ผู้ประกอบการได้จัดทำการประกันภัยความรับผิดจากผลิตภัณฑ์ (Product Liability Insurance) เพื่อให้ ผู้ประกอบการได้จัดทำการประกันภัยความรับผิดจากผลิตภัณฑ์ (Product Liability Insurance) เพื่อให้
ต้นฉบับ
สัญญาการเข้าร่วมโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียนประจำปีการศึกษาที่ ๒๕๖3
สัญญาเลขที่................/................
(ประจำปีการศึกษา ๒๕๖3 )
สัญญาฉบับนี้ทำขึ้น ณ องค์การxxxxxxxxกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) เลขที่ ๑๖๐ หมู่ ๑ ตำบลมิตรภาพ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี เมื่อxxxxxx …………………………….... ระหว่างองค์การxxxxxxxxกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) โดย นายxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx xxxผู้อำนวยการ ทำการแทนผู้อำนวยการ ซึ่งต่อไปในสัญญานี้ เรียกว่า "อ.ส.ค."ฝ่ายหนึ่ง กับ..........................................................โดย....................................................................กรรมการผู้xxxxxxxลงนามผูกพันนิติบุคคลตามหนังสือรับรองของสำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทจังหวัด/หรือผู้ประกอบการ.........................................................มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่เลขที่..................................................................ซึ่งต่อไปในสัญญานี้เรียกว่า “ผู้ประกอบการ” อีกฝ่ายหนึ่ง
xxxxxxxxxxxตกลงกันมีข้อความดังต่อไปนี้
ข้อ ๑. ข้อตกลงและเงื่อนไข
ผู้ประกอบการต้องปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการอาหารนมเพื่อเด็กและเยาวชน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการxxxxxxงานโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖3 ฉบับลงxxxxxx 1 เมษายน 2563 (ฉบับที่2) ลงxxxxxx 13 เมษายน 2563 และต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกำหนดการเข้าร่วมโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน
ผู้ประกอบการต้องจำหน่ายผลิตภัณฑ์นมโรงเรียนxxxxxxคุณภาพและมาตรฐานตามที่กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการอาหารนมเพื่อเด็กและเยาวชน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการxxxxxxงานโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖3 ฉบับลงxxxxxx 1 เมษายน 2563 ,(ฉบับที่2) ลงxxxxxx 13 เมษายน 2563 และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง กับโรงเรียนต่างๆ หรือองค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่ ที่ อ.ส.ค.กำหนด โดยผู้ประกอบการจะเป็นผู้ส่งมอบสินค้าและรับชำระเงินตลอดจนรับผิดชอบในความเสียหายทั้งทางตรงและทางอ้อมที่เกิดจากผลิตภัณฑ์นมโรงเรียนตั้งแต่xxxxxx 18 พฤษภาคม 2563 เป็นต้นไปจนกว่าจะพ้นภาระxxxxxxxxxxxxxxนี้
ข้อ ๒. เอกสารอันเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา
เอกสารแนบท้ายสัญญาดังต่อไปนี้ให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญานี้
ผนวก ๑ ประกาศคณะกรรมอาหารนมเพื่อเด็กและเยาวชน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการxxxxxxงาน โครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียนประจำปีการศึกษา ๒๕๖3 ฉบับลงxxxxxx 1 เมษายน 2563 จำนวน 20 แผ่น
ผนวก 2 ประกาศคณะกรรมอาหารนมเพื่อเด็กและเยาวชน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการxxxxxxงาน โครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียนประจำปีการศึกษา ๒๕๖3 ฉบับลงxxxxxx 13 เมษายน 2563 จำนวน 4 แผ่น
ผนวก 3 หลักประกันสัญญา จำนวน ..........แผ่น
/ความใด...
-2-
ความใดในเอกสารแนบท้ายสัญญาที่ขัดหรือแย้งกับข้อความในสัญญานี้ ให้ใช้ข้อความในสัญญานี้บังคับ
และในกรณีที่เอกสารแนบท้ายสัญญาขัดแย้งกันเอง ผู้ประกอบการจะต้องปฏิบัติตามคำวินิจฉัยของ อ.ส.ค. คำวินิจฉัยของ
อ.ส.ค. ให้ถือเป็นที่สุดและผู้ประกอบการไม่มีxxxxxเรียกร้องราคาค่าเสียหายหรือค่าใช้จ่ายใดๆเพิ่มเติมจาก อ.ส.ค. ทั้งสิ้น
ข้อ ๓. หลักประกันการปฏิบัติxxxxxxxxในวันทำสัญญานี้
กรณีผู้ประกอบการเป็นบริษัท,ห้าง,ร้าน, นิติบุคคล ผู้ประกอบการได้นำหลักประกันเป็นเงินสดจำนวน.................................... บาท (..............................................................) ตามใบเสร็จรับเงินเลขที่..................... หรือหนังสือค้ำประกันของธนาคาร...................................................เลขที่....................ลงxxxxxx...........................เป็นร้อยละ ๕ ของราคาทั้งหมดxxxxxxxxมามอบให้แก่ อ.ส.ค. เพื่อเป็นหลักประกันในการปฏิบัติxxxxxxxx
กรณีผู้ประกอบเป็นสหกรณ์ ให้ค้ำประกันโดย คณะกรรมการxxxxxxการสหกรณ์
กรณีเป็นส่วนราชการต่างๆ ให้ค้ำประกันโดย ข้าราชการระดับ ๗ หรือเทียบเท่าขึ้นไป
(ตามเอกสารแนบท้ายสัญญา)
หลักประกันที่ผู้ประกอบการนำมามอบให้ตามวรรคหนึ่งจะต้องมีอายุครอบคลุมความรับผิดทั้งปวง
ของผู้ประกอบการตลอดอายุสัญญานี้ถ้าหลักประกันที่ผู้ประกอบการนำมามอบให้ดังกล่าวลดลงหรือเสื่อมค่าลงหรือมีอายุไม่ครอบคลุมถึงความรับผิดของผู้ประกอบการตลอดอายุสัญญาไม่ว่าด้วยเหตุใดๆก็ตามผู้ประกอบการต้องหา หลักประกันใหม่หรือหลักประกันเพิ่มเติมให้มีจำนวนครบถ้วนตามวรรคหนึ่งมามอบให้แก่ อ.ส.ค. ภายใน 15 วันนับจาก
xxxxxxได้รับแจ้งเป็นหนังสือจาก อ.ส.ค.หลักประกันที่ผู้ประกอบการนำมามอบไว้ตามข้อนี้ อ.ส.ค. จะคืนให้แก่ผู้ประกอบการโดยไม่มีดอกเบี้ย เมื่อผู้ประกอบการพ้นจากข้อผูกพันและความรับผิดทั้งปวงxxxxxxxxนี้แล้ว
ข้อ ๔ การประกันภัยความรับผิดจากผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน
ผู้ประกอบการได้จัดทำการประกันภัยความรับผิดจากผลิตภัณฑ์ (Product Liability Insurance) เพื่อให้
การคุ้มครองผู้บริโภคมีมาตรฐานเทียบเท่าxxxx โดยให้ผู้เสียหายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์นมโรงเรียนเป็นผู้รับประโยชน์ และผู้ประกอบการเป็นผู้เอาประกัน และรับภาระชำระค่าเบี้ยประกัน ตลอดจนค่าใช้จ่ายทั้งปวงในการทำประกันภัยเอง โดยมีหนังสือรับรองกรมธรรม์ประกัน จากบริษัท ..................................................... เลขที่..................................................โดยกำหนดวงเงินจำกัดความรับผิดชอบจากผลิตภัณฑ์ ระบุไว้ในกรมธรรม์ ว่าไม่เกิน ๑๐ ล้านบาท (สิบล้านบาทถ้วน) ต่อครั้ง และตลอดระยะเวลาเอาประกัน ๑ ปีระยะเวลาคุ้มครอง ตั้งแต่xxxxxx........................... สิ้นสุดxxxxxx .................................
มาวางไว้กับ อ.ส.ค.ในวันทำสัญญานี้
ข้อ ๕. การxxxxxxxxx
ผู้ประกอบการจะไม่เรียกร้องxxxxxxxxxxxxxว่าจะด้วยเหตุถูกลดxxxxxหรือตัดxxxxxxxxจำหน่ายผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน หรือค่าเสียหายอื่นใดไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อมจาก อ.ส.ค.
ข้อ ๖. การแก้ไขสัญญา
การแก้ไขและเปลี่ยนแปลงข้อความในสัญญาxxxxxxกระทำได้เว้นแต่เป็นความxxxxxxxของxxxxxxxxxxxxสองฝ่ายจะตกลงกันเป็นหนังสือและให้xxxxxxข้อตกลงดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา
ในกรณีสำนักงานxxxxxxสูงสุดมีความเห็นให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา ทั้งสองฝ่ายต้องxxxxxxการแก้ไขสัญญาตามความเห็นของสำนักงานxxxxxxสูงสุด
ข้อ ๗. การบอกเลิกสัญญา
หาก อ.ส.ค.มีความxxxxxxxจะเลิกสัญญานี้เมื่อใด อ.ส.ค. ย่อมกระทำได้ โดยแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ประกอบการทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๓๐ วัน
/ในกรณี...
-๓-
ในกรณีที่ อ.ส.ค.มีความxxxxxxxจะเลิกสัญญานี้เพราะเหตุต้องปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่งศาล อ.ส.ค. ย่อมกระทำได้โดยแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ประกอบการทราบและให้การเลิกสัญญามีผลตั้งแต่xxxxxxศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่ง
ผู้ประกอบการขอยืนยันว่าได้ยอมรับเงื่อนไขตามข้อนี้และจะไม่เรียกร้องค่าเสียหายใดๆจาก อ.ส.ค.
ข้อ ๘. xxxxxของ อ.ส.ค.ภายหลังบอกเลิกสัญญา
ในกรณีที่ อ.ส.ค.บอกเลิกสัญญา อ.ส.ค.จะxxxxxxการให้ผู้ประกอบการรายอื่นเข้าจำหน่ายผลิตภัณฑ์นมโรงเรียนในพื้นที่แทนผู้ประกอบการรายเดิม โดยผู้ประกอบการจะไม่เรียกร้องค่าเสียหายใดๆ อันเกิดจากการนี้
ข้อ ๙. การกำหนดค่าเสียหาย
ถ้าผู้ประกอบการปฏิบัติผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใด หรือเงื่อนไขหนึ่งเงื่อนไขใดก็ดี อ.ส.ค.มีxxxxxบอกเลิกสัญญาได้ทันทีและหากมีความเสียหายเกิดขึ้นไม่ว่ากรณีใดๆ ผู้ประกอบการยินยอมรับผิดทั้งสิ้น และชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ อ.ส.ค.จนครบจำนวนภายใน ๓๐ วัน นับจากxxxxxxได้รับแจ้งเป็นหนังสือจาก อ.ส.ค. หากไม่ชำระตามกำหนดหรือชำระไม่ถูกต้องครบถ้วน อ.ส.ค. มีxxxxxริบหรือเรียกร้องเอาจากหลักประกันสัญญา xxxxxxxxข้อ ๓. ได้ทันที
ข้อ ๑๐ ค่าปรับ
หากผู้ประกอบการไม่xxxxxxปฏิบัติxxxxxxxxที่ผู้ประกอบการได้ทำสัญญาซื้อขายกับหน่วยจัดซื้อแล้วเกิดความเสียหายขึ้น ผู้ประกอบการจะต้องชำระค่าปรับให้แก่ อ.ส.ค.เป็นเงินจำนวนเงินไม่ต่ำกว่าวันละ ๑,๐๐๐.- บาท และจะต้องชำระค่าใช้จ่ายอื่นใดในการหาผู้ประกอบการรายอื่นเข้าร่วมโครงการอาหารเสริม(นม) โรงเรียน แทนผู้ประกอบการรายเดิม นอกจากนี้ผู้ประกอบการยอมให้ อ.ส.ค. เรียกค่าเสียหายอันเกิดขึ้นจากส่วนที่เกินกว่าจำนวนค่าปรับและค่าใช้จ่ายดังกล่าวได้อีกด้วย
ผู้ประกอบการจะต้องชำระค่าปรับ ค่าใช้จ่าย หรือส่วนที่เกินกว่าจำนวนค่าปรับและค่าใช้จ่าย ตามวรรคหนึ่ง ภายใน 30 วัน นับจากxxxxxxได้รับแจ้งเป็นหนังสือจาก อ.ส.ค. หากไม่ชำระตามกำหนดหรือชำระไม่ถูกต้องครบถ้วน อ.ส.ค. มีxxxxxริบหรือเรียกร้องเอาจากหลักประกันสัญญาxxxxxxxxข้อ ๓. ได้ทันที
ข้อ ๑๑. กรณีพิพาทหรือมีข้อโต้แย้ง
ในกรณีที่มีข้อโต้แย้งเกิดขึ้นระหว่างคู่สัญญาเกี่ยวกับข้อกำหนดแห่งสัญญานี้ หรือเกี่ยวกับการปฏิบัติxxxxxxxxนี้ และxxxxxxxxxxxxxxxxxตกลงกันได้ ให้เสนอข้อโต้แย้งหรือข้อพิพาทนั้นต่อคณะกรรมการอาหารนมเพื่อเด็กและเยาวชนเพื่อพิจารณาตัดสินชี้ขาด คำตัดสินชี้ขาดของคณะกรรมการอาหารนมเพื่อแด็กและเยาวชนให้ถือเป็นที่สุดและมีผลผูกพันคู่สัญญา
สัญญานี้ทำขึ้นเป็นสองฉบับ มีข้อความถูกต้องตรงกัน xxxxxxxxxxxอ่านและเข้าใจข้อความโดยละเอียดตลอดแล้ว จึงได้ลงลายมือชื่อพร้อมทั้งประทับตรา (ถ้ามี) ไว้เป็นสำคัญต่อหน้าพยาน และคู่สัญญาต่างยึดถือไว้ฝ่ายละหนึ่งฉบับ
ลงชื่อ.......................................................อ.ส.ค.
(นายxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx)
ลงชื่อ......................................................ผู้ประกอบการ
(................................................)
ลงชื่อ.....................................................พยาน
(................................................)
ลงชื่อ.....................................................พยาน
(......xxxxxxx xxxxxxxxxxx......)
สัญญาการเข้าร่วมโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียนประจำปีการศึกษาที่ ๒๕๖3
สัญญาเลขที่................/................
(ประจำปีการศึกษา ๒๕๖3 )
สัญญาฉบับนี้ทำขึ้น ณ องค์การxxxxxxxxกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) เลขที่ ๑๖๐ หมู่ ๑ ตำบลมิตรภาพ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี เมื่อxxxxxx …………………………….... ระหว่างองค์การxxxxxxxxกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) โดย นายxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx xxxผู้อำนวยการ ทำการแทนผู้อำนวยการ ซึ่งต่อไปในสัญญานี้ เรียกว่า "อ.ส.ค."ฝ่ายหนึ่ง กับ..........................................................โดย....................................................................กรรมการผู้xxxxxxxลงนามผูกพันนิติบุคคลตามหนังสือรับรองของสำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทจังหวัด/หรือผู้ประกอบการ.........................................................มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่เลขที่..................................................................ซึ่งต่อไปในสัญญานี้เรียกว่า “ผู้ประกอบการ” อีกฝ่ายหนึ่ง
xxxxxxxxxxxตกลงกันมีข้อความดังต่อไปนี้
ข้อ ๑. ข้อตกลงและเงื่อนไข
ผู้ประกอบการต้องปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการอาหารนมเพื่อเด็กและเยาวชน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการxxxxxxงานโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖3 ฉบับลงxxxxxx 1 เมษายน 2563 (ฉบับที่2) ลงxxxxxx 13 เมษายน 2563 และต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขและข้อกำหนดการเข้าร่วมโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน
ผู้ประกอบการต้องจำหน่ายผลิตภัณฑ์นมโรงเรียนxxxxxxคุณภาพและมาตรฐานตามที่กำหนดไว้ในประกาศคณะกรรมการอาหารนมเพื่อเด็กและเยาวชน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการxxxxxxงานโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖3 ฉบับลงxxxxxx 1 เมษายน 2563 ,(ฉบับที่2) ลงxxxxxx 13 เมษายน 2563 และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง กับโรงเรียนต่างๆ หรือองค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่ ที่ อ.ส.ค.กำหนด โดยผู้ประกอบการจะเป็นผู้ส่งมอบสินค้าและรับชำระเงินตลอดจนรับผิดชอบในความเสียหายทั้งทางตรงและทางอ้อมที่เกิดจากผลิตภัณฑ์นมโรงเรียนตั้งแต่xxxxxx 18 พฤษภาคม 2563 เป็นต้นไปจนกว่าจะพ้นภาระxxxxxxxxxxxxxxนี้
ข้อ ๒. เอกสารอันเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา
เอกสารแนบท้ายสัญญาดังต่อไปนี้ให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญานี้
ผนวก ๑ ประกาศคณะกรรมอาหารนมเพื่อเด็กและเยาวชน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการxxxxxxงาน โครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียนประจำปีการศึกษา ๒๕๖3 ฉบับลงxxxxxx 1 เมษายน 2563 จำนวน 20 แผ่น
ผนวก 2 ประกาศคณะกรรมอาหารนมเพื่อเด็กและเยาวชน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการxxxxxxงาน โครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียนประจำปีการศึกษา ๒๕๖3 ฉบับลงxxxxxx 13 เมษายน 2563 จำนวน 4 แผ่น
ผนวก 3 หลักประกันสัญญา จำนวน ..........แผ่น
/ความใด...
-2-
ความใดในเอกสารแนบท้ายสัญญาที่ขัดหรือแย้งกับข้อความในสัญญานี้ ให้ใช้ข้อความในสัญญานี้บังคับ
และในกรณีที่เอกสารแนบท้ายสัญญาขัดแย้งกันเอง ผู้ประกอบการจะต้องปฏิบัติตามคำวินิจฉัยของ อ.ส.ค. คำวินิจฉัยของ
อ.ส.ค. ให้ถือเป็นที่สุดและผู้ประกอบการไม่มีxxxxxเรียกร้องราคาค่าเสียหายหรือค่าใช้จ่ายใดๆเพิ่มเติมจาก อ.ส.ค. ทั้งสิ้น
ข้อ ๓. หลักประกันการปฏิบัติxxxxxxxxในวันทำสัญญานี้
กรณีผู้ประกอบการเป็นบริษัท,ห้าง,ร้าน, นิติบุคคล ผู้ประกอบการได้นำหลักประกันเป็นเงินสดจำนวน.................................... บาท (..............................................................) ตามใบเสร็จรับเงินเลขที่..................... หรือหนังสือค้ำประกันของธนาคาร...................................................เลขที่....................ลงxxxxxx...........................เป็นร้อยละ ๕ ของราคาทั้งหมดxxxxxxxxมามอบให้แก่ อ.ส.ค. เพื่อเป็นหลักประกันในการปฏิบัติxxxxxxxx
กรณีผู้ประกอบเป็นสหกรณ์ ให้ค้ำประกันโดย คณะกรรมการxxxxxxการสหกรณ์
กรณีเป็นส่วนราชการต่างๆ ให้ค้ำประกันโดย ข้าราชการระดับ ๗ หรือเทียบเท่าขึ้นไป
(ตามเอกสารแนบท้ายสัญญา)
หลักประกันที่ผู้ประกอบการนำมามอบให้ตามวรรคหนึ่งจะต้องมีอายุครอบคลุมความรับผิดทั้งปวง
ของผู้ประกอบการตลอดอายุสัญญานี้ถ้าหลักประกันที่ผู้ประกอบการนำมามอบให้ดังกล่าวลดลงหรือเสื่อมค่าลงหรือมีอายุไม่ครอบคลุมถึงความรับผิดของผู้ประกอบการตลอดอายุสัญญาไม่ว่าด้วยเหตุใดๆก็ตามผู้ประกอบการต้องหา หลักประกันใหม่หรือหลักประกันเพิ่มเติมให้มีจำนวนครบถ้วนตามวรรคหนึ่งมามอบให้แก่ อ.ส.ค. ภายใน 15 วันนับจาก
xxxxxxได้รับแจ้งเป็นหนังสือจาก อ.ส.ค.หลักประกันที่ผู้ประกอบการนำมามอบไว้ตามข้อนี้ อ.ส.ค. จะคืนให้แก่ผู้ประกอบการโดยไม่มีดอกเบี้ย เมื่อผู้ประกอบการพ้นจากข้อผูกพันและความรับผิดทั้งปวงxxxxxxxxนี้แล้ว
ข้อ ๔ การประกันภัยความรับผิดจากผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน
ผู้ประกอบการได้จัดทำการประกันภัยความรับผิดจากผลิตภัณฑ์ (Product Liability Insurance) เพื่อให้
การคุ้มครองผู้บริโภคมีมาตรฐานเทียบเท่าxxxx โดยให้ผู้เสียหายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์นมโรงเรียนเป็นผู้รับประโยชน์ และผู้ประกอบการเป็นผู้เอาประกัน และรับภาระชำระค่าเบี้ยประกัน ตลอดจนค่าใช้จ่ายทั้งปวงในการทำประกันภัยเอง โดยมีหนังสือรับรองกรมธรรม์ประกัน จากบริษัท ..................................................... เลขที่..................................................โดยกำหนดวงเงินจำกัดความรับผิดชอบจากผลิตภัณฑ์ ระบุไว้ในกรมธรรม์ ว่าไม่เกิน ๑๐ ล้านบาท (สิบล้านบาทถ้วน) ต่อครั้ง และตลอดระยะเวลาเอาประกัน ๑ ปีระยะเวลาคุ้มครอง ตั้งแต่xxxxxx........................... สิ้นสุดxxxxxx .................................
มาวางไว้กับ อ.ส.ค.ในวันทำสัญญานี้
ข้อ ๕. การxxxxxxxxx
ผู้ประกอบการจะไม่เรียกร้องxxxxxxxxxxxxxว่าจะด้วยเหตุถูกลดxxxxxหรือตัดxxxxxxxxจำหน่ายผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน หรือค่าเสียหายอื่นใดไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อมจาก อ.ส.ค.
ข้อ ๖. การแก้ไขสัญญา
การแก้ไขและเปลี่ยนแปลงข้อความในสัญญาxxxxxxกระทำได้เว้นแต่เป็นความxxxxxxxของxxxxxxxxxxxxสองฝ่ายจะตกลงกันเป็นหนังสือและให้xxxxxxข้อตกลงดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา
ในกรณีสำนักงานxxxxxxสูงสุดมีความเห็นให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา ทั้งสองฝ่ายต้องxxxxxxการแก้ไขสัญญาตามความเห็นของสำนักงานxxxxxxสูงสุด
ข้อ ๗. การบอกเลิกสัญญา
หาก อ.ส.ค.มีความxxxxxxxจะเลิกสัญญานี้เมื่อใด อ.ส.ค. ย่อมกระทำได้ โดยแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ประกอบการทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๓๐ วัน
/ในกรณี...
-๓-
ในกรณีที่ อ.ส.ค.มีความxxxxxxxจะเลิกสัญญานี้เพราะเหตุต้องปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่งศาล อ.ส.ค. ย่อมกระทำได้โดยแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ประกอบการทราบและให้การเลิกสัญญามีผลตั้งแต่xxxxxxศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่ง
ผู้ประกอบการขอยืนยันว่าได้ยอมรับเงื่อนไขตามข้อนี้และจะไม่เรียกร้องค่าเสียหายใดๆจาก อ.ส.ค.
ข้อ ๘. xxxxxของ อ.ส.ค.ภายหลังบอกเลิกสัญญา
ในกรณีที่ อ.ส.ค.บอกเลิกสัญญา อ.ส.ค.จะxxxxxxการให้ผู้ประกอบการรายอื่นเข้าจำหน่ายผลิตภัณฑ์นมโรงเรียนในพื้นที่แทนผู้ประกอบการรายเดิม โดยผู้ประกอบการจะไม่เรียกร้องค่าเสียหายใดๆ อันเกิดจากการนี้
ข้อ ๙. การกำหนดค่าเสียหาย
ถ้าผู้ประกอบการปฏิบัติผิดสัญญาข้อหนึ่งข้อใด หรือเงื่อนไขหนึ่งเงื่อนไขใดก็ดี อ.ส.ค.มีxxxxxบอกเลิกสัญญาได้ทันทีและหากมีความเสียหายเกิดขึ้นไม่ว่ากรณีใดๆ ผู้ประกอบการยินยอมรับผิดทั้งสิ้น และชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ อ.ส.ค.จนครบจำนวนภายใน ๓๐ วัน นับจากxxxxxxได้รับแจ้งเป็นหนังสือจาก อ.ส.ค. หากไม่ชำระตามกำหนดหรือชำระไม่ถูกต้องครบถ้วน อ.ส.ค. มีxxxxxริบหรือเรียกร้องเอาจากหลักประกันสัญญา xxxxxxxxข้อ ๓. ได้ทันที
ข้อ ๑๐ ค่าปรับ
หากผู้ประกอบการไม่xxxxxxปฏิบัติxxxxxxxxที่ผู้ประกอบการได้ทำสัญญาซื้อขายกับหน่วยจัดซื้อแล้วเกิดความเสียหายขึ้น ผู้ประกอบการจะต้องชำระค่าปรับให้แก่ อ.ส.ค.เป็นเงินจำนวนเงินไม่ต่ำกว่าวันละ ๑,๐๐๐.- บาท และจะต้องชำระค่าใช้จ่ายอื่นใดในการหาผู้ประกอบการรายอื่นเข้าร่วมโครงการอาหารเสริม(นม) โรงเรียน แทนผู้ประกอบการรายเดิม นอกจากนี้ผู้ประกอบการยอมให้ อ.ส.ค. เรียกค่าเสียหายอันเกิดขึ้นจากส่วนที่เกินกว่าจำนวนค่าปรับและค่าใช้จ่ายดังกล่าวได้อีกด้วย
ผู้ประกอบการจะต้องชำระค่าปรับ ค่าใช้จ่าย หรือส่วนที่เกินกว่าจำนวนค่าปรับและค่าใช้จ่าย ตามวรรคหนึ่ง ภายใน 30 วัน นับจากxxxxxxได้รับแจ้งเป็นหนังสือจาก อ.ส.ค. หากไม่ชำระตามกำหนดหรือชำระไม่ถูกต้องครบถ้วน อ.ส.ค. มีxxxxxริบหรือเรียกร้องเอาจากหลักประกันสัญญาxxxxxxxxข้อ ๓. ได้ทันที
ข้อ ๑๑. กรณีพิพาทหรือมีข้อโต้แย้ง
ในกรณีที่มีข้อโต้แย้งเกิดขึ้นระหว่างคู่สัญญาเกี่ยวกับข้อกำหนดแห่งสัญญานี้ หรือเกี่ยวกับการปฏิบัติxxxxxxxxนี้ และxxxxxxxxxxxxxxxxxตกลงกันได้ ให้เสนอข้อโต้แย้งหรือข้อพิพาทนั้นต่อคณะกรรมการอาหารนมเพื่อเด็กและเยาวชนเพื่อพิจารณาตัดสินชี้ขาด คำตัดสินชี้ขาดของคณะกรรมการอาหารนมเพื่อแด็กและเยาวชนให้ถือเป็นที่สุดและมีผลผูกพันคู่สัญญา
สัญญานี้ทำขึ้นเป็นสองฉบับ มีข้อความถูกต้องตรงกัน xxxxxxxxxxxอ่านและเข้าใจข้อความโดยละเอียดตลอดแล้ว จึงได้ลงลายมือชื่อพร้อมทั้งประทับตรา (ถ้ามี) ไว้เป็นสำคัญต่อหน้าพยาน และคู่สัญญาต่างยึดถือไว้ฝ่ายละหนึ่งฉบับ
ลงชื่อ.......................................................อ.ส.ค.
(นายxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx)
ลงชื่อ......................................................ผู้ประกอบการ
(................................................)
ลงชื่อ.....................................................พยาน
(................................................)
ลงชื่อ.....................................................พยาน
(......xxxxxxx xxxxxxxxxxx......)
รายการเอกสารประกอบ
การจัดทำสัญญาเข้าร่วมโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน
องค์การxxxxxxxxกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.)
1.ประกาศคณะกรรมการอาหารนมเพื่อเด็กและเยาวชน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการxxxxxxงานโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน ประจำปีการศึกษา ๒๕๖3 ฉบับลงxxxxxx 1 เมษายน 2563 ,ฉบับที่ 2 ลงxxxxxx 13 เมษายน 2563
ใช้ประกาศฯในปีการศึกษาปัจจุบัน
หากในปีการศึกษาเดียวกัน มีประกาศฯมากกว่า 1 ฉบับ ให้แนบประกาศทุกฉบับ
2. มาตรการในการควบคุม กำกับดูแลการบริหารจัดการและคุณภาพโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน
3.xxxxxxxxจำหน่ายอาหารเสริม (นม) โรงเรียน xxxxxxรับ จำนวน.................... ถุง-กล่อง/วันหรือ .......................ถุง-กล่อง/๑๓๐ วัน
4. หนังสือมอบอำนาจ (กรณีผู้ประกอบการมอบอำนาจให้ผู้อื่นลงนามในสัญญาแทน)
4.1 ตรวจสอบการมอบอำนาจของผู้xxxxxxxว่าxxxxxxxในการมอบอำนาจหรือไม่
4.2 รายละเอียดของการมอบอำนาจ ว่ามอบอำนาจให้ทำการในเรื่องใด มีขอบเขตอย่างไรบ้าง
4.3 xxxxxxได้ทำหนังสือมอบอำนาจ เป็นวัน ก่อนหรือวันเดียว กับวันทำสัญญา
4.4 ติดอากรแสตมป์ 30 บาท และ ประทับตราสำคัญบนหนังสือ
4.5 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้มอบอำนาจ (ตรวจxxxxxหมดอายุบัตร)
4.6 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้รับมอบอำนาจ (ตรวจxxxxxหมดอายุบัตร)
4.7 ลงลายมือชื่อรับรองสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้าน
5. แผนที่ตั้งของผู้ประกอบการและโรงงานผลิต
5.1 แผนที่โดยสังเขป ตรวจดูแล้วxxxxxxเข้าใจได้ง่าย
6. แบบ นร.๑, แบบ นร.2 และบันทึกข้อตกลง (MOU) การซื้อขายน้ำนมโค ที่จัดทำ ณ กรมxxxxxxxxสหกรณ์
7. รายงานผู้รับจ้างขนส่งผลิตภัณฑ์นมโรงเรียน
7.1 รายชื่อพนักงานขับรถ
7.2 ประเภทของรถ, หมายเลขทะเบียนรถ
7.3 พื้นที่การขนส่งผลิตภัณฑ์นม
/8สำเนา....
8. สำเนาใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ.๒๐)
9. สัญญาเข้าร่วมโครงการอาหารเสริม (นม) โรงเรียน
9.1 สัญญาจะต้องมี 2 ฉบับ คือต้นฉบับและคู่ฉบับ
9.2 เอกสารผนวกแนบท้ายอันเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา จำนวน2 ชุด
9.3 เอกสารหลักฐานรายละเอียดอื่นๆ จำนวน1 ชุด
9.4 ตรวจสอบการลงลายมือชื่อของผู้ประกอบการ
9.4.1 ผู้xxxxxxxทำการแทน ลงลายมือชื่อ พร้อมประทับตรา
9.4.2 ผู้รับมอบอำนาจ ลงลายมือชื่อ ไม่ต้องประทับตรา
9.5 ตรวจสอบการลงลายมือชื่อของพยาน
กรณีนิติบุคคลเป็นบริษัท/ห้างหุ้นส่วนจำกัด
1. หลักประกันสัญญา
1.1 เงินสดจำนวน 5% ของxxxxxxตลอดสัญญา หรือ
1.2 หนังสือค้ำประกันของธนาคาร จำนวน 5% ของxxxxxxตลอดสัญญา และติดอากรแสตมป์ 10 บาท
2. กรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดจากผลิตภัณฑ์ กำหนดวงเงินจำกัดความรับผิดชอบจากผลิตภัณฑ์จำนวน๑๐ล้านบาท
3. สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียน ออกให้ไม่เกิน 1 เดือนก่อนวันทำสัญญา
4. สำเนาใบสำคัญการแสดงการจดทะเบียน
5. สำเนาหนังสือบริคณห์สนธิ
กรณีนิติบุคคลเป็นสหกรณ์
1. หลักประกันสัญญา
1.1 หนังสือค้ำประกันผู้รับมอบอำนาจโดยคณะกรรมการxxxxxxการสหกรณ์
1.2 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนผู้ค้ำประกันทุกคนพร้อมลงลายมือชื่อรับรองสำเนา
1.3 ติดอากรแสตมป์ 10 บาท และ ประทับตราสำคัญ
2. กรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดจากผลิตภัณฑ์ กำหนดวงเงินจำกัดความรับผิดชอบจากผลิตภัณฑ์จำนวน๑๐ล้านบาท
3. สำเนาใบสำคัญรับจดทะเบียนสหกรณ์
4. มติรายงานการประชุมแสดงถึงบุคคลที่เป็นประธานและกรรมการสหกรณ์ ณ ปัจจุบัน
5. มติรายงานประชุมที่ระบุxxxxxxมอบอำนาจให้กระทำการแทนสหกรณ์
6. ข้อบังคับสหกรณ์
/กรณี...
กรณีหน่วยงานราชการ
1. หลักประกันสัญญา
1.1 หนังสิอค้ำประกันผู้รับมอบอำนาจโดยข้าราชการระดับ 7 จำนวน 2 คน
1.2 สำเนาบัตรข้าราชการระดับ 7 พร้อมลงลายมือชื่อรับรองสำเนา
1.3 สำเนาทะเบียนบ้านข้าราชการระดับ 7พร้อมลงลายมือชื่อรับรองสำเนา
1.4 ติดอากรแสตมป์ 10 บาท และ ประทับตราสำคัญ
2. กรมธรรม์ประกันภัยความรับผิดจากผลิตภัณฑ์ กำหนดวงเงินจำกัดความรับผิดชอบจากผลิตภัณฑ์จำนวน๑๐ล้านบาท