื้นที่ปาชายเลนซึ่งเป็นป่าอนุรักษ์ มีเเนวคลองตันหยงเปาว์คั่น
ระหว่างหมู่บ้านและป่าชายเลน
ทิศตะวันออก ติดต่อ หมู่บ้านแคนา ต้าบลบางเขา อ้าเภอหนองจิก
ทิศตะวันตก ติดต่อ หมู่บ้านบางราพา ต้าบลท่าก้าช้า อ้าเภอหนองจิก
2.2 สภาพทางสังคมและวัฒนธรรม
2.2.1 ประชากร
หมู่บ้านตันหยงเปาว์มีประชากรจ้านวน 1, 500 คน หรือ 237 ครัวเรือน นับถือศาสนาอิสลาม
99.99% มีครัวเรือนของคนไทยพุทธเชื้อสายจีนอยู่ในหมู่บ้านเพียงแค่ครอบครัวเดียวเท่านั้น ประกอบ อาชีพค้าขายอยู่ในชุมชน ชาวบ้านตันหยงเปาว์รู้สึกผูกพันกับความเป็นคนไทยมุสลิมในความหมายที่หนัก แน่นและชัดเจนมาก
โครงสร้างประชากร ชาวบ้านตันหยงเปาว์ที่อยู่ในกลุ่มอายุ 1-10 ปี มีจ้านวนค่อนข้างมาก ประมาณร้อยละ 22.34 รองลงมาคือกลุ่มเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 11-20 ปี มีอยู่ประมาณร้อยละ 22.15 กลุ่ม
อายุ 21-30 ปี มีอยู่ประมาณร้อยละ 21.21 กลุ่มอายุ 31-40 ปี มีอยู่ประมาณร้อยละ 17.8 กลุ่มอายุอายุ 41-50 ปี มีอยู่ร้อยละ 7.9 ส่วนผู้มีอายุสูงกว่า 50 ปี มีอยู่ร้อยละ 8.5 ลักษณะประชากรดังกล่าวชี้ให้เห็นว่า ตันหยง เปาว์เป็นหมู่บ้านที่มีองค์ประกอบประชากรเป็นเด็กและเยาวชนรวมจ้านวนร้อยละ 44 สูงเกือบครึ่งหนึ่ง ของประชากรทั้งหมดในหมู่บ้าน แสดงให้เห็นว่ามีภาวะเจริญพันธ์ของประชากรในระดับสูง ส่วนคนใน วัยท้างานอายุ 20-30 ปีมีอยู่ประมาณร้อยละ 20 ประชากรในส่วนนี้เป็นก้าลังแรงงานที่ส้าคัญในหมู่บ้าน
นอกจากนี้ยังมีวัยกลางคนอายุระหว่าง 41-50 ปีอยู่ประมาณร้อยละ 8 โครงสร้างกลุ่มอายุประชากรที่เอียง ไปทางด้านวัยเด็กและวัยรุ่นเป็นส่วนมากนี้ แสดงให้เห็นแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงภายในหมู่บ้านทั้งใน แง่ประชากร โครงสร้างทางสังคมและเศรษฐกิจโอกาสและความเสี่ยงของชุมชนในการพัฒนาเพื่อความ อยู่รอดทางเศรษฐกิจและสังคมของลูกหลานและเยาวชนในหมู่บ้านที่จะต้องเผชิญกับสภาวะแวดล้อมและ ทรัพยากรที่มีความเสื่อมโทรมมากยิ่งขึ้น ต้องเผชิญกับภัยคุกคามจากภายนอกที่มีต่อการประกอบอาชีพ และส่งผลกระทบต่อระดับการศึกษาและรายได้ของคนในชุมชน
2.2.2 การตั้งถิ่นฐานบ้านเรือน
การตั้งบ้านเรือนของชาวบ้านตันหยงเปาว์ ส่วนใหญ่จะตั้งบ้านเรือนติดริมชายฝั่งทะเล เพื่อให้เกิด ความสะดวกในการออกทะเลและการจอดเรือ
2.2.3 เส้นทางคมนาคม
เส้นทางคมนาคมของหมู่บ้านมี 2 เส้นทาง คือ
ทางหลวงแผ่นดิน และทางน้้า
• ทางหลวงแผ่นดินมีถนน 2 สาย คือ สายบ้านปรัง และสายคลองขุด ซึ่งระยะทางเข้าสู่หมู่บ้าน ตันหยงเปาว์ ประมาณ 10 กิโลเมตร
• ส่วนทางน้้านั้นสามารถนั่งเรือจากท่าเทียบเรือปัตตานีเข้าหมู่บ้านได้
2. 2.4 การศึกษา
ในหมู่บ้านมีโรงเรียน 1 โรง คือ โรงเรียนบ้านตันหยงเปาว์ และโรงเรียนสอนศาสนา (ตาดีกา) 1โรง คือ โรงเรียนฮีดายาตุลอิสลามมียะห์ ตันหยงเปาว์
องค์ประกอบพื้นฐานของประชากรในด้านระดับการศึกษา มีลักษณะที่ส้าคัญคือมีผู้ที่จบการศึกษา ระดับประถมศึกษาสูงถึงร้อยละ 93 ประชากรที่เป็นผู้ใหญ่ส่วนมากมีการศึกษาระดับประถมศึกษาเท่านั้น
ผู้ที่จบการศึกษาระดับมัธยมต้นมัธยมปลายและระดับปริญญาตรีมีอยู่เพียงร้อยละ 5 เมื่อดูจ้านวนผู้ที่จบ การศึกษาด้านศาสนาอิสลามก็มีอยู่เพียงร้อยละ 1.5 ซึ่งน้อยมาก เงื่อนไขระดับการศึกษาที่ต่้าหรือค่อนข้าง ต่้านี้ชี้ให้เห็นถึงการละเลยต่อการบริการด้านการศึกษาของรัฐในชุมชนชนบทของภาคใต้ตอนล่าง ใน ปัจจุบันนี้มีโรงเรียนชั้นประถมอยู่เพียงหนึ่งโรงเรียนเท่านั้นในหมู่บ้าน และชาวบ้านส่วนใหญ่ก็ไม่ สามารถเรียนต่อในชั้นสูงได้ นอกจากนี้แล้วการที่คนส่วนมากถึงประมาณร้อยละ 90 มีการศึกษาเพียงแค่ ประถมศึกษาแสดงให้เห็นถึงการขาดโอกาสทางด้านการศึกษารวมทั้งขาดโอกาสในการเปลี่ยนแปลง สถานภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของชาวบ้าน
2.2.5 สาธารณสุข
ในหมู่บ้านตันหยงเปาว์มีสถานบริการสาธารณสุข 1 แห่ง คือ สถานีอนามัยตันหยงเปาว์
2.2.6 วัฒนธรรมและประเพณี
ประชาชนบ้านตันหยงเปาว์เกือบทั้งหมดนับถือศาสนาอิสลาม วัฒนธรรมและประเพณีจึงสัมพันธ์กับ ศาสนาอิสลาม ดังนี้
เดือน | ท˚าบุญหรืองานประเพณี | ความหมาย |
มุฮัรรอม | กวนขนมอาซูรอ | เดือนที่ 1 ตามปฏิทินอิสลาม เป็นประเพณีการท้าขนม โดยการ น้าเอาธัญพืชต่างๆ มาผสมกนั |
รอบีอุลเอาวัล | เมาลิด | เดือนที่ 3 ตามปฏิทินอิสลาม |
รอมฎอน | ถือศีลอด | เดือนที่ 9 ตามปฏิทินอิสลาม |
เชาวัล | รายออีดิลฟิตรีย์ หรือ รายอปอซอ | การเฉลิมฉลองหลังจากสิ้นสุดการถือศีลอด |
ซุลฮิจญะฮ์ | รายออีดิลอัฎฮาหรือ รายอฮัจญี | การเฉลิมฉลอง ส้าหรับผู้ที่ไม่ได้ไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ นคร เมกกะ |
การกวนข้าวอาซูรอ (ขนมอาซูรอ) เป็นประเพณีท้องถิ่น ของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ อาซูรอ เป็นภาษาอาหรับ หมายถึงวันที่ 10 ของเดือนมูฮัรรอม อันเป็นเดือนแรกของปฏิทินอาหรับ ชาวบ้านนิยมกวนขนมอาซูรอ กันในเดือนนี้ จึงเรียก ขนมอาซูรอ ความเป็นมาของการกวนข้าว อาซูรอ หรือกวนขนมอาซูรอ สืบเนื่องจากได้เกิดน้้าท่วมใหญ่ในสมัยนบีนุฮ (อล) ท้าให้เกิด ความเสียหายแก ทรัพย์สิน ไร่นาของประชาชน และสาวกของ นบีนุฮ (อล) และคนทั่วไปอดอาหาร นบีนุฮ (อล) จึง ประกาศให้ผู้ที่มีสิ่งของเหลือพอจะรับประทานได้ ให้เอามากองรวมกัน และให้เอาของเหล่านั้นมากวนเข้า ด้วยกัน เพื่อให้ทุกคนได้รับประทานอาหารกันโดยทั่วหน้า การกวนข้าวอาซูรอ เริ่มด้วยการที่เจ้าภาพ ประกาศเชิญชวนนัดหมายให้ชาวบ้าน ทราบว่าจะมีการกวนข้าวอาซูรอกันที่ไหน เมื่อใด เมื่อถึงก้าหนด
นัดหมาย ชาวบ้านก็จะน้า อาหารดิบ เช่น เผือกมัน ฟักทอง มะละกอ กล้วย ข้าวสาร ถว เป็นต้น มารวมเข้า
ด้วยกัน แล้วปอกหั่น ตัด ให้เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย จากนั้นน้าเครื่องปรุง เช่น ข่า ตะไคร้ หอม กระเทียม ผักชี ยี่หร่า เกลือ น้้าตาล กะทิ เป็นต้น มาเป็นเครื่องผสมโดยหั่นตัดให้เป็น ชิ้นเล็กๆ เช่นเดียวกัน ส้าหรับกะทิ จะคั้นเฉพาะน้้ามาผสม วิธีกวน น้ากระทะใบใหญ่ ตั้งไฟ มีไม้พายส้าหรับคนขนมอาซูรอ หลังจากตั้ง
กระทะบนเตา คั้นน้้ากะทิใส่ลงไปต้าหรือบดเครื่องแกงหยาบๆ ใสลงในน้้ากะทิ เมื่อกะทิเดือดใส่อาหาร
ดิบต่างๆ ที่กล่าวมาแล้ว คนด้วยไม้พาย จนกระทั่งทุกอย่างเปื่อยยุ่ย กวนต่อไปจนเป็นเนื้อเดียวกัน เมื่อแห้ง ได้ที่แล้วตักใส่ถาด โรยหน้าด้วยไข่เจียวหั่นบางๆ หรืออาจโรยหน้ากุ้ง เนื้อสมัน ปลาสมัน ผักชี หอมหั่น ฝอย แล้วแต่รสนิยมของท้องถิ่น แล้วตัดเป็นชิ้นๆ แจกจ่ายกันรับประทาน คุณค่าของการกวนข้าวอาซูรอ เป็นเรื่องที่ดีงาม เพราะเป็นการสร้างความสามัคคี ในหมู่คณะและเพื่อขอพรจากพระผู้เป็นเจ้า เพราะก่อน จะแจกจ่ายให้รับประทานกัน เจ้าภาพจะเชิญบุคคลที่นับถือของชุมชนขึ้นมากล่าวขอพร (ดูอา) ก่อนจึงจะ แจกรับประทานให้คนทั่วไป
2. 2.7 ศาสนาและความเชื่อ
ชาวบ้านตันหยงเปาว์ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม มีระบบคุณค่าและความเชื่อในการจัดการ ทรัพยากรทางทะเลซึ่งเป็นทรัพยากรส่วนร่วมที่ใช้ร่วมกัน ที่มีพื้นฐานความเชื่อทางศาสนา ความเคารพต่อ ส่วนร่วม เคารพต่อเพื่อมนุษย์ และใช้ทรัพยากรเพื่อการยังชีพอย่างยั่งยืน
ความเชื่อทางศาสนา ชุมชนชาวประมงพื้นบ้านจะยึดมั่นในความเชื่อตามหลักศาสนาอิสลาม เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร (ปิยะ กิจถาวร,2547 อ้างถึงใน ดลมนรรจ์ บากา 2533, น.47) ที่ว่า
“ อัลลอฮฺ (พระผู้เป็นเจ้า) ทรงบันดาลทุสิ่งบนผืนแผ่นดิน และมีความเชื่อกันว่า สรรพสิ่งที่อัลลอฮฺ ประทานให้ ล้วนแล้วแต่เพื่อคุณประโยชน์แก่มนุษย์ทั้งสิ้น อัลลอฮฺยังประทานสติปัญญาและก้าลัง ความสามารถให้แก่มนุษย์ มนุษย์ต้องท้างานเพื่อให้ได้ทรัพย์สินทั้งหลาย และต้องรับผิดชอบในกิจการ ต่างๆ ของเขา ทั้งต่ออัลลอฮฺ และต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน”
2.2.8 การปกครองส่วนท้องถิ่นและภาวะผู้น˚า
ในหมู่บ้านตันหยงเปาว์มีกลุ่มและองค์กรต่างๆ หลากหลาย ซึ่งจัดตั้งกลุ่มขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ในหมู่บ้าน รวมถึงการสร้างอาชีพ รายได้ และความสัมพันธ์ของคนในชุมชนให้เกิดขึ้น ได้แก่
- สมาคมชาวประมงพื้นบ้านจังหวัดปัตตานี
- กลุ่มเลี้ยงหอยเเมลงภู่
- กลุ่มเลี้ยงปลากะพงขาวในกระชัง
- กลุ่มถักอวน
- กลุ่มซ่อมอวน
- กลุ่มคณะกรรมการโรงเรียน
- กลุ่มคณะกรรมการมัสยิด
- กลุ่มโรงเรียนตาดีกา
2. 2.9 ความสัมพันธ์ของคนในชุมชน
การด้ารงชีวิตของชาวบ้านมีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันเเละกันจะเห็นได้จาก ถ้ามีเรือประมงของชาวบ้านคนใดเสียในระหว่างการออกทะเลหรือมีอุปสรรคเจอมรสุมก็จะช่วยเหลือกัน โดยไม่คิดค่าเเรงใด ๆ ทั้งสินและถ้ามีปัญหาเกิดขึ้นในชุมชนก็จะมีการรวมกลุ่มพูดคุยถึงปัญหาเเละ พยายามหาทางเเก้ไขปัญหาร่วมกัน การด้ารงชีวิตจะมีความเคร่งครัดในหลักศาสนา ความสัมพันธ์ ระหว่างเยาวชนกับผู้ใหญ่ในหมู่บ้านจะเป็นการให้ความเคารพนับถือ เชื่อฟังผู้ใหญ่ ด้านการประกอบ อาชีพในครอบครัวก็มีการเเบ่งงานกันท้า คือ ผู้ชายออกเรือ ผู้หญิงเป็นเเม่บ้าน แต่บางครอบครัวผู้หญิงจะ ออกไปช่วยท้าประมงด้วย ถือเป็นการช่วยเหลือกันในครอบครัว เวลาว่างก็จะมีการพูดคุยกันที่ร้านน้้าชา ซึ่งอาจจะเรียกได้ว่าเป็นศูนย์รวมของคนในหมู่บ้าน ในการพบปะพูดคุยถึงเรื่องราวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ส่วน การประกอบพิธีกรรมทางศาสนาก็ใช้มัสยิดเป็นศูนย์กลางเเละเป็นสถานที่ที่สามารถพบปะพูดคุยกันได้ใน ทุกวันศุกร์เช่นกัน ชาวบ้านมีโอกาสได้รับรู้เรื่องราวของชุมชนได้จาการเข้ามาร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของ ชุมชน รวมทั้งการเข้าร่วมพิธีกรรมทางศาสนา ด้านความสัมพันธ์ที่มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันระหว่าง เจ้าของแพปลากับชาวบ้าน คือ ถ้าชาวบ้านคนใดไม่มีเงินในการซื้อเครื่องมือในการท้าการประมงก็ สามารถไปขอยืมจากเจ้าของเเพปลาได้ โดยที่ไม่ต้องเสียดอกเบี้ย เมื่อไหร่มีเงินก็จะส่งคืน แต่เงื่อนไขของ การยืมก็มีอยู่ว่าจะต้องน้าสัตว์น้้าที่ได้ไปขายให้กับเเพปลาที่ให้ยืมเงินมาเเละการขายสัตว์น้้าให้กับแพปลา ที่มีในหมู่บ้านชาวบ้านก็จะขายให้กับเจ้าประจ้าไม่มีปัญหาในเรื่องความขัดแย้งในการเเย่งชิงหรือตัดหน้า กันในการรับซื้อปลา เพราะเจ้าของเเพปลาเป็นญาติพี่น้องกัน (ผลการศึกษาจากฐานทรัพยากรประมง, 2552)
2.3 ทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการ และระบบกรรมสิทธิ์
2.3.1 พื้นดิน
การถือครองที่ดิน สภาพการถือครองที่ดินของชาวบ้านตันหยงเปาว์ จากครัวเรือนทั้งหมดใน หมู่บ้าน มีคนประมาณร้อยละ 39 เท่านั้นที่มีที่ดินเป็นของตัวเอง ส่วนที่เหลือ ไม่มีที่ดินเป็นของตัวเอง อย่างไรก็ดี ในบรรดาผู้ที่บอกว่ามีที่ดินเป็นของตัวเองนั้น มีอยู่ 13 ราย เท่านั้นที่มีหลักฐานที่ถูกต้องตาม กฎหมาย เช่น โฉนด น.ส. 3 ก. และ ส.ค.1 อาจจะสรุปได้ว่าปัญหาที่ส้าคัญอีกประการหนึ่งของชาวบ้าน ตันหยงเปาว์ก็คือความไม่มั่นคงในการถือครองกรรมสิทธิ์ในที่ดิน เพราะมีชาวบ้านเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ มีกรรมสิทธิ์ที่ดินตามกฎหมายในพื้นที่บ้านเรือนของตัวเอง ที่เหลือนอกจากนี้เป็นผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตป่า สงวนและอาศัยที่ผู้อื่นอยู่ นอกจากนี้แล้วที่ดินที่ถือครองใช้ประโยชน์อยู่ก็มีขนาดไม่มาก เมื่อดูจาก องค์ประกอบด้านอาชีพที่มีผู้ประกอบอาชีพเกษตร ท้าสวนมะพร้าว อยู่น้อยมาก สภาพการพึ่งพิง ทรัพยากรทางทะเลที่ไม่แน่นอนและมีจ้านวนจ้ากัด ประกอบกับการไร้กรรมสิทธิ์ในที่ดินที่อยู่อาศัยและ ไม่มีอาชีพเกษตรกรรมด้านอื่นรองรับ ท้าให้ชาวประมงพื้นบ้าน ที่บ้านตันหยงเปาว์ขาดความมั่นคงใน ด้านอาชีพและที่ส้าคัญคือขาดความมั่นคงทางด้านอาหาร
2.3.2 ป่าไม้และป่าชุมชน
บ้านตันหยงเปาว์มีลักษณะพื้นที่ติดริมชายฝั่งทะเล ซึ่งริมฝั่งทะเลหน้าหมู่บ้านนั้นมีป่าชายเลน พื้นที่ประมาณ 400 ไร่ และพันธุ์ไม้ที่มีมากและมีบทบาทส้าคัญที่สุดในป่าชายเลนคือ ไม้โกงกาง ซึ่งได้ สร้างประโยชน์มากมายให้กับชุมชน เป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น้้าวัยอ่อน และยังเป็นที่หลบภัยและที่อยู่อาศัย ของสัตว์น้้านานาชนิด เช่น ปลากะพง ปลากระบอก ปลาเก๋า กุ้งกุลาด้า กุ้งแชบ๊วย หอยด้า หอยนางรม หอยแมลงภู่ หอยแครง และหอยกะพง ปูแสม ปูม้า และ ปูทะเล นอกจากนั้นแล้ว ในหมู่บ้านตันหยง เปาว์ที่มีปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ป่าชายเลนยังช่วยป้องกันดินพังทลายชายฝั่งทะเล ซึ่งรากของต้นไม้ใน ป่าชายเลนนอกจากจะช่วยป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งแล้ว ยังช่วยบรรเทาความเร็วจากกระแสน้้าที่ท้าให้ ตะกอนที่แขวนลอยกับน้้าทับถมเกิดเป็นแผ่นดินงอกใหม่ เมื่อระยะเวลานาน ก็จะขยายออกไปในน้้าทะเล เกิดเป็นหาดอันเหมาะสมแก่การเกิดของพันธุ์ไม้ป่าชายเลนต่อไป
2.4 สภาพทางเศรษฐกิจ
2.4.1 การประกอบอาชีพ
หมู่บ้านตันหยงเปาว์เป็นชุมชนที่มีลักษณะพื้นที่ทางกายภาพอยู่ติดกับทะเลท้าให้ประชากรส่วน ใหญ่ประกอบอาชีพท้าการประมงเเบบพื้นบ้านเป็นหลัก อาชีพเสริมของคนในชุมชน คือ การเลี้ยงปลา กะพงขาวในกระชัง เครื่องมือประมงพื้นบ้านเป็นสิ่งประดิษฐ์ทางความคิดที่เเสดงให้เห็นถึง ภูมิปัญญา ของชุมชนเชื่อมโยงความสัมพันธ์เเละสอดคล้องกับธรรมชาติของท้องทะเล ฤดูกาล เเละลักษณะอุปนิสัย ของสัตว์น้้าที่จับด้วยลักษณะเครื่องมือเเต่ละชนิดได้ถูกออกแบบเเละสร้างขึ้นมา เพื่อเลือกจับสัตว์น้้าตาม ประเภทเเละฤดูต่าง ๆ โดยไม่ท้าลายเเหล่งที่อยู่อาศัยเเละเเหล่งเพาะฟักของสัตว์น้้าวัยอ่อน เครื่องมือ ประมงพื้นบ้านเป็นเครื่องมือประจ้าที่ขนาดเล็ก ใช้ดักจับสัตว์น้้าเฉพาะชนิดเเละเฉพาะขนาดตามฤดูกาล ต่าง ๆเครื่องมือประมงพื้นบ้านของบ้านตันหยงเปาว์ที่สูญหายไปเเล้ว ได้เเก่ อวนปลาหลังเขียว ,อวนทับ ตลิ่ง อวนช้อนกุ้งเคย , โป็ะ , อวนปาเเย , อวนปลาข้างเหลือง และอวนปลาจาระเม็ด ลักษณะเครื่องมือ รุ่นเก่านี้จะต้องใช้เครื่องล่อเพื่อให้ปลามารวมฝูงกัน เช่น อวนปลาหลังเขียว ซึ่งใช้เรือใบ จะต้องใช้แรงงาน 5 -6 คน ซึ่งใน สมัยก่อนจะมีเรือจ้านวนน้อย เเต่แรงงานคนที่ใช้ในการท้าการประมงเป็นจ้านวนมากจึง ต้องวางซั้งเพื่อเป็นการล่อให้ปลามารวมฝูงกันเครื่องมือประมงพื้นบ้านที่ยังใช้อยู่ในปัจจุบันมีอยู่หลาย ชนิดเเละยังคงรักษาไว้ซึ่งเงื่อนไขที่ต้องอาศัยสภาพธรรมชาติของสัตว์น้้า ฤดูกาล ธรรมชาติของท้องทะเล กระแสน้้า กระเเสลมและมีกฎเกณฑ์ความสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น
1. อวนลอยกุ้ง 3 ชั้น ใช้จับกุ้งแชบ๊วยและกุ้งหวาย ในช่วงเดือนตุลาคม และช่วงเดือนถึงมีนาคม คือ ช่วงก่อนมรสุม 1 เดือน เเละหลังมรสุม 3 เดือนอวนชนิดนี้จะใช้วางในเขตน้้าลึกน้อยกว่า 8 เมตร ซึ่ง เป็นเขตชายฝั่ง
2. อวนจมปู ใช้จับปูม้า อวนชนิดนี้ใช้วางในบริเวณน้้าลึก 4- 14 เมตร ระยะห่างจากฝั่ง 1 - 5 กิโลเมตร
3. โพงพาง ใช้จับกุ้งขาว กุ้งแสม และกุ้งเคย ช่วงเวลาที่ใช้เดือนตุลาคม ถึงกุมภาพันธ์การวางโพงพาง ต้องวางกลางคืน
2.5 สภาพปัญหาของชุมชน
2.5.1 ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ
⮚ การไปท˚างานที่ประเทศมาเลเซีย
จุดที่น่าสนใจของการปรับตัวของชุมชนก็คือการไปหางานท้าในประเทศมาเลเซีย เพราะความ เสื่อมโทรมของทรัพยากรในทะเลส่งผลให้ชาวประมงพื้นบ้านมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการยังชีพ ต้องอพยพทิ้งถิ่นไปขายแรงงานในประเทศมาเลเซีย ชาวประมงพื้นบ้านในจังหวัดปัตตานีและจังหวัด นราธิวาสประมาณครึ่งหนึ่งต้องไปขายแรงงานในรัฐกลันตันและรัฐตรังกานู ประเทศมาเลเซีย การไปขาย แรงงานในประเทศมาเลเซียไม่ใช่ทางออกของการหารายได้เลี้ยงครอบครัวแต่มีความจ้าเป็นต้องไปเพื่อ
แก้ปัญหาเฉพาะหน้า แก้ปัญหาหนี้สิน ปัญหาค่าใช้จ่ายในครอบครัว โดยทั่วไปก่อนไปมาเลเซีย คนที่จะ ไปมักจะต้องไปกู้ยืมเงินคนอื่นมา ครึ่งหนึ่งเอาไว้ที่บ้านให้ครอบครัวไว้ใช้จ่าย อีกครึ่งหนึ่งน้าไปติดตัว เป็นทุนหางานท้าในประเทศมาเลเซีย เมื่อมีรายได้ก็น้ามาใช้หนี้ การไปมาเลเซียผู้หญิงที่มีครอบครัวจะ ไม่ไป ถ้าจะไปต้องไปทั้งสามีภรรยา ส่วนใหญ่ที่ไปจะเป็นคนหนุ่มสาว ปัจจุบันในบ้านตันหยงเปาว์มี ชาวบ้านอพยพไปขายแรงงานในประเทศมาเลเซียประมาณ 100 คน
เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2521 หรือ 21 ปีมาแล้ว ชาวบ้านวัยกลางคนผู้หนึ่งที่อยู่ในกลุ่มคนรุ่นแรกใน ชุมชนที่เดินทางไปท้างานในประเทศมาเลเซียอธิบายเหตุการณ์ในชีวิตของเขาว่า การเดินทางไปประเทศ มาเลเซีย ตอนนั้นเป็นยุคสมัยที่ประเทศมาเลเซียยังไม่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจ น่าสังเกตว่า เหตุการณ์ ช่วงนี้เกิดขึ้นหลังจากการสร้างเขื่อนปิดกั้นล้าคลองของโครงการชลประทานปัตตานีเมื่อปี 2516-2517 ชาวบ้านเล่าให้ฟังว่า สาเหตุที่ต้องไปประเทศมาเลเซียก็เพราะตนเองไม่มีเรือใหญ่พอส้าหรับการออก ทะเล มีแต่เรือที่หากินในล้าคลองเท่านั้น โดยที่รายได้จากการหากินในล้าคลองก็แค่พอกินกับการยังชีพ ประจ้าวัน ไม่มีเงินเก็บเลยส่วนสภาพทรัพยากรของชุมชนในช่วงที่ไปประเทศมาเลเซียนั้น “ในทะเลมี ทรัพยากรอยู่แต่เริ่มน้อยลงแล้ว ” การไปประเทศมาเลเซียก็เพราะไม่มีเงินเก็บ เขาไม่ได้มีความคาดหวัง อะไร คิดแต่ว่าถ้าได้งานก็จะท้างานเหตุผลที่เลือกไปประเทศมาเลเซียแทนที่จะไปเมืองใหญ่ก็เพราะว่า สามารถไปเป็นลูกเรือได้ และสามารถพูดจาสื่อสารกับคนอื่นได้ จุดที่ส้าคัญคือที่ไม่ไปที่อื่นเพราะพูดไทย ไม่ได้ ถ้าไปเป็นลูกเรือในปัตตานีก็ไม่สะดวกในการใช้ภาษาสื่อสาร เพราะส่วนใหญ่คนเรือจะเป็นคน อีสาน ตนเองก็พูดไทยไม่ได้ เมื่อไปอยู่ที่ประเทศมาเลเซียก็ไปเป็นลูกเรืออวนด้า ในช่วงนั้น คนใน หมู่บ้านเริ่มไปประเทศมาเลเซียมากขึ้น หลังจากสองปีผ่านไป มีคนในหมู่บ้านประมาณ 20 คนไปท้างาน ประเทศมาเลเซีย โดยมีพาสปอร์ตและไปท้างานเป็นลูกเรืออวนด้าแต่เพียงอย่างเดียว ในช่วงที่ไปประเทศ มาเลเซียก็ไม่มีปัญหากับทางราชการมาเลเซีย แต่จะมีปัญหาเรื่องส่วนแบ่งจากการออกเรืออวนด้าเพราะ มักจะถูกโกงเสมอ หลังจากไป – กลับอยู่ประมาณ 4-5 ปี เขาตัดสินใจว่าจะไม่ไปประเทศมาเลเซียอีก เพราะช่วงที่ไปตอนแรกเป็นช่วงที่เศรษฐกิจประเทศมาเลเซียยังไม่เฟื่องฟู เขาก็ยังหาเงินเก็บไม่ได้ ต่อมา เมื่อเศรษฐกิจประเทศมาเลเซียเฟื่องฟูเขากลับไปอีกก็ยังหาเงินไม่ได้ อยู่จนเงินหมดต้องไปหาเพื่อนคน ไทยที่อยู่ในประเทศมาเลเซียเพื่อยืมเงินกลับบ้าน จึงคิดว่าตัวเองไม่มีโชคในการไปอยู่ประเทศมาเลเซีย จะไม่ไปอีก คิดว่าอยู่กับลูกเมียดีกว่า นอกจากนี้การไปประเทศมาเลเซียมีค่าใช้จ่ายสูงไม่คุ้มกับการไป จึง ตัดสินใจว่าอยู่บ้านดีกว่า
ชาวบ้านวัยกลางคนอีกคนหนึ่งก็มีประสบการณ์ในการไปประเทศมาเลเซียเช่นเดียวกัน เขาเล่าว่า เหตุที่ไปก็เพราะช่วงนั้นมีปัญหาเรื่องปากคลองปิดเอาเรือออกทะเลไม่ได้ ซึ่งเป็นผลมาจากการสร้างเขื่อน เช่นเดียวกัน ในช่วงแรกเขาพยายามเปลี่ยนอาชีพจากท้าประมงมาเป็นช่างก่อสร้างบ้าน ได้ค่าจ้างเป็น รายวัน แต่ไม่ประสบความส้าเร็จเพราะไม่สามารถจะพัฒนาฝีมือในการช่างได้ ต่อมามีเพื่ อนชวนไป ท้างานที่ประเทศมาเลเซียก็เลยตามไปด้วย โดยการไปท้างานที่ประเทศมาเลเซียนั้นไม่เคยใช้พาสปอร์ต แต่ไม่เคยถูกจับกุม เคยถูกต้ารวจมาเลเซียจับได้ครั้งหนึ่งและถูกปล่อยตัวไปเพ ราะพูดจากันได้
ประสบการณ์ส่วนตัวของเขาในการท้างานที่ประเทศมาเลเซียนั้น ไม่เคยถูกโกงค่าแรง งานที่ท้าก็คือไป เป็นลูกเรือตกเบ็ดที่รัฐกลันตัน ตกปลาหมึกและปลาโดยบนเรือจะมีลูกเรือ 4-5 คนเท่านั้น การจ่ายค่าแรงก็ จะเป็นการแบ่งกับเจ้าของเรือและเรือคนอื่น โดยเฉลี่ยจะมีรายได้เดือนละประมาณ 5,000-8,000 บาท ซึ่ง ท้าให้เขามีเงินเก็บพอสมควร
เมื่อไปท้างานประเทศมาเลเซีย แวะกลับมาบ้านในบางช่วงเขาก็ยังคงออกทะเลอยู่ ชีวิตที่มีความ ผูกพันต่ออาชีพทะเลในชุมชนตันหยงเปาว์ยังคงไม่เปลี่ยนแปลง เพราะ “… ตอนไปประเทศมาเลเซียก็ ออกทะเลกลับมาบ้านก็ยังออกทะเลได้ไม่ลืม … ” แต่หากว่าคนที่ไปประเทศมาเลเซียแล้วไม่ท้าอาชีพ ประมงไปท้าอาชีพค้าขาย ส่วนใหญ่จะไม่กลับมาท้าอาชีพประมง หลังจากที่ท้างานในประเทศมาเลเซีย ไป- กลับ ประมาณ 12 ปี เขาก็กลับมาอยู่บ้าน อยู่เพื่อรักษาแม่ที่ป่วย จนแม่เสียชีวิตก็ไม่ได้กลับไป ประเทศมาเลเซียอีก และเริ่มต้นออกทะเลอีกครั้งโดยออกอวนกุ้ง แต่สิ่งที่เขาพบจากการออกทะเลครั้งหลัง นี้เปลี่ยนไปมาก ทรัพยากรน้อยลง เพราะมีเรืออวนรุน อวนลากมาก “… ออกทะเล 1 ครั้ง จะได้กุ้งเพียง แค่พอใช้จ่ายในครัวเรือน แต่ไม่พอส้าหรับการปลดหนี้จากเถ้าแก่” อย่างไรก็ดี เมื่อเปรียบเทียบระหว่าง การท้างานในประเทศมาเลเซียกับการออกทะเลในหมู่บ้าน ความรู้สึกที่ผูกพันต่อชุมชนท้าให้เขารู้สึกว่า การอยู่ท้างานที่บ้านดีกว่า เพราะการไปท้างานเป็นลูกเรือที่กลันตัน ก็จับสัตว์น้้าไม่ได้เหมือนกัน แต่อยู่ที่ บ้านก็ยังพอมีรายได้บ้างและรายจ่ายไม่สูงนัก
ประสบการณ์การไปท้างานในประเทศมาเลเซียของชาวบ้าน แสดงให้เห็นถึงความพยายาม ดิ้นรนเพื่อความอยู่รอดในเมื่อทรัพยากรธรรมชาติถูกคุกคามจากปัจจัยภายนอกท้าให้เสื่อมโทรม การหา กินฝืดเคือง แต่การปรับตัวของชาวบ้าน ยังต้องอิงฐานทรัพยากรในชุมชนอยู่ ด้วยการเดินทางกลับไป กลับมาระหว่างชุมชนกับแหล่งงานในประเทศมาเลเซีย เรื่องของรายได้ไม่พอต่อการยังชีพและเลี้ยงดู ครอบครัวอาจจะเป็นส่วนหนึ่งที่เป็นแรงจูงใจในการออกไปหางานท้าในโลกภายนอก แต่รายได้อาจจะ มิใช่ปัจจัยเดียวที่อธิบายความต้องการของชาวบ้าน ชุมชนยังคงมีความหมายต่อพวกเขาในแง่วิถีชีวิตและ กระบวนการทางวัฒนธรรมที่หล่อหลอมชาวบ้านให้อยู่รอดได้ ในระหว่างการต่อสู้เพื่อความอยู่รอด และ ความจ้าเป็นในทางเศรษฐกิจ ชาวบ้านก็แสวงหาสิ่งเหล่านี้ด้วย นี่เป็นเหตุที่ท้าให้พวกเขาต้องกลับมาที่ ชุมชน “… ท้างานที่บ้านดีกว่า…” “… ประเด็นที่ชี้ให้เห็นในที่นี้ก็คือรากเหง้าของปัญหาที่แท้จริงของ ปัญหาในชุมชนนั้นมิใช่อยู่ที่ชาวบ้านไม่มีรายได้ที่เพียงพอ หากอยู่ตรงที่ชาวบ้านไม่มีอ้านาจเพียงพอที่จะ ควบคุมระบบการหารายได้ และเลือกรูปแบบการพัฒนาได้ด้วยตนเองมากกว่า (อานันท์ กาญจนพันธุ์ 2538, 23) ชาวบ้านและชุมชนก้าลังแสวงหาโอกาสและอ้านาจที่จะควบคุมระบบการแสวงหารายได้ ในทางเศรษฐกิจ ระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ให้ประโยชน์อย่างพอเพียงส้าหรับผลประโยชน์ ของพวกเขา และพวกเขาต้องการเลือกรูปแบบการพัฒนาทรัพยากรเหล่านี้ได้ด้วยตนเอง มิใช่การถูก ก้าหนดและถูกคุกคามจากภายนอกแต่เพียงอย่างเดียว”
2.5.2 ปัญหาทางด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
⮚ ปัญหาเครื่องมือประมงที่ท˚าลายทรัพยากร ประเภท อวนรุนเเละอวนลาก ในอดีตหมู่บ้าน ตันหยงเปาว์เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน มีการท้าอวนกันเอง โดยใช้ด้ายดิบ และใช้เปลือกไม้มาย้อมอวนท้าให้อวนมีความทนทาน สามารถใช้งานได้นานหลายปี ชาวบ้านสามารถประกอบอาชีพได้โดยการพึ่งพิงฐานทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลักต่อมาเมื่อมีอวนรุน อวนลากเข้ามาท้าการประมงในพื้นที่บริเวณหน้าหมู่บ้านตันหยงเปาว์ท้าให้ชาวบ้านได้รับความเดือดร้อน จาการท้าลายทรัพยากรสัตว์น้้าและท้าลายเครื่องมือการท้าประมงของชาวบ้าน ชาวบ้านมีความพยายามที่ จะแก้ปัญหาด้วยการออกไปต่อสู้กับเครื่องมือประเภทอวนรุนและอวนลาก เเต่ก็ไม่ได้ผล เพราะมีก้าลัง น้อย เเละเจ้าของเรืออวนรุนส่วนใหญ่เป็นผู้มีอิทธิพลในพื้นที่ ชาวบ้านจึงรวมตัวกันโดยมีการพูดคุยกัน ตามร้านน้้าชา เพื่อพูดคุยถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และได้มีการยื่นหนังสือถึงนายอ้าเภอเกี่ยวกับปัญหาที่ ชาวประมงพื้นบ้านประสบ แต่ทางอ้าเภอกลับไม่เข้าใจว่าเรือประมงพื้นบ้านเป็นอย่างไร เข้าใจว่าเป็น เรือประมงพาณิชย์หลังจากนั้นชาวบ้านก็มีการรวมตัวกันเป็นชมรมชาวประมงพื้นบ้านสามอ้าเภอ คือ อ้าเภอหนองจิก อ้าเภอปะนาเระ เเละอ้าเภอยะหริ่ง และหลังจากนั้นชาวบ้านก็มีการเก็บข้อมูลพื้นฐานของ ชาวประมงพื้นบ้าน เพื่อท้าความเข้าใจกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เข้าใจว่าชาวประมงพื้นบ้านคือใครและ ก้าลังประสบปัญหาอะไรหลังจากนั้นชาวประมงพื้นบ้านก็มีการจัดกิจกรรมต่าง ๆ และประสานงานกับ หน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ โดยกิจกรรมแรกเริ่มที่ได้ด้าเนินการ คือ การจัดท้าปะการังเทียมแบบพื้นบ้าน เเต่ทางนายอ้าเภอหนองจิกในสมัยนั้นไม่เห็นด้วยเพราะเข้าใจว่าเป็นการที้งขยะในทะเลเเต่ต่อมาได้มีการ ติดต่อเเละเชิญผู้ว่าราชการจังหวัดมาเป็นประธานในการจัดท้าซั้งปะการังเทียมแบบพื้นบ้าน หลังจาก ออกไปวางซั้งได้ไม่นาน ซั้ง ปะการังเทียมเเบบพื้นบ้านที่ไปวางร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานีก็ถูก อวนลากท้าลายจนหมด
จากผลที่เกิดขึ้นท้าให้ชาวบ้านเริ่มมีการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสัตว์น้้า รวมทั้งรายได้ เเละค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจาการท้าการประมงเเละสรุปข้อมูลเสนอต่อผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี ซึ่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานีก็เข้าใจเเละได้มีโครงการจัดท้าปะการังเทียมแบบพื้นบ้านรวมกับชาวบ้าน แต่ เมื่อถึงฤดูมรสุมสัตว์น้้าเริ่มมีมากขึ้น อวนรุนก็เข้ามาอีก ชาวบ้านก็ได้เข้าพบผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานีอีก ครั้ง และเสนอว่าการท้าซั้งปะการังเทียมอย่างเดียวไม่สามารถแก้ปัญหานี้ได้ จะต้องมีมาตรการการ ลาดตระเวนและตรวจจับด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานีเห็นด้วยและได้ส่งเจ้าหน้าที่เข้ามาในหมู่บ้าน เพื่อร่วมกันตรวจจับร่วมกับชาวบ้าน ซึ่งตอนนั้นเรืออวนรุนก็ลดน้อยลง แต่ต่อมาการออกตรวจจับน้อยลง ท้าให้เรืออวนรุนสามารถออกท้าการประมงได้ดังเดิม หลังจากนั้นทางชมรมชาวประมงพื้นบ้านจังหวัด ปัตตานีได้พยายามผลักดันให้มีการยกเลิกการท้าการประมงอวนรุนในจังหวัดปัตตานีโดยการท้าความ เข้าใจและบอกเล่าเรื่องราวให้บุคคลภายนอกได้รับรู้เพื่อเป็นการหาเพื่อน และได้มีการประกาศกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เรื่องห้ามใช้เครื่องมือออวนรุนประกอบกับเรือยนต์ท้าการประมงในท้องที่จังหวัด ปัตตานี ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์2541 ซึ่งประกาศ ฉบับนี้ไม่มีเเผนที่เเนบท้ายประกาศ ส่งผลให้การบังคับใช้
กฎหมายไม่สามารถบังคับใช้ได้อย่างจริงจัง ประกอบกับทางผู้ประกอบการอวนรุนได้มีการขอผ่อนผัน การบังคับใช้กฎหมายไปอีก 2 ปี ทางชาวประมงพื้นบ้านก็ยอมรับเงื่อนไขนั้น เพราะคิดว่าหลังจากที่มีการ ผ่อนผันไปแล้ว 2 ปี เรืออวนรุนคงจะไม่มีในพื้นที่จังหวัดปัตตานี เเต่เมื่อเวลาผ่านไป 2 ปี ชาวประมง พื้นบ้านก็ได้มีการทวงถามสัญญากับทางจังหวัดปัตตานี แต่ก็ไม่ได้ค้าตอบที่ชัดเจน จากเหตุการณ์ครั้งนั้น น้าไปสู่การชุมนุมอย่างสงบของชาวประมงพื้นบ้านจังหวัดปัตตานีที่หน้าศาลากลางจังหวัดปัตตานี โดย การชุมนุมในครั้งนี้ได้มีรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรเเละสหกรณ์ ลงมาเจรจาและท้าบันทึก ข้อตกลงร่วมกันระหว่างชาวประมงพื้นบ้านจังหวัดปัตตานี จากข้อตกลงที่ได้ท้าร่วมกันก็ไม่สามารถแก้ไข ปัญหาได้ เรืออวนรุนก็ยังลักลอบท้าการประมงอยู่ การลาดตระเวนเฝ้าระวังก็ไม่ได้ท้าอย่างต่อเนื่อง หลังจากนั้นชาวประมงพื้นบ้านจังหวัดปัตตานีได้มีการผลักดันออย่างต่อเนื่องและได้มีการประสานงาน กับหน่วยงานภาครัฐ ภาคประชาสังคมต่าง ๆ เพื่อน้าไปสู่การบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง และเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2546 ทางกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ออกประกาศกระทรวง เรื่อง ห้ามมิให้ใช้เครื่องมือ อวนรุนประกอบกับเรือยนต์ในท้องที่จังหวัดปัตตานี ซึ่งประกาศฉบับดังกล่าวได้มีแผนที่แนบท้าย ประกาศอย่างชัดเจน ท้าให้มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังส่งผลท้าให้เรืออวนรุนลดจ้านวนลง จาก การใช้มาตรการการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากร รวมทั้งการออกลาดตระเวนและเฝ้าระวังชายฝั่งส่งผลให้ ทรัพยากรสัตว์น้้าเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
⮚ ปัญหาการกัดเซาะพื้นที่ชายฝั่ง บ้านตันหยงเปาว์
หมู่บ้านตันหยงเปาว์เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาเรื่องการกัดเซาะชายฝั่งทะเลเกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง ประมาณ 5 ปีที่ผ่านมา เเละทวีความรุนแรนงขึ้นเรื่อย ๆ โดยแต่ละปีชายหาดจะถูกกัดเซาะไปประมาณ 10 -15 เมตร โดยสาเหตุของการกัดเซาะชายฝั่งเกิดจากการสร้างเขื่อนกั้นทราย เพื่อแก้ไขปัญหาปากคลอง ปิดส่งผลให้เกิดการกักทรายเเละท้าให้พื้นที่ด้านหลังเขื่อนถูกกัดเซาะอย่างรุนเเรงรวมทั้งคลื่นลมทะเลและ กระแสน้้าที่มีความรุนเเรงยิ่งขึ้นซึ่งปัญหาดังกล่าวยังอยู่ในระหว่างการปรึกษาหารือร่วมกับหน่วยงาน ภาครัฐเพื่อน้าไปสู่การเเก้ไขปัญหาต่อไป
- สถานการณ์ปัจจุบัน
ในปัจจุบันชายฝั่งทะเลของประเทศไทยประสบกับปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลในระดับรุนแรง ส่งผลให้เกิดความสูญเสียทรัพย์สินของประชาชนและของทางราชการ ท้าให้เสียทัศนียภาพ ซึ่งส่งผล กระทบต่อธุรกิจการท่องเที่ยว อีกทั้งยังท้าให้เกิดความเสียหายด้านทรัพยากรชายฝั่งอีกด้วย
การกัดเซาะชายฝั่งทะเลในหลายพื้นที่มีแนวโน้มจะมีความถี่มากขึ้นและยิ่งทวีความรุนแรงมาก ยิ่งขึ้นด้วย ดังนั้นจึงจ้าเป็นที่จะต้องมีการวางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างถูกวิธี
- สภาพชายฝั่งและปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งจังหวัดปัตตานี
ชายฝั่งทะเลจังหวัดปัตตานี มีความยาวรวมประมาณ 138.69 กิโลเมตร แบ่งออกเป็นหาดทราย
114.89 กิโลเมตร หาดเลน 21.44 กิโลเมตร และปากแม่น้้าประมาณ 2.36 กิโลเมตร ประสบปัญหาการกัด เซาะชายฝั่งดังนี้
• การกัดเซาะชายฝั่งรุนแรง (มากกว่า 5 เมตรต่อปี ) ประมาณ 8.66 กิโลเมตร (ร้อยละ 6.27 ของความยาวชายฝั่งปัตตานี ) พบมากที่สุดในต้าบลปะเสยะวอ ประมาณ 5.63 กิโลเมตร นอกจากนั้นพบที่ ต้าบลท่าก้าช้า ประมาณ 1.37 กิโลเมตรและต้าบลดอนทราย ประมาณ 1.66 กิโลเมตร
• การกัดเซาะชายฝั่งปานกลาง (1-5 เมตร/ ปี ) ประมาณ 31.59 กิโลเมตร( ร้อยละ 22.78 ของ ความยาวชายฝั่งปัตตานี) พบในต้าบลบ้านน้้าบ่อ ต้าบลปะนาเระ อ้าเภอปะนาเระ รองลงมาที่ต้าบลตะโละ กาโปร์ ต้าบลแหลมโพธิ์ ต้าบลบางเขา อ้าเภอหนองจิก ตามล้าดับ ส่วนมากเป็นการเปลี่ยนแปลงชายฝั่ง ตามสภาพธรรมชาติ ยกเว้นในบางพื้นที่ที่มีโครงสร้างชายฝั่งส้าหรับพื้นที่ที่มีการกัดเซาะคือ
- บ้านตันหยงเปาว์ ต˚าบลท่าก˚าช˚า อ˚าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
แนวชายฝั่งอยู่ในแนวตะวันออก – ตะวันตก พบการกัดเซาะบริเวณพื้นที่ด้านตะวันตกของ เขื่อนกันทรายและคลื่นปากคลองตันหยงเปาว์ รุนแรง อัตราการกัดเซาะมากกว่า 10 เมตรต่อปี
ภาพที่ 1 การสูญเสียพื้นที่ชายฝั่งบริเวณด้านตะวันตกของเขื่อนกันทรายและคลื่นปากคลอง ตันหยงเปาว์
เขื่อนคอนกรีตที่ อบต.ท่าก้าช้าสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งบ้านตันหยงเปาว์ ต้าบลท่าก้าช้า อ้าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี การกัดเซาะชายฝั่งมีต่อเนื่ องรุนแรงทุกปี และเข้าถึงเขตโรงเรียน บ้านตันหยงเปาว์ การแก้ไข อบต.ท่าก้าช้า ได้จัดงบประมาณมาสร้างเขื่อนยาว 188 เมตร ปัจจุบันแตก เสียหายแล้ว
ภาพที่ 2 สภาพความเสียหายของเขื่อนคอนกรีตหลังช่วงมรสุม
นอกจากความเสียหายของเขื่อนคอนกรีตที่ อบต.ท่าก้าช้า ได้มาจัดสร้างแล้ว พื้นที่ถัดจากเขื่อนจะพบการ กัดเซาะที่รุนแรงมากยิ่งขึ้น
ภาพที่ 3 สภาพการกัดเซาะชายฝั่งด้านตะวันตกของเขื่อนคอนกรีตหลังช่วงมรสุม
- บ้านตะโล๊ะสะมิแล ต˚าบลแหลมโพธิ์ อ˚าเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
เป็นเส้นทางไปแหลมตาชี พบการกัดเซาะชายฝั่งรุนแรง อัตราประมาณ 5 เมตร ท้าลายแนวสันทราย ธรรมชาติ และส่งผลกระทบต่อถนนเส้นทางไปแหลมตาชี
ภาพที่ 4 สภาพการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณสันทรายริมถนนทางไปแหลมตาชี
- ชายหาดปะนาเระ ต˚าบลปะนาเระ อ˚าเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
สาเหตุของการกัดเซาะเกิดจากคลื่นลมที่เปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล ประกอบกับชายฝั่งเป็นหาดทรายที่ยัง ไม่คงสภาพ การเปลี่ยนแปลงจึงเกิดขึ้นได้ง่าย
ภาพที่ 5 สภาพความเสียหายของถนนเลียบทะเลหลังช่วงมรสุม
- สาเหตุของปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลจังหวัดปัตตานี
ลักษณะเช่นเดียวกันกับในเขตชายฝั่งอ่าวไทยตอนล่าง ประกอบด้วย 3 สาเหตุหลัก ได้แก่
1. การพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเล เช่น การก่อสร้างโครงสร้างชายฝั่งทะเลขนาดใหญ่ ตามปากแม่น้้า คลอง ประเภทเขื่อนกันทรายและคลื่นตามปากแม่น้้าคลอง ( Jetty) สามารถพบได้ทุกปากแม่น้้า คลอง ตลอดแนวชายฝั่งของจังหวัดโดยมีประมาณ 7 แห่ง
2. ชายฝั่งขาดเสถียรภาพเพราะสูญเสียสมดุล ( Dynamic Equifbrium) ของตะกอนทรายที่เคลื่อนที่ บริเวณชายฝั่ง เมื่อมีการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งโดยการก่อสร้างโครงสร้างบริเวณชายฝั่ งทะเลเพิ่มมากขึ้น โครงสร้างดังกล่าวจะไปกีดขวางการเคลื่อนตัวของตะกอนทรายชายฝั่งทะเลเกิดภาวะขาดสมดุล
3. สภาพคลื่นลมแรงในฤดูมรสุม พายุ และสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงทิศทาง ขนาด ความถี่ของ คลื่นลมและกระแสน้้า ซึ่งมีผลช่วยเสริมแรงและเร่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเลจากสาเหตุที่ กล่าวมาข้างต้นรุนแรงและเร็วมากขึ้น
ตารางที่ 1 ตารางแสดงพื้นที่การกัดเซาะชายฝั่งในจังหวัดปัตตานี
ที่ | ต˚าบล | อ˚าเภอ | พื้นที่กัดเซาะ (กิโลเมตร) | การแก้ไข | หาดทราย | หาดเลน | ปากแม่น้˚า | ระยะทาง รวม | ||
รุนแรง | ปาน กลาง | รวม | ||||||||
1 | ดอนทราย | ไม้แก่น | 1.66 | - | 1.66 | เขื่อนกั้นคลื่น / รอดักทราย | 10.34 | - | 0.26 | 10.60 |
2. | ไม้แก่น | ไม้แก่น | - | - | - | - | 1.17 | - | - | 1.17 |
3. | ตะลุบัน | สายบุรี | - | - | - | - | 6.44 | - | 0.15 | 6.59 |
4. | ปะเสยะวอ | สายบุรี | 5.63 | - | 5.63 | เขื่อนกั้นคลื่น | 5.63 | - | 0.17 | 5.80 |
5. | บางเก่า | สายบุรี | - | 1.05 | 1.05 | - | 3.35 | - | - | 3.35 |
6. | บ้านน้้าบ่อ | ปะนาเระ | - | 6.80 | 6.80 | - | 11.84 | - | 0.10 | 11.94 |
7. | บ้านกลาง | ปะนาเระ | - | 1.53 | 1.53 | เขื่อนกั้นคลื่น | 3.63 | - | 0.07 | 3.70 |
8. | ปะนาเระ | ปะนาเระ | - | 6.56 | 6.56 | เขื่อนกั้นคลื่น | 6.56 | - | 0.06 | 6.62 |
9. | ตะโละกาโปร์ | ยะหริ่ง | - | 5.16 | 5.16 | - | 12.05 | - | - | 12.05 |
10 | แหลมโพธิ์ | ยะหริ่ง | - | 2.25 | 2.25 | - | 35.83 | 3.37 | 39.20 |
ตารางแสดงพื้นที่การกัดเซาะชายฝั่งในจังหวัดปัตตานี
ที่ | ต˚าบล | อ˚าเภอ | พื้นที่กัดเซาะ (กิโลเมตร) | การแก้ไข | หาดทราย | หาดเลน | ปากแม่น้˚า | ระยะทาง รวม | ||
รุนแรง | ปาน กลาง | รวม | ||||||||
11 | บางปู | ยะหริ่ง | - | - | - | - | - | 3.82 | 0.63 | 4.45 |
12 | บาราโหม | เมือง | - | - | - | - | - | 1.14 | - | 1.14 |
13 | ตันหยงลูโล๊ะ | เมือง | - | - | - | - | - | 2.97 | - | 2.97 |
14 | บานา | เมือง | - | - | - | - | - | 7.04 | 0.28 | 7.33 |
15 | รูสะมิแล | เมือง | - | 1.75 | 1.75 | รอดักทราย | 3.95 | 3.10 | 0.43 | 7.48 |
16 | บางตาวา | หนองจิก | - | 3.37 | 3.37 | รอดักทราย/ terapod | 5.08 | - | 0.05 | 5.14 |
17 | บางเขา | หนองจิก | - | 3.11 | 3.11 | เขื่อนหินทิ้ง | 5.25 | - | 0.03 | 5.28 |
18 | ท่าก้าช้า | หนองจิก | 1.37 | - | 1.37 | เขื่อนหินทิ้ง / แนวเสาปูน ชะลอคลื่น | 3.77 | - | 0.12 | 3.89 |
18 ต˚าบล | 6 อ˚าเภอ | 8.66 | 31.59 | 40.25 | - | 114.89 | 21.44 | 2.36 | 138.69 |
ส่วนที่ 3
แผนงานและความคืบหน้าในการด˚าเนินงาน
3.1 แผนการด˚าเนินงานของโครงการ
ตลอดระยะเวลาด้าเนินโครงการมีทั้งสิ้น 8 กิจกรรมหลักด้วยกันกล่าวคือ 1) การเตรียมความพร้อม ของทีมวิจัย บทบาทหน้าที่ และการบริหารจัดการโครงการ 2) การศึกษาดูงานและการเสริมความรู้ความเข้าใจ เรื่องการวิจัย 3) การจัดเวทีชุมชน 4) การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการส้ารวจข้อมูลการทับถมของตะกอนทราย ที่เกิดขึ้นในพื้นที่โครงการที่มีการปักเสาปูนโดยใช้เครื่องมือแบบง่ายที่ชุมชนสร้างขึ้นเอง 5)การศึกษาข้อมูลการ ทับถมของตะกอนทรายที่เกิดขึ้นในพื้นที่โครงการที่มีการปักเสาปูนโดยใช้เครื่องมือแบบง่ายที่ชุมชนสร้างขึ้น เอง 6)การศึกษาการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม ซึ่งครอบคลุมถึงการมีส่วนร่วมและความพึงพอใจของ ประชาชนในพื้นที่ศึกษา บ้านตันหยงเปาว์ ต้าบลท่าก้าช้า อ้าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี 7)การรวบรวมและ วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการประชุมกลุ่มย่อย และ 8) การจัดเวทีเสนอผลการศึกษาและอภิปรายผล พร้อมรับฟัง ข้อเสนอแนะ
จะเห็นได้ว่าแผนการด้าเนินกิจกรรมของโครงการวิจัย จะประกอบไปด้วย 2 ส่วนด้วยกันคือ ส่วนของ กระบวนการในการเตรียมความพร้อมให้กับทีมวิจัย และส่วนของการปฏิบัติการที่เป็นการศึกษาข้อมูลจริงจาก พื้นที่
1) ส่วนของการเตรียมความพร้อมให้กับทีมวิจัย ประกอบด้วยการเตรียมความพร้อมของทีมวิจัย
บทบาทหน้าที่ และการบริหารจัดการโครงการ กิจกรรมนี้เป็นการเสริมความเข้าใจให้แก่ผู้วิจัยโดยมีเป้าหมาย ส้าคัญอยู่ที่การสามารถท้างานวิจัยแบบชาวบ้านได้
นอกจากนี้ยังมีการจัดเวทีชุมชนเพื่อท้าความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่เป้าหมายของโครงการโดย ในช่วงที่ผ่านมาได้มีการจัดกิจกรรมนี้ไปจ้านวน 2 ครั้งด้วยกันคือ ครั้งที่ 1 เพื่อชี้แจงกับคนในชุมชนถึง รายละเอียดที่โครงการจะด้าเนินการทั้งหมด และขอให้ชาวบ้านช่วยกันให้ข้อมูลอย่างเต็มที่ รวมทั้งร่วม สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ที่ทีมวิจัยจะขอความร่วมมือต่อไปเป็นระยะ และครั้งที่ 2 จัดขึ้นหลังจากที่ทีมวิจัยศึกษา ข้อมูลได้ระดับหนึ่งแล้ว ซึ่งอยู่ในช่วงประมาณ 3- 4 เดือนนับแต่เริ่มโครงการ เพื่อน้าความรู้ที่ได้เสนอต่อที่ ประชุม และให้ที่ประชุมวิพากษ์วิจารณ์และให้ข้อมูลเพิ่มเติม
ในด้านกิจกรรมศึกษาดูงานเพื่อสร้างการเรียนรู้ให้กับคณะวิจัยได้เห็นและรับทราบข้อเท็จจริงและ ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการท้าวิจัยเพื่อท้องถิ่น และกระบวนการในการจัดการแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ในต่างพื้นที่ โดยเน้นการพูดคุยเชิงลึกระหว่างทีมวิจัยกับวิทยากรที่ไปศึกษาดูงาน และน้าความคิดต่างๆ มา วางแผนต่อถึงงานของตนเอง และเกิดก้าลังใจที่จะท้างานของตนเองให้ได้ผลอย่างเต็มที่
นอกจากนี้เพื่อให้ทางโครงการวิจัยมีความพร้อมส้าหรับการศึกษาข้อมูลทางทีมวิจัยได้มีการจัดเตรียม วัสดุอุปกรณ์ในการส้ารวจข้อมูลการทับถมของตะกอนทรายที่เกิดขึ้นในพื้นที่โครงการที่มีการปักเสาปูนโดยใช้ เครื่องมือแบบง่ายที่ชุมชนสร้างขึ้นเอง
2) ส่วนของการปฏิบัติการที่เป็นการศึกษาข้อมูลจริงจากพื้นที่ ทางทีมวิจัยได้มีการด้าเนินการใน 2 ลักษณะด้วยกันคือการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของชายฝั่งในพื้นที่ศึกษาครอบคลุมพื้นที่ 1 ตาราง กิโลเมตร และการศึกษาการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม ซึ่งครอบคลุมถึงการมีส่วนร่วมและความพึง พอใจของประชาชนในพื้นที่ศึกษา บ้านตันหยงเปาว์ ต˚าบลท่าก˚าช˚า อ˚าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
• การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของชายฝั่งทะเล
การศึกษาในลักษณะนี้เป็นการศึกษาการทับถมของตะกอนทรายที่เกิดขึ้นในพื้นที่โครงการที่มี การปักเสาปูนโดยใช้เครื่องมือแบบง่ายที่ชุมชนสร้างขึ้นเองภายใต้ค้าแนะน้าของนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญมีการ สังเกตและบันทึกการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของชายฝั่ง ลักษณะของชายฝั่ง ความลึกของน้้าทะเล การทับถม ของตะกอนทราย ชนิด สัตว์น้้าและกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ชายฝั่งครอบคลุมพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร ตั้งแต่ปากคลองตันหยงเปาว์ไปทางตะวันตก 2.0 กิโลเมตรและห่างจากฝั่ง 500 เมตรโดยเก็บข้อมูล 2 สัปดาห์ต่อ ครั้ง เป็นระยะเวลาอย่างต่อเนื่อง 10 เดือน เพื่อจะได้เห็นวงรอบของการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพในห้วงเวลา ต่างๆทั้งก่อนและหลังฤดูมรสุม
• การศึกษาการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม ซึ่งครอบคลุมถึงการมีส่วนร่วมและความพึง พอใจของประชาชนในพื้นที่ศึกษา
การศึกษาในลักษณะนี้ จะด้าเนินการผ่านรูปแบบใน 2 ลักษณะด้วยกันคือ การเก็บ แบบสอบถามและการประชุมกลุ่มย่อย โดยการประชุมกลุ่มย่อยนี้ จะเป็นรูปแบบในการศึกษาการเปลี่ยนแปลง ด้านเศรษฐกิจ สังคม ซึ่งครอบคลุมถึงการมีส่วนร่วมและความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่ศึกษา โดยกลุ่ม ลักษณะดังกล่าวนี้จะมีผู้ให้ข้อมูลหลักที่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียประมาณ 10-20 คนต่อครั้งและมีการจัดประชุม กลุ่มย่อยไม่น้อยกว่า 10 ครั้งตลอดระยะเวลาโครงการ เพื่อให้แต่ละคนได้บอกเล่าเรื่องที่ตนรู้อย่างเต็มที่ แต่ทั้งนี้ ก็จะเปิดโอกาสให้คนกลุ่มอื่นในชุมชนที่สนใจและอยากรู้เข้าร่วมรับฟังได้ด้วย ซึ่งถือว่าเป็นกระบวนการหนึ่งที่ จะช่วยถ่ายทอดเรื่องราวหรือสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กว้างขึ้นอีกด้วย
นอกจากการศึกษาข้อมูลจริงจากพื้นที่ ใน 2 ประเด็นดังกล่าวข้างต้นแล้ว ทางโครงการ ยังมีการ ด้าเนินการให้ทีมวิจัยได้ไปสัมภาษณ์ผู้รู้ /ผู้อาวุโส /ปราชญ์ชาวบ้าน ในประเด็นที่เกี่ยวข้องทั้งในเรื่องหลักคิด วิธีการ และมุมมองต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล เพื่อเป็นการเจาะลึกในบางประเด็น ที่น่าสนใจต่อเนื่องจากการประชุมกลุ่มย่อย รวมทั้งมีการศึกษาข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูล พื้นฐานที่จ้าเป็นต่อการขับเคลื่อนงาน ทีมวิจัยจะมีวิธีการต่างๆเช่นการศึกษาดูงาน การพูดคุยเชิงลึกกับวิทยากร ผู้เชี่ยวชาญ การส้ารวจข้อเท็จจริงจากในพื้นที่ที่ศึกษา รวมทั้งการส้ารวจและทบทวนเอกสาร/งานวิจัยต่างๆที่
เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลเพื่อจะได้มีข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงจากพื้นที่ต่าง ๆ รวมทั้ง ประสบการณ์และผลที่เกิดขึ้นจากการเลือกใช้วิธีการในการแก้ปัญหาที่แตกต่างกันด้วย
3.2 ความคืบหน้าในการด˚าเนินงานโครงการ
ตลอดช่วงระยะเวลาการด้าเนินโครงการที่ผ่านมา ทางทีมวิจัยได้ร่วมกันด้าเนินกิจกรรมตามแผนของ โครงการวิจัยดังนี้
3.2.1 การเตรียมความพร้อมให้กับทีมวิจัย ประกอบด้วยการประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมให้กับทีมวิจัย
จ้านวน 3 ครั้งด้วยกันคือ
ครั้งที่ 1- เป็นการประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมของทีมวิจัย บทบาทหน้าที่ และการบริหารจัดการ โครงการ รวมทั้งวางแผนการด้าเนินโครงการ
ครั้งที่ 2- เพื่อพัฒนาความเข้าใจและทักษะในการศึกษาข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่มย่อย การท้าแผนที่การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของชายฝั่ง การบันทึกข้อมูล การสังเกตแบบมี ส่วนร่วม เป็นต้น
ครั้งที่ 3 - เพื่อพัฒนาวิธีการเขียนรายงานผลการศึกษา โดยจะจัดขึ้นในช่วงที่ทีมงานวิจัยจะต้องเขียน รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
โดยการประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมนี้ ได้เป็นเวทีในการช่วยสร้างความพร้อมให้กับทีมนักวิจัย ชาวบ้านได้เป็นอย่างดี รวมทั้งได้มีการวางแผนในด้านการวางแผนการด้าเนินงานวิจัยโดยทีมนักวิจัยชาวบ้าน และในขณะเดียวกันก็มีการวางแผนด้านการใช้จ่ายงบประมาณโครงการวิจัย โดยในการด้าเนินโครงการวิจัยฯ ทางโครงการวิจัยได้ใช้วิธีการในการยืมเงินของทางสมาคมชาวประมงพื้นบ้านจังหวัดปัตตานีมาใช้ก่อนและ ภายหลังจากนั้นจึงน้าไปสู่การเคลียร์ค่าใช้จ่ายกับงบประมาณของทางโครงการวิจัย ทั้งนี้เนื่องจากโครงการวิจัยนี้ เป็นโครงการแรกของทางทีมอ่าวปัตตานี ทางทีมวิจัยจึงได้มีการหารือและต้องการให้ทางทีมวิจัยได้ใช้โอกาสนี้ ในการฝึกฝน และสร้างระบบในการบริหารจัดการงบประมาณโดยทีมวิจัยชาวบ้านเอง
3.2.2 การศึกษาดูงานและการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้อง ในส่วนของกิจกรรมนี้ทางทีมวิจัยได้มี การด้าเนินกิจกรรมทั้งในส่วนของการศึกษาดูงานและการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องเพื่อที่จะได้เป็น การศึกษาแนวทางของการแก้ไขปัญหาในหลายๆพื้นที่และน้าไปสู่การปรับใช้ในสิ่งที่เหมาะสมที่สุดกับพื้นที่ ตนเอง ซึ่งผลจากการศึกษามีรายละเอียดโดยสังเขปดังนี้
ข้อมูลของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เมื่อ มิถุนายน 2552 ระบุว่า ประเทศไทยตั้งอยู่ในภูมิภาคอินโด- แปซิฟิก มีลักษณะเป็นคาบสมุทร ( peninsula) ยื่น ออกไปในทะเล หรือเรียกตามภูมิศาสตร์ว่า “ คาบสมุทรมลายู ” ท้าให้มีแนวชายฝั่งทะเล 2 ด้าน ยาวรวม ประมาณ 2, 614 กิโลเมตร ประกอบด้วยชายฝั่งทะเลอ่าวไทย 1,160 กิโลเมตร และชายฝั่งทะเลอันดามัน 954
กิโลเมตร อาณาเขตทะเลประมาณ 219 ล้านไร่ เป็นพื้นที่ทะเลด้านอ่าวไทย 200 ล้านไร่ และด้านอันดามัน 19 ล้านไร่ จังหวัดที่มีชายฝั่งทะเลรวม 23 จังหวัด มีประชากรอยู่อาศัยบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลมากกว่า 12 ล้านคน
ข้อมูลด้านภูมิศาสตร์ของทะเลไทย
ประเทศไทยตั้งอยู่ในภูมิภาคอินโด -แปซิฟิก มี ลักษณะเป็นคาบสมุทร(Peninsula) ยื่นออกไปในทะเล หรือเรียกตามภูมิศาสตร์ว่า “คาบสมุทรมาลายู” แนวชายฝั่งทะเล 2 ด้าน ยาวประมาณ 3,199.03 กิโลเมตร แบ่งเป็น
หาดทราย 1625 กิโลเมตร หาดทรายปนเลน 148 กิโลเมตร
หาดหิน 320 กิโลเมตร หาดเลน 926 กิโลเมตร
ปากแม่น้้า 146 กิโลเมตร พื้นที่อื่นๆ 33 กิโลเมตร
- ชายฝั่งทะเลอ่าวไทย ยาวประมาณ 2,056.32 กม.
- ชายฝั่งทะเลอันดามัน ยาวประมาณ 1,142.71 กม. (รวมภูเก็ต)
ภาพที่ 6 ภาพแสดงชายฝั่งทะเลของไทย
ส่วนพื้นที่ในทะเลไทยมีประมาณ 218.75 ล้านไร่ แบ่งเป็น
- พื้นที่ทะเลด้านอ่าวไทย 200 ล้านไร่
- พื้นที่ทะเลด้านอันดามัน 18.75 ล้านไร่
จังหวัดที่มีอาณาเขตติดกับทะเลรวม 23 จังหวัด
ต้าบลติดชายฝั่งทะเล 352 ต้าบล (อ่าวไทยมี 253 ต้าบล แบ่งเป็นบนฝั่ง 238 ต้าบล เกาะ 15 ต้าบล ส่วนฝั่งอันดามันมีทั้งหมด 99 ต้าบล แบ่งเป็นบนฝั่ง 72 ต้าบล และเกาะ 27 ต้าบล )
เกาะประมาณ 936 เกาะ (อ่าวไทย 374 เกาะ อันดามัน 562 เกาะ)
ชายหาดส้าคัญประมาณ 300 แห่ง (อ่าวไทย 241 แห่ง อันดามัน 58 แห่ง)
ภาพที่ 7 การก่อรูปของชายฝั่งทะเลไทย (Coastal geomorphology)
• พ้นแหลมญวนเข้าชนชายฝั่งคาบสมุทรมาลาย
• เลี้ยวเบนเข้าสู่อ่าวไทยตอนบน
• ก่อเกิดกระแสน้้าไหลเลาะจากทิศใต้ขึ้นเหนือ
ภาพที่ 8 ลักษณะชายฝั่งทะเลอ่าวไทย VS อันดามัน
อิทธิพลของลงมรสุมประจ˚าปี
ตุลาคม – กุมภาพันธ์ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
มิถุนายน - สิงหาคม มรสุมตะวันตกเฉียงใต
ภาพที่ 9 ภาพแสดงอิทธิพลของลงมรสุมประจ˚าปี
กระบวนการของชายฝั่ง (Coastal Process)
🞐 ชายฝั่งเป็นบริเวณเขตน้้าตื้นที่ได้รับอิทธิพลจากคลื่นลมอย่างสม่้าเสมอ มีผลให้ตะกอนฟุ้งกระจายและ เคลื่อนไปมา
🞐 ชายฝั่งอยู่ในสมดุลแบบพลวัต (dynamic equilibrium) สมดุลบนความเคลื่อนไหว คือเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา
🞐 การพิจารณาเสถียรภาพของชายฝั่ง จะต้องมองในภาพรวม เป็นฤดูกาล ปี หรือรอบของการคืนสภาพ
🞐 การเปลี่ยนแปลงสภาพชายฝั่ง = การท้าลายสมดุล มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทิศทางของกระแสน้้า และการเคลื่อนที่ของตะกอน ชายฝั่งจึงต้องปรับตัวเข้าสมดุลใหม่ อันน้าไปสู่การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งที่ ไม่พึงประสงค์ หรือ การกัดเซาะชายฝั่ง
การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งตามธรรมชาติ (Coastal zone process)
เดิ่ง สร้างหาด .. พายุ ท˚าลาย
ภาพที่ 10 ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งตามธรรมชาติ
• เมื่อคลื่นเคลื่อนที่เข้าหาฝั่ง (มุมเอียง)
จะท้าให้เกิดกระแสน้้าไหลไปตามแนวชายฝั่ง “กระแสน้้าชายฝั่ง” ซึ่งจะน้าตะกอนไปด้วย
• หากกระแสน้้าถูกขัดขวาง ทรายที่มากับกระแสน้้าจะทับถมด้านเหนือน้้า ส่วนอีกด้านจะไม่มีทรายไป หล่อเลี้ยง ขาดทราย เกิดสภาวะขาดสมดุล “การกัดเซาะชายฝั่ง”
• คลื่นจะแปรเปลี่ยนทิศทางไปตามฤดูกาล ตะกอนก็จะเคลื่อนที่ด้วย เมื่อหักลบปริมาณตะกอนแล้วจะได้ ค่าสุทธิไปในทิศทางใดทางหนึ่ง ทั้งนี้ อาจมีตัวแปรอื่นๆ ร่วม เช่น พายุ
• การพิจารณาทิศทางการเคลื่อนที่ตะกอนสุทธิ อาจพิจารณาจากสิ่งบ่งชี้ตามธรรมชาติได้ เช่น จงอยสัน ทรายที่ปลายแหลม เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเล
หาดทุ่งวัวแล่น จ.ชุมพร
ชายฝั่งสะสมตัว
หาดบ่อแก้ว
จ.ประจวบคีรีขันธ์
ชายฝั่งที่มีการกัดเซาะ
- รุนแรง (Severe erosion) อัตราเฉลี่ย> 5 เมตรต่อปี
-
- ปานกลาง (Moderate erosion)
อัตราเฉลี่ย 1-5 เมตรต่อปี
ภาพที่ 11 ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่งทะเล
สาเหตุการพังทลายของชายฝั่ง (Causes of shore erosion)
1) กระบวนการเปลี่ยนแปลงชายฝั่งตามธรรมชาติในช่วงฤดูมรสุม/ช่วงเปลี่ยนฤดูภาวะเรือนกระจก (ระดับน้้าทะเลเพิ่มขึ้น?) สภาพภูมิอากาศที่แปรปรวน ท้าให้คลื่น ลม ฝน พายุ รุนแรง ทิศทาง ความถี่ รวมถึงภัยธรรมชาติ เช่น สึนามิ พายุไต้ฝุ่น
ภาพที่ 12 การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งตามธรรมชาต
2) การพัฒนาพื้นที่เมือง/ชายฝั่งทะเล การสูบน้้าใต้ดิน การทรุดตัวของแผ่นดินการรุกชายฝั่ง การถมทะเล การขุด ลอกสันดอน/ร่องน้้า เพื่อใช้พื้นที่ในการท่องเที่ยว การประกอบกิจการ และการอยู่อาศัย
ภาพที่ 13 การพัฒนาพื้นที่เมืองสาเหตุของการพลังทลายของชายฝั่ง
3) ชายฝั่งขาดปริมาณตะกอนหล่อเลี้ยง เพราะสิ่งก่อสร้างบริเวณต้นน้้า เช่น เขื่อน ฝาย ยับยั้งการเคลื่อนที่ของ ตะกอนลงสู่ทะเล (Damming river) รวมทั้ง การขุดดิน/น้าทรายชายฝั่งออกไปจากหาด
ภาพที่ 14 สิ่งก่อสร้างบริเวณต้นน้˚าสาเหตุของการพลังทลายของชายฝั่ง
4) การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ไม่เหมาะสม การขาดความรู้ในการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง (Lack of Coastal Management) การบุกรุกพื้นที่ชายฝั่ง/ป่าชายเลน/ป่าชายหาด/ สันทราย
ภาพที่ 15 การบุกรุกพื้นที่ชายฝั่งสาเหตุของการพลังทลายของชายฝั่ง
ภาพที่ 16 ภาพแสดงแนวชายฝั่งทะเล
แนวชายฝั่ง 5 พื้นที่
1. อ่าวไทยตะวันออก
ตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี ความยาวชายฝั่ง 570 กม.
กัดเซาะรุนแรง 20 กม. ปานกลาง 45 กม.
2. อ่าวไทยตอนบน
ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ กทม. สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
ความยาวชายฝั่ง 140 กม.
กัดเซาะรุนแรง 45 กม. ปานกลาง 38 กม.
3. อ่าวไทยตอนกลาง
เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี ความยาวชายฝั่ง 750 กม.
กัดเซาะรุนแรง 15 กม. ปานกลาง 105 กม.
4. อ่าวไทยตอนล่าง
นครศรีธรรมราช สงขลา ปัตตานี นราธิวาส ความยาวชายฝั่ง 600 กม.
กัดเซาะรุนแรง 100 กม. ปานกลาง 120 กม.
5. อันดามัน
ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง สตูล ความยาวชายฝั่ง 1,150 กม.
กัดเซาะรุนแรง 20 กม. ปานกลาง 90 กม.
ความรุนแรงของการกัดเซาะชายฝั่งทะเล
อัตราเฉลี่ย> 5 เมตรต่อปี (รุนแรง)ได้แก่ จังหวัดดังต่อไปนี้
จันทบุรี ระยอง สมุทรปราการ กทม. เพชรบุรี ชุมพร นครศรีธรรมราช ปัตตานี นราธิวาส กระบี่ ตรัง
อัตราเฉลี่ย 1-5 เมตรต่อปี (ปานกลาง) ได้แก่ จังหวัดดังต่อไปนี้
ตราด ระยอง สมุทรสาคร ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ระนอง พังงา ตรัง สตูล
ตารางที่ 2 ตารางแสดงรายละเอียดพื้นที่ชายฝั่งทะเลไทยที่ถูกกัดเซาะชายฝั่ง >5 ม.ต่อปี
ที่ | จังหวัด | ชายฝั่งด้าน | อัตรากัดเซาะรุนแรง (มากกว่า 5 เมตรต่อปี) | ||
ชื่อชายฝั่ง | อ˚าเภอ | ระยะกัดเซาะ (กม.) | |||
1 | จันทบุรี | อ่าวไทย | เกาะแมว-บ้านแหลมหญ้า | แหลมสิงห์ | 16.00 |
2 | ระยอง | อ่าวไทย | มาบตาพุด (บ้านหนองแฟบและ หาดตากวน) | เมือง | 4.70 |
3 | ฉะเชิงเทรา | อ่าวไทย | บ้านคลองเจริญไว-บ้านคลองสีลัง | บางปะกง | 9.00 |
4 | สมุทรปราการ | อ่าวไทย | ตะวันตกบ้านคลองสีลัง-บ้านบาง ส้าราญ | บ้านบ่อ-เมือง | 17.50 |
5 | สมุทรปราการ | อ่าวไทย | บ้านแหลมสิงห์-ปากคลองขุนราช พินิตใจ | เมือง | 12.50 |
6 | กรุงเทพฯ | อ่าวไทย | ปากคลองขุนราชพินิตใจ-บ้านท่า ตะโก | บางขุนเทียน | 5.50 |
7 | เพชรบุรี | อ่าวไทย | บ้านดอนมะขาม-บ้านท่าท้าเนียบ | บ้านแหลม | 5.00 |
8 | เพชรบุรี | อ่าวไทย | บ้านบางเกตุ | - | 1.50 |
9 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | บ้านหนองเก่า-บ้านหนองเสือ | ปราณบุรี | 1.00 |
10 | สุราษฎร์ธานี | อ่าวไทย | บ้านพอด-บ้านปากคลองคราม | ดอนสัก | 8.00 |
11 | นครศรีรรมราช | อ่าวไทย | บ้านเคียนด้า-บ้านบ่อนนท์ | ท่าศาลา | 8.00 |
12 | นครศรีรรมราช | อ่าวไทย | บ้านแหลมตะลุมพุก-บ้านบางบ่อ | ปากพนัง | 29.00 |
13 | นครศรีรรมราช | อ่าวไทย | บ้านเกาะทัง-บ้านหน้าศาล | ปากพนัง หัวไทร | 23.00 |
14 | สงขลา | อ่าวไทย | บ้านอู่ตะเภา-บ้านปากแตระ | ระโนด | 4.00 |
ที่ | จังหวัด | ชายฝั่งด้าน | อัตรากัดเซาะรุนแรง (มากกว่า 5 เมตรต่อปี) | ||
ชื่อชายฝั่ง | อ˚าเภอ | ระยะกัดเซาะ (กม.) | |||
15 | ปัตตานี | อ่าวไทย | บ้านบะอิง-บ้านบางตาวา | หนองจิก | 4.50 |
16 | ปัตตานี | อ่าวไทย | บ้านตันหยงเปาว์ | หนองจิก | 1.00 |
18 | ปัตตานี | อ่าวไทย | บ้านท่ากุน-บ้านท่าด่าน | ยะหริ่ง | 0.50 |
19 | ปัตตานี | อ่าวไทย | แหลมตาชี(แหลมโพธิ) | เมือง | 3.00 |
20 | นราธิวาส | อ่าวไทย | บ้านบาเกาะ | เมือง | 4.00 |
21 | นราธิวาส | อ่าวไทย | บ้านลาฆอปาละ | เมือง | 0.20 |
22 | นราธิวาส | อ่าวไทย | บ้านคลองตัน | - | 21.00 |
23 | ภูเก็ต | อันดามัน | หาดเลพัง บ้านบางเทา | ถลาง | 3.00 |
24 | ระนอง | อันดามัน | บ้านทะเลนอก | กะเปอร์ | 4.00 |
25 | กระบี่ | อันดามัน | บ้านคลองทราย | เมือง | 1.00 |
26 | กระบี่ | อันดามัน | บ้านแหลมโพธิ | เมือง | 2.00 |
27 | กระบี่ | อันดามัน | บ้านคลองประสงค์ | เมือง | 2.00 |
28 | กระบี่ | อันดามัน | แหลมขาม | เมือง | 1.00 |
29 | ตรัง | อันดามัน | หาดปากเมง | สิเกา | 4.00 |
30 | สตูล | อันดามัน | ปากละงู | ละงู | 1.00 |
31 | สตูล | อันดามัน | บ้านราไวใต้ | ทุ่งหว้า | 1.00 |
32 | สตูล | อันดามัน | บ้านทุ่งสะโบ๊ะ | ทุ่งหว้า | 2.00 |
33 | สตูล | อันดามัน | บ้านบากันเกย-บ้านกลาง | เมือง | 2.00 |
รวม 33 แห่ง ความยาวรวมประมาณ 203 กม. ข้อมูลกรมทรัพยากรธรณี, 2545
ตารางที่ 3 ตารางแสดงรายละเอียดพื้นที่ชายฝั่งทะเลไทยที่ถูกกัดเซาะชายฝั่ง 1-5 ม.ต่อปี
ที่ | จังหวัด | ชายฝั่งด้าน | อัตรากัดเซาะปานกลาง ( 1 - 5 เมตรต่อปี ) | ||
ชื่อชายฝั่ง | อ˚าเภอ | ระยะกัดเซาะ (กม.) | |||
1 | ตราด | อ่าวไทย | บ้านเขาจิก-บ้านปากคลอง | แหลมงอบ | 2.00 |
2 | ตราด | อ่าวไทย | แหลมกลัด | เมือง | 0.50 |
3 | ตราด | อ่าวไทย | บ้านคลองพัง-บ้านคลองสน | เมือง | 2.50 |
4 | ตราด | อ่าวไทย | บ้านแหลมตายิ้ม | เมือง | 1.00 |
5 | ตราด | อ่าวไทย | แหลมตาพัน | เมือง | 0.30 |
6 | ตราด | อ่าวไทย | คลองกวาง-หาดมกแก้ว | เมือง | 0.50 |
7 | ตราด | อ่าวไทย | หาดราชการุณ | คลองใหญ่ | 1.00 |
8 | ตราด | อ่าวไทย | หาดบานชื่น | คลองใหญ่ | 2.00 |
9 | จันทบุรี | อ่าวไทย | บ้านคุ้งกระเบน | ท่าใหม่ | 1.00 |
10 | จันทบุรี | อ่าวไทย | หาดเจ้าหลาว | ท่าใหม่ | 2.00 |
11 | ระยอง | อ่าวไทย | บ้านพังราด | แกลง | 4.00 |
12 | ระยอง | อ่าวไทย | บ้านแสมผู้-บ้านแหลมสน | แกลง | 3.00 |
13 | ระยอง | อ่าวไทย | บ้านชากมะกรูด | แกลง | 1.50 |
14 | ระยอง | อ่าวไทย | บ้านหนองสะพานและบ้านหนองเสม็ด | แกลง | 1.40 |
15 | ระยอง | อ่าวไทย | บ้านเพ | เมือง | 1.00 |
16 | ระยอง | อ่าวไทย | บ้านก้นอ่าว | เมือง | 1.00 |
17 | ระยอง | อ่าวไทย | ปากน้้าระยองด้านตะวันออก | เมือง | 2.00 |
18 | ระยอง | อ่าวไทย | บ้านปากน้้า | เมือง | 1.00 |
19 | ระยอง | อ่าวไทย | หาดแสงจันทร์ | เมือง | 4.20 |
20 | ระยอง | อ่าวไทย | วัดพลา-บ้านตระกาด | บ้านฉาง | 2.00 |
21 | ชลบุรี | อ่าวไทย | ตลาดนาเกลือ | บางละมุง | 0.50 |
22 | ชลบุรี | อ่าวไทย | บ้านน้้าเมา-หาดนาจอมเทียน | พัทยา | 3.00 |
23 | ชลบุรี | อ่าวไทย | ปากคลองบ้าน | พัทยา | 1.00 |
24 | ชลบุรี | อ่าวไทย | บางพระ | ศรีราชา และเมือง | 5.00 |
25 | ชลบุรี | อ่าวไทย | อ่าวอุดม | ศรีราชา | 0.90 |
26 | สมุทรสาคร | อ่าวไทย | คลองเสาธง-ปากน้้าท่าจีนตะวันออก | เมือง | 11.00 |
ที่ | จังหวัด | ชายฝั่งด้าน | อัตรากัดเซาะปานกลาง ( 1 - 5 เมตรต่อปี ) | ||
ชื่อชายฝั่ง | อ˚าเภอ | ระยะกัดเซาะ (กม.) | |||
27 | สมุทรสาคร | อ่าวไทย | บ้านกาหลง | เมือง | 18.00 |
28 | สมุทรสงคราม | อ่าวไทย | บ้านโรงกุ้ง-บ้านแพรกทะเล | เมือง | 6.50 |
29 | เพชรบุรี | อ่าวไทย | แหลมผักเบี้ย | บ้านแหลม | 3.50 |
30 | เพชรบุรี | อ่าวไทย | หาดเจ้าส้าราญ | เมือง | 1.00 |
31 | เพชรบุรี | อ่าวไทย | บ้านบัวตาล-บ้านบางเก่า | ชะอ้า | 12.00 |
32 | เพชรบุรี | อ่าวไทย | บ้านคลองเทียน | ชะอ้า | 1.50 |
33 | เพชรบุรี | อ่าวไทย | บ้านหนองแจง-บ้านหนองแขม | ชะอ้า | 4.00 |
34 | เพชรบุรี | อ่าวไทย | บ้านบางไทรย้อย-บ้านบ่อเซี๊ยะ | ชะอ้า | 8.00 |
35 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | บ้านหนองเสือ-บ้านปรือใหญ่ | ปราณบุรี | 1.50 |
36 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | ปากน้้าปราณ-บ้านหนองเก่า | ปราณบุรี | 2.00 |
37 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | บ้านบ่อฝ้าย-หัวหิน | หัวหิน | 5.00 |
38 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | บ้านเสาธง-บ้านเขาตะเกียบ | หัวหิน | 3.50 |
39 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | บ้านเขาเต่า | หัวหิน | 1.00 |
40 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | บ้านคุ้งตะโตนด | ก.สามร้อยยอด | 1.00 |
41 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | หน้าเขาแดง/หาดดอนต้นสน | ก.สามร้อยยอด | 3.00 |
42 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | เขาขวาง-บ้านปากคลองเกลียว | กุยบุรี | 4.00 |
43 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | บ้านทุ่งมะเม่า | เมือง | 3.00 |
44 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | หาดเสด็จ-บ้านคั่นบันได | เมือง | 2.00 |
45 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | อ่าวประจวบฯ ตอนใต้ | เมือง | 1.00 |
46 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | หาดมะค่า-หาดวนกร | เมืองทับสะแก | 4.50 |
47 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | บ้านโคกตาหอมและบ้านทางสาย | บางสะพาน | 1.80 |
48 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | บ้านช่องช้าง-บ้านท่ามะนาว | บางสะพาน | 4.00 |
49 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | อ่าวบางสะพาน | บางสะพาน | 2.20 |
50 | ประจวบคีรีขันธ์ | อ่าวไทย | บ้านฝั่งแดง | บางสะพาน | 2.50 |
51 | ชุมพร | อ่าวไทย | บ้านน้้าพุ | ปะทิว | 1.80 |
52 | ชุมพร | อ่าวไทย | บ้านกลางอ่าว และบ้านหน้าทัพ | ปะทิว | 1.80 |
ที่ | จังหวัด | ชายฝั่งด้าน | อัตรากัดเซาะปานกลาง ( 1 - 5 เมตรต่อปี ) | ||
ชื่อชายฝั่ง | อ˚าเภอ | ระยะกัดเซาะ (กม.) | |||
53 | ชุมพร | อ่าวไทย | อ่าวชุมพร | เมือง | 5.00 |
54 | ชุมพร | อ่าวไทย | บ้านปากน้้าใต้ | เมือง | 1.00 |
55 | ชุมพร | อ่าวไทย | อ่าวท้องโตนด | สวี | 1.20 |
56 | ชุมพร | อ่าวไทย | อ่าวคราม | สวี | 2.00 |
57 | ชุมพร | อ่าวไทย | บ้านกลางอ่าว และบ้านหน้าทัพ | หลังสวน | 1.00 |
58 | ชุมพร | อ่าวไทย | บ้านบางมัน | หลังสวน | 0.70 |
59 | ชุมพร | อ่าวไทย | บ้านบางหรุ | ละแม | 1.00 |
60 | สุราษฎร์ธานี | อ่าวไทย | บ้านปากน้้าท่ากระจาย | ท่าชนะ | 0.70 |
61 | สุราษฎร์ธานี | อ่าวไทย | บ้านท่ากระจาย-บ้านทุ่งนมแมว | ท่าชนะ | 4.00 |
62 | สุราษฎร์ธานี | อ่าวไทย | บ้านท่ามะนาว | ท่าชนะ | 0.50 |
63 | สุราษฎร์ธานี | อ่าวไทย | บ้านกิ่ว | ท่าชนะ | 1.50 |
64 | สุราษฎร์ธานี | อ่าวไทย | บ้านผักราด | ไชยา | 1.00 |
65 | สุราษฎร์ธานี | อ่าวไทย | หาดจินตรา | ไชยา | 0.80 |
66 | สุราษฎร์ธานี | อ่าวไทย | บ้านวังหิน-แหลมกุลา | ดอนสัก | 7.00 |
67 | นครศรีธรรมราช | อ่าวไทย | บ้านบางก้า | ขนอม | 1.50 |
68 | นครศรีธรรมราช | อ่าวไทย | บ้านเปร็จ | ขนอม | 7.00 |
69 | นครศรีธรรมราช | อ่าวไทย | บ้านปลายท้อน-บ้านเราะ | สิชลและท่าศาลา | 26.50 |
70 | นครศรีธรรมราช | อ่าวไทย | บ้านบางใบไม้ | ท่าศาลา | 1.00 |
71 | นครศรีธรรมราช | อ่าวไทย | บ้านขามเทศ-บ้านหัวป่า | ปากพนัง | 7.00 |
72 | นครศรีธรรมราช | อ่าวไทย | บ้านโพธิ์ทะเล-บ้านหน้าห้วย | หัวไทร และระโนด | 9.00 |
73 | สงขลา | อ่าวไทย | บ้านปากระวะ | ระโนด | 1.00 |
74 | สงขลา | อ่าวไทย | บ้านมาบบัว และบ้านท่าบอน | ระโนด | 4.00 |
75 | สงขลา | อ่าวไทย | บ้านวัดแจ้ง-บ้านพังตรี | ระโนด | 3.50 |
76 | สงขลา | อ่าวไทย | บ้านเตี๊ยะ | - | 1.00 |
77 | สงขลา | อ่าวไทย | บ้านพังชี | สทิงพระ | 5.00 |
78 | สงขลา | อ่าวไทย | บ้านม่วงงาม | สิงหนคร | 2.50 |
79 | สงขลา | อ่าวไทย | บ้านหาดแก้ว | สิงหนคร-เมือง | 2.00 |
ที่ | จังหวัด | ชายฝั่งด้าน | อัตรากัดเซาะปานกลาง ( 1 - 5 เมตรต่อปี ) | ||
ชื่อชายฝั่ง | อ˚าเภอ | ระยะกัดเซาะ (กม.) | |||
80 | สงขลา | อ่าวไทย | บ้านปึก-บ้านปากบางนาทับ | เมือง-จะนะ | 6.00 |
81 | สงขลา | อ่าวไทย | บ้านในไร่-บ้านบ่อโซน | จะนะ-เทพา | 9.00 |
82 | ปัตตานี | อ่าวไทย | บ้านบางตาวาฝั่งตะวันออก | หนองจิก | 1.50 |
83 | ปัตตานี | อ่าวไทย | บ้านเกาะเลหนัง-บ้านบางราพา-ปากคลอง บากามูตอ | หนองจิก | 7.00 |
84 | ปัตตานี | อ่าวไทย | บ้านแหลมนก | เมือง | 4.00 |
88 | นราธิวาส | อ่าวไทย | บ้านฮูแตทูวอ | เมือง | 3.00 |
86 | นราธิวาส | อ่าวไทย | อ่าวมะนาว | เมือง | 3.50 |
87 | นราธิวาส | อ่าวไทย | บ้านจิจา-บ้านโคกกระดูกหมู | เมือง | 9.50 |
88 | ระนอง | อันดามัน | บ้านหินกอง | ละอุ่น | 7.00 |
89 | ระนอง | อันดามัน | บ้านท่าโพธิ์ | ละอุ่น | 1.00 |
90 | ระนอง | อันดามัน | บ้านเขาหินช้าง | ละอุ่น | 1.50 |
91 | ระนอง | อันดามัน | บ้านหาดทรายด้า | เมือง | 3.00 |
92 | ระนอง | อันดามัน | อุทยานแห่งชาติแหลมสน | กะเปอร์ | 2.00 |
93 | ระนอง | อันดามัน | หาดประพาส | กะเปอร์ | 8.00 |
94 | พังงา | อันดามัน | เกาะพระทอง | คุระบุรี | 8.00 |
95 | พังงา | อันดามัน | เกาะคอเขา | คุระบุรี | 1.00 |
96 | พังงา | อันดามัน | บ้านน้้าเค็มตอนใต้-บ้านบางสักเหนือ | ตะกั่วป่า | .50 |
97 | พังงา | อันดามัน | แหลมกรังใหญ่ | ตะกั่วป่า | 1.50 |
98 | พังงา | อันดามัน | บ้านล้าโอน-บ้านบางเหนียง | ตะกั่วป่า | 1.50 |
99 | พังงา | อันดามัน | บ้านทับละมุ | ท้ายเหมือง | 2.00 |
100 | พังงา | อันดามัน | หาดบ่อดาน | ท้ายเหมือง | 3.50 |
101 | พังงา | อันดามัน | บ้านกลาง-แหลมน้้าจืด | เกาะยาวน้อย | 2.00 |
102 | พังงา | อันดามัน | สันดอนจงอย | เกาะยาวใหญ่ | 1.00 |
103 | ภูเก็ต | อันดามัน | อ่าวปอ บ้านบางแร่ | ถลาง | 1.50 |
104 | กระบี่ | อันดามัน | บ้านท่าเลน-เขาทองใต้ | เมือง | 4.00 |
105 | กระบี่ | อันดามัน | แหลมป่อง | เมือง | 1.00 |
ที่ | จังหวัด | ชายฝั่งด้าน | อัตรากัดเซาะปานกลาง ( 1 - 5 เมตรต่อปี ) | ||
ชื่อชายฝั่ง | อ˚าเภอ | ระยะกัดเซาะ (กม.) | |||
106 | กระบี่ | อันดามัน | บ้านคลองม่วง | เมือง | 1.00 |
107 | กระบี่ | อันดามัน | หาดนพรัตน์ธารา-หาดพระนาง | เมือง | 3.00 |
108 | กระบี่ | อันดามัน | บ้านบ่อม่วง | คลองท่อม | 2.00 |
109 | ตรัง | อันดามัน | บ้านฉางเหลา | สิเกา | 1.00 |
110 | ตรัง | อันดามัน | หาดยาวเจ้าไหม | กันตัง | 2.50 |
111 | ตรัง | อันดามัน | ปากหรน-บ้านแหลมปอ | ปะเหลียน | 4.00 |
112 | ตรัง | อันดามัน | บ้านแหลมปอ-บ้านนาทะเล | ปะเหลียน | 7.00 |
113 | ตรัง | อันดามัน | แหลมตาหยงหลิง | ปะเหลียน | 3.50 |
114 | สตูล | อันดามัน | หาดปากบารา | ละงู | 3.00 |
115 | สตูล | อันดามัน | ปากบาง-โคกพยอม | ละงู | 2.00 |
116 | สตูล | อันดามัน | บ้านสาคร | เมือง | 2.00 |
117 | สตูล | อันดามัน | บ้านมานังปูลา | เมือง | 1.00 |
118 | สตูล | อันดามัน | บ้านบากันโทติด | เมือง | 1.00 |
รวม 118 แห่ง ความยาวรวมประมาณ 395.60 กม. ข้อมูลกรมทรัพยากรธรณี, 2545
ตัวอย่างการสูญเสียพื้นที่ชายฝั่ง จ.นราธิวาส
ส่วนใหญ่เกิดจากการกัดเซาะตามธรรมชาติส่วนพื้นที่ที่มีการกัดเซาะรุนแรงพบที่ อ.ตากใบ เนื่องจากโครงสร้าง ชายฝั่ง
ต.ศาลาใหม่ อ.ตากใบ
ต.เจ๊ะเห อ.ตากใบ
ภาพที่ 17 การเปรียบเทียบเส้นชายฝั่งปี 2535 กับข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมปี 2548 จ.นราธิวาส พบการ กัดเซาะประมาณ 100 เมตร และมีโครงสร้างป้องกัน Groin
ผลการเปรียบเทียบแนวชายฝั่งปี 2535 กับข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมปี 2548 จ.นราธิวาส พบการกัดเซาะ ลึกเข้ามาประมาณ 100 เมตร // พบโครงสร้างชายฝั่ง: เขื่อนกันทรายและคลื่น(Jetty) ที่แนวพรมแดน Malaysia ท้าให้มีการกัดเซาะชายฝั่งไทยยาวประมาณ 20 กม. ในพื้นที่ 3 ต้าบล(ต.ไพรวัน ต.ศาลาใหม่ ต.เจ๊ะเห) ปัจจุบันมี รอดักทราย(Groin) วางเป็นระยะตลอดแนวชายฝั่ง
ต.ไพรวัน
33 Groins 20 Km
ต.ศาลาใหม่
Jetty
เกาะมะปิง
อ.ตากใบ
ต.เจ๊ะเห
เกาะยาว
บ้านตันหยงเปาว์
ต.ท่าก˙าช˙า อ.หนองจิก
ต.บางเขา อ.หนองจิก
ภาพที่ 18 การเปรียบเทียบเส้นชายฝั่งปี 2535 กับข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมปี 2548 จ.ปัตตานีการกัดเซาะมากที่สุด
ประมาณ 200 เมตร
ต้นปี 2551
บ้านตันหยงเปาว์
ต.ท่าก˙าช˙า อ.หนองจิก
ต.บางเขา อ.หนองจิก
ชายฝั่งที่ได้รับผลกระทบ
Jetty
ภาพที่ 19 ภาพแสดงผลการเปรียบเทียบแนวชายฝั่งปี 2535 กับข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมปี 2548 จ.ปัตตานี พบการกัดเซาะลึกเข้ามาประมาณ 200 เมตร (ประมาณ 13 ปี) พบโครงสร้างชายฝั่ง: เขื่อนกันทราย และคลื่น (Jetty)ปากคลองยามู รอยต่อ ต.บางเขา และ ต.ท่าก˚าช˚าท˚าให้มีการกัดเซาะชายฝั่งบ้านตันหยงเปาว์
ต.ท่าก˚าช˚ายาวประมาณ 1.5 กม.
ภาพที่ 20 ภาพแสดงการกัดเซาะรุนแรงพบที่ บ้านตันหยงเปาว์ ต.ท่าก˚าช˚า อ.หนองจิก
ภาพที่ 21 ภาพแสดงการกัดเซาะเขื่อนที่ อบจ. สร้างให้ 188 ม. เพียง 1 ปี
ภาพที่ 22 ภาพตัวอย่างการสูญเสียพื้นที่ชายฝั่ง จ.สงขลา
ต.นาทับ อ.จะนะ
ต.เกาะแต้ว อ.เมือง
ต.เขารูปช้าง อ.เมือง
ภาพที่ 23 การเปรียบเทียบเส้นชายฝั่งปี 2535 กับข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมปี 2548 จ.สงขลาพบการกัด
เซาะมากที่สุดประมาณ 120 เมตร
ต.ชิงโค อ.สิงหนคร
บ้านเก้าเส้ง ต.บ่อยาง อ.เมืองสงขลา
ภาพที่ 24 การเปรียบเทียบเส้นชายฝั่งปี 2535 กับข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมปี 2548 จ.สงขลา พบการ
กัดเซาะประมาณ 100 - 200 เมตร
อดีต ปัจจุบัน
พัง
ภาพที่ 25 ภาพแสดงการเปรียบเทียบเก้าเส้งในปัจจุบันและอดีต
ชายฝั่ง บ.นาทับ
แนวท่อกันคลื่นสูญหายไป
2547 ถนนเหลือ 1 ช่อง ธค. 2549ถนนขาดโดยสมบูรณ์
ต.เกาะเพชร อ.หัวไทร
ภาพที่ 26 การเปรียบเทียบเส้นชายฝั่งปี 2535 กับข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมปี 2548จ.นครศรีธรรมราช
ตนน้้น้้ เหตุุุ
5
บ..เกาะฝาาย
ตนนเเหตุ
พบการกัดเซาะประมาณ 100 เมตร บทเรียนราคาแพง … ปากพนัง
ทะเเล
คลองระบายนาาฉกกเฉนิน อ..ปากพนงัง
ภาพที่ 27 ภาพแสดงลักษณะการเคลื่อนตัวของตะกอนทรายตามธรรมชาติบริเวณปากคลอง/แม่น้˚า
จ.นครศรีธรรมราช พบการสะสมตัวของทรายปิดปากคลอง/แม่น้˚าในช่วงหลังฤดูมรสุม พื้นที่กัดเซาะชายฝั่ง : ปลายแหลมตะลุมพุก
ภาพที่ 28 ภาพแสดงการกัดเซาะปลายแหลมตะลุมพุก
สาเหตุหลักของการกัดเซาะพังทลายของชายฝั่ง คือ กิจกรรมของมนุษย์ โดยเฉพาะการก่อสร้าง โครงสร้างชายฝั่งที่ไม่เหมาะสม
มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเบื้องต้น
1. เสถียรภาพชายฝั่งทะเลปกติจะอยู่ภายใต้กระบวนการที่มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาใน สภาวะสมดุลแบบพลวัตร (Dynamic Equilibrium) หากมีการรบกวนเกิดขึ้น กระบวนการชายฝั่งจะมีการ เปลี่ยนแปลง เพื่อหาสมดุลใหม่อย่างรวดเร็วและรุนแรง โดยจะเห็นได้ในรูปของการกัดเซาะชายฝั่ง ดังนั้น การ ก่อสร้างโครงสร้างชายฝั่งใดๆ เท่ากับเป็นการรบกวนสมดุลดังกล่าว จ้าเป็นต้องมีการส้ารวจและศึกษาพิจารณา ให้รอบคอบก่อนด้าเนินการ
2. พิจารณาโครงสร้างชายฝั่งบางแห่งที่ไม่มีความจ้าเป็นหรือไม่มีการใช้ประโยชน์ ให้ด้าเนินการรื้อถอน ออก เพื่อให้กระแสน้้าและตะกอนชายฝั่งสามารถเคลื่อนที่ได้ตามปกติ และชายฝั่งสามารถปรับตัวเข้าสู่สมดุล ตามธรรมชาติ ทั้งนี้ การพิจารณาเพื่อรื้อถอน จ้าเป็นต้องมีการพิจารณาถึงผลกระทบด้วยเช่นกัน ต้องรื้อถอน แบบค่อยเป็นค่อยไป เนื่องจากต้องให้เวลาแก่ชายฝั่งในการปรับตัว
3. การแก้ไขปัญหาในพื้นที่ให้เน้นโครงการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หากสามารถเติมทรายได้ให้น้ามาใช้ เป็นกรณีแรกๆ เช่น การสร้างหาดทราย (Beach Nourishment) หรือการสร้างเนินทราย (Dune Restoration) เลียนแบบธรรมชาติ
4. บริเวณเขื่อนกันทรายและคลื่นตามปากคลองที่มีการกักทรายไว้เป็นจ้านวนมาก ควรพิจารณาการถ่ายเท ทรายจากด้านต้นน้้าไปสู่ด้านที่มีการกัดเซาะ เพื่อเป็นการทดแทนทรายที่ขาดหายไป ทั้งนี้ โดยส่วนใหญ่ปาก คลองจะเป็นเขตพรมแดนระหว่างต้าบล ท้าให้มีต้าบลหนึ่งได้ประโยชน์และต้าบลหนึ่งเสียประโยชน์ ดังนั้น จะต้องมาพิจารณาร่วมกันในการแก้ไขปัญหา เนื่องจากต้องแก้ไขปัญหาในภาพรวม
5. เร่งเพิ่มเสถียรภาพให้แก่ชายฝั่ง โดยระงับโครงการก่อสร้างชายฝั่งที่ยังไม่มีการศึกษาถึงผลกระทบ และ ควรให้ความส้าคัญในการฟื้นฟูชายฝั่ง โดยการก้าหนดพื้นที่ Set Back เพื่อเสริมความมั่นคงของพื้นที่ชายฝั่ง การ ปลูกต้นไม้ป่าชายหาดหรือบางพื้นที่ปลูกป่าชายเลน เพื่อช่วยยึดทรายหรือดิน ตามความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่
6. การป้องกันการกัดเซาะในพื้นที่ที่ยังไม่มีการใช้ประโยชน์ พื้นที่รกร้างหรือไม่จ้าเป็นต้องแก้ไขเร่งด่วน หากจะด้าเนินการใดๆ ให้น้าผลวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจมาใช้ในการพิจารณามาตรการป้องกันแก้ไขการกัดเซาะ ชายฝั่ง ซึ่งบางกรณีสามารถอพยพ โยกย้าย หรือบริหารจัดการโดยปล่อยไว้ให้มีการกัดเซาะชายฝั่งในบริเวณที่ ยอมรับได้ เพื่อเป็นจุดหยุดผลกระทบที่จะมีต่อเนื่องต่อไป
7. การจัดการชายฝั่ง (coastal zone management) เป็นแนวทางแก้ไขในรูปแบบของการบริหารจัดการ ซึ่ง อาจต้องใช้กฎหมาย พรบ. เป็นเครื่องมือ เพื่อการบริหารจัดการทั้งระบบอย่างยั่งยืน
8. จัดอบรมให้ความรู้และสร้างจิตส้านึกให้เห็นคุณค่าของชายหาด และการระวังป้องกันรักษาให้แก่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งระดับท้องถิ่นและส่วนกลางโดยเร่งด่วน
9. จัดท้าโซนนิ่งชายฝั่งตามวัตถุประสงค์การใช้ประโยชน์ของแต่ละพื้นที่ โดยให้เป็นไปเพื่อการอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
10. เร่งประเมินโครงการเขื่อนริมทะเลต่างๆอย่างน้อยจังหวัดละ 1 โครงการ เพื่อหามาตรการที่เหมาะสมใน การแก้ไขฟื้นฟู และเยียวยาชุมชน ทั้งด้านที่อยู่อาศัยและการประกอบอาชีพ
11. ออกระเบียบและหามาตรการห้ามไม่ให้น้าทรายออกจากชายฝั่ง ไม่ว่าจะเป็นการขุดลอกร่องน้้า หรือ การก่อสร้างชายฝั่ง เพื่อรักษาสมดุลปริมาณทรายให้เหมาะสมในแต่ละท้องถิ่น
12. ส่งเสริมมาตรการระยะยาว เช่น การระบายทรายที่ถูกเก็บกักไว้ตามอ่างเก็บน้้า เหมืองและฝายลงสู่ ชายฝั่ง และควบคุมการท้าเหมืองทรายตามแม่น้้าเพื่อให้มีตะกอนไปหล่อเลี้ยงชายฝั่ง
มาตรการรักษาทรัพยากรชายฝั่ง Coastal conservation measures
🞐 ก้าหนดเขตแนวชายฝั่ง (Setbacks)
🞐 การบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement)
🞐 การรักษาสันทรายชายฝั่ง (Sand Dune Protection)
🞐 การจัดการทรัพยากรชายฝั่ง (Coastal Resource Management Plan,CRMP)
การซ่อมแซมชายฝั่ง Shoreline restoration
🞐 การถ่ายเททรายจากที่ถูกดักไว้ (Sand Bypassing)
🞐 การเพิ่มความลาดของชายฝั่ง (Slope Stability)
🞐 การเติมทรายให้ชายฝั่ง (Beach Nourishment)
🞐 การรักษาสันดอนทรายใต้น้้า (Sand Trapping)
🞐 ปลูกป่าชายหาด ป่าชายเลน ตามความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่
🞐 พิจารณารื้อถอนโครงสร้างชายฝั่งที่ไม่มีประโยชน์ และพิจารณาแล้วว่าเป็นต้นเหตุการกัดเซาะชายฝั่ง ออกจากพื้นที่
(a)
(c)
(b)
(d)
การถ่ายเททราย Sand bypassing
ภาพที่ 29 ภาพแสดงการถ่ายเททราย
แนวทางการถมทราย จากรูป
ช่วงเวลาการถมทรายเพื่อเสริมทรายชายหาด อาจเร็วขึ้นหรือช้าลงได้ เนื่องจากในแต่ละพื้นที่ ปริมาณทรายที่เคลื่อนตัวเข้า – ออกจากพื้นที่ มีไม่เท่ากัน
ภาพที่ 30 ภาพแสดงแนวทางการถมทราย
บทสรุป : ขั้นตอนการตัดสินใจก่อสร้างโครงสร้างชายฝั่งทะเล Conclusion: step of decision making
1. ศึกษาด้านสังคม..พิจารณา แนวทางเลือกที่เหมาะสม
2. ศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ทรัพยากร ความคุ้มค่า ผลกระทบ/ผลประโยชน์ หากพื้นที่ที่ยังไม่มีการใช้ ประโยชน์ควรปล่อยให้ธรรมชาติจัดการตัวเอง
3. ศึกษาผลกระทบนิเวศ/สิ่งแวดล้อม โดยชุมชน (Public Participation) ร่วมรับรู้/ตัดสินใจ
4. ออกแบบด้านภูมิสถาปัตยกรรมให้รอบด้าน มีการเตรียมพื้นที่ที่จะเปลี่ยนแปลงชายฝั่ง
5. น้าเสนอวิธีการ จัดการทรัพยากรชายฝั่ง ซึ่งเป็นเรื่องใหม่ส้าหรับเรา เพราะการแก้ไขในปัจจุบัน ไม่มี การจัดการอย่างเป็นระบบ แต่เป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าบ้านตัวเอง
6. ประเมินผลจากโครงการพัฒนาชายฝั่งที่ผ่านมา (Previous project evaluation)
7. กระบวนการของชายฝั่ง จะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีความอ่อนไหวอย่างมาก โดยเฉพาะ โครงสร้างชายฝั่ง จะเป็นตัวเร่งให้เกิดการกัดเซาะพังทลาย ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยง
8. ถ้าต้องท้า โครงสร้างชายฝั่ง ขอให้เลือกเป็น หนทางสุดท้าย และต้องศึกษาและเปิดเผยผลกระทบที่ จะเกิดขึ้น เจ้าของพื้นที่จะต้องเข้าใจและวางแผนให้ดี มีความโปร่งใส เพื่อลดความขัดแย้ง พร้อมทั้งหาแนวทาง เยียวยาต่อผู้ที่อาจจะได้รับผลกระทบ
9. ต้องติดตามและประเมินผลโครงการอย่างต่อเนื่อง
10. มนุษย์ไม่มีวันชนะธรรมชาติ ต้องยอมให้ธรรมชาติมีการจัดการตัวเอง
รูปแบบการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลในปัจจุบัน
1. การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลตามธรรมชาติ
2. การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
3. การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลโดยใช้โครงสร้าง
การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลตามธรรมชาติ ป่าชายเลน และป่าชายหาด ปราการป้องกันตามธรรมชาติที่ดีที่สุด
ภาพที่ 31 การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลตามธรรมชาต
การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น การปักไม้ไผ่ การปักทางมะพร้าว
การปักเสาปูน+ ถมหิน
การปักเสาไฟฟ้า การปักไม้ไผ่+หิน
การปักเสาปูน การปักเสาปูน+ยางรถยนต์(กล่˚า)
ภาพที่ 32 การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น
การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลโดยใช้โครงสร้าง
เขื่อนคอนกรีต ตุ๊กตาล้มลุก
เขื่อนหินทิ้ง เขื่อนกันทราย
เขื่อนกันคลื่น
ไส้กรอกทราย
ปะการังเทียม
ภาพที่ 33 การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลโดยใช้โครงสร้าง
ตัวอย่างการป้องกันชายฝั่งในต่างประเทศ
Hollywood Beach USA
Vietnam
Brushwood groynes in Dutch salt marshes (Wadden Sea) ภาพที่ 34 การป้องกันชายฝั่งในต่างประเทศ
Princess Cays Eleuthera Bahamas
Puerto Vallarta Mexico
ภาพที่ 34 (ต่อ)การป้องกันชายฝั่งในต่างประเทศ
Jolly Harbor, Antugua Fisher Island Dade Country, Florida
Palm beach Florida
ภาพที่ 34 (ต่อ)การป้องกันชายฝั่งในต่างประเทศ ข้อคิดที่ทีมวิจัยได้เรียนรู้จากกระบวนการในการศึกษาดูงานและการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้อง
ช่วงที่ได้ไปศึกษาดูงานเรื่องการกัดเซาะชายฝั่งที่ จ.นครศรีธรรมราชและ จ.สงขลา ทีมวิจัยได้มี การพูดคุยแลกเปลี่ยนและเกิดความตระหนักร่วมกันอย่างลึกซึ้งว่าปัญหาการพังทลายของชายฝั่ง จัดได้ ว่าเป็นปัญหาเร่งด่วนที่ก้าลังเผชิญอยู่ทั่วไป ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะพื้นที่ชายฝั่ง จ.ปัตตานีเท่านั้น ซึ่งปัญหา ส่วนใหญ่ของหลายๆพื้นที่เกิดจากการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งด้วยโครงสร้างวิศวกรรมชายฝั่ง ดังนั้นการ เปลี่ยนแปลงของรูปร่างของชายหาดอันไม่พึงประสงค์จะต้องได้รับการศึกษาไว้ก่อนที่จะด้าเนินการ
ก่อสร้างโครงสร้างชายฝั่งใดๆ โดยเฉพาะชายฝั่งจังหวัดปัตตานีที่มีหาดทรายชายฝั่งเป็นแนวยาวและตรง ซึ่งอ่อนไหวต่อการกระท้าของมนุษย์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการเคลื่อนที่ของตะกอนกับโครงสร้างชายฝั่ง ต่างๆ จะต้องได้รับการวิเคราะห์อย่างละเอียด และมีการติดตามผลกระทบอย่างต่อเนื่อง เพื่อน้ามาสรุป เป็นมาตรการป้องกันการกัดเซาะและรักษาชายฝั่งทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อไป และมีความเห็น ร่วมกันว่าการที่จะแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างยั่งยืนไม่ควรจะเป็นการสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่อื่นใด เพิ่มขึ้นไปอีก แต่ควรจะหาวิธีการหรือมาตรการที่ท้าอย่างไรจึงจะสามารถเกิดการเติมทรายให้กับชายฝั่ง ในพื้นที่ จ.ปัตตานี ซึ่งน่าจะเป็นมาตรการที่จะให้ผลที่ดีที่สุด และเกิดผลกระทบต่อเนื่องไปยังพื้นที่ ข้างเคียงอื่นๆน้อยที่สุดในอนาคต
ทางทีมวิจัยจึงได้มีการสรุปถึงการน้าความรู้ที่ได้ไปสู่การปรับใช้ในพื้นที่ จ.ปัตตานี กล่าวคือ จังหวัดปัตตานีเป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลอ่าวไทย และมีลักษณะปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ดังเช่นได้กล่าวมาข้างต้น และสรุปถึงสาเหตุการกัดเซาะชายฝั่งได้ 5 ประการ
1) การกัดเซาะเนื่องมาจากคลื่นลมในทะเล
2) สาเหตุเนื่องมาจากการลดลงของพื้นที่ป่าชายเลน
3) สาเหตุเนื่องมาจากการลดลงของตะกอนจากแม่น้้า
4) ผลกระทบจากการทรุดตัวของแผ่นดินต่อการกัดเซาะชายฝั่งทะเล
5) ผลกระทบจากการพัฒนาที่ชายฝั่ง และการก่อสร้างโครงสร้างๆ ตามแนวชายฝั่งทะเล ลักษณะของการกัดเซาะชายฝั่งทะเลในพื้นที่จังหวัดปัตตานีพบเห็นได้อย่างเด่นชัดในหลาย
พื้นที่ แต่ทางสมาคมฯได้มีการพูดคุยและจะเริ่มต้นผลักดันให้มีการแก้ปัญหาอย่างจริงจังในพื้นที่ที่มี ความพร้อม ในเขตบริเวณชายฝั่งทะเล บ้านตันหยงเปาว์ ต้าบลท่าก้าช้าอ้าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี หมู่บ้านแห่งนี้มีประชากรทั้งสิ้น 2,110 คน มีโรงเรียนสังกัดส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษาปัตตานี เขต 2 จ้านวน 1 โรงเรียน และมีโรงเรียนสอนศาสนาอิสลามส้าหรับเด็กเล็ก (ตาดีกา) จ้านวน 1 โรงเรียน ประชากรส่วนใหญ่ในชุมชน คิดเป็นร้อยละ 90 ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน ลักษณะของพื้นที่ ตั้งอยู่ บริเวณสันดอนทรายใกล้ปากคลองตันหยงเปาว์ โดยโค้งด้านนอกจะติดทะเลต่อเนื่องไปกับแนวหาด ทรายด้านตะวันตกและมีเขื่อนกั้นทรายบริเวณปากคลองตันหยงเปาว์ทางทิศตะวันออกของหมู่บ้าน การ กัดเซาะในพื้นที่นี้เกิดเป็นระยะทางยาวประมาณ 3 กิโลเมตร อัตราการกัดเซาะประมาณ 10 – 15 เมตรต่อ ปี โดยการกัดเซาะจะเห็นได้ชัดบริเวณด้านหลังโรงเรียนบ้านตันหยงเปาว์ หาดทรายด้านหน้าจะถูกกัด เซาะหายไปหมด สาเหตุของการกัดเซาะที่นี่ก็เป็นดังเช่นที่นักวิชาการได้มีการระบุไว้ข้างต้น กล่าวคือ ทั้งเกิดจากสภาพธรรมชาติของพื้นที่ได้รับอิทธิพลของคลื่นและกระแสน้้า รวมทั้งการสร้างเขื่อนกั้น ทรายบริเวณปากคลองตันหยงเปาว์
สภาพชายหาดบ้านตันหยงเปาว์ที่ถูกกัดเซาะดังกล่าว เกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่องประมาณ 4 – 5 ปี แล้ว และทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ ชาวบ้านพบว่า ในแต่ละปีชายหาดได้ถูกกัดเซาะไปประมาณ 10 – 15 เมตร ซึ่งสังเกตได้จากบ้านพักครู ซึ่งตั้งอยู่ด้านหลังโรงเรียนบ้านตันหยงเปาว์ อยู่ใกล้ชายหาด ถูก คลื่นกัดเซาะจนเหลือแต่เสาบ้านจมอยู่ในน้้าทะเล นอกจากนี้สภาพของสวนมะพร้าวของชาวบ้านที่เคย
อยู่ลึกเข้ามาจากชายหาดก็ถูกน้้าท่วมถึง เนื่องจากแนวชายหาดได้หายไปเรื่อย ๆ ชาวบ้านในพื้นที่กังวล ใจกับสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นอย่างยิ่ง ทั้งนี้เพราะหากไม่มีการแก้ไขปัญหาอย่างทันท่วงทีแล้ว คลื่นลม ก็จะกัดเซาะทั้งในส่วนของโรงเรียนบ้านตันหยงเปาว์ และโรงเรียนสอนศาสนาอิสลาม (ตาดีกา) ซึ่งเป็น โรงเรียนที่มีความส้าคัญยิ่งในการอบรม สั่งสอนบุตรหลานของสมาชิกในชุมชน เพราะหากไม่มี โรงเรียนทั้ง 2 แห่งนี้ ลูกหลานในชุมชนก็จะต้องไปศึกษาที่อื่น ๆ ซึ่งอยู่ไกลจากชุมชนไปมาก จะส่งผล ให้เด็กขาดโอกาสในการศึกษาเล่าเรียนได้
ต่อมาเมื่อช่วงเดือนตุลาคม ปี พ.ศ. 2547 ที่ผ่านมา ทางชาวบ้านในชุมชนได้ร่วมกันออกไปปัก เสาคอนกรีตขนาดความยาว 2.5 – 3.5 เมตร เพื่อใช้เป็นแนวในการเพาะเลี้ยงหอยแมลงภู่ แต่ชาวบ้านได้ สังเกตและเก็บข้อมูลพบว่า ด้านหลังของแนวชายหาดที่ปักเสาคอนกรีตถูกกัดเซาะลดน้อยลง ทั้งนี้เพราะ เสาคอนกรีตช่วยลดความรุนแรงและการปะทะของคลื่นลม
จากประสบการณ์ของชาวประมงพื้นบ้านในพื้นที่จ.ปัตตานีที่เคยมีการปักเสาเพื่อเพาะเลี้ยง หอยแมลงภู่ และสังเกตเห็นถึงการเพิ่มขึ้นของทรายบริเวณด้านหลังแนวเสา ประกอบกับประสบการณ์ ที่ได้เรียนรู้จากพื้นที่ที่ไปศึกษาดูงานทั้งที่ จ.นครศรีธรรมราชและ จ.สงขลา ที่ส่วนใหญ่แล้วเมื่อเกิด ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ก็มักมีการแก้ปัญหาโดยการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ไปกั้นคลื่นไม่ให้มาปะทะ ชายหาด ซึ่งเป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ที่มีความแข็งตัว (Hard Structure) และการก่อสร้างสิ่งก่อสร้าง ขนาดใหญ่นี้อาจจะช่วยแก้ปัญหาเฉพาะหน้าให้กับพื้นที่ที่ประสบปัญหาชายฝั่งถูกกัดเซาะอยู่ได้ แต่ใน ขณะเดียวกันทางทีมวิจัยก็ประจักษ์ชัดดีว่าพื้นที่ที่อยู่ถัดไปจากการก่อสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่มักจะ เกิดการกัดเซาะเป็นลูกโซ่ต่อเนื่องกันไป จึงเห็นว่าการแก้ปัญหาโดยการสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ น่าจะไม่ใช่วิธีการที่ยั่งยืนและเหมาะสม เพราะอาจจะสามารถแก้ปัญหาการกัดเซาะที่ชายหาดหน้าบ้าน ตนเองได้แน่ก็จะไปสร้างปัญหาให้กับพื้นที่ข้างเคียงต่อไปได้ ทางสมาคมชาวประมงพื้นบ้านจังหวัด ปัตตานีจึงเห็นว่าในท่ามกลางสภาพปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งที่เข้าขั้นวิกฤตของชุมชนดังกล่าว ชาวประมงพื้นบ้านในพื้นที่จึงได้ประชุมปรึกษาหารือร่วมกันและมีความต้องการที่จะร่วมกันด้าเนินการ ชะลอความรุนแรงของการกัดเซาะชายฝั่งโดยการปักเสาคอนกรีต ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาโดยใช้โครงสร้าง แบบอ่อนตัว (Soft Structure ) สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบได้ตามสถานการณ์ ทีมวิจัยเห็นร่วมกันว่า การปักเสาคอนกรีต นอกจากจะช่วยลดการกัดเซาะชายฝั่งทะเลแล้วยังเป็นการสร้างแหล่งอนุบาลสัตว์น้้า วัยอ่อนเพิ่มขึ้นอีกด้วย
3.2.3 การจัดเวทีชุมชน
การจัดเวทีชุมชนเป็นเครื่องมือส้าคัญที่ใช้ในการดึงคนส่วนใหญ่ในชุมชนเข้ามารับรู้และมีส่วน ร่วมในกระบวนการด้าเนินงานทั้งหมดของโครงการวิจัย โดยมีการจัดเวทีชุมชน 3 ครั้งด้วยกัน ดังนี้
ครั้งที่ 1 - เพื่อชี้แจงกับคนในชุมชนถึงรายละเอียดที่โครงการด้าเนินการทั้งหมด และขอให้ ชาวบ้านช่วยกันให้ข้อมูลอย่างเต็มที่ รวมทั้งร่วมสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ
ครั้งที่ 2 -จัดขึ้นหลังจากที่ทีมวิจัยศึกษาข้อมูลได้ระดับหนึ่งแล้ว เพื่อน้าความรู้ที่ได้เสนอต่อที่ ประชุม และให้ที่ประชุมวิพากษ์วิจารณ์และให้ข้อมูลเพิ่มเติม
ครั้งที่ 3 -จัดขึ้นก่อนปิดโครงการ เพื่อให้ทีมวิจัยเสนอผลสรุปของโครงการทั้งหมด เพื่อให้ที่ ประชุมแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมส้าหรับทีมวิจัยได้น้าไปปรับปรุงรายงานการวิจัยให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น และเพื่อหาแนวทางร่วมกันที่จะรักษาผลที่เกิดขึ้นจากโครงการให้ยั่งยืนและน้าไปสู่การต่อยอดได้ต่อไป
3.2.4 การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการส˚ารวจข้อมูลการทับถมของตะกอนทรายที่เกิดขึ้นใน พื้นที่โครงการที่มีการปักเสาปูนโดยใช้เครื่องมือแบบง่ายที่ชุมชนสร้างขึ้นเอง
ทีมวิจัยได้มีการร่วมกันจัดท้าอุปกรณ์เครื่องมือแบบง่ายเพื่อใช้ส้าหรับการเก็บข้อมูลการทับถม ของตะกอนทรายที่เกิดขึ้นในพื้นที่โครงการที่มีการปักเสาปูน โดยได้รับค้าแนะน้าจากนักวิชาการทาง ภูมิศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และนักวิชาการจากกรมทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ง โดยรูปแบบของเครื่องมือจะท้าจากท่อพีวีซีอย่างหนา ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้วแบ่ง สเกลเพื่อใช้วัดการเพิ่มขึ้นของทราย โดยมีแผ่นไม้รองที่ฐานเพื่อไม่ให้ท่อพีวีซีจมลงในพื้นทราย ตามรูป ด้านล่าง
ภาพที่ 35 เครื่องมือตรวจวัดระดับความสูงของเสา
แปลงปักเสา
ภาพที่ 36 แปลงปักเสา
วิธีการเก็บข้อมูล
1. ใช้เครื่องมือตรวจวัดระดับความสูงของเสาที่ปักไว้ จากเสาต้น A1 ซึ่งอยู่ริมฝั่งแล้วจดบันทึก ความสูงของเสาตั้งแต่หน้าดินจนถึงระดับสูงสุดของเสา เพื่อต้องการดูการเปลี่ยนแปลงของการเพิ่มขึ้น หรือลดลงของทรายในชุดที่ต้องการส้ารวจ ท้าในลักษณะเดียวกันกับเสาต้น A2 ,A3,A4 ซึ่งเสาแต่ละต้น จะอยู่กึ่งกลางของผังการปักในแต่ละแปลงปักเสา
2. ใช้เครื่องมือตรวจวัดระดับความสูงของเสาที่ปักไว้ จากเสาต้น B1 ซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่าง เสา A1 กับแปลงปักเสาซึ่งมีระยะห่างจากฝั่งประมาณ 25 เมตร แล้วจดบันทึก เพื่อต้องการดูการเปลี่ยนแปลง ของการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของทรายในจุดที่ต้องการส้ารวจ ท้าในลักษณะเดียวกันกับเสาต้น B2,B3 และ B4 เสาแต่ละต้นจะอยู่กึ่งกลางของผังการปักในแต่ละแปลงปักเสา
3. ใช้เครื่องมือตรวจวัดระดับความสูงของเสาที่ปักไว้ในแปลงที่ปักเสา โดยการสุ่มเลือกเสา จ้านวน 10 ต้น ใน1 แปลง โดยก้าหนดเสาในแปลง C เป็น C1,C2,C3,C4,C5,C6,C7,C8,C9,C10 แล้วจด บันทึกเสาในแต่ละต้นที่เลือกไว้ในแปลงปักเสา C ท้าในลักษณะเดียวกันในแปลง D , แปลงE และแปลง F ในแต่ละแปลงจะใช้วิธีการการสุ่มจ้านวน 10 ต้นในครั้งแรก ในการตรวจวัดในครั้งต่อไป จะยึดเสาที่ จดบันทึกในครั้งแรกเป็นเสาที่จะบันทึกในครั้งต่อๆไปจดสั้นๆของการเก็บส้ารวจข้อมูล
3.2.5 การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของชายฝั่งทะเล
ทางโครงการวิจัยได้มีการส้ารวจและเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงพื้นทะเลบริเวณแนวปักเสา คอนกรีตโดยละเอียด จ้านวน 5 แนว ๆละ 3 ครั้ง โดยแนวตรวจวัด 5 แนว คือ 1) ทางทิศตะวันตกของ แนวปักเสา 50 เมตร 2) ในแนวปักเสา 50 เมตร 3) ในแนวปักเสา 200 เมตร 4) ในแนวปักเสา 350 เมตร และ5) ทางทิศตะวันออกของแนวปักเสา 50 เมตร ส่วนความถี่ในการตรวจวัด 3 ครั้ง คือ ช่วงก่อนมรสุม (ต้นเดือนตุลาคม) ช่วงหลังมรสุม (ต้นเดือนกุมภาพันธ์) และช่วงนอกมรสุม (ต้นเดือนมิถุนายน) โดยให้ ตรวจวัดระดับความลึกของพื้นทะเล โดยเริ่มจากแนวสันทรายหรือแนวชายฝั่งลงไปในทะเลไม่น้อย กว่า 100 เมตร เพื่อตรวจวัดแนวโน้มการคืนตัวของทราย และการเปลี่ยนแปลง/เคลื่อนตัวของแนวสัน ดอนทรายใต้น้้า การเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของท้องทะเลใช้ทั้งวิธีการเดินระดับชายฝั่ง (beach profile) ร่วมกับการหยั่งน้้าขณะน้้าขึ้น
ภาพที่ 37 ลักษณะการปักเสาคอนกรีต
ภาพที่ 38 บริเวณพื้นที่ทเก็บข้อมูล
จากการบันทึกข้อมูลของนักวิจัยพบว่า บริเวณแนวปักเสาคอนกรีต มีการเพิ่มขึ้นของทราย บริเวณหลังแนวเสาคอนกรีต โดยเฉลี่ย 20 เมตร แต่มีข้อน่าสังเกตว่าการเพิ่มขึ้นของทรายในบริเวณ ดังกล่าวนั้น ยังไม่อยู่ในสภาวะที่เสถียรคงที่ กล่าวคือในช่วงฤดูมรสุมทรายบริเวณหลังแนวเสาคอนกรีต จะถูกคลื่นที่มีความรุนแรงมากซัดกลับคืนสู่ท้องทะเล แต่เมื่อถึงช่วงหลังฤดูมรสุมธรรมชาติก็จะคืน ทรายกลับมากองไว้บริเวณหลังแนวเสาคอนกรีตเช่นเดิม
จากการบันทึกข้อมูลของนักวิจัยที่ใช้เครื่องมืออย่างง่าย และน้ามาแสดงผลเป็นกราฟ (ตาม แผนภาพที่ 39) จะสามารถแสดงให้เห็นถึงการเคลื่อนตัวของตะกอนทรายบริเวณกลุ่มเสาคอนกรีตและ พบว่ามีการสะสมตัวของตะกอนทรายตามฤดูกาล ซึ่งสามารถชะลอความรุนแรงของคลื่น ก่อนที่จะมา กระทบต่อแนวชายฝั่งได้ในระดับหนึ่ง แต่อย่างไรก็ตามทางทีมวิจัยและชุมชนจ้าเป็นจะต้องมีการ ติดตามผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อติดตามความเสถียรของการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของชายฝั่งทะเลใน บริเวณพื้นที่ที่ศึกษา
ภาพที่ 39 ภาพแสดงการเคลื่อนตัวของตะกอนทรายบริเวณกลุ่มเสาคอนกรีต
3.2.6 การศึกษาการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม ซึ่งครอบคลุมถึงการมีส่วนร่วมและความพึง พอใจของประชาชนในพื้นที่ศึกษา บ้านตันหยงเปาว์ ต˚าบลท่าก˚าช˚า อ˚าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม ซึ่งครอบคลุมถึงการมีส่วนร่วมและความพึง พอใจของประชาชนในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลสภาพเศรษฐกิจ และ สังคม ในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านตันหยงเปาว์ ต้าบลท่าก้าช้า อ้าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ที่เกิดจากแนวปักเสา คอนกรีต และ ความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่ ช่วงฤดูมรสุม และ นอกมรสุม โดยมีทั้งรูปแบบ ของการจัดท้าแบบสอบถามแบบง่ายและการประชุมกลุ่มย่อยกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ประชาชน ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านตันหยงเปาว์ ต้าบล ท่าก้าช้า อ้าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จ้านวน 140 คน ใช้วิธีสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย การแจกแจงความถี่ ด้วยใช้โปรแกรมส้าเร็จรูป SPSS
ผลการวิจัย สรุปว่า
1. ข้อมูลทั่วไป ผู้ให้สัมภาษณ์ เป็นเพศชาย (ร้อยละ 90.7) และเพศหญิง(ร้อยละ 9.3) ส่วนใหญ่ มีอายุระหว่าง 31-40 ปี (ร้อยละ 25.0) รองลงมา มีอายุต่้ากว่า 31 ปี และอายุระหว่าง 41 - 50 ปี (ร้อยละ 20.0) เท่ากัน และส่วนน้อย อายุ 71 ปี ขึ้นไป (ร้อยละ 2.9), ด้านสถานภาพครอบครัว ส่วนใหญ่ เป็นหัวหน้าครอบครัว (ร้อยละ 79.3) รองลงมา เป็นบุตร (ร้อยละ 12.1) และเป็นภรรยา (ร้อยละ 8.6), ด้านสถานภาพการสมรส สมรสแล้ว (ร้อยละ 77.9) รองลงมา เป็นโสด (ร้อยละ 12.1) และส่วนน้อย หย่าร้าง (ร้อยละ 3.6), ด้านการนับถือศาสนา ทั้งหมดนับถือศาสนาอิสลาม (ร้อยละ 100.0), ด้านสมาชิก ในครอบครัว ส่วนใหญ่จ้านวน 4-6 คน (ร้อยละ 51.4) รองลงมา จ้านวน 1-3 คน (ร้อยละ 33.6) และส่วนน้อย จ้านวน 7 - 9 คน (ร้อยละ 9.3), ด้านสมาชิกในครอบครัวที่ประกอบอาชีพประมง ส่วนใหญ่ ไม่ระบุ จ้านวนสมาชิกในครัวเรือนที่ประกอบอาชีพประมง (ร้อยละ 51.4) รองลงมา จ้านวน 1 คน (ร้อยละ 33.6) และส่วนน้อย จ้านวน 3 คน(ร้อยละ 0.7), ด้านการศึกษา สายสามัญระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 81.4), รองลงมา ระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 1.4) และไม่ได้รับการศึกษา (ร้อยละ 15.7), สายศาสนาระดับต้น (อิบติดาอี ร้อยละ72.1)ระดับกลาง(มูตาวัตซิส ร้อยละ 2.1) และไม่ได้เรียน(ร้อยละ 25.8), ด้านระยะเวลา ที่อยู่ในหมู่บ้าน ส่วนใหญ่ อาศัยอยู่ในหมู่บ้าน 31 - 40 ปี (ร้อยละ 24.3) รองลงมา น้อยกว่า 31 ปี (ร้อยละ 22.9) และส่วนน้อย ตั้งแต่ 71 ปี ขึ้นไป (ร้อยละ 2.1)
ด้านภูมิล้าเนา ส่วนใหญ่เป็นคนในหมู่บ้าน(ร้อยละ 95.0) และย้ายเข้ามาอาศัยในหมู่บ้าน (ร้อยละ 4.3), ด้านอาชีพหลัก ส่วนใหญ่มีอาชีพประมง (ร้อยละ 53.6) รองลงมา อาชีพรับจ้าง (ร้อยละ 14.3) ส่วนน้อย รับซื้อของเก่าและหมอบ้าน(ร้อยละ 0.7) เท่ากัน, ด้านอาชีพรอง ส่วนใหญ่ไม่มีอาชีพรอง(ร้อยละ 85.0) มีอาชีพรับจ้าง(ร้อยละ10.7) รองลงมา อาชีพค้าขาย (ร้อยละ2.1) เลี้ยงสัตว์ (ร้อยละ 1.4), ด้านรายได้ ต่อเดือน ส่วนใหญ่ มีรายได้5,001-10,000 บาท (ร้อยละ 75.0) รองลงมา 10,001-15,000 บาท (ร้อยละ 21.4) และส่วนน้อย (ร้อยละ 3.6) มีรายได้ 3,001-5,000 บาท, ด้านความเพียงพอของรายได้ ส่วนใหญ่ มีรายได้ เพียงพอ(ร้อยละ 79.3) และส่วนน้อย (ร้อยละ 19.3) มีรายได้ไม่เพียงพอ, ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนสูงสุด ในแต่ละด้าน เกี่ยวกับการอุปโภคในครัวเรือนประมาณ 6,000 บาท ขึ้นไป(ร้อยละ 40.7), เกี่ยวกับที่อยู่ อาศัยและเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านประมาณ 200-399 บาท (ร้อยละ 61.4), เกี่ยวกับยานพาหนะประมาณ
1,200–2,000 บาท (ร้อยละ 44.3), เกี่ยวกับการสื่อสารประมาณ 51-100 บาท (ร้อยละ 32.9), เกี่ยวกับ การศึกษาและรักษาพยาบาล ประมาณ 200-399 บาท (ร้อยละ 68.6) ,ด้านเงินออม ส่วนใหญ่ไม่มีเงินออม (ร้อยละ 84.3) มีเงินออม (ร้อยละ 10.7) ,ด้านหนี้สิน ส่วนใหญ่ ไม่มีหนี้สิน (ร้อยละ 82.1) มีภาระหนี้สิน (ร้อยละ 15.0)
2. ทัศนคติต่อปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ด้านระดับความรุนแรงของการกัดเซาะมีมากกว่า 5 เมตร ต่อปี ระยะเวลาที่เริ่มเกิดการกัดเซาะชายฝั่งมากกว่า 20 ปี ราคาประเมินและราคาซื้อขายไร่ละ 5,000 บาท ส่วนใหญ่เห็นว่า การแก้ปัญหาโครงสร้างชายฝั่งที่มีอยู่ สามารถแก้ปัญหาได้บางส่วน, ด้าน โครงสร้างชายฝั่งที่สามารถป้องกันชายฝั่งได้ ส่วนใหญ่เห็นว่า การปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่นสามารถ
ป้องกันชายฝั่งได้ ส้าหรับความพึงพอใจต่อการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งอยู่ในระดับมาก, ด้าน ความตระหนักต่อการแก้ปัญหาการกัดเซาะ เห็นว่า หน่วยงานส่วนท้องถิ่นเข้ามาแก้ไขปัญหาชั่วคราว ได้แก่ ถมดินแดงบริเวณพื้นที่ที่โดนกัดเซาะ, ท้าท่อระบายน้้า, ทางราชการมีแผนการ เช่น ศึกษา อบรม และอยู่ระหว่างก้าลังก่อสร้างโครงการของราชการ ส้าหรับความคิดเห็นต่อการสร้างโครงสร้างชายฝั่ง ส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยโดยเห็นว่า การสร้างโครงสร้างชายฝั่งจะส่งผลกระทบกับหมู่บ้านอื่นอย่างรุนแรง, การสร้างโครงสร้างชายฝั่งเป็นการท้าลายชายหาด, เป็นการท้าลายวิถีชีวิตชาวบ้าน และเป็นการท้าลาย ระบบนิเวศน์ ส้าหรับผู้ให้สัมภาษณ์ที่เห็นด้วยกับการสร้างโครงสร้างชายฝั่ง ส่วนใหญ่คิดว่า ช่วยป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง, ช่วยป้องกันคลื่นในช่วงมรสุม และเห็นผลจากที่อื่นที่มีการสร้าง โครงสร้างชายฝั่งว่า สามารถป้องกันคลื่น/การกัดเซาะได้
3. ผลกระทบและความเสียหายที่เกิดจากการกัดเซาะชายฝั่ง ได้แก่ ทรัพยากรชายฝั่ง, สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ คือ หาดทราย ชายหาด, หาดเลน ป่าชายเลน, สนามฟุตบอล และบ้านพักครู ที่ได้รับ ผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่ง หากแต่กลุ่มตัวอย่างในพื้นที่ ที่ได้รับผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่ง ได้ใช้ประโยชน์ที่ดินที่โดนกัดเซาะด้วยการท้าสวนมะพร้าว
4. ความพึงพอใจต่อโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่นในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความพึงพอใจที่มีต่อโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่น ในช่วง 3 ช่วงระยะเวลา คือ นอกฤดูมรสุม ก่อนฤดูมรสุม และหลังฤดูมรสุม พบว่า มีความพึงพอใจต่อโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอ คลื่นฯ ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยใกล้เคียงกัน เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบประเด็นของความพึงพอใจที่มี ค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตามล้าดับ สรุปได้ดังนี้ ความพึงพอใจที่โครงการฯ มีความสอดคล้องกับหลักวิถีชีวิต/ วัฒนธรรม/หลักศาสนาอิสลามของประชาชนในพื้นที่, สามารถตอบสนองต่อการแก้ปัญหาของชุมชน ที่เผชิญหน้าอยู่ได้, สามารถลดปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลได้, สามารถฟื้นฟูพื้นที่ชายฝั่งทะเลได้, ท้าให้สมาชิกในชุมชนมีพื้นที่ในการท้าประมงในช่วงฤดูมรสุมและในช่วงที่ภูมิอากาศไม่อ้านวยต่อการ ออกท้าการไกลจากชายฝั่งได้, ก่อให้เกิด การจ้างงาน สร้างรายได้ ให้กับประชาชนในพื้นที่, สามารถ สร้างรายได้เพิ่มให้กับสมาชิกในชุมชน โดยสามารถออกท้าการประมงได้ และท้าให้สมาชิกในชุมชนได้ เข้ามามีส่วนร่วมในการด้าเนินโครงการได้ ตามล้าดับ
5. การมีส่วนร่วมในการด้าเนินโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่น เพื่อแก้ปัญหาการกัด เซาะและฟื้นฟูพื้นที่ชายฝั่งทะเล ฯ ในช่วงระยะเวลาที่ต่างกัน กล่าวคือ ระยะช่วงนอกฤดูมรสุมและช่วง ก่อนฤดูมรสุมพบว่า การมีส่วนร่วมในการด้าเนินโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่นฯ แตกต่างกัน ดังนี้ ช่วงนอกฤดูมรสุม อยู่ในระดับปานกลาง สูงกว่าค่าเฉลี่ยช่วงก่อนฤดูมรสุม และช่วงหลังฤดูมรสุม ซึ่งมี ค่าเฉลี่ยเท่ากัน และอยู่ในระดับน้อย โดยมีเพียงประเด็นเดียว ที่มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คือ การมีส่วนร่วมใน การรับผลประโยชน์จากการด้าเนินโครงการฯ และเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบประเด็นการมีส่วนร่วมต่อ โครงการฯ ที่มีค่าเฉลี่ยลดลง เรียงล้าดับค่าเฉลี่ยที่ลดลง จากมากไปหาน้อย ดังนี้ การมีส่วนร่วมในการ วางแผนและการตัดสินใจในการด้าเนินโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่นฯ, การมีส่วนร่วมในการ
ตรวจสอบและประเมินผลการด้าเนินโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่นฯ และการมีส่วนร่วมในการน้า แผนการด้าเนินโครงการฯ ไปปฏิบัติ
6. ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการเข้ามามีส่วนร่วมในการด้าเนินโครงการปักเสา คอนกรีตชะลอคลื่น เพื่อแก้ปัญหาการกัดเซาะและฟื้นฟูพื้นที่ชายฝั่งทะเล ในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านตันหยงเปาว์ ต้าบลท่าก้าช้า ของผู้ให้สัมภาษณ์ ซึ่งเป็นตัวแทนกลุ่มตัวอย่างฯ ในช่วงระยะเวลาที่ต่างกัน กล่าวคือ ระยะช่วงนอกฤดูมรสุม ช่วงก่อนฤดูมรสุม และช่วงหลังฤดูมรสุม พบว่า ปัญหา อุปสรรคที่มีความถี่สูง สอดคล้องกัน 3 อันดับแรก คือ ไม่มีความพร้อมทางด้านเศรษฐกิจ, ไม่มีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วม และ คิดว่าตนเองไม่มีความสามารถเพียงพอ
นอกจากนี้ทีมวิจัยยังมีการประชุมกลุ่มย่อยกับกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เป้าหมายของโครงการ จ้านวน 2 ครั้ง ด้วยกันคือ ครั้งที่ 1- ในช่วงระยะเริ่มต้นการด้าเนินโครงการวิจัยฯ และครั้งที่ 2 ในช่วง ท้ายของการด้าเนินโครงการวิจัย ได้ผลสรุปโดยสังเขปดังนี้
ผลการประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 1 (ระหว่างด้าเนินโครงการ) เพื่อรวบรวมรูปแบบในการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม ซึ่งครอบคลุมถึงการมีส่วนร่วมและความพึงพอใจของประชาชน ในพื้นที่ศึกษา มีผลดังนี้
1. ความคิดเห็น/ทัศนคติต่อปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลที่บ้านตันหยงเปาว์
ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเป็นปัญหาที่ชุมชนได้ตระหนักถึงภัยอันตรายที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติ จะเห็นได้ว่าเมื่อมีการพูดคุยถึงประเด็นของการแก้ไขปัญหาจะได้รับความสนใจและความร่วมมือจาก ชุมชนเป็นอย่างดี เพราะชุมชนมองว่าเป็นปัญหาที่คุกคาม ความมั่นคง ความปลอดภัยในที่อยู่อาศัยและ การด้ารงชีวิตอยู่ในชุมชน ประกอบกับพื้นที่ในชุมชนที่จะสร้างเป็นที่อยู่อาศัยค่อนข้างที่จะมีอยู่อย่าง จ้ากัด จึงท้าให้ชุมชนมองเห็นว่าปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเป็นปัญหาหลักที่จะได้รับความแก้ไข ในช่วงที่ ผ่านมา ชุมชนพยายามแสวงหาทางออกในการแก้ไขปัญหา โดยใช้ช่องทางหลายๆช่องทาง เช่น การท้า หนังสือถึงภาคส่วนราชการที่เกี่ยวข้องให้มีการด้าเนินการแก้ไข การพาไปดูแนวทางในการแก้ไขปัญหา ในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง เพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุด รวมทั้งลองท้าโครงการใหม่ๆ และท้าการเก็บข้อมูลและศึกษาวิจัย เช่น โครงการปักเสาชะลอคลื่น ซึ่งผล การศึกษาก็ยังไม่แน่ชัดว่าสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างแท้จริง
ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดความแตกต่างทางความคิดและทัศนะในการ ด้าเนินการภายในชุมชนเป็นอย่างมาก คือส่วนหนึ่งเห็นว่าน่าจะแก้ไขปัญหาโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมใน การคิดค้นรูปแบบที่เหมาะสม อาจจะลองผิดลองถูกและท้าการศึกษาให้ได้ข้อสรุปที่เหมาะสม แต่ ในขณะที่อีกกลุ่มหนึ่งในชุมชนมองว่าการแก้ไขปัญหาควรจะเป็นการท้าสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ ที่ สามารถป้องกันปัญหาการกัดเซาะได้อย่างจริงจังและได้ผลทันที เช่น การสร้างแนวป้องกันกลางทะเล ซึ่งแนวคิดนี้มีค้าถามว่าถ้าสร้างขึ้นมาและเกิดผลกระทบ เช่น สร้างที่หนึ่งและไปกัดเซาะอีกที่หนึ่งจะ
ด้าเนินการอย่างไร ความคิดเห็นของชาวบ้านก็มองว่า คงจะต้องหาแนวทางแก้ไขต่อไปในอนาคต ซึ่ง รูปแบบเป็นอย่างไรภาครัฐก็คงด้าเนินการได้
จะเห็นได้ว่าปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดมิติใน 2 ด้านภายในชุมชน กล่าวคือ ด้านแรกเกิดการส้านึกร่วมกันภายในชุมชนในการที่จะร่วมกันแก้ไขปัญหา อีกด้านหนึ่งก่อให้เกิดความ แตกต่างทางความคิด ความขัดแย้งจึงจ้าเป็นต้องมีความละเอียดอ่อนในการแก้ไขความแตกต่างทาง ความคิดภายในชุมชนปัญหาเป็นอย่างมาก ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งที่เกิดเป็นปัญหาเฉพาะหน้าที่ทุกคน ต้องการแก้ไข แต่การรับรู้ข้อมูล ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเลือกแนวทางในการแก้ปัญหาก็เป็น สิ่งส้าคัญที่ต้องท้าให้ชาวบ้านรับรู้อย่างทั่วถึง รวมทั้งต้องมีหลักวิชาการที่น่าเชื่อถือในการด้าเนินการ จึง จะเป็นแนวทางที่แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและเป็นที่ยอมรับของผู้คนภายในชุมชนได้
2. ความคิดเห็นต่อรูปแบบและวิธีการแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งโดยการปักเสาคอนกรีตชะลอ คลื่น
2.1 ทัศนคติต่อรูปแบบและวิธีการแก้ปัญหา
ในเรื่องรูปแบบการปักเสา เป็นความคิด และเป็นประสบการณ์จากการสังเกตเห็นการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการด้าเนินการปักเสาเลี้ยงหอยแมลงภู่จากชาวบ้านกลุ่มหนึ่งและสังเกตเห็น การเปลี่ยนแปลงว่ามีทรายเพิ่มขึ้นหลังแนวปักเสา จึงได้มีการด้าเนินการติดต่อประสานงานกับทาง เจ้าหน้าที่ของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งลงมาพูดคุยในพื้นที่ และพบว่าได้มีแนวทางการ แก้ปัญหาในลักษณะเดียวกันนี้ที่บ้านขุนสมุทรจีน จังหวัดสมุทรปราการ จึงได้มีการร่วมกันระหว่างกรม ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กับชาวบ้านในพื้นที่ด้าเนินการจัดท้าโครงการปักเสาชะลอคลื่น เป็น โครงการทดลองว่าจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงบริเวณชายหาดว่ามีการเพิ่มขึ้นของทรายได้หรือไม่
รูปแบบการปักเสา จึงถือเป็นส่วนหนึ่งของการมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการน้าเสนอรูปแบบที่ แตกต่างจากที่เคยปฏิบัติกันมา เป็นการลองผิดลองถูก เพื่อน้าไปสู่การแก้ปัญหาอย่างถาวรต่อไปใน อนาคต มีการประชุมพูดคุยหลายครั้งกว่าจะมีการด้าเนินการจัดท้าโครงการ รวมทั้งได้มีการศึกษาดูงาน ในเรื่องรูปแบบของการแก้ไขปัญหาในหลายๆ พื้นที่ที่ประสบปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ซึงแต่ในหลาย รูปแบบของการแก้ปัญหาต้องใช้งบประมาณมหาศาล และก่อให้เกิดผลกระทบตามมาอีกมากมาย
วิธีการแก้ไขปัญหาในรูปแบบการปักเสาชะลอคลื่นเป็นการตั้งสมมุติฐานของชาวบ้านบางส่วน ที่ต้องการแก้ไขปัญหาโดยยึดหลัก การเข้าใจธรรมชาติ การไม่ต้องการเอาชนะธรรมชาติและการอยู่ ร่วมกันกับธรรมชาติให้ได้ กล่าวคือ เมื่อยามที่คลื่นลมรุนแรงก็สามารถพัดพาความรุนแรงโดยผ่านเสาที่ ปักไว้ แต่เมื่อยามที่คลื่นลมสงบเสาที่ปักไว้ก็จะช่วยชะลอความรุนแรงและเป็นตัวดักตะกอนทรายไม่ให้ พัดหายไปตามกระแสน้˚า ท˚าให้ทรายบริเวณชายฝั่งเพิ่มมากขึ้น
2.2 ความพึงพอใจต่อโครงการปักเสาชะลอคลื่น
ในการด้าเนินการทดลองปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่นในช่วงระยะเวลา 2 ปี ที่ผ่านมา สร้างความ พึงพอใจในระดับหนึ่งให้กับสมาชิกภายในชุมชน แต่ไม่ใช่สมาชิกทั้งหมด กลุ่มคนในชุมชนที่เห็นด้วย
กับการปักเสาคอนกรีต มองว่า กระบวนการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งจะต้องมาจากการมีส่วนร่วม ของผู้คนภายในชุมชน โดยชุมชนจะต้องเป็นผู้ที่สามารถก้าหนดรูปแบบของการแก้ไขปัญหา ร่วมกันคิด และร่วมกันท้า รวมทั้งมีการติดตามความก้าวหน้าของการด้าเนินการและศึกษาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น สิ่งที่พบเห็นคือจ้านวนทรายที่เพิ่มขึ้นเมื่อคลื่นลมสงบ จ้านวนของสัตว์น้้าที่มีมากขึ้นภายในบริเวณพื้นที่ ที่ปักเสา และเกิดความมั่นคงทางด้านอาหารให้กับชุมชนโดยมีหอยแมลงภู่มาเกาะบริเวณเสาที่ปักไว้ ซึ่ง เป็นอาหารอย่างดีให้กับผู้คนภายในชุมชน รวมทั้งเป็นอาหารในกิจกรรมงานเพื่อส่วนรวมของชุมชน ซึ่งถือเป็นความสัมพันธ์ที่ดีของสังคมภายในชุมชน
โครงการปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่นยังช่วยในเรื่องอาชีพให้กับชาวประมงพื้นบ้าน ที่สามารถใช้เครื่องมือประมงที่มีความหลากหลายมากขึ้น เพราะสัตว์น้้าในบริเวณเสาที่ปักไว้มีการ เพิ่มขึ้นทั้งในเชิงปริมาณและความหลากหลาย เสมือนว่าเสาที่ปักไว้เป็นปะการังเทียม เป็นที่อยู่อาศัย แหล่งอาหาร แหล่งผสมพันธุ์ของสัตว์น้้าวัยอ่อน ท้าให้สัตว์น้้ามีความอุดมสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ชาวบ้าน ได้ใช้ประโยชน์จากความอุดมสมบูรณ์ที่เกิดขึ้นโดยการเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมตามฤดูกาล เช่น ช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ซึ่งถือเป็นช่วงเปลี่ยนลม ซึ่งจะมีกุ้งเคยเป็นจ้านวนมาก เข้ามาซ่อนตัวใน บริเวณแนวเสา ชาวบ้านจะใช้เครื่องมือรุนเคยเข้าไปจับกุ้งเคยเหล่านั้น ช่วงเมษายน-ตุลาคม จะเป็นช่วง ที่ชาวบ้านสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่หลากหลายมาก เช่น ทอดแหกุ้ง แหปลา ใช้อวนลอยกุ้งสามชั้น และใช้ลอบปลาเก๋าจับปลาเก๋าในบริเวณที่ปักเสา จะเห็นได้ว่าโครงการปักเสานอกจากจะช่วยในเรื่อง การป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งแล้ว ยังช่วยให้เกิดรายได้ให้กับชาวบ้านในชุมชนได้อีกด้วย
แต่ในขณะเดียวกันชาวบ้านส่วนหนึ่งภายในชุมชนที่ไม่ค่อยพึงพอใจต่อโครงการปักเสา เพราะ มองว่าไม่สามารถแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งได้อย่างเบ็ดเสร็จและรวดเร็วทันใจ ชาวบ้านกลุ่มนี้ยังมอง ว่า การแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งจะต้องเน้นการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะโดยตรงให้ได้เพียง ประการเดียว โดยการยึดรูปแบบของการก่อสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่จึงจะสามารถแก้ไขปัญหาได้ อย่างทันท่วงที
2.3 การมีส่วนร่วมในการด˚าเนินโครงการปักเสาชะลอคลื่น
โครงการปักเสาชะลอคลื่นนับเป็นโครงการที่ดีที่ชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่การริเริ่มของโครงการ โดยที่ชุมชนเป็นผู้เสนอความต้องการ ให้เกิดการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นภายในชุมชน โดยผ่านการประชุม พูดคุยกันหลายครั้งจนได้ข้อสรุปในการเสนอความต้องการให้หน่วยงานรัฐ มีการเชิญภาคส่วนที่ เกี่ยวข้องทั้งเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ และนักวิชาการจากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เข้ามาให้ ข้อมูลในเรื่องของเทคนิคและวิธีการปักเสา ซึ่งต้องใช้หลักวิชาการในการด้าเนินการ รวมทั้งมีการ ติดตามผลที่เกิดขึ้น โดยการเก็บข้อมูล รวมทั้งท้างานติดตามประเมินผลควบคู่กันไป ระหว่างด้าเนินการ โครงการและหลังการท้าโครงการ ซึ่งจะต้องให้ข้อสรุปที่ชัดเจนว่าผลของการด้าเนินโครงการจะเป็น อย่างไร รวมทั้งข้อเสนอแนะของการท้าโครงการต่อไปในอนาคต
แต่การด้าเนินโครงการไม่สามารถท้าให้ชุมชนส่วนใหญ่เข้ามามีส่วนร่วมได้ทั้งหมด อาจเป็น เพราะฐานคิดในการแก้ไขปัญหาที่แตกต่างกัน ความไม่เชื่อใจในการด้าเนินการของภาครัฐในการแก้ไข ปัญหา รวมทั้งปัญหาสถานการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งล้วนเป็นปัญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้น ท้าให้การยอมรับในตัวโครงการฯ เกิดขึ้นกับชาวบ้านในชุมชนกลุ่มหนึ่งที่เข้ามามี ส่วนร่วมเท่านั้น
3. ข้อเสนอแนะรูปแบบและวิธีการในการแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง
จากการพูดคุยของสมาชิกในชุมชนส่วนใหญ่ คิดว่าการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งที่เกิดขึ้น จะต้องให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการด้าเนินการแก้ไขปัญหา แต่ยังไม่มีความมั่นใจว่าแนวทางในการ ปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่นจะสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับชุมชนได้หรือไม่ นอกจากนี้ทัศนคติ / วิธีคิด ของสมาชิกในชุมชนบางส่วนที่แตกต่างกัน และให้ความส้าคัญกับการแก้ปัญหาการกัดเซาะเพียงอย่าง เดียวก็เริ่มมีการพูดคุยอย่างกว้างขวางมากขึ้น อาจเป็นเพราะความรุนแรงของปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ที่เกิดขึ้นในช่วงที่ผ่านมา คือ มีคลื่นขนาดใหญ่ซัดผ่านแนวหินกั้นคลื่นที่อบจ.ได้จัดสร้างขึ้น โดยคลื่น ได้ซัดเข้ามาภายในชุมชน ท้าให้เกิดน้้าท่วมใหญ่ พืชผลการเกษตรของชาวบ้านเสียหาย รวมทั้งมีน้้าท่วม ขัง เป็นระยะเวลายาวนาน การกัดเซาะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นทุกปี ชาวบ้านส่วนใหญ่จึงเสนอรูปแบบ ของวิธีการที่อาจต้องใช้งบประมาณที่สูงขึ้น โดยการสร้างเขื่อนกั้นคลื่นขนาดใหญ่ ในทะเลห่างฝั่ง ประมาณ 50-100 เมตร ตลอดแนวของหมู่บ้าน
4. ปัญหาและอุปสรรค
4.1 การขาดการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับรูปแบบและวิธีการแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งที่ หลากหลาย รวมทั้งผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นหลังจากการเลือกแนวทางในการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ ชายฝั่งในแต่ละแนวทาง
4.2 ความไม่แน่ใจในตัวโครงการปักเสา
โครงการปักเสาเป็นวิธีคิดที่จะทดลองท้ารูปแบบที่แตกต่างไปจากรูปแบบปกติ(การก่อสร้าง โครงสร้างขนาดใหญ่)ที่น้ามาแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งที่ก่อให้เกิดผลกระทบตามมา เป็นการศึกษา ที่ยังไม่มีความชัดเจนว่าจะน้าไปสู่การแก้ไขปัญหาได้อย่างจริงจังเบ็ดเสร็จ จึงท้าให้สมาชิกในชุมชน บางส่วนเกิดความไม่แน่ใจในตัวโครงการปักเสาที่ก้าลังด้าเนินการอยู่ในขณะนี้ว่าจะน้าไปสู่การ แก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งได้จริง
5. ประเด็นอื่นๆที่น่าสนใจ
การแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งโดยการปักเสา จ้าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการท้าการศึกษาอย่าง จริงจัง และน้าเสนอผลการศึกษา เพื่อหาแนวทางที่ถูกต้องในการด้าเนินการต่อไปในอนาคต พร้อมๆกับ เสนอรูปแบบต่างๆที่เป็นทางเลือกใหม่ๆให้กับชาวบ้านได้พิจารณาและศึกษาข้อมูลอย่างรอบด้าน
ผลการประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 2 เพื่อรวบรวมรูปแบบในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงด้าน
เศรษฐกิจ สังคม ซึ่งครอบคลุมถึงการมีส่วนร่วมและความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่ศึกษา มีผล ดังนี้
1.ความคิดเห็น/ทัศนคติต่อปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลที่บ้านตันหยงเปาว์
ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเป็นปัญหาเร่งด่วนอันดับต้นๆของชุมชนที่จะร่วมกันให้เกิดการแก้ไข ปัญหาอย่างจริงจัง จะเห็นได้ว่าแต่ละครั้งที่มีการประชุมพูดคุยกับหน่วยงานรัฐต่างๆที่ลงมาพูดคุยใน ชุมชน จะมีการน้าเสนอปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเกือบทุกครั้ง เหตุผลเพราะว่านับวันปัญหาการกัดเซาะ ชายฝั่งเริ่มจะเป็นปัญหาต่อความเป็นอยู่ การกิน การใช้ของชุมชนอย่างหนัก น้้าที่ใช้อุปโภค บริโภคใน ครัวเรือน กลายเป็นน้้าเค็มไปเกือบหมดทั้งหมู่บ้าน ทั้งๆที่เมื่อก่อนยังสามารถใช้อาบน้้าได้อย่างสบาย แต่พอถึงช่วงฤดูแล้งในปีนี้โดยเฉพาะในช่วงเดือนเมษายนที่ผ่านมา แม้แต่น้้าที่ใช้รดต้นไม้ พืชผักที่ปลูก ไว้ในภาชนะก็ยังตาย ไม่มีเหลือสักต้น จึงนับว่าเป็นปัญหาที่รุนแรงและเร่งด่วนมากที่ชุมชนต้องการให้ เกิดการแก้ไขปัญหา
ส้าหรับแนวทางการแก้ไขปัญหาภายในชุมชน มี 2 ทัศนะ คือ
กลุ่มที่ 1 เห็นว่าจะต้องเป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ สามารถแก้ปัญหาได้ทันทีซึ่งผลกระทบจะ เป็นอย่างไรต่อไปค่อยแก้ไขปัญหาทีหลัง
กลุ่มที่ 2 เห็นว่าจะต้องแก้ไขปัญหาได้อย่างถาวร หลีกเลี่ยงการเกิดผลกระทบในภายหลัง
2. ความคิดเห็นต่อรูปแบบและวิธีการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในเรื่องความคิดเห็นที่ แตกต่างกันนี้น˚าไปสู่การด˚าเนินการใน 2 รูปแบบ คือ
กลุ่มที่ 1 ได้มีการด้าเนินการผ่านหน่วยงานของอ้าเภอและหน่วยงานทหารเสนอโครงการให้มี การก่อสร้างเขื่อนกั้นการกัดเซาะชายฝั่งเฉพาะจุด (หลังโรงเรียนตาดีกา) ทดแทนเขื่อนเก่าที่เสียหายไป ซึ่งในปัจจุบันนี้ (สิงหาคม 2553) ก้าลังด้าเนินการในขณะนี้
กลุ่มที่ 2 ได้ร่วมกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ด้าเนินโครงการปักเสาคอนกรีต ชะลอคลื่น ซึ่งด้าเนินการแล้วเสร็จเมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมาและในขณะเดียวกันก็ได้มีการจัดเก็บ ข้อมูลดังผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นก่อนและหลังการด้าเนินโครงการ ซึ่งพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของทราย อย่างชัดเจนโดยการก่อตัวของทรายเป็นไปอย่างช้าๆกลายเป็นสันทรายหรือดอนทรายบริเวณหลังเสาที่ ปักไว้
• ความพึงพอใจต่อโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่น
โครงการปักสาคอนกรีตชะลอคลื่นมีการด้าเนินการโครงการและเก็บข้อมูลการ เปลี่ยนแปลงของการกัดเซาะชายฝั่ง การเพิ่มขึ้นและลดลงของทราย การได้รับประโยชน์ในเรื่องทาง
เศรษฐกิจจากโครงการฯและการคืนความสมบูรณ์สู่ท้องทะเล ตลอดเวลาของการด้าเนินงานวิจัยมีการ เก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่อง มีการประเมินผลและรับฟังความคิดเห็นของชาวบ้านในพื้นที่ น้าเสนอผลของ การเก็บข้อมูลให้ชาวบ้านทราบทุกระยะเป็นการด้าเนินการอย่างมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงของชุมชน
จากการด้าเนินการเก็บข้อมูล ผลปรากฏว่า มีการเพิ่มขึ้นของทรายใน 2 แหล่ง คือ
1) บริเวณหลังแนวเสาที่ปัก ปรากฏว่าเกิดการทับถมของทรายขึ้นมาทีละเล็กทีละ น้อยจนกลายเป็นสันทรายหรือดอนทรายขึ้น ซึ่งเป็นแนวปรากฏการณ์ธรรมชาติที่จะช่วยลดความ รุนแรงของคลื่นที่จะมาปะทะชายฝั่ง รวมทั้งลดความรุนแรงของการกัดเซาะชายฝั่งได้เป็นอย่างดี
2) บริเวณริมชายฝั่งทะเล มีทรายเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในช่วงหลังเดือนเมษายนที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลจากการเกิดสันทรายหรือดอนทรายหลังแนวเสาที่ปักท้าให้การปะทะของคลื่นบริเวณชายฝั่ง มีความรุนแรงน้อยลง พร้อมกับคลื่นเหล่านั้นได้น้าเอาทรายมาทับถมในบริเวณริมชายฝั่งทะเลท้าให้ เกิดหาดทรายขึ้นในบริเวณริมฝั่งที่มีการด้าเนินโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่น
จากผลการศึกษาที่ได้รับจากการวิจัยของชาวบ้านและได้น้าเสนอให้ชุมชนทราบในทุก ระยะสร้างความพึงพอใจให้กับชุมชนเป็นอย่างมาก และคิดว่าน่าจะเป็นแนวทางที่ดีในการแก้ไข ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในพื้นที่อื่นๆที่มีลักษณะภูมิศาสตร์ ระบบนิเวศ ที่ใกล้เคียงกันได้น้าแนวทาง นี้เป็นทางเลือกทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นภายในชุมชนของตนเอง
• การมีส่วนร่วมในการด˚าเนินโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่น
ตลอดระยะเวลาของการด้าเนินโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่น ชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่เริ่มแรกที่ชุมชนร่วมกันคิดและน้าเสนอโครงการให้หน่วยงานที่รับผิดชอบช่วยด้าเนินการแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้นกับชุมชน จนกระทั่งสามารถด้าเนินการจนโครงการแล้วเสร็จโดยกระบวนการมีส่วน ร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการด้าเนินการมีการรับฟังความคิดเห็นของชุมชน คนท้างานและนักวิชาการของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจนได้ข้อสรุปที่ดีในการด้าเนินการจน น้ามาสู่ผลส้าเร็จของการด้าเนินโครงการนอกจากนั้นในกระบวนการเก็บข้อมูลผลการเปลี่ยนแปลงยัง ได้รับความร่วมมือของชุมชนเป็นอย่างดี มีการสะท้อนปัญหา
ผลการประชุมกลุ่มย่อย ครั้งที่ 2 (ระยะสุดท้ายของโครงการ) เพื่อรวบรวมรูปแบบใน
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม ซึ่งครอบคลุมถึงการมีส่วนร่วมและความพึงพอใจของ ประชาชนในพื้นที่ศึกษา มีผลดังนี้
• ความคิดเห็น/ทัศนคติต่อปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลที่บ้านตันหยงเปาว์
ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเป็นปัญหาเร่งด่วนอันดับต้นๆของชุมชนที่เป็นพื้นที่ศึกษาที่จะร่วมกัน ให้เกิดการแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง จะเห็นได้ว่าแต่ละครั้งที่มีการประชุมพูดคุยกับหน่วยงานรัฐต่างๆที่ ลงมาพูดคุยในชุมชน จะมีการน้าเสนอปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเกือบทุกครั้ง เหตุผลเพราะว่านับวัน ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งเริ่มจะเป็นปัญหาต่อความเป็นอยู่ การกิน การใช้ของชุมชนอย่างหนัก น้้าที่ใช้ อุปโภค บริโภคในครัวเรือน กลายเป็นน้้าเค็มไปเกือบหมดทั้งหมู่บ้าน ทั้งๆที่เมื่อก่อนยังสามารถใช้ อาบน้้าได้อย่างสบาย แต่พอถึงช่วงฤดูแล้งในปีนี้โดยเฉพาะในช่วงเดือนเมษายนที่ผ่านมา แม้แต่น้้าที่ใช้ รดต้นไม้ พืชผักที่ปลูกไว้ในภาชนะก็ยังตาย ไม่มีเหลือสักต้น จึงนับว่าเป็นปัญหาที่รุนแรงและเร่งด่วน มากที่ชุมชนต้องการให้เกิดการแก้ไขปัญหา
ส้าหรับแนวทางการแก้ไขปัญหาภายในชุมชน มี 2 ทัศนะ คือ
กลุ่มที่ 1 เห็นว่าจะต้องเป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ สามารถแก้ปัญหาได้ทันทีซึ่งผลกระทบจะ เป็นอย่างไรต่อไปค่อยแก้ไขปัญหาทีหลัง
กลุ่มที่ 2 เห็นว่าจะต้องแก้ไขปัญหาได้อย่างถาวร หลีกเลี่ยงการเกิดผลกระทบในภายหลัง ความคิดเห็นต่อรูปแบบและวิธีการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในเรื่องความคิดเห็นที่แตกต่างกัน นี้น˚าไปสู่การด˚าเนินการใน 2 รูปแบบ คือ
กลุ่มที่ 1 ได้มีการด้าเนินการผ่านหน่วยงานของอ้าเภอและหน่วยงานความมั่นคงเสนอโครงการ ให้มีการก่อสร้างเขื่อนกั้นการกัดเซาะชายฝั่งเฉพาะจุด (หลังโรงเรียนตาดีกา) ทดแทนเขื่อนเก่าที่เสียหาย ไปซึ่งในขณะนี้ก้าลังด้าเนินการในขณะนี้
กลุ่มที่ 2 ได้ร่วมกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ด้าเนินโครงการปักเสาคอนกรีต ชะลอคลื่น ซึ่งด้าเนินการแล้วเสร็จ และในขณะเดียวกันก็ได้มีการจัดเก็บข้อมูลดังผลการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นตลอดระยะเวลาการด้าเนินโครงการ ซึ่งพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของทรายอย่างชัดเจนโดยการก่อตัว ของทรายเป็นไปอย่างช้าๆกลายเป็นสันทรายหรือดอนทรายบริเวณหลังเสาที่ปักไว้
• ความพึงพอใจต่อโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่น
โครงการปักสาคอนกรีตชะลอคลื่นมีการด้าเนินการโครงการและเก็บข้อมูลการ เปลี่ยนแปลงของการกัดเซาะชายฝั่ง การเพิ่มขึ้นและลดลงของทราย การได้รับประโยชน์ในเรื่องทาง เศรษฐกิจจากโครงการฯและการคืนความสมบูรณ์สู่ท้องทะเล ตลอดเวลาของการด้าเนินงานวิจัยมีการ เก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่อง มีการประเมินผลและรับฟังความคิดเห็นของชาวบ้านในพื้นที่ น้าเสนอผลของ การเก็บข้อมูลให้ชาวบ้านทราบทุกระยะเป็นการด้าเนินการอย่างมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงของชุมชน
จากการด้าเนินการเก็บข้อมูล ผลปรากฏว่า มีการเพิ่มขึ้นของทรายใน 2 แหล่ง คือ
1)บริเวณหลังแนวเสาที่ปัก ปรากฏว่าเกิดการทับถมของทรายขึ้นมาทีละเล็กทีละน้อย จนกลายเป็นสันทรายหรือดอนทรายขึ้น ซึ่งเป็นแนวปรากฏการณ์ธรรมชาติที่จะช่วยลดความรุนแรงของ คลื่นที่จะมาปะทะชายฝั่ง รวมทั้งลดความรุนแรงของการกัดเซาะชายฝั่งได้เป็นอย่างดี
2)บริเวณริมชายฝั่งทะเล มีทรายเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในช่วงหลังเดือนเมษายนที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลจากการเกิดสันทรายหรือดอนทรายหลังแนวเสาที่ปักท้าให้การปะทะของคลื่นบริเวณชายฝั่งมี ความรุนแรงน้อยลง พร้อมกับคลื่นเหล่านั้นได้น้าเอาทรายมาทับถมในบริเวณริมชายฝั่งทะเลท้าให้เกิด หาดทรายขึ้นในบริเวณริมฝั่งที่มีการด้าเนินโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่น
จากผลการศึกษาที่ได้รับจากการวิจัยของชาวบ้านและได้น้าเสนอให้ชุมชนทราบในทุก ระยะสร้างความพึงพอใจให้กับชุมชนเป็นอย่างมาก และคิดว่าน่าจะเป็นแนวทางที่ดีในการแก้ไข ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในพื้นที่อื่นๆที่มีลักษณะภูมิศาสตร์ ระบบนิเวศ ที่ใกล้เคียงกันได้น้าแนวทาง นี้เป็นทางเลือกทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นภายในชุมชนของตนเอง
• การมีส่วนร่วมในการด˚าเนินโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่น
ตลอดระยะเวลาของการด้าเนินโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอคลื่น ชุมชนมีส่วนร่วม ตั้งแต่เริ่มแรกที่ชุมชนร่วมกันคิดและน้าเสนอโครงการให้หน่วยงานที่รับผิดชอบช่วยด้าเนินการแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้นกับชุมชน จนกระทั่งสามารถด้าเนินการจนโครงการแล้วเสร็จโดยกระบวนการมีส่วน ร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการด้าเนินการมีการรับฟังความคิดเห็นของชุมชน คนท้างานและนักวิชาการของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจนสามารถน้าไปสู่การเกิดข้อสรุป เบื้องต้นในการด้าเนินโครงการ
ส่วนที่ 4
สรุปผลการด˚าเนินโครงการ
จากการด้าเนินโครงการตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2552 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2553 นั้น ทาง โครงการวิจัยสามารถสรุปผลการด้าเนินโครงการได้ดังนี้
1)ได้ฐานข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพชายฝั่งทะเล เศรษฐกิจ สังคม จากการ ด้าเนินงานชะลอการกัดเซาะชายฝั่งด้วยวิธีการปักเสาปูนซีเมนต์ในทะเล บ้านตันหยงเปาว์ หมู่ที่ 4 ต้าบล ท่าก้าช้า อ้าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
2) เกิดการสร้างกระบวนการเรียนรู้กับชาวบ้านในพื้นที่และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการคลี่คลาย ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่ไม่ใช่การก่อสร้างที่เป็นโครงสร้างวิศวกรรมชายฝั่ง ขนาดใหญ่
4.1 ฐานข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพชายฝั่งทะเล จากการด˚าเนินงานชะลอการกัด เซาะชายฝั่งด้วยวิธีการปักเสาปูนซีเมนต์ในทะเล
โครงการวิจัยนี้ ทางทีมวิจัยได้ออกแบบการวิจัย โดยประกอบไปด้วยทั้งการเตรียมความพร้อม ทีมวิจัยทั้งในเรื่องของการท้าวิจัยแบบชาวบ้านและการศึกษาดูงานในประเด็นเรื่องการกัดเซาะชายฝั่งใน พื้นที่อื่นๆเพื่อน้ามาปรับใช้กับพื้นที่ของตนเองมีการเสริมความรู้ความเข้าใจเรื่องการวิจัยเพื่อร่วมกัน พัฒนาความเข้าใจและทักษะในการศึกษาข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม ฯลฯ มีการจัดเวทีชุมชนเพื่อเป็นเครื่องมือส้าคัญที่จะดึงคนส่วนใหญ่ในชุมชนเข้ามารับรู้และมีส่วนร่วม ในกระบวนการด้าเนินงานทั้งหมดของโครงการวิจัย นอกจากนี้เพื่อให้ทางโครงการวิจัยมีความพร้อม ส้าหรับการศึกษาข้อมูลทางทีมวิจัยได้มีการจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการส้ารวจข้อมูลการทับถมของ ตะกอนทรายที่เกิดขึ้นในพื้นที่โครงการที่มีการปักเสาปูนโดยใช้เครื่องมือแบบง่ายที่ชุมชนสร้างขึ้นเอง ประการส้าคัญทางทีมวิจัยยังมีการออกแบบการวิจัยให้มีการปฏิบัติการที่เป็นการศึกษาข้อมูลจริงจาก พื้นที่ ทางทีมวิจัยได้มีการด้าเนินการใน 2 ลักษณะด้วยกันคือการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของ ชายฝั่งในพื้นที่ศึกษาครอบคลุมพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร และการศึกษาการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม ซึ่งครอบคลุมถึงการมีส่วนร่วมและความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่ศึกษา บ้านตันหยงเปาว์ ต้าบลท่าก้าช้า อ้าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
นอกจากการศึกษาข้อมูลจริงจากพื้นที่ ใน 2 ประเด็นดังกล่าวข้างต้นแล้ว ทางโครงการ ยังมีการ ด้าเนินการให้ทีมวิจัยได้ไปสัมภาษณ์ผู้รู้ /ผู้อาวุโส /ปราชญ์ชาวบ้าน ในประเด็นที่เกี่ยวข้องทั้งในเรื่อง หลักคิด วิธีการ และมุมมองต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล เพื่อเป็นการ เจาะลึกในบางประเด็นที่น่าสนใจต่อเนื่องจากการประชุมกลุ่มย่อย รวมทั้งมีการศึกษาข้อมูลต่างๆที่ เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลพื้นฐานที่จ้าเป็นต่อการขับเคลื่อนงาน
ประการสุดท้าย ทางทีมวิจัยได้จัดให้มีการติดตามผลโดยการจัดเวทีเสนอผลการศึกษาและ อภิปรายผล พร้อมรับฟังข้อเสนอแนะเพื่อเป็นการอภิปรายผลที่ได้จากการศึกษาข้อมูลตลอดการด้าเนิน โครงการ โดยมุ่งหวังให้ชาวบ้านในพื้นที่ที่ท้าการศึกษาและผู้เกี่ยวข้องมาช่วยกันถอดบทเรียนและร่วม เรียนรู้สิ่งที่ได้จากการด้าเนินงานของโครงการ ซึ่งอาจจะน้าไปสู่การขยายผลที่ได้จากการศึกษาเรียนรู้ ไปยังภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้ในล้าดับต่อไป
การออกแบบการวิจัยในลักษณะดังกล่าวข้างต้นส่งผลให้ในระหว่างการด้าเนินโครงการวิจัยได้ ก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้กับชาวบ้านที่ทั้งอยู่ในทีมวิจัยและนอกทีมวิจัยดังนี้
4.1.1 กระบวนการในการศึกษาด้านการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพชายฝั่งทะเล เศรษฐกิจ
สังคม จากการด้าเนินงานชะลอการกัดเซาะชายฝั่งด้วยวิธีการปักเสาปูนซีเมนต์ในทะเล นอกจากการ บันทึกข้อมูลที่ได้กล่าวไว้แล้วก่อนหน้านี้ ทางทีมวิจัยและชาวบ้านในพื้นที่ยังได้เกิดการเรียนรู้เชิง
ประจักษ์ในระหว่างการศึกษาข้อมูลดังนี้
• กระบวนการทางธรรมชาติในการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของชายฝั่งทะเล ทีมวิจัย และชาวบ้านในพื้นที่พบว่า ก่อนที่จะมีการด้าเนินโครงการปักเสาคอนกรีตชะลอการกัดเซาะชายฝั่งทะเล นั้น พื้นที่ที่ท้าการศึกษาเกิดการกัดเซาะอย่างต่อเนื่องทุกปี และมีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงมากขึ้น แต่ภายหลังจากการไปปักเสาคอนกรีต ทีมวิจัยและชาวบ้านได้สังเกตเห็นว่าเมื่อมีคลื่นซัดเข้าสู่แนว ชายฝั่ง คลื่นจะน้าเม็ดทรายเข้ามาด้วยโดยพัดผ่านแนวเสาคอนกรีตที่ปักไว้เข้าสู่ชายฝั่ง เนื่องจากคลื่นขา เข้าจะมีก้าลังแรงสูงเพราะมีแรงส่งจากคลื่นภายนอกที่เป็นคลื่นลูกถัดๆไป และเมื่อเป็นขากลับที่จะไหล ลงสู่ทะเล คลื่นก็จะพัดเอาเม็ดทรายจากบริเวณชายหาดไปด้วย แต่เมื่อไปถึงบริเวณหลังแนวเสาก็จะเกิด การปะทะกันของคลื่นขาเข้าและคลื่นขาออก ท้าให้เม็ดทรายที่คลื่นขาออกได้น้าไปนั้น ไปตกอยู่บริเวณ หลังแนวเสาคอนกรีต และเมื่อนานวันเข้าก็ได้ค่อยๆกลายเป็นสันดอนทรายบริเวณหลังแนวเสาคอนกรีต จาการวัดพื้นที่ชายหาดที่เพิ่มขึ้นนั้นสามารถวัดเป็นระยะทางความกว้างได้ถึง 20 เมตร ในขณะที่ตลอด แนวปักเสาคอนกรีตมีระยะทางทั้งสิ้น 400 เมตร จึงค้านวณได้โดยการประมาณการว่าภายหลังจากการ ปักเสาคอนกรีต ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของชายฝั่งทะเลโดยมีหาดทรายเพิ่มขึ้นถึง 8,000 ตารางเมตร หรือเท่ากับ 8 ตารางกิโลเมตร อย่างไรก็ตามทางทีมวิจัยและชาวบ้าน มีการค้นพบข้อที่น่า สังเกตว่าการเพิ่มขึ้นของทรายในบริเวณดังกล่าวนั้น ยังไม่อยู่ในสภาวะที่เสถียรคงที่ กล่าวคือในช่วงฤดู มรสุมทรายบริเวณหลังแนวเสาคอนกรีตจะถูกคลื่นที่มีความรุนแรงมากซัดกลับคืนสู่ท้องทะเล แต่เมื่อถึง ช่วงหลังฤดูมรสุมธรรมชาติก็จะคืนทรายกลับมากองไว้บริเวณหลังแนวเสาคอนกรีตเช่นเดิม
• การเพิ่มขึ้นของพันธุ์สัตว์น้˚าทั้งในด้านปริมาณและความหลากหลายในบริเวณแนวเสา คอนกรีต ทางทีมวิจัยและชาวบ้านในพื้นที่ได้เกิดการเรียนรู้เชิงประจักษ์เช่นกันว่า บริเวณแนวเสา คอนกรีต นั้นได้ก่อให้เกิดผลทางอ้อมโดยได้กลายเป็นแนวปะการังเทียมใกล้ฝั่ง ที่เป็นแหล่งอนุบาลสัตว์ น้้าวัยอ่อน มีทั้งลูกกุ้ง ลูกปลา ลูกหอย ลุกปู หลากหลายสายพันธุ์ที่เข้ามาอาศัย หลบภัยและหาอาหาร บริเวณแนวเสาคอนกรีตดังกล่าว จนเติบใหญ่ขึ้นก็จะออกสู่ท้องทะเล เป็นการช่วยเติมเต็มระบบห่วงโซ่
อาหารให้กับสมาชิกในชุมชน นอกจากนี้ในช่วงฤดูมรสุมที่ชาวบ้านในพื้นที่ไม่สามารถออกท้าการ ประมงในบริเวณที่ไกลจากฝั่งมากนักก็ได้ใช้พื้นที่บริเวณแนวเสาคอนกรีตนี้เป็นแหล่งในการวางอวน ทอดแห ฯลฯเป็นต้น นอกจากนี้ในช่วงที่ชุมชนมีการจัดกิจกรรมใดๆที่เป็นกิจกรรมเพื่อสาธารณะ ประโยชน์เช่นกิจกรรมด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ,กิจกรรมด้านการศาสนา ฯลฯ ก็จะมีการไป น้าหอยแมลงภู่จากบริเวณแนวเสาคอนกรีตมาประกอบอาหาร ซึ่งเป็นการสร้างความมั่นคงทางอาหาร ให้กับสมาชิกในชุมชนได้เป็นอย่างดี
4.2 การสร้างกระบวนการเรียนรู้กับชาวบ้านในพื้นที่และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการคลี่คลายปัญหา การกัดเซาะชายฝั่งโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น การด้าเนินโครงการทั้งในส่วนของการปฏิบัติการในการปัก เสาคอนกรีตและกระบวนการศึกษาวิจัยเพื่อท้องถิ่นตลอดระยะเวลาโครงการได้ก่อให้เกิดกระบวนการ ในการเรียนรู้ให้กับชาวบ้านทั้งที่เป็นทีมวิจัยและเป็นสมาชิกในชุมชนในหลากหลายมิติด้วยกันดังนี้
• วิธีคิดในการคลี่คลายปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ชุมชนที่อาศัยอยู่ใกล้กับบริเวณพื้นที่ ชายฝั่งทะเลภาคใต้ของประเทศไทย โดยส่วนใหญ่จะประสบกับปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล และใน หลายพื้นที่ก็จะมีวิธีคิดในการเลือกแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่แตกต่างหลากหลายกันไป ในส่วนของ ชุมชนชาวประมงพื้นบ้าน จ.ปัตตานีที่เป็นพื้นที่ศึกษาแห่งนี้ได้มีฐานคิดเบื้องต้นก่อนการด้าเนิน โครงการแล้วว่าต้องการหาข้อเท็จจริงในการคลี่คลายปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งบริเวณหน้าชุมชนตนเอง โดยหลีกเลี่ยงการใช้วิธีการสร้างสิ่งก่อสร้างที่เป็นโครงสร้างขนาดใหญ่ ทั้งนี้เพราะสมาชิกในชุมชน บางส่วนเห็นว่าปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลในหลายพื้นที่ส่วนใหญ่จะเกิดจากการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่ง ด้วยโครงสร้างวิศวกรรมชายฝั่ง ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงของรูปร่างของชายหาดอันไม่พึงประสงค์จะต้อง ได้รับการศึกษาไว้ก่อนที่จะด้าเนินการก่อสร้างโครงสร้างชายฝั่งใด ๆ โดยเฉพาะชายฝั่งจังหวัดปัตตานีที่ มีหาดทรายชายฝั่งเป็นแนวยาวและตรง ซึ่งอ่อนไหวต่อการกระท้าของมนุษย์ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการ เคลื่อนที่ของตะกอนกับโครงสร้างชายฝั่งต่าง ๆ จะต้องได้รับการวิเคราะห์อย่างละเอียดและมีการติดตาม ผลกระทบอย่างต่อเนื่อง เพื่อน้ามาสรุปเป็นมาตรการป้องกันการกัดเซาะและรักษาชายฝั่งทั้งในระยะสั้น และระยะยาวต่อไป ชาวประมงพื้นบ้านในพื้นที่บ้านตันหยงเปาว์มีความเห็นร่วมกันว่าการที่จะแก้ปัญหา ดังกล่าวอย่างยั่งยืน จึงไม่ควรจะเป็นการสร้างสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่อื่นใดเพิ่มขึ้นไปอีก แต่ควรจะหา วิธีการหรือมาตรการที่ท้าอย่างไรจึงจะสามารถเกิดการเติมทรายให้กับชายฝั่งในพื้นที่ จ.ปัตตานี ซึ่งน่าจะ เป็นมาตรการที่จะให้ผลที่ดีที่สุด และเกิดผลกระทบต่อเนื่องไปยังพื้นที่ข้างเคียงอื่นๆน้อยที่สุดในอนาคต จากฐานคิดของชาวบ้านดังกล่าวที่ต้องการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งด้วยวิธีการที่ไม่ใช้ วิธีการก่อสร้างโครงสร้างวิศวกรรมชายฝั่งขนาดใหญ่เช่นการสร้างเขื่อนกันคลื่นในรูปแบบต่างๆ ฯลฯ ประกอบกับประสบการณ์ตรงที่ชาวบ้านได้เรียนรู้จากการไปปักเสาคอนกรีตเพื่อเป็นแนวใ นการ เพาะเลี้ยงหอยแมลงภู่ และชาวบ้านได้สังเกตเห็นว่า ด้านหลังของแนวชายหาดที่ปักเสาคอนกรีตถูกกัด เซาะลดน้อยลง เนื่องมาจากเสาคอนกรีต ช่วยลดความรุนแรงและการปะทะของคลื่นลมได้ดังได้กล่าว ไว้ข้างต้นแล้วนั้น จากทั้งฐานคิดและประสบการณ์ดังกล่าวท้าให้ชาวบ้านในพื้นที่ได้น้าไปสู่การด้าเนิน โครงการปักเสาคอนกรีตเพื่อคลี่คลายปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเล ควบคู่ไปกับการศึกษาข้อมูลอย่าง
เป็นระบบทั้งนี้เพื่อจะได้เกิดความชัดเจน ถ่องแท้ในสมมุติฐานที่เคยตั้งร่วมกันไว้ และภายหลังจากการ ด้าเนินโครงการมาจนถึงช่วงระยะท้ายของโครงการ ทีมวิจัยก็เกิดความเชื่อมั่นขึ้นในระดับหนึ่งกับวิธี คิดในการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งที่ได้ปฏิบัติการร่วมกันมา และเห็นว่าในท่ามกลางสภาพปัญหา การกัดเซาะชายฝั่งที่เข้าขั้นวิกฤตของชุมชน การร่วมกันด้าเนินการชะลอความรุนแรงของการกัดเซาะ ชายฝั่งโดยการปักเสาคอนกรีตของสมาชิกในชุมชน นับได้ว่าเป็นการแก้ปัญหาโดยใช้โครงสร้างแบบ อ่อนตัว (Soft Structure) ที่สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบได้ตามสถานการณ์ ทีมวิจัยเห็นร่วมกันว่า การ ปักเสาคอนกรีต นอกจากจะช่วยลดการกัดเซาะชายฝั่งทะเลแล้วยังเป็นการสร้างแหล่งอนุบาลสัตว์น้้าวัย อ่อนเพิ่มขึ้นอีกด้วย และหากน้าไปเทียบเคียงประกอบกับประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้จากพื้นที่ที่ไปศึกษา ดูงานทั้งที่ จ.นครศรีธรรมราชและ จ.สงขลาในระหว่างการด้าเนินโครงการวิจัย ที่ในหลายพื้นที่ส่วน ใหญ่แล้วเมื่อเกิดปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ก็มักมีการแก้ปัญหาโดยการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ไปกั้นคลื่น ไม่ให้มาปะทะชายหาด ซึ่งเป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ที่มีความแข็งตัว (Hard Structure) และการก่อสร้าง สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่นี้อาจจะช่วยแก้ปัญหาเฉพาะหน้าให้กับพื้นที่ที่ประสบปัญหาชายฝั่งถูกกัดเซาะอยู่ ได้ แต่ในขณะเดียวกันทางทีมวิจัยก็ประจักษ์ชัดดีว่าพื้นที่ที่อยู่ถัดไปจากการก่อสร้างสิ่งก่อสร้างขนาด ใหญ่มักจะเกิดการกัดเซาะเป็นลูกโซ่ต่อเนื่องกันไป จึงเห็นว่าการแก้ปัญหาโดยการสร้างสิ่งก่อสร้าง ขนาดใหญ่น่าจะไม่ใช่วิธีการที่ยั่งยืนและเหมาะสม เพราะอาจจะสามารถแก้ปัญหาการกัดเซาะที่ ชายหาดหน้าบ้านตนเองได้แน่ก็จะไปสร้างปัญหาให้กับพื้นที่ข้างเคียงต่อไปได้
อย่างไรก็ตาม วิธีการในการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งโดยการปักเสาคอนกรีตดังกล่าว ไม่ใช่รูปแบบที่คงที่ตายตัว หากแต่จะต้องมีการปรับเปลี่ยนไปตามบริบทของแต่ละพื้นที่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ลักษณะภูมิอากาศ ความรุนแรงของคลื่นลม ทิศทางการพัดของกระแสคลื่น ฯลฯ บางพื้นที่ อาจจะเหมาะสมกับการเลือกใช้วิธีการปลูกป่าชายเลนเพราะพื้นที่เป็นดินเลน คลื่นลมไม่ รุนแรงมากนัก ในบางพื้นที่อาจเลือกใช้เป็นปักเสาลักษณะ 3 ขา หากพื้นที่นั้นเป็นดินทราย เพราะจะท้า ให้มีน้้าไหลผ่านได้ เป็นต้น แต่ไม่ว่าจะเลือกใช้วิธีการใดก็ตาม ก็ยังคงยืนอยู่บนฐานคิดเดียวกันนั่นก็คือ การเลือกใช้โครงสร้างแบบอ่อนตัว (Soft Structure ) ที่สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบได้ตามสถานการณ์ มากกว่าการเลือกใช้สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ที่มีความแข็งตัว (Hard Structure) เช่นเขื่อนกันคลื่น เป็นต้น
• การพัฒนากลไกในการแก้ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลอย่างเป็นรูปธรรมในพื้นที่จังหวัด ปัตตานี ความพยายามของชุมชนในการร่วมกันจัดเวทีในการพูดคุยเพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหาการ กัดเซาะชายฝั่ง รวมทั้งความพยายามในการเชื่อมประสานกับภาคส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับ ท้องถิ่น ระดับภูมิภาคและระดับประเทศ จนได้รับการสนับสนุนให้มีการด้าเนินโครงการปักเสา คอนกรีตชะลอการกัดเซาะชายฝั่งทะเลนั้น ได้สร้างกระบวนการเรียนรู้ที่ส้าคัญให้กับชุมชนในการเชื่อม ประสานกับภาคีต่างๆที่เกี่ยวข้อง และในขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างเวทีในการเรียนรู้ให้กับหน่วยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวข้องและได้ข้ามามีปฏิสัมพันธ์ร่วมกับชุมชน เป็นโอกาสให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ชุมชนก็ได้เรียนรู้ถึงข้อจ้ากัดของหน่วยงานภาครัฐ มีความคุ้นเคยกับการเรียนรู้เรื่องราวจากโลกภายนอก
ฝึกระบบในการคิดวิเคราะห์อย่างมีหลักเหตุและผล ฝึกการน้าความรู้ที่ได้ไปใช้ในการเคลื่อนไหว การ ปฏิบัติการจริงทางสังคม และในขณะเดียวกันหน่วยงานภาครัฐก็ได้เรียนรู้ถึงระบบคิดของชุมชน ได้ใช้ ความรู้อย่างมืออาชีพของพวกเขามาต่อรอง/เรียนรู้กับระบบความรู้ของชาวบ้านมากขึ้น ซึ่งท้ายที่สุดก็จะ น้าไปสู่การพัฒนาความร่วมมือในการแก้ปัญหาของชุมชนในระยะยาวได้ต่อไป
บทสรุป
จากการด้าเนินงานโครงการตั้งแต่วันที่ วันที่ 1 กันยายน 2552 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2553 นั้น ทางโครงการวิจัยฯได้ด้าเนินการทั้งในด้าน1) การเตรียมความพร้อมของทีมวิจัย บทบาทหน้าที่ และการ บริหารจัดการโครงการ 2) การศึกษาดูงานและการเสริมความรู้ความเข้าใจเรื่องการวิจัย 3) การจัดเวที ชุมชน 4)การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการส้ารวจข้อมูลการทับถมของตะกอนทรายที่เกิดขึ้นในพื้นที่ โครงการที่มีการปักเสาปูนโดยใช้เครื่องมือแบบง่ายที่ชุมชนสร้างขึ้นเอง 5)การศึกษาข้อมูลการทับถม ของตะกอนทรายที่เกิดขึ้นในพื้นที่โครงการที่มีการปักเสาปูนโดยใช้เครื่องมือแบบง่ายที่ชุมชนสร้างขึ้น เอง 6)การศึกษาการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม ซึ่งครอบคลุมถึงการมีส่วนร่วมและความพึงพอใจ ของประชาชนในพื้นที่ศึกษา บ้านตันหยงเปาว์ ต้าบลท่าก้าช้า อ้าเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี 7)การ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการประชุมกลุ่มย่อย และ 8)การจัดเวทีเสนอผลการศึกษาและ อภิปรายผล พร้อมรับฟังข้อเสนอแนะรายละเอียดตามข้อมูลที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ซึ่งการด้าเนินงาน โครงการสามารถตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยได้เป็นอย่างดีที่มุ่งหวังจะสร้าง กระบวนการ ในการศึกษาด้านการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพชายฝั่งทะเล เศรษฐกิจ สังคม จากการ ด้าเนินงานชะลอการกัดเซาะชายฝั่งด้วยวิธีการปักเสาปูนซีเมนต์ในทะเลและการสร้างกระบวนการ เรียนรู้กับชาวบ้านในพื้นที่และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการคลี่คลายปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งโดยใช้ภูมิ ปัญญาท้องถิ่น
จึงอาจจะกล่าวโดยสรุปได้ว่า การด้าเนินโครงการวิจัยเพื่อท้องถิ่นในครั้งนี้ ได้สนับสนุนให้ ชุมชนสร้างกระบวนการเคลื่อนไหวเพื่อสร้างพื้นที่ให้องค์กรชาวบ้านได้ใช้ความรู้ที่ได้มาและน้าไปสู่ การช่วงชิงความหมายนั้นได้มีเวทีในการถกเถียง แลกเปลี่ยนและเจรจาต่อรองกับบุคคลต่างๆที่เกี่ยวข้อง การใช้กระบวนการเคลื่อนไหวเพื่อสร้างตัวตนให้แก่ชาวประมงพื้นบ้านให้เขารู้จักว่าเขาคือใครมีดีอะไร แล้วใช้ตัวตนดังกล่าวไปสร้างความสัมพันธ์กับกลุ่มคนต่างๆในพื้นที่ของการเจรจาต่อรองและ กระบวนการสร้างตัวตนที่ส้าคัญ คือการให้ชาวบ้านมาร่วมกัน เรียนรู้อย่างเป็นระบบ คือให้ชาวบ้าน มาร่วมกันเรียนรู้ตั้งแต่ว่าอะไรคือปัญหาของเขา จากนั้นก็ร่วมกันแสวงหาความรู้ ปัญหาที่เขาสนใจนั้นมี รายละเอียดอย่างไร เกิดขึ้นได้อย่างไร ถ้าจะแก้ปัญหาดังกล่าวควรจะท้าอย่างไรแล้วก็ให้ชาวบ้านร่วมกัน แก้ปัญหาของพวกเขา ซึ่งท้ายที่สุดก็จะเป็นการสนับสนุนให้ชุมชนสร้างความรู้เพื่อจะได้ใช้ในการช่วง ชิงการให้ความหมายและต่อสู้กับทิศทางของการให้ความหมายในกระแสหลักในประเด็นเรื่องต่างๆได้ ในล้าดับต่อไป
...............................................................................................................................................