Contract
บันทึกขอ
ตกลงการประเมินผลการดําเนินงานทุนหมุนเวียน ประจําปีบัญชี 2559
ระหว่าง กระทรวงการคลัง
กับ
กองทุนการแพทย์ฉุกเฉิน สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
บันทึกขอ
ตกลงการประเมินผลการดําเนินงานของ กองทุนการแพทย์ฉุกเฉิน
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาต ประจําxxxญชี 2559
1. คู่สญญา
ข้อตกลงการประเมินผลการดําเนินงานระหว่าง
xxxxxxxxxxxxxxxx x
นxxxx xxxปลัดกระทรวงการคลัง หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน ในนามกระทรวงการคลัง
กับ
xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxx นายแพทย์xxxxxxx xxxสตยาทร ประธานกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในนามกองทุนการแพทย์ฉุกเฉิน
2. ข้อตกลงนี้สําหรับระยะเวลา 1 ปี เริ่มตั้งแต่xxxxxx 1 xxxxxx 2558 ถึงxxxxxx 30 กันยายน 2559 เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อxxxxxx 30 กันยายน 2546 ตามหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0506/15149 ลงวนั ที่ 7 xxxxxx 2546
- 2 -
3. วิสัยทศน
ประเทศไทยมีระบบการแพทย์ฉุกเฉินxxxxxxมาตรฐานซึ่งบุคคลเข้าถึงได้อย่างท่ัวถึงและ
เท่าเทียมทง้ ในภาวะxxxxและสาธารณภัย โดยมีการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
4. xxxxxxx
4.1 พฒั นาระบบการแพทย์ฉุกเฉินให้ได้มาตรฐานซึ่งบุคคลเข้าถึงได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม
4.2 xxxxxxxxภาคีเครือข่ายให้มีความxxxxxxxxและมีการบริหารกิจการทดอยีี่ ่างมีส่วนร่วม
4.3 พัฒนาการแพทย์ฉุกเฉนxxx xพร้อมรับภาวะสาธารณภัย
4.4 พัฒนาระบบการเงินเพื่อสนับสนุนการแพทย์ฉุกเฉินใหเพียงพอและยั่งยืน
4.5 xxxxxxความร่วมมือดา้ นการแพทย์ฉกุ เฉินกับประชาคมอาเซียนและนานาชาติ
5. วตถุxxxxxxxจัดตั้ง
5.1 เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน รวมทั้งอุดหนุนหรือเป็นค่าชดเชยให้กับ ผู้ปฎิบัติการ หน่วยปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลท่ีดําเนินการเกี่ยวกับการแพทย์ฉุกเฉิน ทั้งน้ี โดยคํานึงxxx xxxปฏิบัติการฉุกเฉินในเขตพ้ืxxxxหรือxxxxxxxxxxxxxไม่มีผู้ปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลเพียงพอ ประกอบดวย
5.2 เพื่อxxxxxxxxการมีบทบาทตามความพร้อม ความเหมาะสม และความจําเป็นของประชาชน ในxxxxxxxx โดยให้กองทุนการแพทย์ฉุกเฉินสนับสนุนและxxxxxxกับองค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น เพื่อกําหนด
หล เกณฑ์ให้องค์กรดังกล่าวเป็นผู้ดําเนินงานและบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินในระดับxxxxxxxxหรือพื้นท
โดยอาจได้รับการอุดหนุนจากกองทุนฯ
6. เป้าหมายของผลการดําเนินงาน
กองทุนการแพทย์ฉุกเฉินมีเป้าหมายของผลการดําเนินงาน ซึ่งจะต้องxxxxxในระหว่าง ปีบัญชี 2559 ปรากฏตามตารางผลการดําเนินงานในอดีตและเป้าหมายของกองทุนการแพทย์ฉุกเฉิน ประจําปีบัญชี 2559 ดังนี้
ผลการดําเนินงานในอดีตและเป้าหมายของกองทุนการแพทย์ฉุกเฉิน ประจําxxxญชี 2559
เกณฑ์วัดการดําเนินงาน | หน่วยวัด | ผลการดําเนินงานในอดีต | น้ําหนกั (ร้อยละ) | ค่าเกณฑ์วดั | การปรับค่า เกณฑ์วัด | ||||||
2556 | 2557 | 25581 | ระดบั 1 | ระดับ 2 | ระดบั 3 | ระดับ 4 | ระดับ 5 | ||||
xxxxxxx 1 การเงิน ตัวชี้วัดที่ 1.1 สดส่วนค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานต่อ จํานวนผูป้ ่วยฉุกเฉินที่มาด้วยระบบ การแพทย์ฉุกเฉิน | บาท/ราย | 137.42 | 120.05 | 117.52 | 10 10 | 130 | 125 | 120 | 115 | 110 | +/- 5 |
xxxxxxx 2 การxxxxประโยชน์ต่อผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสีย | 20 | ||||||||||
ตัวชี้วัดที่ 2.1 สัดส่วนผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตที่เริ่มไดร้ ับการ ปฏิบัติการฉุกเฉินภายใน 8 นาที (ทั้งหมด) ตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละของผู้ป่วยฉุกเฉินที่แจ้งเหตุด้วย หมายเลขฉุกเฉิน 1669 ตัวชี้วัดท่ี 2.3 ระดับความพึงxxxxของภาคีเครือข่าย ต่อการใหบ้ ริxxx | xxx xละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ | 47.77 74.28 95.90 ของ ผรู้ บบริการ | 46.86 75.93 75.58 ของภาคี เครือข่าย | 46.48 77.43 N/A | 5 5 10 | 43 72 65 | 45 74 70 | 47 76 75 | 49 78 80 | 51 80 85 | -/+ 2 -/+ 2 -/+ 5 |
xxxxxx 3 การปฏิบัติการ ตวั ชี้วัดที่ 3.1 การดําเนินงานตามนโยบายรัฐบาล/ กระทรวงการคลงั 3.1.1 การเบิกจ่ายเงินตามแผน การเบิกจ่ายxxxxxxรับอนุมัติ (นํา้ หนกั รอ้ ยละ 40) 3.1.2 การรายงานการรับจ่ายและ การใช้จ่ายเงินรายได้xxxxxxต้อง นําส่งเป็นรายไดแผ่นดิน (น้ําหนักร้อยละ 20) 3.1.3 ดําเนินงานตามนโยบายรัฐบาล/ กระทรวงการคลงั (xxxx หนกั รอ้ ยละ 40) | 40 5 | ||||||||||
ระดับ | - | - | - | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | -/+ 1 | |
ระดับ | - | - | - | 1 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | -/+ 1 | |
ระดบั | - | - | - | 2 | 1 | - | - | - | 5 |
1ผลการดําเนินงานเบื้องต้น
หมายเหตุ: งบการเงินได้รับการรับรองจาก สตง. ถึงปีบัญชี 2556
เกณฑ์วัดการดําเนินงาน | หน่วยวัด | ผลการดําเนินงานในอดีต | นําหนัก (รอ้ ยละ) | ค่าเกณฑ์วดั | การปรับค่า เกณฑ์วัด | ||||||
2556 | 2557 | 25581 | ระดับ 1 | ระดับ 2 | ระดับ 3 | ระดับ 4 | ระดบั 5 | ||||
ตัวชว้ี ัดท่ี 3.2 จํานวนองค์การบริหารส่วนจังหวดั (อบจ.) หรือองค์กรxxxxxxxxxxxxxถิ่นรูปแบบ พิเศษที่มีการบริหารจดการระบบ การแพทย์ฉุกเฉินในxxxxxxxตามเกณฑ์ท่ี กําหนด ตัวชี้วัดท่ี 3.3 พื้นที่ท่ีมีและใช้แนวทางปฏิบัติในการ บังคับบัญชาการแพทย์ฉุกเฉิน ( EMS Incident Command System) ในภาวะ สาธารณภยตามหลักเกณฑ์ท่ีกําหนด ตัวชี้วัดท่ี 3.4 ระดบความสําเร็จการxxxxxxความร่วมมือ ระดับประเทศด้านการแพทย์ฉุกเฉินกับ ประชาคมอาเซียนทางดา้ นวิชาการ มาตรฐานการปฏิบัติการฉุกเฉิน ข้อมูล สารสนเทศและการส่ือสาร รวมทั้งการรับ ภัยพิบัติ | จงหวดั ระดบั ระดบั | 25 - - | 19 1 5 | 25 4 3 | 9 9 9 | 21 1 1 | 23 2 2 | 25 3 3 | 27 4 4 | 29 5 5 | -/+ 2 -/+ 1 -/+ 1 |
ตัวช้ีวัดท่ี 3.5 ความสําเร็จในการลดการเกิดอุบัติเหตุ รถพยาบาล Ambulance safety | ระดับ | - | 5 | 3 | 8 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | -/+ 1 |
xxxxxxx 4 การบริหารพฒนาทุนหมุนเวียน | 30 | ||||||||||
ตัวชว้ี ัดท่ี 4.1 บทบาทคณะกรรมการทุนหมุนเวียน | ระดบั | 4.6800 | 4.8400 | N/A | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | -/+ 1 |
ตัวชี้วัดที่ 4.2 การบริหารความเสี่ยง | ระดับ | 4.4000 | 4.2714 | N/A | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | -/+ 1 |
ตัวชี้วัดที่ 4.3 การควบคุมภายใน | ระดับ | 4.5200 | 4.8600 | N/A | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | -/+ 1 |
ตัวชี้วัดท่ี 4.4 การตรวจสอบภายใน | ระดับ | 4.7400 | 4.5200 | N/A | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | -/+ 1 |
ตัวชี้วัดท่ี 4.5 การบริหารจัดการสารสนเทศ | ระดบั | 4.3000 | 4.9000 | N/A | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | -/+ 1 |
ตัวชี้วัดที่ 4.6 การบริหารทรัพยากรบุคคล | ระดับ | 5.0000 | 4.5000 | N/A | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | -/+ 1 |
คําจํากัดความ หรือสูตรการคํานวณ
ตัวชี้วัด | คําจํากัดความหรือสูตรการคํานวณ |
xxxxxxx 1 การเงิน ตัวช้ีวัดที่ 1.1 สัดส่วนค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานต่อจํานวน ผู้ป่วยฉุกเฉินที่มาดวยระบบการแพทย์ฉุกเฉิน | - พิจารณาจากสัดส่วนค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน ณ สิ้นปีบัญชี 2559 ต่อจํานวนผู้ป่วยฉุกเฉินที่มาด้วย ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ในรอบxxxญชี 2559 เพื่อพิจารณาถึงประสิทธิภาพในการบริหารจดการกองทุนการแพทย์ฉุกเฉิน สูตรการคํานวณ : ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานของสถานบันการแพทย์ฉุกเฉิน จํานวนผู้ป่วยฉุกเฉินท่ีมาด้วยระบบการแพทย์ฉุกเฉิน โดยท่ี • ค่าใช้จ่ายดําเนินงานของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินซ่ึงเป็นองค์กรผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการกองทุนการแพทย์ฉุกเฉิน และ เป็นผู้ดําเนินกิจกรรมของกองทุนฯ เพื่อxxxxxวิสัยทัศน์xxxxxต้ ัง้ ไว้ประกอบดวย ค่าใช้จ่ายบุคลากร และค่าใช้จ่ายดําเนินงาน • จํานวนผู้ป่วยฉุกเฉินท่ีมาด้วยระบบการแพทย์ฉุกเฉิน หมายถึง จํานวนผู้ป่วยทังหมด (ทุกประเภท) ที่มาด้วยระบบการแพทย์ฉุกเฉิน |
xxxxxxx 2 การxxxxประโยชน์ต่อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสีย ตวั ชีว้ ัดที่ 2.1 สัดส่วนผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตท่ีเริ่มได้รับ การปฏิบตั ิการฉุกเฉินภายใน 8 นาที (ทงั หมด) | - พิจารณาจากจํานวนผู้ป่วยวิกฤติ (สีแดง) ณ จุดเกิดเหตุxxxxxร้ ับปฏิบัติการแพทย์ ภายใน 8 นาที หารด้วยจํานวนผู้ป่วยวิกฤติ ณ จุดเกิดเหตุ ท่ีใชระบบการแพทย์ฉุกเฉินนอก รพ. ทั้งหมด คูณ 100 (ITEMS) สูตรการคํานวณ : จํานวนผู้ป่วยฉุกเฉินระดับวิกฤต (สีแดง) ท่ีมาโดย EMS ทั้งหมดที่เร่ิมไดร้ บปฏิบัติการภายใน 8 นาที x 100 จํานวนผู้ป่วยฉุกเฉินระดบวิกฤติท่ีมาโดย EMS ทั้งหมด โดยที่ : • ผู้ป่วยฉุกเฉินระดับวิกฤต (สีแดง) ที่เร่ิมได้รับปฏิบัติการภายใน 8 นาทีนับรวมตั้งแต่ข้ันตอนได้รับแจ้ง ถึงขั้นตอนชุดปฏิบัติการ ฉุกเฉินเริ่มใหการช่วยเหลือ • ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (สีแดง) ได้แก่ บุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการป่วยกะทันหันซึ่งมีภาวะคุกคามต่อชีวิตซึ่งหากxxxxxxรับ ปฏิบัติการแพทย์ทันที เพื่อแก้ไขระบบการหายใจระบบไหลเวียนเลือดหรือระบบxxxxxxแล้วผู้ป่วยจะมีโอกาสเสียชีวิตได้สูง หรือทําให้การบาดเจ็บหรืออาการป่วยของผู้ป่วยฉุกเฉินนั้นรุนแรงขึ้น หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นได้อย่างฉับไว ซึ่งไม่รวมผู้ป่วย ส่งต่อ (Refer) |
ตวั ชีว้ ัด | คําจํากัดความหรือสูตรการคํานวณ |
ตัวชีว้ ัดท่ี 2.2 รอ้ ยละของผปู้ ่วยฉุกเฉินท่ีแจงเหตุด้วย หมายเลขฉุกเฉิน 1669 | - พิจารณาจากจํานวนครั้งท่ีศูนย์รบแจ้งและส่งั การได้รับการแจ้งเหตุจากผูแจ้งเหตุ ผ่านหมายเลข 1669 สูตรคํานวณ : จํานวนผู้ป่วยฉุกเฉินที่มาด้วยระบบการแพทย์ฉุกเฉินนอก รพ. ที่โทรด้วย 1669 x 100 จํานวนผู้ป่วยฉุกเฉินทั้งหมดท่ีใช้ระบบการแพทย์ฉุกเฉินนอก รพ. |
ตวั ชีว้ ัดที่ 2.3 ระดบความพึงxxxxของภาคีเครือข่ายต่อ การใหบ้ ริการ | - พิจารณาจากค่าเฉลี่ยความพึงxxxxของภาคีเครือข่ายต่อการให้บริการของสภาบันการแพทย์ฉุกเฉินประกอบด้วย กระทรวงสาธารณสุข (สสจ./รพศ./รพท./รพช.) อปท. มูลนิธิ หน่วยงานอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการแพทย์ฉุกเฉินและผู้รับบริการ ซึ่งคํานวณได้จาก ค่าเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักของคะแนนความพึงxxxxรวมของกลุ่มตัวอย่าง - สูตรคํานวณ: ∑n 1 Xi x¯ = i= n โดย ¯x = ค่าเฉxxxยถ่วงนํา้ หนักของคะแนนความพึงxxxxรวม Xi = ค่าเฉลี่ยถ่วงxxxx หนกั ของคะแนนความพึงxxxxของแต่ละตัวอย่าง N = จํานวนกลุ่มตวั อย่างในการสํารวจ โดยที่ 1. การสํารวจความพึงxxxxควรกําหนดxxxxxxxวิธีวิจัยทางสถิติอันเป็นที่ยอมรับในระดับxxxx ซึ่งครอบคลุมวิธีการกําหนด กลุ่มตัวอย่าง (Sample Group) การกําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง (Sample Size) และการสุ่มตัวอย่างต้องกําหนดวิธีการที่xxxxxx xxxx การสุ่มอย่างเป็นระบบ (Systematic sampling) หรือการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตามสัดส่วน (Proportional random sampling) เป็นต้น โดยxxxxxxxวิธีวิจัยจะต้องมุ่งเน้นให้ข้อมูลxxxxxxรับจากการสํารวจ xxxxxxสะท้อนความต้องการ หรือความพึงxxxxxxx แท้จริงของกลุ่มประชากรได้ 2. การออกแบบสอบถามทั้งในรูปแบบของการสัมภาษณ์ หรือการเก็บข้อมูลภาคสนาม ควรมีคําถามคลอบคลุมลักษณะของผู้ตอบ แบบสอบถาม และชุดคําถามเกี่ยวกับระดับความพึงxxxx อาทิ Likert Scale หรือ Semantic Differential Scale เป็นต้น โดยคํานึงถึงความพึงxxxxในด้านต่าง ๆ อาทิการให้บริการของเจ้าหน้าที่ กระบวนการหรือข้ันตอนการให้บริการ ระยะเวลา การใหบ้ ริการ ความสะดวกสบาย และส่ิงอํานวยความสะดวก ความคลอบคลุม และความทั่วถึงของการให้บริการ เป็นต้น 3. การxxxxxxผลข้อมูลควรกําหนดวิธีการxxxxxxผลด้วยxxxxxxxวิธีวิเคราะห์ทางสถิติ xxxx ค่าสถิติความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) เป็นต้น สําหรับสรุปลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง (Character) เพื่อวิเคราะห์ ความแตกต่างของความพึงxxxxของกลุ่มตัวอย่างท่ีมีลักษณะต่าง ๆ กนั ด้วย 4. แนวทางการสํารวจ แบบสอบถาม และรูปแบบการxxxxxxผล ต้องได้รับการหารือและพิจารณาร่วมกับกรมบัญชีกลางและที่ปรึกษาฯ ก่อนดําเนินการสํารวจ โดยให้จัดส่งกรมบัญชีกลางและที่ปรึกษาฯ ภายในไตรมาสท่ี 2 ของปีบัญชี 2558 ทั้งนี้ ในแบบสอบถามควรมี ขอ้ มูลของผู้ตอบแบบสอบถามที่xxxxxxสุ่มตวั อย่างผลการสํารวจxxx xxxx e-Mail หรือหมายเลขโทรศัพท์ เป็นตน้ (ถ้ามี) 5. การรายงานผลการดําเนินงาน ณ สิ้นปี ให้ส่งสําเนาสรุปรายงานผลการวิเคราะห์การสํารวจฯ พร้อมแบบสอบถามxxxxxxจาก การสํารวจความพึงxxxxให้กับกรมบัญชีกลางและที่ปรึกษาฯ |
ตวั ชีว้ ัด | คําจํากัดความหรือสูตรการคํานวณ |
xxxxxxx 3 การปฏิบัติการ ตวั ชีว้ ัดท่ี 3.1 การดําเนินงานตามนโยบายรฐั บาล/ กระทรวงการคลัง | - พิจารณาจากระดับความสําเร็จในการดําเนินงานตามนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลัง กําหนดเกณฑ์ประเมินผลจากประเด็นหลัก ที่สําคัญ 3 ดา้ น ได้แก่ 3.1.1 การเบิกจ่ายเงินตามแผนการเบิกจ่ายxxxxxร้ ับอนุมตั ิ (ร้อยละ 40) พิจารณาจาก (1) การเบิกจ่ายงบลงทุนเทียบกับแผนการเบิกจ่ายงบลงทุน ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 (ร้อยละ 20) (2) การเบิกจ่ายภาพรวมเทียบกับแผนการเบิกจ่ายภาพรวม ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 (ร้อยละ 20) 3.1.2 การรายงานการรับจ่าย และการใช้จ่ายเงินรายได้xxxxxxต้องนําส่งเป็นรายได้แผ่นดิน (ร้อยละ 20) 3.1.3 การดําเนินงานตามนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลงั (รอ้ ยละ 40) ทั้งนี้ ในปีบัญชี 2559 หากไม่มีตัวชี้วัดที่ 3.1.3 ให้xxxxxxxxxx หนักของตัวชี้วัดท่ี 3.1.3 ไปไว้ในตัวช้ีวัดที่ 3.1.1 (1) ร้อยละ 10 ตัวชว้ี ัดที่ 3.1.1 (2) รอ้ ยละ 20และ ตัวชีว้ ดที่ 3.1.2 รอ้ ยละ 10 |
ตัวชีว้ ัดท่ี 3.2 จํานวนองค์การบริหารส่วนจงหวดั (อบจ.) หรือองค์กรxxxxxxxxxxxxxถ่นรูปแบบ พิเศษที่มีการบริหารจัดการระบบ การแพทย์ฉุกเฉินในxxxxxxxxตามเกณฑ์ที่ กําหนด | - องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) หรือองค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษท่ีมีการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินใน xxxxxxxตามเกณฑ์ท่ีกําหนดอย่างน้อย 4 ใน 7 ขอ้ ในปี 2559 ดงนี้ 1. มีการซื้อ หรือเช่า รถยนต์เพื่อใช้ปฏิบัติงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน สนับสนุนองค์การบริหารส่วนตําบล ที่ไม่มีงบประมาณ ดําเนินการหรือมีรถยนต์ปฏิบัติงานแต่xxxxxxมาตรฐาน โดยมีการลงนามทําข้อตกลงร่วมกัน 2. มีส่วนร่วมในการพัฒนาศูนย์รบแจงเหตุและส่งั การด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และมีการปฏิบตั ิการอย่างต่อเน่ืองอย่างเป็นระบบ 3. มีการดําเนินxxxxxxให้บริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินในการดูแลช่วยเหลือ ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ และนําส่งโรงพยาบาล xxxxxxมาตรฐาน และขึ้นทะเบียนในระบบการแพทย์ฉุกเฉินอย่างถูกต้อง 4. มีการสนับสนุนงบประมาณเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากรด้านการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อให้มีมาตรฐานในการปฏิบัติงานในพื้นที่ ขาดแคลน ในหลักสูตรต่าง ๆ ที่ สพฉ. รับรอง xxxx หลักสูตร อาสาฉุกเฉินการแพทย์ (40 ช่ัวโมง) หลักสูตร พนักงาน ฉุกเฉินการแพทย์ (110 ชั่วโมง) การพัฒนาให้xxxxxxฉุกเฉินชุมชน ในกลุ่มเป้าหมาย มีการสนับสนุนการจัดการแข่งขัน ทักษะการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน โดยกระบวนการ EMS Rally อย่างต่อเนื่องทุกปี เป็นต้น 5. สนับสนุนงบประมาณ เพื่อเป็นกองทุนสําหรับการพัฒนาการปฏิบัติงานดา้ นการแพทย์ฉุกเฉินในจังหวัด 6. มีกิจกรรมการประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการขอความช่วยเหลือด้านการแพทย์ฉุกเฉินเมื่อ เกิดเจ็บป่วยฉุกเฉิน xxxx การทําป้าย xxxxxสัมพนั ธ์ 1669 แบบxxxx เป็นตน้ 7. มีการประชุมติดตามผลการดําเนินงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินอย่างต่อเนื่องและมีรายงานสรุปผลการประชุมเห็นเป็น xxxxxxxx |
2รายละเอียดปรากฏตามเอกสารแนบท้ายบันทึกข้อตกลงฯ
ตวั ชีว้ ัด | คําจํากัดความหรือสูตรการคํานวณ |
เกณฑ์วัดผลการดําเนินงานแบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้ | |
ตัวชีว้ ัดที่ 3.3 พื้นที่ท่ีมีและใช้แนวทางปฏิบัติในการบงั คับ บัญชาการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS Incident Command System) ในภาวะสาธารณภยั ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด | - พิจารณาจากจํานวนของพ้ืxxxx (เขต) ท่ีมีและใช้แนวทางปฏิบัติในการบังคับบัญชาการแพทย์ฉุกเฉิน(EMS Incident Command System) ในภาวะสาธารณภัยตามหลักเกณฑ์ท่ีกําหนด ตามแผนการพัฒนาการเตรียมการด้านการแพทย์ฉุกเฉินให้พร้อมรับสาธารณภัย ในปีบัญชี 2559 โดยพิจารณาจากการมีและใช้แนวปฏิบัติในการบังคับบัญชาการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS Incident Command System) ในภาวะสาธารณภัยตามหลักเกณฑ์ท่ีกําหนด หมายถึง ระดับความสําเร็จตามแผนหลักในเรื่องจํานวนหลักเกณฑ์แนวปฏิบัติใน การบังคับบัญชาการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS Incident Command System) ในภาวะสาธารณภัยด้านต่าง ๆ ได้แก่ สึนามิ แผ่นดินไหว ภยทางถนน ดินโคลนถล่ม เป็นต้น กิจกรรมที่ต้องดําเนินการในปีบัญชี 2559 ประกอบด้วย (1) คดั เลือกจงหวัดจากเขตที่ยังไม่เคยมีจังหวัดใดในเขตเข้าร่วมโครงการจังหวัดอย่างน้อยเขตละ ๑ จังหวัด (2) แต่งตัง้ /ประชุมคณะทํางาน (3) สนบสนุนงบประมาณแก่จังxxxxxxเข้าร่วมโครงการ (4) จัด/สนับสนุนให้มีการฝึกซอ้ มแผนสาธารณภัย โดยใช้ระบบ ICS (5) ทดสอบแนวปฏิบัติในการบญชาการเหตุการณ์ด้านการแพทย์ในภาวะสาธารณภัย/ภัยพิบัติ (xxxx Table Top Exercise ฯลฯ) (6) กํากบติดตามการดําเนินงานของจังxxxxxxเข้ารวมโครงการ และร่วมการประชุม/ศึกษาเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกบการพัฒนาระบบ ICS (7) จังหวัดส่งผลการดําเนินงาน/แผน/สรุปผลการฝึกซ้อมแผน (8) จดทําแนวปฏิบตั ิฯ ฉบับxxxxxxx |
ผ่านเกณฑ์ 4 ใน 7 ข้อ จํานวน 21 จังหวัด | เทียบเท่าระดับ 1 |
ผ่านเกณฑ์ 4 ใน 7 ข้อ จํานวน 23 จังหวัด | เทียบเท่าระดับ 2 |
ผ่านเกณฑ์ 4 ใน 7 ข้อ จํานวน 25 จังหวัด | เทียบเท่าระดบั 3 |
ผ่านเกณฑ์ 4 ใน 7 ข้อ จํานวน 27 จังหวัด | เทียบเท่าระดับ 4 |
ผ่านเกณฑ์ 4 ใน 7 ข้อ จํานวน 29 จังหวัด | เทียบเท่าระดับ 5 |
ตวั ชีว้ ัด | คําจํากัดความหรือสูตรการคํานวณ |
โดยมีระดับการประเมินผลการดําเนินงาน 5 ระดับดังนี้ | |
ตัวชีว้ ัดที่ 3.4 ผลการxxxxxxความร่วมมือระดับประเทศ ดา้ นการแพทย์ฉุกเฉินกับประชาคมอาเซียน ทางดา้ นวิชาการ มาตรฐานการปฏิบตั ิการฉุกเฉิน ข้อมูลสารสนเทศและการส่ือสาร รวมทง้ั การรบภัยพิบัติ | - พิจารณาจากการxxxxxxความร่วมมือระดบประเทศดา้ นการแพทย์ฉุกเฉินกบประชาคมอาเซียนพิจารณาจากการจดตั้งศูนย์xxxxxxxxx xxxแพทย์ฉุกเฉินระหว่างประเทศกําหนดกิจกรรม ดงน้ี 1. มีข้อตกลงใหป้ ระxxxxxxเป็นศูนย์กลางการพฒั นาระบบการแพทย์ฉุกเฉินของประชาคมอาเซียน 2. มีคณะทํางานดําเนินงานจัดตั้งศูนย์ฯ 3. มีการกําหนดรปแบบการดําเนินงาน, บทบาทหนาที่, กรอบอตั รากําลงั ตลอดจนวงเงินและแหล่งงบประมาณxxxxxxxxx 4. ไดร้ ับการอนุมัติให้ดําเนินการจัดตั้งศูนย์พร้อมอนุมัติกรอบอตั รากําลงั และงบประมาณจาก กพฉ. 5. มีการดําเนินกิจกรรมของศูนย์xxxxxxxxxxxxแพทย์ระหว่างประเทศ โดยมีระดับการประเมินผลการดําเนินงาน 5 ระดับดังนี้ |
มีจังหวัดที่ใชระบบ ICS ในการบริหารจัดการภยั พิบตั ิตามคู่มือแนวทางปฏิบัติที่ สพฉ. กําหนด 8 เขต (เขตละ 1 จงหวดั ) | เทียบเท่าระดบั 1 |
มีจังหวัดที่ใช้ระบบ ICS ในการบริหารจัดการภัยพิบัติตามคู่มือแนวทางปฏิบัติที่ สพฉ. กําหนด 10 เขต (เขตละ 1 จงหวดั ) | เทียบเท่าระดบั 2 |
มีจังหวัดท่ีใช้ระบบ ICS ในการบริหารจัดการภยั พิบัติตามคู่มือแนวทางปฏิบัติที่ สพฉ. กําหนด 12 เขต (เขตละ 1 จงหวดั ) | เทียบเท่าระดบั 3 |
มีจังหวัดที่ใช้ระบบ ICS ในการบริหารจัดการภยั พิบัติตามคู่มือแนวทางปฏิบxx xxxx สพฉ. กําหนด 2 เขต (เขตละ 2 จงหวดั ) | เทียบเท่าระดับ 4 |
มีจงหวัดที่ใช้ระบบ ICS ในการบริหารจัดการภยั พิบัติตามคู่มือแนวทางปฏิบัติที่ สพฉ. กําหนด 4 เขต (เขตละ 2 จงหวดั ) | เทียบเท่าระดบั 5 |
มีการดําเนินการในประเด็นข้อ 1 แลว้ เสร็จ | เทียบเท่าระดับ 1 |
มีการดําเนินการในประเด็นข้อ 1 และ 2 แลว้ เสร็จ | เทียบเท่าระดับ 2 |
มีการดําเนินการในประเด็นข้อ 1, 2 และ 3 แล้วเสร็จ | เทียบเท่าระดับ 3 |
มีการดําเนินการในประเด็นข้อ 1, 2, 3 และ 4 แลว้ เสร็จ | เทียบเท่าระดับ 4 |
มีการดําเนินการครบทั้ง 5 ประเด็น | เทียบเท่าระดับ 5 |
ตวั ชีว้ ัด | คําจํากัดความหรือสูตรการคํานวณ |
ตัวชีว้ ัดท่ี 3.5 ความสําเร็จในการลดการเกิดอุบัติเหตุ รถพยาบาล Ambulance safety | - พิจารณาจากความสําเร็จในการลดการเกิดอุบัติเหตุรถพยาบาล Ambulance safety เป็นการประเมินเพ่ือสร้างความปลอดภัยให้แก่ ผูปฏิบตั ิการในระบบการแพทย์ฉุกเฉินในรถพยาบาล (Ambulance Safety) ประกอบด้วย 5 ประเด็น ดังนี้ 1. มีแผนการดําเนินงานด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้ปฏิบัติการในระบบการแพทย์ฉุกเฉินในรถพยาบาล (Ambulance Safety) เพื่อใช้กํากับติดตามงาน 2. พนกั งานขับรถหน่วยกู้ชีพของมูลนิธิ/อปท. ผ่านการอบรมหลักสูตรการขับรถพยาบาล อย่างน้อย 200 หน่วย 3. มีจังหวัดใช้ระบบ GPS เพ่ือสร้างความปลอดภัยให้แก่ผู้ปฏิบัติการในระบบการแพทย์ฉุกเฉินในรถพยาบาล (Ambulance Safety) อย่างน้อย 4 จังหวัด 4. มีผลการสอบสวนอุบัติเหตุรถพยาบาล รอ้ ยละ 60 ของอุบัติเหตุรถพยาบาลทั้งหมด 5. มีการเผยแพร่ขอ้ มูลการสอบสวนอุบัติเหตุรถพยาบาลใหหน่วยงานเจ้าของรถพยาบาลที่เกิดเหตุ และใน website ของ สพฉ. โดยมีระดับการประเมินผลการดําเนินงาน 5 ระดับดังนี้ หมายเหตุ: - พนักงานขับรถที่ผ่านหลักสูตรขับรถพยาบาลปลอดภัย หมายถึงพนักงานขับรถที่ผ่านหลักสูตรขับรถพยาบาลปลอดภัย ของ กระทรวงสาธารณสุข จํานวน 3,268 คน (ณ 30 มิ.ย. 58) - การเกิดอุบัติเหตุรถพยาบาล หมายถึง เฉพาะอุบัติเหตุรถพยาบาลที่เกิดจากความประมาท ของ พขร. ไม่รวมถึงผู้ใช้รถใช้ถนน คันอื่นขับมาชน หรือเหตุสุดวิสัยจากสภาพแวดล้อม xxxx ฝนตกหนัก เป็นต้น |
มีการดําเนินการในประเด็นข้อ 1 แล้วเสร็จ | เทยบเท่าระดับ 1 |
มีการดําเนินการในประเด็นข้อ 1, 2 และ 3 แลว้ เสร็จ | เทียบเท่าระดบั 2 |
มีการดําเนินการครบทง้ั 5 ประเด็น | เทียบเท่าระดบั 3 |
อตั ราการเกิดอุบตั ิเหตุรถจากพยาบาลเฉxxxยลดลงรอ้ ยละ 20 | เทียบเท่าระดับ 4 |
อตั ราการเกิดอุบตั ิเหตุจากรถพยาบาลเฉxxxยลดลงร้อยละ 50 | เทียบเท่าระดับ 5 |
รายชื่อสถาบันฝึกอบรม | จํานวน (คน) |
โรงเรียนทกั ษะพิพฒั น์ | 1,455 |
ID Driver | 1,429 |
UD Driver | 250 |
กรมการขนส่งทางบก | 134 |
รวม | 3,268 |
ตวั ชีว้ ัด | คําจํากัดความหรือสูตรการคํานวณ |
xxxxxxx 4 การบริหารพฒนาทุนหมุนเวียน3 ตัวชี้วัดที่ 4.1 บทบาทคณะกรรมการทุนหมุนเวียน | - ระดับความสําเร็จในการxxxxxประสิทธิภาพการกํากับดูแลของคณะกรรมการทุนหมุนเวียน กําหนดเกณฑ์ประเมินผลจากประเด็นหลัก ที่สําคัญ 5 ด้าน ได้แก่ 1. การจัดให้มีหรือทบทวนแผนxxxxxxxxxxระยะยาว (3-5 ปี) และแผนปฏิบัติการประจําปีบัญชี 2560 (ร้อยละ 30) พิจารณาจากคณะกรรมการทุนหมุนเวียนกําหนดให้มีหรือทบทวนแผนxxxxxxxxxxระยะยาว (3-5 ปี) และแผนปฏิบัติการ ประจําปีบัญชี 2560 ที่มีองค์ประกอบครบถ้วน มีคุณภาพ และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์จัดตั้งรวมถึงพันธกิจของ ทุนหมุนเวียน 2. การติดตามระบบการบริหารจัดการและผลการปฏิบัติงานตามภารกิจของทุนหมุนเวียน (ร้อยละ 40) พิจารณาจาก คณะกรรมการทุนหมุนเวียนมีการติดตามผลการปฏิบัติงานตามพันธกิจและระบบบริหารจัดการที่สําคัญ ได้แก่ ระบบ การควบคุมภายใน ระบบการตรวจสอบภายใน ระบบการบริหารความเสี่ยง ระบบบริหารจัดการสารสนเทศ และระบบ บริหารทรัพยากรบุคคลของทุนหมุนเวียนอย่างครบถ้วน เพียงพอและสม่ําเสมอทั้งปีรวมท้ังการมีบทบาทในการผลักดัน ผลการดําเนินงานของทุนหมุนเวียน 3. การจัดให้มีระบบประเมินผลผู้บริหารระดับสูงของทุนหมุนเวียน (ร้อยละ 10) พิจารณาจากการประเมินผลผู้บริหารระดับสูง (3 ระดับ ได้แก่ 1. เลขากองทุนฯ 2. รองเลขากองทุนฯ 3. ผู้อํานวยการกองทุนฯ) ที่เป็นระบบ โดยมีหลักเกณฑ์ชัดเจน สอดคล้อง และเชื่อมโยงกับหลกั เกณฑ์และเป้าหมายระดับองค์กร 4. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารแก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ร้อยละ 15) พิจารณาจากการเปิดเผยข้อมูลสารสนเทศที่ครบถ้วน ถูกต้อง เชื่อถือได้ ทันกาล 5. การพัฒนาตนเองของคณะกรรมการทุนหมุนเวียน (รอ้ ยละ 5) พิจารณาจากการจัดให้มีกิจกรรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ หรือ xxxxxxxxความรู้ความxxxxxxของคณะกรรมการเกี่ยวกับทุนหมุนเวียน หมายเหตุ 1. กรณีที่มีการจัดประชุมคณะกรรมการทุนหมุนเวียน กําหนดให้ทุนหมุนเวียนจัดส่งรายงานการประชุมคณะกรรมการฯ ฉบับ ท่ีผ่านการรับรองแล้วเสร็จแก่กรมบัญชีกลางภายใน 30 วนั นับถัดจากxxxxxxรับรองรายงานการประชุมฯ 2. กรณีที่ทุนหมุนเวียนไม่xxxxxxรับรองรายงานการประชุมฯ ได้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน ให้จัดส่งสรุปผลการประชุมฯ เบื้องต้น ให้แก่กรมบัญชีกลางภายใน 30 วนั นับถัดจากxxxxxxมีการประชุมคณะกรรมการฯ ดังกล่าว ทั้งนี้ หากทุนหมุนเวียนไม่xxxxxxดําเนินการได้ตามหลักเกณฑ์ข้างต้น กําหนดให้มีการปรับลดคะแนนตัวชี้วัดที่ 4.1 บทบาท คณะกรรมการทุนหมุนเวียนโดยรวมลง 0.1000 คะแนน แต่หากทุนหมุนเวียนxxxxxxดําเนินการได้บางส่วนจะปรับลดคะแนน ดังกล่าวลงตามอตั ราส่วนโดยพิจารณาจากจํานวxxxxxx xxxxxxxxxxxxดําเนินการได้เทียบจํานวนครั้งที่มีการจัดประชุมทั้งหมด |
3 รายละเอียดปรากฏตามเอกสารแนบทายบันทึกข้อตกลงฯ
ตวั ชีว้ ัด | คําจํากัดความหรือสูตรการคํานวณ |
ตัวชี้วัดที่ 4.2 การบริหารความเส่ียง | - พิจารณาจากระดับความสําเร็จในการxxxxxประสิทธิภาพด้านการบริหารความเสี่ยง กําหนดประเมินผลจากประเด็นหลักที่สําคัญ ดังน้ี 1. การระบุความเสี่ยงระดับองค์กร (ร้อยละ 20) พิจารณาจากการระบุความเสี่ยงระดับองค์กรที่ครบถ้วนตามองค์ความเสี่ยง 4 ด้าน ตามหลักเกณฑ์ของ COSO ERM ที่แบ่งออกเป็น Strategic Risk/Operational Risk/Financial Risk และ Compliance Risk (S-O-F-C) 2. การประเมินระดับความรุนแรงของความเสี่ยงระดับองค์กร (ร้อยละ 20) พิจารณาจากการประเมินระดับความรุนแรง ของปัจจยั เสี่ยงซึ่งประกอบด้วยโอกาสและผลกระทบที่จะเกิดต่อความเสี่ยงระดับองค์กร 3. การกําหนดแผนงานการบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร (ร้อยละ 20) พิจารณาจากการกําหนดแผนบริหารความเสี่ยงครบ ทุกปัจจัยเส่ียงระดับองค์กร โดยมีการวิเคราะห์ Cost-Benefit ในแต่ละทางเลือกในการจัดการ 4. การดําเนินงานตามแผนบริหารความเส่ียง (ร้อยละ 30) พิจารณาจากการดําเนินกิจกรรมตามแผนการบริหารความเส่ียงได้ ครบถ้วน และความเส่ียงระดบั องค์กรลดลงได้ตามxxxxxxxxxxxกําหนด 5. การจัดทํา/ทบทวนคู่มือการบริหารความเส่ียง (ร้อยละ 10) พิจารณาจากการจัดทําคู่มือการบริหารความเสี่ยงของ ทุนหมุนเวียนแล้วเสร็จ โดยมีองค์ประกอบครบถ้วน และเผยแพร่คู่มือการบริหารความเสี่ยงให้กับผู้บริหารและพนักงาน ในองค์กร |
ตัวช้ีวัดที่ 4.3 การควบคุมภายใน (กรณีที่ 1 – ทุนมีโครงสร้างงาน ผูต้ รวจสอบภายใน) | - พิจารณาจากระดบความสําเร็จในการxxxxxประสิทธิภาพดา้ นการควบคมภายใน กําหนดประเมินผลจากประเด็นหลักท่ีสําคัญ ดังน้ี 1. การจัดให้องค์กรมีสภาพแวดล้อมการควบคุมภายในที่ครบถ้วนเพียงพอ (ร้อยละ 40) พิจารณาจากการจัดทําคู่มือ จรรยาบรรณของคณะกรรมการผู้บริหารและพนักงาน/ระบบการควบคุมและ/หรือการตรวจสอบเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม กฎxxxxxxxขององค์กรได้แก่ระบบขอร้องเรียนและการสอบทานหรือการตรวจสอบการปฏิบัติงานตามกฎxxxxxxxข้อบังคับ ขององค์กรและความขัดแย้งทางxxxxxxxxxx/การจัดทําคู่มืออํานาจหน้าที่แก่คณะกรรมการ/การกําหนดขอบเขตระดับ ของอํานาจในการอนุมัติxxxxxxxxxเป็นลายลักษณ์xxxxxและสื่อสารให้พนักงานทราบทั้งองค์กรและบทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการตรวจสอบและผูบ้ ริหารระดับสูงท่ีเกี่ยวข้องกับการควบคุมภายใน 2. การจัดให้มีกิจกรรมการควบคุมภายในxxxxx (ร้อยละ 40) พิจารณาจากผู้บริหารสูงสุดและผู้บริหารระดับรองขององค์กรมี การสอบทานรายงานทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงินการดูแลทรัพย์สินขององค์กรอย่างเป็นระบบและจัดทําคู่มือ มาตรฐานการปฏิบัติงานในระบบงานที่สําคัญอย่างครบถ้วน 3. การติดตามผลและการประเมินผล (ร้อยละ 20) พิจารณาจากการประเมินผลการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self- Assessment : CSA) ครบทั้งองค์กรการจัดส่งรายงานการควบคุมภายในตามxxxxxxxข้อ 6 แก่ สตง. ตามเวลาที่กําหนด และการประเมินการควบคุมอย่างเป็นxxxxx (Independent Assessment : IA) โดยผู้ตรวจสอบภายในหรือผู้ตรวจสอบภายนอก |
ตวั ชีว้ ัด | คําจํากัดความหรือสูตรการคํานวณ |
ตัวชี้วัดท่ี 4.4 การตรวจสอบภายใน (กรณีที่ 1 – ทุนมีโครงสรา้ งงาน ผู้ตรวจสอบภายใน) | - พิจารณาจากระดับความสําเร็จในการxxxxxประสิทธิภาพด้านการตรวจสอบภายใน กําหนดเกณฑ์ประเมินผลจากประเด็นหลักที่สําคัญ 4 ด้าน ไดแก่ 1. บทบาทความรับผิดชอบของหน่วยงานตรวจสอบภายใน (ร้อยละ 25) พิจารณาจากการจัดทํากฎบัตรของหน่วยงาน ตรวจสอบภายในนําเสนอคณะกรรมการหรือคณะกรรมการตรวจสอบอนุมัติการให้คําปรึกษาด้านการตรวจสอบภายในแก่ ฝ่ายบริหารอย่างเป็นรูปธรรม 2. บุคลากรการพัฒนาและการฝึกอบรม (ร้อยละ 10) พิจารณาจากระดับความรู้ความxxxxxxของผู้ตรวจสอบภายในและ การพัฒนาและการฝึกอบรมด้านการตรวจสอบภายใน 3. การจัดทําแผนการตรวจสอบเชิงกลยุทธ์และแผนการตรวจสอบประจําปี (รอ้ ยละ 35 ) พิจารณาจากการจดทําแผนการตรวจสอบ ประจําปีและมีองค์ประกอบท่ีสําคัญครบถ้วน 4. การปฏิบัติงานตรวจสอบ (ร้อยละ 30) พิจารณาจากการปฏิบัติงานตรวจสอบตั้งแต่การเปิดการตรวจสอบการตรวจสอบ จนถึงการนําส่งรายงานการตรวจสอบต่อคณะกรรมการทุนหมุนเวียนครบถ้วน 3 เดือนต่อหน่ึงครัง้ |
ตัวชี้วัดที่ 4.5 การบริหารจัดการสารสนเทศ | - พิจารณาจากระดับความสําเร็จในการxxxxxประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการสารสนเทศ กําหนดเกณฑ์ประเมินผลจากประเด็นหลัก ที่สําคัญ 2 ด้าน ได้แก่ 1. แผนแม่บทสารสนเทศและแผนปฏิบัติการสารสนเทศ (ร้อยละ 20) พิจารณาจากการจัดทํา/ทบทวนแผนแม่บทสารสนเทศ ที่เชื่อมโยงกับแผนxxxxxxxxxxขององค์กรทั้งวิสัยทัศน์ พันธกิจ และxxxxxxxxxxสําคัญ โดยxxxxxxตอบxxxxต่อความ ต้องการขององค์กรได้อย่างครบถ้วน และการจดั ให้มีแผนปฏิบัติการสารสนเทศท่ีมีองค์ประกอบหลกxxxxxครบถว้ น 2. ดชนีความพร้อมใช้งานของระบบสารสนเทศท่ีจําเป็นต่อการขับเคล่ือนxxxxxxxxxx (ร้อยละ 80) 2.1 ดัชนีความพร้อมใช้ของระบบสารสนเทศ เป็นตัวชี้วัดเชิงผลลัพธ์ (Results - output/outcome) ที่บ่งชี้ถึงความxxxxxx ในการจัดการด้านสารสนเทศขององค์กร ว่าxxxxxxตอบโจทย์ผู้ใช้/xxxxxxxxxxองค์กร xxxxxระดับใด 2.2 พิจารณาจากxxxx หนักซ่ึงกําหนดตามความสําคัญของระบบสารสนเทศท่ีมีผลต่อความสําเร็จของxxxxxxxxxxคูณคะแนน ระดับความพร้อมของระบบสารสนเทศแต่ละระบบ เกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาความพร้อมใชง้ านของระบบสารสนเทศ (ใช้ได้กับทุกทุนหมุนเวียน) ระดับที่ 1 - ระบบสารสนเทศมีความพร้อมในการตอบxxxxxxxxxxxxxx 0-19.9% ระดบที่ 2 - ระบบสารสนเทศมีความพร้อมในการตอบxxxxxxxxxxxxxx 20-39.9% ระดับที่ 3 - ระบบสารสนเทศมีความพรอ้ มในการตอบxxxxxxxxxxxxxx 40-59.9% ระดบที่ 4 - ระบบสารสนเทศมีความพร้อมในการตอบxxxxxxxxxxxxxx 60-79.9% ระดบที่ 5 - ระบบสารสนเทศมีความพร้อมในการตอบxxxxxxxxxxxxxx 80-100% |
ตวั ชีว้ ัด | คําจํากัดความหรือสูตรการคํานวณ |
3. ความพร้อมใช้งานของระบบสารสนเทศให้หมายรวมถึงความพร้อมใช้งานของระบบ ถ้าเป็นระบบที่ต้องมีการพัฒนาหรือมี การจัดซื้อจัดหา ก็xxxxxxพิจารณาจากสถานะของโครงการจากแผนงานหรือแผนปฏิบัติการของโครงการว่ามีความxxxxxxxx ของแผนงาน/โครงการ อยู่ในระดับใดเทียบกับแผน ถามีระบบที่ใช้อยู่แล้ว ให้ใช้วิธีสอบถามจากผูใช้งานว่าระบบที่ใช้งานอยู่ พร้อมใช/x xxxxxxxในระดบั ใด ดชนีความพร้อมใช้งานของระบบสารสนเทศที่จําเป็นต่อการขับเคลื่อนxxxxxxxxxx ประจําปีบัญชี 2559 ประกอบด้วย | |
ตวั ชีว้ ัดที่ 4.6 การบริหารทรัพยากรบุคคล | - การประเมินการบริหารทรัพยากรบุคคลเป็นการกําหนดเกณฑ์การตรวจสอบ และชี้วัดประสิทธิภาพงานทรัพยากรบุคคล ซึ่งเป็นส่วน หนึ่งของการตรวจสอบการบริหารงานในองค์กร เพ่ือหาสาเหตุ วิเคราะห์ ควบคุม และให้คําแนะนําในกรอบการทํางานที่มุ่งเน้นให้ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร โดยองค์ประกอบท่ีควรพิจารณา ประกอบด้วย 1. การจดั ให้มีปัจจยั พื้นฐานดา้ นการบริหารทรัพยากรบุคคล (ร้อยละ 30) อันประกอบไปด้วย - มีโครงสร้างการบริหารงานทุนหมุนเวียน เพื่อระบุงานและตําแหน่งงาน - มีคําบรรยายลักษณะงาน (Job Description) เพื่อกําหนดหน้าที่ความรับผิดชอบและคุณสมบัติของแต่ละตําแหน่งงาน (ควรสอดคล้องกับxxxxxxxxxxและโครงสร้างทุนหมุนเวียน) - มีงานประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคล เพื่อพิจารณาผลการดําเนินงานตามความคาดxxxxxxxสอดคล้องกับกลยุทธ์ การทํางานของหน่วยงานตนเอง โดยการกําหนดเป้าหมายการทํางานจะต้องทําร่วมกับผู้บงั คับxxxxxโดยตรง 2. การจัดทําและดําเนินงานตามแผนxxxxxxxxxxด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลและแผนปฏิบัติการประจําปี (ร้อยละ 70) โดยพิจารณาจากความสอดคล้องของแผนฯ ต่อxxxxxxxxxxการดําเนินงานของทุนหมุนเวียน ซึ่งแผนการบริหารทรัพยากร บุคคลที่กําหนดขึ้นมาในแต่ละปีนั้น จะต้องมีความท้าทายในกรอบการทํางานxxxxxxxxx เกี่ยวข้องกับการดําเนินงานของ ทุนหมุนเวียน และxxxxxxวัดผลได้ตามกรอบเวลาที่กําหนด |
ระบบสารสนเทศท่ีมีความจําเป็นฯ | นําหนักความสําคัญ(%) |
1) ระบบ ITEMS (Information Technology for Emergency Medical System) | 60 |
2) ระบบบริหารจัดการกองทุน | 40 |
รวม | 100 |
หมายเหตุ : คณะกรรมการทุนหมุนเวียน หมายถึง คณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน ทุนหมุนเวียน/องค์กร หมายถึง กองทุนการแพทย์ฉุกเฉิน
7. ข้อกําหนดอื่น
- 15 -
7.1 การกํากับดูแลและประเมินผลการดําเนินงานจะดําเนินการโดยคณะกรรมการประเมินผล
การดําเนินงานทุนหมุนเวียน
7.2 ข สังเกตของคณะกรรมการประเมินผลการดําเนินงานทุนหมุนเวียน ประจําxxxญชั ี 2559
7.2.1 ขอ้ สังเกตภาพรวม
(1) คณะกรรมการทุนหมุนเวียนควรมีบทบาทสําคัญในการผลักดันผล การดําเนินงานของทุนหมุนเวียน โดยให้ความสําคัญกับการจัดทําแผนxxxxxxxxxxให้มีความครอบคลุมทุก ภารกิจ และกําหนดเป้าหมายให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์จัดตั้ง และควรมีการประเมินผลการทํางานของ คณะกรรมการทุนหมุนเวียนในภาพรวมของการดําเนินงานตามภารกิจที่เน้นกระบวนการทํางานหลักให้มี ประสิทธิภาพ และเหมาะสมกับภารกิจ
(2) ทุนหมุนเวียนประเภทเดียวกัน ควรมีตัวช้ีวัดหลักท่ีสะท้อนผลการดําเนินงาน ในประเภทดังกล่าวได้เหมือนกัน xxxx ทุนหมุนเวียนประเภทการให้กู้ยืม ควรมีการประเมินการบริหารสินเชื่อ ที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ทุนหมุนเวียนประเภทการจําหน่ายและการผลิต และประเภทการบริการ ควรมี
การประเมินต
ทุนต่อหน่วย
(3) การสํารวจความพึงxxxxควรใหหน่วยงานxxxxxxเชื่อถือเป็นผ
ําเนินการสํารวจฯ
แต่ไม่จําเป็นต้องดําเนินการสํารวจฯ ทุกปี
(4) ทุนหมุนเวียนควรมีระบบบัญชีท่ีเป็นมาตรฐานxxxx เพ่ือสะท้อนถึง ความxxxxxxในการบริหารจดการ
7.2.2 ข้อสงเกตต่อกองทุนการแพทย์ฉุกเฉิน
(1) นอกจากกลุ่มผู้ป่วยวิกฤติ (สีแดง) แล้ว กองทุนฯ ควรให้ความสําคัญกับ ผูป้ ่วยท่ีไม่ใช่ผู้ป่วยวิกฤติ (สีแดง) ด้วยxxxxกัน
(2) การบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินในxxxxxxxxตามเกณฑ์ที่กําหนด
ต้องครอบคลุมท่วประเทศ
(3) ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานต่อจํานวนผู้ป่วยฉุกเฉินที่มาดวย้ ระบบ
การแพทย์ฉุกเฉิน ควรจะ Benchmark กับมาตรฐานต่างประเทศ ว่าค่าใช้จ่ายที่เหมาะสมควรอยู่ที่เท่าใด เพ่ือไม่เป็นการxxxxxxxxxผู้ปฏิบัติมากเกินไป
7.3 ข สงเกตประกอบการตรวจสอบและรับรองงบการเงินของทุนหมุนเวียนของสํานักงาน
การตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ปีบัญชีล่าสุด (ปีบัญชี 2556) ได้แก่ 1. การเงินและการบันทึกบัญชีค่าพัฒนาระบบ บริการการแพทย์ฉุกเฉิน/ และ 2. รายได้แหล่งอ่ืน
รายละเอียดปรากฏตามเอกสารแนบท้ายบันทึกขอ้ ตกลงฯ
ข้อตกลงน้ีจัดทําขึ้น 2 ฉบับ มีข้อความถูกต้องตรงกัน แต่ละฝ่ายได้อ่านและเข้าใจข้อความโดยละเอียดตลอดแล้ว จึงได้ลงลายมือชื่อไว้เป็นสําคัญ ซ่ึงแต่ละฝ่ายต่างยึดไว้ฝ่ายละหนึ่งฉบับ
........................................................... ........................................................
(xxxxxxxxxxxxxxxx x
นโชติ)
(xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxทร)
รองปลดกระทรวงการคลงั หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน ในนามกระทรวงการคลัง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน ในนามกองทุนการแพทย์ฉุกเฉิน