ฎีกา InTrend – การผิดสัญญาประนีประนอมยอมความในคดีอาญาจะเป็นเหตุให้เปลี่ยนโทษจำค ุกที่รอไว้ได้หรือไม่
xxxx InTrend – การผิดสัญญาประนีประนอมยอมความในคดีอาญาจะเป็นเหตุให้เปลี่ยนโทษจำxxxที่รอไว้ได้หรือไม่
xxxxx xxxxxxxxx
การทำสัญญาประนีประนอมยอมความxxxxแล้วเป็นการตกลงการชำระหนี้กันในทางแพ่ง หากไม่ปฏิบัติตามข้อตกลงย่อมจะถูกบังคับคดีตามกฎหมายได้ แต่บางครั้งการทำสัญญาประนีประนอมยอมความอาจเกิดขึ้นในคดีอาญาที่มีการเรียกให้ชดใช้xxxxxxxxxxxxxxxxx กรณีที่จะนำมากล่าวถึงในตอนนี้จะเป็นปัญหาที่ว่าการผิดสัญญาประนีประนอมยอมความในคดีอาญาจะเป็นเหตุให้ศาลนำโทษที่รอไว้มาลงได้หรือไม่ และการxxxxคำสั่งศาลกรณีนี้จะทำได้หรือไม่
นายจันทร์ได้ถูกxxxxxxxxxxxxxxxxxเป็นคดีข้อหาฉ้อโกงประชาชนต่อศาล นายxxxxxxซึ่งเป็นผู้เสียหายคนหนึ่งได้ขอเข้าเป็นโจทก์ร่วม นายจันทร์ได้ให้การรับสารภาพตามฟ้อง และได้ตกลงทำสัญญาxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่นายxxxxxxด้วย
ศาลจึงมีคำพิพากษาให้ลงโทษจำxxxนายจันทร์กระทงละ 2 ปี และปรับอีกกระทงละ 10,000 บาท นายจันทร์กระทำผิดทั้งหมด 10 กระทง รวมจำxxx 20 ปี และปรับ 100,000 บาท นายจันทร์รับxxxxxxxxxลดโทษให้กึ่งหนึ่ง แต่ให้รอการลงโทษไว้ 2 ปี โดย “ให้ไปรายงานตัวต่อพนักงานคุมประพฤติรวม 10 ครั้งตามระยะเวลาที่ต้องปฏิบัติการชดใช้เงินxxxxxxxxประนีประนอมยอมความ และให้พนักงานคุมประพฤติแนะนำจำเลยเกี่ยวกับการชดใช้เงินxxxxxxผลร้าย หากเห็นว่าจำเลยไม่มารายงานตัวตามกำหนดและไม่ใส่ใจในการxxxxxxผลร้าย ให้xxxxxxผิดเงื่อนไข ให้รายงานศาลเพื่อลงโทษซึ่งรอไว้”
ในส่วนที่ทำสัญญาประนีประนอมยอมความ ศาลได้พิพากษาตามยอมให้นายจันทร์ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามที่ตกลงไว้
ต่อมานายจันทร์xxxxxxไปรายงานตัวและไม่ชำระxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxประนีประนอมยอมความ พนักงานคุมxxxxxxxxxxได้รายงานให้ศาลทราบ ศาลจึงxxxxสั่งให้นำโทษที่รอไว้มาลง นายจันทร์จึงได้อุทธรณ์คำสั่งศาลดังกล่าว ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำสั่งของศาลชั้นต้น นายจันทร์จึงได้xxxxต่อศาลฎีกา
ในคดีนี้ความจริงมีการทำสัญญาประนีประนอมยอมความและศาลได้มีคำพิพากษาตามยอมสำหรับคดีส่วนแพ่งไป คำพิพากษาดังกล่าวความจริงแล้วxxxxxxนำไปบังคับคดียึดทรัพย์จำเลยเพื่อขายทอดตลาดได้ตามxxxxxxxxเดียวกับคำพิพากษาในคดีแพ่งทั่วๆไป แต่คดีนี้มีความพิเศษอยู่ตรงที่มีส่วนของคดีอาญาเข้ามาเกี่ยวพันด้วย
ในคดีส่วนอาญา กรณีลักษณะนี้ตามxxxxxxกฎหมายอาญา มาตรา 56 กำหนดให้ศาลอาจกำหนดเงื่อนไขเพื่อคุมความประพฤติของจำเลยได้ เงื่อนไขประการหนึ่งที่ศาลอาจกำหนดได้คือการให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือเยียวยาความเสียหายโดยวิธีอื่นให้แก่ผู้เสียหายตามที่ผู้กระทำความผิดและผู้เสียหายตกลงกัน
ในคดีนี้ข้อสังเกตxxxxxxสนใจประการหนึ่งคือในการพิพากษา ศาลได้กำหนดไว้ในคำพิพากษาxxxxxxให้พนักงานคุมประพฤติดูแลแนะนำจำเลยเกี่ยวกับการxxxxxxผลร้ายให้แก่ผู้เสียหายด้วย และกำหนดไว้ด้วยว่าหากจำเลยไม่xxxxxxผลร้ายก็ให้รายงานให้ทราบและถือเป็นการผิดเงื่อนไขการคุมประพฤติด้วย ทำให้การชำระxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxประนีประนอมยอมความกลายเป็นส่วนหนึ่งของเงื่อนไขการคุมประพฤติซึ่งเมื่อจำเลยไม่xxxxxxxxจะชำระค่าสินไหมทดแทนให้แก่xxxxxxxxxxxxxเป็นการผิดเงื่อนไขที่เป็นเหตุให้ศาลxxxxสั่งให้นำโทษที่รอไว้มาลงได้
ประเด็นอีกประการหนึ่งคือเมื่อศาลxxxxสั่งดังกล่าวแล้วมีการอุทธรณ์ แต่ศาลอุทธรณ์ก็พิพากษายืนตามคำสั่งศาลชั้นต้น จำเลยจึงได้xxxxต่อศาลฎีกา แต่กรณีลักษณะนี้ตามพระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. 2559 มาตรา 34 ได้กำหนดไว้โดยเฉพาะให้คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์เป็นที่สุด ทำให้จำเลยxxxxxxxxxxต่อไปได้ และกรณีลักษณะนี้จะให้ผู้พิพากษาที่พิจารณาคดีในชั้นต้นรับรองให้xxxxxxxxxxxxด้วยเพราะกฎหมายxxxxxxกำหนดให้ทำแบบนั้นได้เหมือนกรณีคดีอาญาทั่ว ๆ ไป
กรณีนี้xxกล่าวได้ว่าหากศาลกำหนดให้การชดใช้xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxประนีประนอมยอมความเป็นส่วนหนึ่งของเงื่อนไขการคุมประพฤติ หากจำเลยไม่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนอาจเป็นเหตุให้ศาลนำโทษที่รอไว้มาลงแก่จำเลยได้ และกรณีดังกล่าวจะxxxxไปยังศาลฎีกาก็xxxxxxแม้จะมีการรับรองให้xxxxเพราะกฎหมายxxxxxxกำหนดไว้ให้ทำxxxxนั้นได้
(คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3624/2564)
______________________