การตีความอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ (CISG)
การตีความอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ (CISG)
xxxxxx xxxxxxxxxxxไชย*
๑. บทนำ
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ (United Nations
Convention on Contracts for the International Sale of Goods หรือที่เรียกว่า CISG) เป็นxxxxxxxx xxxเกิดขึ้นจากความxxxxxxในการสร้างกรอบกฎหมายสำหรับการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศที่เป็นxxxxxx และได้รับการยอมรับมากขึ้น จัดทำขึ้นโดยคณะกรรมาธิการกฎหมายการค้าระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ
(United Nations Commission on International Trade Law หรือ UNCITRAL)๑ ซึ่งได้มีการรับรองเม xxxxxx
๑๑ เมษายน ค.ศ. ๑๙๘๐ และเริ่มมีผลใช้บังคับเมื่อxxxxxx ๑ xxxxxx ค.ศ. ๑๙๘๘ xxxxxxxxxxxxxxxxxxx
๙๓๒ ประเทศ xxxxxxxxxxxเป็นเครื่องมือหรือกลไกสำคัญสำหรับการค้าระหว่างประเทศมากว่า ๓๐ ปี มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการกำหนดระบบกฎหมายที่เป็นธรรม เป็นxxxxxx และเป็นxxxx สำหรับใช้กับสัญญา ซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ ซึ่งจะก่อให้เกิดความแน่นอนในการแลกเปลี่ยนเชิงพาณิชย์และลดค่าใช้จ่าย ในการทำธุรกรรม โดยหลักการสำคัญของอนุสัญญาเป็นการใช้บังคับกับสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างคู่สัญญาxxxx xxxxxxประกอบการอยู่ในรัฐต่างรัฐกัน
ปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ เป็นการเฉพาะ ดังนั้นเมื่อมีกรณีพิพาทเกิดขึ้น ศาลไทยจะบังคับไปตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กรณีที่ไม่มีการตกลงกันชัดเจนในสัญญาและกฎหมายว่าด้วยการขัดกันกำหนดให้ใช้กฎหมายไทยเป็นกฎหมาย ที่ใช้บังคับกับกรณีนั้น โดยที่ผ่านมามีหลาย ๆ หน่วยงานได้เคยมีการศึกษาอนุสัญญา CISG เพื่อใช้เป็นข้อมูล เพื่อประกอบการพิจารณาพัฒนากฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศของไทย แต่ยังไม่มีการ xxxxxxการเสนอเรื่องเพื่อการตัดสินใจในทางนโยบาย จนกระทั่งต่อมาคณะกรรมการxxxxxxกฎหมายได้ เห็นความสำคัญของการพัฒนากฎหมายด้านการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศของประเทศไทย โดยเห็นควร ให้มีกฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศขึ้นมา เพื่อxxxxxxxการตาม CISG โดยนำหลักการสำคัญ ของ CISG มาเป็นแนวทางในการร่างกฎหมายดังกล่าวให้เหมาะสมกับประเทศไทย เพื่อสร้างความxxxxxxxxx แก่ผู้ประกอบการ ที่สำคัญประเทศจะได้รับประโยชน์ด้านการค้าการลงทุนที่จะเกิดมีขึ้นในระยะยาวสำหรับ
* ผู้อำนวยการกองกฎหมายต่างประเทศ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
๑ โดยศึกษาปรับปรุงจากอนุสัญญาสองฉบับที่จัดทำโดย International Institiute for the Unification
of Private Law (UNIDROIT) ได้แก่ อนุสัญญาว่าด้วยการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ และอนุสัญญาว่าด้วยการก่อให้เกิด สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ ซึ่งได้รับการรับรองในปี ค.ศ. ๑๙๖๔ แต่ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ในวงกว้าง
๒ ข้อมูลจากเว๊บไซด์ xxxxx://xxxxxxxx.xx.xxx/xx/xxxxx/xxxxxxxxx/xxxxxxxxxxx/xxxx_xx_xxxxx/ cisg/status เมื่อxxxxxx ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยมีเหตุผลที่สำคัญประการหนึ่งคือ ในปัจจุบันเวทีการค้าโลกได้ขยายตัว ไปอย่างมากและรวดเร็ว การเข้าร่วมเป็นภาคี CISG ของประเทศไทย จะทำให้ผู้ประกอบกิจการการค้าพาณิชย์ ไทยxxxxxxใช้ประโยชน์จากกฎหมายที่มีความเป็นกลางและเป็นมาตรฐานเดียวกับนานาประเทศ ซึ่งเหมาะสม สำหรับการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นกฎหมายที่ใช้สำหรับการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ โดยเฉพาะ xxxxxxช่วยลดข้อยุ่งยากและความไม่แน่นอนในการเลือกใช้กฎหมายไปได้ในส่วนใหญ่ เพราะ CISG มีหลักการเกี่ยวกับการเกิดสัญญา xxxxxหน้าที่ของคู่สัญญา การเยียวยาความเสียหาย การเลิก สัญญา และผลแห่งการเลิกสัญญาxxxxxxxxครบถ้วน ซึ่งเป็นการลดปัญหาการบังคับใช้กฎหมายหลายฉบับ และช่วยให้เกิดความแน่นอนและง่ายต่อการปรับใช้กฎหมายมากขึ้นกว่าที่เป็นอยู่เดิม อีกทั้งหากประเทศไทย ยังxxใช้หลักการเดิมของxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายไทยจะมีความแตกต่างจากกฎหมายของ ประเทศคู่ค้าที่เป็นภาคีของ CISG อันจะกลายเป็นอุปสรรคทางกฎหมาย ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและระบบ การค้าระหว่างประเทศของไทย นอกจากนี้ คู่สัญญาจากประเทศไทยมักจะxxxxxxxการต่อรองทางการค้า ที่ต่ำกว่าคู่สัญญาจากประเทศคู่ค้า ซึ่งอาจส่งผลให้xxxxxxxxxxxxxxxต้องถูกบังคับให้ยอมรับใช้กฎหมาย ซึ่งตนยังxxxxxxxxxxและไม่รู้จัก
ดังนั้น ผู้เขียนจึงขอxxxxxxxxxxxสร้างความเข้าใจในหลักการและสาระสำคัญของอนุสัญญาเพื่อ
เตรียมความพร้อมเมื่อประเทศไทยxxxxxxxจะเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาดังกล่าว ในบทความนี้ ผู้เขียนจึงได้สรุป สาระสำคัญของอนุสัญญาดังกล่าวในหัวข้อที่ ๒. ส่วนหัวข้อที่ ๓. ผู้เขียนจะเน้นไปที่หลักทั่วไปของxxxxxxxx xxxกล่าวไว้ในข้อ ๗ ของอนุสัญญา CISG ซึ่งใช้เป็นหลักในการอุดช่องว่างของอนุสัญญาในกรณีที่ไม่มีบทบัญญติ เรื่องดังกล่าวกำหนดไว้อย่างชัดแจ้งในอนุสัญญา เพื่อให้เห็นถึงแง่มุมทางวิชาการสำหรับนักกฎหมาย อันเป็น การเตรียมการรองรับการนำอนุสัญญาดังกล่าวมาใช้ในกฎหมายไทย
๒. สาระสำคัญของอนุสัญญา CISG๓
ในอดีตสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศตกอยู่ภายใต้บังคับของกฎหมายภายในประเทศของ คู่สัญญา ซึ่งxxxxxxxxxxxตกลงกันใช้กฎหมายภายในประเทศของผู้ขาย หรือผู้ซื้อ หรือประเทศที่สามเป็น กฎหมายที่ใช้บังคับกับสัญญาได้ (Applicable Law) และในกรณีที่xxxxxxxxxxxxxตกลงเลือกกฎหมายที่ใช้บังคับ กับสัญญาไว้อย่างชัดแจ้ง ก็ต้องพิจารณาจากหลักกฎหมายขัดกัน (Conflict of Law) แห่งประเทศที่xxxxxxxx xxxเสนอข้อพิพาทนั้นว่าจะชี้ให้ใช้กฎหมายของประเทศใด ซึ่งกรณีดังกล่าวทำให้เกิดปัญหา ขึ้น เนื่องจาก หลักกฎหมายขัดกันของแต่ละประเทศมีความแตกต่างกันไปตามระบบกฎหมาย และกฎหมายภายในของ บางประเทศยังxxxxxxxxxxสอดคล้องกับแนวปฏิบัติทางการค้าระหว่างประเทศ ดังนั้น เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว
๓ ส ร ุ ป จ า ก II. Explanatory Note by the UNCITRAL Secretariat on the United Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods
และสร้างหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการซื้อขายระหว่างประเทศให้มีความเป็นxxxxxxอันจะเป็นการสร้างเสถียรภาพ ในทางกฎหมายระหว่างประเทศ คณะกรรมาธิการกฎหมายการค้าระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ (UNCITRAL) จึงได้ร่างอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ (United Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods (Vienna, 1980) หรือที่เรียกว่า CISG) อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศได้แบ่งโครงสร้างออกเป็น
๔ ส่วน โดยส่วนที่ ๑ เป็นเรื่องขอบเขตของการบังคับใช้อนุสัญญาและบทบัญญัติทั่วไป (ข้อ ๑ – ข้อ ๑๓) ส่วนที่ ๒ ว่าด้วยหลักเกณฑ์การก่อให้เกิดสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ (ข้อ ๑๔ – ข้อ ๒๔) ส่วนที่ ๓ ว่าด้วยxxxxx และหน้าที่ของผู้ซื้อและผู้ขายอันเกิดจากสัญญา (ข้อ ๒๕ – ข้อ ๘๘) และส่วนที่ ๔ เป็นบทบัญญัติสุดท้าย ที่เกี่ยวกับอนุสัญญาในเรื่องการเริ่มมีผลใช้บังคับ ข้อสงวนที่อนุสัญญากำหนดให้รัฐภาคีสงวนได้ (ข้อ ๘๙ – ข้อ ๑๐๑) โดยในแต่ละส่วนมีสาระสำคัญสรุปได้ดังนี้
ส่วนที่ ๑ ขอบเขตของการบังคับใช้และบทบัญญัติทั่วไป เป็นการกำหนดหลักเกณฑ์และ
ลักษณะของสัญญาที่ครอบคลุมทั้งกรณีที่อนุสัญญามีผลใช้บังคับและไม่ใช้บังคับ ดังนี้
(๑) ขอบเขตการบังคับใช้
(๑.๑) สัญญาซื้อขายที่อยู่ภายใต้บังคับอนุสัญญา
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศได้กำหนดขอบเขตการ บังคับใช้โดยพิจารณาถึงสถานประกอบธุรกิจเป็นสำคัญ โดยกำหนดให้xxxxxxxxxxxใช้บังคับแก่สัญญาซื้อขายสินค้า ระหว่างคู่สัญญาxxxxxxxxxxประกอบธุรกิจอยู่ในรัฐต่างรัฐกัน ไม่ว่าxxxxxxxxxxxxสองฝ่ายจะมีสัญชาติเดียวกัน หรือไม่ก็ตาม ทั้งนี้ ต้องปรากฏว่าเมื่อรัฐทั้งสองรัฐนั้นต่างเป็นรัฐภาคีแห่งอนุสัญญา หรือเมื่อพิจารณาตาม หลักเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล (กฎหมายว่าด้วยการขัดกัน) แล้ว กฎหมายของ รัฐภาคีเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับกับสัญญาซื้อขายนั้น ซึ่งกรณีหลังนี้รัฐภาคีxxxxxxประกาศเป็นข้อสงวน ที่จะไม่นำอนุสัญญามาใช้บังคับได้ตามข้อ ๙๕ โดยข้อ ๙๕ ได้เปิดโอกาสให้รัฐภาคีxxxxxxxxxจะตั้งข้อสงวน ในกรณีดังกล่าวได้ โดยการประกาศว่าจะเข้าผูกพันตามอนุสัญญาเฉพาะกรณีที่xxxxxxxxxxxxสองฝ่าย xxxxxxประกอบธุรกิจตั้งอยู่ในรัฐภาคีแห่งอนุสัญญาเท่านั้น และจะไม่นำบทบัญญัติในอนุสัญญามาใช้บังคับ ในกรณีที่กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคลกำหนดให้ใช้กฎหมายของรัฐภาคีแต่xxxxxxxxxxxxสองฝ่ายมิได้xx xxxxประกอบธุรกิจในรัฐภาคี
นอกจากนี้ ข้อ ๙๔ ของอนุสัญญา ยังได้กำหนดข้อจำกัดเพิ่มเติมเกี่ยวกับขอบเขตการบังคับ ใช้อนุสัญญาไว้ว่า อนุสัญญาจะไม่มีผลใช้บังคับกับรัฐที่เป็นภาคีในความตกลงระหว่างประเทศอื่นซึ่งกำหนด xxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้องกับเนื้อหาในxxxxxxxxxxx และรัฐที่มีกฎหมายภายในเกี่ยวกับการซื้อขายที่มีเนื้อหาเหมือนหรือ คล้ายคลึงกับxxxxxxxxxxx หากรัฐดังกล่าวประกาศว่าxxxxxxxxxxxไม่มีผลใช้บังคับกับรัฐนั้น
(๑.๒) สัญญาxxxxxxอยู่ภายใต้บังคับแห่งอนุสัญญา
อนุสัญญาฯ ได้กำหนดไม่ใช้บังคับกับการซื้อขายสินค้าบางประเภท ไม่ว่าจะเป็นด้วย วัตถุประสงค์ของการซื้อขาย (การซื้อขายสินค้าซึ่งนำไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัว หรือเพื่อประโยชน์ในครอบครัว หรือครัวเรือน เว้นแต่ผู้ขายมิได้รู้และไม่ควรจะได้รู้ก่อนหรือขณะทำสัญญาว่าสินค้าที่ซื้อขายกันนั้นมุ่งหมาย จะนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าว) ลักษณะของการซื้อขาย (การขายทอดตลาด การขายในกระบวนการ บังคับคดีหรือการบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย) ลักษณะของสินค้า (xxxx หลักทรัพย์ ตราสารเพื่อการลงทุน ตราสารเปลี่ยนมือ เงินตรา เรือ อากาศยาน หรือไฟฟ้า) ในหลายxxxxxxซื้อขายในสิ่งที่กล่าวมาบางอย่างหรือ ทั้งหมดอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์เฉพาะซึ่งสะท้อนถึงลักษณะเฉพาะของสิ่งเหล่านั้น
นอกจากนี้ อนุสัญญาฯ ยังไม่ใช้บังคับกับสัญญาเพื่อการจัดหาสินค้าที่คู่สัญญาฝ่ายซึ่งสั่ง สินค้าตกลงจัดหาวัตถุดิบในส่วนที่สำคัญอันจำเป็นต่อการผลิตสินค้านั้น และสัญญาเพื่อการจัดหาสินค้าที่หน้าที่ ส่วนใหญ่ของxxxxxxxxxxxxxxxจัดหาสินค้าประกอบด้วยแรงงานหรือบริการอื่น ทั้งนี้ เพื่อแยกความแตกต่างระหว่าง สัญญาซื้อขายและสัญญาให้บริการ
อย่างไรก็ดี บทบัญญัติของอนุสัญญาฯ ทำให้เห็นได้ชัดเจนว่าอนุสัญญาจะครอบคลุม เฉพาะส่วนที่ว่าด้วยการก่อให้เกิดสัญญา xxxxxและหน้าที่ของผู้ซื้อและผู้ขายอันเกิดจากสัญญา โดยไม่ครอบคลุม ถึงเรื่องความxxxxxxxของสัญญา หรือผลที่สัญญาอาจก่อให้เกิดขึ้นเกี่ยวกับการโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้าที่ขาย เว้นแต่จะxxxxxxxไว้เป็นอย่างอื่นในxxxxxxxxxxx และไม่เกี่ยวกับเรื่องความรับผิดของผู้ขายในความเสียหายต่อ ชีวิตหรือความเสียหายส่วนบุคคลอันเกิดจากสินค้า
(๒) หลักเสรีภาพในการทำสัญญาของคู่สัญญา
หลักพื้นฐานว่าด้วยเสรีภาพในการทำสัญญาในการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ ปรากฏ อยู่ในxxxxxxxxxxxxกำหนดให้xxxxxxxxxxxตกลงไม่นำxxxxxxxxxxxไปใช้บังคับ หรือตกลงให้แตกต่างจากอนุสัญญา หรือเปลี่ยนแปลงผลให้ต่างไปจากxxxxxxxxxxxก็ได้ ข้อยกเว้นนี้จะเกิดขึ้น xxxx ในกรณีที่คู่สัญญาเลือกใช้กฎหมาย ของรัฐที่มิใช่รัฐภาคีเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับแก่สัญญาซื้อขาย สำหรับกรณีการตกลงให้แตกต่างจากอนุสัญญาจะ เกิดขึ้นเมื่อข้อกำหนดในสัญญากำหนดxxxxxxxxxxแตกต่างไปจากที่กำหนดในอนุสัญญา
(๓) การตีความอนุสัญญา
xxxxxxxxxxxมีขึ้นเพื่อความเป็นxxxxxxของกฎหมายว่าด้วยการซื้อขายสินค้าระหว่าง ประเทศ ดังนั้น เพื่อให้xxxxxวัตถุประสงค์ดังกล่าว การตีความxxxxxxxxxxxจะต้องมีลักษณะที่สอดคล้องกับ ทุกระบบกฎหมาย อย่างไรก็ดี ข้อโต้แย้งจะเกิดขึ้นก็เนื่องจากความหมายและการใช้บังคับอนุสัญญา เมื่อข้อโต้แย้งเกิดขึ้น ซึ่งคู่สัญญาทุกฝ่าย รวมทั้งศาล และคณะอนุญาโตตุลาการต้องxxxxxถึงลักษณะความเป็น ระหว่างประเทศ และความจำเป็นในการxxxxxxxxให้เกิดความสอดคล้องกันในการบังคับใช้กฎหมาย และหลักxxxxxxในทางการค้าระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่มีประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับ
เรื่องต่าง ๆ ซึ่งอยู่ภายใต้xxxxxxxxxxxยังไม่มีข้อยุติอย่างแน่ชัด ให้วินิจฉัยไปตามหลักทั่วไปซึ่งเป็นพื้นฐาน แห่งxxxxxxxxxxx เฉพาะในกรณีที่ไม่มีหลักทั่วไป ให้วินิจฉัยไปตามกฎหมายที่นำมาใช้บังคับโดยอาศัยหลักเกณฑ์ ของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
(๔) การตีความสัญญาและประเพณีทางการค้า
ในการตีความข้อความหรือการกระทำของคู่สัญญานั้น อนุสัญญาฯ กำหนดให้ศาลต้อง xxxxxถึงxxxxxxxxแท้จริงของคู่สัญญา ในกรณีxxxxxxอาจตีความตามxxxxxของคู่สัญญาดังกล่าวได้ ให้ตีความ ข้อความหรือการกระทำของคู่สัญญาไปในทางxxxxxxxxxxซึ่งอยู่ในฐานะเดียวกันกับคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งพึงเข้าใจ ในxxxxxxxxxxxxxนั้น ทั้งนี้ ในการพิเคราะห์xxxxxของคู่สัญญาหรือความเข้าใจของวิญญูชน ให้xxxxxถึง xxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้องทั้งปวง รวมxxxxxxเจรจา ทางปฏิบัติระหว่างคู่สัญญา ประเพณีทางการค้าระหว่างกัน และการกระทำในภายหลังของคู่สัญญาทุกฝ่าย
นอกจากนี้ คู่สัญญาจะต้องผูกพันกันตามประเพณีทางการค้าหรือแนวปฏิบัติที่xxxxxxxx xxxสร้างขึ้นระหว่างกัน ทั้งนี้ จะต้องเป็นประเพณีทางการค้าที่xxxxxxxxxxxxสองฝ่ายได้รู้หรือควรจะได้รู้และเป็น ประเพณีทางการค้าที่รู้กันอย่างxxxxxxxxในทางการค้าระหว่างประเทศและได้รับการปฏิบัติเป็นxxxxโดย xxxxxxxxxxxทำสัญญาในทางการค้าประเภทนั้น
(๕) รูปแบบของสัญญา
สัญญาชื้อขายไม่จำเป็นต้องทำเป็นหนังสือ รวมทั้งการแก้ไขสัญญา การเลิกxxxxx xxเสนอ xxxxxx หรือการแสดงxxxxxใด จะกระทำในรูปแบบใดก็ได้โดยไม่ต้องทำเป็นหนังสือหรือมีหลักฐาน เป็นหนังสือ แต่ถ้าหากมีการทำสัญญาเป็นหนังสือโดยมีข้อตกลงให้การแก้ไขหรือการยกเลิกสัญญาต้องทำเป็น หนังสือแล้ว xxxxxxxxxxxxxxxxแก้ไขหรือยกเลิกสัญญาโดยการตกลงกันด้วยวิธีอื่นได้ เว้นแต่การกระทำของ คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งทำให้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเชื่อถือว่าการแก้ไขหรือเลิกสัญญาไม่จำต้องทำเป็นหนังสือ
อย่างไรก็ดี รัฐภาคีซึ่งตามกฎหมายภายในของรัฐนั้นกำหนดให้สัญญาซื้อขายต้องทำเป็น หนังสือหรือมีหลักฐานเป็นหนังสือ ข้อ ๙๖ ให้xxxxxแก่รัฐเหล่าxxxxxxxจะประกาศข้อสงวนเพื่อไม่นำเรื่องรูปแบบ ของสัญญามาใช้บังคับในกรณีที่คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดxxxxxxประกอบธุรกิจในรัฐนั้นก็ได้
ส่วนที่ ๒ การก่อให้เกิดสัญญา
ส่วนที่สองนี้ เป็นประเด็นเกี่ยวกับการก่อให้เกิดสัญญา โดยการแลกเปลี่ยนคำเสนอ และxxxxxx โดยสัญญาเกิดเมื่อxxxxxxตอบรับคำเสนอมีผลแล้ว
ข้อเสนอจะทำสัญญาxxxxxxเป็นคำเสนอได้ ต้องเป็นการกระทำต่อตัวบุคคลเป็นการ เฉพาะเจาะจงไม่ว่าหนึ่งคนหรือหลายคน และต้องมีความชัดเจนเพียงพอ สำหรับข้อเสนอที่มีความชัดเจน เพียงพอ ต้องระบุตัวสินค้าและมีการกำหนดหรือมีข้อความเกี่ยวกับปริมาณและราคาสินค้าไว้โดยชัดแจ้ง หรือโดยปริยายด้วย
หลักทั่วไปของการเพิกถอนคำเสนอนั้น อนุสัญญากำหนดให้คำเสนออาจถูกเพิกถอนได้ แต่การเพิกถอนต้องไปถึงผู้รับคำเสนอก่อนที่ผู้รับคำเสนอจะส่งxxxxxx ยิ่งไปกว่านั้น คำเสนอไม่xxxxxx เพิกถอนได้ ถ้าคำเสนอนั้นแสดงให้เห็นว่าxxxxxxเพิกถอนxxx xxxว่าโดยกำหนดเวลาที่แน่นอนให้ทำxxxxxxหรือ
๖
โดยประการอื่นใด นอกจากนี้ คำเสนอxxxxxxเพิกถอนได้ในกรณีที่มีเหตุอันxxxxxxทำให้ผู้รับคำเสนอเชื่อว่า คำเสนอนั้นเป็นประเภทxxxxxxอาจเพิกถอนได้ และผู้รับคำเสนอได้กระทำการไปโดยอาศัยคำเสนอนั้น
ดังนั้น การที่ผู้ซื้อได้ทำคำเสนอซื้อส่งไปยังผู้ขายซึ่งอยู่คนละประเทศ ผู้ซื้ออาจจะกำหนด ระยะเวลาในการทำxxxxxxไปด้วย ในกรณีดังกล่าว อนุสัญญาฯ จึงกำหนดว่า คำเสนอxxxxxxกำหนดระยะเวลา ให้ทำxxxxxxหรือมีข้อความว่าเปลี่ยนแปลงxxxxxx หรือหากผู้รับคำเสนอมีเหตุผลที่จะเชื่อว่าคำเสนอนั้น ไม่xxxxxxเปลี่ยนแปลงได้ และผู้รับคำเสนอได้แสดงxxxxxรับคำเสนอxxxxว่านั้น คำเสนอในกรณีดังกล่าวผู้ซื้อ ไม่มีxxxxxถอนคำเสนอxxxxxxให้ไว้ นอกเหนือจากกรณีดังกล่าวข้างต้น ผู้ซื้อxxxxxxxxxจะถอนคำเสนอได้ หากคำxxxxxxxxถอนคำเสนอไปถึงก่อนที่ผู้รับคำเสนอจะส่งxxxxxx
xxxxxxxxxxxโดยการแจ้งหรือกระทำการอย่างอื่นของผู้รับคำเสนอที่แสดงให้เห็นxxxxxx ยอมรับข้อเสนอที่ส่งไปยังผู้เสนอ แต่ในบางกรณีxxxxxxอาจมีลักษณะเป็นการกระทำ xxxx การส่งสินค้าหรือ การชำระราคา โดยทั่วไปแล้วการกระทำดังกล่าวตามxxxxถือเป็นxxxxxx ณ เวลาที่มีการกระทำxxxxว่านั้น คำเสนอที่กระทำด้วยวาจาต้องมีการทำxxxxxxโดยทันที เว้นแต่ตามพฤติการณ์จะปรากฏเป็นอย่างอื่น
หากผู้รับคำเสนอได้ตอบรับคำเสนอโดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติมหรือแตกต่างในส่วนที่เป็นสาระสำคัญ ให้xxxxxxเป็นคำxxxxxxxxxรับคำเสนอ ทั้งกลายเป็นคำเสนอขึ้นใหม่ อย่างไรก็ดี ในกรณีที่มีการส่งคำตอบรับ ให้แก่ผู้เสนอโดยต้องการให้เป็นxxxxxx แต่มีเงื่อนไขเพิ่มเติมหรือแตกต่างไปจากคำเสนอ xxxxxxxxxxx กำหนดว่า ในกรณีที่เงื่อนไขที่เพิ่มเติมหรือแตกต่างดังกล่าวxxxxxxเป็นการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขของคำเสนอ ในส่วนที่เป็นสาระสำคัญ คำตอบรับดังกล่าวก็ถือเป็นxxxxxx เว้นแต่ผู้เสนอจะบอกปัดเงื่อนไขดังกล่าว โดยxxxxxxxxx หากผู้เสนอxxxxxxxxx สัญญาย่อมเกิดขึ้นโดยมีเงื่อนไขตามคำเสนอ พร้อมด้วยเงื่อนไขตามที่มี การเปลี่ยนแปลงตามxxxxxx ทั้งนี้ เงื่อนไขที่เพิ่มเติมหรือที่แตกต่างออกไปจากคำเสนอที่เกี่ยวกับเรื่องราคา การชำระราคา คุณภาพและปริมาณของสินค้า สถานที่และเวลาส่งมอบ ขอบเขตความรับผิดของคู่สัญญา ฝ่ายหนึ่งต่อคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง หรือการระงับข้อพิพาท หรือเรื่องอื่นทำนองเดียวกัน ให้ถือเป็นการ เปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในส่วนที่เป็นสาระสำคัญของคำเสนอนั้น
ส่วนที่ ๓ การซื้อขายสินค้า
บทบัญญัติในส่วนนี้เป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับxxxxxและหน้าที่ของคู่สัญญาในสัญญาซื้อขาย สินค้าระหว่างประเทศ โดยกล่าวถึงxxxxxและหน้าที่ของผู้ขายและผู้ซื้อ การเยียวยาเนื่องจากการผิดสัญญา การโอนความเสี่ยงภัย การxxxชำระหนี้ ข้อยกเว้นความรับผิดในการชำระค่าเสียหาย และการดูแลรักษาสินค้า โดยสรุปได้ดังนี้
(๑) หน้าที่ของผู้ขาย
ผู้ขายมีหน้าที่จะต้องส่งมอบสินค้าและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับสินค้า และโอนกรรมสิทธิ์ ในสินค้าตามที่กำหนดในสัญญาและxxxxxxxxxxx โดยxxxxxxxxxxxกำหนดหลักเกณฑ์เพิ่มเติมเพื่อประโยชน์ กรณีไม่มีการตกลงxxxxxxxxในเรื่องเวลา สถานที่ และวิธีการชำระหนี้ของผู้ขาย นอกจากนี้ อนุสัญญายังได้ กำหนดหน้าที่ของผู้ขายในการส่งมอบสินค้าที่มีปริมาณ คุณภาพ และลักษณะตรงตามที่กำหนดในสัญญา ซึ่งต้องบรรจุหรือห่อในลักษณะตามที่กำหนดในสัญญา และหน้าที่ที่สำคัญของผู้ขายในการซื้อขายสินค้า
๗
ระหว่างประเทศคือต้องส่งมอบสินค้าซึ่งปลอดจากxxxxxหรือข้อเรียกร้องใด ๆ ของบุคคลภายนอก รวมทั้งxxxxx ในทรัพย์สินทางxxxxxด้านอุตสาหกรรมหรือทรัพย์สินทางxxxxxอื่น และในส่วนที่ต่อเนื่องกับหน้าที่ของผู้ขาย ในส่วนที่เกี่ยวกับคุณภาพของสินค้า xxxxxxxxxxxกำหนดหน้าที่ของผู้ซื้อในการตรวจสอบสินค้า ซึ่งผู้ซื้อต้องแจ้ง ความไม่ตรงxxxxxxxxภายในเวลาอันxxxxxหลังจากxxxxxxพบเห็นหรือควรจะได้พบเห็นถึงความไม่ถูกต้องนั้น และอย่างช้าสุดภายในกำหนดเวลาสองปีนับแต่xxxxxxการส่งมอบสินค้าให้แก่ผู้ซื้อได้เกิดขึ้น เว้นแต่ระยะเวลา ดังกล่าวไม่สอดคล้องกับระยะเวลารับประกันxxxxxxxx
(๒) หน้าที่ของผู้ซื้อ
ผู้ซื้อมีหน้าที่ในการชำระราคาและรับมอบสินค้าตามที่กำหนดไว้ในสัญญาและxxxxxxxxxxx โดยxxxxxxxxxxxกำหนดหลักเกณฑ์เพิ่มเติมเพื่อประโยชน์กรณีไม่มีการตกลงxxxxxxxxในเรื่องวิธีการกำหนด ราคา และสถานที่และเวลาที่ผู้ซื้อควรชำระหนี้ในการชำระราคา อีกทั้งผู้ซื้อยังมีหน้าที่ตรวจสอบสินค้าหรือ จัดให้มีการตรวจสอบสินค้าภายในระยะเวลาซึ่งปฏิบัติได้ตามxxxxxxxxxxxxxนั้น หากผู้ซื้อตรวจสอบแล้วพบว่า สินค้าไม่ตรงxxxxxxxx ผู้ซื้อมีหน้าที่xxxxxxxxไปยังผู้ขายเพื่อให้ผู้ขายทราบถึงความบกพร่องดังกล่าวภายใน กำหนดเวลาอันxxxxxหลังจากที่ผู้ซื้อได้พบเห็นหรือควรจะได้พบเห็นถึงกรณีดังกล่าว
(๓) การเยียวยาความเสียหายเนื่องจากการผิดสัญญา
อนุสัญญาฯ ได้กำหนดการเยียวยาความเสียหายเนื่องจากการผิดสัญญาของผู้ขายและ ผู้ซื้อไว้ในลักษณะเดียวกัน ดังนี้
(๓.๑) การเยียวยาความเสียหาย
อนุสัญญาฯ กำหนดให้ผู้ซื้ออาจเรียกให้ผู้ขายปฏิบัติการชำระหนี้ได้ตามข้อ ๔๖ ส่วนกรณีผู้ขายก็เรียกให้ผู้ซื้อชำระราคา รับมอบสินค้า หรือปฏิบัติการชำระหนี้ของตนได้ตามข้อ ๖๒ โดยxxxxxxxxxxxได้รับความเสียหายมีxxxxxเรียกค่าเสียหาย หรือบอกเลิกสัญญาได้ด้วย นอกจากนี้ ผู้ซื้อมีxxxxx ลดราคาในกรณีสินค้าที่ส่งมอบไม่ตรงxxxxxxxx
(๓.๒) การผิดสัญญาในสาระสำคัญ
ข้อจำกัดที่สำคัญในxxxxxของxxxxxxxxxxxได้รับความเสียหายการผิดสัญญาเพื่อ เรียกร้องการเยียวยา คือแนวคิดของการผิดสัญญาในสาระสำคัญ ข้อ ๒๕ ได้กำหนดว่าต้องเป็นการผิดสัญญา ที่มีผลร้ายแรงxxxxxxxxxxทำให้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งสูญเสียสิ่งซึ่งตนมีxxxxxจะพึงคาดหมายxxxxxxxxxxx แต่ในกรณีที่xxxxxxxxxxxxxxxผิดสัญญาxxxxxxคาดเห็นและวิญญูชนซึ่งอยู่ในฐานะและพฤติการณ์เดียวกันxxxxxx คาดเห็นถึงผลxxxxนั้น มิให้xxxxxxเป็นการผิดสัญญาในสาระสำคัญ
ผู้ซื้อมีxxxxxเรียกให้ส่งมอบสินค้าxxxxxxxxเฉพาะเมื่อการที่สินค้าไม่ตรงxxx xxxxxนั้นถึงขนาดเป็นการผิดสัญญาในสาระสำคัญ
การผิดสัญญาในสาระสำคัญเป็นหนึ่งในสองของxxxxxxxxxxxxให้ความxxxxxxx แก่xxxxxxxxxxxได้รับความเสียหายในการใช้xxxxxบอกเลิกสัญญาได้ อีกพฤติการณ์หนึ่งคือ ในกรณีที่ผู้ขาย ไม่ส่งมอบสินค้า หรือผู้ซื้อไม่ชำระราคาหรือไม่รับมอบสินค้า xxxxxxxxxxxxxxxผิดสัญญาไม่ปฏิบัติการชำระหนี้ ภายในระยะเวลาอันxxxxxตามที่xxxxxxxxxxxได้รับความเสียหายกำหนดไว้
๘
การเยียวยาอย่างอื่นอาจถูกจำกัดโดยพฤติการณ์พิเศษ ตัวอย่างxxxx ถ้าสินค้า ไม่ตรงxxxxxxxx ผู้ซื้อมีxxxxxเรียกให้ผู้ขายเยียวยาการไม่ตรงxxxxxxxxโดยวิธีการซ่อมแซมได้ เว้นแต่ การเรียกร้องนั้นเมื่อxxxxxถึงพฤติการณ์ทั้งปวงแล้วxxxxxxxxxxชอบด้วยเหตุผล xxxxxxxxxxxxxxxxxฟื้นฟู ความเสียหายซึ่งตนxxxxxxxxxxxxxxxหากใช้มาตรการที่เหมาะสม xxxxxxxxxxxได้รับยกเว้นไม่ต้องชำระ ค่าเสียหายโดยอาศัยเหตุขัดข้องที่อยู่เหนือการควบคุมของตน
(๓.๓) xxxxxในการบอกเลิกสัญญา
อนุสัญญาฯ กำหนดเหตุแห่งการบอกเลิกสัญญาไว้ ๔ ประการ ดังนี้
(๑) การบอกเลิกสัญญาโดยเหตุที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้ผิดสัญญาใน สาระสำคัญอันเป็นเหตุหลักในการบอกเลิกสัญญาของคู่สัญญา โดยผู้ซื้อมีxxxxxบอกเลิกสัญญาได้ตามข้อ ๔๙ (๑)
(a) และผู้ขายมีxxxxxบอกเลิกสัญญาได้ตามข้อ ๖๔ (๑) (a) ทั้งนี้ ข้อ ๒๕ ได้กำหนดถึงลักษณะของการผิดสัญญา ในสาระสำคัญไว้ โดยต้องพิจารณาถึงผลของการกระทำผิดสัญญาว่าได้ก่อให้เกิดความเสียหายxxxxxxx xxxคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งสูญเสียสิ่งซึ่งพึงจะคาดหมายxxxxxxxxxxxและผลของความเสียหายนั้นต้องเป็นผล ที่xxxxxxxxxxxxxxxผิดสัญญาและวิญญูชนซึ่งอยู่ในฐานะและพฤติการณ์เดียวกันxxxxxxxxxจะคาดเห็นได้
(๒) การบอกเลิกสัญญาตามข้อ ๔๙ (๑) (b) ในกรณีที่ผู้ซื้อได้ขยายเวลาxxxxxให้ ตามxxxxxเพื่อให้ผู้ขายปฏิบัติการชำระหนี้ หากผู้ขายไม่ปฏิบัติการชำระหนี้ภายในเวลาที่คู่สัญญา อีกฝ่ายหนึ่งได้ขยายให้แล้ว xxxxxxxxxxxxxxxขยายเวลาให้ก็มีxxxxxxxxจะบอกเลิกสัญญาได้ ในทำนองเดียวกันผู้ขาย มีxxxxxในการบอกเลิกสัญญาได้ตามข้อ ๖๔ (๑) (b) หากผู้ซื้อไม่ปฏิบัติการชำระหนี้ภายในเวลาที่คู่สัญญา อีกฝ่ายหนึ่งได้ขยายให้ นอกจากนี้ อนุสัญญาฯ ยังได้กำหนดเพิ่มเติมในกรณีที่xxxxxxxxxxxxxxxได้รับการ ขยายเวลาชำระหนี้ให้นั้น ได้แจ้งแก่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งว่าตนจะไม่ปฏิบัติการชำระหนี้ภายในเวลาที่คู่สัญญา อีกฝ่ายหนึ่งได้ขยายให้ คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งก็มีxxxxxในการบอกเลิกสัญญาได้โดยไม่ต้องรอให้ถึงกำหนดเวลา xxxxxxขยายให้นั้น
ทั้งนี้ ผลของการขยายเวลาชำระหนี้ ทำให้xxxxxxxxxxxขยายเวลาชำระหนี้ให้ xxxxxxใช้xxxxxเยียวยาอื่นในช่วงเวลานั้นโดยอ้างเหตุผิดสัญญาได้ แต่คู่สัญญาฝ่ายนั้นก็ไม่เสียxxxxxในการเรียก ค่าเสียหายอันเกิดจากความล่าช้าในการปฏิบัติการชำระหนี้
(๓) การบอกเลิกสัญญาตามข้อ ๗๒ เป็นการบอกเลิกสัญญาก่อนถึงวันกำหนด ชำระหนี้xxxxxxxx โดยหากเป็นxxxxxxxxxว่าคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งจะกระทำผิดสัญญาในสาระสำคัญ คู่สัญญา อีกฝ่ายหนึ่งอาจบอกเลิกสัญญาได้ โดยในกรณีที่มีเวลาเพียงพอ คู่สัญญาซึ่งxxxxxxxจะบอกเลิกสัญญา จะต้อง ส่งคำxxxxxxxxไปยังคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเพื่อให้โอกาสตามxxxxxแก่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งในการให้ประกัน xxxxxxxxxxในการปฏิบัติการชำระหนี้ อย่างไรก็ตาม ข้อกำหนดนี้จะไม่ใช้บังคับในกรณีที่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง ได้แจ้งว่าตนจะไม่ชำระหนี้ และxxxxxxxxxxxอาจนำเรื่องการไม่ชำระหนี้ของคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งมาอ้าง เพื่อการที่ตน จะไม่ชำระหนี้ หากว่าตนไม่อยู่ในฐานะที่จะชำระหนี้ของตนได้
(๔) การบอกเลิกสัญญาตามข้อ ๗๓ เป็นการบอกเลิกสัญญาในกรณีที่เป็นสัญญา ส่งมอบสินค้าเป็นงวด ๆ หากคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งไม่ชำระหนี้งวดใดอันเป็นการผิดสัญญาในสาระสำคัญ คู่สัญญา อีกฝ่ายหนึ่งอาจบอกเลิกสัญญาเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับงวดนั้นก็ได้
๙
ตามข้อ ๒๖
อนึ่ง การบอกเลิกสัญญาจะมีผลต่อเมื่อได้xxxxxxxxแก่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งแล้ว
ส่วนการเสียxxxxxในการบอกเลิกสัญญา ในกรณีของผู้ซื้อ ข้อ ๔๙ (๒) กำหนด
ว่า ในกรณีที่ผู้ขายได้ส่งมอบสินค้าแล้ว ผู้ซื้อย่อมเสียxxxxxในการบอกเลิกสัญญา เว้นแต่จะอยู่ภายใต้ข้อยกเว้น
๒ ประการ คือ (๑) กรณีที่มีการส่งมอบล่าช้า ผู้ซื้อได้บอกเลิกสัญญาภายในกำหนดเวลาอันxxxxxหลังจากที่ ผู้ซื้อรู้ว่าได้มีการส่งมอบสินค้า และ (๒) ในกรณีที่มีการผิดสัญญาอย่างอื่นนอกจากการส่งมอบล่าช้า ผู้ซื้อ ได้บอกเลิกสัญญาภายในกำหนดเวลาอันxxxxx ส่วนกรณีของผู้ขายนั้น ข้อ ๖๔ (๒) กำหนดว่าในกรณีที่ผู้ซื้อ ได้ชำระราคาแล้ว ผู้ขายย่อมเสียxxxxxในการบอกเลิกสัญญา เว้นแต่เป็นกรณีที่ชำระหนี้ล่าช้า ผู้ขายได้บอกเลิก สัญญาก่อนที่ผู้ขายจะรู้ว่าได้มีการชำระหนี้แล้ว หรือในกรณีที่ผู้ซื้อผิดสัญญาอย่างอื่นนอกจากการชำระหนี้ ล่าช้า ผู้ขายได้บอกเลิกสัญญาภายในกำหนดเวลาอันxxxxx
(๔) การโอนความเสี่ยงภัยในสินค้า
การกำหนดว่าเมื่อใดที่ความเสี่ยงภัยได้ส่งผ่านจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อแล้วเป็นสิ่งสำคัญ อย่างยิ่งในสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ xxxxxxxxxxxวางกฎเกณฑ์ในประเด็นนี้ไว้ในสัญญา ไม่ว่าโดย ข้อความxxxxxxxxxหรือโดยการใช้เงื่อนไขทางการค้า xxxx INCOTERM ผลของการเลือกเงื่อนไขดังกล่าวจะเป็น การแก้ไขข้อบทของ CISG xxxxxxxxxxx xxxxครั้งที่สัญญาxxxxxxกำหนดข้อบทดังกล่าว xxxxxxxxxxจะxxxxxxxx กฎเกณฑ์ในเรื่องนี้
xxxxxxxxxxxกำหนดสถานการณ์พิเศษไว้สองกรณี ได้แก่ กรณีที่สัญญากำหนดให้มีการ ขนส่งสินค้าและไม่มีข้อกำหนดให้ผู้ขายส่งมอบสินค้า ณ สถานที่ใดโดยเฉพาะ ความเสี่ยงภัยย่อมส่งผ่านจาก ผู้ขายไปยังผู้ซื้อ เมื่อผู้ขายได้ส่งมอบสินค้าให้แก่ผู้ขนส่งรายแรก แต่ถ้าสัญญาระบุสถานที่ไว้โดยเฉพาะแล้ว ความเสี่ยงภัยย่อมส่งผ่านไปยังผู้ซื้อเมื่อผู้ขายได้ส่งมอบสินค้าแก่ผู้ขนส่ง ณ สถานที่นั้น (๒) เมื่อมีการซื้อขาย สินค้าที่อยู่ในระหว่างการขนส่ง ความเสี่ยงภัยในสินค้าย่อมส่งผ่านไปยังผู้ซื้อ ณ ขณะที่ทำสัญญาซื้อขายกัน
นอกจากนี้ ในกรณีอื่น ๆ ความเสี่ยงภัยในสินค้าส่งผ่านไปยังผู้ซื้อเมื่อสินค้านั้นได้รับการ จัดวางให้อยู่ในเงื้อมมือของผู้ซื้อและผู้ซื้อทำผิดสัญญาโดยการไม่รับมอบสินค้า ไม่ว่าอย่างไหนเกิดขึ้นก่อน ก็ตาม มีหลายคดีที่สัญญาเกี่ยวกับสินค้ายังxxxxxxระบุตัวสินค้าไว้ ต้องมีการระบุตัวสินค้าxxxxxxxxก่อนที่จะxxx xxxxxxมีการจัดวางให้อยู่ในเงื้อมมือของผู้ซื้อ และความเสี่ยงภัยxxxxxxพิจารณาส่งผ่านไปยังผู้ซื้อxxx
xxxxxxxxxxx ในกรณีความสูญหายหรือความเสียหายเกิดขึ้นหลังจากความเสี่ยงภัย ได้ส่งผ่านไปยังผู้ซื้อแล้ว ย่อมไม่xxxxxxxxxxxxxxxxxผู้ซื้อจากหน้าที่ที่ต้องชำระราคาสินค้า เว้นแต่ในกรณีที่ ความสูญหายหรือความเสียหายนั้นเกิดจากการกระทำหรืองดเว้นกระทำการของผู้ขาย
(๕) การผิดสัญญาที่คาดหมายได้ล่วงหน้าและการxxxการชำระหนี้
คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งอาจxxxการปฏิบัติการชำระหนี้ได้ถ้าเป็นxxxxxxxxxxxหลังจากการทำ สัญญาว่าคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งจะไม่ปฏิบัติการชำระหนี้ในส่วนที่เป็นสาระสำคัญ เนื่องจากความบกพร่อง อย่างชัดเจนของความxxxxxxในการชำระหนี้ หรือความน่าเชื่อถือของคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งนั้น หรือพฤติกรรม ของคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งในการเตรียมปฏิบัติหรือในการปฏิบัติxxxxxxxx นอกจากนี้ ในกรณีที่เป็นสัญญา
จัดส่งสินค้าเป็นงวด หากคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งไม่ปฏิบัติการชำระหนี้ในงวดใดงวดหนึ่งอันเป็นการผิดสัญญา ในสาระสำคัญ คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งอาจบอกเลิกสัญญาเฉพาะในงวดนั้นก็ได้ และหากการที่คู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง ไม่ปฏิบัติการชำระหนี้ในงวดใดงวดหนึ่งเป็นเหตุให้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งมีเหตุอันควรเชื่อว่าจะมีการผิดสัญญา ในสาระสำคัญในงวดอื่นต่อไปด้วย คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งอาจบอกเลิกสัญญาในงวดอื่นต่อไปนั้นได้
(๖) ค่าเสียหาย
หลักเกณฑ์ของxxxxxxxxxxxxxเกิดจากการผิดสัญญาของคู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง ประกอบด้วย จำนวนเงินเท่ากับความเสียหาย รวมถึงค่าขาดกำไรของคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งอันเป็นผลจากการผิดสัญญานั้น ทั้งนี้ ต้องไม่เกินความxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxกระทำผิดสัญญาได้คาดเห็นหรือควรจะได้ดาดเห็นในขณะทำ สัญญาถึงผลxxxxxxเกิดขึ้นจากการผิดสัญญา โดยพิจารณาจากข้อเท็จจริงและเรื่องต่าง ๆ ที่คู่สัญญาฝ่ายนั้นได้รู้ หรือควรจะได้รู้ถึงผลxxxxxxเกิดขึ้นเนื่องจากการผิดสัญญานั้น นอกจากนี้ ในกรณีที่มีการบอกเลิกสัญญา หากผู้ซื้อได้ซื้อสินค้าอื่นxxxxxหรือผู้ขายได้ขายสินค้านั้นไปโดยวิธีการและภายในเวลาอันxxxxxภายหลัง xxxxxxมีการบอกเลิกสัญญาแล้ว xxxxxxxxxxxxxxxเรียกxxxxxxxxxxxxxเรียกให้มีการชดใช้ผลต่างระหว่างราคา ที่กำหนดไว้ในสัญญากับราคาสินค้าที่ซื้อมาxxxxxหรือสินค้าที่ขายไป รวมทั้งมีxxxxxเรียกค่าเสียหายอื่นตาม ข้อ ๗๔ ได้อีก
(๗) ดอกเบี้ย
คู่สัญญามีxxxxxเรียกดอกเบี้ยจากจำนวนเงินที่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งผิดนัดชำระราคาหรือ จำนวนเงินค้างจ่ายได้ โดยไม่เป็นการตัดxxxxxในการเรียกค่าเสียหายอันเกิดจากการผิดสัญญาของคู่สัญญา ฝ่ายนั้น
(๘) ข้อยกเว้นความรับผิด
xxxxxxxxxxxต้องรับผิดอันเนื่องมาจากการไม่ชำระหนี้ของตน ถ้าพิสูจน์ได้ว่าการไม่ชำระ หนี้นั้น เนื่องมาจากเหตุที่ตนไม่xxxxxxควบคุมได้และตนไม่xxxxxxคาดการณ์ได้ว่าจะมีเหตุดังกล่าวเกิดขึ้น ในขณะทำสัญญา หรือxxxxxxหลีกเลี่ยงหรือทำให้เหตุดังกล่าวนั้นสิ้นไปได้ และข้อยกเว้นความรับผิดดังกล่าวนี้ ให้รวมถึงกรณีที่บุคคลภายนอกที่คู่สัญญาฝ่ายนั้นมอบหมายให้ชำระหนี้แทนด้วย ไม่ว่าจะเป็นการชำระหนี้ทั้งหมด หรือแต่เพียงบางส่วน อย่างไรก็ตาม ข้อยกเว้นนี้ไม่เป็นการห้ามคู่สัญญาในการใช้xxxxxเยียวยาทางอื่น นอกเหนือจากxxxxxเรียกร้องค่าเสียหาย
(๙) ผลของการเลิกสัญญา
ในกรณีที่มีการบอกเลิกสัญญาย่อมมีผลxxxxxxxxxxxxxxxxxหนี้ต่าง ๆ ของxxxxxxxxxxxxสอง xxxxxxxเกิดจากสัญญา โดยไม่มีผลกระทบต่อบทบัญญัติในสัญญาอันเกี่ยวกับการระงับข้อพิพาทหรือบทบัญญัติ อื่นในสัญญาว่าด้วยxxxxxและหน้าที่ของคู่สัญญาอันเป็นxxxxxxxxxxจากการบอกเลิกสัญญานั้น อีกทั้งxxxxxxxx xxxxxxxได้ปฏิบัติการชำระหนี้ของตนไปแล้วไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนอาจเรียกร้องให้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งใช้คืน บรรดาสิ่งของxxxxxxมีการจัดส่งหรือชำระเงินให้แล้วxxxxxxxxก็ได้ ถ้าxxxxxxxxxxxxสองฝ่ายต่างจำต้องใช้คืน บรรดาสิ่งที่ตนได้รับจากคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งในเวลาเดียวกัน
(๑๐) การดูแลรักษาสินค้า
อนุสัญญากำหนดหน้าที่แก่xxxxxxxxxxxxสองฝ่ายในการดูแลรักษาสินค้าของคู่สัญญา อีกฝ่ายหนึ่งที่ยังอยู่ในความครอบครองของตน หน้าที่ดังกล่าวสำคัญมากในการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศเมื่อ คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งอยู่ในต่างประเทศ และxxxxxxมีตัวแทนในประเทศที่สินค้าตั้งอยู่ ภายใต้พฤติการณ์บางกรณี คู่สัญญาซึ่งครอบครองสินค้าอาจขายสินค้านั้นหรืออาจถูกเรียกร้องให้ขายสินค้านั้น คู่สัญญาซึ่งขายสินค้ามีxxxxx xxxจะหักค่าใช้จ่ายอันxxxxxในการดูแลรักษาสินค้าและการขายสินค้านั้นออกจากเงินxxxxxxรับจากการขายสินค้า และคืนเงินส่วนที่เหลือให้แก่คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง
ส่วนที่ ๔ บทบัญญัติสุดท้าย
เป็นxxxxxxxxxxxxว่าด้วยการเข้าเป็นภาคีแห่งอนุสัญญา การรับรอง การภาคยานุวัติ การให้ สัตยาบัน และการตั้งข้อสงวนเพื่อกำหนดขอบเขตในการบังคับใช้อนุสัญญากับรัฐภาคี ซึ่งตามอนุสัญญาฉบับนี้ ได้กำหนดให้xxxxxแก่รัฐภาคีในการที่จะตั้งข้อสงวนได้ใน ๕ กรณี คือ (๑) การตั้งข้อสงวนที่จะxxxxxxxxxตาม บทบัญญัติส่วนที่ ๒ หรือส่วนที่ ๓ ของอนุสัญญา (๒) ข้อ ๙๓ การตั้งข้อสงวนที่จะxxxxxxxxxต่ออนุสัญญาเฉพาะ ในบางรัฐของสหพันธรัฐ (๓) การตั้งข้อxxxxxxxxxxการไม่ปรับใช้อนุสัญญากับxxxxxxxxxxxเกิดจากการซื้อขาย ระหว่างคู่สัญญาซึ่งอยู่ในประเทศที่มีระบบกฎหมายที่เหมือนหรือใกล้เคียงอย่างยิ่ง (๔) การตั้งข้อสงวนxxxxxxxxx ตามอนุสัญญาข้อ ๑ (๑) (b) แห่งอนุสัญญาฯ และ (๕) การตั้งข้อสงวนในเรื่องการทำเป็นหนังสือ
๓. แนวทางการตีความอนุสัญญา CISG
อนุสัญญามุ่งหมายจะบังคับใช้กับสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศที่xxxxxxxx xxxxxxประกอบธุรกิจอยู่ในรัฐภาคีอย่างเป็นxxxxxx ผู้ยกร่างจึงเน้นให้อนุสัญญาxxxxxxบังคับใช้ได้ด้วย ตัวเอง xxxxxxxxxนำหลักกฎหมายภายในมาใช้ ข้อ ๗ จึงได้กำหนดหลักการตีความอนุสัญญาไว้ เป็นการเฉพาะ ดังนี้ “ข้อ ๗ การตีความพระราชบัญญัตินี้ให้xxxxxถึงลักษณะความเป็นระหว่างประเทศ ความจำเป็นในการxxxxxxxxให้เกิดความสอดคล้องกันในการใช้กฎหมาย และหลักxxxxxxในทางการค้าระหว่างประเทศ และในกรณีมีปัญหาที่เกี่ยวกับการใดxxxxxxxภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้ โดยมิได้มีบทบัญญัติอันชัดแจ้ง กำหนดไว้ ให้วินิจฉัยไปตามหลักทั่วไปแห่งพระราชบัญญัตินี้ ถ้าxxxxxxหาหลักทั่วไปดังกล่าวได้ ให้วินิจฉัยไป ตามกฎหมายที่ใช้บังคับตามหลักเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย”
ผู้เขียนจึงได้ศึกษาความหมายของหลักการตีความตามข้อ ๗ ดังกล่าวจากคำอธิบายใน UNCITRAL Digest of Case Law on the United Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods (2016 Edition) ซึ่งโดยภาพรวมแล้ว ข้อ ๗ นี้เป็นการสร้างมาตรฐาน ที่สะท้อนแนวโน้มปัจจุบันในกฎหมายพาณิชย์ระหว่างประเทศ โดยแบ่งออกเป็นสองส่วน (๑) กำหนด ข้อพิจารณาหลายประการในการตีความอนุสัญญา และ (๒) อธิบายวิธีการที่จะจัดการกับช่องว่างของ xxxxxxxx xxxx ประเด็นที่xxxxxxxxxxxใช้บังคับแต่xxxxxxกำหนดชัดแจ้งในอนุสัญญา ซึ่งจะทำให้ผู้อ่านได้ทราบถึง
หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการตีความของอนุสัญญา โดยเป็นการนำแนวคำวินิจฉัยของศาลของรัฐภาคี และคณะอนุญาโตตุลาการxxxxxxวินิจฉัยในประเด็นต่าง ๆ มาแสดงให้เห็นถึงแนวการตีความตามxxxxxxxxxxxมี อยู่ในปัจจุบัน ดังจะได้กล่าวต่อไป
หลักทั่วไปในการตีความอนุสัญญา
เนื่องจากหลักเกณฑ์การซื้อขายของประเทศต่าง ๆ แตกต่างกันอย่างชัดเจนทั้งแนวคิด และวิธีการ ในการตีความxxxxxxxx xxxเป็นเรื่องสำคัญสำหรับผู้xxxxxxxวินิจฉัยคดีนั้น ๆ ที่จะต้องหลีกเลี่ยง ไม่ให้กฎหมายภายในของตนเข้ามามีxxxxxxxในการวินิจฉัยคดี ข้อ ๗ วรรคหนึ่ง จึงกำหนดว่า ในการตีความ อนุสัญญา “ต้องพิจารณาลักษณะความเป็นระหว่างประเทศและความจำเป็นในการxxxxxxxxความเป็นxxxxxx ในการบังคับใช้อนุสัญญา”
ศาลหนึ่งได้เคยวินิจฉัยว่า อนุสัญญาร่างเป็นภาษาอาราบิค อังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย และxxx และมีการแปลเป็นภาษาอื่น ๆ xxxx ภาษาเยอรมันด้วย ในกรณีเกิดข้อสงสัยในถ้อยคำ จึงควรอ้างอิงไปที่ ต้นฉบับ ซึ่งได้แก่ ฉบับภาษาอังกฤษเป็นลำดับแรก และภาษาฝรั่งเศสเป็นลำดับสอง เนื่องจากทั้งสองภาษาเป็น ภาษาทางการที่ใช้ในการประชุม และในการเจรจาได้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก
ลักษณะความเป็นระหว่างประเทศของอนุสัญญา
คำพิพากษาศาลจำนวนหนึ่งได้แสดงให้เห็นว่า การอ้างถึงลักษณะความเป็นระหว่างประเทศ ของอนุสัญญาในข้อ ๗ (๑) เป็นการห้ามผู้xxxxxxxวินิจฉัยคดีตีความอนุสัญญาบนพื้นฐานของกฎหมายภายใน แต่ต้องตีความอนุสัญญาอย่างเป็นเอกเทศ มีศาลหนึ่งxxxxxx บทบัญญัติดังกล่าวกำหนดว่าหลักสำคัญของ การตีความอนุสัญญาจะต้องนำมาจากตัวอนุสัญญา เว้นแต่ในอนุสัญญาจะกำหนดไว้เป็นอย่างอื่นอย่างชัดแจ้ง มีหลายศาลxxxxxxบทบัญญัตินี้ทำให้ศาลจำเป็นต้องเป็นxxxxxจากวิธีการxxxxxxxxxชาติตนเป็นใหญ่และวิธีการที่xxxx จะใช้สำหรับการตีความกฎหมายภายใน เนื่องจากมิxxxxนั้นแล้วจะก่อให้xxxxxxxใช้สถาบันภายในและกฎหมาย ภายใน นอกจากนี้ จะก่อให้xxxxxxxขาดxxxxxxในการบังคับใช้อนุสัญญา มีอีกศาลหนึ่งxxxxxx การตีความ อนุสัญญาอย่างเป็นเอกเทศ หมายถึง ต้องใช้และตีความอนุสัญญาจากเนื้อหาของอนุสัญญาเท่านั้น โดยxxxxxถึงหลักการของอนุสัญญาและคำพิพากษาของศาลต่างประเทศเกี่ยวกับอนุสัญญา ต้องหลีกเลี่ยง การใช้คำวินิจฉัยตามกฎหมายภายในมาพิจารณา บางศาลระบุชัดเจนว่า การแก้ไขปัญหาภายในประเทศ จะไม่นำมาพิจารณาเพราะมีความแตกต่างจากการแก้ไขปัญหาของxxxxxxxx
xxxxxxxxxxx มีบางศาลวินิจฉัยว่า ไม่ใช่ทุกถ้อยคำของxxxxxxxxxxxจะต้องตีความเป็นเอกเทศ ตัวอย่างxxxx ในขณะที่คำว่า “การซื้อขาย” “สินค้า” “สถานประกอบการ” และ “ถิ่นxxxxxxxxxxxx” xxxxxx ตีความเป็นxxxxxxxxx แต่คำว่า “กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล” (กฎหมายขัดกัน) ที่ใช้ในข้อ ๑ (๑) (บี) และข้อ ๗ (๒) ไม่xxxxxxทำxxxxนั้นได้ โดยถ้อยคำดังกล่าวจะต้องเป็นไปตามความเข้าใจของผู้xxxxxxx วินิจฉัยคดีเกี่ยวกับคำว่า “กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล” (กฎหมายขัดกัน)
แม้กระนั้นก็ตาม บางศาลยังxxxxxxคำพิพากษาxxxxxxxxxxxxตีความกฎหมายภายในว่าด้วย ซื้อขาย ถึงแม้จะไม่เรียกว่าเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับ อาจเป็นการบ่งบอกถึงแนวทางของศาลในการตีความ xxxxxxxxxxxในกรณีที่ภาษาที่ใช้ในข้อบทที่เกี่ยวข้องของอนุสัญญาเหมือนภาษาที่ใช้ในกฎหมายภายใน คำพิพากษาxxxxxxxxxบางเรื่องxxxxxx การอ้างถึงประวัติศาสตร์การยกร่างอนุสัญญา รวมถึงงานเขียนของ นักวิชาการระหว่างประเทศ ยอมรับให้นำมาใช้ในการตีความxxxxxxxxxxxx นอกจากนี้ การตัดสินประเด็น ต่าง ๆ ในxxxxxxxxx โดยทั่วไปศาลจะพิจารณาไปที่ภาษาของxxxxxxxxxนั้น
การxxxxxxxxการบังคับใช้อย่างเป็นxxxxxx
บทบังคับตามข้อ ๗ (๑) ที่ให้xxxxxถึงความจำเป็นในการxxxxxxxxความเป็นxxxxxxของการ บังคับใช้xxxxxxxx xxxเคยมีบางองค์คณะตีความว่า เป็นการกำหนดให้ผู้xxxxxxxวินิจฉัยคดีต้องตีความ อนุสัญญาโดยxxxxxถึงคำวินิจฉัยต่างประเทศที่บังคับใช้อนุสัญญาด้วย และมีศาลจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ ที่อ้างถึงคำตัดสินของศาลต่างประเทศ อย่างไรก็ดี มีหลายศาลxxxxxxชัดเจนว่าคำตัดสินของศาลต่างประเทศ เป็นเพียงข้อพิจารณา ไม่มีผลผูกพันให้ต้องตัดสินตาม
การเคารพหลักxxxxxxในการค้าระหว่างประเทศ
ข้อ ๗ (๑) ยังกำหนดด้วยว่า ต้องตีความอนุสัญญาในลักษณะxxxxxxxxการเคารพหลักxxxxxx ในการค้าระหว่างประเทศ ได้มีการวางหลักไว้ว่า การกำหนดให้บอกเลิกสัญญาเมื่อผู้ขายxxxxxxxxxxxxxx “อย่างชัดเจนและxxxxxxxxxxxx” ว่าตนจะไม่ชำระหนี้ xxxxxxxxxxxxxxต่อบทบังคับดังกล่าว แม้ว่าหลักxxxxxx มีกล่าวถึงในข้อ ๗ (๑) เท่านั้น แต่ตราบใดที่เกี่ยวข้องกับการตีความอนุสัญญา มีหลักเกณฑ์มากมายใน xxxxxxxxxxxสะท้อนถึงหลักxxxxxx ดังมีตัวอย่างข้อบทที่สะท้อนหลักxxxxxxดังต่อไปนี้
• ข้อ ๑๖ (๒) (บี) กำหนดให้คำเสนอเพิกถอนxxxxxx ถ้ามีเหตุอันxxxxxxxxผู้ทำxxxxxxจะเชื่อ ในคำเสนอและปฏิบัติตามคำเสนอนั้น
• ข้อ ๒๑ (๒) กำหนดเกี่ยวกับการxxxxxxxxxxxxที่ไปถึงล่วงเวลา หากการส่งในxxxxxxxxx xxxxนั้นตามภาวะxxxxน่าจะไปถึงผู้เสนอในเวลาที่กำหนด
• ข้อ ๒๙ (๒) กำหนดในบางxxxxxxxxx xxxยอมให้คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งกล่าวอ้างข้อกำหนด ในสัญญาที่กำหนดให้การแก้ไขหรือสิ้นสุดสัญญาต้องทำเป็นลายลักษณ์xxxxx
• ข้อ ๓๗ และข้อ ๔๖ กำหนดxxxxxของผู้ขายที่จะเยียวยาความไม่ถูกต้องของสินค้า
• ข้อ ๔๐ กำหนดไม่ให้ผู้ขายอาศัยความล้มเหลวของผู้ซื้อในการxxxxxxxxความไม่ถูกต้อง
ของสินค้าตามข้อ ๓๘ และข้อ ๓๙ ถ้าการxxxxxxxxxxxxเกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่ผู้ขายรู้หรือxxxxxxปฏิเสธไดว่า ไม่รู้และผู้ขายxxxxxxเปิดเผยต่อผู้ซื้อ
• ข้อ ๔๗ (๒) ข้อ ๖๔ (๒) และข้อ ๘๒ เกี่ยวกับการเสียxxxxxบอกเลิกสัญญา
• ข้อ ๘๕ ถึงข้อ ๘๘ กำหนดหน้าที่ของคู่สัญญาในการดูแลรักษาสินค้า
การอุดช่องว่าง
ตามข้อ ๗ (๒) เป็นเรื่องการอุดช่องว่างของxxxxxxxx xxxx ปัญหาที่เกี่ยวกับอนุสัญญาแต่ ในxxxxxxxxxxxได้ให้คำตอบไว้อย่างชัดเจน (บางศาลxxxxxxเป็น “ช่องว่างภายใน”) ในกรณีที่เป็นไปได้ และต้อง ไม่อาศัยกฎหมายภายใน แต่อาศัยหลักการทั่วไปของอนุสัญญาเพื่อรักษาความเป็นxxxxxxของการบังคับใช้ อนุสัญญา ข้อ ๗ (๒) ยอมให้อ้างถึงกฎหมายภายในที่ใช้บังคับเพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะในกรณีไม่มีหลักการ ทั่วไป โดยจะต้องใช้วิธีการนี้เป็นหนทางสุดท้ายเท่านั้น ดังนั้น xxxxxxxxxxxกำหนดให้ใช้การตีความภายใน อนุสัญญาก่อนเป็นอันดับแรก ในการตีความประเด็นหรือช่องว่างต่าง ๆ (กล่าวคือ การแก้ไขปัญหาจะต้อง แสวงหาหนทางแก้ไขภายในระบบของอนุสัญญาเองเป็นอันดับแรก) ปัญหาเรื่องใดก็ตามที่ xxxxxxxxxxxได้ ใช้บังคับเลย ซึ่งบางศาลเรียกว่า “ช่องว่างภายนอก” จะต้องแก้ไขโดยกฎหมายภายในที่นำมาใช้บังคับตามหลัก กฎหมายขัดกันของเขตxxxxxxxxมีการฟ้องร้องคดี หรือถ้าเป็นไปได้ ต้องแก้ไขโดยอนุสัญญาว่าด้วยกฎหมาย xxxxxxอื่น ประเด็นดังกล่าวได้มีการอธิบายไว้ในการอธิบายข้อ ๔ ใน Digest นี้ด้วย
ศาลหนึ่งได้กล่าวไว้ว่า การอุดช่องว่างภายในของอนุสัญญาxxxxxxxxxxxตามหลักกฎหมาย
เทียบเคียง ศาลอีกแห่งหนึ่งได้กล่าวไว้อย่างชัดเจนว่า หลักทั่วไปของกฎหมายภายในไม่xxxxxxนำมาใช้ อุดช่องว่างภายในของxxxxxxxxxxx เพราะจะเป็นการขัดต่อหลักความเป็นxxxxxxในการใช้บังคับอนุสัญญา
หลักทั่วไปของอนุสัญญา
- ความเป็นxxxxxของคู่สัญญา
มีหลายศาลxxxxxx หลักประการหนึ่งของหลักทั่วไปที่เป็นพื้นฐานของอนุสัญญา คือ หลักxxxxx ของคู่สัญญา มีศาลหนึ่งxxxxxx หลักการพื้นฐานของหลักความเป็นxxxxxของเอกชนได้รับการยืนยันไว้ในข้อ ๖ ซึ่งยอมให้คู่สัญญาตกลงกันให้แตกต่างไปจากบทบัญญัติของอนุสัญญาหรือแม้แต่ไม่นำอนุสัญญามาใช้ทั้งฉบับ ไม่ว่าจะเป็นการตกลงกันโดยชัดแจ้งหรือโดยปริยาย
- หลักxxxxxx
หลักxxxxxxถือเป็นหลักทั่วไปของอนุสัญญา ตามหลักนี้ ศาลเคยกล่าวว่า ผู้ซื้อไม่จำต้อง บอกเลิกสัญญาอย่างชัดแจ้ง ถ้าผู้ขายxxxxxxxxxจะชำระหนี้ของตน และยืนยันว่าการให้xxxxxxxxอย่างชัดแจ้ง ในพฤติการณ์ดังกล่าวเป็นการละเมิดหลักxxxxxx ถึงแม้ว่าอนุสัญญาจะกำหนดไว้ชัดเจนว่าจะต้องมีการบอกเลิก สัญญาอย่างชัดแจ้งก็ตาม ในคดีอื่น ๆ ศาลให้คู่สัญญาจ่ายค่าเสียหายเพราะพฤติกรรมของคู่สัญญาขัดต่อ หลักxxxxxxในทางการค้าระหว่างประเทศตามที่กำหนดในข้อ ๗ ของอนุสัญญา ศาลยังxxxxxxxxxxกระบวนการ xxxxxxชอบก็เป็นการละเมิดหลักxxxxxx ในอีกคดีที่แตกต่าง ศาลxxxxxx ตามหลักทั่วไปของหลักxxxxxxxxxกำหนด ในxxxxxxxx xxxเป็นการxxxxxxxxxxจะบังคับใช้ข้อกำหนดและเงื่อนไขทั่วไปที่อยู่ในคำเสนอ เพื่อทำสัญญา หากไม่มีการให้เนื้อหาของข้อกำหนดและเงื่อนไขนั้นก่อนหรือระหว่างปิดการตกลง ในคดีอื่น ศาลxxxxxx ข้อสัญญาว่าด้วยเขตxxxxxย่อมไม่มีผลต่อหลักxxxxxxxxxกำหนดในข้อ ๗ ของอนุสัญญา หลักนี้บ่งxxxxxx สัญญา ต้องกำหนดเนื้อหาในลักษณะที่คู่สัญญาจะคาดหมายได้ตามxxxxx ในแง่นี้ หลักxxxxxxย่อมถูกละเมิด หากศาลตัดสินให้ข้อสัญญาว่าด้วยเขตxxxxxมีผลลับหลังสัญญาโดยผู้ขายxxxxxxยินยอมด้วย ในคดีคล้ายคลึงกัน ศาลอ้างถึงหลักxxxxxxโดยชี้ให้เห็นว่าอนุสัญญาเขียนขึ้นโดยให้ความสำคัญอย่างยิ่งกับหลักxxxxxxในแง่ที่ว่า
คู่สัญญาต้องคาดหมายในเนื้อหาของสัญญาตามหลักอันควรคาดหมายได้ ซึ่งจำเลยโต้แย้งว่า หลักดังกล่าว อาจถูกทำลายลงอย่างร้ายแรงถ้าจะให้ข้อสัญญาที่อ้างถึงอนุญาโตตุลาการในสัญญาค้ำประกันนำมาใช้ได้
ในคดีอื่น ๆ ศาลxxxxxxหลักการทั่วไปของหลักxxxxxx คือ การที่คู่สัญญาจะต้องให้ความร่วมมือ ซึ่งกันและกันและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกี่ยวข้องสำหรับการชำระหนี้ของตน
มีหลายศาลxxxxxx ข้อห้ามมิให้บุคคลกระทำการใดที่ขัดต่อการกระทำก่อน ๆ ของตนต้อง xxxxxxเป็นหลักxxxxxxxxxได้รับการพิสูจน์แล้ว
- หลักกฎหมายปิดปาก
มีบางคำนิจฉัยตัดสินว่า หลักกฎหมายปิดปากเป็นหนึ่งในหลักทั่วไปที่เป็นพื้นฐานของ อนุสัญญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแสดงให้เห็นชัดเจนว่ามีหลักxxxxxxอยู่ แต่ในอีกศาลหนึ่งกลับxxxxxxxxxxxxxx xxxเกี่ยวกับหลักกฎหมายปิดปาก
- หลักความรับผิดเฉพาะคู่สัญญา
มีศาลหนึ่งยืนยันว่า แม้จะไม่มีการระบุอย่างชัดแจ้งในอนุสัญญา หลักความรับผิดเฉพาะ คู่สัญญาใช้บังคับกับสัญญาที่อยู่ภายใต้xxxxxxxxxxx ในฐานะเป็นหลักทั่วไปxxxxxxรับการยอมรับในxxxxxxxxx ระหว่างประเทศและกฎหมายของรัฐที่เกี่ยวข้อง
- สถานที่ชำระหนี้xxxx
xxคำตัดสินจำนวนมากxxxxxx xxxxxxxxxxxรวมหลักทั่วไปเกี่ยวกับสถานที่ชำระหนี้เงินไว้ด้วย ดังนั้น การวินิจฉัยสถานที่ชำระค่าสินไหมทดแทนกรณีสินค้าไม่ถูกต้องxxxxxxxx ศาลจึงxxxxxx xxxราคาที่ซื้อขาย xxxxxxชำระกันxxx x สถานประกอบการของผู้ขาย ตามข้อ ๕๗ ของอนุสัญญา แสดงว่าเป็นหลักทั่วไปที่ใช้กับ xxxxxเรียกร้องทางการเงินอื่น ๆ ด้วย ในการฟ้องเรียกคืนเงินที่ชำระเกินให้แก่ผู้ขาย ศาลxxxxxxมีหลักทั่วไปอยู่ว่า การชำระเงินต้องทำ ณ ภูมิลำเนาของเจ้าหนี้ หลักนี้ได้ขยายไปถึงสัญญาการค้าระหว่างประเทศอื่น ๆ ตามข้อ ๖.๑.๖ ของหลัก UNIDROIT ศาลอื่นชี้ให้เห็นถึงหลักทั่วไปของอนุสัญญากรณีมีการเลิกสัญญาว่า สถานที่สำหรับปฏิบัติการชำระหนี้คืนควรพิจารณาจากการวางตำแหน่งเปลี่ยนกันจากหนี้เดิมเป็นหนี้ที่ใช้คืน ผ่านการใช้หลักกระจกสะท้อนกลับ มีศาลหนึ่งตัดสินเหมือนที่กล่าวข้างต้นแต่ใช้หลักการxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx มีอยู่ศาลหนึ่งปฏิเสธการมีอยู่ของหลักทั่วไปของอนุสัญญาในการพิจารณาสถานที่ชำระหนี้เงินทั้งปวง
- สกุลเงินที่จะชำระ
มีศาลหนึ่งเห็นxxx xxxxเงินที่จะใช้ชำระหนี้เป็นไปตามอนุสัญญาอยู่แล้วแม้จะไม่มีการ กำหนดไว้ชัดเจน มีศาลบันทึกไว้ว่ามีความเห็นหนึ่งที่เห็นว่าหลักทั่วไปภายใต้อนุสัญญาคือ สถานประกอบการ ของผู้ขายครอบคลุมประเด็นทั้งหมดเกี่ยวกับการชำระเงิน รวมถึงประเด็นxxxxxxxxxxเงิน เว้นแต่คู่สัญญา จะกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น แต่ศาลยังบันทึกด้วยว่ามีความเห็นหนึ่งที่เห็นว่าเมื่อไม่มีหลักทั่วไปในxxxxxxxxxxxตรง กับประเด็นปัญหา ก็ต้องนำกฎหมายภายในที่เกี่ยวข้องมาใช้บังคับกับประเด็นนั้น ศาลไม่xxxxxxทางเลือกดังกล่าว ทางเลือกใดถูก เพราะตามข้อเท็จจริงของคดี แต่ละคดีจะนำไปสู่ผลที่เหมือนกัน (การชำระเงินเป็นไปxxx xxxxเงินของสถานประกอบการของผู้ขาย) มีศาลอื่นxxxxxx xxxxxxxxxxxครอบคลุมถึงประเด็นxxxxxxxxxxเงินเลย จึงต้องใช้กฎหมายภายในบังคับ
- ภาระการพิสูจน์
ตามคำตัดสินจำนวนมาก อนุสัญญาครอบคลุมถึงประเด็นเรื่องภาระการพิสูจน์ของคู่สัญญา แม้จะไม่มีการกำหนดไว้ชัดเจนในอนุสัญญา โดยพิจารณาจากหลักทั่วไปที่เป็นพื้นฐานของอนุสัญญา ทั้งนี้ หลักทั่วไปที่ตรงประเด็นย่อมมีแฝงอยู่ในอนุสัญญา คำxxxxxxxxxหลากหลายในกรณีนี้xxxxxx ข้อ ๗๙ (๑) และ ข้อ ๒ (เอ) (มีหนึ่งคดีอ้างถึง) เป็นหลักฐานแสดงถึงหลักทั่วไปดังกล่าวซึ่งสรุปได้ดังนี้ xxxxxxxxxxxxxxxxxxจะxxxxxx xxทางกฎหมายที่เป็นประโยชน์แก่ตนจากบทบัญญัติใด ก็จะต้องพิสูจน์ความมีอยู่ของข้อเท็จจริงที่เป็นxxxxxxxx xxxxxxxxxxซึ่งจำเป็นต่อการกล่าวอ้างบทบัญญัตินั้น xxxxxxxxxxxร้องขอยกเว้นก็จะต้องพิสูจน์ข้อเท็จจริงที่เป็น xxxxxxxxxxxxxxxxxxสำหรับการยกเว้นนั้น ในบางองค์คณะxxxxxx ในการจัดสรรภาระการพิสูจน์ จะต้องพิจารณาว่า คู่สัญญามีความใกล้ชิดกับข้อเท็จจริงแห่งประเด็นอย่างไร xxxx ความxxxxxxของxxxxxxxxxxxจะรวบรวม และส่งหลักฐานสำหรับประเด็นนั้น แต่ในบางศาลxxxxxx xxxxxxxxxxxครอบคลุมถึงประเด็นภาระการพิสูจน์เลย จึงต้องใช้กฎหมายภายในบังคับ
- การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเต็มจำนวน
บางคำตัดสินxxxxxx อนุสัญญาอยู่บนพื้นฐานของหลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเต็มจำนวน สำหรับความเสียหายในกรณีผิดสัญญา มีศาลหนึ่งใช้หลักทั่วไปอย่างเคร่งคัดในคดีโดยถ้ามีการผิดสัญญา ก็จะต้องเลิกสัญญา มีศาลหนึ่งxxxxxxการจำกัดค่าเสียหายเฉพาะเท่าที่คาดหมายได้ เป็นหลักทั่วไปประการหนึ่ง ของอนุสัญญา
- ความไม่มีรูปแบบ
องค์คณะหลายคณะxxxxxx หลักของความไม่มีรูปแบบที่แสดงอยู่ในข้อ ๑๑ เป็นหลักทั่วไป ที่เป็นพื้นฐานของอนุสัญญา จากหลักนี้ คู่สัญญามีเสรีภาพในการแก้ไขหรือยกเลิกสัญญาไม่ว่าโดยวาจาหรือ โดยลายลักษณ์xxxxx หรือโดยรูปแบบอื่น การเลิกสัญญาโดยปริยายย่อมเป็นไปได้ และยังเคยxxxxxxสัญญา ลายลักษณ์xxxxxxxxถูกแก้ไขโดยวาจาได้ นอกจากนี้ ในหลายศาลxxxxxx หลักความไม่มีรูปแบบยอมให้บุคคล ระบุว่าคำxxxxxxxxความไม่ถูกต้องxxxxxxxxไม่จำเป็นต้องทำเป็นลายลักษณ์xxxxx และxxxxxxxxxxx โดยวาจาหรือโดยโทรศัพท์ แต่มีศาลหนึ่งชี้ในทางตรงข้ามว่า xxxxxxxxxxxได้ระบุรูปแบบของการxxxxxxxx ความไม่ถูกต้องxxxxxxxx แต่ข้อเท็จจริงที่ว่าจะต้องมีการส่งคำxxxxxxxxและบทบัญญัติก็มีเนื้อหาแสดง ถึงxxxxxxxxนั้น แสดงว่าคำxxxxxxxxจะต้องทำเป็นลายลักษณ์xxxxx ดังนั้น ตามศาลดังกล่าว คำxxxxxxxx xxxระบุลักษณะของการxxxxxxxxxxxxควรจะต้องส่งโดยไปรษณีย์ลงทะเบียน โทรเลข หรือวิธีการอื่น xxxxxxเชื่อถือ
- การส่งการสื่อสาร
หลักเกณฑ์การส่งตามข้อ ๒๗ ใช้กับการสื่อสารระหว่างคู่สัญญาหลังจากเข้าทำสัญญาแล้ว ตามหลักเกณฑ์นี้ คำxxxxxxxx การร้องขอ หรือการสื่อสารอื่น ๆ มีผลเมื่อxxxxxxxxxxxxxxxสื่อสารหลุดพ้นการ ควบคุมของตนตามวิธีการที่สื่อสารนั้น หลักเกณฑ์นี้ใช้กับคำxxxxxxxxความไม่ถูกต้องxxxxxxxxหรือxxxxx เรียกร้องของบุคคลที่สาม (ข้อ ๓๙ ข้อ ๔๓) การเรียกให้มีการชำระหนี้โดยเฉพาะเจาะจง (ข้อ ๔๖) การเรียก ให้ลดราคา (ข้อ ๕๐) การเรียกค่าเสียหาย (ข้อ ๔๕ วรรคหนึ่ง (บี)) หรือการเรียกดอกเบี้ย (ข้อ ๗๘) จนถึงการ
บอกเลิกสัญญา (ข้อ ๔๙ ข้อ ๖๔ ข้อ ๗๒ ข้อ ๗๓) การxxxxxxxxกำหนดระยะเวลาเพิ่มเติมสำหรับการชำระหนี้ (ข้อ ๔๗ ข้อ ๖๓) และคำxxxxxxxxอื่น ๆ ที่กำหนดในxxxxxxxx xxxx ตามที่กำหนดในข้อ ๓๒ (๑) ข้อ ๖๗ (๒) และข้อ ๘๘ คำพิพากษาxxxxxxxxxxxxxxx หลักการส่งเป็นหลักทั่วไปที่แฝงอยู่ในหมวด ๓ ของอนุสัญญา และใช้บังคับกับการสื่อสารอื่นใดของxxxxxxxxxxxกำหนดในสัญญาของตน เว้นแต่คู่สัญญาตกลงกันว่าการสื่อสาร ต้องได้รับเสียก่อนจึงจะมีผล
- การลดค่าเสียหาย
ข้อ ๗๗ กำหนดหลักเกณฑ์ว่าxxxxxxxxxxxxxจะได้รับxxxxxxลดลงได้ตามจำนวน ความxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxเสียหายจะxxxxxxความเสียหายนั้นได้ด้วยการใช้มาตรการที่เหมาะสมใน พฤติการณ์นั้น หลักการลดค่าเสียหายถือเป็นหลักทั่วไปที่เป็นพื้นฐานของอนุสัญญา xxxxxxxxxxxxxxx หลักทั่วไปจากข้อ ๗ (๑) ข้อ ๗๗ และข้อ ๘๐ โดยกล่าวว่า คู่สัญญาซึ่งมีส่วนร่วมกันรับผิดในค่าเสียหาย ตามอนุสัญญาแม้จะรับผิดแยกจากกัน ก็ควรจะต้องรับผิดชอบในส่วนของตน
- ประเพณีทางการค้าที่มีผลผูกพัน
หลักทั่วไปอีกหลักหนึ่งxxxxxxรับการยอมรับในคำพิพากษาxxxxxxxxx คือ หลักxxxxxxจาก ข้อ ๙ (๒) ที่ว่า เว้นแต่คู่สัญญาจะกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น คู่สัญญาจะต้องผูกพันในประเพณีทางการค้าxxxxxxรู้ หรือควรจะได้รู้และในทางการค้าระหว่างประเทศเป็นประเพณีทางการค้าxxxxxxxxxxxซึ่งคู่สัญญารับรู้ และปฏิบัติตามเป็นxxxxของสัญญาในประเภทที่เกี่ยวข้องกับการค้านั้นเป็นการเฉพาะ
- การxxxxxxxxxxxx
มีศาลหนึ่งให้แนวทางว่า อนุสัญญาครอบคลุมถึงประเด็นการxxxxxxxxxxxxแม้จะxxxxxx xxxxxxxอย่างชัดแจ้ง และหลักทั่วไปนั้นอยู่ในความหมายของข้อ ๗ (๒) ซึ่งยอมให้มีการเรียกร้องที่เกิดขึ้นจาก อนุสัญญาในลักษณะต่างตอบแทนด้วยการxxxxxxxxxxxxกันได้ (xxxx ผู้ซื้อเรียกร้องค่าเสียหาย และผู้ขาย เรียกร้องดอกผลจากการซื้อขาย) แต่มีศาลอื่นxxxxxx xxxxxxxxxxxครอบคลุมถึงประเด็นการxxxxxxxxxxxxเลย จึงต้องใช้กฎหมายภายในบังคับ
อย่างไรก็ดี คำตัดสินของศาลสูงเมื่อไม่นานมานี้xxxxxx อนุสัญญาxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxx xxxxxxxxเรียกร้องระหว่างxxxxxxxจากสัญญาเดียวกันและถ้าสัญญานั้นอยู่ภายใต้อนุสัญญา เพียงแต่เป็น เรื่องจำเป็นที่คู่สัญญาจะต้องxxxxxxxxการxxxxxxxxxxxxxxxว่าโดยชัดแจ้งหรือโดยปริยาย จากนั้นxxxxx เรียกร้องระหว่างกันจะสิ้นสุดลงเท่าจำนวนที่หักกลบลบกัน ในคำตัดสินอีกคดีหนึ่ง ศาลสูงเดียวกันxxxxxx การxxx xxxxxxxxxxxxนำมาใช้ ถ้าคู่สัญญาตกลงข้อสัญญาว่าด้วยการเลือกศาลพิจารณาคดีโดยกำหนดให้ต้องนำ xxxxxเรียกร้องไปฟ้องต่อศาลของฝ่ายจำเลย ในคดีxxxxxxxxx ผู้ขายท่อเอ็กซxxxxxxxxxxฟ้องผู้ซื้อชาวเยอรมนี เรียกให้ชำระเงิน ศาลปฏิเสธไม่ให้มีการxxxxxxxxxxxxระหว่างค่าซื้อขายกับค่าเสียหายจากสินค้าที่บกพร่อง เพราะข้อสัญญาเกี่ยวกับการกำหนดศาลในการพิจารณาคดีกำหนดให้ฟ้องต่อศาลในxxx แต่อย่างไรก็ดี ศาลยอมรับข้อต่อสู้ของจำเลยเรื่องการไม่เป็นไปxxxxxxxxและให้ยึดหน่วงการชำระราคาได้
- สิทธิยึดหน่วงการชำระหนี้และการแลกเปลี่ยนการชำระหนี้พร้อมกัน
มีบางศาลxxxxxx อนุสัญญากำหนดxxxxxทั่วไปของผู้ซื้อในการยึดหน่วงการชำระหนี้ของตนหาก ผู้ขายxxxxxxชำระหนี้ ในบางศาลxxxxxxหลักการแลกเปลี่ยนการชำระหนี้พร้อมกันเป็นxxxxxxxxxxแฝงอยู่ใน อนุสัญญา
- xxxxxในดอกเบี้ย
มีบางองค์คณะxxxxxx การให้xxxxxเรียกดอกเบี้ยในเงินที่ค้างชำระ (ดูข้อ ๗๘) ถือเป็นหลักทั่วไป ของอนุสัญญา มีบางองค์คณะxxxxxx อนุสัญญาอยู่บนพื้นฐานหลักทั่วไปซึ่งให้xxxxxในการเรียกดอกเบี้ยโดยไม่ต้อง แจ้งเป็นทางการต่อลูกหนี้ผิดนัด แต่xxxxตัดสินอื่นxxxxxxดอกเบี้ยในจำนวนเงินที่ค้างชำระเรียกได้เมื่อมีการแจ้ง เป็นทางการต่อลูกหนี้แล้วเท่านั้น
มีบางศาลxxxxxx การพิจารณาอัตราดอกเบี้ยซึ่งเป็นประเด็นxxxxxxได้กำหนดไว้ในอนุสัญญา เป็นการเฉพาะ จะต้องพิจารณาจากหลักทั่วไปของอนุสัญญา แต่ตามความเห็นของเสียงส่วนใหญ่ อัตรา ดอกเบี้ยxxxxxxครอบคลุมอยู่ในอนุสัญญาเลย จึงต้องพิจารณาตามกฎหมายที่ใช้บังคับซึ่งกำหนดโดยวิธีการ ตามกฎหมายขัดxxxxxxใช้ในเขตxxxxxของผู้พิจารณาคดี ตามข้อ ๗ (๒)
- ค่าใช้จ่ายในหนี้ของแต่ละฝ่าย
มีศาลหนึ่งxxxxxxอนุสัญญาอยู่บนพื้นฐานของxxxxxxxxxxว่า “คู่สัญญาต้องรับผิดชอบค่าใช้จาย อันเกี่ยวกับหนี้ของตน”
- xxxxxxxxxxxxเปลี่ยนแปลงไปและการเจรจากันใหม่
มีศาลหนึ่งxxxxxxตามหลักทั่วไปที่เป็นพื้นฐานของอนุสัญญา xxxxxxxxxxxกล่าวอ้างxxxxxxxxx xxxเปลี่ยนแปลงไปซึ่งมีผลกระทบต่อความxxxxxของสัญญาอย่างสำคัญย่อมมีxxxxxxxxจะเรียกให้มีการเจรจา สัญญากันใหม่ได้
- หลักสัญญาต้องxxxxxx
ผู้ให้ความเห็นหลายท่านได้ให้แนวทางว่าอนุสัญญาอยู่บนพื้นฐานของหลักสัญญาต้องxx xxxx (favor contractus) ซึ่งตามxxxxxxxxxx บุคคลควรใช้วิธีการxxxxxxให้เห็นว่าสัญญายังxxมีผลผูกพันคู่สัญญา ต่อไป xxxxxxxxให้สัญญานั้นเลิกกัน ความเห็นนี้มีการยอมรับในคำพิพากษาxxxxxxxxx มีศาลหนึ่งอ้างถึง หลักดังกล่าวอย่างชัดแจ้ง ในขณะที่อีกศาลหนึ่งxxxxxxหลักทั่วไปของสัญญากำหนดให้ความสำคัญกับ การปฏิบัติการxxxxxxxxมากกว่าเรื่องอื่น แต่ศาลอื่นเพียงแค่xxxxxxการเลิกสัญญาทำให้การเยียวยาเป็นวิธีการ สุดท้าย
คำตัดสินจำนวนมากxxxxxx ข้อ ๔๐ ครอบคลุมถึงหลักทั่วไปของxxxxxxxxxxxใช้ในการแก้ไข ประเด็นปัญหาตามอนุสัญญา คณะอนุญาโตตุลาการในคดีหนึ่งxxxxxx ข้อ ๔๐ เป็นการแสดงถึงหลักการค้า ที่เป็นธรรมซึ่งแฝงอยู่ในบทบัญญัติจำนวนหนึ่งของอนุสัญญา และโดยลักษณะของมันก็คือการxxxxxx หลักทั่วไปไว้ ดังนั้น จึงxxxxxxxxxxxxxยืนยันว่า ถึงแม้ข้อ ๔๐ จะxxxxxxบังคับใช้โดยตรงกับกรณีที่สินค้าไม่ถูกต้อง ตามข้อสัญญาว่าด้วยการรับประกัน แต่หลักทั่วไปที่แฝงอยู่ในข้อ ๔๐ อาจนำมาใช้โดยอ้อมกับเรื่องนี้ได้ โดยอาศัยข้อ ๗ (๒) คำตัดสินอีกคดีหนึ่ง ศาลได้หลักทั่วไปมาจากข้อ ๔๐ ว่า แม้ผู้ซื้อจะประมาทเลินเล่อ
อย่างมากก็ยังxxxxxxxxรับการคุ้มครองมากกว่าผู้ขายที่xxxxx xxxใช้หลักดังกล่าวเพื่อxxxxxxผู้ขายซึ่งให้ข้อมูลผิด เกี่ยวกับอายุและจำนวนไมล์ของรถยนต์ไม่xxxxxxxxxxxxxความรับผิดตามข้อ ๓๕ (๓) ได้ ถึงแม้ว่าผู้ซื้อ xxxxxxรู้ความxxxxxxxxxxxxในเวลาที่ทำสัญญา
- xxxxxxxxxxxxxxxxxxxระหว่างประเทศ (UNIDROIT) และหลักกฎหมายสัญญาของ
ยุโรป
มีศาลหนึ่งxxxxxxหลักทั่วไปของอนุสัญญาถูกรวมอยู่ในหลักสัญญาทางพาณิชย์ระหว่าง
ประเทศของ UNIDROIT และมีคณะอนุญาโตตุลาการคณะหนึ่งxxxxxx หลักการตาม UNIDROIT เป็นหลักการ ตามข้อ ๗ (๒) ของอนุสัญญา
มีคณะอนุญาโตตุลาการหนึ่งในการวินิจฉัยอัตราดอกเบี้ยสำหรับการชำระxxxxxxค้าง ได้นำ อัตราที่กำหนดในข้อ ๗.๔.๙ ของหลัก UNIDROIT และในข้อ ๔.๕๐๗ ของหลักกฎหมายสัญญายุโรปเดิม มาใช้ โดยอ้างว่าหลักดังกล่าวเป็นหลักทั่วไปอันเป็นพื้นฐานของอนุสัญญา ในคดีอื่น คณะอนุญาโตตุลาการอ้างถึง หลัก UNIDROIT เพื่อยืนยันผลภายใต้หลักของอนุสัญญา มีศาลหนึ่งอ้างถึงหลัก UNIDROIT ในการสนับสนุน การหาทางแก้ปัญหาบนพื้นฐานของอนุสัญญา มีอีกศาลหนึ่งxxxxxx หลัก UNIDROIT xxxxxxช่วยวินิจฉัย ความหมายxxxxxxxxxของหลักทั่วไปที่เป็นพื้นฐานของอนุสัญญา
ในคำตัดสินเกี่ยวกับข้อ ๗๖ ของอนุสัญญา คณะอนุญาโตตุลาการxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxพบในหลัก UNIDROIT ใช้ภาษาที่ง่ายกว่า และช่วยให้อ่านข้อ ๗๖ ของxxxxxxxxxxxง่ายขึ้น และน่าจะเป็นประโยชน์ถ้าได้อ่านหลักดังกล่าวก่อนที่จะบังคับใช้xxxxxxxxxxxxคล้ายคลึงกันของอนุ สัญญา นอกจากนี้หลักดังกล่าวยังช่วยให้ศาลหรือคณะอนุญาโตตุลาการรู้ได้ว่าxxxxxxxxxxxxxxจะxxxxxถึงเรื่องอะไร
๔. บทสรุป
เมื่อได้พิจารณาถึงหลักต่าง ๆ ที่ใช้เป็นแนวทางในการตีความอนุสัญญา CISG ที่ปรากฏใน เอกสาร Digest แสดงให้เห็นได้ว่า การบังคับใช้xxxxxxxxxxx ให้xxxxxศาลและองค์คณะอนุญาโตตุลาการ มีxxxxxในการตีความxxxxxxxxxxxในระดับหนึ่ง ดังจะเห็นได้ว่าบางประเด็นศาลก็ยังมีการให้แนวความเห็น ที่หลากหลายได้ หากต่อไปประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีอนุสัญญา และตราพระราชบัญญัติเพื่อxxxxxxxการแล้ว xxxxxxxxxxจะมีผลใช้บังคับเป็นกฎหมายภายในของไทยที่ศาลจะxxxxxxมาวินิจฉัยกับคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญา ซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศที่ผู้ซื้อและผู้ขายอยู่ต่างรัฐภาคีกัน ซึ่งเมื่อถึงตอนนั้น ศาลจะต้องนำหลักการ ตีความอนุสัญญาตามที่กล่าวข้างต้นมาใช้ในการพิจารณาคดี รวมทั้งนำมาใช้ในการศึกษาเปรียบเทียบกับ กฎหมายซื้อขายของไทยตามxxxxxxกฎมหมายแพ่งและพาณิชย์ อันจะทำให้ศาลไทยได้มีโอกาสวางแนวหลัก กฎหมายให้สอดคล้องกับระบบกฎหมายไทย ตลอดจนเป็นการพัฒนากฎหมายไทยต่อไปได้ด้วย
บรรณานุกรม
United Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods (CISG)
II. Explanatory Note by the UNCITRAL Secretariat on the United Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods
UNCITRAL Digest of Case Law on the United Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods (2016 Edition)