Contract
โครงงาน เรื่อง น้ำมะกรูด สูตรข้างครัว
จัดทำโดย
1.............................................
2.............................................
3.............................................
4.............................................
5.............................................
6.............................................
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ...................
ครูที่ปรึกษา
คุณครู..............................................
โรงเรียนอัสสัมชัญxxxxxxxxxxx
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บทคัดย่อ
มะกรูด เป็นสมุนไพรที่อยู่ในบ้านของทุกครอบครัว และหาได้ง่ายในครอบครัวของเรา ซึ่งมะกรูดxxxxxxรับประทานxxxxxxxxxและผล จึงอยากนำมะกรูดมาทำเป็นเครื่องดื่มสมุนไพร
โครงงาน น้ำมะกรูดสูตรข้างครัว มีจุดมุ่งหมายในการทำงาน โดยนำมะกรูดมาแปรรูปทำเป็นเครื่องดื่มสมุนไพร ที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ และยังเป็นการนำ สิ่งที่หาได้ง่ายภายในบ้านมาใช้ให้เป็นประโยชน์ นอกจากนี้ยังเป็นการทำงานเป็นกลุ่ม มีความรับผิดชอบ สร้างความxxxxxxx เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ แก่สมาชิกในกลุ่มอีกด้วย
กิตติกรรมประกาศ
คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณ........................... ที่ให้ความรู้และถ่ายทอดวิธีการทำน้ำมะกรูดสมุนไพร xxxxxxxxxร่างกายให้แข็งแรงอย่างละเอียด ด้วยความxxxxxและตั้งใจจริง ขอบพระคุณ ครู.......................... ที่xxxxxให้คำแนะนำในการจัดทำโครงงาน xxxxxความสะดวกจัดหาอุปกรณ์ อุทิศเวลา และเป็น ที่ปรึกษาโครงงาน โดยเฉพาะการนำเสนอที่ถูกต้อง
สุดท้ายนี้ขอxxxxxเพื่อนนักเรียน ชั้น ม............... ทุกคนที่ให้ความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจ ให้ข้อแนะนำเสนอแนะ ทำให้ผลงานออกมาได้เป็นอย่างดี
คณะผู้จัดทำ
คำนำ
รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอโครงxxx xxxงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในหัวข้อ น้ำมะกรูด สูตรข้างครัว
คณะผู้จัดทำโครงงานได้ศึกษาจากหนังสือ ผลไม้และเครื่องดื่มผสม รวบรวมข้อมูลและเก็บบันทึกข้อมูล เพื่อศึกษาสมุนไพรที่ช่วยในการบำรุงร่างกายมนุษย์เราให้แข็งแรง
ด้วยความxxxxxx xxxxxxx ในการนำเสนอโครงงานxxxxxxx เพื่อให้ได้ประโยชน์ทั่วไป
คณะผู้จัดทำ
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
คำนำ ค
สารบัญ ง
บทที่ 1 บทนำ 1
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน (หลักการและเหตุผล 1
วัตถุประสงค์ของการxxxxxxงาน 1
เป้าหมาย 1
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2
เอกสารอ้างอิง 3
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการxxxxxxงาน 4
บทที่ 3 วิธีการxxxxxxโครงงาน 5
ตารางปฏิบัติกิจกรรม 6
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการxxxxxxงาน 7
วิธีการxxxxxxงาน 8
บทที่ 4 ผลการxxxxxxโครงงาน 9
ผลการxxxxxxโครงงาน 10
การศึกษาจากxxxxxxxxxxxxxxxxx 11
บทที่ 5 สรุปผลการxxxxxxโครงงาน 12
สรุปผลการศึกษา 13
ประโยชน์xxxxxxรับจากโครงงาน 14
ปัญหาและอุปสรรค์ 14
วิธีการแก้ไข 14
ข้อเสนอแนะ 15
บรรณานุกรม 16
บทที่ 1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
เนื่องจากมะกรูดเป็นสมุนไพรที่หาง่ายในบ้าน และยังเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เราจึงคิดนำผลมะกรูดมาแปรรูปเป็นเครื่องดื่มสมุนไพร ที่ง่ายต่อการรับประทาน และxxxxxxทำกินเองได้ภายในครอบครัว
วัตถุประสงค์ของการการxxxxxxงาน
1. เพื่อแปรรูปสมุนไพรให้ง่ายต่อการรับประทานยิ่งขึ้น
2. เพื่อศึกษาวิธีทำเครื่องดื่มง่ายๆ จากสมุนไพรใกล้ตัว
เป้าหมายการxxxxxxงาน
ด้านปริมาณ..............................................................................
ด้านคุณภาพ............................................................................
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้จากการทำน้ำมะกรูด
2. ได้รับประโยชนจากการทำน้ำมะกรูด
3. ฝึกฝนความอดทน
4. ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อยารักษาโรค
บทที่ 2
การศึกษาเอกสารอ้างอิง
มะกรูด (Ma-krut) , Kaffir lime , leech lime
ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus hystrix DC.
วงศ์ XXXXXXXX
ถิ่นกำเนิด มาเลยเซีย พม่า ไทย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ อินเดีย
รูปลักษณ์ xxxxxxxขนาดใหญ่ ลำต้นเกลี้ยงเกลากิ่งก้านมีหนามแหลม xxxxเขียวหนา xxxxxxxxxxฉุน มีน้ำมันหอมระเหย ออกดอกเป็นช่อสีxxxxxxxxxxxxxxxxบ้าง ลูกกลมผิวหนาxxxxxx
xxxxxxxและส่วนที่นำมาใช้เป็นยา
ใบ - มีน้ำมันหอมระเหย ใช้ประกอบอาหาร
ผล - ใช้xxxxxxxxx สระผม
ผิวจากลูก - บำรุงเป็นยาขับลมในลำไส้ แก้แน่น
ราก - ถอนพิษ แก้ปวดท้อง แก้พิษฝีภายใน
ลูกมะกรูด - หมักดองเป็นยาดองเปรี้ยวเค็ม รับประทานฟอกล้างและบำรุงโลหิต
ชื่อxxxxxxxx ภาคเหนือ เรียก มะขูด , มะขุน
ภาคใต้ เรียก ส้มกรูด , ส้มมั่วผี
เขมร เรียก xxxxxเขียด
กะเหรี่ยง – แม่ฮ่องสอน เรียก มะขู
ลักษณะทั่วไป มะกรูดเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก แตกกิ่งก้าน ลำต้นและกิ่งมีหนามแข็ง ใบ เป็นใบประกอบที่มีใบย่อยใบเดียว สีเขียวหนา มีลักษณะคอดกิ่วที่กลางใบเป็นตอนๆ มีก้าน แผ่ออกใหญ่เท่ากับแผ่นใบ ทำให้เห็นใบเป็น 2 ตอน xxxxเขียวแก่xxxxxxxxหนา xxxxxxxxxxมากเพราะมีต่อมน้ำมันอยู่ ดอก ออกเป็นกระจุก 3 - 5 ดอก กลีบดอกสีขาว ร่วงง่าย ผลมีหลายแบบxxxxxxxxxxxxxxเล็กเท่ามะนาว ผิวขรุขระน้อยกว่าและไม่มีจุกที่หัว
การปลูก มะกรูดปลูกxxxxxในดินทุกชนิด ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
xxxxxxxxxxxx
1. ผิวผลสดและผลแห้ง รสปร่า หอมxxxx xxxxxxxแก้ลมหน้ามืด แก้วิงเวียน บำรุงหัวใจ ขับลมลำไส้ ขับระดู
2. ผล รสเปรี้ยว มีxxxxxxxเป็นยาขับเสมหะ แก้ไอ แก้น้ำลายเหนียว ฟอกโลหิต ใช้สระผมทำให้ผมดกดำ ขจัดรังแค
3. ราก รสเย็นจืด แก้พิษฝีภายใน แก้เสมหะ แก้ลมจุกเสียด
4. น้ำมะกรูด รสเปรี้ยว กัดเสมหะ ใช้ดองยามีxxxxxxxเป็นยาฟอกโลหิตสำหรับสตรี
5. ใบ รสปร่าหอม แก้ไอ แก้อาเจียนเป็นโลหิต แก้ช้ำใน และดับกลิ่นคาว
คติความเชื่อ มะกรูดเป็นไม้xxxxชนิดหนึ่งที่ควรปลูกไว้ในบริเวณบ้าน โดยกำหนดปลูกทางทิศตะวันตกxxxxxxxxxx (xxxxx) เพื่อผู้อยู่อาศัยจะxxxxxxxxxxxx และในบางตำราว่าเป็นความเชื่อของคนบ้านxxx xxxเดินทางด้วยเกวียนเทียม โคหรือกระบือเมื่อได้กลิ่นสาบเสือ จะหยุดเดิน เจ้าของจะต้องขุดผิวมะนาวหรือมะกรูด ป้ายจมูกให้ดับกลิ่นสาบเสือก่อน โค กระบือ จึงจะเดินต่อไป ดังนั้นการเดินทางสมัยก่อนผ่านป่า ผู้เดินทางจึงมักจะพกพามะนาวและมะกรูดติดตัวไปด้วยเสมอ ในพิธีกรรมการทำน้ำมนต์เพื่อสะเดาะเคราะห์ สำหรับพรมหรืออาบผู้ป่วยใบมะกรูดเป็นส่วนประกอบสำคัญที่จะขาดxxxxxx โดยใช้ร่วมกับใบส้มป่อย xxxxxxxxxxx ใบมะตูม หญ้าแพรก หมากผู้หมากเมีย ในราชพฤกษ์เชื่อกันว่าใบจากต้นไม้xxxxเหล่านี้จะช่วยปัดเป่าและxxxxxxเคราะห์โดยตกลงไปได้
ใบมะกรูดมหัศจรรย์กำจัดแมลงในข้าวสาร
ผลมะกรูด รักษาชันนะตุและแผลบนศีรษะด้วยมะกรูดได้
-ใช้น้ำคั้นxxxxxxจากผลมะกรูดหรือนำผลมะกรูดxxxไฟผ่าซีกบีบเอาน้ำและน้ำมันจากผิวมะกรูด ผสมน้ำ 1 เท่า ใช้สระผมแทนแชมพู แล้วลาดออก
บทที่ 3
วิธีการxxxxxxโครงงาน
ตารางปฏิบัติกิจกรรมโครงงาน ..........................................
สัปดาห์ที่ |
กิจกรรมที่ปฏิบัติ |
สถานที่ทำกิจกรรม |
ผู้รับผิดชอบ |
1 ว.....ด..........ป...... |
- เลือกหัวข้อการทำโครงงานและ นำเสนอครู พร้อมทั้งเหตุผลในการทำ - ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเอกสาร หนังสือจากห้องสมุด - กำหนดการศึกษาจากวิทยากร |
ห้องเรียน ห้อง 112
ห้องสมุดโรงเรียน |
สมาชิกในกลุ่ม
ครูที่ปรึกษา |
2 ว.....ด..........ป...... |
- ทำรายงานเพื่อขอเบิกอุปกรณ์ ส่วนค่าใช้จ่าย เก็บคนละ 5 บาท และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ ติดต่อxxxxxxxxxxxxxxx |
ห้องเรียน ห้อง 112 |
สมาชิกในกลุ่ม ครูที่ปรึกษา |
3 ว.....ด..........ป...... |
- ลงมือปฏิบัติทำน้ำมะกรูด - ให้คุณครู ผู้xxxxxxและเพื่อน ร่วมประเมินรสชาติของน้ำมะกรูด |
ห้องเรียน ห้อง 112 |
สมาชิกในกลุ่ม ครูที่ปรึกษา |
4 ว.....ด..........ป...... |
- เขียนรายงานโครงงานจัดทำรูปเล่ม และสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม |
ห้องเรียน ห้อง 112 |
สมาชิกในกลุ่ม ครูที่ปรึกษา |
5 ว.....ด..........ป...... |
- นำเสนอการทำเครื่องดื่มสมุนไพรและ รายงานผลการปฏิบัติงาน |
ห้องเรียน ห้อง 112 |
สมาชิกในกลุ่ม ครูที่ปรึกษา |
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการxxxxxxงาน
อุปกรณ์
1. เครื่องปั่นน้ำผลไม้
2. แก้ว
3. หลอด
4. xxxxxx
วัสดุ
1. มะกรูด
2. เกลือป่น
3. น้ำเชื่อม
4. น้ำแข็งปั่น
5. น้ำ
วิธีการทำ (ใส่รูปวิธีการทำ พร้อมอธิบาย)
รูปที่ 1นำมะกรูดมาทำความสะอาด รูปที่ 2 ฝานมะกรูดเป็นชิ้น
รูปที่ 3 ปั้นน้ำมะกรูดให้ได้น้ำมากที่สุด
รูปที่ 4 นำน้ำมะกรูดมากรองน้ำ
รูปที่ 5 นำน้ำมะกรูดxxxxxx ใส่เกลือน้ำเชื่อมxxxxxรสชาติ
รูปที่ 6 ได้น้ำมะกรูดที่มีคุณค่าได้รับประทาน
ผลการxxxxxxงาน
1. ได้ศึกษาxxxxxxxของมะกรูด
2. ได้ศึกษาวิธีการทำน้ำมะกรูด
รูปที่ 7 ได้น้ำมะกรูดxxxxxxxกิน
บทที่ 4
ผลการศึกษา
1. ได้ศึกษาxxxxxxxของมะกรูด
2. ได้ศึกษาวิธีการทำน้ำมะกรูด
|
|
บทที่ 5
สรุปผลการศึกษา
สรุปผลการศึกษา
การศึกษาการทำน้ำมะกรูด เป็นการนำสิ่งที่ใกล้ตัวมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ เป็นการฝึกให้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อที่จะนำมาพัฒนาเป็นอาชีพเสริมได้
ประโยชน์xxxxxxรับจากโครงงาน
1. ได้ศึกษาการทำน้ำมะกรูด
2. ได้ศึกษาxxxxxxxของมะกรูด
3. นำมาพัฒนาให้เกิดรายได้
ปัญหาและอุปสรรค ในการทำงาน
1. น้ำมะกรูดมีรสเปรี้ยวมาก
2. เพื่อไม่ให้ความรวมมื้อในการทำงาน
3...................................
วิธีการแก้ไข
1. เติมเกลือลงไป
2. พูดคุยกันให้เข้าใจ และแจ้งพฤติกรรมของเพื่อนให้ครูผู้สอนได้ทราบ
3...................................
ข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาโครงxxxxxxทำน้ำมะกรูด xxxxxxพัฒนาให้เป็นอาชีพเสริมได้
บัญชีรายรับ – รายจ่าย
รายรับ |
รายจ่าย |
||||||||
ว/ด/ป |
รายการ |
จำนวนเงิน |
ว/ด/ป |
ลำดับ |
รายการ |
จำนวน |
ราคา/หน่วย |
จำนวนเงิน |
หมายเหตุ |
|
เก็บเงินสมาชิกในกลุ่มคนละ 5 บาท / คน (มี 5 คน) |
25 บ. |
|
1 |
ซื้อน้ำตาล น้ำแข็ง
รวมรายจ่าย เหลือ |
½ กก. 1 ถุง |
18 บ. 10 บ. |
8 บ. 10 บ.
19 6 |
|
........................................ หัวหน้า
................................................. เลขา
บรรณานุกรม
น้ำผลไม้และเครื่องดื่มผสม. ครั้งที่ 3. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์แสงแดด , 2548. 128 หน้า