หนังสือแจ้งการจัดสรรหุ้นสามัญที่ออกและเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม ตามสัดส่วนการถือหุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายถืออยู่ (Right Offering) ควบคู่กับใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ครั้งที่ 5 (CGH-W5) ของบริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)
ใบจองซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxควบคู่ใบส˚าคญั แสดงxxxxxxxxจะซื้อหุ้นสามัญของบริษทั ฯ คร้ังที่ 5 (CGH-W5) ของบริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ จ˚ากัด (มหาชน) การเสนอขายหุน้ สามญั xxxxxxxxใหแ้ ก่ผูถ้ ือหุน้ เดิมตามสดั ส่วนการถือหุxx xxxผูถ้ ือหุ้นแตล่ ะรายถืออยู่ (Right Offering) ในอตั ราส่วน 10 หุ้นสามญั เดิม ต่อ 1 หุน้ สามญั xxxxxxxx ในราคาเสนอขายหุ้นละ 1.00 บาท |
เรียน คณะกรรมการบริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิงส์ จ˚ากัด (มหาชน) xxxxxxจองซื้อ □ 21 พฤษภาคม 2567 □ 23 พฤษภาคม 2567 □ 24 พฤษภาคม 2567 □ 27 พฤษภาคม 2567 □ 28 พฤษภาคม 2567 □ 29 พฤษภาคม 2567 |
ข้อมxx ผู้จองซื้อหุ้น โปรดกรอกข้อความในช่องด้านล่างนี้ให้ครบถ้วน ชัดเจน ตัวxxxxx |
ขา้ พเจา้ □ นาย □ นาง □ นางสาว □ นิติบุคคล □ อื่นๆ (ระบุ…………) ชื่อ…………………………………….………. เพศ □ ชาย □ หญิง เลขทะเบียนผูถือหุ้น เลขที่…………………..….……………. บตั รประจา˚ ตวประชาชน เลขที่ 🗌-🗌🗌🗌🗌-🗌🗌🗌🗌🗌-🗌🗌-🗌 หรือ □ ใบต่างดา้ ว □ หนงสือเดินทาง □ เลขทะเบียนนิติบุคคล เลขที่……………………….……...……. xxxxxxx……………..……….……….. วนั /เดือน/ปี เกิด............................................................. เลขประจา˚ ตวผูเ้ สียภาษี…………………………………………………….. ประเภทของการหักภาษี ณ ที่จ่าย □ หักภาษี □ ไม่หักภาษี ที่อยxxx xxxxxxxxติดต่อได้ เลขที่…………………………… ตรอก/ซอย............................................. ถนน…....................…......................แขวง/ตา˚ บล ................................................. เขต/อา˚ เภอ…….................................………... จงหวดั ................................................ รหัสไปรษณีย............................ ประเทศ…………………..…………… โทรศพั ท/์ โทรศพั ทเ์ คลื่อxxxx………………………..……. อีเมล………………………………...………………… อาชีพ/ประเภทธุรกิจ…………………………………………………………………..……….. สถานที่ทา˚ งาน………………………………………………………………………………..……………………………………... |
มีวตั ถุประสงคในการทา˚ ธุรกรรมเพื่อจองซ้ือหุ้นสามญั xxxxxxxxของบริษทั ฯ เพื่อการลงทุน โดยขอจองซ้ือและขอให้จดั สรรหุ้น ดงั น้ี พร้อมกนั น้ี ขา้ พเจา้ xxxx x˚ ระเงินค่าจองซ้ือหุ้นสามญั ดงั กล่าวโดยชา˚ ระผ่านระบบ Bill Payment เป็น □ เงินโอน □ เช็คบุคคล □ แคชเชียร์เช็ค □ ดร๊าฟท์ ส่ังจ่าย “บริษทั คนั ทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จา˚ กดั (มหาชน) เพ่ืxxxxซ้ือหุ้นxxxxxxxx” ธนาคารไทยพาณิชย์ จา˚ กดั (มหาชน) สาขาถนนวิทยุ บญั ชีกระแสรายวนั เลขที่บญั ชี 049-3-14362-9 เลขที่เช็ค................……………............................. ลงวนั ที่........…………………….…............ ธนาคาร………………......….....…………..........…...........สาขา………..….................................…………….. (ในกรณีxxxxx˚ ระค่าจองซ้ือหุน้ เป็ น เช็คบุคคล / แคชเชียร์เช็ค / หรือดร๊าฟท์ จะตอ้ งxxxxxxเรียกเกบ็ เงินในเขตกรุงเทพมหานครเท่าน้นั โดยวนั ที่ในเช็คตอ้ งระบุไวไ้ ม่เกินวนั ที่ 27 พฤษภาคม 2567 และตอ้ งนา˚ ฝากภายในเวลา 12.00 น. ของ วนั ที่ 27 พฤษภาคม 2567 หากเกินระยะเวลาดงั กล่าวแลว้ ผูจ้ องซ้ือจะตอ้ งชา˚ ระดว้ ยเงินสดผ่าน Bill Payment เท่าน้นั ) |
ในการเสนอขายหุ้นสามญั xxxxxทนุ ของบริษทั ในคร้ังน้ี ผูถ้ ือหุน้ เดิมทม่ี ีการจองซ้ือ ชา˚ ระค่าจองซ้ือ และไดร้ บั การจดั สรรหุ้นสามญั xxxxxxxxจะไดร้ ับจดั สรรใบสา˚ คญั แสดงxxxxxxxxจะซ้ือหุ้นสามญั ของบริษทั คร้งั ที่ 5 (CGH-W5) ในอตั รา 3 หุน้ สามญั xxxxxxxxxxxxxร้ บั การจดั สรรต่อ 2 หน่วยใบสา˚ คญั แสดงxxxxx CGH-W5 โดยไม่คิดxxxxxx ท้งั น้ี เมื่อขา้ พเจา้ ไดร้ บั การจดั สรรหุ้นสามญั xxxxxxxxและใบสา˚ คญั แสดงxxxxxดงั กล่าวแลว้ ขา้ พเจา้ ตกลงให้บริษทั ดา˚ เนินการส่งมอบหุ้นและใบสา˚ คญั แสดงxxxxx โดยวิธีการดงั ต่อไปน้ี (ผูจ้ องซ้ือโปรดเลือกวิธีใดวิธีหน่ึงเท่าน้นั ) กรณีที่มีบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ □ ให้ฝากหุ้นสามญั และใบสา˚ คญั แสดงxxxxxตามจา˚ นวนxxxxxร้ ับการจดั สรรน้นั ไวใ้ นชื่อ “บริษทั ศูนยร์ บั ฝากหลกั ทรพั ย์ (ประเทศไทย) จา˚ กดั เพื่อผูฝาก” และดา˚ เนินการให้บริษทั สมาชิกผูฝาก เลขที่……………นา˚ หุ้นสามญั และใบสา˚ คญั แสดงxxxxxเขา้ ฝากไวก้ บั บริษทั ศูนยรับฝากหลกั ทรัพย์ (ประเทศไทย) (“TSD”) จา˚ กดั เพื่อเขา้ บญั ชีซ้ือขายหลกั ทรัพยข์ องขา้ พเจา้ ช่ือ………………………………………………. เลขที่บญั ชี………….……………..ซ่ึงขา้ พเจา้ มีอยกู่ บั บริษทั น้นั (ช่ือผูจ้ องซ้ือตอ้ งตรงกบั ช่ือบญั ชีซ้ือขายหลกั ทรัพย์ มิฉะน้นั จะดา˚ เนินการออกใบหุน้ สามญั และใบสา˚ คญั แสดงxxxxxในช่ือผูจ้ องซ้ือแทน) กรณีที่ไม่มีบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ □ ให้ฝากหุ้นสามญั และใบสา˚ คญั แสดงxxxxxตามจา˚ นวนxxxxxร้ ับการจดั สรรน้นั ไวใ้ นชื่อ “บริษทั ศูนยร์ บั ฝากหลกั ทรพั ย์ (ประเทศไทย) จา˚ กดั ” โดยนา˚ หุ้นสามญั และใบสา˚ คญั แสดงxxxxxเขา้ ฝากไวก้ บั TSD โดยนา˚ เขา้ บญั ชีของ บริษทั ผูออกหลกั ทรัพยส์ มาชิกเลขที่ 600 (Issuer Account) เพื่อขา้ พเจา้ (การขอถอนเป็นใบหุน้ สามญั และใบสา˚ คญั แสดงxxxxxในภายหลงั ผูจ้ องซ้ือหุน้ จะตอ้ งเสียค่าธรรมเนียมตามท่ี TSD กา˚ หนด) กรณีเลือกรับหุ้นและ ใบสา˚ คญั แสดงxxxxxเขา้ บญั ชีบริษทั ผูออกหลกั ทรัพยส์ มาชิกเลขที่ 600 (Issuer Account) ในxxxxxxx โปรดกรอกขอ้ มูลและลงนามในเอกสารxxxxxเติมสา˚ หรับการดา˚ เนินการตาม Foreign Account Tax Compliance Act (“FATCA”) ตามที่ TSD กา˚ หนด ในกรณีxxxxxก้ รอกขอ้ มูลตามที่กา˚ หนด หรือหากมีขอ้ บ่งxxxxxxท่านอาจเป็นบคุ คลสหรฐั ฯ โดยจะดา˚ เนินการออกใบหุ้นสามญั และใบสา˚ คญั แสดงxxxxxในชื่อผูจ้ องซ้ือแทน) □ ให้ออกใบหุ้นสามญั และใบสา˚ คญั แสดงxxxxxตามจา˚ นวนxxxxxร้ ับการจดั สรรน้นั ไวใ้ นช่ือของขา้ พเจา้ และจดั ส่งใบหุ้นสามญั และใบสา˚ คญั แสดงxxxxxให้ขา้ พเจา้ ตามที่อยทู่ ปี่ รากฏ ณ วนั กา˚ หนดรายชื่อผูถือหุ้นที่มีxxxxxxxรับ การเสนอขายหุ้นสามญั เพ่มิ ทุนตามสดั ส่วนการถือหุxx xxxผูถ้ ือหุ้นแต่ละรายถืออยู่ (Record Date) ณ วนั ที่ 7 พฤษภาคม 2567 โดยขา้ พเจา้ xxxxxมอบหมายให้บริษทั ดา˚ เนินการใดๆ เพื่อให้การจดั ทา˚ ใบหุน้ สามญั และใบสา˚ คญั แสดงxxxxx และส่งมอบใบหุ้นสามญั และใบสา˚ คญั แสดงxxxxxใหแ้ ก่ขา้ พเจา้ ภายใน 15 วนั ทา˚ การนบั จากวนั สิ้นสุดระยะเวลาการจองซ้ือ (บริษทั จะไม่รบั ผิดชอบในกรณีท่ีผูถ้ ือหุ้นไมxx xxxxxขายหุ้นสามญั และใบสา˚ คญั แสดง xxxxxxxxไดร้ ับจดั สรรไดท้ นั วนั ที่หุ้นสามญั xxxxxxxxหรือใบสา˚ คญั แสดงxxxxxเร่ิมทา˚ การซ้ือขายไดใ้ นวนั แรกในตลาดหลกั ทรัพยฯ์ ) ในกรณีที่ขา้ พเจา้ ไดร้ บั การจดั สรรหุ้นสามญั xxxxxxxxไม่ครบเต็มตามจา˚ xxxxxxxxxxxxxซ้ือ หรือxxxxxร้ ับการจดสรร หรือไดร้ บั การจดสรรไม่ครบตามจา˚ xxxxxxxสามญั xxxxxxxxในส่วนxxxxxxซ้ือเกินxxxxx ขา้ พเจา้ ตกลงให้บริษทั ดา˚ เนินการคืนเงิน ค่าจองซ้ือหุน้ สามญั xxxxxxxxส่วนxxxxxxไดร้ ับการจดั สรรหรือไดร้ ับการจดั สรรไม่ครบ โดยไม่มีดอกเบ้ีย และไม่มีค่าเสียหายใดๆ ภายใน 10 วนั ทา˚ การนบั ถดั จากวนั ส้ินสุดกา˚ หนดระยะเวลาการจองซ้ือและชา˚ ระเงินค่าจองซ้ือเป็ นเช็คขีดคร่อม ส่งั จ่ายเฉพาะในนามขา้ พเจา้ และจดส่งทางไปรษณียล์ งทะเบียนตามที่xxxxx xxxxxxxในวนั กา˚ หนดรายชื่อผูถ้ ือหุ้น ณ วนั ที่ 7 พฤษภาคม 2567 |
ขา้ พเจา้ ขอรบั รองและตกลงว่าจะจองซ้ือหุน้ สามญั xxxxxxxxจา˚ นวนดงั กล่าวและจะไม่ยกเลิกการจองซ้ือหุน้ สามญั xxxxxxxxน้ี แต่หากขา้ พเจา้ ไม่ส่งใบจองซ้ือหุน้ สามญั xxxxxxxxทไี่ ดก้ รอกรายละเอียดครบถว้ นและเอกสารประกอบการจองซ้ืxxxx ถูกตอ้ งเรียบร้อยพรอ้ มชา˚ ระค่าจองซ้ือ หรือหาก เช็คบุคคล / แคชเชียร์เช็ค / ดร๊าฟทท์ ี่ส่ังจ่ายแลว้ น้นั ไม่ผ่านการเรียกเกบ็ ให้xxxxxxขา้ พเจา้ สละxxxxxในการจองซ้ือหุ้นสามญั xxxxxxxxดงั กล่าวโดยไม่มีเงื่อนไขและไม่xxxxxxเพิกถอนได้ ขา้ พเจา้ ไดศ้ กึ ษาขอ้ มูลท้งั หมดที่เกี่ยวกบั การเสนอขายหุน้ สามญั xxxxxxxxในสารสนเทศการเสนอขายหุน้ สามญั xxxxxxxx และยินยอมผูกพนั ตามขอ้ ตกลงและเงอ่ื นไขในสารสนเทศดงั กล่าว และท่ีจะไดม้ ีการแกไ้ ขxxxxxเตมิ ในภายหนา้ อีกดว้ ย และขา้ พเจา้ ขอรับรองว่าขา้ พเจา้ ในฐานะผูถ้ ือหุน้ เดิมและไดร้ บั จดั สรรการจองซ้ือหุน้ สามญั เพ่มิ ทุนตามสดั ส่วนการถือหุ้นของขา้ พเจา้ เป็ นผูxx xxxxประโยชน์ที่แทจ้ ริงในการถือหุ้นดงั กล่าว การลงทุนในหุ้นมีความเสี่ยงผู้จองซื้อควรศึกษาและท˚าความเข้าใจข้อมูลอย่างรอบคอบก่อนxxxxxxxxxxxซื้อหุ้น X ลงชื่อ ผูจ้ องซ้ือ ( ) |
หลักฐานการรับฝากการจองซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxxของบริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิงส์ จ˚ากัด (มหาชน) (ผู้จองซื้อโปรดกรอกข้อความในส่วนนี้ด้วย) |
วนั xxxx xxซ้ือ □ 21 พฤษภาคม 2567 □ 23 พฤษภาคม 2567 □ 24 พฤษภาคม 2567 □ 27 พฤษภาคม 2567 □ 28 พฤษภาคม 2567 □ 29 พฤษภาคม 2567 เลขที่ใบจอง ……..…………..……………… บริษทั คนั ทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จา˚ กดั (มหาชน) ไดร้ ับเงินจาก (ชื่อตามใบจอง) ………………………………………………………………… เพื่อจองซ้ือหุน้ สามญั xxxxxxxx จา˚ นวน……………………………….หุ้น ในราคาหุ้นละ 1.00 บาท รวมเป็นเงินxxxxx˚ ระ บาท โดยชา˚ ระผ่านระบบ Bill Payment เป็ น □ เงินโอน □ เช็คบุคคล □ แคชเชียร์เช็ค □ ดร๊าฟท์ เลขที่เช็ค................…….................... ลงวนั ที่........……............ ธนาคาร………….…..…...........สาขา………..….........…………….. โดยหากผูจ้ องซ้ือไดร้ บั การจดั สรรหุน้ ดงั กล่าวแลว้ ผูจ้ องซ้ือให้ดา˚ เนินการ :- □ ฝากใบหุ้นในนาม “บริษทั ศูนยร์ ับฝากหลกั ทรพย์ (ประเทศไทย) จา˚ กดั เพื่อผูฝ้ าก” เลขที่สมาชิกผูฝ้ าก………………….บญั ชีซ้ือขายหลกั ทรัพยเ์ ลขที่………………………………………… □ ฝากใบหุ้นในนาม “บริษทั ศูนยร์ ับฝากหลกั ทรพย์ (ประเทศไทย) จา˚ กด” โดยเขา้ บญชีของผูอ้ อกหลกั ทรัพย์ สมาชิกเลขที่ 600 เพื่อขา้ พเจา้ □ ออกใบหุ้นในนามผูจ้ องซ้ือ และส่งมอบภายใน 15 xxxxx˚ การ นบั จากวนั ส้ินสุดระยะเวลาการจองซ้ือหุ้น เจา้ หนา้ ที่ผูร้ ับมอบอา˚ นาจ |
รายxxxxxxxxxxจองซื้อ (โปรดระบุให้ชัดเจน) | จ˚าxxxxxxxxxxxxxซื้อ (หุ้น) | จ˚านวนเงินที่ช˚าระ (บาท) | จ˚านวนเงินที่ช˚าระ (ตัวxxxxx) |
□ จองซ้ือนอ้ ยกว่าxxxxx | |||
□ จองซ้ือตามxxxxxท้งั จา˚ นวน | |||
□ จองซ้ือเกินxxxxx (ระบุเฉพาะส่วนที่เกินxxxxx) | |||
รวม |
BROKER | |||
ผู้ฝากเลขท่ี | ชื่อบริษัท | ผู้ฝากเลขที่ | ชื่อบริษัท |
002 | xxxxxxxxx xxxxxx xxxxxx จา˚ กดั | 034 | บริษทหลกั ทรัพย์ ฟิ ลลิป (ประเทศไทย) จา˚ กดั (มหาชน) |
003 | xxxxxxxxx xxxxxx xxx xxx xxx (มหาชน) | 038 | บริษทหลกั ทรัพย์ บียอนด์ จา˚ กดั (มหาชน) |
004 | บริษทหลกั xxxxxx xxบีxxx xxxxxxxxส (ประเทศไทย) จา˚ กดั | 048 | บริษทหลกั ทรัพย์ ไอร่า จา˚ กดั (มหาชน) |
005 | xxxxxxxxx xxxxxx xxxxx xxxxx xxxx xx จา˚ กดั (มหาชน) | 050 | บริษทหลกั ทรัพย์ xxxxxxxx จา˚ กดั |
006 | บริษทหลกั ทรัพย์ เกียรxxxxxxxx จา˚ กดั (มหาชน) | 051 | บริษทหลกั ทรัพย์ เอสบีไอ ไทย ออนไลน์ จา˚ กดั |
007 | บริษทหลกั ทรัพย์ xxxxเอส-ซีไอเอมบี (ประเทศไทย) จา˚ กดั | 052 | บริษทหลกั xxxxxx xxเอ็มไอ-แซด คอม (ประเทศไทย) จา˚ กดั (มหาชน) |
008 | xxxxxxxxx xxxxxx xxxxxx พลสั จา˚ กดั | 053 | บริษทหลกั ทรัพย์ ลิxxxxxเตอร์ จา˚ กดั |
010 | บริษทหลกั ทรัพย์ เมอร์ริล xxxxx (ประเทศไทย) จา˚ กดั | 200 | บริษทหลกั ทรัพย์ เมยแบงก์ (ประเทศไทย) จา˚ กดั (มหาชน) |
011 | บริษทหลกั ทรัพย์ กสิกรไทย จา˚ กดั (มหาชน) | 211 | บริษทหลกั ทรัพย์ ยxx xxxx (ประเทศไทย) จา˚ กดั |
013 | บริษทหลกั ทรัพย์ xxxxไอ (ประเทศไทย) จา˚ กดั (มหาชน) | 213 | บริษทหลกั ทรัพย์ xxxxxx xxxท์ จา˚ กดั |
014 | xxxxxxxxx xxxxxx xxxxศรี พฒนสิน จา˚ กดั (มหาชน) | 221 | xxxxxxxxx xxxxxx xxxxxxxxx พาร์ทเนอร์ จา˚ กดั (มหาชน) |
015 | บริษทหลกั ทรัพย์ xxxส์xxxxx จา˚ กดั (มหาชน) | 224 | บริษทหลกั ทรัพย์ บวั หลวง จา˚ กดั (มหาชน) |
016 | xxxxxxxxx xxxxxx xxxxx จา˚ กดั (มหาชน) | 225 | บริษทหลกั ทรัพย์ ซี xxx xxx เอ (ประเทศไทย) จา˚ กดั |
019 | บริษทหลกั ทรัพย์ หยวนตา้ (ประเทศไทย) จา˚ กดั | 229 | บริษทหลกั ทรัพย์ xxxxxxxxxxx (ประเทศไทย) จา˚ กดั |
022 | xxxxxxxxx xxxxxx xxxxxxxx จา˚ กดั | 230 | บริษทหลกั ทรัพย์ โกลเบลก็ จา˚ กดั |
023 | xxxxxxxxx xxxxxx xxxxxxxxxx xxxxx จา˚ กดั | 242 | บริษทหลกั ทรัพย์ ซิต้ีคอร์ป (ประเทศไทย) จา˚ กดั |
026 | บริษทหลกั ทรัพย์ ยโอบี เคยเฮียน (ประเทศไทย) จา˚ กดั (มหาชน) | 244 | บริษทหลกั ทรัพย์ xxxควอรี (ประเทศไทย) จา˚ กดั |
027 | บริษทหลกั ทรัพย์ xxxxxxxบี (ประเทศไทย) จา˚ กดั (มหาชน) | 247 | บริษทหลกั ทรัพย์ เครดิต สวิส (ประเทศไทย) จา˚ กดั |
029 | บริษทหลกั ทรัพย์ กรุงxxx xx˚ กดั (มหาชน) | 248 | บริษทหลกั ทรัพย์ กรุงไทย xxxx ซ์สปริง จา˚ กดั |
030 | บริษทหลกั ทรัพย์ ไอ วี โกลบอล จา˚ กดั (มหาชน) | 924 | บริษทหลกั ทรัพย์ ฟิ นนเซีย ไซรัส จา˚ กดั (มหาชน) |
032 | บริษทหลกั ทรัพย์ ดาโอ (ประเทศไทย) จา˚ กดั (มหาชน) | ||
SUB-BROKER | |||
258 | บริษทั หลกั ทรัพย์ xxxxxx xxม์ จา˚ กดั | ||
CUSTODIAN | |||
236 | ธนคาร ทิสโก้ จา˚ กดั (มหาชน) | 329 | ธนคารทหารไทยธนชาต จา˚ กดั (มหาชน) |
245 | ธนคารทหารไทยธนชาต จา˚ กดั (มหาชน) | 330 | ธนคารฮ่องกงและxxxxxxxxxx xงกิ้งคอร์ปอเรชน่ั จา˚ กดั (เพื่อตราสารหน้ี) |
301 | ธนคารซิต้ีxxxxx xxน็ .เอ. (CUSTODY SERVICE) | 334 | บริษทหลกั ทรัพย์ เพื่อธุรกิจหลกั ทรัพย์ จา˚ กดั (มหาชน) (คสั โตเด้ียน) |
302 | ธนคารไทยพาณิชย์ จา˚ กดั (มหาชน) | 336 | ธนคารเกียรติxxxxxxxx จา˚ กดั (มหาชน) |
303 | ธนคารกรุงเทพ จา˚ กดั (มหาชน) – ผูร้ ับฝากxxxxxxx xน | 337 | ธนคารทหารไทยธนชาต จา˚ กดั (มหาชน) |
304 | ธนคารฮ่องกงและxxxxxxxxx xxงกิ้ง คอร์ปอเรชน่ั จา˚ กดั | 339 | ธนคาร ทิสโก้ จา˚ กดั (มหาชน) (เพื่อรับฝากxxxxxxx xน) |
305 | ธนคารกรุงไทย จา˚ กดั (มหาชน) | 340 | ธนคาร xxxxxxxxxxx เชส (เพื่อคา้ ตราสารหน้ี) |
308 | ธนคารกสิกรไทย จา˚ กดั (มหาชน) | 343 | ธนคาร ซีไอเอมบี ไทย จา˚ กดั (มหาชน) |
312 | ธนคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย) จา˚ กดั (มหาชน) | 350 | บริษทหลกั ทรัพย์ สยามเวลธ์ จา˚ กดั |
316 | ธนคารxxxxบีซี (ไทย) จา˚ กดั (มหาชน) | 351 | บริษทหลกั ทรัพย์ เวล็ ธ์ เมจิก จา˚ กดั |
320 | ธนคารดอยซ์แบงก์ xxxx สาขากรุงเทพฯ – เพื่อรับฝากxxxxxxx xน | 412 | บริษxx xxxสวสxx x แคปปิ ตอล 1969 จา˚ กดั (มหาชน) |
328 | ธนคารกรุงศรีอยธยา จา˚ กดั (มหาชน) | 425 | ธนคารกรุงไทย จา˚ กดั (มหาชน) (เพื่อลกู คา้ ) |
subject: | ttจ้งเตือนการใช้xxxxxxxxซื้อหุ้นสามัญxxxxxxxx (XR) บรษิ ัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จ˚ากดั (มหาชน) (CGH) Notification of the subscription for Right offering (XR) of CGH |
ตามที่ท่านได้ฝากหลักทรัพย์ดังกล่าวข้างต้นไว้กับ บริษัทหลักทรัพย์ กรุงศรี จ˚ากัด (มหาชน) บริษัทฯ ขอxxxxxxxxxให้ท่านทราบว่า
We would like to notify the detail of the exercise according to your entitlement as follows.
บรษิ ทั คันทรี่ กรปุ๊ โฮลดิ้งส์ จ˚ากดั (มหาชน) COUNTRY GROUP HOLDINGS PUBLIC COMPANY LIMITED | CGH |
วันขึ้นเครื่องหมายเพื่อรับxxxxxประโยชน์ (X-Date) XR | 03/05/2024 |
วันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้น (Bookclosing Date) | 08/05/2024 |
อัตราส่วน (ratio) หุ้นสามัญเดิม (Old) : หุ้นสามัญใหม่ (New) | 10:1 |
ราคาหน่วย/หุ้น/บาท (Baht per share) | 1.00 |
ก˚าหนดxxxxxxซื้อระหว่างxxxxxx (Subscription Period) | 21/05/2024 - 29/05/2024 |
ณ วันปิดสมุดทะเบียนxxxการโอนหุ้น ท่านมีหุ้นฝากไว้กับบริษัทฯ (Your existing shares as bookclose date) | .............. หุ้น (shares) |
ถ้าท่านมอบหมายให้บริษัทฯ น˚าสงเอกสารการจองซื้อฯ เพื่อใช้xxxxx ในการจองซื้อฯ ท่านต้องน˚าส่งเอกสารดังต่อไปนี้ให้บริษัทฯ (Documents Required) 1. ใบจองซื้อฯ (Registration Form) 2. ใบรับรองการใช้xxxxxxxxจองซื้อฯ (Certificate of subscription Entitlement issued by TSD) 3. เช็คช˚าระการจองซื้อ หรือใบโอนเงนิ / Bill Payment สั่งจ่ายตามที่ระบุ ในใบจองฯ (Cheque / Draft / Transfer Slip / Bill Payment) 4. ส˚าเนาบัตรประจ˚าตัวประชาชน รับรองส˚าเนาถูกต้อง (Certified true copy of the identification card or passport) | ติดต่อภายในxxxxxx (contact within) 21/05/2024 **เพิ่มเติม (Remark) : 3 หุ้นสามัญxxxxxxxx ต่อ 2 หน่วย ใบส˚าคัญแสดงxxxxxฯ (CGH-W5) ฟรี |
หนังสือแจ้งการจัดสรรหุ้นสามัญที่ออกและเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม ตามสัดส่วนการถือหุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายถืออยู่ (Right Offering) ควบคู่กับใบสำคัญแสดงxxxxxxxxจะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ครั้งที่ 5 (CGH-W5) ของบริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)
ระยะเวลาจองซื้อ
วันที่ 21 พฤษภาคม 2567 เวลา 9.00 น. ถึง 15.00 น. และ
วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ถึงวันที่ 24 พฤษภาคม 2567 เวลา 9.00 น. ถึง 15.00 น. และ
วันที่ 27 พฤษภาคม 2567 ถึงวันที่ 29 พฤษภาคม 2567 เวลา 9.00 น. ถึง 15.00 น.
(รวม 6 วันทำการ)
ส่วนที่ 1 ข้อมูลการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนซึ่งออกและเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม ตามสัดส่วนการถือหุ้น (Rights Offering)
1. ชื่อและสถานที่ตั้งของบริษัทจดทะเบียน
บริษัท: บริษัท คันทรี่ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”)
ที่ตั้ง: 132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 3 ชั้น 20 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทรศัพท์: 0-2256-7999
โทรสาร: 0-2256-7888
เว็บไซต์: www.cgholdings.co.th
2. วัน เดือน ปี และครั้งที่ของการประชุมคณะกรรมการบริษัท และการประชุมผู้ถือหุ้นที่มีมติให้จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน
การจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้น (Right Offering) ในครั้งนี้ ได้รับการอนุมัติ จากมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2567 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2567 และที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2567 เมื่อวันท 29 เมษายน 2567
3. รายละเอียดการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน
ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2567 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2567 และที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2567 เมื่อ วันที่ 29 เมษายน 2567 มีมติอนุมัติให้บริษัทฯ จัดสรรและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ จำนวนไม่เกิน 667,591,246 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท เพื่อเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนการถือหุ้น (Right Offering) ในอัตราการจัดสรร 10 หุ้นสามัญ เดิม ต่อ 1 หุ้นสามัญเพิ่มทุน ในราคาเสนอขายหุ้นละ 1.00 บาท กรณีที่มีเศษของหุ้นให้ปัดทิ้ง
ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นอาจจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนเกินกว่าสิทธิได้ ก็ต่อเมื่อมีหุ้นเหลือจากการเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ที่ได้จองซื้อตามสิทธิครบถ้วนทั้งหมดแล้วเท่านั้น หากยังมีหุ้นสามัญเพิ่มทุนเหลือจากการเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตาม สัดส่วนการถือหุ้น และจากการเสนอขายให้แกผู้ถือหุ้นที่จองซื้อเกินกว่าสิทธิ บริษัทฯ จะนำหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่เหลือดังกล่าวเสนอขายแก่ บุคคลในวงจำกัด นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นที่จองซื้อและได้รับจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ออกและเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วน การถือหุ้น (Right Offering) จะได้รับการจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ครั้งที่ 5 (CGH-W5) ในอัตราจัดสรร 3 หุ้นสามัญเพิ่มทุน ต่อ 2 หน่วยใบสำคัญแสดงสิทธิ โดยไม่คิดมูลค่า กรณีที่มีเศษของหุ้นให้ปัดทิ้ง โดยมีรายละเอียดการออกเสนอขาย หุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนการถือหุ้น ควบคู่กับใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ครั้งที่ 5 (CGH-W5) ดังนี้
3.1 หุ้นสามัญเพิ่มทุนซึ่งออกและเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนการถือหุ้น (Rights Offering)
ประเภทของหุ้น : หุ้นสามัญที่ออกใหม่
ทุนจดทะเบียนชำระแล้วเดิม : 5,006,952,745 บาท
แบ่งเป็นหุ้นสามัญจำนวน 5,006,952,745 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ทุนจดทะเบียนภายหลังการเพิ่มทุน : 5,674,543,991 บาท
แบ่งเป็นหุ้นสามัญจำนวน 5,674,543,991 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท
จำนวนหุ้นสามัญที่จัดสรร : จำนวนไม่เกิน 400,554,748 หุ้น
ราคาเสนอขายต่อหุ้น : 1.00 บาทต่อหุ้น
อัตราส่วนการจัดสรรหุ้น : 10 หุ้นสามัญเดิม ต่อ 1 หุ้นสามัญเพิ่มทุน ผู้ถือหุ้นเดิมมีสิทธิจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนตามสัดส่วนการถือหุ้น โดยมี อัตราส่วนการจองซื้อหุ้นตามที่ระบุข้างต้น ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นสามารถใช้สิทธิจองซื้อ หุ้นสามัญเพิ่มทุนเกินกว่าสิทธิของตนได้
การดำเนินการในกรณีีที่มีเศษของหุ้น : ในกรณีที่มีเศษของหุ้นจากการคำนวณ ให้ปัดเศษของหุ้นดังกล่าวทิ้ง และ
ให้นำเศษของหุ้นดังกล่าวไปรวมกับหุ้นที่เหลือจากการจองซื้อที่ผู้ถือหุ้นบางราย
สละสิทธิ์หรือไม่ได้ใช้สิทธิจองซื้อหุ้นภายในเวลาทกำหนด หรือไม่ได้ชำระเงิน
ค่าจองหรือด้วยเหตุผลอื่นใด เพื่อจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นที่ต้องการจองซอเกินกว่า สิทธิที่ตนมีอยู่ตามสัดส่วนการถือหุ้น
3.2 ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 5 (CGH-W5)
ชื่อของใบสำคัญแสดงสิทธิ : ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 5 (CGH-W5)
จำนวนหน่วยใบสำคัญแสดงสิทธิ : ไม่เกิน 267,036,498 หน่วย
วิธีการจัดสรร : บริษัทฯ จะออกและจัดสรรใบสำคญ
แสดงสิทธิใหแ
ก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ
ที่จองซื้อและได้รับจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ออกและเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม ตามสัดส่วนการถือหุ้น (Right Offering) ในอัตราจัดสรร 3 หุ้นสามัญเพิ่มทุน ต่อ 2 หน่วยใบสำคัญแสดงสิทธิ กรณีที่มีเศษของหุ้นให้ปัดทิ้ง
วันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ : บริษัทฯ จะแจ้งให้ทราบผ่านระบบการแจ้งข่าวของตลาดหลักทรัพย์ฯ
ภายหลังจากที่บริษัทฯ ได้เสนอขายและจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้น ของบริษัทฯ ที่จองซอและได้รับการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่เสนอขายให้แก่ ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนการถือหุ้นเรียบร้อยแล้ว
ราคาเสนอขายต่อหน่วย : 0 บาท (ศูนย์บาท) ไม่คิดมูลค่า อายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ : 2 ปี นับจากวันที่ออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิ
อัตราการใช้สิทธิ : ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น (เว้นแต่กรณีมีการ ปรับอัตราการใช้สิทธิตามเงื่อนไขการปรับสิทธิ)
ราคาการใช้สิทธิ : หุ้นละ 1.00 บาท (เว้นแต่กรณีมีการปรับอัตราการใช้สิทธิตามเงื่อนไข การปรับสิทธิ)
ระยะเวลาและกำหนดการใช้สิทธิ : วันทำการสุดท้ายของเดือนพฤษภาคม และพฤศจิกายน ตลอดอายุของใบสำคัญ
แสดงสิทธิโดยกำหนดวันใช้สิทธิครั้งแรกคือ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2567 และ วันครบกำหนดการใช้สิทธิครั้งสุดท้าย จะตรงกับวันที่ใบสำคัญแสดงสิทธิมีอายุ ครบ 2 ปีนับแต่วันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ อนึ่ง ระยะเวลาแสดงความจำนง ในการใช้สิทธิครั้งสุดท้ายจะต้องไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนวันใช้สิทธิดังกล่าว
4. วันกำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นเพื่อสิทธิในการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่กับใบสำคัญแสดงสิทธิ
บริษัทฯ กำหนดให้วันที่ 7 พฤษภาคม 2567 เป็นวันกำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิได้รับการจัดสรรและเสนอขายหุ้นสามัญ เพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ครั้งที่ 5 (CGH-W5) เพื่อเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนการถือ หุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายถืออยู่ (Record Date)
5. กำหนดการจองซื้อ และรับชำระเงินค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่กับใบสำคัญแสดงสิทธิ
5.1. ระยะเวลาการจองซื้อและรับชำระเงินค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่กับใบสำคัญแสดงสิทธิ
วันที่ 21 พฤษภาคม 2567 ระหว่างเวลา 9.00 น. ถึง 15.00 น. และวันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ถึงวันที่ 24 พฤษภาคม 2567
ระหว่างเวลา 9.00 น. ถึง 15.00 น. และวันที่ 27 พฤษภาคม 2567 ถึงวันที่ 29 พฤษภาคม 2567 ระหว่างเวลา 9.00 น. ถึง 15.00 น.
(รวม 6 วันทำการ)
5.2 สถานที่รับจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนและรับชำระค่าจองซอหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่กับใบสำคัญแสดงสิทธิ
ผู้ถือหุ้นสามารถติดตอจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่กับใบสำคัญแสดงสิทธิ ได้ที่
บริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)
เลขที่ 132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 3 ชั้น 20 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทรศัพท์ (66) 0-2256-7999 ต่อ 1709, 1712
ติดต่อสอบถาม: | คุณสุภาพร อัครเดชาไชย | 0-2256-7999 | ต่อ 1712 |
คุณอุไรวรรณ วุ่นกลิ่นหอม | 0-2256-7999 | ต่อ 1716 | |
คุณวราภรณ์ พิศาลบุตร | 0-2205-7000 | ต่อ 2300 |
5.3 การจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน
การจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้กับผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้น สามารถแบ่งออกเป็น 2 กรณี ได้แก่
1. กรณีที่ผู้ถือหุ้นจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนตามสิทธิหรือน้อยกว่าสิทธิที่ได้รับจัดสรร
ผู้ถือหุ้นที่แจ้งความประสงค์จองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนตามสิทธิหรือน้อยกว่าสิทธิที่ได้รับจัดสรรจะได้รับจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนทั้ ง จำนวนที่จองซื้อ
2. กรณีที่ผู้ถือหุ้นจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนเกินสิทธิที่ได้รับจัดสรร
ผู้ถือหุ้นที่มีการจองซื้อเกินกว่าสิทธิ (Oversubscription) นั้นจะต้องแจ้งความจำนงในการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนเกินสิทธิใน ใบจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนในคราวเดียวกันกับการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนตามสิทธิ โดยในกรณีที่มีหุ้นสามัญเพิ่มทุนเหลือจาก การจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายถืออยู่ในรอบแรกแล้ว บริษัทฯ จะจัดสรรหุ้น สามัญเพิ่มทุนที่เหลือดังกล่าวให้กับผู้ถือหุ้นเดิมที่ประสงค์จะจองซื้อเกินกว่าสิทธิตามสัดส่วนการถือหุ้นเดิม ในราคาเดียวกันกับหุ้น ที่ได้รับการจัดสรรตามสิทธิ โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. ในกรณีที่มีหุ้นเหลือจากการจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายถืออยู่ในรอบแรก เป็นจำนวนมากกว่าหรือเท่ากับหุ้นที่ผู้ถือหุ้นเดิมจองซื้อเกินกว่าสิทธิ บริษัทฯ จะจัดสรรหุ้นที่เหลือดังกล่าวให้แก่ผู้ที่จองซื้อ เกินกว่าสิทธิและชำระค่าจองซื้อหุ้นดังกล่าวทั้งหมดทุกรายตามจำนวนที่แสดงความจำนงจองซื้อเกินกว่าสิทธิ
ตัวอย่าง:
หุ้นสามัญเพิ่มทุนทั้งหมดจำนวน 2,000 หุ้น หักหุ้นสามัญเพิ่มทุนจัดสรรตามสิทธิหรือน้อยกว่าสิทธิตามที่ผู้ถือหุ้นแสดงความ จำนงจองซื้อจำนวน 1,400 หุ้น คงเหลือหุ้นสามัญเพิ่มทุนจากการจองซื้อตามสิทธิจำนวน 600 หุ้น
การจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นของบริษัทตามสัดส่วนการถือหุ้นในรอบแรก
ผู้ถือหุ้น | สัดส่วนการ ถือหุ้น | หุ้นสามัญเพิ่มทุน ที่ได้รับจัดสรร ตามสิทธิ | หุ้นสามัญเพิ่มทุนที่จองซื้อ (หุ้น) | หุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ ได้รับการจัดสรรตาม สิทธิ หรือน้อยกว่าสิทธิ | |
ตามสิทธิหรือ น้อยกว่าสิทธิ | เกินสิทธิ | ||||
ผู้ถือหุ้น ก. | 35% | 700 | 100 | - | 100 |
ผู้ถือหุ้น ข. | 35% | 700 | 700 | 400 | 700 |
ผู้ถือหุ้น ค. | 20% | 400 | 400 | 300 | 400 |
ผู้ถือหุ้น ง. | 10% | 200 | 200 | 50 | 200 |
รวม | 100% | 2,000 | 1,400 | 750 | 1,400 |
การคำนวณการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ได้รับจัดสรรเกินสิทธิรอบที่ 1 จากหุ้นสามัญเพิ่มทุนคงเหลือจำนวน 600 หุ้น
จำนวนหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ได้รับจัดสรรตามสิทธิและจัดสรรเกินสิทธิรอบที่ 1
ผู้ถือหุ้น | สัดส่วนการ ถือหุ้น | หุ้นสามัญเพิ่มทุน ที่ได้รับจัดสรร ตามสิทธิ | หุ้นสามัญเพิ่มทุนที่จองซื้อ (หุ้น) | หุ้นสามัญเพิ่มทุน ที่ได้รับการจัดสรร เกินสิทธิ | |
ตามสิทธิหรือ น้อยกว่าสิทธิ | เกินสิทธิ | ||||
ผู้ถือหุ้น ก. | 35% | 700 | 100 | - | - |
ผู้ถือหุ้น ข. | 35% | 700 | 700 | 400 | 35% x 600 = 210 |
ผู้ถือหุ้น ค. | 20% | 400 | 400 | 300 | 20% x 600 = 120 |
ผู้ถือหุ้น ง. | 10% | 200 | 200 | 50 | 10% x 600 = 60 |
รวม | 100% | 2,000 | 1,400 | 750 | 390 |
สรุปจำนวนหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ได้รับจัดสรรตามสิทธิหรือน้อยกว่าสิทธิ และจัดสรรเกินสิทธิรอบที่ 1
ผู้ถือหุ้น | หุ้นสามัญเพิ่มทุน ที่ได้รับจัดสรรเกินสิทธิ (หุ้น) | รวมหุ้นที่ได้รับ การจัดสรร | หุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ จองซื้อเกินสิทธิคงเหลือ | |
ตามสิทธิ | เกินสิทธิรอบที่ 1 | |||
ผู้ถือหุ้น ก. | 100 | - | 100 | - |
ผู้ถือหุ้น ข. | 700 | 210 | 910 | 190 |
ผู้ถือหุ้น ค. | 400 | 120 | 520 | 180 |
ผู้ถือหุ้น ง. | 200 | 50 | 250 | 10 |
รวม | 1,400 | 380 | 1,780 | 380 |
2. ในกรณีที่มีหุ้นเหลือจากการจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายถืออยู่ในรอบแรก เป็นจำนวนน้อยกว่าหุ้นที่ผู้ถือหุ้นเดิมจองซื้อเกินกว่าสิทธิ บริษัทฯ จะจัดสรรหุ้นที่เหลือดังกล่าวให้แก่ผู้ที่จองซื้อเกินกว่าสิทธิ ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
(ก) จัดสรรตามสัดส่วนการถือหุ้นเดิมของผู้ที่จองซื้อเกินกว่าสิทธิแต่ละราย โดยนำสัดส่วนการถือหุ้นเดิมของผู้ที่จองซื้อ เกินกว่าสิทธิแต่ละรายคูณด้วยจำนวนหุ้นที่เหลือ จะได้เป็นจำนวนหุ้นที่ผู้ที่จองซื้อเกินกว่าสิทธิแต่ละรายมีสิทธิที่จะ
ได้รับจัดสรร ในกรณีที่มีเศษของหุ้นให้ปัดทิ้ง ทั้งนี้ จำนวนหุ้นที่จะได้รับการจัดสรรจะไม่เกินจำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละ รายจองซื้อและชำระค่าจองซื้อแล้ว
(ข) ในกรณีที่ยังมีหุ้นสามัญเพิ่มทุนคงเหลือหลังจากการจัดสรรตามข้อ (ก) บริษัทฯ จะทำการจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นที่จองซอื้ เกินกว่าสิทธิแต่ละราย ซึ่งยังได้รับการจัดสรรไม่ครบตามจำนวนหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่จองซื้อเกินสิทธิของผู้ที่จองซื้อ เกินกว่าสิทธิแต่ละรายนั้น โดยนำสัดส่วนการถือหุ้นเดิมของผู้ที่จองซื้อเกินกว่าสิทธิแต่ละรายนั้นคูณด้วยจำนวนหุ้น สามัญเพิ่มทุนที่เหลือหลังจากการจัดสรรตามข้อ (ก) จะได้เป็นจำนวนหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ผู้ที่จองซื้อเกินกว่าสิทธิแต่ละ รายมีสิทธิที่จะได้รับจัดสรร ในกรณีที่มีเศษของหุ้นให้ปัดทิ้ง โดยจำนวนหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่จะได้รับการจัดสรรจะ ไม่เกินจำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายจองซื้อและชำระค่าจองซื้อแล้ว ทั้งนี้ บริษัทฯ จะดำเนินการจัดสรรหุ้นสามัญ
เพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นทจี่ องซื้อเกนกว่าสิทธิตามวิธีการในข้อ (ข) นี้ จนกระทั่งไม่มีหุ้นสามัญเพิ่มทุนเหลือจากการจัดสรร
หรือจนกว่าจะไม่มีผู้ถือหุ้นรายใดประสงค์ที่จะจองซื้อหุ้นเพิ่มทุนเกินสิทธิดังกล่าวอีกต่อไป หรือไม่สามารถจัดสรรได้อีก เนื่องจากเป็นเศษของหุ้น
ทั้งนี้ การจัดสรรหุ้นที่จองซื้อเกินกว่าสิทธิตามรายละเอียดข้างต้นไม่ว่ากรณีใด จะต้องไม่ทำให้ผู้ถือหุ้นที่จองซื้อหุ้นสามัญเพิ่ม ทุนเกินกว่าสิทธิรายใดมีหน้าที่ต้องทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ (Tender Offer) ตามที่กำหนดในประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ ทจ. 12/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2554 (และ ที่ได้แก้ไขเพิ่มเติม) หรือมีลักษณะที่เป็นการฝ่าฝืนข้อจำกัดการถือหุ้นของบุคคลผู้ไม่มีสัญชาติไทยตามที่ระบุไว้ในข้อบังคับของบริษัทฯ ซึ่งปัจจุบันอนุญาตให้บุคคลผู้ไม่มีสัญชาติไทยถือหุ้นอยู่ในบริษัทฯ ได้ไม่เกินร้อยละ 49 ของจำนวนหุ้นที่ออกจำหน่ายทั้งหมดของบริษัทฯ
5.4 การสละสิทธิ์จองซอื้
ผู้ถือหุ้นที่มิได้ใช้สิทธิจองซื้อ หรือมิได้ใช้สิทธิภายในระยะเวลาที่กำหนด หรือมิได้ชำระเงินภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ หรือ บริษัทฯ ไม่สามารถเรียกเก็บเงินค่าจองซื้อหุ้นได้ตามระยะเวลาที่กำหนด บริษัทฯ จะถือว่าผู้ถือหุ้นสละสิทธิ์การจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน ในครั้งนี้
5.5 ขั้นตอนและวิธีการจองซอและรับชำระเงินค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่กับใบสำคญแสดงสิทธิ
1. วิธีการจองซื้อและการชำระเงินค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่กับใบสำคัญแสดงสิทธิ
ผู้ถือหุ้นที่ประสงค์จะจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน จะต้องกรอกรายละเอียดลงในใบจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่กับใบสำคัญ แสดงสิทธิให้ถูกต้องครบถ้วนและชัดเจน โดยระบุจำนวนหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายต้องการจองซื้อ ตามสิทธิตามจำนวนที่ แสดงไว้ในใบรับรองสิทธิการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนซึ่งออกโดยบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด และจำนวนหุ้น สามัญเพิ่มทุนที่ต้องการจองซื้อเกินกว่าสิทธิในใบจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน 1 ใบ ต่อใบรับรองสิทธิการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน 1 ฉบั บ เท่านั้น พร้อมทั้งลงลายมือชื่อผู้จองซื้อในใบจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน และชำระเงินค่าหุ้นเต็มตามจำนวนที่จองซื้อ ทั้งในส่วนที่จองซื้อ น้อยกว่าสิทธิหรือตามสิทธิที่ได้รับ และในส่วนที่ประสงค์จะจองซื้อหุ้นเกินกว่าสิทธิที่ได้รับจัดสรร (ถ้ามี) โดยชำระเงินค่าจองซื้อหุ้นสามัญ เพิ่มทุนและยื่นเอกสารประกอบการจองซื้อไปยังสถานที่รับจองซื้อหุ้น และรับชำระเงินค่าจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนในวันและเวลาที่รับ จองซื้อ ทั้งนี้หากมูลค่ารวมของจำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นระบุในใบจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนมีจำนวนน้อยกว่าหรือมากกว่าจำนวนเงินที่บริษัทฯ ได้รับชำระ บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิที่จะยึดถือตามจำนวนเงินที่บริษัทฯ ได้รับชำระ และจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนตามจำนวนเงินดังกล่าว ให้กับผู้ถือหุ้นรายนั้นๆ
เมื่อผู้จองซื้อยื่นใบจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่กรอกรายละเอียดและลงลายมือชื่อครบถ้วนเรียบร้อยแล้ว ให้ถือว่าผู้จองซื้อได้ให้ คำรับรองว่าข้อมูล รายละเอียด รวมทั้งลายมือชื่อที่ได้ลงไว้แล้วในใบจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนนั้น (ไม่ว่าผู้จองซื้อเป็นผู้กรอกข้อมู ล รายละเอียด และลงลายมือชื่อในใบจองซื้อนั้นเอง หรือผู้รับมอบอำนาจ หรือตัวแทนซึ่งรวมถึงบริษัทนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ของ ผู้จองซื้อเป็นผู้กรอกให้) ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นจริง หากปรากฏว่าข้อมูล รายละเอียด หรือลายมือชื่อดังกล่าวผิดพลาด ไม่ถูกต้อง
ไม่ครบถ้วน หรือไม่เป็นจริง บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ที่จะใช้ดุลยพินิจในการปฏิเสธการจองซื้อ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน และบริษัทฯ จะ ไม่รับผิดชอบต่อความเสียหาย หรือความสูญเสียที่เกิดขึ้นไม่ว่ากรณีใดๆ หรือหากมีการจัดสรรหุ้นโดยบริษัทฯ หรือการดำเนินการใดๆ ของบริษัทฯ ภายใต้ข้อความที่ระบุไว้ในส่วนที่ 1 ของหนังสือแจ้งการจัดสรรหุ้นนี้ โดยผิดพลาดหรือเกิดจากการใช้ข้อมูลดังกล่าวผู้จองซื้อ ตกลงจะไม่เรียกร้องค่าเสียหายหรือเรียกร้องให้บริษัทฯ รับผิดชอบในความเสียหายหรือสูญเสียใดๆ ทั้งสิ้น และบริษัทฯ จะไม่รับผิดชอบ ต่อความเสียหายหรือความสูญเสียที่เกิดขึ้นไม่ว่ากรณีใดๆ
2. วิธีการชำระเงินค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุน
ผู้ถือหุ้นเดิมจะต้องกรอกรายละเอียดในใบจองซื้อหุ้นสามัญเพมทุนให้ถูกต้อง ครบถ้วนและชัดเจน พร้อมลงลายมือชื่อผู้จองซื้อ และต้องชำระเงินค่าหุ้นสามัญเพิ่มทุนครั้งเดียวเต็มตามจำนวน โดยผู้จองซื้อหรือผู้รับมอบอำนาจต้องยื่นเอกสารประกอบการจองซื้อและ หลักฐานการชำระเงินค่าหุ้นเต็มตามจำนวนที่จองซื้อ ณ ที่ทำการของบริษัทภายในวันและเวลาที่รับจองซื้อ
กรณีชำระเงินโดยการโอนเงินเข้าบัญชีบริษัท
ชื่อบัญชี บริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) เพื่อจองซื้อหุ้นเพิ่มทุน
Account Name COUNTRY GROUP HOLDINGS PUBLIC COMPANY LIMITED FOR ORDINARY SHARE SUBSCRIPTION
ธนาคาร ไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขาถนนวิทยุ
Bank Siam Commercial Bank Plc., Wireless Road Branch
ประเภทบัญชี กระแสรายวัน Type of Account Current Account เลขที่บัญชี 049-314362-9
Account No. 049-314362-9
SWIFT CODE SICOTHBK
ผู้จองซื้อจะต้องนำส่งเอกสารประกอบการจองซื้อและหลักฐานการชำระเงิน ณ ที่ทำการของบริษัท ระหว่างวันที่ 21
พฤษภาคม 2567 ระหว่างเวลา 9.00 น. ถึง 15.00 น. และวันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ถึงวันที่ 24 พฤษภาคม 2567 ระหว่างเวลา 9.00
น. ถึง 15.00 น. และวันที่ 27 พฤษภาคม 2567 ถึงวันที่ 29 พฤษภาคม 2567 ระหว่างเวลา 9.00 น. ถึง 15.00 น. กรณีชำระด้วยเช็คบุคคล แคชเชียร์เช็ค หรือดร๊าฟท์
เช็คบุคคล แคชเชียร์เช็ค หรือดร๊าฟท์ ต้องสามารถเรียกเก็บเงินในเขตกรุงเทพมหานครภายในวันทำการถัดไปเท่านั้น โดยขีดคร่อม
เพื่อเข้าบัญชีโดยเฉพาะ (AC Payee Only) สั่งจ่าย ชื่อบัญชี “บริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) เพื่อจองซื้อหุ้นเพิ่มทุน” ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขาถนนวิทยุ โดยวันที่ในเช็คต้องระบุไว้ไม่เกินวันที่ 27 พฤษภาคม 2567 และต้องนำฝาก ภายในเวลา 12.00 น. ของวันที่ 27 พฤษภาคม 2567 หากเกินระยะเวลาดังกล่าวแล้ว ผู้จองซื้อจะต้องชำระด้วยเงินสดโดยการโอนเงิน เข้าบัญชีบริษัทเท่านั้น
3. เงื่อนไขอื่นๆ ในการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิ
1) ผู้ถือหุ้นเดิมที่จองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิ และชำระเงินค่าจองซื้อแล้ว ไม่มีสิทธิยกเลิกการจองซื้อ
2) ในกรณีชำระค่าจองซื้อหุ้นด้วยเช็คบุคคล หรือแคชเชียร์เช็ค หรือดร๊าฟท์ การชำระเงินค่าจองซื้อจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อธนาคาร ผู้จ่ายทำการขึ้นเงินตามเช็คเรียบร้อยแล้ว และการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อบริษัทสามารถเรียกเก็บเงินค่าจองซื้อ ได้แล้วเท่านั้น
3) หากผู้ถือหุ้นที่จองซื้อไม่สามารถจ่ายเงินค่าจองซื้อหุ้น หรือมิได้ปฏิบัติตามวิธีการชำระเงินค่าจองซื้อและดำเนินการให้เป็นไป ตามเงื่อนไขและวิธีการที่กำหนดเพื่อให้สามารถเรียกเก็บเงินค่าจองซื้อได้ทันตามกำหนดระยะเวลาจองซื้อ หรือบริษัท ไม่สามารถเรียก เก็บเงินค่าจองซื้อได้ (ไม่ว่าในกรณีใดๆ ก็ตามด้วยเหตุที่มิใช่ความผิดของบริษัท) ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนภายในกำหนดระยะเวลาการ จองซื้อตามที่กำหนด หรือจองซื้อด้วยวิธีการอื่นที่มิได้กำหนดไว้ในหนังสือแจ้ง การจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฉบับนี้ หรือนำส่ง เอกสารประกอบการจองซื้อไม่ครบถ้วน บริษัทจะถือว่าผู้ถือหุ้นเดิมสละสิทธิ์ในการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิ ดังกล่าว และบริษัทขอสงวนสิทธิในการไม่จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นรายดังกล่าว
4) ในกรณีที่ผู้จองซื้อกรอกข้อมูลในเอกสารประกอบการจองซื้อไม่ครบถ้วน ไม่ชัดเจน หรือไม่สัมพันธ์กัน บริ ษัทขอสงวนสิทธิ์ ในการใช้ข้อมูลในเอกสารประกอบการจองซื้อตามที่เห็นสมควรในการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิ อย่างไรก็ตาม ในกรณีดังกล่าว บริษัทมีสิทธิที่จะถือว่าผู้ถือหุ้นเดิมสละสิทธิ์ในการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิ และบริษัทขอสงวน สิทธิ์ในการไม่จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นรายดังกล่าว
5) ในกรณีที่การจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนทั้งในรอบแรก หรือการจัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นที่จองซื้อเกินสิทธิท ำให้สัดส่วนการถือหุ้น สามัญของผู้ถือหุ้นต่างด้าวเกินกว่าจำนวนร้อยละ 49 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัท หรือทำให้ผู้ถือหุ้นที่จองซื้อเกิน สิทธิถือครองหุ้นของบริษัทในลักษณะที่เพิ่มขึ้นจนถึงหรือข้ามผ่านจุดที่ต้องทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ (Tender Offer) ตามที่กำหนด ในประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุนที่ ทจ.12/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการในการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำ กิจการ (“ประกาศ ทจ.12/2554”) บริษัทขอสงวนสิทธิ์ในการไม่จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นต่างด้าว/ผู้ถือหุ้นดังกล่าว โดย ผู้ถือหุ้นต่างด้าว/ผู้ถือหุ้นดังกล่าวอาจไม่ได้รับการจัดสรร หรือได้รับการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนเพียงบางส่วน และในกรณีเช่นว่านั้ น บริษัทจะไม่ชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้ถือหุ้นรายดังกล่าว และผู้ถือหุ้นรายดังกล่าวไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายใดๆ จากบริษัททั้งสิ้น ทั้งนี้ บริษัทจะดำเนินการคืนเงินค่าจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิ ส่วนที่ไม่ได้รับการจัดสรรหรือได้รับการจัดสรรไม่ครบ แก่ผู้จองซื้อ (โปรดดูในรายละเอียดวิธีการคืนเงินค่าจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน ข้อ 5.7)
6) ผู้ถือหุ้นที่จองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนจะเป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมธนาคารเอง (ถ้ามี)
7) ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นเดิมได้รับใบรับรองการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนมากกว่า 1 เลขทะเบียนผู้ถือหุ้น ผู้ถือหุ้นเดิมจะต้องเตรียม เอกสารประกอบการจองซื้อตามจำนวนเลขทะเบียนผู้ถือหุ้นที่ผู้ถือหุ้นเดิมได้รับใบรับรองการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญ แสดงสิทธิ กล่าวคือ เอกสารประกอบการจองซื้อ 1 ชุด ต่อ 1 เลขทะเบียนผู้ถือหุ้นเท่านั้น หากผู้ถือหุ้นเดิมจองซื้อด้วยเลขทะเบียน ผู้ถือหุ้นหมายเลขเดียว โดยรวมสิทธิที่จะได้รับการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนเข้าด้วยกันเป็นรายการเดียวกัน หรือระบุข้อมูลดังกล่าว ในเอกสารประกอบการจองซื้อชุดเดียวกัน ผู้จองซื้ออาจได้รับจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิไม่ครบตามสิทธิทั้งหมด ที่มีตามเลขทะเบียนผู้ถือหุ้นทุกหมายเลขรวมกัน และบริษัทขอสงวนสิทธิ์ในการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้จองซื้อตามที่เห็นสมควร หรือไม่จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้จองซื้อรายดังกล่าว ยกเว้น บริษัท ไทยเอ็น วี ดี อาร์ จำกัด
8) บริษัทขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดวิธีการจองซื้อ และการชำระเงินค่าจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญ แสดงสิทธิ เงื่อนไขอื่นๆ ในการจองซื้อ ตามความเหมาะสมในกรณีที่เกิดปัญหา อุปสรรค หรือข้อจำกัดในการดำเนินงาน ทั้งนี้ เพื่อให้เกิด ประโยชน์ต่อการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิของบริษัท
5.6 เอกสารที่ใช้ประกอบในการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิ
1. ใบจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิที่กรอกรายละเอียดถูกต้อง ครบถ้วนและชัดเจน พร้อมทั้งลงลายมือชื่อ ผู้จองซื้อ ในกรณีผู้จองซื้อเป็นนิติบุคคลจะต้องลงนามโดยผู้มีอำนาจลงนามของนิติบุคคลนั้น พร้อมประทับตราสาคัญของนิติบุคคลนั้น (ถ้ามี) ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นสามารถยื่นใบจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 ฉบับ ต่อใบรับรองการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน 1 ฉบับเท่านั้น
2. หลักฐานการชำระเงิน ได้แก่ ใบนำฝากเงินสด หรือ ใบนำฝากเช็ค ทั้งนี้ บริษัทขอสงวนสิทธิ์ในการไม่รับจองซื้อหลักทรัพย์ ในกรณีที่ผู้จองซื้อหลักทรัพย์ของบริษัทหรือบริษัทหลักทรัพย์ที่ผู้จองซื้อหลักทรัพย์ของบริษัทมีบัญชีซื้อขาย ไม่ดำเนินการกรอก รายละเอียดในใบแจ้งการชำระเงิน
3. ใบรับรองการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน ซึ่งออกโดยบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด (“TSD”) ในฐานะ นายทะเบียนของบริษัท และได้จัดส่งไปทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้แก่ผู้ถือหุ้นพร้อมกับหนังสือฉบับนี้ ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นจะต้องแยกกรอก ใบจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 ฉบับ ต่อใบรับรองการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน 1 ฉบับเท่านั้น
4. หนังสือมอบอำนาจให้กระทำการแทน พร้อมติดอากรแสตมป์ 30 บาท (กรณีที่มอบหมายให้ผู้รับมอบอำนาจมากระทำ การแทน) พร้อมสำเนาบัตรประชาชนของผู้จองซื้อ และผู้รับมอบอำนาจซึ่งลงนามรับรองสำเนาถูกต้องสำหรับกรณีที่มอบหมายให้ ผู้รับมอบอำนาจมากระทำการแทน พร้อมเอกสารประกอบการแสดงตนของผู้จองซื้อและผู้รับมอบอำนาจ ซึ่งมีการลงนามรับรองสำเนา ถูกต้อง
5. เอกสารประกอบการแสดงตน
1) บุคคลธรรมดาสัญชาติไทย
สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนที่ยังไม่หมดอายุ พร้อมลงนามรับรองสำเนาถูกต้อง หรือในกรณีที่ไม่มีบัตรประจำตัว ประชาชน ให้แนบสำเนาทะเบียนบ้านที่มีเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก หรือสำเนาเอกสารทางราชการอื่นที่มีเลข ประจำตัวประชาชน 13 หลัก พร้อมลงนามรับรองสำเนาถูกต้อง ในกรณีที่มีการเปลี่ยนชื่อ/ชื่อสกุล ซึ่งทำให้ชื่อ/ชื่อสกุล ไม่ตรงกับรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน (Record Date) ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2567 หรือในใบรับรอง การจองซื้อหุ้น ให้แนบสำเนาเอกสารที่ออกโดยหน่วยงานราชการ เช่น ทะเบียนสมรส ใบหย่า ใบแจ้งเปลี่ยนชื่อ/ชื่อสกุล เป็นต้น พร้อมลงนามรับรองสำเนาถูกต้อง
2) บุคคลธรรมดาสัญชาติต่างด้าว
สำเนาใบต่างด้าว หรือสำเนาหนังสือเดินทางที่ยังไม่หมดอายุ พร้อมลงนามรับรองสำเนาถูกต้อง
3) นิติบุคคลในประเทศ
สำเนาหนังสือรับรองที่ออกโดยกระทรวงพาณิชย์ไม่เกิน 3 เดือน ก่อนวันจองซื้อ พร้อมลงนามรับรองสำเนาถูกต้องโดย ผู้มีอำนาจลงนามของนิติบุคคลนั้น และประทับตราสำคัญของนิติบุคคล (ถ้ามี) พร้อมแนบสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน สำเนาใบต่างด้าว หรือสำเนาหนังสือเดินทาง (แล้วแต่กรณี) ของผู้มีอำนาจลงนามของนิติบุคคลดังกล่าว พร้อมลงนาม รับรองสำเนาถูกต้อง
4) นิติบุคคลต่างประเทศ
สำเนาหนังสือสำคัญการจัดตั้งบริษัท หรือหนังสือบริคณห์สนธิ หรือหนังสือรับรองของบริษัทที่มีอายุไม่เกิน 6 เดือนก่อนวัน จองซื้อ พร้อมลงนามรับรองสำเนาถูกต้อง โดยผู้มีอำนาจลงนามของนิติบุคคลนั้น และประทับตราสำคัญของนิติบุคคล (ถ้ามี) พร้อมแนบสำเนาใบต่างด้าว หรือสำเนาหนังสือเดินทาง (แล้วแต่กรณี) ของผู้มีอำนาจลงนามของนิติบุคคลดังกล่าว พร้อมลงนามรับรองสำเนาถูกต้อง สำเนาเอกสารประกอบที่ลงนามรับรองสำเนาถูกต้องแล้ว ต้องได้รับการรับรองลายมือชื่อ โดยเจ้าหน้าที่ Notary Public และรับรองโดยเจ้าหน้าที่สถานทูตไทย หรือสถานกงสุลไทยในประเทศที่เอกสารดังกล่าวได้ จัดทำ หรือรับรองความถูกต้อง และมีอายุไม่เกิน 6 เดือนก่อนวันจองซื้อ
6. สำหรับผู้ที่ประสงค์จะฝากหุ้นสามัญเพิ่มทุนไว้ในบัญชีของบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ สมาชิกเลขที่ 600 ในนามผู้จองซื้อ โปรดกรอกรายละเอียดใน “เอกสารเพิ่มเติมประกอบการจองหลักทรัพย์เฉพาะผู้ที่ประสงค์นำหลักทรัพย์ฝากเข้าบัญชีบริษัทผู้ออก หลักทรัพย์ (Issuer Account) เท่านั้น” เพื่อนำส่งให้แก่ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์
ทั้งนี้ ลายมือชื่อในเอกสารประกอบการแสดงตนทุกฉบับต้องตรงกับลายมือชื่อที่ลงนามในเอกสารประกอบการจองซื้ งหุ้น สามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิของบริษัท
5.7 การคืนเงินค่าจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมในกรณีที่ได้รับการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนไม่ครบตามจ ำนวนที่ จองซื้อ
ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นแสดงความจำนงจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนเกินกว่าสิทธิ (Oversubscription) และได้ชำระเงินค่าจองซื้อ หุ้นสามัญเพิ่มทุน ทั้งในส่วนที่จองซื้อตามสิทธิและส่วนที่จองซื้อเกินกว่าสิทธิครบถ้วนแล้ว แต่ไม่ได้รับจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่จองซื้อ เกินกว่าสิทธิของตนตามที่แสดงความจำนง หรือได้รับจัดสรรไม่ครบตามจำนวนที่จองซื้อเกินกว่าสิทธิ บริษัทจะดำเนินการให้มีการคืนเงิน ค่าจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนส่วนที่ไม่ได้รับการจัดสรรหรือได้รับการจัดสรรไม่ครบโดยไม่มีดอกเบี้ย และไม่มีค่าเสียหายใดๆ เป็นเช็ค ขีดคร่อมสั่งจ่ายเฉพาะในนามของผู้จองซื้อภายใน 10 วันทำการนับถัดจากวันสิ้นสุดกำหนดระยะเวลาการจองซื้อและส่งทางไปรษณีย์ ลงทะเบียนตามที่อยู่ที่ปรากฏในฐานข้อมูลผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน (Record Date) ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2567 ของ บริษัท ทั้งนี้การรับคืนเงินเป็นเช็คนั้น บริษัทจะเป็นผู้รับผิดชอบค่าธรรมเนียมการเรียกเก็บต่างเช็คธนาคาร (ถ้ามี)
ทั้งนี้ ไม่ว่ากรณีใดๆ หากได้มีการคืนเงินค่าจองซื้อในส่วนที่ไม่ได้รับการจัดสรรหรือได้รับการจัดสรรไม่ครบตามจำนวนที่จองซื้อ เกินกว่าสิทธิผ่านการส่งเช็คทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้ผู้จองซื้อตามที่อยู่ที่ปรากฏในฐานข้อมูลผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน (Record Date) ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2567 ของบริษัท ให้ถือว่าผู้จองซื้อได้รับเงินค่าจองซื้อในส่วนที่ไม่ได้รับการจัดสรรหรือได้รับ การจัดสรรไม่ครบตามจำนวนที่จองซื้อเกินกว่าสิทธิโดยชอบ และผู้จองซื้อไม่มีสิทธิเรียกร้องดอกเบี้ย และ/หรือ ค่าเสียหายใดๆ จาก บริษัทอีกต่อไป
5.8 วิธีการส่งมอบหลักทรัพย์
1. ในกรณีที่ผู้จองซื้อประสงค์จะฝากหุ้นไว้ในบัญชีของบริษัทหลักทรัพย์ซึ่งผู้จองซื้อมีบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์อยู่ บริษัทจ ะ ดำเนินการนำหุ้นที่ได้รับจัดสรรฝากไว้กับ “บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อผู้ฝาก” โดย ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ และบริษัทหลักทรัพย์ จะบันทึกยอดบัญชีจำนวนหุ้นที่ผู้จองซื้อฝากไว้และออกหลักฐานการฝากให้แก่ผู้จองซื้อภายใน 15 วันทำการ นับถัดจากวันสิ้นสุดกำหนดระยะเวลาการจองซื้อ ซึ่งในกรณีนี้ผู้จองซื้อจะสามารถขายหุ้นที่ได้รับการจัดสรรในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์ฯ”) ได้ทันทีที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ อนุญาตให้หุ้นของบริษัททำการซื้อขายได้ในตลาดหลักทรัพย์ฯ
2. ในกรณีที่ผู้จองซื้อประสงค์จะฝากหุ้นไว้ในบัญชีของบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ สมาชิกเลขที่ 600 บริษัทจะดำเนินการนำหุ้น ที่ได้รับจัดสรรฝากไว้กับ “บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด” ผู้จองซื้อจะต้องกรอกข้อมูลพร้อมลงลายมือชื่อผู้จองซื้อ ใน “เอกสารเพิ่มเติมประกอบการจองซื้อหลักทรัพย์เฉพาะผู้ที่ประสงค์นำหลักทรัพย์ฝากเข้าบัญชีบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ (Issuer Account) เท่านั้น” และกรอกข้อมูลใน “แบบสอบถามเพื่อหาข้อบ่งชี้การเป็นบุคคลสหรัฐฯ และแบบสอบถามสำหรับตรวจสอบสถานะ FATCA (FATCA Status)” โดยแนบเอกสารดังกล่าวให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้รับจองซื้อด้วย โดยศูนย์รับฝากหลักทรัพย์จะบันทึกยอดบัญชี จำนวนหุ้นเข้าบัญชีดังกล่าวในนามของผู้จองซื้อภายใน 7 วันทำการ และออกหลักฐานการฝากให้แก่ผู้จองซื้อภายใน 15 วันทำการนับ ถัดจาก วันสิ้นสุดกำหนดระยะเวลาการจองซื้อ
3. ในกรณีที่ผู้จองซื้อประสงค์จะขอรับใบหุ้นในนามของผู้จองซื้อ ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ในฐานะนายทะเบียนของบริษัทจะ ส่งมอบใบหุ้นตามจำนวนที่ได้รับการจัดสรรให้แก่ผู้ได้รับการจัดสรรทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตามชื่อและที่อยู่ที่ปรากฏในฐานข้อมูล ผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน (Record Date) ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2567 ของบริษัท ภายใน 15 วันทำการนับถัดจากวัน สิ้นสุดกำหนดระยะเวลาการจองซื้อ
4. ในกรณีที่ผู้จองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนรายใดมิได้ระบุวิธีการที่จะให้บริษัทส่งมอบหลักทรัพย์ไว้ในใบจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน ควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิ บริษัทขอสงวนสิทธิ์ที่จะดำเนินการออกใบหุ้นให้แก่ผู้จองซื้อแทน
5.9 ข้อมูลสำคัญอื่นๆ เกี่ยวกับการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิ
1. ผู้ถือหุ้นเดิมที่จองซื้อจะได้รับหลักฐานรับฝากการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิที่ลงชื่อรับจากเจ้าหน้าที่ ผู้รับจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนเพื่อเป็นหลักฐานในการรับจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุน โดยการจองซื้อจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อบริษัทสามารถเรียก เก็บเงินค่าหลักทรัพย์ได้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
2. ผู้ถือหุ้นเดิมที่มิได้ใช้สิทธิจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิ หรือมิได้ชำระเงินตามวันและเวลาที่กำหนด หรือ เช็คบุคคล หรือแคชเชียร์เช็ค หรือดร๊าฟท์ ที่สั่งจ่าย ไม่สามารถเรียกเก็บเงินได้ตามวันที่ที่สั่งจ่าย บริษัทจะถือว่าผู้ถือหุ้นดังกล่าวสละสิทธิ์ ในการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิในครั้งนี้
3. หากจำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นเดิมระบุในใบจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิมากกว่าจำนวนเงินที่บริษัทได้รับชำระ บริษัทขอสงวนสิทธิ์ที่จะถือตามจำนวนเงินที่บริษัทได้รับจากการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิเป็นหลัก
4. หากจำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นเดิมระบุในใบจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิน้อยกว่าจำนวนเงินที่บริษัทได้รับชำระ บริษัทขอสงวนสิทธิ์ที่จะใช้ดุลยพินิจในการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน ให้แก่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายตามที่บริษัทเห็นสมควร
5. ผู้ถือหุ้นที่ใช้สิทธิในการจองซื้อจะต้องระบุรหัสบริษัทหลักทรัพย์ (ตามที่ระบุไว้ในใบจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่ใบสำคัญ แสดงสิทธิ) ที่ผู้ถือหุ้นมีบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์อยู่ และเลขที่บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ที่ประสงค์จะให้โอนหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่ได้รับการ จัดสรรเข้าบัญชีดังกล่าวให้ถูกต้อง โดยชื่อบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ที่ระบุไว้ในใบจองซื้อจะต้องเป็นชื่อเดียวกันกับผู้จองซื้อ หากระบุรหัส บริษัทหลักทรัพย์หรือเลขที่บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ไม่ถูกต้อง หรือระบุเลขที่บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของบุคคลอื่น จะทำให้ไม่สามารถโอน หุ้นสามัญเพิ่มทุนเข้าบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ได้ ซึ่งในกรณีดังกล่าว บริษัทจะไม่รับผิดชอบต่อการสูญหายของหุ้นสามัญเพิ่มทุน หรือ ความล่าช้าในการติดตามหุ้นสามัญเพิ่มทุนคืน และบริษัทขอสงวนสิทธิ์ในการส่งมอบหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าว โดยออกใบหุ้นสามัญ ตามจำนวนที่ได้รับการจัดสรรในนามของผู้จองซื้อและจัดส่งใบหุ้นสามัญให้ตามชื่อที่อยู่ที่ปรากฏในฐานข้อมูลผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิจองซื้อหุ้น สามัญเพิ่มทุน (Record Date) ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2567 ของบริษัท ภายใน 15 วันทำการนับถัดจากวันสิ้นสุดกำหนดระยะเวลา การจองซื้อ ซึ่งบริษัทจะไม่รับผิดชอบในกรณีที่ผู้ถือหุ้นไม่สามารถขายหุ้นสามัญที่ได้รับจัดสรรได้ทันวันทำการแรกของการซื้อขาย
6. บริษัทขอสงวนสิทธิ์ในการปรับเปลี่ยนเงื่อนไขในการจองซื้อหลักทรัพย์ของบริษัท วิธีการชำระเงินค่าจองซื้อหลักทรัพย์ และ/ หรือข้อมูลใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิธีการจองซื้อหลักทรัพย์ของบริษัทตามความเหมาะสม ในกรณีที่เกิดปัญหา อุปสรรค หรือข้อจำกัดในการ ดำเนินงาน ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการจองซื้อหลักทรัพย์ของบริษัท
7. กรณีที่ผู้จองซื้อไม่นำส่งเอกสารตามที่กำหนดภายในระยะเวลาการจองซื้ออันเป็นเหตุให้บริษัทไม่สามารถระบุตัวตนของ ผู้จองซื้อได้ บริษัทจะถือว่าผู้ถือหุ้นรายดังกล่าวสละสิทธิ์ในการจองซื้อหลักทรัพย์และบริษัทขอสงวนสิทธิ์ที่จะไม่จัดสรรหลักทรัพย์ให้แก่ ผู้ถือหุ้นรายดังกล่าว
6. วัตถุประสงค์ของการเพิ่มทุน
บริษัทฯ มีวัตถุประสงค์ในการเพิ่มทุน ดังต่อไปนี้
1. เพื่อชำระคืนหุ้นกู้ที่จะครบกำหนดชำระ
2. บริษัทฯ จะนำเงินทุนในส่วนที่เพิ่มไปใช้เพื่อเป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และเพื่อรองรับการขยายการ ลงทุนของบริษัทฯ
7. ประโยชน์ที่บริษัทจะพึงได้รับจากการเพิ่มทุน / จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน
การเพิ่มทุนครั้งนี้จะส่งผลให้บริษัทฯ มีโครงสร้างทางการเงินที่แข็งแกร่งและมั่นคงมากยิ่งขึ้น เพื่อรองรับการขยายการลงทุน ต่างๆ ของบริษัทฯ รวมทั้งเสริมสร้างสภาพคล่องและความพร้อมทางด้านเงินทุนที่จะลงทุนในโครงการต่างๆ ที่มีศักยภาพ อันจะ ก่อให้เกิดผลประโยชน์และกำไรต่อบริษัทฯ ตลอดจนช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผู้ถือหุ้นในระยะยาว
8. ประโยชน์ที่ผู้ถือหุ้นจะพึงได้รับจากการเพิ่มทุน / จัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุน นโยบายเงินปันผล
บริษัทฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคล อย่างไรก็ดี อาจกำหนด
ให้การจ่ายเงินปันผลมีอัตราน้อยกว่าอัตราที่กำหนดข้างต้นได้ หากบริษัทฯ มีความจำเป็นที่จะต้องนำเงินกำไรสุทธิจำนวนดังกล่าวไปใช้ เพื่อขยายการดำเนินงานของบริษัทฯ
สิทธิรับเงินปันผล
1. ผู้จองซื้อหุ้นเพิ่มทุนครั้งนี้ จะมีสิทธิรับเงินปันผลจากการดำเนินงานของบริษัทฯ เริ่มตั้งแต่ผู้จองซื้อหุ้นได้รับการจดทะเบียน เป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ แล้ว
2. ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิ จะมีฐานะเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ต่อเมื่อบริษัทฯ ได้รับการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชำระแล้ว ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้าเรียบร้อยแล้ว และในกรณีที่บริษัทฯ มีการจ่ายปันผล ก็จะมีสิทธิที่จะได้รับเงินปันผลในฐานะผู้ถือหุ้นของ บริษัทฯ
9. ข้อมูลสำคญอนๆ เกี่ยวกับการจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่กับใบสาคัญแสดงสิทธิ
ผลกระทบที่จะมีต่อผู้ถือหุ้นเดิมจากการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้น ที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายถืออยู่ (Right Offering) ควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ครั้งที่ 5 (CGH-W5) ที่เสนอขาย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมที่ใช้สิทธิจองซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้น มีดังนี้
9.1 ผลกระทบต่อราคา (Price Dilution)
ภายหลังการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนต่อผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายถืออยู่ (Right Offering) ควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ครั้งที่ 5 (CGH-W5) ที่เสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมที่ใช้สิทธิจอง ซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้น ในกรณีที่เสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนดังกล่าวได้ครบทั้งจำนวน จะไม่มีผลกระทบ ต่อราคาตลาดของหุ้น โดยมีรายละเอียดการคำนวณ ดังนี้
จำนวนหุ้นที่ออกและจำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทฯ จำนวน 4,005,547,487 หุ้น จำนวนหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่เสนอขายต่อผู้ถือหุ้นเดิม จำนวนไม่เกิน 667,591,246 หุ้น ราคาตลาดก่อนการเสนอขาย 0.67 บาทต่อหุ้น
คำนวณจากราคาถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นที่มีการซื้อขายในตลาดหลักทรพย์แห่งประเทศไทย
ย้อนหลัง 7 วันทำการติดต่อกัน (ระหว่างวันที่ 5 มีนาคม 2567 ถึงวันที่ 13 มีนาคม 2567)
ราคาหลังเพิ่มทุน = (ราคาตลาด x จำนวนหุ้นในปัจจุบัน) + (ราคาขายหุ้นเพิ่มทุน x จำนวนหุ้นเพิ่มทุน)
จำนวนหุ้นในปัจจุบัน + จำนวนหุ้นเพิ่มทุน
= (0.67 x 4,005,547,487) + (1.00 x 667,591,246)
4,005,547,487 + 667,591,246
= 0.72
Price Dilution = (ราคาก่อนเพิ่มทุน - ราคาหลังเพิ่มทุน) / ราคากอนเพิ่มทุน
= (0.67 – 0.72) / 0.67 = -7.46% หรือ ไม่มีผลกระทบจาก Price Dilution
9.2 ผลกระทบต่อสิทธิในการออกเสียงของผู้ถือหุ้นเดิม (Control Dilution)
ภายหลังการออกและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนควบคู่กับใบสาคัญแสดงสิทธิของบริษัทฯ ในกรณีที่เสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุน ได้ครบทั้งจำนวน ผู้ถือหุ้นจะไม่ได้รับผลกระทบต่อสิทธิในการออกเสียงของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ เนื่องจากเป็นการออกและเสนอขาย ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนการถือหุ้น อย่างไรก็ตาม หากมีการใช้สิทธิซื้อหุ้นครบถ้วนด้วยบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้ถือหุ้นเดิมทั้งจำนวนจะมี ผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นเดิมประมาณ 14.29% โดยมีรายละเอียดการคำนวณ ดังนี้
Qx = จำนวนหุ้นที่ออกและจำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทฯ จำนวน 4,005,547,487 หุ้น
Qp = จำนวนหุ้นสามัญเพิ่มทุนที่เสนอขายในครั้งนี้ จำนวนไม่เกิน 667,591,246 หุ้น
Control Dilution = Qp / (Qx + Qp)
= 667,591,246 / (4,005,547,487 + 667,591,246) = 14.29%
9.3 ผลกระทบต่อส่วนแบ่งกำไรต่อหุ้น (EPS Dilution)
ภายหลังจากการเสนอขายและจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทตามสัดส่วนการถือหุ้น ( Right Offering) ควบคู่ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ครั้งที่ 5 (CGH-W5) ที่เสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมที่ใช้สิทธิจองซื้อหุ้นสามัญ เพิ่มทุนของบริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้นแล้ว ผลกระทบต่อราคาหุ้นของบริษัทฯ ขึ้นอยู่กับปริมาณการใช้สิทธิซื้อหุ้นเพิ่มทุนของ ผู้ถือหุ้นเดิมแต่ละราย ทั้งนี้ ในกรณีที่ผู้ถือหุ้นเดิมทุกรายไม่ใช้สิทธิซื้อหุ้นเพิ่มทุน จะไม่มีผลกระทบต่อราคาหุ้นของบริษัทฯ แต่ในกรณีที่ ผู้ถือหุ้นทุกรายใช้สิทธิตามที่มีอยู่ครบทั้งจำนวน จะมีผลกระทบต่อส่วนแบ่งกำไร (EPS Dilution) เท่ากับ 14.29% โดยมีรายละเอียด การคำนวณ ดังนี้
EPS Dilution | = | (EPS ก่อนการเสนอขาย – EPS หลังการเสนอขาย) / EPS ก่อนการเสนอขาย |
= | (0.049) – (0.042) / (0.049) | |
= | 14.29% |
10. รายละเอียดเบื้องต้นของใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 5 (CGH-W5)
ประเภทของใบสำคัญแสดงสิทธิ | ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทฯ ครั้งที่ 5 (CGH-W5) |
ชนิดของใบสำคัญแสดงสิทธิ | ชนิดระบุชื่อผู้ถือและโอนเปลี่ยนมือได้ |
จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิที่เสนอขาย | ไม่เกิน 267,036,498 หน่วย |
จำนวนหุ้นสามัญที่จัดสรรไว้ เพื่อรองรับการใช้สิทธิ | ไม่เกิน 267,036,498 หุ้น (มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) คิดเป็นร้อยละ 6.67 ของหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัท ณ วันที่ 14 มีนาคม 2567 วิธีการคำนวณสัดส่วนจำนวนหุ้นรองรับ = (จำนวนหุ้นรองรับ Warrant ที่เสนอขายครั้งนี้ + จำนวนหุ้นรองรับ Warrant ที่เสนอขายครั้งอื่น) / จำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของบริษัทฯ สัดส่วนจำนวนหุ้นรองรับ = (267,036,498 + 1,001,386,220) / 4,005,547,487 = 31.67% |
วิธีการจัดสรร | จัดสรรให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ ที่ใช้สิทธิจองซื้อหุ้นเพิ่มทุนของบริษัทฯ ในอัตราการจัดสรรจองซื้อหุ้นใหม่ 3 หุ้นสามัญเพิ่มทุน ต่อ 2 หน่วยใบสำคัญ แสดงสิทธิ (ในกรณีที่มีเศษให้ปัดทิ้ง) โดยกำหนดรายชื่อผู้ถอหุ้นที่มีสิทธิได้รับการจัดสรรและเสนอขายหุ้นสามัญ เพิ่มทุนตามสัดส่วนการถือหุ้นที่ผู้ถือหุ้นแต่ละรายถืออยู่ (Record Date) ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2567 |
วันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ | วันที่กำหนดโดยคณะกรรมการบริษัท |
ราคาเสนอขายต่อหน่วย | 0 บาท (ศูนย์บาท) ไม่คิดมูลค่า |
อายุของใบสำคัญแสดงสิทธิ | 2 ปี นับจากวันที่ออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิ |
อัตราการใช้สิทธิ | ใบสำคัญแสดงสิทธิ 1 หน่วย มีสิทธิซื้อหุ้นสามัญได้ 1 หุ้น (เว้นแต่กรณี มีการปรับอัตราการใช้สิทธิตามเงื่อนไขการปรับสิทธิ) |
ราคาการใช้สิทธิที่จะซื้อหุ้น | หุ้นละ 1.00 บาท (เว้นแต่กรณีมีการปรับอัตราการใช้สิทธิตามเงื่อนไข การปรับสิทธิ) |
ระยะเวลาและกำหนดการใช้สิทธิ | วันทำการสุดท้ายของเดือนพฤษภาคม และพฤศจิกายน ตลอดอายุของใบสำคัญ แสดงสิทธิโดยกำหนดวันใช้สิทธิครั้งแรกคือ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2567 และ วันครบกำหนดการใช้สิทธิครั้งสุดทาย จะตรงกับวันที่ใบสำคัญแสดงสิทธิมีอายุ ครบ 2 ปีนับแต่วันที่ออกใบสำคัญแสดงสิทธิ อนึ่ง ระยะเวลาแสดงความจำนง ในการใช้สิทธิครั้งสุดท้ายจะต้องไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนวันใช้สิทธิดังกล่าว |
ตลาดรองของใบสำคัญแสดงสิทธิ | บริษัทฯ จะนำใบสำคัญแสดงสิทธิทออกและเสนอขายในครั้งนี้ เข้าจดทะเบียน เป็นหลักทรพั ย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรพั ย์แห่งประเทศไทย |
ตลาดรองของหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิ | บริษัทฯ จะนำหุ้นสามัญที่เกิดจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิ เข้าจดทะเบียน เป็นหลักทรพั ย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรพั ย์แห่งประเทศไทย |
ผลกระทบของผู้ถือหุ้น | 1. หุ้นสามัญใหม่ที่เกิดจากการใช้สิทธิของใบสำคัญแสดงสิทธิในครั้งนี้ จะมีสิทธิและได้รับผลประโยชน์อันพึงได้เสมอนหุ้นสามัญเดิมที่ออกและ เรียกชำระเต็มมูลค่าของบริษัททุกประการ โดยสิทธิใดๆ ที่จะได้รับจาก การเป็นผู้ถือหุ้นสามัญจากการใช้สิทธิของใบแสดงสิทธิจะเริ่มตั้งแต่วันที่ ศูนย์รับฝากหลักทรพั ย์บันทึกเพิ่มจานวนหุ้นให้แก่ผู้ถือหุ้นในระบบ 2. ผลกระทบที่มีต่อผู้ถือหุ้นเนื่องจากการออกและเสนอใบสำคัญแสดงสิทธิ ให้แก่ ผู้ถือหุ้นเดิม 1) ด้านการลดลงของสัดส่วนผู้ถือหุ้น (Control Dilution) สูตรการคํานวณการลดลงของสัดส่วนการถือหุ้น = 1 – [Qo / (Qo+Qw)] โดยที่ Qo = จํานวนหุ้นสามัญที่มีอยู่เดิม 4,005,547,478 หุ้น Qw = จํานวนหุ้นสามัญใหม่ที่เพิ่มขึ้นจากการใช้สิทธิตาม ใบสำคัญแสดงสิทธิทั้งจํานวน เท่ากับ 267,036,498 หุ้น ดังนั้น = 1 – [4,005,547,478 / (4,005,547,478 +267,036,498)] = 6.25% ผลกระทบด้านราคา Control Dilution ในกรณีที่มีการออกและเสนอขาย ใบสำคัญแสดงสิทธิใหแ้ ก่ผู้ถือหุ้นเดิมและผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ มีการ ใช้ สิทธิทั้งจํานวน ผู้ถือหุ้นจะไม่ได้รับผลกระทบด้านการลดลงของสัดส่วนการ ถือหุ้น เนื่องจากเป็นการออกและเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนการ ถือหุ้น อย่างไรก็ตาม หากมีการใช้สิทธิซื้อหุ้นครบถ้วนตามใบสำคัญแสดง สิทธิโดยบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้ถือหุ้นเดิมทั้งจํานวน จะมีผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นเดิม ประมาณ 6.25% |
2) ด้านการลดลงของราคา (Price Dilution)
สูตรการคํานวณการลดลงของราคา
= [(Po-Pn) x Qw] /[(Qo+ Qw) x Po]
โดยที่ Po = ราคาปิดตลาดถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 7 วันทําการก่อนวัน ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 2/2567 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2567 (วันที่ 5 มีนาคม 2567 ถึงวันที่ 13 มีนาคม 2567) เท่ากับหุ้นละ 0.67 บาท Pn = ราคาใช้สิทธของใบสำคัญแสดงสิทธิทออกและเสนอขายให้แก่
ผู้ถือหุ้นเดิมเท่ากับ 1.00 บาทต่อหุ้น ดังนั้น Price Dilution
= [(Po - Pn) x Qw] / [(Qo+ Qw) x Po]
= [(0.67–1.00) x 267,036,498]/[(4,005,547,478 + 267,036,498)x0.67]
= -3.08%
ผลกระทบด้าน Price Dilution ภายหลังการออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิให้แกผู้ถือหุ้นเดิม หากมีการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิที่ออกในครั้งนี้ทั้งจํานวนแล้ว จะไม่มีผลกระทบด้านการลดลงของราคา (Price Dilution)
3) ด้านการลดลงของส่วนแบ่งกำไร (EPS Dilution) สูตรการคำนวณการลดลงของส่วนแบ่งกำไร = (EPSo-EPSn)/EPSo โดยที่ ขาดทุนสุทธิ = (194,272,372) บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 EPSo = ขาดทุนสุทธิ /Qo
= (194,272,372) / 4,005,547,478
= (0.049)
EPSn = ขาดทุนสุทธิ / (Qo + Qw)
= (194,272,372) / (4,005,547,478 + 267,036,498)
= (0.045)
ดังนั้น EPS Dilution = (0.049 – 0.045) / 0.049
= 6.25%
ผลกระทบด้าน EPS Dilution ภายหลังการออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิให้แกผู้ถือหุ้นเดิม หากมีการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิที่ออกในครั้งนี้ทั้งจำนวนแล้ว จะมีผลกระทบด้านการลดลงของส่วนแบ่งกำไร (EPS Dilution) เท่ากบั 6.25%
เงื่อนไขการปรับสิทธิ | บริษัทฯ จะดำเนินการปรับราคาการใช้สิทธิเพื่อซื้อหุ้นสามัญและอัตราการใช้สิทธิ ในการซื้อหุ้นสามัญของใบสำคัญแสดงสิทธิ เมื่อเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ดังต่อไปนี้ ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพอื่ รักษาผลประโยชน์ตอบแทนของผู้ถือใบสำคัญ แสดงสิทธิไม่ให้ด้อยไปกว่าเดิม 1. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นบริษัทฯ อันเป็นผลมาจาก การรวมหรือการแบ่งแยกหุ้นที่ได้ออกแล้วของบริษัทฯ 2. เมื่อบริษัทฯ จ่ายเงินปันผลทั้งหมดหรือบางส่วนเป็นหุ้นที่ออกใหม่ให้แก่ ผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 3. เมื่อบริษัทฯ เสนอขายหุ้นที่ออกใหม่ใดๆ ในราคาที่ต่ำกว่าร้อยละ 90 ของ ราคาหุ้นที่คำนวณได้ตามวิธีการใช้ราคาตลาดในขณะเสนอขายหุ้นนั้น หรือราคาตลาดในช่วงก่อนเสนอขายหุ้นนั้น และเป็นวิธีคำนวณตามที่ระบุไว้ใน ข้อกำหนดสิทธิ 4. เมื่อบริษัทฯ เสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพหรอใบสำคัญแสดงสิทธิทออกใหม่ โดย กำหนดราคาหรือคำนวณราคาของหุ้นที่ออกใหม่ เพอรองรับหุ้นกู้แปลงสภาพ หรือใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว ต่ำกว่ารอยละ 90 ของราคาหุ้นที่คำนวณได้ ตามวิธีการใช้ราคาตลาดในขณะเสนอขายหุ้นกแู้ ปลงสภาพ หรือใบสำคัญ แสดงสิทธิ หรือราคาตลาดในช่วงกอนเสนอขายหุ้นกู้แปลงสภาพหรือใบสำคัญ แสดงสิทธินั้น และเป็นวิธีการคำนวณตามที่ระบุไว้ในข้อกำหนดสิทธิ 5. เมื่อบริษัทฯ จ่ายเงินปันผลเป็นเงินซึ่งเกินกว่าอัตราที่ระบุไว้ในข้อกำหนดสิทธิ 6. เมื่อมีกรณีอื่นใดในลักษณะเดียวกับ ข้อ 1 ถึง 5 ทที่ ำให้ผลประโยชน์ ตอบแทนใดๆ ที่ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิจะได้รับเมื่อมีการใช้สิทธิตามใบสำคัญ แสดงสิทธิด้อยไปกว่าเดิม ทั้งนี้ มอบหมายให้คณะกรรมการบริษัท หรือบุคคลที่คณะกรรมการบริษัท หรือ กรรมการผู้มีอำนาจกระทำการแทนบริษัทมอบหมาย เป็นผู้พิจารณากำหนดเงื่อนไข และรายละเอียดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกบั การปรับหรือการเปลี่ยนแปลงอัตราการใช้สิทธิ และราคาใช้สิทธิ |
เงื่อนไขอื่นๆ | ให้คณะกรรมการบริษัท เป็นผู้มีอำนาจในการกำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และ รายละเอียดอื่นๆ ของใบสำคัญแสดงสิทธิ โดยรวมถึงการจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิ การกำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิได้รับการจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิ การเข้าเจรจา ตกลงลงนามในเอกสาร และสัญญาต่างๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้ง ดำเนินการต่างๆ อัน จำเป็น และสมควรอันเกี่ยวเนื่องกบั ใบสำคัญแสดงสิทธิ และการออกและเสนอขาย ใบสำคัญแสดงสิทธิในครั้งนี้ ซึ่งรวมถึงการนำ ใบสำคัญแสดงสิทธิและหุ้นสามัญที่ เกิดจากการใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว เข้าจดทะเบียนเป็นหลักทรพั ย์ จดทะเบียนในตลาดหลักทรพั ย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนดำเนินการขออนุญาตต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง |
นายทะเบียนใบสำคัญแสดงสิทธิ | บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรพั ย์ (ประเทศไทย) จำกัด |
ส่วนที่ 2
ข้อมูลเบื้องต้นของบริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)
1. ข้อมูลการประกอบธุรกิจ และผลการดำเนินงานของบริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)
1.1 ข้อมูลทั่วไปของบริษัท
ชื่อบริษัท บริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) ชื่อภาษาอังกฤษ Country Group Holdings Public Company Limited ชื่อย่อ CGH
เลขทะเบียนบริษัท 0107557000187
ประเภทธุรกิจ ธุรกิจการถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company)
ทุนจดทะเบียน 6,452,549,062 บาท
ทุนชำระแล้ว 4,005,547,487 บาท
จำนวนและชนิดของหุ้น หุ้นสามัญ 4,005,547,487 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท
สถานที่ตั้ง 132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 3 ชั้น 20 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทรศัพท์ 0-2256-7999
1.2 ข้อมูลการประกอบธุรกิจ
บริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) (CGH) จดทะเบียนก่อตั้งเป็นบริษัทมหาชน เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2557 บริษัทฯ ประกอบธุรกิจที่มีรายได้จากการถือหุ้นในบริษัทอื่นเป็นหลัก (Holding Company) ซึ่งมีธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจการเงิน ปัจจุบัน บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียน 6,452,549,062 บาท และทุนชำระแล้ว 4,005,547,487 บาท โดยบริษัทฯ ลงทุนในหุ้นของบริษัทย่อยและ บริษัทร่วม ได้แก่ บริษัทหลักทรัพย์ พาย จำกัด (มหาชน)(PI) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน)(MFC) บริษัท เบาด์ แอนด์ บียอนด์ จำกัด (มหาชน)(BEYOND) บริษัท พาย แคปปิตอล โซลูชั่น จำกัด บริษัท พาย พินนาเคิล แอสเซท จำกัด บริษัท พาย เวนเจอร์ส จำกัด บริษัท พาย ดิจิทัล จำกัด และบริษัท คริปโตมายด์ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด
โครงสร้างรายได้ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย
รายได้ | งบการเงินรวม | |||||
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม | ||||||
2566 | 2565 | 2564 | ||||
ล้านบาท | ร้อยละของ รายได้รวม | ล้านบาท | ร้อยละของ รายได้รวม | ล้านบาท | ร้อยละของ รายได้รวม | |
รายได้ค่านายหน้า | 1,010.45 | 71.36 | 1,176.97 | 77.12 | 1,336.29 | 74.34 |
รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ | 93.25 | 6.59 | 98.47 | 6.45 | 117.45 | 6.53 |
รายได้ดอกเบี้ยที่คำนวณโดยวิธีดอกเบี้ย ที่แท้จริง | 200.91 | 14.19 | 139.30 | 9.13 | 39.82 | 2.22 |
กำไรจากเงินลงทุนและตราสารอนุพันธ์ | 60.58 | 4.28 | 59.51 | 3.90 | 109.71 | 6.10 |
รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล | 10.92 | 0.77 | 9.43 | 0.62 | 118.31 | 6.58 |
รายได้อื่น | 39.86 | 2.82 | 42.57 | 2.79 | 75.94 | 4.22 |
รายได้รวม | 1,415.97 | 100.00 | 1,526.25 | 100.00 | 1,797.52 | 100.00 |
1.3 โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท
บริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) มีโครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567 ดังนี้
1.4 ผู้ถือหุ้นบริษัทฯ
รายชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ ณ วันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นครั้งสุดท้าย ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567
ลำดับ | ชื่อ-นามสกุล | จำนวนหุ้น | ร้อยละ |
1. | นายทอมมี่ เตชะอุบล | 960,357,368 | 23.98% |
2. | นายพิจิตต์ วิริยะเมตตากุล | 326,200,000 | 8.14% |
3. | นายสำเริง มนูญผล | 186,273,100 | 4.65% |
4. | บริษัท คันทรี่ กรุ๊ป ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) | 153,061,800 | 3.82% |
5. | บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด | 144,987,982 | 3.62% |
6. | MRS. YOKO KI | 137,753,300 | 3.44% |
7. | น.ส.อัจจิมา ภาคานาม | 125,000,000 | 3.12% |
8. | บริษัท โรงพยาบาลวิภาวดี จำกัด (มหาชน) | 85,500,000 | 2.13% |
9. | นายฤทธิ์ คิ้วคชา | 67,300,010 | 1.68% |
10. | นางเพญ็ ศรี รัตนสุนทรากุล | 63,858,100 | 1.59% |
รวม | 2,250,291,660 | 56.18% |
หมายเหตุ ณ วันที่ 30 มีนาคม 2566 บริษัทฯ มีสัดส่วนการถือหุ้นของผู้ถือหุ้นรายย่อย (Free Float) อยู่ที่ร้อยละ 62.49
2. ลักษณะของผลิตภัณฑ์และบริการ
บริษัทฯ ประกอบธุรกิจที่มีรายได้จากการถือหุ้นในบริษัทอื่นเป็นหลัก (Holding Company) โดยมีบริษัทหลักทรัพย์ พาย จำกัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่ประกอบธุรกิจหลักของบริษัทฯ โดยธุรกิจของบริษัทหลักทรัพย์ฯ ได้รับ อนุญาตจากกระทรวงการคลัง ให้ประกอบธุรกิจ 7 ประเภทดังต่อไปนี้
1. การเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์
2. การค้าหลักทรพย์
3. การจัดจำหน่ายหลักทรัพย์
4. การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน
5. การจัดการกองทุนรวม
6. การจัดการกองทุนส่วนบุคคล
7. การยืมและให้ยืมหลักทรัพย์
รวมทั้งได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า แบบ ส-1 ให้ประกอบธุรกิจ 4 ประเภทดังต่อไปนี้
1. การเป็นตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
2. การเป็นผู้ค้าสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
3. การเป็นที่ปรึกษาสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
4. การเป็นผู้จัดการเงินทุนสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
นอกจากนั้น ยังได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า และอยู่ในรายชื่อบริษัทที่เป็นที่ปรึกษาทางการเงินที่ ได้รับอนุญาตจากสำนักงาน ก.ล.ต. อีกด้วย
1. ธุรกิจค้าหลักทรัพย์
บริษัทหลักทรัพย์ฯ มีนโยบายลงทุนในหลักทรัพย์ทั้งประเภทตราสารทุน และตราสารหนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการค้า และ เพื่อการลงทุน โดยจัดให้มีคณะกรรมการการลงทุน ทำหน้าที่กำหนดแนวทางหลักเกณฑ์ และระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการลงทุนที่ชัดเจน ซึ่งการลงทุนแต่ละประเภท จะมีการกำหนดวงเงิน และเงื่อนไขการลงทุน
2. ธุรกิจการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์
บริษัทหลักทรัพย์ฯ เป็นสมาชิกตลาดหลักทรัพย์ฯ หมายเลข 3 ดำเนินธุรกิจให้บริการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ โดยเป็น ตัวแทนซึ่งทำหน้าที่เป็นนายหน้าในการซื้อขายหลักทรัพย์ให้กับลูกค้าทั้งบุคคลธรรมดา นิติบุคคล สถาบันการเงินต่างๆ รวมถึงกองทุน และบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ โดยมีสำนักงานสาขาที่ให้บริการแก่นักลงทุนทั้งในเขต กรุงเทพฯ และเขตภูมิภาค มีทีมงานผู้แนะนำการลงทุน ทีมงานวิเคราะห์หลักทรัพย์ที่มีคุณภาพ มีประสบการณ์ พร้อมให้คำปรึกษาแก่ นักลงทุน ทั้งด้านปัจจัยพื้นฐานและปัจจัยทางเทคนิค
นอกจากนี้ ลูกค้ายังสามารถส่งคำสั่งซื้อขายหลก
ทรพ
ย์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต สามารถเข้าถึงบทวิเคราะห์ และแหล่งข้อมูล
ต่างๆ สำหรับนักลงทุน ผ่านทางเว็บไซต์ www.pi.financial หรือผ่านทางแอพพลิเคชั่นโทรศพ
ท์มือถอ
ทั้งระบบปฏิบัติการ IOS และ
Android เพอความสะดวกรวดเร็วต่อการตัดสินใจการลงทุน นักลงทุนสามารถเปิดบัญชีซื้อขายหลักทรพย์ผ่านบริษัท 3 ประเภท ได้แก
บัญชีเงินสด (Cash) บัญชีที่วางเงินไว้กับบริษัทหลักทรัพย์ฯ ล่วงหน้า เพื่อการชำระราคาเต็มจำนวน (Cash Balance) และบญ เพื่อซื้อหลักทรัพย์ (Credit Balance)
3. ธุรกิจการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
ชีเงินกู้ยืม
บริษัทหลักทรัพย์ฯ ได้รับอนุญาตจากสำนักงาน ก.ล.ต. ให้ประกอบธุรกิจการเป็นตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า โดย เริ่มทำการซื้อขายในวันที่ 22 กันยายน 2551 ในฐานะตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า บริษัทหลักทรัพย์ฯ ได้ให้บริการรับส่งคำสั่ง ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ผ่านทางผู้แนะนำการลงทุน และได้พัฒนาระบบให้สามารถรองรับคำสั่งซื้อขาย ผ่านช่องทางอื่นๆ เช่น การรับคำสั่งซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ต และผู้แนะนำการลงทุนของบริษัทหลักทรัพย์ฯ ในทุกสาขาทั่วประเทศ
โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 บริษัทหลักทรัพย์ฯ มีส่วนแบ่งการตลาดเป็นร้อยละ 14.04 เพิ่มขึ้นจากปี 2565 ที่มีส่วนแบ่ง การตลาดร้อยละ 11.13 และบริษัทหลักทรัพย์ฯ ยังได้รับรางวัล 2 รางวัล ได้แก่ รางวัล TFEX Best Award of Honor 2023 ด้าน Active Agent เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน และรางวัล Most Active House of 2023 จากบริษัท ตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) (TFEX) ในงาน “TFEX Best Awards 2023” ซึ่งจัดขึ้นเพื่อมอบรางวัลอันทรงเกียรติให้กับบริษัทสมาชิกที่มีผลงาน โดดเด่นในด้านปริมาณธุรกรรมของลูกค้าทั้งในแง่ปริมาณการซื้อขายและการขยายฐานผู้ลงทุนใหม่ในตลาด TFEX
บริษัทฯ ได้มีการขยายงานธุรกรรม Block Trade ในสินค้า Single Stock Futures อย่างต่อเนื่อง และมีการประชาสัมพันธ์ ทั้งการจัดสัมมนาให้ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ในตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้าภายในบริษัทหลักทรัพย์ฯ ให้แก่ผู้แนะนำการลงทุน พร้อม ทั้งจัดสัมมนาอบรมให้ลูกค้า และร่วมกับตลาดหลักทรัพย์ฯ ในการส่งเสริมความรู้ โดยจัดสัมมนาที่บริษัทหลักทรัพย์ฯ และต่างจังหวัด ให้กับนักลงทุนตลอดทั้งปี
ในปี 2567 บริษัทฯ มีแผนงานในการขยายฐานลูกค้ารายย่อยทั่วไปให้เพิ่มขึ้น และเพิ่มปริมาณของผู้แนะนำการลงทุนธุรกิจ ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าให้มากขึ้นตามลำดับ เพื่อรองรับการเติบโตของตลาดสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่จะมีสินค้าใหม่เกิดขึ้นอีกใน อนาคต ซึ่งจะเป็นช่องทางในการเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดให้กับบริษัทฯ ในปี 2567 และปีต่อไป
4. ธุรกิจที่ปรึกษาการลงทุน
บริษัทหลักทรัพย์ฯ ได้รับอนุญาตในการเป็นที่ปรึกษาทางการลงทุนจากสำนักงาน ก.ล.ต. ในการให้คำแนะนำที่เหมาะสมกับ ลูกค้าเกี่ยวกับ การลงทุนในหลักทรัพย์ มีลักษณะชี้ให้เห็นถึงคุณค่าหรือความเหมาะสมของการลงทุนในหลักทรัพย์นั้นๆ โดยประเมินจาก วัตถุประสงค์ในการลงทุน ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยง ประสบการณ์การลงทุน ฐานะทางการเงิน ภาระทางการเงิน ความ ต้องการ ข้อจำกัดในการลงทุน และระดับความเสี่ยงที่ลูกค้ายอมรับได้ ซึ่งดำเนินการจัดทำข้อมูลให้บริการคำแนะนำการลงทุนแก่ลูกค้า ต่อไป
5. ธุรกิจวาณิชธนกิจ
บริษัทหลักทรัพย์ฯ เป็นหนึ่งในผู้นำให้บริการงานด้านวาณิชธนกิจที่เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง โดยมีทีมงานที่มีประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญ ทำให้เป็นที่ยอมรับและได้รับความไว้วางใจในบริการจากลูกค้าเป็นอย่างดี ทีมงานวาณิช ธนกิจให้คำแนะนำเชิง กลยุทธ์ แนวทางการดำเนินการด้านการเงินที่เหมาะสมแก่ลูกค้า รวมถึงการให้คำปรึกษาในการควบรวมกิจการ การจัดหาเงินทุน และ แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
ความชำนาญของทมงานเป็นแรงผลักดันที่สำคัญที่ทำให้บริษัทหลักทรัพย์ฯ สามารถให้บริการที่หลากหลาย อาทิ การควบรวม และซื้อกิจการโดยบริษัทข้ามชาติ (Cross - Border Merger) การให้คำแนะนำและการจัดโครงสร้างบริษัทที่จะเสนอขายหลักทรัพย์ต่อ ประชาชน การจัดหาเงินทุน เพื่อนำไปชำระคืนเงินกู้ยืมเดิมจากสถาบันการเงิน โดยทีมงานวาณิชธนกิจของบริษัทหลักทรัพย์ฯ ได้ ให้บริการด้านการเงินที่หลากหลายตามความต้องการของลูกค้าทั้งลูกค้าประเภทบริษัท และลูกค้าที่เป็นผู้ลงทุนประเภทสถาบัน
• การเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน
บริษัทหลักทรัพย์ฯ ได้เริ่มจัดตั้งสายงานวาณิชธนกิจ ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2549 เป็นต้นมา โดยได้เข้าเป็นสมาชิกชมรมวาณิช ธนกิจเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2550 และได้รับความเห็นชอบจากสำนักงาน ก.ล.ต. ให้ดำเนินการเป็นที่ปรึกษาทางการเงินตามขอบเขต ที่กำหนดซึ่งครอบคลุมถึงการเป็นที่ปรึกษาทางการเงินในการออกและเสนอขายหลักทรัพย์แก่ประชาชนทั่วไป การนำหลักทรัพย์เข้า จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ การเป็นที่ปรึกษาทางการเงินในการจัดเตรียมคำเสนอซื้อ การเป็นที่ ปรึกษาทางการเงินในการซื้อหรือควบรวมกิจการ (Merger & Acquisition) ตลอดจนการเป็นที่ปรึกษาของผู้ถือหุ้นในการเข้าทำรายการ ประเภทต่างๆ ของบริษัทจดทะเบียนอย่างต่อเนื่อง
ปัจจุบัน บริษัทฯ มีทีมวาณิชธนกิจที่มีความสามารถ มีประสบการณ์ที่ครอบคลุมงานด้านวาณิชธนกิจ และพร้อมที่จ ะให้ บริการแก่ลูกค้าตั้งแต่ขนาดเล็ก ขนาดกลาง จนถึงขนาดใหญ่ทั้งในและต่างประเทศ การให้บริการครอบคลุมแก่ลูกค้าในหลากหลาย อุตสาหกรรมในภูมิภาค ทั้งลูกค้าประเภทบริษัท และลูกค้าที่เป็นผู้ลงทุนประเภทสถาบัน
การให้บริการด้านวาณิชธนกิจ ครอบคลุมถึงการซื้อ การควบรวมกิจการ การขายกิจการให้ผู้ลงทุนที่สนใจ การเสนอขายหุ้น ต่อประชาชน การเสาะหาผู้ลงทุนที่เหมาะสมเข้าร่วมทุนในกิจการ การวิเคราะห์ภาวะการแข่งขันของกิจการ การจัดโครงสร้างทาง การเงินที่เหมาะสม และการให้คำแนะนำในด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดี
ด้านการให้บริการในด้านการจัดหาแหล่งเงินทุนจากสถาบันการเงิน ทีมงานวาณิชธนกิจของบริษัทหลักทรัพย์ฯ มีความ สัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าในภูมิภาคที่มีความต้องการแหล่งเงินทุนจากสถาบันการเงิน และให้คำแนะนำเกี่ยวกับระดับการกู้ยืม โครงสร้าง และรูปแบบการกู้ยืมที่เหมาะสม
การให้บริการด้านตราสารทุน ทีมงานวาณิชธนกิจของบริษัทหลักทรัพย์ฯ ให้บริการในด้านการออกและเสนอขายหุ้นต่อ ประชาชน การออกและเสนอขายหลักทรัพย์แปลงสภาพ การสำรวจความต้องการในการลงทุนและจองซื้อหลักทรัพย์
ทีมงานวาณิชธนกิจของบริษัทหลักทรัพย์ฯ มีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าผ่านการให้บริการ และการส่งมอบงานอย่าง ต่อเนื่อง การให้บริการงานที่ปรึกษาทางการเงินครอบคลุมการให้คำปรึกษาด้านต่าง ๆ แก่บริษัททั่วไป อีกทั้งให้ความสำคัญในด้านการ บริการ และการรักษาความสัมพันธ์ทดีกับลูกค้าอย่างสม่ำเสมอ พร้อมทงการให้คำแนะนำอย่างมืออาชีพ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และ ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อลูกค้า งานที่บริษัทหลักทรัพย์ฯ ให้บริการอยู่สามารถจำแนกได้พอสังเขป ดังนี้
- การเป็นที่ปรึกษาในการนำหลักทรพ
ย์เขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรพ
ย์ฯ
- การเป็นที่ปรึกษาในการออกหลักทรัพย์ประเภทตราสารหนี้ : หุ้นกู้ หุ้นกู้ด้อยสท หุ้นบุริมสิทธิ
ธิ และประเภทตราสารทุน : หุ้นสามัญ
- การเป็นที่ปรึกษาด้านการควบรวมกิจการทั้งใน และต่างประเทศ รวมถึง การควบรวมและซื้อกิจการโดยบริษัทข้ามชาติ (Cross - Border M&A)
- การเป็นที่ปรึกษาในการประเมินมูลค่ากิจการ การปรับปรุงโครงสร้างทน
- การเป็นที่ปรึกษาในการจัดหาผู้ร่วมทุน
- การเป็นที่ปรึกษาทางการเงินอิสระในการให้ความเห็นต่างๆ
และโครงสร้างทางการเงิน
- งานด้านวาณิชธนกิจอื่นๆ เช่น การเป็นที่ปรึกษาในการปรับโครงสร้างหนี้และฟื้นฟกิจการ เป็นต้น
• การจัดจำหน่ายหลักทรัพย์
บริษัทหลักทรัพย์ฯ ได้รับใบอนุญาตจากสำนักงาน ก.ล.ต. ในการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดจำหน่ายหลักทรัพย์ ในการประกอบธุรกิจดังกล่าวเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2551 โดยเป็นธุรกิจที่ต่อเนื่องจากการเป็นที่ปรึกษาทางการเงิน และการเข้า ร่วมกับสถาบันการเงิน หรือบริษัทหลักทรัพย์อื่นในการจัดจำหน่ายหลักทรัพย์ ซึ่งอาจเป็นทั้งผู้จัดการการจัดจำหน่ายและรับประกันการ จำหน่าย (Lead Underwriter) ผู้ร่วมจัดจำหน่ายและรับประกันการจำหน่าย (Co-Underwriter)
6. ธุรกิจการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์
บริษัทหลักทรัพย์ฯ ได้รับอนุญาตจากสำนักงาน ก.ล.ต. ในการประกอบธุรกรรมการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2553 โดยลูกค้าของบริษัทหลักทรัพย์ฯ สามารถที่จะนำหลักทรัพย์ที่ปลอดภาระมาให้ยืมได้ทั้งพอร์ตการลงทุน ทั้งนี้ ลูกค้าจะได้รับรายได้จากค่าธรรมเนียมในการให้ยืมหลักทรัพย์ และในส่วนของลูกค้าที่ทำการขอยืมหลักทรัพย์จะต้องจ่ายค่าธรรมเนียม ในการยืมหลักทรัพย์ โดยบริษัทหลักทรัพย์ฯ มีนโยบายขั้นตอนธุรกรรมการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ดังนี้
1. บริษัทหลักทรัพย์ฯ ให้ยืมหลักทรัพย์กับลูกค้าเพื่อให้ลูกค้าทำการขายชอร์ต โดยหลักทรัพย์ดังกล่าวจะต้องเป็นหลักทรัพย์ที่ อนุญาตให้ขายชอร์ตได้ตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งปัจจุบันเป็นหลักทรัพย์ ETF ตราสารแสดงสิทธิ การฝากหลักทรัพย์ต่างประเทศ (DR)
2. การขายชอร์ตสามารถทำผ่านบัญชี Cash / Cash balance และ Credit balance
3. ผู้ยืมจะเสียค่าธรรมเนียมการยืมหลักทรพ
ย์ให้กับบริษัทหลักทรัพย์ฯ ผู้ให้ยืมจะได้รับค่าธรรมเนียมการยืมหลักทรพ
ย์จากบริษัท
หลักทรพย์ฯ
4. สิทธิประโยชน์จากการถือหลักทรพย์ที่นำมาให้ยืมยังคงเป็นของผู้ให้ยืม
บริษัทหลักทรัพย์ฯ ให้ความสำคัญและสนับสนุนให้ลูกค้าใช้บริการยืมหลักทรัพย์และให้ยืมหลักทรัพย์ เพื่อการขายชอร์ต ซึ่งเป็นการเพิ่มทางเลือกในการลงทุน และใช้ในการบริหารความเสี่ยงในการลงทุนของลูกค้า โดยเฉพาะในยามที่สภาวะการลงทุนใน ตลาดหลักทรัพย์ฯ มีความผันผวน โดยมั่นใจว่าธุรกิจการเป็นตัวแทนการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ จะเป็นธุรกิจที่สามารถสร้างรายได้ ให้กับบริษัทหลักทรัพย์ฯ ทั้งทางตรงและทางอ้อม จากปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์ที่จะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต อย่างไรก็ตาม บริษัท หลักทรัพย์ฯ จึงมุ่งมั่นในการพัฒนาและกำหนดแผนงาน รวมถึงพัฒนาโปรแกรมการยืมและให้ยืมหลักทรัพย์ เพื่ออำนวยความสะดวก ให้กับลูกค้ามากยิ่งขึ้นโดยกำหนดแผนงานสำหรับปี 2567 ดังนี้
1. พัฒนาระบบ เพื่อเป็นการเพิ่มทางเลือกในการลงทุนให้แก่ลูกค้าของบริษัทหลักทรัพย์ฯ
2. ขยายฐานลูกค้าทั้งรายสถาบันและรายย่อย ที่มีแนวโน้มสนใจจะยืมและให้ยืมหลักทรัพย์มากยิ่งขึ้น
3. อำนวยความสะดวกให้กับนก มากยิ่งขึ้น
ลงทุนผ่านแอพพลิเคชั่น “Pi App” เพื่อให้นักลงทุนใช้งานได้รวดเร็ว และง่ายต่อการลงทุน
7. ธุรกิจตัวแทนสนันสนุนการขายและรับซื้อคืนหน่วยลงทุน
บริษัทหลักทรัพย์ฯ ได้รับอนุญาตจากสำนักงาน ก.ล.ต. ให้ประกอบธุรกิจตัวแทนสนับสนุนการขายและรับซื้อคืนหน่วยลงทุน ปัจจุบัน บริษัทหลักทรัพย์ฯ เป็นตัวแทนของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนชั้นนำ 18 บริษัท มีกองทุนรวมทุกประเภทกว่า 1,700 กองทุน ที่รองรับการลงทุนของลูกค้าทุกท่าน บริษัทหลักทรัพย์ฯ พัฒนาการให้บริการแก่ลูกค้าในการซื้อขาย กองทุนรวมให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยบริษัทหลักทรัพย์ฯ เปิดให้บริการการซื้อขายกองทุนผ่านระบบ Fund Connext ซึ่งเป็นระบบที่พัฒนาโดย ตลาดหลักทรัพย์ฯ ร่วมกับสมาคมบริษัทจัดการลงทุน ลูกค้าสามารถซื้อขายกองทุนรวมของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ที่บริษัท หลักทรัพย์ฯ เป็นตัวแทนได้จากการเปิดบัญชีเพียงครั้งเดียว และสามารถโอนเงินซื้อขายหน่วยลงทุนผ่านบริษัทหลักทรัพย์ฯ ในรูปแบบ ของ One Stop Service ทำให้ลูกค้ามีความสะดวกในการลงทุนมากยิ่งขึ้น
นอกจากนี้ บริษัทหลักทรัพย์ฯ มีฝ่ายกลยุทธ์กองทุนรวมซึ่งมีหน้าที่วิเคราะห์สถานการณ์การลงทุน วิเคราะห์ประเภทของ กองทุนรวมที่เหมาะสมกับการลงทุน และคัดเลือกกองทุนรวมที่น่าสนใจในแต่ละประเภท รวมทั้งหารือและประสานงานกับบริษัท
หลักทรัพย์จัดการกองทุน เพื่อให้ลูกค้าได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและรวดเร็วทันเหตุการณ์ ฝ่ายกลยุทธ์กองทุนรวมให้คำแนะนำการลงทุน แนะนำกองทุนรวมที่น่าสนใจในแต่ละช่วงสถานการณ์พร้อมทั้งแนะนำจังหวะการซื้อ – ขายกองทุนที่เหมาะสมแก่ลูกค้าผ่านผู้แนะนำ การลงทุนที่มีความรู้ มีประสบการณ์ พร้อมในการให้บริการที่ดีที่สุดแก่ลูกค้า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์และระดับความสามารถในการ ยอมรับความเสี่ยงของลูกค้าเป็นสำคัญ
ในปี 2567 บริษัทหลักทรัพย์ฯ มีเป้าหมายในการพัฒนาการให้บริการแก่ลูกค้าอย่างต่อเนื่อง โดยประสานงานกับส่วนงาน ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดพอร์ทการลงทุนให้แก่ลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าลงทุนในกองทุนรวมหลากหลายประเภทมากขึ้น และคัดเลือกพอร์ต การลงทุนตามวัตถุประสงค์การลงทุนของลูกค้า ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงในการลงทุน และเพิ่มโอกาสในการสร้างผลตอบแทนที่ดีใน สถานการณ์เศรษฐกิจทั่วโลกมีความผันผวนและบริการลูกค้าให้เข้าถึงข้อมูลการลงทุนผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น
8. ธุรกิจตราสารหนี้
บริษัทหลักทรัพย์ฯ เพิ่มธุรกิจซื้อขายตราสารหนี้ขึ้นเพื่อเป็นทางเลือกในการลงทุนให้กับลูกค้า ซึ่งเป็นการลงทุนที่ให้
ผลตอบแทนสูง มีความเสี่ยงต่ำ อีกทั้งยังเลือกระยะเวลาการลงทนได้ การซื้อขายตราสารหนี้สามารถทำได้หลายระดับ โดยลูกค้าสามารถ
ติดต่อบริษัทหลักทรัพย์ฯ เพื่อทำการตกลงซื้อขายระหว่างกันเอง หรือกับผู้ค้าตราสารหนี้ เพื่อตกลงราคาและปริมาณตราสารหนี้ที่ลูกค้า ต้องการซื้อขาย โดยลูกค้าสามารถเลือกลงทุนในตราสารหนี้ที่มีระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมกับตนเอง และสามารถเลือกระยะเวลาการ ลงทุนตามที่ตนเองต้องการได้
9. ธุรกิจธนบดีธนกิจ
บริษัทหลักทรัพย์ฯ ให้ความสำคัญกับการวางแผนทางการเงินที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ และเป็นการสร้าง ผลตอบแทนจากการลงทุนที่มีการเติบโตอย่างยั่งยืน บริษัทหลักทรัพย์ฯ มีฝ่ายธนบดีธนกิจที่ได้คัดสรรบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์ในการดูแลลูกค้าและแนะนำด้านการลงทุน เพื่อเป็นที่ปรึกษาของผู้ลงทุน ให้คำแนะนำด้านการวางแผนการลงทุนเพื่อ เพิ่มโอกาสและทางเลือกการลงทุนในผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายที่เหมาะสมเป้าหมายและความเสี่ยงของผู้ลงทุนทั้งกลุ่มลูกค้าบุคคลและ กลุ่มลูกค้านิติบุคคล เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายการลงทุนที่ได้ตั้งไว้
10. ธุรกิจการจัดการกองทุนส่วนบุคคล
บริษัทหลักทรัพย์ฯ ได้รับอนุญาตจากสำนักงาน ก.ล.ต. ให้เริ่มประกอบธุรกิจการจัดการกองทุนส่วนบุคคล เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2560 บริษัทหลักทรัพย์ฯ ให้บริการด้านการจัดการลงทุนแก่ลูกค้าบุคคลรายใหญ่ (High Net Worth) ลูกค้าสถาบัน และลูกค้า ประเภทนิติบุคคล ทั้งในและต่างประเทศ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 มีสินทรัพย์ภายใต้การบริหารเป็นจำนวนทั้งสิ้น 1,640,062,935.29 บาท
บริษัทหลักทรัพย์ฯ มุ่งเน้นเสนอนโยบายพอร์ตลงทุนในรูปแบบใหม่ที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองความต้องการทางการเงิน และสร้างผลตอบแทนที่ดีที่สุดให้แก่ลูกค้าได้ตรงตามที่ต้องการภายใต้ระดับความเสี่ยงที่ลูกค้ากำหนดได้เอง โดยทีมผู้จัดการกองทุน ผู้ซึ่ง มีประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญในการบริหารกองทุนมาอย่างยาวนาน รวมถึงมีกระบวนการจัดการลงทุนที่ชัดเจน พร้อมด้วยระบบ เครื่องมือการลงทุนที่เป็นมาตรฐานสากล นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้พัฒนาระบบควบคุมความเสี่ยงเพื่อประเมินความเสี่ยงของพอร์ตลงทุน อย่างใกล้ชิด
ในปี 2566 แม้ว่าดัชนีตลาดหลักทรัพย์ในปีที่ผ่านมาค่อนข้างผันผวน และให้ผลตอบแทนติดลบถึง 17.29% ซึ่งถือว่า Underperform ภูมิภาค หรือต่ำสุดติด 5 อันดับแรกของโลก แต่บริษัทหลักทรัพย์ฯ ยังคงได้รับความไว้วางใจจาก ทั้งลูกค้าใหม่และ ลูกค้าเดิมนำเงินลงทุนมาให้บริหารเพิ่มเติม ไม่ว่าจะเป็น ลูกค้าสถาบัน องค์กรรัฐวิสาหกิจ นิติบุคล รวมถึง กลุ่ม High net worth และมี แผนประชาสัมพันธ์ฐานลูกค้าอย่างต่อเนื่อง ผ่านทางช่องทางผู้แนะนำการลงทุน Online หรือพันธมิตรจากต่างประเทศ
ในปี 2567 บริษัทหลักทรัพย์ฯ มีแผนจะขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศผ่านกองทุน ETF ต่างๆ และสินทรัพย์ทางเลือก (Alternative investment) รวมถึงใช้เทคโนโลยีมาช่วยบริหารพอร์ตลงทุนเพื่อการกระจายความเสี่ยงและเปิดโอกาสสร้างผลตอบแทน ที่มากขึ้นให้กับนักลงทุนจากการลงทุนในสินทรัพย์ทั่วโลก และผู้จัดการกองทุนพร้อมแสวงหาโอกาสการลงทุนให้ลูกค้าอย่างสม่ำเสมอ บริษัทฯ มุ่งเน้นสร้างผลตอบแทนที่ดีกว่าเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อสร้างความมั่งคั่งให้กับลูกค้า และยึดมั่นหลักจรรยาบรรณและมาตรฐาน วิชาชีพ ทั้งนี้ บริษัทหลักทรัพย์ฯ ตั้งเป้าหมายที่จะมีทรัพย์สินภายใต้การบริหารกองทุนส่วนบุคคล (Asset Under Management) จำนวน 4,000 ล้านบาท ภายในปี 2567
11. ธุรกิจการออกและเสนอขายตราสารอนุพันธ์ประเภท Structured Notes
บริษัทหลักทรัพย์ฯ ได้รับอนุญาตจากสำนักงาน ก.ล.ต. เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2561 ให้เป็นผู้ค้าสัญญาซื้อขายล่วงหน้า และ ได้รับอนุญาตให้ออกและเสนอขายหุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง
สายงาน Equity Derivatives เป็นหน่วยงานหลักในการออกและเสนอขายตราสารทางการเงิน หุ้นกู้ที่มีอนุพันธ์แฝง
(Structured Notes) โดยตามทิศทางการทำธุรกิจของบริษัทหลักทรพย์ฯ ที่มุ่งเน้นการให้บริการที่ครบวงจรและสินค้าที่หลากหลาย
ตอบสนองความตองการของทั้งนักลงทุนทั่วไป นักลงทุนรายใหญ่ (High Net Worth) และนักลงทุนสถาบัน ทางสายงาน Equity
Derivatives จึงเริ่มจากการออกหุ้นกู้ที่มีอนพันธ์แฝง (Structured Notes) เพื่อเสนอขายต่อนักลงทุนรายใหญ่ และนักลงทุนสถาบัน
3. ภาวะตลาดและการแข่งขันในธุรกิจหลักทรัพย์ (การตลาดและการแข่งขัน)
ภาพรวมตลาดหลักทรัพย์ฯ ในปี 2566 ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ฯ ปิด ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2566 ที่ระดับ 1,415 ลดลง 252 จุด
จากระดับ 1,668 จุด ณ สิ้นปี 2565 โดยวันทำการวันแรกของปี 2566 ดัชนีเปิดตัวที่ระดับ 1,675 จุด โดยตลาดหุ้นไทยได้รับแรงกดดัน จากการปรับขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารในหลายประเทศเพื่อสกัดเงินเฟ้อท่ามกลางความกังวลการชะลอตัวของเศรษฐกิจหากนโยบายอัตรา ดอกเบี้ยระดับสูงต้องคงไว้ยาวนานจากภาวะเงินเฟ้อโลกที่ยังคงอยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายของธนาคารกลางสำคัญในหลายประเทศ แม้เงินเฟ้อจะมีแนวโน้มลดลง นอกจากนี้ยังมีความขัดแย้งเชิงภูมิรัฐศาสตร์ในตะวันออกกลางระหว่างอิสราเอลและฮามาสที่ส่งผลต่อ
ความผันผวนของราคาน้ำมัน ส่วนภาคเศรษฐกิจไทยก็เติบโตได้อย่างชะลอตัวจากการฟนตัวได้ช้าของเศรษฐกจิ ประเทศจีนหลังสิ้นสุดการ
ควบคุมโควิด-19 เนื่องจากปัญหาในภาคอสังหาริมทรัพย์และมาตรการกีดกันการค้าของสหรัฐอเมริกาในด้านเทคโนโลยีซึ่งส่งผลกระทบ มายังภาคการส่งออกและจำนวนนักท่องเที่ยวในไทย ในขณะที่การจัดตั้งรัฐบาลของไทยหลังจากการเลือกตั้งมีความล่าช้าและมีความ กังวลจากผลของนโยบายทางเศรษฐกิจที่กระทบต่อกิจการในตลาดทุนกดดันให้ดัชนีปรับลดลงร้อยละ 15.15 จากสิ้นปีก่อน
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการลงทุนในปี 2566
• สหรัฐอเมริกาที่จะปรับตัวเพิ่มขึ้น รวมถึงความกังวลของการเกดสงครามความขัดแย้งในตะวันออกกลางระหว่างอิสราเอล-ฮามาส จนนำไปสู่การขยายตัวสู่สงครามระดับภูมิภาคซึ่งจะส่งผลต่อราคาอาหารและพลังงานโลก
• ธนาคารกลางในหลายประเทศสำคัญรวมถึงธนาคารแห่งประเทศไทยยังคงปรับขึ้นดอกเบี้ยในอัตราที่สูงเพื่อสกัดค่าเงินเฟ้อที่สูงขึ้น แต่มีแนวโน้มผ่อนคลายจากเงินเฟ้อที่ชะลอตัวลงในช่วงท้ายของปี
• โอกาสการเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยในหลายประเทศจากต้นทุนทางการเงินที่อยู่ในระดับสูงและการเกิดปัญหาด้านสภาพคล่อง ของสถาบันการเงินและคุณภาพสินทรัพย์ที่ด้อยลง
• ความกังวลการยุติการจ่ายงบประมาณให้กับหน่วยงานต่างๆในสหรัฐอเมริกาหากไม่สามารถผ่านร่างกฏหมายงบประมาณได้ ต่อผลกระทบต่อ GDP ของสหรัฐอเมริการวมถึงการถูกปรับลดอันดับเครดิตของประเทศสหรัฐอเมริกาจากสถานะการคลัง ที่ถดถอยลง
• ภาวะเศรษฐกิจจีนที่มีความเสี่ยงในภาคอสังหาริมทรัพย์ซึ่งมีการผิดนัดชำระดอกเบี้ยพันธบัตรของผู้ประกอบการบริษัทพัฒนา อสังหาริมทรัพย์รายใหญ่จนนำไปสู่การบริโภคในประเทศที่ชะลอตัวลงซึ่งส่งผลมายังการส่งออกและการท่องเที่ยวของไทย และภูมิภาค
• ผลการจัดตั้งรัฐบาลไทยและนโยบายทางเศรษฐกิจและมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลชุดใหม่ที่มีผลต่อการเติบโตของ เศรษฐกิจไทยและกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
เหตุการณ์สำคญในปี 2566
ครึ่งแรกของปี : SET INDEX ในช่วงมกราคม 2566 การปรับตัวเพิ่มขึ้นซึ่งทำจุดสูงสุดของปีที่ระดับ 1,695 จุด จากความ คาดหวังของการฟื้นตัวหลังประเทศจีนเปิดประเทศและจำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นแต่ต้องเผชิญทั้งแรงกดดันจากตัวเลขเงินเฟ้อใน สหรัฐอเมริกาที่ยังอยู่ในระดับสูงถึง 6% ในเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งส่งผลต่อความกังวลในการปรับขึ้นดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลาง สหรัฐอเมริกาที่มากกว่าคาด และต้นเดือนมีนาคมได้เกิดปัญหาในภาคธนาคารของสหรัฐฯ ได้แก่ ธนาคารซิลิคอนแวลลีย์ (Silicon Valley Bank) ล้มละลายก่อนที่จะถูกขายกิจการให้กับ ธนาคารเฟิร์สซิติเซน และในฝั่งของยุโรปนั้นสถาบันการเงินขนาดใหญ่ระดับโลก ในสวิตเซอร์แลนด์อย่างเครดิต สวิส (Credit Suisse) เกิดปัญหาด้านสภาพคล่อง ก่อนที่ธนาคารแห่งชาติสวิส (Swiss National Bank) ได้ให้การสนับสนุนการเข้าซื้อกิจการโดยธนาคาร UBS เพื่อรักษาเสถียรภาพทางการเงินและปกป้องเศรษฐกิจของสวิสเซอร์แลนด์ กดดัน ให้ดัชนีปิด ณ สิ้นไตรมาสที่ 1 ปี 2566 ที่ระดับ 1,609 จุด ปรับตัวลดลง 66 จุด ขณะที่ในไตรมาส 2 ปี 2566 ความกังวลต่อสภาวะ เศรษฐกิจถดถอยของสหรัฐอเมริกายังคงมีอยู่และเป็นช่วงเวลาของการเลือกตั้งภายในประเทศซึ่งเกิดความไม่ชัดเจนในพรรคที่จะได้เป็น แกนนำการจัดตั้งรัฐบาลหลังผลของการเลือกตั้งและความกังวลต่อนโยบายทำลายทุนผูกขาดของกิจการในตลาดทุนของบางพรรค การเมือง อีกทั้งการเกิดแรงขายจากนักลงทุนต่างชาติจากผลของความแตกต่างดอกเบี้ยนโยบายสหรัฐอเมริกาที่สูงกว่าประเทศไทย กดดันให้ค่าเงินบาทอ่อนค่าเร่งให้เกิดภาวะเงินทุนไหลออก ประกอบกับเศรษฐกิจไทยเติบโตช้ากว่าที่นักวิเคราะห์ คาดจากภาคการ ส่งออกที่ถดถอยโดยตัวเลขการส่งออกและการนำเข้าของไทยในช่วงครึ่งแรกของปี 2566 มีการหดตัวร้อยละ 5.4 และร้อยละ 3.5 ตามลำดับ ในขณะที่ภาคการท่องเที่ยวแม้มีการฟื้นตัวจากการเปิดประเทศหลังภาวะ Covid-19 แต่ยังมีนักท่องเที่ยวจีนเดินทางเข้ามา น้อยกว่าคาด ดัชนีหุ้นไทยยังคงลดลงและทำจุดต่ำสุดตั้งแต่ต้นปีที่ระดับ 1,461
ครึ่งหลังของปี : แม้ในช่วงไตรมาสที่ 3 ปี 2566 ดัชนี SET INDEX จะได้รับแรงหนุนจากการปรับตัวขึ้นของหุ้นกลุ่มพลังงาน ตามราคาน้ำมันที่สูงขึ้น แต่หุ้นกลุ่มพลังงานยังเจอแรงขายจากความกังวลนโยบายลดค่าไฟฟ้า การตรึงราคาขายปลีกน้ำมัน อีกทั้งการ จัดหาเงินทุนสำหรับนโยบาย Digital Wallet ของรัฐบาลชุดใหม่ยังขาดความชัดเจนและมีความกังวลผลต่อเสถียรภาพการคลังของไทย
ทำให้อัตราผลตอบแทนพนธบัตรไทยเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่ยังมีแรงกดดันของการปรับตัวเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรสหรัฐกดดันให้
SET INDEX ปรับตัวลดลงอย่างรวดเร็วในเดือนกันยายน 2566 มาปิดที่ระดับ 1471จุด สวนทางกับที่นักลงทุนคาดหวังกับ Post Election Rally ตามสถิติย้อนหลัง และในช่วงต้นของเดือนตุลาคม 2566 ได้เกิดสถานการณ์สงครามในตะวันออกกลางระหว่าง อิสราเอลและฮามาสซึ่งมีแนวโน้มยืดเยื้อและส่งผลต่อความผันผวนของราคาน้ำมันและสินทรัพย์ทั่วโลกยังคงกดดันให้อัตราดอกเบี้ย พันธบัตรสหรัฐอเมริกาปรับตัวสูงขึ้นก่อนที่สถานการณ์สงครามจะยังมีแนวโน้มอยู่ในบริเวณจำกัด แม้ในช่วงปลายปีหลังทิศทางตัวเลข เงินเฟ้อและท่าทีของธนาคารกลางสำคัญในหลายประเทศมีท่าทีผ่อนคลายนโยบายการเงินประกอบกับเศรษฐกิจสหรัฐฯ อาจไม่เข้าสู่
สภาวะถดถอยรุนแรง ทำให้ตลาดหุ้นในหลายประเทศพลิกฟื้นตัวขึ้นจากอัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริกาทปรับตัวลดลงอย่าง
รวดเร็ว แต่ตลาดหุ้นไทยยังเผชิญกระแสเงินทุนไหลออกของนักลงทุนต่างประเทศจากความกังวลต่อแนวโน้มการเติบโตของกำไรสุทธิ ของบริษัทจดทะเบียนในปี 2566 จากภาคการท่องเที่ยวที่ฟื้นตัวช้าแม้มีมาตรการฟรีวีซ่านักท่องเที่ยวประเทศจีนและภาคการส่งออกที่ หดตัวลงตามภูมิภาคประกอบกับการเบิกจ่ายงบประมาณของภาครัฐที่ล่าช้า อย่างไรก็ดีตลาดหุ้นไทยยังมีแรงซื้อพยุงดัชนีในช่วงท้ายของ ปีจากกองทุนรวมไทยเพื่อความยั่งยืน THAIESG ทำให้ดัชนี SET INDEX ยืนปิดที่ระดับ 1,415 ได้ในช่วงสิ้นปี
มูลค่าการซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ตามกลุ่มนักลงทุนปี 2566 พบว่านักลงทุนต่างชาติขายสุทธิ 192,489.94 ล้านบาท และบัญชี Broker ขายสุทธิ 5,597.46 ล้านบาท ขณะที่นักลงทุนสถาบันซื้อสุทธิ 81,111.43 ล้านบาท และนักลงทุนรายย่อย ซื้อสุทธิ 116,975.98 ล้านบาท
แนวโน้มธุรกิจหลักทรัพย์ปี 2567
มูลค่าการซื้อขายต่อวันของตลาดหลักทรัพย์ในปี 2567 มีแนวโน้มปรับตัวลดลงถึง 28% ซึ่งเป็นไปได้หลายสาเหตุจาก
(1) ดัชนีตลาดหุ้นไทยที่ปรับลงส่งผลให้นักลงทุนประสบภาวะขาดทุน (2) นักลงทุนสถาบันมีบทบาทน้อยลงในตลาดหุ้นไทยเพราะ เม็ดเงินที่หายไปจากกองทุน LTF (3) การหายไปของนักลงทุนต่างชาติเพราะเศรษฐกิจไทยที่เติบโตช้าประกอบกับไม่มีหุ้นอุตสาหกรรม ใหม่ๆ ดังนั้น ธุรกิจหลักทรัพย์จึงควรให้บริการลงทุนต่างประเทศมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นหุ้นรายตัวของต่างประเทศ กองทุนต่างประเทศ หรือสนับสนุนการลงทุนในผลิตภัณฑ์ DR
4. ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ
4.1 ทรัพย์สินถาวรหลัก ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 และวันที่ 31 ธันวาคม 2565 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีสินทรัพย์ถาวรที่ใช้ในการประกอบธุรกิจจำนวน
136.65 ล้านบาท และจำนวน 138.08 ล้านบาท ตามลำดับ ดังนี้
สินทรัพย์ถาวรของบริษัทฯ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 และวันที่ 31 ธันวาคม 2565 บริษัทฯ มีสินทรัพย์ถาวรหลักที่ใช้ในการประกอบธุรกิจที่บริษัทฯ เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์ และไม่มีภาระผูกพันใดๆ ดังนี้
หน่วย: บาท
ประเภท/ลักษณะสินทรัพย์ | มูลค่าตามบัญชีสุทธิ | |
2566 | 2565 | |
ส่วนปรับปรุงอาคารและอุปกรณ์สำนักงาน-สุทธิ | 500,766 | 438,568 |
รวม | 500,766 | 438,568 |
สินทรัพย์ถาวรของบริษัทย่อย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 และวันที่ 31 ธันวาคม 2565 บริษัทย่อยมีสินทรัพย์ถาวรที่เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ และไม่มีภาระผูกพันใดๆ ดังนี้
หน่วย: บาท
ประเภท/ลักษณะสินทรัพย์ | ลักษณะ กรรมสิทธิ์ | มูลค่าตามบัญชี | ภาระ ผูกพัน | |
2566 | 2565 | |||
ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตั้งอยู่เลขที่ 89/23 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร | เป็นเจ้าของ | 69,160,140 | 69,160,140 | - ไม่มี - |
ส่วนปรับปรุงอาคาร เครื่องตกแต่ง และอุปกรณ์ สำนักงาน | เป็นเจ้าของ | 64,394,129 | 64,708,679 | - ไม่มี - |
ยานพาหนะ | เป็นเจ้าของ | 2,585,688 | 3,768,505 | - ไม่มี - |
ส่วนปรับปรุงอาคารสำนักงานระหว่างก่อสร้าง | เป็นเจ้าของ | 10,760 | - | - ไม่มี - |
รวม | 136,150,717 | 137,637,324 |
4.2 ทรัพย์สินที่ไม่มีตัวตนของบริษัทฯ และบริษัทย่อย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 และวันที่ 31 ธันวาคม 2565 บริษัทย่อยมีสินทรัพย์ไม่มีตัวตนมูลค่าสุทธิ จำนวน 291.89 ล้านบาท และ จำนวน 221.25 ล้านบาท ตามลำดับ โดยบริษัทย่อยเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ และไม่มีภาระผูกพันใดๆ ดังนี้
สินทรัพย์ไม่มีตัวตนสุทธิของบริษัทย่อย
หน่วย: บาท
ประเภท | มูลค่าตามบัญชี 2566 2565 | |
ค่าธรรมเนียมการใช้ระบบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหนา้ | 4 | 4 |
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ | 203,110,273 | 127,945,512 |
ใบอนุญาตหลักทรพั ย์ | 2,258,077 | 2,523,644 |
ค่าสมาชกิ ธุรกิจสญั ญาซื้อขายล่วงหน้า | 13,548,451 | 15,141,858 |
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ระหว่างติดตั้ง | 72,973,920 | 75,635,159 |
รวม | 291,890,725 | 221,246,177 |
4.3 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนของบริษัทฯ และบริษัทย่อย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 และวันที่ 31 ธันวาคม 2565 บริษัทย่อยมีอสังหาริมทรัพย์เพอ และจำนวน 35.27 ล้านบาท ตามลำดับ โดยบริษัทย่อยเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ ดังนี้
การลงทุนมูลคาสุทธิ จำนวน 34.18 ล้านบาท
หน่วย: บาท
ประเภท/ลักษณะสินทรัพย์ | ลักษณะ กรรมสิทธิ์ | มูลค่าตามบัญชี | ภาระ ผูกพัน | |
2566 | 2565 | |||
ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตั้งอยู่ที่ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ตั้งอยู่เลขที่ 154/14 - 16 ถนนพังงา ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000 | เป็นเจ้าของ เป็นเจ้าของ | 22,460,000 10,624,000 | 22,460,000 10,739,739 | -มี- - มี - |
อาคาร ตั้งอยู่เลขที่ 50/147 - 155 อาคารฮิลด์ไซด์พลาซ่า แอนด์คอนโดเทล ชั้น 4 ถนนห้วยแก้ว ตำบลช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300 | เป็นเจ้าของ | 3 | 2 | - มี - |
ส่วนปรับปรุงอาคาร เครื่องตกแต่ง และอุปกรณ์ สำนักงาน | เป็นเจ้าของ | 1,093,555 | 2,065,350 | - ไม่มี - |
รวม | 34,177,558 | 35,265,091 |
4.4 สินทรัพย์สิทธิการใช้ของบริษัทฯ และบริษัทย่อย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 และ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีสินทรัพย์สิทธิการใช้มูลค่าสุทธิจำนวน 82.01
ล้านบาท และจำนวน 90.73 ล้านบาท ตามลำดับ ดังนี้
หน่วย: บาท
ประเภท/ลักษณะสินทรัพย์ | มูลค่าตามบัญชีสุทธิ | |
2566 | 2565 | |
สินทรัพย์สิทธิการใช้-สุทธิ ของบริษัทฯ | 8,317,745 | 14,556,053 |
สินทรัพย์สิทธิการใช้-สุทธิ ของบริษัทย่อย | 73,691,443 | 76,170,865 |
รวม | 82,009,188 | 90,726,918 |
นโยบายการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทร่วม
บริษัทฯ มีนโยบายการลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมที่ประกอบธุรกิจ ซึ่งมีศักยภาพที่สามารถสนับสนุนต่อการทำธุรกิจ ของบริษัทฯ รวมถึงธุรกิจอื่นๆ ที่ให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม และมีความเสี่ยงที่ยอมรับได้ พร้อมทั้งที่มีโอกาสในการเติบโต โดยบริษัทฯ จะพิจารณาถึงโอกาสทางธุรกิจ คำนึงถึงความเหมาะสมและประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นเป็นสำคัญ บริษัทฯ จะควบคุมดูแลบริษัท ย่อยด้วยการส่งกรรมการหรือพนักงานระดับสูงเข้าไปเป็นตัวแทนของบริษัทฯ ตามสัดส่วนการถือหุ้น และบริษัทฯ ควรมีสิทธิคัดค้าน (Veto Right) ในเรื่องที่สำคัญๆ ที่จะดำเนินการโดยบริษัทย่อยนั้นๆ การลงทุนในบริษัทดังกล่าวจะต้องผ่านการพิจารณาอนุมัติจาก คณะกรรมการของบริษัทฯ ก่อน และในกรณีที่เป็นการเข้าทำรายการที่เกี่ยวโยงกันจะต้องผ่านการพิจารณาให้ความเห็นชอบจาก คณะกรรมการตรวจสอบอีกด้วย
5. ข้อมูลคณะกรรมการ
ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567 คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการ จำนวน 9 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้
ชื่อ-นามสกุล | ตำแหน่ง | การดำรงตำแหน่งในคณะกรรมการชุดยอ่ ย |
1. นายสดาวุธ เตชะอุบล | ประธานกรรมการ | ประธานกรรมการบริหาร |
2. นายสุรพล ขวญั ใจธัญญา | รองประธานกรรมการ | ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง ประธานกรรมการการลงทุน |
3. นายทอมมี่ เตชะอุบล | กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร | กรรมการการลงทุน |
4. นายเดช นำศิริกุล | กรรมการอิสระ | ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการกำกับดูแลกิจการและความยั่งยืน |
5. นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ | กรรมการอิสระ | ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน |
6. พล.ต.อ.วีรพงษ์ ชื่นภักดี | กรรมการอิสระ | กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประธานกรรมการกำกับดูแลกิจการและความยั่งยืน |
7. นางจิตรมณี สุวรรณพูล | กรรมการอิสระ | กรรมการตรวจสอบ |
8. นางสาวจุฬารัตน์ สุธีธร | กรรมการ | - |
9. นายพิสุทธิ์ วิริยะเมตตากลุ | กรรมการ | - |
กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัท
นายสดาวุธ เตชะอุบล หรือนายทอมมี่ เตชะอุบล คนใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อและประทับตราสำคญ
ของบริษัท
คณะกรรมการบริษัทหลักทรัพย์
ณ วันที่ 29 มีนาคม 2567 คณะกรรมการบริษัทของบริษัทหลักทรัพย์ฯ ประกอบด้วยกรรมการ จำนวน 6 ท่านดังนี้
ชื่อ-นามสกุล | ตำแหน่ง | การดำรงตำแหน่งในคณะกรรมการชุดยอ่ ย |
1. นายสุรพล ขวญั ใจธัญญา | ประธานกรรมการ | - |
2. พล.อ.อ.เพิ่มเกียรติ ลวณะมาลย์ | กรรมการอิสระ | ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน |
3. ดร.ศุภชัย สุขะนินทร์ | กรรมการอิสระ | กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน |
4. นางสาวชาริณี กัลยาณมิตร | กรรมการอิสระ | กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน |
5. นายบ๊อบ เวาเทอร์ส | กรรมการ / ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร | รักษาการประธานกรรมการบริหาร |
6. นางสาวณัฐชรินพร เจษฎาพิสิฐ | กรรมการ | กรรมการบริหาร |
กรรมการผู้มีอำนาจลงนามผูกพันบริษัทหลักทรัพย์
นายสุรพล ขวัญใจธัญญา นายบ๊อบ เวาเทอร์ส และนางสาวณัฐชรินพร เจษฎาพิสิฐ กรรมการสองในสามคนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกัน และ ประทับตราสำคัญของบริษัทหลักทรัพย์ฯ
6. การวิเคราะห์และคำอธิบายของฝ่ายจัดการ (Management Discussion and Analysis : MD&A)
6.1 การวิเคราะห์การดำเนินงานของบริษัทฯ และฐานะการเงิน และปัจจัยหรือเหตุการณ์ที่อาจมีผลต่อฐานะการเงินหรือการ ดำเนินงานอย่างมีนัยสำคัญในอนาคต (forward looking)
ข้อมูลทางการเงินที่สำคัญของบริษัท คันทรี่ กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (“บริษัทฯ”) มีดังนี้
หน่วย : ล้านบาท | |||
2566 | 2565 | 2564 | |
สินทรัพย์รวม | 9,244.38 | 9,007.22 | 9,155.12 |
หนี้สินรวม | 3,315.46 | 3,238.00 | 3,141.63 |
ส่วนของผู้ถือหุ้นรวม | 5,928.92 | 5,769.22 | 6,013.49 |
รายได้รวม | 1,486.78 | 1,485.32 | 2,414.02 |
ค่าใช้จ่ายรวม | 1,681.06 | 1,606.10 | 1,648.20 |
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ | (194.27) | (120.78) | 765.82 |
อัตราส่วนทางการเงินทสี่ ำคญั | 2566 | 2565 | 2564 |
อัตรากำไรสุทธิ (รอยละ) | (13.07) | (8.13) | 31.72 |
อัตราส่วนสินทรพั ย์สภาพคล่องตัวต่อสินทรัพย์รวม (ร้อยละ) | 56.67 | 57.60 | 57.67 |
อัตราส่วนสินทรพั ย์ทกี่ ่อให้เกิดรายได้ต่อสินทรัพย์รวม (ร้อยละ) | 69.52 | 73.37 | 77.73 |
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (เท่า) | 0.56 | 0.56 | 0.52 |
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ
แหล่งที่มาของรายได้หลักของบริษัทฯ ประกอบด้วย รายได้ค่านายหน้า ค่าธรรมเนียมและบริการ กำไรจากเงินลงทุนและตราสาร อนุพันธ์ รายได้ดอกเบี้ยและเงินปันผล ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมเพอื่ ซื้อหลักทรัพย์ และส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม โดยสัดส่วนของรายได้ หลักแต่ละประเภท รวมถึงการเติบโตแสดงได้ดังนี้
หน่วย : ล้านบาท
โครงสร้างรายได้ | 2566 | 2565 | 2564 | |||
จำนวน | ร้อยละ | จำนวน | ร้อยละ | จำนวน | จำนวน | |
รายได้ค่านายหน้า | 1,010.45 | 67.97 | 1,176.97 | 79.24 | 1,336.29 | 55.36 |
รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ | 93.25 | 6.27 | 98.47 | 6.63 | 117.45 | 4.87 |
รายได้ดอกเบี้ย | 200.91 | 13.52 | 139.30 | 9.38 | 145.76 | 6.04 |
กำไรจากเงินลงทุนและตราสารอนุพันธ์ | 60.58 | 4.07 | 59.51 | 4.01 | 109.71 | 4.54 |
เงินปันผลรับ | 10.92 | 0.73 | 9.43 | 0.63 | 12.37 | 0.51 |
ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม | 70.81 | 4.76 | (40.93) | (2.76) | 616.50 | 25.54 |
รายได้อื่น | 39.86 | 2.68 | 42.57 | 2.87 | 75.94 | 3.14 |
รวม | 1,486.78 | 100.00 | 1,485.32 | 100.00 | 2,414.02 | 100.00 |
ผลการดำเนินงานของบริษัทฯ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2566 ซึ่งผ่านการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแล้วมีดังนี้
หน่วย: ล้านบาท
งบกำไรขาดทุน | สำหรับปีสิ้นสุดวันท่ี 31 ธันวาคม | |||
2566 | 2565 | เปลี่ยนแปลง | ร้อยละ | |
รายได้ | 1,415.97 | 1,526.25 | (110.28) | (7.23) |
ค่าใช้จ่าย | 1,725.17 | 1,552.54 | 172.63 | 11.12 |
ส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม | 70.81 | (40.93) | 111.74 | (273.00) |
กำไรก่อนภาษีเงินได้ | (238.39) | (67.22) | (171.17) | 254.64 |
รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้ | 44.12 | (53.56) | 97.68 | (182.37) |
กำไรสำหรับปี | (194.27) | (120.78) | (73.49) | 60.85 |
ในปี 2566 บริษัทฯ ขาดทุนสุทธิจำนวน 194.27 ล้านบาท ขาดทุนเพิ่มขึ้นจำนวน 73.49 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 60.85
เมื่อเปรียบเทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อน มาจากปัจจัยต่างๆ ดังนี้
1. บริษัทฯ มีรายได้รวมจำนวน 1,415.97 ล้านบาท ลดลงจำนวน 110.28 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 7.23 จากรายได้รวมของ ปีก่อนจำนวน 1,526.25 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้
• รายได้ค่านายหน้าลดลง จำนวน 166.52 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.15 เมื่อเปรียบเทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการลดลงของมูลค่าการซื้อขายหลักทรัพย์ ซึ่งผันผวนตามมูลค่าการซื้อขายรายวันเฉลี่ยที่ลดลงของตลาดในภาพรวม อันดับของหลักทรัพย์และส่วนแบ่งการตลาดของบริษัทปรับตัวลดลงเล็กน้อย ในขณะที่รายได้ค่านายหน้าจากการซื้อขาย สัญญาซื้อขายล่วงหน้าเพิ่มขึ้น ตามปริมาณมูลค่าการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่เพิ่มขึ้น ทำให้ส่วนแบ่งการตลาดของ บริษัทเพิ่มขึ้นตามลำดับ โดยส่วนอันดับของหลักทรัพย์ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับปีก่อน
• รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ ลดลงจำนวน 5.22 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 5.30 ส่วนใหญ่มาจากการลดลงของรายได้ค่าที่ ปรึกษาทางการเงิน ในขณะที่รายได้จากการจัดจำหน่ายหลักทรัพย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน
• รายได้ดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น 61.61 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 44.23 เมื่อเปรียบเทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากการการ ปรับตัวเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ยของตลาดในภาพรวม
• กำไรจากเงินลงทุนและตราสารอนุพันธ์เพิ่มขึ้น 1.07 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.8 เมื่อเปรียบเทียบกับงวดเดียวกันของปีก่อน หน้า
• รายได้อื่นลดลง 2.71 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 6.37 ผลจากการลดลงของกำไรทางบัญชีจากการปรับมูลค่าเงินลงทุนใน ต่างประเทศของบริษัทฯ
2. บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายรวมจำนวน 1,725.17 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 172.63 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 11.12 เมื่อเปรียบเทียบ กับปีก่อน โดยมีรายละเอียดดังนี้
• ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานเพิ่มขึ้น จำนวน 110.00 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.57 เมื่อเปรียบเทียบกับงวดเดียวกันของ ปีก่อน เนื่องจากการลงทุนในเทคโนโลยีสารสนเทศและแอปพลิเคชันของบริษัทย่อย ส่งผลให้มีการเพิ่มขึ้นของพนักงานในสาย งานเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการเพิ่มขึ้นของพนักงานในธุรกิจนายหน้าซื้อขาย
• ค่าธรรมเนียมและบริการจ่าย ลดลง 2.95 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.09 ซึ่งลดลงแปรผันตามการลดลงของรายได้ค่า นายหน้า
• ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงินเพิ่มขึ้น 9.61 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 300.31 เมื่อเปรียบเทียบกับงวด เดียวกันของปีก่อน สาเหตุหลักมาจากการกลับรายการผลขาดทุนที่เคยประมาณการไว้ โดยบริษัทย่อยได้รับชำระหนี้คืนใน ระหว่างปี
• ค่าใช้จ่ายอื่นเพิ่มขึ้น จำนวน 54.28 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.89 สาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่า ตัดจำหน่ายและบำรุงรักษาซอฟต์แวร์ และ ค่าใช้จ่ายข้อมูลและการสื่อสารที่เพิ่มขึ้นของธุรกิจหลักทรัพย์ เนื่องจากการลงทุน ในเทคโนโลยีสารสนเทศและแอปพลิเคชันของบริษัทย่อย ซึ่งเป็นไปตามกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษัทฯ
3. บริษัทฯ มีส่วนแบ่งกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมจำนวน 70.81 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 111.74 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ
273.03 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อนที่มีส่วนแบ่งขาดทุนจำนวน 40.93 ล้านบาท โดยบริษัท เบาด์ แอนด์ บียอนด์ จำกัด (มหาชน) มีผลกำไรสุทธิ 158.17 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 146.26 ในขณะที่บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จำกัด (มหาชน) มีผลกำไรสุทธิ 189.02 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 14.52
งบแสดงฐานะทางการเงินรวม
หน่วย : ล้านบาท
2566 | 2565 | เพิ่มขึ้น (ลดลง) | ร้อยละ | |
สินทรัพย์รวม | 9,244.38 | 9,007.22 | 237.16 | 0.03 |
หนี้สินรวม | 3,315.46 | 3,238.00 | 77.46 | 0.02 |
รวมส่วนของบริษัทใหญ่ | 5,566.79 | 5,755.22 | (188.43) | (0.03) |
ส่วนได้เสียทไี่ ม่มีอำนาจควบคุม | 362.13 | 14.00 | 348.13 | 24.87 |
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น | 5,928.92 | 5,769.22 | 159.7 | 0.03 |
รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น | 9,244.38 | 9,007.22 | 237.16 | 0.03 |
สินทรัพย์รวม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวมทั้งสิ้นจำนวน 9,244.38 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 237.16 ล้านบาท หรือ
ร้อยละ 2.63 เมื่อเปรียบเทียบกับสินทรัพย์รวมปีกอนที่จำนวน 9,007.22 ล้านบาท
การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์ของบริษัทฯ ที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้
หน่วย: ล้านบาท
สินทรัพย์ที่สำคญั | 2566 | ร้อยละ | 2565 | ร้อยละ |
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด | 1,271.82 1,946.40 252.08 1,586.16 | 13.76 | 1,090.85 | 12.11 |
สินทรัพย์ทางการเงินอื่น | 21.05 | 2,257.10 | 25.06 | |
ลูกหนี้สำนักหักบัญชีและบริษัทหลักทรพั ย์ | 2.73 | 225.30 | 2.50 | |
ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรพั ย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า | 17.16 | 1,499.61 | 16.65 | |
เงินลงทุนในบริษัทร่วม | 2,642.24 1,545.68 | 28.58 | 2,626.16 | 29.16 |
อื่น ๆ | 16.72 | 1,308.20 | 14.52 | |
รวม | 9,244.38 100.00 | 9,007.22 | 100.00 |
1. บริษัทฯ มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดจำนวน 1,271.82 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 180.97 ล้านบาท หรือร้อยละ 16.59 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อนที่จำนวน 1,090.85 ล้านบาท เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดของบริษัทย่อย ซึ่งโดยส่วนใหญ่เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดของบริษัทฯ จะอยู่ในรูปเงินสด และเงินฝากระยะสั้น เพื่อให้มีความคล่องตัวใน การนำมาใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนสำหรับการดำเนินงานประจำวัน ยอดเปลี่ยนแปลงสุทธิของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลดลงจากการดำเนินงาน 258.86 ล้านบาท ในขณะที่เพิ่มขึ้นจากกิจกรรมการลงทุน และการจัดหาเงิน 28.08 ล้านบาท และ
411.75 ล้านบาท ตามลำดับ
2. บริษัทฯ มีสินทรัพย์ทางการเงินรวมจำนวน 1,946.40 ล้านบาท ลดลงจำนวน 310.70 ล้านบาท หรือร้อยละ 13.77 เมื่อ เปรียบเทียบกับปีก่อนที่จำนวน 2,257.10 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้
หน่วย : ล้านบาท | ||
รายละเอียดของเงินลงทุน | 2566 | 2565 |
สินทรัพย์ทางการเงินหมุนเวียนอนื่ | 1,313.95 | 1,506.98 |
หน่วยลงทุน | 30.49 | - |
หลักทรพั ย์จดทะเบียน | 356.23 | 443.62 |
ตราสารหนี้ | 837.02 | 973.15 |
เงินฝากในสถาบันการเงิน | 90.21 | 90.21 |
สินทรัพย์ทางการเงินไม่หมุนเวียนอื่น | 632.45 | 750.12 |
หน่วยลงทุน | 156.82 | 193.15 |
หลักทรพั ย์จดทะเบียน | 212.82 | 286.30 |
ตราสารหนี้ | 180.88 | 166.09 |
หลักทรพั ย์หุ้นทุน | 31.60 | 6.16 |
ตราสารแปลงสภาพ | 50.33 | 98.42 |
รวม | 1,946.40 | 2,257.10 |
เงินลงทุนส่วนใหญ่เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียน และตราสารหนี้ โดยหลักทรัพย์จดทะเบียนลดลงจำนวน 160.88 ล้านบาท และ ตราสารหนี้ลดลง 121.35 ล้านบาท จากการปรับพอร์ทการลงทุนของกลุ่มบริษัทเนื่องจากผลกระทบของสภาวะตลาดโดยรวม
บริษัทฯ ได้จัดให้มีคณะกรรมการการลงทุนดูแลการลงทุนในหลักทรัพย์ เพื่อบัญชีบริษัทฯ และบริษัทย่อย ซึ่งทำหน้าที่ในการ กำหนดแนวทางการลงทุนอย่างรอบคอบ พร้อมทั้งบริษัทฯ และบริษัทย่อย ได้รับรู้ค่าเผื่อการปรับมูลค่าและค่าเผื่อการด้อยค่าไว้ ครบถ้วนแล้วตามมาตรฐานการบัญชี และประกาศของสำนักงาน ก.ล.ต.
3. บริษัทฯ มีลูกหนี้สำนักหักบัญชีและบริษัทหลักทรัพย์จำนวน 252.08 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 26.78 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.89 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อนที่จำนวน 225.30 ล้านบาท โดยลูกหนี้สำนักหักบัญชีเป็นยอดมูลค่าขายสุทธิของลูกค้าและบัญชีบริษัท ย่อยในระยะเวลา 2 วันทำการสุดท้ายของปี
4. บริษัทฯ มีลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าจำนวน 1,586.16 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 86.55 ล้านบาท หรือร้อย ละ 5.77 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อนที่จำนวน 1,499.61 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของเงินให้กู้ยืมเพื่อซื้อ หลักทรัพย์จำนวน 160.45 ล้านบาท และลูกหนี้ทรัพย์สินวางหลักประกันจำนวน 43.36 ล้านบาท ในขณะที่ลูกหนี้ซื้อหลักทรัพย์ ด้วยเงินสดลดลงจำนวน 119.35 ล้านบาท โดยลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์ซื้อหลักทรัพย์ด้วยเงินสดเป็นยอดมูลค่าซื้อสุทธิของลูกค้าใน ระยะเวลา 2 วันทำการสุดท้ายของปี
5. บริษัทฯ มียอดคงเหลือเงินลงทุนในบริษัทร่วมตามวิธีส่วนได้เสียจำนวน 2,642.24 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 16.08 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 0.61 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อนที่จำนวน 2,626.16 ล้านบาท สาเหตุหลักจากผลการดำเนินงานที่เพิ่มขึ้นของบริษัทร่วม โดยบริษัทฯ รับส่วนแบ่งกำไรเบ็ดเสร็จรวมจำนวน 70.81 ล้านบาท และรับรู้เงินปันผลจากบริษัทร่วมแห่งหนึ่งจำนวน 47.04 ล้าน บาท
ผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
สำหรับนโยบายในการตั้งค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น บริษัทย่อยมีนโยบายในการตั้งค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิต ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น โดยการประเมินฐานะลูกหนี้แต่ละราย ซึ่งการประเมินนี้รวมถึงการพิจารณาความเสี่ยง ในการเรียกชำระและมูลค่าของ หลักประกันที่ใช้ค้ำประกัน บริษัทย่อยตั้งค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้น เมื่อหนี้นั้นมีหลักประกันไม่เพียงพอ หรือมีโอกาส ที่ลูกหนี้จะชำระเงินต้นและดอกเบี้ยคืนไม่ครบจำนวน ทั้งนี้ ยังได้ปฏิบัติตามประกาศของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์เรื่อง “การจัดทำบัญชีเกยี่ วกับลูกหนี้ด้อยคุณภาพของบริษัทหลักทรัพย์” ที่ กธ. 33/2543 ลงวันที่ 25 สิงหาคม 2543 ซึ่งแก้ไขเพมิ่ เติม ตามหนังสือที่ กธ. 5/2544 ลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2544
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 บริษัทย่อยมียอดคงเหลือของลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ซึ่งได้ตั้งค่าเผื่อผล ขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นแล้วจำนวน 372.79 ล้านบาท
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 บริษัทย่อยมีลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่ระงับการรับรู้รายได้จำนวน
394.94 ล้านบาท
หนี้สินรวม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 บริษัทฯ มีหนี้สินรวมทั้งสิ้นจำนวน 3,315.46 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 77.46 ล้านบาท หรือร้อยละ
2.39 เมื่อเปรียบเทียบกับหนี้สินรวมปีก่อนจำนวน 3,238.00 ล้านบาท
การเปลี่ยนแปลงของหนี้สินของบริษัทฯ ที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้
หน่วย: ล้านบาท
หนี้สินที่สำคญั | 2566 | ร้อยละ | 2565 | ร้อยละ |
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน | 600.00 | 18.10 | 500.00 | 15.44 |
หลักทรพั ย์ขายโดยมีสัญญาซื้อคืน | 690.94 | 20.84 | 648.88 | 20.04 |
เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพยแ์ ละสัญญาซื้อขายล่วงหนา้ | 645.25 | 19.46 | 766.11 | 23.66 |
หนี้สินอนุพันธ์ | 2.14 | 0.06 | - | - |
หนี้สินตามสัญญาเช่า | 84.78 | 2.56 | 92.34 | 2.85 |
หุ้นกู้ระยะยาว | 848.31 | 25.59 | 802.98 | 24.80 |
อื่น ๆ | 444.04 | 13.39 | 427.69 | 13.21 |
รวม | 3,315.46 | 100.00 | 3,238.00 | 100.00 |
1. บริษัทย่อยมีเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน จำนวนประมาณ 600 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 100 ล้านบาท หรือร้อยละ 20
เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน จำนวน 500 ล้านบาท จากตั๋วสัญญาใช้เงินที่เป็นธุรกรรมปกติ
2. บริษัทย่อยมีหลักทรัพย์ขายโดยมีสัญญาซื้อคืน จำนวนประมาณ 690.94 ล้านบาท ซึ่งเป็นตราสารหนี้ภาคเอกชนที่ขายโดยมีสัญญาซื้อ คืน เพิ่มขึ้นจำนวน 42.06 ล้านบาท หรือร้อยละ 6.48 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน
3. บริษัทฯ มีเจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าจำนวน 645.25 ล้านบาท ลดลงจำนวน 120.86 ล้านบาท หรือร้อยละ
15.78 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อนที่จำนวน 766.11 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เป็นการลดลงจากเจ้าหนี้ซื้อหลักทรัพย์ด้วยเงินสด จำนวน 204.44 ล้านบาท และการเพิ่มขึ้นจากเจ้าหนี้ธุรกรรมให้ยืมหลักทรัพย์จำนวน 83.58 ล้านบาท
4. บริษัทฯ มีหนี้สินตามสัญญาเช่าจำนวน 84.78 ล้านบาท ลดลงจำนวน 7.56 ล้านบาท หรือร้อยละ 8.19 เมื่อเปรียบเทียบกับปี ก่อนที่จำนวน 92.34 ล้านบาท จากการชำระในระหว่างงวด ส่งผลให้หนี้สินตามสัญญาเช่าลดลง
5. บริษัทฯ มีหุ้นกู้ระยะยาวจำนวน 848.31 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 45.33 ล้านบาท หรือร้อยละ 5.65 สาเหตุหลักมาจากการจ่าย ชำระหุ้นกู้ไม่มีหลักประกันของบริษัทย่อยในระหว่างปี 2566 จำนวน 142.60 ล้านบาท และเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2566 บริษัทฯ ได้ออกหุ้นกู้ประเภทไม่ด้อยสิทธิ มีหลักประกัน ชนิดระบุชื่อผู้ถือ และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ จำนวน 251 ล้านบาท โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อชำระคืนเงินกู้ที่ครบกำหนดและใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจ โดยจะชำระคืนเงินต้นครั้งเดียวทั้งจำนวนในวันที่ 28
เมษายน 2568 และ 2569 โดยมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 5.25 และร้อยละ 5.75 ต่อปี ชำระดอกเบี้ยทุกๆ 3 เดือน
ส่วนของผู้ถือหุ้น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 บริษัทฯ มีส่วนของผู้ถือหุ้นรวมจำนวน 5,928.92 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำนวน 159.70 ล้านบาท หรือ
ร้อยละ 2.77 เมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อนที่มีส่วนของผู้ถือหุ้นรวมจำนวน 5,769.22 ล้านบาท เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอำนาจควบคุม จำนวน 349.30 ล้านบาท จากการรับเงินค่าหุ้นล่วงหน้าของบริษัทย่อย และการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ จำนวน
2.35 ล้านบาท อย่างไรก็ตามมีการลดลงของผลการดำเนินงานระหว่างปี 2566 จำนวนเงิน 191.96 ล้านบาท
หน่วย : ล้านบาท
ผู้ถือหุ้นของ บริษัทใหญ่ | ส่วนได้เสียที่ไม่มี อำนาจควบคุม | รวม | |
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2566 | 5,755.22 | 14.00 | 5,769.22 |
ทุนสำรองตามกฎหมาย | - | - | - |
กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี | (190.79) | (1.17) | (191.96) |
เงินรับค่าหุ้นล่วงหน้า | - | 349.30 | 349.30 |
การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ | 2.35 | - | 2.35 |
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 | 5,566.79 | 362.13 | 5,928.92 |
สภาพคล่องและความเพียงพอของเงินทุน
แหล่งที่มาของเงินทุนในการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ ส่วนใหญ่มาจากเงินทุนของบริษัทเอง และบริษัทย่อย มีวงเงินสินเชื่อ ที่ได้รับจากธนาคารพาณิชย์ต่างๆ เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนและรองรับการประกอบธุรกิจของกลุ่มบริษัท นอกจากนี้กลุ่มบริษัทฯ ได้ออกหุ้นกู้ประเภทไม่ดอยสิทธิ ซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยคงที่โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรองรับการขยายการลงทุนรวมถึงผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม บริษัท สำหรับอัตราส่วนเงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิของบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 และ 2565 มีสัดส่วนร้อยละ 85.54 และ
ร้อยละ 41.16 ตามลำดับ ซึ่งมีอัตราส่วนที่เพียงพอ เมื่อเปรียบเทียบกบ ดำรงไว้ที่ร้อยละ 7
กล่าวโดยสรุป
อัตราขั้นต่ำที่สำนักงาน ก.ล.ต. กำหนดให้บริษัทหลักทรัพย์ต้อง
บริษัทฯ ยังคงเป็นบริษัทที่มีฐานะการเงินที่แข็งแกร่งและมีสภาพคล่องทางการเงินสูง โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566 บริษัทฯ มีเงิน สดและรายการเทียบเท่าเงินสด จำนวน 1,271.82 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 13.76 ของสินทรัพย์รวม) และมีสินทรัพย์ทางการเงิน จำนวน 1,946.40 ล้านบาท (คิดเป็นร้อยละ 21.05 ของสินทรัพย์รวม) นอกจากนี้ บริษัทฯ มีอัตราส่วนสินทรัพย์คล่องตัวต่อสินทรัพย์ รวมที่ร้อยละ 56.67 มีอัตราส่วนสินทรัพย์ก่อรายได้ต่อสินทรัพย์รวมที่ร้อยละ 69.52 และมีอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นอยู่ที่
0.56 เท่า
บริษัทฯ ยังคงทำรายได้ได้อย่างต่อเนื่อง ปรับตัวลงเล็กน้อยจากปีก่อน ร้อยละ 7.23 แม้มูลค่าการซื้อขายรายวันเฉลี่ยที่ลดลง ของตลาดในภาพรวม ในขณะเดียวกันบริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น ร้อยละ 11.12 จากปีก่อน เนื่องจากการลงทุนในเทคโนโลยีสารสนเทศ และแอปพลิเคชันของบริษัทย่อย ซึ่งเป็นไปตามกลยุทธ์ทางธุรกิจของบริษัทฯ ส่งผลให้ในปี2566 บริษัทฯ ขาดทุนสุทธิจำนวน 194.27 ล้านบาท ขาดทุนเพิ่มขึ้นร้อยละ 60.85
บริษัทฯ มีแผนกลยุทธ์หลัก 3 ด้านที่จะขับเคลื่อนธุรกิจสู่ความสำเร็จ ได้แก่
1) การบริหารสินทรัพย์ที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพ
2) การปรับโครงสร้างบริษัทในเครือโดยเน้นความสามารถในการสร้างผลตอบแทนที่ดียิ่งขึ้น รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อ รองรับความต้องการของตลาดการเงิน และ
3) การเข้าซื้อหรือลงทุนกิจการที่มีศักยภาพในการเติบโตสูง
6.2 ข้อมูลทางการเงินที่สำคัญ
งบแสดงฐานะการเงิน
หน่วย : บาท
สินทรัพย์ | งบการเงินรวม | |||||
ณ วันที่ 31 ธันวาคม | ||||||
2566 | ร้อยละ | 2565 | ร้อยละ | 2564 | ร้อยละ | |
สินทรัพย์หมุนเวียน | 13.76 2.51 2.73 17.16 - - 0.37 1.42 14.71 | |||||
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด | 1,271,822,710 | 1,090,846,074 | 12.11 | 907,149,794 | 9.91 | |
ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้หมุนเวียนอื่น | 231,717,860 | 205,807,248 | 2.29 | 131,108,145 | 1.43 | |
ลูกหนี้สำนักหักบัญชีและบริษัท | 252,078,878 | 225,305,609 | 2.50 | 321,905,292 | 3.52 | |
หลักทรัพย์ | ||||||
ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญา | 1,586,161,852 | 1,499,612,549 | 16.65 | 1,765,743,808 | 19.29 | |
ซื้อขายล่วงหน้า | ||||||
สินทรัพย์อนุพันธ์ | - | 1,344,300 | 0.01 | - | - | |
เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บริษัทยอย | - | - | - | - | - | |
เงินให้กู้ยืมระยะยาวแกก่ ิจการอื่น | 34,350,105 | 37,350,105 | 0.41 | - | - | |
ส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี | ||||||
สินค้าคงเหลือ-สินทรัพย์ดิจิทัล | 131,345,340 | 53,616,291 | 0.60 | 108,633,733 | 1.18 | |
สินทรัพย์ทางการเงินหมุนเวียนอื่น | 1,313,949,924 | 1,506,974,440 | 16.73 | 1,692,165,208 | 18.48 | |
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน | 4,821,426,669 | 52.16 | 4,620,856,616 | 51.30 | 4,926,705,980 | 53.81 |
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน | ||||||
สินทรัพย์ทางการเงินไม่หมุนเวียนอื่น | 632,450,541 | 6.84 | 750,121,905 | 8.33 | 552,277,185 | 6.03 |
เงินลงทุนในบริษัทย่อย | - | - | - | - | - | - |
เงินลงทุนในบริษัทร่วม | 2,642,242,291 | 28.58 | 2,626,163,124 | 29.16 | 2,784,572,122 | 30.42 |
เงินลงทุนในโครงการร่วมลงทุน | 56,489,373 | 0.61 | 29,999,900 | 0.33 | 14,999,900 | 0.16 |
เงินให้กู้ยืมระยะยาวแกก่ ิจการอื่น | - | - | - | - | 40,189,863 | 0.44 |
อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน | 34,177,558 | 0.37 | 35,265,091 | 0.39 | 36,356,810 | 0.40 |
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ | 136,651,483 | 1.48 | 138,075,892 | 1.53 | 144,546,855 | 1.58 |
สินทรัพย์สิทธิการใช้ | 82,009,188 | 0.89 | 90,726,918 | 1.01 | 20,167,952 | 0.22 |
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน | 291,890,725 | 3.16 | 221,246,177 | 2.46 | 143,777,626 | 1.57 |
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี | 338,820,716 | 3.67 | 295,984,238 | 3.29 | 303,990,396 | 3.32 |
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น | 208,221,790 | 2.25 | 198,780,026 | 2.20 | 187,532,176 | 2.05 |
รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน | 4,422,953,665 | 47.84 | 4,386,363,271 | 48.70 | 4,228,410,885 | 46.19 |
รวมสินทรัพย์ | 9,244,380,334 | 100.00 | 9,007,219,887 | 100.00 | 9,155,116,865 | 100.00 |
หน่วย : บาท
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น | งบการเงินรวม | |||||
ณ วันที่ 31 ธันวาคม | ||||||
2566 | ร้อยละ | 2565 | ร้อยละ | 2564 | ร้อยละ | |
หนี้สินหมุนเวียน | 600,000,000 690,940,497 334,051,458 48,933,859 645,249,676 2,143,722 51,040,544 533,165,258 - | |||||
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน | 6.49 | 500,000,000 | 5.55 | 305,000,000 | 3.33 | |
หลักทรัพย์ขายโดยมีสัญญาซื้อคืน | 7.47 | 648,885,345 | 7.20 | 306,699,669 | 3.35 | |
เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้หมุนเวยี นอื่น | 3.61 | 366,207,058 | 4.07 | 370,550,778 | 4.05 | |
เจ้าหนี้สำนักหักบัญชีและบริษัทหลักทรัพย์ | 0.53 | 45,717 | 0.0005 | - | - | |
เจ้าหนี้ธุรกิจหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขาย ล่วงหน้า | 6.98 | 766,107,882 | 8.51 | 1,198,254,733 | 13.09 | |
หนี้สินตราสารอนุพันธ์ | 0.02 | - | - | 3,438,531 | 0.04 | |
ส่วนของหนี้สินตามสัญญาเชา่ ที่ถึงกำหนด ชำระภายในหนึ่งปี | 0.55 | 40,722,223 | 0.45 | 15,995,970 | 0.17 | |
ตราสารหนี้ – หุ้นกู้ที่จะครบกำหนด ภายใน 1 ปี | 5.77 | 142,327,205 | 1.58 | 723,959,742 | 7.91 | |
ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย | - | 6,488,298 | 0.07 | 20,854,268 | 0.23 | |
รวมหนี้สินหมุนเวียน | 2,905,525,014 | 31.43 | 2,470,783,728 | 27.43 | 2,944,753,691 | 32.17 |
หนี้สินไม่หมุนเวียน | ||||||
ตราสารหนี้-หุ้นกู้ | 315,140,280 | 3.41 | 660,651,775 | 7.33 | 141,578,558 | 1.55 |
หนี้สินตามสัญญาเช่า | 33,735,667 | 0.36 | 51,622,896 | 0.57 | 4,838,042 | 0.05 |
ประมาณการหนี้สินไม่หมุนเวียนสำหรับ ผลประโยชน์พนักงาน | 52,996,653 | 0.57 | 53,770,173 | 0.60 | 48,675,781 | 0.53 |
หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น | 8,064,133 | 0.09 | 1,170,833 | 0.01 | 1,780,205 | 0.02 |
รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน | 409,936,733 | 4.43 | 767,215,677 | 8.51 | 196,872,586 | 2.15 |
รวมหนี้สิน | 3,315,461,747 | 35.86 | 3,237,999,405 | 35.94 | 3,141,626,277 | 34.32 |
หน่วย : บาท
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) | งบการเงินรวม | |||||
ณ วันที่ 31 ธันวาคม | ||||||
2566 | ร้อยละ | 2565 | ร้อยละ | 2564 | ร้อยละ | |
ส่วนของผู้ถือหุ้น | 6,452,549,062 | 6,452,549,062 | 6,452,549,062 | |||
ทุนเรือนหุ้น | ||||||
ทุนจดทะเบียน | ||||||
หุ้นสามัญ 6,452,549,062 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท | ||||||
ทุนที่ออกและชำระแล้ว | ||||||
หุ้นสามัญ 4,005,547,487 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท ชำระครบแล้ว | 4,005,547,487 | 43.33 | 4,005,547,487 | 43.75 | 4,005,547,487 | 43.75 |
หุ้นสามัญที่ถือโดยบริษัทย่อย | (9,850) | (0.0001) | (9,850) | (0.0001) | (9,850) | (0.0001) |
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ | 741,713,759 | 8.02 | 741,713,759 | 8.23 | 741,713,759 | 8.10 |
สำรองจากการจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ | 2,350,770 | 0.03 | ||||
องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น | (526,785,192) | (5.70) | (516,986,561) | (5.74) | (422,284,459) | (4.61) |
กำไรสะสม | ||||||
จัดสรรแล้ว - ทุนสำรองตามกฎหมาย | 175,084,055 | 1.89 | 175,084,055 | 1.94 | 172,988,468 | 1.89 |
ยังไม่ได้จัดสรร | 1,168,883,988 | 12.64 | 1,349,872,678 | 15.00 | 1,501,749,614 | 16.40 |
รวมส่วนของบริษัทใหญ่ | 5,566,785,017 362,133,570 | 60.22 | 5,755,221,568 | 63.90 | 5,999,705,019 | 65.53 |
ส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุม | 3.92 | 13,998,914 | 0.16 | 13,785,569 | 0.15 | |
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น | 5,928,918,587 | 64.14 | 5,769,220,482 | 64.06 | 6,013,490,588 | 65.68 |
รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น | 9,244,380,334 | 100.00 | 9,007,219,887 | 100.00 | 9,155,116,865 | 100.00 |
หมายเหตุ: เพื่อประกอบในการอ่านงบการเงินรวม โดยควรอ่านคู่กับ “งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะบริษัทฯ สำหรับปีสิ้นสุดวันที่
31 ธันวาคม 2566”
งบกำไรขาดทุนและกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
หน่วย : บาท
งบการเงินรวม | ||||||
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม | ||||||
2566 | ร้อยละ | 2565 | ร้อยละ | 2564 | ร้อยละ | |
รายได้ | ||||||
รายได้ค่านายหน้า | 1,010,446,200 | 67.97 | 1,176,969,120 | 79.24 | 1,336,290,012 | 55.36 |
รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ | 93,246,203 | 6.27 | 98,467,525 | 6.63 | 117,445,947 | 4.87 |
รายได้ดอกเบี้ย | 200,912,672 | 13.52 | 139,296,106 | 9.38 | 145,761,997 | 6.04 |
กำไรจากเงินลงทุนและตราสารอนุพันธ์ | 60,583,400 | 4.07 | 59,512,221 | 4.01 | 109,709,132 | 4.54 |
เงินปันผลรับ | 10,919,681 | 0.73 | 9,432,664 | 0.63 | 12,375,448 | 0.51 |
รายได้อื่น | 39,860,604 | 2.68 | 42,574,604 | 2.87 | 75,941,222 | 3.14 |
ส่วนแบ่งกำไร (ขาดทุน) ของบริษัทร่วมที่ใช้ วิธีส่วนได้เสีย | 70,815,910 | 4.76 | (40,930,122) | (2.76) | 616,498,235 | 25.54 |
รวมรายได้ | 1,486,784,670 | 100.00 | 1,485,322,118 | 100.00 | 2,414,021,993 | 100.00 |
ค่าใช้จ่าย | ||||||
ค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงาน | 985,236,651 | 66.27 | 875,234,340 | 58.93 | 876,172,487 | 36.29 |
ค่าธรรมเนียมและบริการจ่าย | 266,629,607 | 17.93 | 269,575,585 | 18.15 | 284,773,660 | 11.80 |
ผลขาดทุนจากการด้อยค่าสินทรัพย์ทาง การเงิน (กลับรายการ) | 6,405,775 | 0.43 | (3,198,388) | (0.22) | 8,622,757 | 0.36 |
ค่าใช้จ่ายอื่น | 341,579,777 | 22.97 | 287,296,059 | 19.34 | 290,803,382 | 12.05 |
รวมค่าใช้จ่าย | 1,599,851,810 | 107.61 | 1,428,907,596 | 96.20 | 1,451,749,529 | 60.14 |
กำไรจากกิจกรรมดำเนินงาน | (113,067,140) | (7.60) | 56,414,522 | 3.80 | 962,272,464 | 39.86 |
ต้นทุนทางการเงิน | (125,320,644) | (8.43) | (123,632,443) | (8.32) | (118,811,202) | (4.92) |
กำไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้ | (238,387,784) | (16.03) | (67,217,921) | (4.53) | 834,838,505 | 34.58 |
รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้ | 44,115,412 | 2.97 | (53,561,001) | (3.61) | (69,022,014) | (2.86) |
กำไรสำหรับปี | (194,272,372) | (13.07) | (120,778,922) | (8.13) | 765,816,491 | 31.72 |
งบกำไรขาดทุนและกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (ต่อ)
หน่วย : บาท
งบการเงินรวม | ||||||
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม | ||||||
2566 | ร้อยละ | 2565 | ร้อยละ | 2564 | ร้อยละ | |
การแบงปันกำไร (ขาดทุน) สำหรบั ปี | ||||||
ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ | (193,088,599) | (12.99) | (120,983,805) | (8.14) | 764,748,591 | 31.68 |
ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุม | (1,183,773) | (0.08) | 204,883 | 0.01 | 1,067,900 | 0.04 |
กำไร (ขาดทุน) สำหรบั ปี | (194,272,372) | (13.07) | (120,778,922) | (8.13) | 765,816,491 | 31.72 |
การแบงปันกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี | ||||||
ส่วนที่เป็นของบริษัทใหญ่ | (190,787,321) | (12.83) | (244,469,037) | (16.46) | 712,505,040 | 29.52 |
ส่วนที่เป็นของส่วนได้เสียที่ไม่มีอำนาจควบคุม | (1,165,343) | (0.08) | 198,872 | 0.01 | 1,021,092 | 0.04 |
กำไรขาดทุนเบด็ เสร็จรวมสำหรบั ปี | (191,952,665) | (12.91) | (244,270,165) | (16.45) | 713,526,132 | 29.56 |
กำไรต่อหุ้นของผู้ถือหุ้นของบริษัทใหญ่ | ||||||
กำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน | (0.0482) | (0.0302) | 0.1874 | |||
กำไร (ขาดทุน) ต่อหุ้นปรับลด | (0.0482) | (0.0302) | 0.1874 |
6.3 อัตราส่วนทางการเงิน
2566 | 2565 | 2564 | ||
อัตราส่วนแสดงความสามารถในการทำกำไร | ||||
อัตรากำไรขั้นต้น | % | 72.32 | 74.24 | 77.55 |
อัตรากำไรสุทธิ | % | (13.07) | (8.13) | 31.72 |
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น | % | (3.43) | (2.06) | 13.55 |
อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน | % | 7.25 | 3.38 | 17.13 |
อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการดำเนินงาน | ||||
อัตราผลตอบแทนจากสินทรพั ย์ | % | (1.24) | 0.62 | 10.31 |
อัตราการหมุนของสินทรัพย์ | เท่า | 0.16 | 0.16 | 0.26 |
อัตราส่วนวเิ คราะห์นโนยบายทางการเงิน | ||||
อัตราส่วนสินทรพั ย์สภาพคล่องต่อเงินกู้ | เท่า | 3.62 | 3.98 | 4.51 |
อัตราส่วนสินทรพั ย์กอรายได้ต่อเงินกู้ | เท่า | 4.44 | 5.07 | 6.08 |
อัตราส่วนสินทรพั ย์สภาพคล่องต่อสินทรัพย์รวม | % | 56.67 | 57.60 | 57.67 |
อัตราส่วนสินทรพั ย์กอรายได้ต่อสินทรัพย์รวม | % | 69.52 | 73.37 | 77.73 |
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น | เท่า | 0.56 | 0.56 | 0.52 |
อัตราการจ่ายเงินปันผล | % | - | - | - |
อัตราส่วนอื่น | ||||
อัตราส่วนเงินลงทุนในหลักทรัพย์ต่อสินทรัพย์ | เท่า | 49.64 | 54.21 | 54.93 |
เงินกองทุนสภาพคล่องสุทธิของบริษัทย่อย | เท่า | 85.54 | 41.16 | 51.00 |
ข้อมูลต่อหุ้น | ||||
กำไรสุทธิต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน | บาท | (0.0482) | (0.0302) | 0.1874 |
เงินปันผลต่อหุ้น | บาท | - | - | - |
มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น | บาท | 1.48 | 1.44 | 1.50 |
อัตราการเจริญเติบโต | ||||
สินทรัพย์รวม | % | 2.63 | (1.62) | (2.07) |
หนี้สินรวม | % | 2.39 | 3.07 | (22.40) |
รายได้ธุรกิจหลักทรพั ย์ | % | (7.25) | (13.82) | 30.61 |
ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน | % | 11.27 | 31.10 | 32.90 |
กำไร (ขาดทุน) สุทธิ | % | 60.85 | (115.77) | 435.65 |
* อัตราการจ่ายเงินปันผลเฉพาะบริษัทฯ
6.4 ปัจจัยที่อาจมีผลต่อฐานะการเงินหรือผลการดำเนินงานอย่างมีนัยสำคัญในอนาคต
ภาพรวมเศรษฐกิจในปัจจุบันทั้งในและนอกประเทศที่ยังคงไม่ฟื้นตัว อาจส่งผลกระทบต่อฐานะทางการเงินและผลการ ดำเนินงานของบริษัทฯ ไม่ว่าจะเป็นแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย สถานการณ์ทางการเมืองในหลายประเทศ ความผัน ผวนของราคาน้ำมัน นโยบายทางการเงินและเศรษฐกิจของไทยที่มีผลต่อการลงทุนของนักลงทุนทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงความเสี่ยง และความผันผวนจากการลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัล
อีกทั้ง ธุรกิจหลักทรัพย์เป็นธุรกิจที่มีรายได้หลักมาจากการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ ซึ่งขึ้นอยู่กับปริมาณซื้อขาย หลักทรัพย์และค่าธรรมเนียมของลูกค้า โดยพบว่าการแข่งขันในอุตสาหกรรมยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องที่นอกเหนือไปจากการ แข่งขันด้านอัตราค่าธรรมเนียมซื้อขายหลักทรัพย์ ไม่ว่าจะเป็น การขยายสาขาของคู่แข่ง การเกิดขึ้นของคู่แข่งรายใหม่ และการแข่งขัน การให้บริการลูกค้า
ดังนั้น บริษัทฯ จึงต้องเตรียมความพร้อมในการดำเนินธุรกิจเพื่อให้สามารถแข่งขนได้ในระยะยาว จึงมีการดำเนินการปรับแผน
กลยุทธ์การดำเนินธุรกิจโดยเน้นการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ พร้อมขยายฐานลูกค้าที่มีศักยภาพ และมุ่งเน้นธุรกรรมที่มีกำไร จากหลากหลายด้านมากขึ้น รวมทั้งมีแผนนโยบายพัฒนาบุคลากร เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะความรู้ ความสามารถ โดยนำความรู้มา ปรับใช้กับการทำงานหรือปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันให้กับบริษัทฯ ได้