The Problem of Construction Contract Amendment in Mahasarakham University
ปัญหาการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การศึกษาค้นคว้าxxxxx |
ของ |
xxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx |
เสนอต่อมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร |
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx |
xxxxxx 2565 |
ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
ปัญหาการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การศึกษาค้นคว้าxxxxx |
ของ |
xxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx |
เสนอต่อมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร |
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx |
xxxxxx 2565 |
ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
The Problem of Construction Contract Amendment in Mahasarakham University
Xxxxxxxxx Xxxxxxxxxxxx
A Independent Study Submitted in Partial Fulfillment of Requirements |
for Master of Business Administration (Business Administration and Digital Innovation) |
January 2022 |
Copyright of Mahasarakham University |
คณะกรรมการสอบการศึกษาค้นคว้าxxxxx xxxพิจารณาการศึกษาค้นคว้าxxxxxของ xxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx แล้วเห็นxxxxxรับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรxxxxxx บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจและนวัตกรรมดิจิทัล ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คณะกรรมการสอบxxxxxนิพนธ
ประธานกรรมการ (ผศ. ดร. xxxxxxx xxxxxxxxxxxxxคุณ )
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx (ผศ. xx. xxxxxxx xxxxx )
กรรมการ (ผศ. xx. xxxxxx xxxxxxxx )
กรรมการ (อ. xx. xxxxxxxx xxxดํารงค์ )
มหาวิทยาลัยอนุมัติให้รับวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร xxxxxx บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจและนวัตกรรมดิจิทัล ของมหาวิทยาลัย มหาสารคาม
(อ. ดร. xxxxxx xxxxxxxxx ) คณบดีคณะการบัญชีและการจัดการ
(รศ. ดร. กริสน์ xxxxxx ) คณบดีxxxxxxวิทยาลัย
ปัญหาการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัย มหาสารคาม | |||
xxxxxxxx | xxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx | ||
xxxxxxxxxxปรึกษา | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ xx. xxxxxxx xxxxx | ||
xxxxxx | xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx | xxxxxxxx | xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx |
มหาวิทยาลัย | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | ปีที่พิมพ์ | 2565 |
บทคัดย่อ | |||
ปัญหาการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้างโครงการมีความสําคัญและจําเป็นต่อการ บริหารงานของผู้บริหารสัญญา เพื่อให้ได้มาซึ่งปัจจัยในการกํากับดูแลการปฏิบัติงานของระดับ ปฏิบัติการ การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่มีความxxxxxxxxต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไข สัญญาก่อสร้างระหว่างโครงการ (2) วิเคราะห์และสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไข สัญญาก่อสร้าง โครงการก่อสร้าง ภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และ (3) เปรียบเทียบรูปแบบ โครงการก่อสร้างกับปัญหาการแก้ไขสัญญาก่อสร้างระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับก่อสร้างโครงการก่อสร้าง ภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จํานวน 202 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ และการวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติ ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยที่มีความxxxxxxxxต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้าง ระหว่างโครงการ คือ การบริหารบุคคล การบริหารงบประมาณ การบริหารวัสดุ และแบบรูปรายการ (2) ปัญหาการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้างโครงการก่อสร้าง ภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคามโดย รวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยที่แบบรูปรายการส่งผลให้มีการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้าง โครงการก่อสร้างมากที่สุด ขณะที่การบริหารบุคคลส่งผลให้มีการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้าง โครงการก่อสร้างน้อยที่สุด และ (3) โครงการปรับปรุงและโครงการต่อเติม/ดัดแปลง มีปัญหาการ แก้ไขสัญญาก่อสร้างระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคามโดยภาพรวมแตกต่างกัน | |||
คําสําคัญ : การก่อสร้าง, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
The Problem of Construction Contract Amendment in Mahasarakham University | |||
AUTHOR | Xxxxxxxxx Xxxxxxxxxxxx | ||
ADVISORS | Assistant Professor Xxxxxxxx Xxxxxxx , Ph.D. | ||
DEGREE | Master of Business Administration | MAJOR | Business Administration and Digital Innovation |
UNIVERSITY | Mahasarakham University | YEAR | 2022 |
ABSTRACT | |||
The problem of construction contract amendmentis indispensable for administrators. It yields the factors concerning the workers' performances. This information is needed for the administrator's decision-making. The purposes of this research were (1) to study the factors affected on problem of construction contract amendment (2) to analyze the factors affected on problem of construction contract amendment in Mahasarakham University and (3) to compare between the construction types and the problem of construction contract amendment in Mahasarakham University. The sample of this study was construction contract amendment in Mahasarakham University administrators of 202. Research instruments were a questionnaire. And the data was analyzed by statistics. The major findings are as follows: (1) the factors affected on problem of construction contract amendment are personnel management, financial management, materials management and specifications. The factors affected on problem of construction contract amendment in Mahasarakham University are personnel management, financial management, materials management and specifications. (2) The problem of construction contract amendment in Mahasarakham University was at the moderate level. Where, the specification is the most affected on problem of construction contract amendment, whilst the personnel management is the less affected on problem of construction contract amendment. And (3) the improvement project and modification project are different on problem of construction contract amendment in Mahasarakham |
University.
Keyword : Construction, Mahasarakham University
การค้นคว้าxxxxxฉบับนี้ สําเร็จxxxxxxxxxxด้วยความxxxxxและความช่วยเหลืออย่างดียิ่งจาก บุคคลทั้งหลาย ผู้วิจัยขอขอบพระคุณผู้ที่ให้ความอนุเคราะห์ในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ |
ขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ xx.xxxxxxx xxxxx xxxxxxxxxxปรึกษาหลัก xxxxxxให้ความ xxxxxสละเวลาxxxxxค่าในการให้คําปรึกษาด้านต่างๆ และควบคุมคุณภาพการค้นคว้าxxxxx การให้ คําแนะนําและความรู้xxxxxค่าที่เป็นประโยชน์ต่อการทํางานวิจัย |
ขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ xx.xxxxxxxxx xxxxxxxxxxx ผู้xxxxxxxxxxxxxxx xx. xxxxxxxx xxxxxxxxxxx อาจารย์ xx.xxxxxxxxx xxxxxxx อาจารย์ xx.xxxxx xxxxxxxxxxxxxxและอาจารย์ xx.xxxxxxx xxxxxxxx ผู้เชี่ยวชาญ ที่ให้ความช่วยเหลือในการตรวจแก้ไขเครื่องมือในการวิจัย ตลอดจน มอบความรู้ และให้คําแนะนําแนวทางการเขียนงานxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx |
ขอขอบพระคุณคณาจารย์คณะการบัญชีและการจัดการ ที่xxxxxxxxxxxxxxxxxxวิชาความรู้ ตลอดจนเจ้าของผลงาน ตํารา และเอกสารทางวิชาการทุกท่านที่ผู้วิจัยได้นํามาศึกษา ก่อให้เกิดxxxxxx xxxxxคุณค่าต่องานวิจัยฉบับนี้ |
ขอขอบพระคุณบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับโครงการก่อสร้างภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม xxxxxx xxxxxให้ความอนุเคราะห์และสละเวลาให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการวิจัย |
ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ xx.xxxxxxx xxxxxxxxxxxx ที่ให้ความช่วยเหลือตลอดจนมอบ ความรู้ และให้คําแนะนําแนวทางการเขียนงานวิจัยจนงานวิจัยเสร็จxxxxxxx |
ขอขอบพระคุณครอบครัว รวมxxxxxxxน้องและผู้มีxxxxxxxxxให้การสนับสนุนทุกท่าน ผู้ซึ่งเป็น กําลังใจ ทําให้การการวิจัยในครั้งนี้เสร็จxxxxxxx |
ขอขอบพระคุณมหาวิทยาลัยมหาสารคามที่ให้การสนับสนุนทุนสําหรับการวิจัยในครั้งนี้ |
สุดท้ายนี้ ขอขอบพระคุณเพื่อนนิสิตมหาบัณฑิต ที่เป็นกําลังใจxxxxxเสมอมา รวมถึงเจ้าหน้าที่ คณะการบัญชีและการจัดการที่ให้ความช่วยเหลือทําให้งานวิจัยสําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีในครั้งนี้ |
คุณค่าและประโยชน์จากการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยขอมอบเป็นเครื่องบูชาคุณบิดา มารดา ตลอดจน บูรพาจารย์ผู้มีพระคุณทุกท่าน |
xxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx |
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ง บทคัดย่อภาษาอังกฤษ จ
กิตติกรรมประกาศ ช
สารบัญ ซ
สารบัญตาราง ฎ
xxxxxxxxx x
บทที่ 1 บทนํา 1
1.1 ภูมิหลัง 1
1.2 ความมุ่งหมายของการวิจัย 4
1.3 ความสําคัญของการวิจัย 4
1.4 กรอบxxxxxxxxxใช้ในการศึกษา 5
1.5 ขอบเขตของการวิจัย 6
1.6 xxxxxxxxxในการวิจัย 6
1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 6
1.8 xxxxxxxxxxเฉพาะ 6
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 8
2.1 บริบทมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 8
2.2 กระบวนการบริหารงานก่อสร้างของทางราชการ 14
2.3 การบริหารสัญญา และการแก้ไขสัญญา 18
2.4 การแก้ไขสัญญา 30
2.5 การควบคุมงานและการตรวจการxxxx 36
2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 42
บทที่ 3 วิธีดําเนินการศึกษา 57
3.1 ประชากรกลุ่มตัวอย่าง 57
3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 58
3.3 การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ 58
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล 60
3.5 การจัดกระทําและการวิเคราะห์ข้อมูล 60
3.6 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 61
บทที่ 4 ผลการววิเคราะห์ข้อมูล 63
4.1 สัญลักษณ์ในการนําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 63
4.2 ลําดับขั้นตอนในการนําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 63
4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 64
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 75
5.1 ความมุ่งหมายของการวิจัย 75
5.2 สรุปผลการวิจัย 75
5.3 อภิปรายผล 77
5.4 ข้อเสนอแนะ 79
บรรณานุกรม 81
ภาคผนวก 85
ภาคผนวก ก ความหมายของงานก่อสร้าง 86
ภาคผนวก ข แบบสอบถาม 94
ภาคผนวก ค คุณภาพเครื่องมือ 100
ภาคผนวก ง การเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ 103
ภาคผนวก จ แบบสัญญางานก่อสร้าง 106
ภาคผนวก ฉ เอกสารการการเห็นชอบการขอจริยธรรมในการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
..........................................................................................................................................121
ประวัติผู้เขียน 124
สารบัญตาราง
หน้า
ตารางที่ 1 สาระสําคัญเฉพาะในส่วนของการออกแบบก่อสร้าง ตามหนังสือสํานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรี ที่ นร 0205/ ว44 ลงxxxxxx 22 มีนาคม 2536 15
ตารางที่ 2 การดําเนินการxxxxxxxตามxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่ แกไขเพิ่มเติม และxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.
2549............................................................................................................................................... 17
ตารางที่ 3 การจําแนกการทําสัญญา/ข้อตกลง 21
ตารางที่ 4 รายละเอียดของหลักประกันสัญญาหรือหลักประกันซอง 24
ตารางที่ 5 สรุปแนวปฏิบัติสําหรับการส่งมอบงาน 34
ตารางที่ 6 กรณีการพิจารณางดหรือลดค่าปรับหรือการขยายเวลาทําการxxxxxxxxตามความหมาย
........................................................................................................................................................ 34
ตารางที่ 7 ปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาการบริหารงานก่อสร้าง 54
ตารางที่ 8 จํานวนประชากรกลุ่มตัวอย่างและผู้ตอบแบบสอบถามของโครงการก่อสร้างภายใน
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 57
ตารางที่ 9 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 64
ตารางที่ 10 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาที่ทําให้xxxxxxxแก้ไขสัญญางานก่อสร้าง เป็นรายด้านของ ผู้ตอบแบบสอบถาม 67
ตารางที่ 11 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัย
มหาสารคาม ด้านการบริหารบุคคล 68
ตารางที่ 12 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัย
มหาสารคาม ด้านการบริหารงบประมาณ 69
ตารางที่ 13 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัย
มหาสารคาม ด้านการบริหารวัสดุ 70
ฏ
ตารางที่ 14 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัย มหาสารคาม ด้านการจัดการโครงการ 71
ตารางที่ 15 การเปรียบเทียบความคิดเห็นปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างระหว่าง โครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยรวมของผู้ตอบแบบสอบถาม ที่มีรูปแบบรายการและ วัสดุที่แตกต่างกัน (ANOVA) 73
ตารางที่ 16 การเปรียบเทียบความคิดเห็นปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างระหว่าง โครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยรวม ที่มีรูปแบบรายการและวัสดุที่แตกต่างกันของกลุ่ม ตัวอย่างเป็นรายคู่ 73
ตารางที่ 17 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้าง ระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นรายด้าน ของกลุ่มตัวอย่าง ที่มีรูปแบบรายการ และวัสดุแตกต่างกัน (MANOVA) 74
ตารางที่ 18 สิ่งที่สร้างขึ้นอย่างอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวงทั้งนี้ให้หมายความรวมถึงส่วนต่างๆ
ของอาคาร 88
ตารางที่ 19 รายละเอียดอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวงทั้งนี้ให้หมายความรวมถึงส่วนต่างๆ ของ อาคารเพิ่มเติม 89
ตารางที่ 20 การหาค่าความxxxxxxxxxของแบบสอบถาม 101
ตารางที่ 21 การเปรียบเทียบความคิดเห็นปัญหาที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างระหว่าง โครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยรวม ที่มีรูปแบบรายการโครงการและวัสดุที่แตกต่างกัน ของกลุ่มตัวอย่างเป็นรายคู่ 104
ตารางที่ 22 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้าง ระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นรายด้าน ของกลุ่มตัวอย่าง ที่มีรูปแบบรายการ โครงการและวัสดุแตกต่างกัน (MANOVA) 105
หน้า
ภาพที่ 1 xxxxxxxxxใช้ในการศึกษา 5
ภาพที่ 2 ปัจจัยทางการบริหารที่ส่งผลต่อการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้างโครงการ 20
ภาพที่ 3 กรอบxxxxxxxxxใช้ในการศึกษา 56
บทนํา
1.1 ภูมิหลัง
ในอดีตจนถึงปัจจุบันการบริหารสัญญาก่อสร้างของหน่วยงานราชการมักเกิดปัญหาข้อ ขัดแย้งจนกลายเป็นกรณีพิพาทระหว่างผู้xxxxxxxและผู้รับจ้าง ด้วยเหตุจากสภาพหน้างานโครงการ ก่อสร้างและข้อขัดแย้งของแบบรูปรายการxxxxxxxx ที่ส่งผลกระทบต่อการบริหารสัญญาเป็นเหตุให้ xxxxxxxแก้ไขสัญญาก่อสร้างเพื่อให้โครงการก่อสร้างxxxxxวัตถุประสงค์ของราชการและเพื่อให้ได้มาซึ่ง สิ่งxxxxxxxxxxxxxxxxxxx เมื่อกล่าวxxxxxxแก้ไขสัญญาทางพัสดุนั้น เดิมทุกส่วนราชการจะต้องปฏิบัติ ตามxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม จนกระทั่งได้มีการ ประกาศยกเลิกใช้xxxxxxxฯ และประกาศให้ใช้พระราชบัญญัติการจัดซื้อxxxxxxxและการบริหารพัสดุ ภาครัฐ พ.ศ. 2560 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อxxxxxx 24 กุมภาพันธ์ 2560 และมีผลบังคับใช้
ในxxxxxx 23 สิงหาคม 2560 เป็นต้นไป โดยมีเหตุผลในการประกาศใช้เพื่อให้การดําเนินการจัดซื้อxxx xxxxและการบริหารพัสดุภาครัฐมีกรอบการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยการกําหนดเกณฑ์ มาตรฐานกลาง เพื่อให้หน่วยงานของรัฐทุกแห่งนําไปใช้เป็นหลักปฏิบัติ โดยให้คํานึงถึงวัตถุประสงค์ การใช้งานเป็นสําคัญเพื่อให้เกิดความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงิน โดยมุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อ สาธารณชนให้มากที่สุด เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม xxxxxxxxให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมเพื่อตรวจสอบและป้องกันการทุจริตและสร้างความxxxxxxxxxให้กับ ทุกภาคส่วน
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐที่มุ่งเน้นในการสั่งสมแสวงหาความเป็น เลิศทางวิชาการ จัดการศึกษาและวิชาชีพชั้นสูงโดยมุ่งเน้นการขยายโอกาสทางการศึกษาการผลิต xxxxxxxxxมีคุณภาพตามมาตรฐานและมีคุณลักษณะที่พึงxxxxxxx การสร้างผลิตผลจากงานวิจัยที่เป็น องค์ความรู้ใหม่และมีคุณภาพในทุกสาขาวิชาเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนและนําไปใช้ประโยชน์ ตามความเหมาะสม รวมxxxxxxให้บริการวิชาการแก่สังคม เพื่อสร้างความร่วมมือกับประชาคมทุก ระดับและชุมชน xxxxxxxx ฟื้นฟู xxxxxx เผยแพร่และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม ประเพณีของอีสาน โดยในแต่ละปีงบประมาณ มหาวิทยาลัยได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเพื่อ ใช้ในการบริหารจัดการให้xxxxxพันธกิจและเป้าหมายของมหาวิทยาลัยให้มีความถูกต้องครบถ้วนและ เป็นไปตามxxxxxxxของทางราชการ กองคลังและพัสดุ เป็นหน่วยงานxxxxxxxxมีหน้าที่รับผิดชอบ
เกี่ยวกับ การบริหารการพัสดุ การบริหารงบประมาณ การบริหารการเงิน และการบัญชีของ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รวมถึงให้คําปรึกษา แนะนําแนวทางการปฏิบัติงานแก่หน่วยงานในสังกัด หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ดําเนินการได้อย่างถูกต้องตามแนวทางที่ พ.ร.บ. กฎกระทรวง xxxxxxx และประกาศที่ออกตามความใน พ.ร.บ. กําหนดหรือข้อกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีการดําเนินการก่อสร้างในแต่ละปีหลายโครงการ แต่ละโครงการ นั้นประสบปัญหาการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างอันเนื่องจากความขัดแย้งของปัญหาหลายประการ อาทิ xxxx แบบรูปรายการ สถานที่ก่อสร้างหน้างานจริงxxxxxxสอดคล้องกับแบบรูปรายการจึงจําเป็นต้องมี การแก้ไขเพิ่มเติมในสัญญาxxxxตามxxxxxxxทางราชการ และจากการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างจึงทําให้ รายละเอียดสิ่งก่อสร้างเปลี่ยนแปลงไปและส่งผลต่อระยะเวลาการดําเนินการก่อสร้างที่ยาวนานขึ้น ประกอบกอบก่อให้เกิดงบประมาณxxxxxขึ้นจากการแก้ไขสัญญา รวมxxxxxxเกิดข้อพิพาทระหว่างผู้ xxxxxxxและผู้รับจ้าง xxxxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้องต้องถูกระวางโทษให้ออกจากราชการไว้ก่อนในการปฏิบัติ หน้าที่เกี่ยวกับการดําเนินการจัดซื้อจัดxxxxxxxไม่ถูกต้องตามกระบวนการ และมหาวิทยาลัยได้ใช้ ประโยชน์จากสิ่งก่อสร้างxxxxxxxลงเป็นต้น จากปัญหาที่กล่าวมานี้ หากมีการศึกษาปัจจัยที่ก่อให้เกิด ปัญหาการแก้ไขสัญญาก่อสร้างภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จะทําให้ทราบถึงสาเหตุที่ก่อให้เกิด ปัญหาและอุปสรรคในการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างที่แท้จริง และxxxxxxนํามาบริหารจัดการในการ ดําเนินการการบริหารสัญญาเพื่อป้องกันมิให้เกิดปัญหาและอุปสรรคดังกล่าว ซึ่งจะส่งผลให้การ บริหารสัญญางานก่อสร้างของมหาวิทยาลัยมหาสารคามเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ งานก่อสร้างแล้วเสร็จตามกําหนดเวลา และxxxxxวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย รวมถึงxxxxxxxxxxxxxx เกี่ยวข้องxxxxxxปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมายและxxxxxxxวิธีปฏิบัติของทางราชการได้อย่าง ถูกต้อง
งานวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาและอุปสรรคในการก่อสร้างที่ ส่งผลต่อการแก้ไขสัญญามีจํานวนมาก ยกตัวอย่างxxxx xxxxx xxxxxxx (2556) ศึกษาปัญหาการแก้ไข สัญญาระหว่างการก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้ความเห็นไว้ว่า ปัจจัยที่มีความ เสี่ยงในการบริหารงานก่อสร้างที่เกี่ยวกับองค์ความรู้ที่นําไปใช้ในการบริหารสัญญางานก่อสร้างต้อง เริ่มจากการออกแบบที่ไม่มีความชัดเจน เพื่อลดความเสี่ยงของการแก้ไขสัญญา, ญาณวรรธน์ ชุ่มท้วม และxxxxx xxxxxxx (2560) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการตรวจสอบงานxxxxxxxก่อสร้างของกลุ่ม ตรวจสอบการบริหารพัสดุ สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินxxxxxxxx ให้ความเห็นไว้ว่า โครงการ ก่อสร้างส่วนใหญ่ที่มีxxxxxxสูงที่มีผลต่อสาธารณะมีปัญหาและอุปสรรคในการตรวจสอบราคากลางงาน ก่อสร้างอยู่ในระดับมาก ซึ่งมีความจําเป็นต้องแก้ไขเพื่อให้สอดคล้องกับงานก่อสร้างขนาดใหญ่ของ ส่วนราชการ, xxxxx xxxxxx และxxxxxxx xxxxxxxxx (2561) ศึกษาปัญหาการขอแก้ไขสัญญาxxxxตาม มูลเหตุของสัญญาเปลี่ยนแปลงไป ให้ความเห็นไว้ว่า จากการศึกษาโครงการก่อสร้างภายในประเทศไทย
xxxxxxxxxxxxประสบปัญหาเกี่ยวกับรายละเอียดของสัญญาเนื่องจากมีความไม่แน่นอนของผลกระทบ จากปัจจัยด้านการเปลี่ยนแปลงด้านกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การขาดแคลนวัสดุ ก่อสร้าง จึงเป็นเหตุให้ขอขยายระยะเวลาหรือปรับxxxxxxของงาน, xxxxxxx xxxxxxxxxx (2557) ศึกษา ปัญหาและอุปสรรคในการกําหนดราคากลางงานก่อสร้างทางราชการของบุคลากรช่าง : กรณีศึกษา องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น อําเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ให้ความเห็นไว้ว่า ปัญหาและอุปสรรคงาน ก่อสร้างในการกําหนดราคากลางงานก่อสร้างทางราชการในด้านความรู้เกี่ยวกับxxxxxxx หลักเกณฑ์ และข้อกําหนดต่างๆ อยู่ในระดับมาก และพบว่าปัจจัยส่วนบุคคลของบุคลากรช่าง ได้แก่ ระดับ การศึกษา ตําแหน่งงาน ประสบการณ์การทําxxx xxxฝึกอบรม แตกต่างกัน ส่งผลต่อปัญหาอุปสรรค การกําหนดราคากลางงานก่อสร้าง แตกต่างกัน และ xxxxx xxxxxxxx (2562) ได้ศึกษาปัจจัยทีมีผลต่อ การประมูลงานก่อสร้างอาคารในมุมมองของผู้รับเหมา ให้ความเห็นไว้ว่า สาเหตุปัจจัยที่มีผลต่อ การประมูลงานก่อสร้างอาคาร ปัญหาด้านแบบและเอกสารการประมูล ปัญหากลุ่มพนักงาน ปัญหา กลุ่มผู้บริหาร ปัญหาด้านกลุ่มผู้รับเหมา และปัญหาด้านเจ้าของโครงการ พบว่า ปัญหาด้านเจ้าของ โครงการอยู่ในระดับมาก บริษัทควรศึกษาโครงการก่อสร้างxxxxxxประมูล เตรียมความพร้อมทางด้าน การเงิน ควรสร้างxxxxxxxxxxxดีกับเจ้าของโครงการ รวมถึงความรู้ความxxxxxxของพนักงานในองค์กร ด้วย เพื่อเจรจต่อรองเงื่อนไขการประมูลงานก่อสร้าง นอกจากนี้แล้ว Davix Xxxxxx xละ Noushad Ali Naseem Ameer Ali (2015) ได้ศึกษาการแก้ไขสัญญาการก่อสร้างของนิวซีแลนด์ พบว่าวิธีการ ระงับข้อพิพาทในการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างที่ประสบผลสําเร็จมากที่สุดคือ การคํานึงถึงxxxxxและ หน้าที่ของทั้งสองฝ่ายระหว่างผู้xxxxxxxและผู้รับจ้างที่ควรมีความxxxxxxx ขอบเขตของสัญญาxxx xxxxxx ระยะเวลาก่อสร้างที่เหมาะสม รวมถึงผลxxxxxxออกแบบที่เป็นมืออาชีพ, Phatsaphan Charnwasununth (2012) ศึกษาการบริหารจัดการข้อมูลและสารสนเทศโดยกระบวนการอัตโนมัติ เพื่อลดความต้องการความรู้และทักษะในงานก่อสร้าง ให้ความเห็นไว้ว่า ความต้องการความรู้และ ทักษะในงานก่อสร้างขึ้นอยู่กับรายละเอียดขั้นตอนการดําเนินงาน และบทบาทและหน้าที่ของ บุคลากร เมื่อนําระบบบริหารจัดการข้อมูลและสารสนเทศมาพัฒนาเพื่อเข้าถึงทรัพยากรโดยอัตโนมัติ รวมทั้งxxxxxxผลจากxxxxxxxทํางานจริงที่เกิดขึ้น ส่งผลให้ความต้องการความรู้และทักษะของ บุคลากรลดลง และความต้องการความรู้และทักษะของบุคลากรลดลงส่งผลต่อระยะเวลาการ ดําเนินงานมากขึ้น และ Nur Soleha Binti Abdux Xxxxx (0012) ศึกษาการพัฒนาแผนกลยุทธ์ ต่างประเทศสําหรับผู้รับเหมาก่อสร้างมาเลเซีย ให้ความเห็นไว้ว่า การก่อสร้างระหว่างประเทศไม่ใช่ เรื่องง่ายสําหรับประเทศมาเลเซีย กลยุทธ์xxxxxxxxxxxและเหมาะสมเป็นสิ่งที่จําเป็นต่อการประสบ ความสําเร็จในการก่อสร้างต่างประเทศจึงเริ่มต้นจากการทบทวนจุดแข็งและจุดอ่อน รวมทั้งโอกาส และภัยคุกคาม ของผู้รับเหมาจากประเทศมาเลเซีย ซึ่งพบว่าจุดแข็งหลักของผู้รับเหมาคือการมี ประวัติผลงานxxxxxxxxx ในขณะที่แรงงานให้ผลผลิตต่ําเป็นจุดอ่อนหลัก ดังนั้น ผู้รับเหมาจําเป็นต้อง
เตรียมตัวให้xxxxxxที่จะเข้าร่วมโครงการก่อสร้างระหว่างประเทศเพื่อให้แน่ใจว่าโครงการก่อสร้างจะ ประสบความสําเร็จ รวมถึง Ehab Soliman (2012) ศึกษาสาเหตุความล่าช้าโครงการก่อสร้างและ ผลกระทบทางอุตสาหกรรม ให้ความเห็นไว้ว่า โครงการก่อสร้างมักxxxxxปัญหาความล่าช้า ซึ่งเป็น ปัญหาทั่วโลกที่ประสบและมีการศึกษางานวิจัยจํานวนมากเพื่อที่จะชะลอสาเหตุของปัญหาความล่าช้า โดยได้วิเคราะห์ปัจจัยความล่าช้าไว้ 3 ประการ ได้แก่ ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านสัญญา และ ปัจจัยด้านเทคนิค มีผลอย่างมากต่อความล่าช้างานก่อสร้าง สาเหตุของความล่าช้าเหล่านี้เกิดจากการ ขาดแคลนวัสดุ การขาดแคลนแรงงาน และจากผู้ผลิต
จากที่กล่าวมาแล้วข้างต้น การศึกษาและวิจัยในครั้งนี้จะxxxxxxวิเคราะห์และระบุถึงปัจจัย ที่ส่งผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างและจะนําผลการศึกษาไปวางระบบการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่ผู้ที่บริหารสัญญาโครงการก่อสร้างให้มีประสิทธิภาพxxxxxxxขึ้น
1.2 ความมุ่งหมายของการวิจัย
1.2.1 เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้างระหว่างโครงการ
1.2.2 เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้าง โครงการก่อสร้างของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
1.2.3 เพื่อศึกษาระดับความสําคัญและเปรียบเทียบของปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง แก้ไขสัญญาก่อสร้างของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
1.3 ความสําคัญของการวิจัย
1.3.1 xxxxxxระบุปัจจัยที่ก่อให้xxxxxxxเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้าง
1.3.2 xxxxxxกําหนดวิธีการในการดําเนินการเพื่อไม่ก่อให้เกิดปัญหาและอุปสรรคอัน นําไปสู่การเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญา
1.3.3 เพื่อเป็นสารสนเทศในการป้องกันการแก้ไขสัญญางานก่อสร้าง
1.3.4 เพื่อเป็นข้อสนเทศในการพัฒนาการบริหารสัญญางานก่อสร้าง
1.3.5 เพื่อเป็นแนวทางในการวิเคราะห์เงื่อนไขของการแก้ไขสัญญางานก่อสร้าง
1.4 กรอบxxxxxxxxxใช้ในการศึกษา
ในงานวิจัยนี้ได้ทําการศึกษาเกี่ยวกับปัญหาที่ทําให้xxxxxxxเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้าง ซึ่งประกอบด้วย 4 ด้าน คือ 1. ปัญหาด้านการบริหารบุคคล 2. ปัญหาด้านการบริหารงบประมาณ
3. ปัญหาด้านการบริหารวัสดุ 4. ปัญหาด้านการจัดการโครงการ ซึ่งปัญหาดังกล่าวเกิดจากปัจจัย ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกันทั้งหมด 4 ปัจจัย ได้แก่ 1. ตําแหน่งหน้าที่ (ญาณวรรธน์ ชุ่มท้วม และxxxxx พนิช การ, 2560) 2. ประสบการณ์การทํางาน (xxxxxxx xxxxxxx และxxxx xxxxxxxx, 2558; xxxxxx เศรษฐ กัมพู และxxx xxxxxx, 2562) 3. การเงิน (xxxxxxx นามศิริ และxxxx xxxxxxxx, 2558; xxxxxxx รัก xxxxxxx และxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxสกุล, 2555) 4. รูปแบบรูปรายการและวัสดุ (xxxxxxx xxxxxxx และ xxxx xxxxxxxx, 2558; xxxxxxx รักxxxxxxx และ xxxxxxxxxx xxxxxxxxxxสกุล, 2555; xxxxx xxxxxx และ xxxxxxx xxxxxxxxx, 2561)
ซึ่งจากปัจจัยที่ทําให้xxxxxxxเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้างทั้ง 4 ปัจจัยนี้จะถูกนํามาใช้
ในการสร้างเป็นกรอบxxxxxxxxxใช้ในการศึกษาซึ่งจะแสดงได้ดังภาพที่ 1
1. ตํำแหน่งหน้ำที่
2. ประสบกำรณ์กำรxxxงำน
3. กำรเงิน
4. รูปแบบรำยกำรและวัสดุ
ปัญหาการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้าง
ด้ำนกำรบริหำรบุคคล ด้ำนกำรบริหำรงบประมำณ ด้ำนกำรบริหำรวัสดุ ด้ำนกำรจัดกำรโครงกำร
ภาพที่ 1 xxxxxxxxxใช้ในการศึกษา ปัญหาการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
จากภาพประกอบที่ 1 แสดงกรอบxxxxxxxxxใช้ในการศึกษาปัญหาการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้าง โครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยด้านตําแหน่งหน้าที่ ประสบการณ์ การทํางาน การเงิน รูปแบบรายการและวัสดุ ซึ่งปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ได้จากการสังเคราะห์จาก ผลการวิจัยของงานวิจัยและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
1.5 ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยนี้ได้ทําการศึกษาในระหว่างดําเนินการก่อสร้างซึ่งอาจมีความจําเป็นต้อง เปลี่ยนแปลงแก้ไขรูปแบบและรายการก่อสร้างxxxxxxxxเพื่อความเหมาะสมสอดคล้องกับการใช้งาน และxxxxxxxก่อสร้างในระหว่างการปฏิบัติงานจริง การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลการเปลี่ยนแปลง แก้ไขสัญญาระหว่างโครงการก่อสร้างในครั้งนี้จะใช้กรณีศึกษาภายในมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัย มหาสารคามที่ดําเนินการก่อสร้างระหว่างปีงบประมาณ 2550-2560 (1 xxxxxx 2549 – 30 กันยายน 2559)
1.6 xxxxxxxxxในการวิจัย
เพื่อศึกษาปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหา 1) ปัญหาด้านการบริหารบุคคล 2) ปัญหาด้านการบริหาร
งบประมาณ 3) ปัญหาด้านการบริหารวัสดุ และ 4) ปัญหาด้านการจัดการโครงการซึ่งประกอบด้วย 4 ปัจจัย ได้แก่ 1) ตําแหน่งหน้าที่ 2) ประสบการณ์การทํางาน 3) การเงิน และ4) รูปแบบรายการและวัสดุ ก่อให้xxxxxxxเปลี่ยนแปลงสัญญาการก่อสร้าง
1.7 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.7.1 สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้างระหว่างโครงการ
1.7.2 ระดับความสําคัญของปัจจัยที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้างของ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
1.7.3 เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติสําหรับผู้ที่บริหารสัญญางานก่อสร้าง
1.7.4 เพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรคในการบริหารสัญญางานก่อสร้างได้อย่างถูกต้อง
1.8 นิยามศัพท์เฉพาะ
คํานิยามศัพท์เฉพาะและคําจํากัดความนี้จัดทําขึ้นมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแก้ไขสัญญางานก่อสร้าง โดยผู้วิจัยได้รวบรวมคําศัพท์และคําจํากัดความจาก xxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมเป็นข้อกําหนดใน การศึกษาครั้งนี้เนื่องจากงานวิจัยนี้ได้ทําการเก็บรวบรวมข้อมูลโครงการที่ดําเนินการในระหว่างปี 2550-2560 ซึ่งxxxxxxนิยามศัพท์เฉพาะและคําจํากัดความได้ดังต่อไปนี้
ผู้xxxxxxx หมายถึง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้รับจ้าง หมายถึง คู่สัญญางานxxxxก่อสร้าง หัวหน้าส่วนราชการ หมายถึง อธิการบดี
สัญญา หมายถึง สัญญาxxxxก่อสร้างซึ่งมหาวิทยาลัยมหาสารคามxxxxxxxxxxบริษัท/ ห้าง/กิจการรร่วมค้า เพื่อทํางานก่อสร้างให้กับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
พัสดุ หมายความว่า วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่กําหนดไว้ในหนังสือการ จําแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณของสํานักงบประมาณหรือการจําแนกประเภทรายจ่ายxxx xxxxx เงินกู้จากต่างประเทศ
การxxxx ให้หมายความรวมxxxxxxxxxxทําของและการรับขนตามxxxxxxกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ และการxxxxเหมาบริ การ แต่ไม่รวมxxxxxxxxxxลูกจ้างของส่วนราชการตามxxxxxxxของ กระทรวงการคลัง การรับขนในการเดินทางไปราชการตามกฎหมายว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป ราชการ การxxxxxxxปรึกษา การxxxxออกแบบและควบคุมงาน และการxxxxแรงงานตามxxxxxx กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ หมายความว่าหัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือxxxxxxxxxเทียบ กอง ซึ่งปฏิบัติงานในสายงานที่เกี่ยวกับการพัสดุตามที่องค์กรกลางบริหารงานบุคคลกําหนด หรือ ข้าราชการอื่นซึ่งได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้เป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ แล้วแต่กรณี
เจ้าหน้าที่พัสดุ หมายความว่า เจ้าหน้าที่ซึ่งดํารงตําแหน่งที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการพัสดุ หรือผู้ได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้มีหน้าที่หรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการพัสดุตามxxxxxxxxxx
คณะกรรมการตรวจการxxxx ผู้มีหน้าที่ตรวจสอบรายงานการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง และเหตุการณ์แวดล้อมที่ผู้ควบคุมงาน รายงาน โดยตรวจสอบกับแบบรูปรายการละเอียด และ ข้อกําหนดในสัญญาทุกสัปดาห์ รวมทั้งบทราบ หรือพิจารณาการสั่งหยุดงาน หรือxxxงานของผู้ ควบคุมงานแล้วรายงานหัวหน้าส่วนราชการเพื่อพิจารณาxxxxxxxต่อไป
ผู้ควบคุมงาน ผู้มีหน้าที่ตรวจและควบคุมงาน ณ สถานxxxxxxกําหนดไว้ในสัญญาหรือที่ตก ลงให้ทํางานxxxxนั้น ๆ ทุกวัน ให้เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกําหนดในสัญญาทุก ค่า K หรือ Escalation Factor คือตัวเลขดัชนีที่ใช้ในการวัดความเปลี่ยนแปลงของ
ค่างาน ณ ระยะเวลาที่ผู้รับเหมาก่อสร้างเปิดซองประกวดราคาได้เปรียบเทียบกับระยะเวลาที่ส่งงาน ในแต่ละงวด
TOR หรือ Term of Reference คือการกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของงานและ ขอบเขตของงาน
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้าง
โครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ซึ่งผู้วิจัยได้ทําการรวบรวมเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและ xxxxxxสรุปได้ดังนี้
2.1 บริบทมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
2.2 กระบวนการบริหารงานก่อสร้างของทางราชการ
2.3 การบริหารสัญญา
2.4 การแก้ไขสัญญา
2.5 การควบคุมงานและการตรวจการxxxx
2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 บริบทมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
2.1.1 ประวัติมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยได้มีพัฒนาการมาตามลําดับโดยอาศัยเงื่อนไขของเวลาในการสร้างความ พร้อมต่างๆ กระทั่งxxxxxxดําเนินการแยกเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศสําเร็จภายใต้ชื่อ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม เมื่อxxxxxx 9 ธันวาคม 2537 โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติของมหาวิทยาลัย ซึ่งได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 111 ตอนที่ 54 ก นับเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งที่ 22 ของประเทศไทย สําหรับแนวคิดในการแยกตัวเป็นเอกเทศนั้น ได้เริ่มปรากฏขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 โดย xx.xxxx xxxxxxxx รองอธิการบดีเวลานั้นได้มีแนวความคิดที่ จะรวมสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาหลักๆ ของจังหวัดมหาสารคามเข้าเป็นมหาวิทยาลัยเดียวกัน แต่แนวคิดดังกล่าวทําให้เกิดปัญหาบางประการxxxxxxxxxxxxดําเนินการต่อไปxxx xxxxปัญหาความ ขัดแย้งของต้นสังกัดเดิมจากแต่ละสถาบัน เป็นต้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 xxxxxxxxxxxxxx xx.xxxx บุญยxxxxxx ซึ่งดํารงตําแหน่งรองอธิการบดีจึงได้มีการเสนอให้แยกมหาวิทยาลัยมหาสารคามออก จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยให้มีกําหนดลักษณะเป็นสถาบันในนามของสถาบัน xxxxxxศึกษาเพื่อพัฒนาชนบท แต่ให้มีสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัย แต่อย่างไรก็ตามการดําเนิน ดังกล่าวยังxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxกัน
กระทั่งในปี พ.ศ. 2535 xxxxxxxxxxxxxx xx.xxxx xxxxx ซึ่งดํารงตําแหน่งxxxxxxx อธิการบดีได้ สืบสานxxxxxxxxxจะแยกสถาบันอีกครั้ง และเริ่มxxxxxxxชัดเจนมากขึ้น ทั้งนี้ประกอบ กับในช่วงเวลานั้น xxxxxxxx xxxxxxx ดํารงตําแหน่งรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ซึ่งโดย ส่วนตัวท่านเองได้ให้สนใจและความช่วยเหลืออย่างเต็มที่ในการสนับสนุนxxxxxxxxxจะให้มี มหาวิทยาลัยเกิดขึ้นในจังหวัดมหาสารคาม การดําเนินงานจึงได้เริ่มตั้งแต่การแต่งตั้งคณะกรรมการ จัดทําโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณะกรรมการร่างพระราชบัญญัติมหาxxxxxลั ย เมื่อxxxxxx 12 พฤษภาคม 2535 จากนั้นจึงได้ดําเนินงานมาตามขั้นตอนจนxxxxxxยกฐานะเป็น มหาวิทยาลัยได้สําเร็จดังที่กล่าวข้างต้นในช่วงรองศาสตราจารย์ xx.xxxxx xxxxxxxx xxxxxxx อธิการบดี ซึ่งได้สืบสานแนวคิดและการดําเนินงานอย่างต่อเนื่องโดยได้รับความร่วมมืออย่างมุ่งมั่ น และจริงจังจากทุกท่าน ทุกฝ่าย ทั้งบุคคลภายในและภายนอกในสายงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นอันมาก ในระหว่างที่มีการดําเนินการเพื่อยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศนั้นได้มีการทบทวนเรื่องชื่อของ มหาวิทยาลัยเพื่อหาความเหมาะสมและเห็นxxxxต้องกันทุกฝ่าย โดยการดําเนินการสํารวจประชามติ ให้เป็นเอกฉันท์ ซึ่งชื่อที่เสนอในครั้งนั้นมีความหลากหลายของที่มาและแนวคิด ตั้งแต่ชื่อมหาวิทยาลัย อีสาน มหาวิทยาลัยxxxxxxธร มหาวิทยาลัยxxxxxxxxราชxxx มหาวิทยาลัยxxxxxxxxx มหาวิทยาลัย xxxxxxxxxxxx จนกระทั่งได้มาเห็นชอบพร้อมกันต่อชื่อ มหาวิทยาลัยมหาสารคามในเบื้องท้าย ดังปรากฏในปัจจุบันภายหลังได้มีการขยายพื้นที่xxxxx "ป่าโคกหนองไผ่" ตําบลขามเรียง อําเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม บนเนื้อที่ประมาณ 1,300 ไร่ ขณะนั้นของรองศาสตราจารย์ xx.xxxxx xxxxxxxx อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคามคนแรก (พ.ศ. 2538-2546) และได้ดําเนินการสร้างอาคารต่างๆ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2539 ภายหลังจึงได้ย้ายศูนย์กลางบริหารงานมา ณ ที่ทําการแห่งใหม่ในปีการศึกษา 2542 อีกทั้งยังได้มีการเปิดสาขาวิชาและคณะใหม่xxxxxขึ้นเป็นจํานวนมาก เพื่อเปิดบริการทางการศึกษาให้มี หลากหลายxxxxxxxขึ้น ปัจจุบันมหาวิทยาลัยได้เปิดสอนหลักสูตรและสาขาวิชาต่างๆ ซึ่งประกอบไป ด้วย คณะศึกษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยี คณะการบัญชีและการจัดการ คณะเภสัชศาสตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ คณะ วิศวกรรมศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองนฤมิตศิลป์ และ โครงการจัดตั้งคณะใหม่อีกทยอยเปิดในแต่ละปีการศึกษา คือ โครงการจัดตั้งคณะวิทยาการ สารสนเทศ โครงการจัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะการโรงแรมและการxxxxxxxxxxและคณะxxxxx xxxxxx เป็นต้น
นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังได้เปิดสอนระดับประถมและมัธยมศึกษาใน โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยเปิดสอนในปีการศึกษา 2540 เป็นปีการศึกษาแรกและยังได้ขยาย การศึกษาระดับxxxxxxตรี xxxxxxโทไปยังวิทยาเขตนครพนมและศูนย์พัฒนาการศึกษาอุดรธานี โดยใช้สอนระบบทางไกลผ่านดาวเทียม ในเวลานี้ทางมหาวิทยาลัยยังได้มีโครงการที่กําลังดําเนินการ
และจะดําเนินการอีกมาก ทั้งนี้เพื่อxxxxxxxxxxที่จะเกิดขึ้นต่อชุมชนxxxxxxxx xxxxxxx xxxxxxxxxxและ องค์รวมเบื้องปลายต่อไป
2.1.2 การบริหารงานกองคลังและพัสดุ
กองคลังและพัสดุ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีภารกิจหลัก ในการจัดเก็บรายได้ บริหาร จัดการพื้นที่เพื่อสร้างxxxxxxxxxxxและบริการด้านการเงินและการคลังให้เป็นไปโดยถูกต้อง รวดเร็ว โปร่งใส และตรวจสอบได้ พร้อมทั้งสนับสนุนพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัยให้xxxxxวิสัยทัศน์
2.1.2.1 ลักษณะงานโดยทั่วไป ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นที่ต้องใช้ความรู้ความxxxxxxทางวิชาการใน
การทํางานและปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานด้านวิชาการพัสดุ ภายใต้การกํากับ แนะนํา ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามxxxxxxรับมอบหมาย โดยหน้าที่ความรับผิดชอบหลักได้แก่
ด้านการปฏิบัติการ
1) จัดหา จัดซื้อ xxxxxxx ตรวจรับ เก็บรักษา ร่างสัญญาซื้อ สัญญาxxxx ศึกษา ค้นคว้ารายละเอียดต่างๆ ของพัสดุ xxxx วิวัฒนาการคุณสมบัติ ระบบราคา การเสื่อมค่า การสึกหรอ ประโยชน์ใช้สอย สมรรถภาพ ค่าบริการ อะไหล่ การบําxxxxxxxx ความแข็งแรงทนทาน เพื่อกําหนด มาตรฐานและคุณภาพของพัสดุ วิเคราะห์และประเมินคุณภาพของพัสดุ เสนอความเห็นเพื่อ ประกอบการตัดสินใจในการจัดหาซื้อพัสดุ
2) จัดทํารายละเอียดบัญ ชี หรือทะเบียนคุมทรัพย์สินเกี่ยวกับคุณ ลักษณะเฉพาะของพัสดุ เพื่อให้xxxxxxตรวจสอบได้โดยสะดวก
3) ซ่อมแซมและดูแลรักษาพัสดุในครอบครองเพื่อให้มีสภาพที่พร้อมใช้งาน จําหน่ายพัสดุเมื่อชํารุดหรือเสื่อมสภาพ หรือไม่จําเป็นในการใช้งานทางราชการอีกต่อไป เพื่อให้พัสดุ เกิดประโยชน์ให้แก่ทางราชการได้มากที่สุด
4) ให้บริการวิชาการด้านต่าง ๆ xxxx ให้คําปรึกษา แนะนํา ในการปฏิบัติงาน แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมาและแก่นักศึกษาที่มาฝึกปฏิบัติงาน ตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ เพื่อให้xxxxxxปฏิบัติงาน ได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และปฏิบัติหน้าที่อื่น ที่เกี่ยวข้อง
ด้านการวางแผน
วางแผนการทํางานที่รับผิดชอบ ร่วมวางแผนการทํางานของหน่วยงานหรือ โครงการเพื่อให้การดําเนินงานxxxxxตามเป้าหมายและxxxxxxxxxxที่กําหนด
ด้านการxxxxxxงาน
1) xxxxxxการทํางานร่วมกันระหว่างทีมงานหรือหน่วยงาน ทั้งภายในและ ภายนอก เพื่อให้เกิดความร่วมมือและxxxxxxxxxxตามที่กําหนดไว้
2) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดําเนินงานตามxxxxxxรับมอบหมาย
ด้านการบริการ
1) ให้คําปรึกษา แนะนําเบื้องต้น เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ ทางด้านงานพัสดุ รวมทั้งตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับทราบข้อมูล ความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์
2) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น และให้บริการข้อมูลทางวิชาการ เกี่ยวกับด้านงาน พัสดุ เพื่อให้บุคลากรทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน นักศึกษา ตลอดจนผู้รับบริการ ได้ทราบข้อมูล และความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ สอดคล้อง และสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบการ พิจารณากําหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ
2.1.2.2 ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
กลุ่มงานบริหารการพัสดุ กองคลังและพัสดุ สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัย มหาสารคามมีลักษณะงานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับในด้านการวางแผน ตรวจสอบ รายงาน ควบคุม กํากับ ดูแลด้านการจัดซื้อxxxxxxx การxxxxxxxปรึกษา การxxxxการออกแบบหรือควบคุมxxx xxxเช่า การเก็บ xxxxx xxxจ่ายพัสดุ การขึ้นทะเบียนสินทรัพย์ การตรวจสอบพัสดุประจําปี การจําหน่ายและการ บริหารสัญญาหรือข้อผูกพัน การให้ความเห็นในการแก้ไข เปลี่ยนแปลงสัญญาหรือข้อตกลง การบอก เลิกสัญญาหรือข้อตกลง การงดหรือลดค่าปรับให้แก่คู่สัญญา การตรวจสอบการขอรับเงินค่างานxxx xxxxxก่อสร้าง แบบปรับราคาได้ (ค่า Escalation Factor K) การขอเบิกเงินล่วงหน้า การหักเงิน ประกันผลxxx xxxคืนเงินประกันสัญญา การถอนxxxxxเรียกร้องการขอรับเงิน ตรวจสอบหนังสือ รับรองผลxxx xxxบันทึกข้อมูลการจัดซื้อxxxxxxxภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ การประเมินข้อมูลผู้ขาย การจัดทําใบสั่งxxxx และการดําเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อxxxxxxxและการบริหารงาน ภาครัฐ xxxxxxx ประกาศ กฎกระทรวง มติคณะรัฐมนตรี คําสั่ง หรือข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง และงานอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับสายงานบังคับบัญชา
ในฐานะผู้ปฏิบัติงานในสังกัดกองคลังและพัสดุได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชา ให้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ โดยลักษณะงานที่ปฏิบัติส่วนใหญ่เป็นเรื่องเกี่ยวกับการบริหารสัญญา การ ควบคุม การตรวจสอบ และถือปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ xxxxxxx กฎกระทรวง หนังสือแจ้งเวียนที่ เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อxxxxxxxและการบริหารพัสดุภาครัฐนอกเหนือจากนี้ยังมีภาระงานด้านอื่นๆ xxx xxxรับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชามีรายละเอียด ดังนี้
ด้านการปฏิบัติการ
1) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลการบริหารสัญญาxxxx ควบคุมงานก่อสร้าง เพื่อสนับสนุนให้การดําเนินการถูกต้องตามxxxxxxxของทางราชการหรือกฎหมาย อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2) ให้บริการวิชาการด้านต่างๆ xxxx ให้คําปรึกษา แนะนํา ในการปฏิบัติงาน แก่เจ้าหน้าที่ ผู้ให้บริการควบคุมงานก่อสร้าง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานxxxxควบคุมงาน ก่อสร้าง หรือผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การปฏิบัติงานxxxxxเป้าหมายและxxxxxxxxxxที่กําหนดและปฏิบัติ หน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
ด้านการวางแผน
วางแผนการทํางานของแต่ละโครงการ เพื่อให้งานก่อสร้างสําเร็จตามเงื่อนไข ที่ระบุไว้ในสัญญาที่กําหนด
ด้านการxxxxxxงาน
1) xxxxxxการทํางานร่วมกันระหว่างผู้xxxxxxx (มหาวิทยาลัยมหาสารคาม) ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง คณะกรรมการตรวจการxxxx และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง
2) ชี้แจงและให้รายละเอียดข้อมูล ข้อเท็จจริง เกี่ยวกับพระราชการxxxxxxx การจัดซื้อxxxxxxxและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 xxxxxxxกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อ xxxxxxxและการบริหารการพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และกฎกระทรวงที่กระทรวงการคลังกําหนดที่ เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือ ในการดําเนินงานตามxxxxxxรับมอบหมาย
ด้านการบริการ
1) ให้คําปรึกษา แนะนําชี้แจงตอบปัญหาเบื้องต้นแก่คณะกรรมการตรวจรับ พัสดุในงานxxxxควบคุมงานก่อสร้าง ผู้ให้บริการควบคุมงานก่อสร้าง และผู้รับจ้าง เพื่อสร้างความ เข้าใจและสนับสนุนให้การดําเนินงานสําเร็จตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา
2) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น และให้บริการข้อมูลทางวิชาการพัสดุรวมถึง สนับสนุนพันธกิจหน่วยงานและนโยบาย แผนงาน โครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 โครงสร้างการบริหารจัดการ
กองคลังและพัสดุ สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นหน่วยงานที่ แบ่งเป็นการภายในตามมติสภามหาวิทยาลัยมหาสารคามในการประชุมครั้งที่ 11/2552 เมื่อxxxxxx 27 พฤศจิกายน 2552 ซึ่งแบ่งกลุ่มงานภายในประกอบด้วย กลุ่มงานการเงินและบริหารงบประมาณ กลุ่มงานบัญชี กลุ่มงานบริหารพัสดุ และกลุ่มงานจัดหารายได้และxxxxxxxxxx ปัจจุบันกองคลังและ
พัสดุ ได้ดําเนินการปรับเปลี่ยนโครงสร้างกลุ่มงานภายในเพื่อxxxxxxความเสี่ยงและเหมาะสมกับ สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปโดยมีกลุ่มงานภายในดังนี้
1. กลุ่มงานการเงินและบริหารงบประมาณ
2. กลุ่มงานบริหารการพัสดุ
3. กลุ่มงานบัญชี
4. กลุ่มงานจัดหารายได้และxxxxxxxxxx
5. กลุ่มงานบริหารทั่วไป
กองคลังและพัสดุ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีภารกิจหลัก ในการจัดเก็บรายได้
งานจัดหา มีหน้าที่กําหนดปฏิทินการจัดซื้อxxxxxxxและแผนการจัดซื้อxxxxxxx ตรวจสอบ และรายงานผลการปฏิบัติตามแผนการจัดซื้อxxxxxxx ติดต่อxxxxxxงานกับหน่วยงานเจ้าของ งบประมาณเพื่อให้กําหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ กําหนดราคากลาง กําหนดรูปแบบรายการ ดําเนินการรายงานขออนุมัติ การจัดซื้อxxxxxxxพัสดุทุกวิธี ดําเนินการรายงานผลการจัดซื้อxxxxxxxพัสดุ เพื่อขอความเห็นชอบให้จัดซื้อxxxxxxxพัสดุ ดําเนินการแจ้งผลการจัดซื้อxxxxxxxและนัดทําสัญญา ดําเนินการจัดทําสัญญาซื้อขายหรือxxxx/ข้อตกลงซื้อขายหรือxxxxและส่งสําเนาสัญญาตามxxxxxxxให้ หน่วยงานตามxxxxxxxกําหนดและผู้ที่เกี่ยวข้อง ติดตามการปฏิบัติxxxxxxxxหรือข้อตกลงซื้อxxxx ดําเนินการเกี่ยวกับการบอกเลิกสัญญาและการลงโทษผู้ทิ้งงาน ดําเนินการจัดหาพัสดุอื่นๆ ที่xxxxxxx xxxได้กําหนดไว้ซึ่งอาศัยxxxxxxx ข้อบังคับ คําสั่ง ประกาศของมหาวิทยาลัย
งานควบคุมและจําหน่าย มีหน้าที่จัดทําเอกสารการตรวจรับพัสดุ ตรวจการxxxx สิ่งก่อสร้าง และติดต่อxxxxxxงานคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ตรวจการxxxxสิ่งก่อสร้าง เพื่อทําการ ตรวจรับหรือตรวจการxxxxสิ่งก่อสร้าง รวบรวมและตรวจสอบเอกสารการตรวจรับพัสดุ ตรวจการxxxx สิ่งก่อสร้าง เพื่อประกอบการรายงานการจัดซื้อxxxxxxxพร้อมขออนุมัติเบิกจ่ายเงิน ดําเนินการลงบัญชี หรือทะเบียนเพื่อควบคุมพัสดุ เบิกจ่ายพัสดุ กําหนดหมายเลขครุภัณฑ์ ดําเนินการเกี่ยวกับการ ตรวจสอบค่า K xxxxxxxxแบบปรับราคาได้ ดําเนินการเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนสิ่งก่อสร้างไปยังxxx xxxxxจังหวัด ตรวจสอบพัสดุประจําปีพร้อมรายงานผลการตรวจสอบให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ ดําเนินการเกี่ยวกับการขอจําหน่ายพัสดุ ตรวจสอบความชํารุดบกพร่องก่อนคืนหลักประกันสัญญาแจ้ง ซ่อมในระยะประกันสัญญาและส่งคืนหลักประกันสัญญา ดําเนินการคํานวณค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
2.2 กระบวนการบริหารงานก่อสร้างของทางราชการ
2.2.1 การดําเนินการในงานก่อสร้าง
ในการดําเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งก่อสร้างสําหรับใช้ในราชการนั้น หากพิจารณาใน รายละเอียดของxxxxxxx มติคณะรัฐมนตรี และวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้องแล้ว xxxxxxพิจารณาเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้
2.2.1.1 ขั้นตอนก่อนดําเนินการxxxxxxxก่อสร้างเป็นขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับที่มาหรือ ข้อกําหนดให้ต้องมีโครงการ/งานก่อสร้าง การจัดทําโครงการ/งานก่อสร้าง การออกแบบ และ ประมาณการราคา การอนุมัติและเสนอขอตั้งงบประมาณเพื่อดําเนินการก่อสร้างการพิจารณาทบทวน แบบและประมาณการราคาค่าก่อสร้างเพื่อให้สอดคล้องกับวงเงินงบประมาณxxxxxxรับและเมื่อแบบและ งบประมาณที่ต้องใช้ในการก่อสร้างได้ข้อยุติเรียบร้อยแล้ว จากนั้นจึงเข้าสู้กระบวนการxxxxxxxก่อสร้าง ต่อไปการดําเนินการมีรายละเอียดที่ต้องพิจารณา ดังนี้
1) ที่มาหรือข้อกําหนดให้ต้องมีโครงการ/งานก่อสร้าง อาจเป็นโครงการ/งาน ก่อสร้างที่กําหนดจะดําเนินการตามแผนปฏิบัติงานของหน่วย นโยบายของรัฐบาลหรือผู้บริหาร หรือ จะด้วยเหตุผลใดก็ตามที่ทําให้ต้องมีโครงการ/งานก่อสร้างนั้น
2) การจัดทําโครงการ/งานก่อสร้าง การออกแบบ และประมาณการราคา โครงการ/งานก่อสร้างใดที่ยังไม่จัดทําโครงการ ออกแบบ และประมาณการราคา ให้ดําเนินการจัดทํา โครงการ ออกแบบ และประมาณการราคา โดยในส่วนของการออกแบบและประมาณการราคา ในทางปฏิบัติจะเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานที่มีอํานาจหน้าที่ออกแบบและ/หรือ ประมาณการราคา เป็นผู้ออกแบบและประมาณการราคาแต่ ถ้าหน่วยงานเจ้าของโครงการ/งาน ก่อสร้างนั้นไม่มีหน่วยงานที่มีอํานาจหน้าที่ออกแบบและ/หรือประมาณการราคาหรือมีแต่ไม่xxxxxx ดําเนินการxxx xxให้ขอความร่วมมือหน่วยงานอื่นที่มีหน่วยงานที่มีอํานาจหน้าที่ออกแบบและ/หรือ ประมาณการราคา xxxx กรมโยธาxxxxxและผังเมือง กรมศิลปากร เป็นต้น เป็นผู้ออกแบบและ ประมาณการราคาให้ แต่ถ้าหน่วยงานเจ้าของโครงการ/งานก่อสร้างซึ่งไม่มีหน่วยงานที่มีอํานาจหน้าที่ ออกแบบและ/หรือประมาณการราคาหรือมีแต่ไม่xxxxxxดําเนินการได้ และได้ขอความร่วมมือ หน่วยงานอื่นที่มีหน่วยงานที่มีอํานาจหน้าที่ออกแบบและ/หรือประมาณการราคาเพื่อออกแบบและ ประมาณการราคาให้xxxxxxxxxxxxxxxxดําเนินการให้xxx xxให้ดําเนินการxxxxออกแบบ โดยถือปฏิบัติ ตามxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ในส่วนที่เกี่ยวข้อง กับการxxxxออกแบบและควบคุมงาน
3) การอนุมัติและเสนอขอตั้งงบประมาณเพื่อดําเนินการก่อสร้าง หลังจากได้ จัดทําโครงการออกแบบ และประมาณการราคา แล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการขออนุมัติรวมทั้งการเสนอ ขอตั้งงบประมาณเพื่อดําเนินการก่อสร้าง
4) การพิจารณาทบทวนแบบและประมาณการราคาค่าก่อสร้างเพื่อให้สอดคล้อง กับวงเงินงบประมาณxxxxxxรับ หลังจากได้รับจัดสรรงบประมาณแล้ว อาจต้องมีการพิจารณาทบทวน แบบและประมาณการราคาค่าก่อสร้างเพื่อให้สอดคล้องกับวงเงินงบประมาณxxxxxxรับ ทั้งนี้ เนื่องจาก งบประมาณxxxxxxรับอาจไม่เป็นไปตามที่เสนอขอ ประกอบกับราคาวัสดุรวมทั้งค่าแรงงานและค่าใช้จ่าย อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอาจxxxxxสูงขึ้น ทําให้ไม่xxxxxxxxxจะดําเนินการก่อสร้างตามวงเงินงบประมาณxxxxxxรับ ได้ ในกรณีนี้อาจมีความจําเป็นต้องมีการพิจารณาทบทวนแบบและปรับลดรายการให้สอดคล้องกับ วงเงินงบประมาณxxxxxxรับจัดสรร หรือจําเป็นต้องจัดหางบประมาณเพิ่มเติมเพื่อให้xxxxxxดําเนินการ ก่อสร้างต่อไปได้
5) แบบรูปรายการและงบประมาณพร้อมสําหรับการก่อสร้าง หลังจากได้มีการ พิจารณาทบทวนแบบและประมาณการราคาค่าก่อสร้าง รวมทั้งการปรับลดรายการและ/หรือจัดหา งบประมาณเพิ่มเติม จนได้แบบและงบประมาณพร้อมสําหรับการก่อสร้าง ก็จะเข้าสู้ขั้นตอนการ ดําเนินการxxxxxxxก่อสร้างต่อไปสําหรับกรณีของโครงการ/งานก่อสร้างอาคารxxxxxxรับจัดสรรวงเงิน งบประมาณแล้วนั้น ให้ส่วนราชการเจ้าของงบประมาณดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อxxxxxx 16 มีนาคม 2536 แจ้งตามหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร0205/ ว 44 ลงxxxxxx 22 มีนาคม 2536 มีสาระสําคัญเฉพาะในส่วนของการออกแบบก่อสร้าง สรุปได้ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 สาระสําคัญเฉพาะในส่วนของการออกแบบก่อสร้าง ตามหนังสือสํานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี ที่ นร 0205/ ว44 ลงxxxxxx 22 มีนาคม 2536
กรณีxxxxxxออกแบบ ก่อสร้างไว้แล้ว | กรณีที่ยังไม่มีแบบก่อสร้าง |
ให้ดําเนินการxxx xxxxก่อสร้าง โดย อาจจําเป็นต้องมี พิจารณาทบทวน | ให้ดําเนินการออกแบบก่อสร้าง โดยหน่วยงานที่มีอํานาจหน้าที่ออกแบบเป็น ผู้ออกแบบ ถ้าหน่วยงานเจ้าของโครงการ/งานก่อสร้างนั้นไม่มีหน่วยงานที่มี อํานาจหน้าที่ออกแบบ หรือมีแต่ไม่xxxxxxดําเนินการxxx xxให้มีหนังสือขอความ ร่วมมือกรมโยธาxxxxxและผังเมืองหรือกรมศิลปากร และส่วนราชการอื่นที่มี |
ตารางที่ 1 (ต่อ)
กรณีxxxxxxออกแบบ ก่อสร้างไว้แล้ว | กรณีที่ยังไม่มีแบบก่อสร้าง |
แบบและประมาณ การราคาค่า ก่อสร้างเพื่อให้ | หน่วยงานที่มีอํานาจหน้าที่ออกแบบ อีก 1 แห่ง เป็นผู้ออกแบบให้ และเมื่อได้มี หนังสือขอความร่วมมือกรมโยธาxxxxxและผังเมืองหรือกรมศิลปากร และส่วน ราชการอื่นที่มีหน่วยงานที่มีอํานาจหน้าที่ออกแบบ อีก 1 แห่งเพื่อออกแบบให้ |
สอดคล้องกับวงเงิน งบประมาณxxxxxxรับ ตามข้อ 1.4 และ ข้อ 1.5 | xxxx xxxxxxxxxxxxดําเนินการให้xxx xxให้ส่วนราชการเจ้าของงบประมาณxxxx เอกชนออกแบบก่อสร้างอาคาร โดยขอทําความตกลงด้านการเงินกับสํานัก งบประมาณ (ศึกษารายละเอียดวิธีดําเนินการ และระยะเวลา จากหนังสือสํานัก เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0205/ว44 ลงxxxxxx 22 มีนาคม 2536 ซึ่งสํานัก เลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้แจ้งเวียนให้ทุกส่วนราชการถือปฏิบัติแล้ว) ในการออกแบบก่อสร้างไม่ว่าจะเป็นกรณีใด โดยหน่วยงานใด หรือxxxxออกแบบก็ ตามหลักเกณฑ์การคํานวณราคากลางงานก่อสร้างตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อxxxxxx 6 กุมภาพันธ์ 2550 กําหนดให้ผู้ออกแบบต้องออกแบบให้ถูกต้องเหมาะสมกับ การใช้งานและเป็นไปตามหลักวิชาการ โดยจะต้องมีการถอดแบบและจัดทํา รายการปริมาณงานและราคา และประมาณการราคาในเบื้องต้น รวมทั้งจะต้อง รับรองแบบและรายการปริมาณงานและราคาxxxxxxถอดแบบนั้น ไว้ด้วยทุกครั้ง |
2.2.1.2 ดําเนินการxxxxxxxก่อสร้างต้องปฏิบัติตามxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่า ด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม และxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วย วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 โดยเริ่มตั้งแต่การแต่งตั้งคณะกรรมการกําหนดราคากลางจนถึง ได้ผู้เสนอราคารายที่ทางราชการเห็นxxxxxxxxxหรือรายxxxxxxxxxประมูลและการทําสัญญาxxxx ก่อสร้างการดําเนินการในขั้นตอนนี้มีรายละเอียดที่ต้องพิจารณา ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 การดําเนินการxxxxxxxตามxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่ แกไขเพิ่มเติม และxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549
ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1
ขั้นตอนที่ 2
ขั้นตอนที่ 3
ขั้นตอนที่ 4
ขั้นตอนที่ 5
รายละเอียด ก่อนที่จะดําเนินการxxxxxxxก่อสร้าง หลักเกณฑ์การคํานวณราคากลางงานก่อสร้าง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อxxxxxx 6 กุมภาพันธ์ 2550 และxxxxxx 13 มีนาคม 2555
ที่แจ้งโดยหนังสือด่วนที่สุด ที่ กค 0421.5/ว 27 ลงxxxxxx 30 มีนาคม 2555 กําหนดให้ แต่งตั้งคณะกรรมการกําหนดราคากลางเพื่อคํานวณราคากลางงานก่อสร้างในครั้งนั้น ให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์การคํานวณราคากลางงานก่อสร้าง แล้วนําเสนอหัวหน้าส่วน ราชการพิจารณาให้ความเห็นชอบอนุมัติ เจ้าหน้าที่พัสดุทํารายงานขอความเห็นชอบxxxxxxxก่อสร้างตามxxxxxxxฯ ว่าด้วยการ พัสดุข้อ 27 โดยให้ระบุราคากลางที่คณะกรรมการกําหนดราคากลางได้คํานวณไว้และ หัวหน้าส่วนราชการได้ให้ความเห็นชอบแล้ว ในรายงานขอความเห็นชอบxxxxxxx ก่อสร้าง
ประกาศสอบราคา หรือประกวดราคา โดยหลักเกณฑ์การคํานวณราคากลางงาน ก่อสร้างตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อxxxxxx6 กุมภาพันธ์ 2550 กําหนดให้ต้องประกาศ เปิดเผยราคากลาง ในประกาศสอบราคาและประกาศประกวดราคาด้วย ดําเนินการสอบราคา หรือประกวดราคา จนได้ผู้เสนอราคารายที่ทางราชการ เห็นxxxxxxxxx
ทําสัญญาxxxxก่อสร้างกับผู้xxxxxxเสนอราคา
สําหรับกรณีของการxxxxxxxก่อสร้างโดยวิธีการเสนอราคาด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์ตามxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 นั้น หลังจากที่คณะกรรมการกําหนดราคากลางได้คํานวณราคากลางและหัวหน้าส่วนราชการได้ ให้ความเห็นชอบอนุมัติราคากลางเรียบร้อยแล้ว ก็จะเข้าสู่ขั้นตอนการดําเนินการxxxxxxxก่อสร้าง ซึ่ง ประกอบด้วย การจัดทํา (Terms of Reference :TOR) เอกสารประกวดราคาและเอกสารxxxxxxx การแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคาและคัดเลือกผู้ให้บริการตลาดxxxx xxxทํารายงานขอความ เห็นชอบxxxxxxxก่อสร้าง การประกาศxxxxxxx การคัดเลือกเป็นผู้มีสิทธิ์เสนอราคา การดําเนินการ เสนอราคา การแจ้งผลการพิจารณาราคา และการทําสัญญาxxxxก่อสร้าง โดยมีข้อกําหนดให้ประกาศ
เปิดเผยราคากลางในร่าง TOR และให้ใช้ราคากลางที่คณะกรรมการกําหนดราคากลางได้คํานวณไว้ และหัวหน้าส่วนราชการได้ให้ความเห็นชอบแล้วเป็นราคาเริ่มต้นในการเสนอราคา (ประมูล)
2.2.1.3 ขั้นตอนการดําเนินการxxxxxxxxxxxxก่อสร้าง เป็นขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับ การดําเนินการxxxxxxxxxxxxก่อสร้างจนได้สิ่งก่อสร้างไว้ใช้ประโยชน์ในราชการ การดําเนินการใน ขั้นตอนนี้ จะประกอบด้วย การดําเนินการก่อสร้างxxxxxxxxxxxxก่อสร้างการควบคุมxxx xxxตรวจ การxxxx การรับประกันผลงานก่อสร้าง รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงสัญญาการดําเนินการในขั้นตอนนี้จะมี บุคคลที่เกี่ยวข้อง จํานวน 2 ชุด คือ คณะกรรมการตรวจการxxxxและผู้ควบคุมงาน
2.3 การบริหารสัญญา และการแก้ไขสัญญา
2.3.1 หลักการบริหาร
หลักการบริหารสําคัญและได้รับการยอมรับอย่างxxxxxxxx คือ 4M หรือ การบริหาร จัดการปัจจัยพื้นฐาน 4 อย่าง ได้แก่ บุคลากร งบประมาณ วัสดุ และกระบวนการ (xxxxxxx xxxxxxxxx, 2558)
2.3.1.1 บุคลากร (Man) จัดเป็นทรัพยากรที่สําคัญที่สุดและเป็นทรัพยากรหลักขององค์กร ซึ่งทรัพยากร
มนุษย์จะเป็นผู้ใช้ทรัพยากรด้านอื่นๆ xxxx xxxxxxxxxxx อุปกรณ์ วัสดุ และงบประมาณทุน รวมทั้งข้อมูล สารสนเทศต่างๆ เพื่อใช้ในการผลิตสินค้าหรือให้บริการกับองค์กรนั้น การที่องค์กรจะxxxxxxxและ xxxxxxดําเนินการให้มีความxxxxxxxxxxxxxxxxxxxแข่งขันในตลาดได้จะต้องอาศัยการรวมพลังของ บุคลากรทุกบุคลากรในองค์กร การจัดระเบียบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ให้xxxxxxร่วมแรงร่วมใจ xxxxxxกันได้เป็นอย่างดี โดยมีทิศทางไปในแนวเดียวกัน เพื่อให้งานต่างๆ สอดคล้องสําเร็จลุล่วงตาม เป้าหมาย เพื่อผลสําเร็จขององค์กรโดยส่วนรวมและxxxxxxรองรับการเปลี่ยนแปลงการบริหารงาน แบบxxxxxxxxxxxxxx ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีขีดความxxxxxxและศักยภาพอย่างเหมาะสม มี กรอบของการบริหารxxxxx โดยยึดxxxxxxxxมาxxxxx ผู้ปฏิบัติงานมีความพึงxxxx ตลอดจนมีการใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าสูงสุด การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human resource management: HRM) คือ การใช้กลยุทธ์เชิงรุกที่มีความxxxxxxxxกันอย่างต่อเนื่องในการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีคุณค่า มากที่สุดในองค์กร นั่นคือ บุคคลที่ทํางานทั้งกรณีที่ทํางานร่วมกันและกรณีที่ทํางานบุคลากรเดี่ยว เพื่อxxxxxเป้าหมายในการประกอบธุรกิจใดๆ กลยุทธ์ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์นั้น จะ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วไปตาม เวลาและสถานการณ์ จึงต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้ ในธุรกิจหลากหลายประเภทและขนาดจึงมีแผนกหรือหน่วยงานที่ทําหน้าที่ในการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์โดยเฉพาะ ซึ่งขนาดของแผนกหรือหน่วยงานนั้นจะมากน้อยก็ขึ้นอยู่กับขนาดของ
ธุรกิจเอง รวมถึงความสําคัญของทรัพยากรมนุษย์ด้วยว่าสําคัญยิ่งยวดมากxxxxxxxxxใด การบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ถือเป็นทั้งทฤษฎีในเชิงวิชาการและแบบปฏิบัติในธุรกิจที่ศึกษาวิธีการบริหารแรงงาน ทั้งในxxxxxxxxและปฏิบัติขั้นตอนและกระบวนการการบริหารทรัพยากรมนุษย์มี 3 ขั้นตอนที่สําคัญ ดังนี้
1) การได้มาซึ่งทรัพยากรมนุษย์ (Acquisition) มีกิจกรรมสําคัญ 4 อย่าง คือ การวางแผน (Planning) การสรรหา (Recruitment) การคัดเลือก (Selection) และการปฐมนิเทศ (Orientation)
2) การรักษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Retention & Development) มีกิจกรรม 6 อย่าง คือ การวัดเพื่อประเมินผลงาน (Performance Measurement) การxxxมและ การพัฒนา (Training & Development) การxxxxxและการรักษาxxxxx (Discipline & Disciplinary Corrective) การบริหารค่าตอบแทน (Compensation Administration) การสอนงานและการให้คา แนะแนว (Coaching & Counseling) และสุขภาพและความปลอดภัย (Health & Safety)
3) การพ้นจากองค์กรหรือการทํางาน (Separation or retirement) มีกิจกรรม 3 อย่าง คือการสัมภาษณ์เมื่อพ้นจากองค์กร (Exit Interviews) การช่วยหางานใหม่ (Outplacement) และการวางแผนเกษียณอายุ (Pre-retirement Planning)
2.3.1.2 งบประมาณ (Money) งบประมาณเป็นอีกหนึ่งทรัพยากรหรือปัจจัยที่สําคัญในองค์กรต่างๆ ดังนั้น
จึงต้องมีการบริหารการงบประมาณซึ่งเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของการบริหารการงบประมาณก็คือ การแสวงหากําไรสูงสุดภายใต้ความมีประสิทธิภาพซึ่งหมายความว่า มีการใช้ความxxxxxxน้อยที่สุด แต่xxxxxxxxตอบแทนมากที่สุด เมื่อเทียบกับกําไรและงบประมาณลงทุนที่ธุรกิจได้รับซึ่งเรียกว่า กําไร ต่อความxxxxxxสูงสุด โดยที่จะต้องคํานึงถึงความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business risk) และระยะเวลาของ การxxxxxxxxตอบแทนด้วยซึ่งก็คือ เป้าหมายในการแสวงหาความxxxxxxxxสูงสุด ( Wealth maximization หรือ Maximize shared holder wealth) คือ การแสวงหาความxxxxxxxxขั้นสูงสุด ให้กับผู้ถือหุ้นสามัญ
ทั้งนี้ ไม่ว่าธุรกิจจะมีรูปแบบองค์กรเป็นอย่างไรก็ตามจะเป็นกิจการขนาดเล็ก xxxxxxxxหรือขนาดใหญ่ ผู้บริหารการงบประมาณจะมีหน้าที่หลักในการบริหารเพื่อทําให้เกิด xxxxxxxxxxxแก่กิจการ นั่นหมายxxxxxxบริหารเพื่อให้xxxxxxกําไรและxxxxxxxxxxให้เกิดความ เจริญเติบโตในxxxxx อันจะส่งผลให้เกิดxxxxxxxxxxxสูงสุดแก่กิจการ (Maximizing Value of the Firm) ดังนั้นหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหารการงบประมาณจะมี 5 ประการ คือ หน้าที่ใน การพยากรณ์และวางแผน (Forecasting and Planning) หน้าที่ในการตัดสินใจลงทุนและจัดหา งบประมาณทุน (Investment and Financing Decision) หน้าที่ในการxxxxxxงานและควบคุม
(Coordination and Control) หน้าที่ในการเป็นตัวแทนขององค์กรทําการติดต่อกับตลาด การงบประมาณ (Dealing with the Financial Market) และหน้าที่ในการบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
2.3.1.3 วัสดุ (Materials)
วัสดุ สิ่งของจัดเป็นอุปกรณ์ ที่อํานวยความสะดวกในการบริหาร อาจมองได้ว่า เป็นเทคโนโลยีทางการบริหาร xxxxxxxxxxตั้งแต่อาคาร ที่ทํางาน อุปกรณ์ เครื่องใช้ในสํานักงาน รถยนต์ เครื่องมือสื่อสาร ตลอดจนวัสดุต่างๆ รวมไปถึงxxxxxxxxxxxกลที่จําเป็น สิ่งเหล่านี้ อาจxxxxxxx xxxว่าเป็นวัฒนธรรมทางวัตถุที่มนุษย์ มีการพัฒนาถ่ายทอดสืบต่อกันมา จัดได้ว่าเป็นเทคโนโลยีในการ บริหารงาน
2.3.1.4 การจัดการ (Management) การจัดการเป็นความxxxxxxของผู้บริหารในอันที่จะดูแลและxxxxxxกิจกรรม
ต่างๆ ให้ดําเนินลุล่วงไปตามวัตถุประสงค์ หรือxxxxxxxxxxxกําหนดไว้ ความรู้ในการจัดการอาจเกิดได้ จากประสบการณ์ ในฐานะxxxxxxเป็นผู้ปฏิบัติงานในแผนกต่างๆ ขององค์กร การอยู่ในองค์กรมานาน หลายปี รวมทั้งการได้รับการถ่ายทอดประสบการณ์ขององค์กรเองจากอดีตถึงปัจจุบัน ความรู้ในการ จัดการยังเป็นเรื่องของศาสตร์ที่xxxxxxไปเรียนรู้จากตารางานวิจัย และประสบการณ์ขององค์การ อื่นๆ ในสังคม มีการจัดหลักสูตรการปรับปรุงคุณภาพ การทํางานในกิจกรรมต่างๆ xxxx ความรู้ในการ ปรับปรุงโครงสร้างองค์กร ความรู้ด้านการบริหารงานบุคคล ความรู้ด้านจัดทางบประมาณ เป็นต้น
ดังนั้น จากหลักการบริหาร 4M หรือ การบริหารจัดการปัจจัยพื้นฐาน 4 อย่าง ทั้งบุคลากร งบประมาณ วัสดุ และกระบวนการ (xxxxxxx xxxxxxxxx, 2558) จึงเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อ การบริหาร xxxxเดียวกับการบริหารโครงการก่อสร้างซึ่งจะส่งผลต่อปัญหาการแก้ไขสัญญาระหว่างการ ก่อสร้างโครงการ ดังภาพที่ 2
ด้านการบริหารบุคคล ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารวัสดุ
ด้านการจัดการโครงการ
การเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้าง
่
ภาพที่ 2 ปัจจัยทางการบริหารที่ส่งผลต่อการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้างโครงการ
2.3.2 สัญญา
สัญญา หมายxxx xxxใดอันได้กระทําลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยxxxxxxx มุ่งเน้น โดยตรงต่อการผูกxxxxxxxxxxxx ขึ้นระหว่างบุคคลหรือนิติบุคคล ตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอนสงวน หรือระงับxxxxxxxxx
xxxทําสัญญาตามxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไข เพิ่มเติม เป็นสัญญาตามแบบที่ กวพ. กําหนด ซึ่งจะกําหนดเงื่อนไขแตกต่างไปจาก กวพ. กําหนดxxxxxx เว้นแต่เงื่อนไขที่เป็นประโยชน์ต่อทางราชการแต่จะต้องผ่านการตรวจสอบจากสํานักงานxxxxxxสูงสุด ทุกครั้ง ซึ่งทุกส่วนราชการที่ดําเนินการจัดหาตามxxxxxxxฯ ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไข เพิ่มเติม จะต้องถือปฏิบัติรวมทั้งจะต้องปฏิบัติตามข้อกําหนดในเอกสารอันเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาทุก ประการแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ดังตารางที่ 3
ตารางที่ 3 การจําแนกการทําสัญญา/ข้อตกลง
สัญญา/ข้อตกลง | รายละเอียด |
สัญญาตาม กวพ. กําหนด | ทําสัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ. กําหนด ซึ่งมีเงื่อนไขที่สําคัญของสัญญา ได้แก่ 1. ข้อตกลงเรื่องรูปแบบ ปริมาณ จํานวน ราคา 2. การจ่ายเงิน (งวดเงิน) 3. การจ่ายเงินล่วงหน้า 4. หลักประกัน 5. การส่งมอบ การตรวจรับ 6. การขยายเวลา งดหรือลดค่าปรับ 7. การปรับ 8. การรับประกันความชํารุดบกพร่อง |
ข้อตกลงเป็นหนังสือ | ทําข้อตกลงเป็นหนังสือ ถือเป็นสัญญาอย่างหนึ่ง ซึ่งมีความสําคัญและ รายละเอียดน้อยกว่าตัวอย่างสัญญาของ กวพ. กําหนด โดยการทํา ข้อตกลงเป็นหนังสือไม่มีการวางหลักประกันเหมือนกับการทําสัญญา ซึ่ง การทําข้อตกลงเป็นหนังสือเป็นเรื่องที่อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้าส่วน ราชการที่จะอนุมัติ ให้ทําได้ภายใต้หลักเกณฑ์ที่xxxxxxxฯ กําหนด |
ตารางที่ 3 (ต่อ)
สัญญา/ข้อตกลง | รายละเอียด |
สัญญาโดยไม่มีหลักฐาน เป็นหนังสือ | ทําสัญญาโดยไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือ เป็นกรณีการxxxxซึ่งมีราคาไม่เกิน 10,000 บาท หรือการxxxx ซึ่งใช้วิธีการดําเนินการโดยวิธีตกลงราคา ตาม ข้อ 39 วรรคสอง ของxxxxxxxฯ |
2.3.3 สัญญาxxxxก่อสร้าง
เมื่อส่วนราชการดําเนินการxxxxxxxจนได้ผู้รับจ้างที่ชนะราคาเรียบร้อยแล้ว จะเข้าสู่การ ลงนามในสัญญาระหว่างผู้xxxxxxxและผู้รับจ้าง ซึ่งxxxxxxดําเนินการได้เป็น 3 ลักษณะ คือ
2.3.3.1 ทําตามตัวอย่างสัญญาที่คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) กําหนดท้าย
xxxxxxxฯ
2.3.3.2 ทําสัญญาที่มีข้อความหรือรายการที่แตกต่างจากตัวอย่างสัญญาที่ กวพ.
กําหนด โดยมีสาระสําคัญตามที่กําหนดไว้ในตัวอย่างสัญญา และไม่ทําให้ทางราชการเสียประโยชน์
2.3.3.3 ทําสัญญาโดยการยกร่างสัญญาขึ้นใหม่
กรณีในการทําสัญญาตาม ข้อ 2 ถ้าจําเป็นต้องมีข้อความหรือรายการแตกต่างไป จากตัวอย่างสัญญาที่ กวพ. กําหนด โดยมีสาระสําคัญตามที่กําหนดไว้ในตัวอย่างสัญญาและไม่ทําให้ ทางราชการxxxxxxxxxxxxให้กระทําได้ เว้นแต่ หัวหน้าส่วนราชการเห็นว่าจะมีปัญหาในทางxxxxxxxxxx หรือxxxxxxxxxพอ ก็ส่งร่างสัญญานั้นไปให้สํานักงานxxxxxxสูงสุดพิจารณาก่อน สําหรับกรณีxxxxxxทํา สัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ. กําหนดได้ และจําเป็นต้องร่างสัญญาขึ้นใหม่ตาม ข้อ 3 ให้ส่งสํานักงาน xxxxxxสูงสุดตรวจพิจารณาก่อน เว้นแต่หัวหน้าส่วนราชการเห็นxxxxxทําสัญญา ตามแบบxxxxxxผ่าน การตรวจพิจารณาของสํานักงานxxxxxxสูงสุดมาแล้ว ก็กระทําได้ โดยการลงนามในสัญญาผู้ที่มีอํานาจ ลงนามในสัญญาxxxx ตามxxxxxxxฯ กําหนด ให้เป็นอํานาจของหัวหน้าส่วนราชการหรือผู้xxxxxxรับมอบ อํานาจเป็นหนังสือจากหัวหน้าส่วนราชการ ตามประเภทของสัญญาxxxxก่อสร้าง ซึ่งทั่วไปสัญญาxxxx ก่อสร้าง มีอยู่ 2 ประเภท คือ สัญญาxxxxเหมารวม (LUMP SUM CONTRACT) และสัญญาราคาต่อ หน่วย (UNIT PRICE CONTRACT) โดยแต่ละประเภทมีรายละเอียด ดังนี้
1) สัญญาxxxxเหมารวม (LUMP SUM CONTRACT) xxxxxxxxxxxเหมารวมทั้ง โครงการโดยมีการกําหนดราคาที่แน่นอนตายตัว เมื่อได้ทํางานแล้วเสร็จxxxxxxxตามแบบรูปและ รายการก่อสร้างผู้รับจ้างก็จะได้รับค่าxxxxตามที่กําหนดไว้xxxxxxxxในส่วนของสัญญาxxxxเหมารวมใน งานก่อสร้างมักจะมีปัญหาในเรื่องของเสาเข็ม ซึ่งในเรื่องนี้คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุได้มี
หนังสือเวียนแนวทางปฏิบัติไว้ แจ้งตามหนังสือสํานักxxxxxxxxxxxxxxx นร (กวพ) 1204/ว 11542 ลง xxxxxx 2 ธันวาคม 2539 เรื่อง การกําหนดรายละเอียดงานดินถม งานดินตัก และฐานรากในการxxxx ก่อสร้าง กล่าวคือ แนวทางปฏิบัติในการกําหนดรายละเอียดของ งานดินถม งานดินตักและฐานรากใน การxxxxก่อสร้างใหม่ โดยให้ส่วนราชการสํารวจและกําหนดปริมาณงานดินถม งานดินตัก ในแบบรูป รายการละเอียดให้ใกล้เคียงกับข้อเท็จจริง และให้xxxxxxพิจารณาดําเนินการสํารวจสภาพดินใน สถานท่ี่ก่อสร้างเพื่อกําหนดรูปและรายการละเอียดในงานฐานรากให้แน่นอนชัดเจน โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับความสั้นยาวและขนาดของเสาเข็มxxxxxxทําให้xxxxxxxเปลี่ยนแปลงราคาค่างาน ก่อนเริ่มดําเนินการxxxxxxxตามxxxxxxxฯ และในกรณีที่ส่วนราชการ xxxxxxกําหนดรูปแบบและ รายการละเอียดของงานฐานรากให้เป็นที่แน่นอนได้ จําเป็นจะต้องให้มีทางเลือกในการเปลี่ยนแปลง รายการฐานรากตามสภาพของการก่อสร้างได้โดยxxxxให้กําหนดเงื่อนไขในลักษณะเป็นทางเลือกไว้ ตั้งแต่ต้น xxxx ต้องตอกเสาเข็ม หรือใช้ฐานแผ่หรือขนาดความสั้นยาวของเสาเข็ม และในชั้นการเสนอ ราคาของผู้รับจ้างก่อสร้างและการพิจารณาของทางราชการให้มีการกําหนดราคาค่าxxxxในส่วนต่างๆ ให้ชัดเจนไว้ตั้งแต่ต้น และระบุไว้เป็นส่วนหนึ่งของสัญญาxxxxด้วย และนอกเหนือจากกรณีข้างต้น หาก มีความจําเป็นจะต้องเปลี่ยนแปลงรายการฐานรากส่วนราชการจะต้องพิจารณาดําเนินการในเรื่องของ การแกไขเปลี่ยนแปลงสัญญา โดยถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของxxxxxxxฯ ข้อ 136 ซึ่งคู่สัญญาจะต้อง มีการตกลงกันในเรื่องของเนื้องานที่เปลี่ยนแปลงไปและราคาค่าxxxxรวมทั้งระยะเวลาที่เปลี่ยนแปลง พร้อมกันไปด้วย ดังนั้น กรณีที่มีการกําหนดเงื่อนไขรายละเอียดของงานฐานรากส่วนราชการจะต้อง พิจารณาดําเนินการให้เป็นไปตามแนวทางปฏิบัติของ กวพ. ดังกล่าวข้างต้น
2) สัญญาราคาต่อหน่วย (UNIT PRICE CONTRACT) xxxxxxxxxxxก่อสร้างที่มี การกําหนดราคาต่อหน่วยของงานแต่ละส่วนไว้ เงินค่าxxxxจะคิดจากจํานวนงานแต่ละส่วนที่ทําจริง คูณด้วยราคาต่อหน่วยของงานแต่ละส่วนนั้นๆ การทําสัญญาโดยวิธีนี้จะxxxxxxxxxxxในกรณีที่ยังxxx xxxทราบปริมาณเนื้องานที่แน่นอนในขณะที่ทําสัญญาxxx xxxx งานดินในการก่อสร้างทาง การขุดลอก xxxxเป็นต้น
นอกจากการทําสัญญาข้างต้นแล้ว ยังมีสัญญาอีกประเภทหนึ่ง คือ สัญญาที่ เรียกว่า สัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่าK ESCALATION FACTOR) สัญญาประเภทนี้ได้มีการนํามาใช้ใน สัญญาxxxxก่อสร้างของทางราชการ ซึ่งตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อxxxxxx 22 สิงหาคม 2532 กําหนดให้ นําสัญญาแบบปรับราคาได้มาใช้กับงานก่อสร้างของทางราชการ โดยวัตถุประสงค์ของการนําสัญญา แบบปรับราคาได้ (ค่าK) มาใช้ เพื่อเป็นหลักประกันในกรณีที่ราคาวัสดุก่อสร้างสําคัญๆ xxxxxxx เปลี่ยนแปลงราคาในลักษณะxxxxxขึ้นและลดลงในxxxxxสัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่าK) ใช้กับสัญญา xxxxก่อสร้างรวมxxx xxxปรับปรุง ซ่อมแซมสิ่งก่อสร้างxxxxxของเดิมทั้งหมด การนําสัญญาแบบปรับ ราคาได้ (ค่าK) ไปใช้ส่วนราชการ ต้องแจ้งและประกาศให้ผู้รับจ้างทราบในประกาศประกวดราคาว่า
จะใช้สัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่าK) และสัญญาต้องระบุว่าเป็นสัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่าK) พร้อม ทั้งกําหนดประเภทของงานก่อสร้างสูตรและวิธีการคํานวณที่ให้มีการปรับxxxxxหรือลดค่างานไว้ให้ ชัดเจน ในกรณีที่มีงานก่อสร้างหลายประเภทในงานxxxxในคราวเดียวกัน จะต้องแยกประเภทงาน ก่อสร้างแต่ละประเภทให้ชัดเจนตามลักษณะของงานก่อสร้างนั้นๆ ให้สอดคล้องกับสูตรที่กําหนดไว้ โดยเรื่องสัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่าK) ส่วนราชการxxxxxxศึกษารายละเอียดได้จากเอกสารของ สํานักงบประมาณ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับสัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่าK) โดยตรง
2.3.4 หลักประกันสัญญาหรือหลักประกันซอง
รายละเอียดของหลักประกันสัญญาหรือหลักประกันซอง xxxxxxหลักประกัน ข้อยกเว้น และการคืนหลักประกัน มีรายละเอียดดังตารางที่ 4
ตารางที่ 4 รายละเอียดของหลักประกันสัญญาหรือหลักประกันซอง
หัวข้อ | รายละเอียด |
หลักประกัน สัญญา | หลักประกันสัญญาหรือหลักประกันซองให้ใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ 1. เงินสด 2. เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย ซึ่งเป็นเช็คลงxxxxxxที่ใช้เช็คนั้นชําระต่อเจ้าหน้าที่ หรือก่อนวันนั้นเกิน 3 วันทําการ 3. หนังสือค้ําประกันของธนาคารภายในประเทศตามตัวอย่างที่ กวพ. กําหนด 4. หนังสือค้ําประกันของบริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์xxxxxxรับ อนุญาตให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ํา ประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ส่วนราชการต่างๆ ทราบแล้วโดย อนุโลม ให้ใช้ตามตัวอย่างหนังสือค้ําประกันของธนาคารที่ กวพ. กําหนด |
5. พันธบัตรรัฐบาลไทย ซึ่งได้จดทะเบียนในการใช้เป็นหลักประกันที่ธนาคาร แห่งประเทศไทย 6. หลักประกันอื่นๆ ตามที่ กวพ. กําหนดสําหรับการประกวดราคานานาชาติ ให้ใช้หนังสือค้ําประกันของธนาคารในต่างประเทศที่มีxxxxxxxxxและหัวหน้า ส่วนราชการเชื่อถือ เป็นหลักประกันซองได้อีกประเภทหนึ่ง | |
ตารางที่ 4 (ต่อ)
หัวข้อ | รายละเอียด |
xxxxxx หลักประกัน | xxxxxxหลักประกัน ให้กําหนดxxxxxxเป็นจํานวนเต็มในอัตราร้อยละ 5 ของวงเงินที่ จัดหาในครั้งนั้น เว้นแต่ การจัดหาที่สําคัญเป็นพิเศษ จะกําหนดอัตราสูงกว่า ร้อยละ 5 แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ก็ได้ |
ข้อยกเว้น | ในกรณีที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือนิติบุคคลที่ กวพ. กําหนด เป็นผู้เสนอราคา หรือเป็นxxxxxxxxxxxต้องวางหลักประกัน |
การคืน หลักประกัน | ให้ส่วนราชการคืนหลักประกันให้แก่ผู้เสนอราคา คู่สัญญาหรือผู้ค้ําประกันตาม หลักเกณฑ์ดังนี้ |
1. หลักประกันซองให้คืนแก่ผู้เสนอราคาหรือผู้ค้ําประกันภายใน 15 วัน นับแต่ xxxxxxหัวหน้าส่วนราชการxxxxxxได้พิจารณาในเบื้องต้นเรียบร้อยแล้ว เว้นแต่ผู้เสนอ ราคารายที่คัดเลือกตามลําดับไว้ไม่เกิน 3 ราย ให้คืนได้ต่อเมื่อได้ทําสัญญาหรือ ข้อตกลงหรือผู้เสนอราคาได้พ้นจากข้อผูกพันแล้วสําหรับการคืนหลักประกันซอง กรณีส่วนราชการจัดหาตามxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วย วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 ให้คืนแก่ผู้เสนอราคาหรือผู้ค้ําประกันภายใน 15 วันนับถัดจากxxxxxxได้พิจารณาในเบื้องต้นเรียบร้อยแล้ว เว้นแต่ผู้เสนอราคาราย ที่คัดเลือกไว้ซึ่งเสนอราคาต่ําสุดจะคืนให้ต่อเมื่อได้ทําสัญญาหรือข้อตกลง หรือ ผู้เสนอราคาได้พ้นจากข้อผูกพันแล้ว 2. หลักประกันสัญญาให้คืนให้คืนแก่คู่สัญญาหรือผู้ค้ําประกันโดยเร็วและอย่างช้า ต้องไม่เกิน 15 วันนับแต่xxxxxxคู่สัญญาพ้นจากข้อxxxxxxxxxxxxxxแล้ว การคืน หลักประกันที่เป็นหนังสือค้ําประกันของธนาคาร บริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุน หลักทรัพย์ ในกรณีที่ผู้เสนอราคาหรือxxxxxxxxxxxมารับภายในกําหนดเวลาข้างต้น ให้รีบส่งต้นฉบับหนังสือค้ําประกันให้แก่ผู้เสนอราคาหรือคู่สัญญา | |
โดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนโดยเร็ว พร้อมกับแจ้งให้ธนาคารบริษัทเงินทุนหรือ บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ผู้ค้ําประกันทราบด้วย |
2.3.5 หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการคืนหลักประกันสัญญา
คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) ได้กําหนดหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการคืน หลักประกันสัญญา เพื่อให้ส่วนราชการต่างๆ ถือปฏิบัติเพิ่มเติม แจ้งเวียนตามหนังสือสํานัก xxxxxxxxxxxxxxx นร (กวพ.) 1305/ว 8608 ลงxxxxxx 5 xxxxxx 2544 โดยดําเนินการดังนี้
2.3.5.1 เมื่อคู่สัญญาพ้นจากข้อxxxxxxxxxxxxxxแล้ว ให้ส่วนราชการคืนหลักประกัน สัญญานั้นให้แก่คู่สัญญาตามหลักเกณฑ์ของxxxxxxxฯ ข้อ 144 (2) กล่าวคือ ให้คืนหลักประกันสัญญา ให้แก่คู่สัญญาหรือผู้ค้ําประกันโดยเร็วและอย่างช้าต้องไม่เกิน 15 วัน นับแต่xxxxxxคู่สัญญาพ้นจากข้อ xxxxxxxxxxxxxxแล้วโดยไม่ต้องรอให้มีการร้องขอคืนจากคู่สัญญาก่อน และในกรณีที่หลักประกัน สัญญาเป็นหนังสือค้ําประกันของธนาคาร บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์และหากxxxxxxxxxxxมารับภายในกําหนดเวลาตามxxxxxxxฯ ข้อ 144 (2) ให้ส่วนราชการดําเนินการตามหลักเกณฑ์ของxxxxxxxฯ ข้อ 144 วรรคท้ายต่อไป พร้อมกับให้มี หนังสือรับรองต่อธนาคาร บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน หรือบริษัท เงินทุนหลักทรัพย์ ผู้ค้ําประกันกํากับไปด้วยว่าหลักประกันสัญญาดังกล่าวหมดระยะเวลาการค้ํา ประกันเมื่อวันเดือนปีใด ทั้งนี้ เพื่อมิให้คู่สัญญาต้องเสียค่าธรรมเนียมการต่ออายุหนังสือค้ําประกันนับ จากxxxxxxคู่สัญญาพ้นจากข้อxxxxxxxxxxxxxxจนถึงxxxxxxนําหนังสือประกันไปคืนให้ธนาคารบรรษัท เงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ โดยไม่จําเป็น
2.3.5.2 เมื่อคู่สัญญาพ้นจากข้อxxxxxxxxxxxxxxแล้ว และปรากฏว่าส่วนราชการ ค้นหาต้นฉบับหนังสือค้ําประกันของธนาคาร บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บริษัท เงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่คู่สัญญานํามาวางเป็นหลักประกันสัญญานั้นไม่พบไม่ว่าด้วยเหตุ ใด เป็นเหตุให้ส่วนราชการไม่xxxxxxคืนหนังสือค้ําประกันสัญญาดังกล่าวให้แก่คู่สัญญาตาม หลักเกณฑ์ของxxxxxxxฯ ข้อ 144 (2) ได้ กรณีนี้ให้ส่วนราชการรีบแจ้งให้คู่สัญญา และธนาคาร บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ผู้ค้ําประกัน ทราบว่าหนังสือค้ําประกันสัญญาดังกล่าวหมดระยะเวลาการค้ําประกันสัญญาแล้วเมื่อวันเดือนปีใด พร้อมทั้งส่งสําเนาหนังสือค้ําประกันสัญญาดังกล่าว (ถ้ามี) ไปด้วย
2.3.6 การจ่ายเงินล่วงหน้า
การจ่ายเงินล่วงหน้าให้แก่ผู้รับจ้างจะกระทํามิได้ เว้นแต่หัวหน้าส่วนราชการ เห็นว่ามี ความจําเป็นจะต้องจ่ายและมีการกําหนดเงื่อนไขไว้ก่อนการทําสัญญาหรือข้อตกลง ให้กระทําได้ เฉพาะกรณีและตามหลักเกณฑ์ ข้อ 68 ของxxxxxxxฯการจ่ายเงินค่าxxxxล่วงหน้า จ่ายxxxxxxเกินร้อยละ 15 ของราคาxxxx แต่ทั้งนี้ จะต้องกําหนดอัตราค่าxxxxxxxจะจ่ายล่วงหน้าไว้เป็นเงื่อนไขในเอกสารสอบ ราคาหรือประกวดราคาด้วย และการจ่ายเงินค่าxxxxล่วงหน้า ผู้รับจ้างจะต้องนําพันธบัตรรัฐบาลไทย
ซึ่งได้จดทะเบียนในการใช้เป็นหลักประกันที่ธนาคารแห่งประเทศไทย หรือหนังสือค้ําประกันของ ธนาคารในประเทศ มาค้ําประกันเงินที่รับล่วงหน้าไปนั้น
2.3.7 การกําหนดค่าปรับ
2.3.7.1 การกําหนดจํานวนค่าปรับไว้ในสัญญาหรือข้อตกลงเป็นหนังสือ ส่วนราชการ จะต้องกําหนดค่าปรับเป็นรายวันในอัตราตายตัวระหว่างร้อยละ 0.01-0.10 ของราคางานxxxxนั้น แต่ จะต้องไม่ต่ํากว่า 100 บาท เนื่องจากงานxxxxก่อสร้างxxxxxxเป็นงานซึ่งต้องการผลสําเร็จของงาน ทั้งหมดพร้อมกัน สําหรับงานก่อสร้างสาธารณูปโภคที่มีผลกระทบต่อการจราจร ให้กําหนดค่าปรับ เป็นรายวันในอัตราร้อยละ 0.25 ของราคาxxxxนั้น แต่อาจจะกําหนดขั้นสูงสุดของการปรับก็ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่ กวพ. กําหนดส่วนการจะกําหนดค่าปรับในอัตราหรือเป็นจํานวนเงินเท่าใด ให้อยู่ใน ดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการ โดยคํานึงถึงราคาและลักษณะของพัสดุซึ่งอาจมีผลกรทบต่อการที่ คู่สัญญาของทางราชการจะหลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติxxxxxxxx หรือกระทบต่อการจราจร หรือความ เสียหายแก่ทางราชการแล้วแต่กรณี
2.3.7.2 ในกรณีที่ผู้รับจ้างส่งมอบงานล่าช้าเกินกําหนดเวลาxxxxxxxxและส่วนราชการ ยังxxxxxxบอกเลิกสัญญา ส่วนราชการจะต้องปรับผู้รับจ้างไปจนกว่างานจะแล้วเสร็จxxxxxxxx กล่าวคือ เมื่อครบกําหนดส่งมอบงานก่อสร้างxxxxxxxx หากผู้รับจ้างยังทํางานไม่แล้วเสร็จxxx xxxxxให้ส่วนราชการรีบแจ้งการเรียกค่าปรับxxxxxxxx และเมื่อผู้รับจ้างได้ส่งมอบงานก่อสร้างxxx xxxxx ส่วนราชการจะต้องแจ้งxxxxxxxxxการเรียกค่าปรับในขณะที่รับมอบงานก่อสร้างนั้นด้วย หาก ส่วนราชการไม่แจ้งxxxxxxxxxการเรียกค่าปรับไว้ส่วนราชการxxxxxxเรียกค่าปรับได้ตามxxxxxx กฎหมายแพ่งและพาณิชย์การนับวันปรับ ส่วนราชการจะxxxxxxปรับ โดยนับถัดจากวันครบกําหนด xxxxxxxxจนถึงxxxxxxผู้รับจ้างส่งมอบงานถูกต้องครบถ้วนxxxxxxxx หักด้วยระยะเวลาที่ทาง ราชการใช้ไปในการตรวจการxxxx
2.3.7.3 ในกรณีที่ส่วนราชการมีการบอกเลิกสัญญา เนื่องจากผู้รับจ้างไม่xxxxxxทํางาน ให้แล้วเสร็จภายในกําหนดเวลาxxxxxxxx หรือมีค่าปรับเกินกว่าร้อยละ10 ของค่าxxxx โดยส่วน ราชการxxxxxx ผู้รับจ้างว่าจะxxxxxxปรับจนถึงxxxxxxส่วนราชการได้บอกเลิกสัญญา ดังนั้น การปรับจะ นับถัดจากวันครบกําหนดxxxxxxxx จนถึงวันบอกเลิกสัญญา
2.3.8 การรับประกันความชํารุดบกพร่อง
ในสัญญาxxxxก่อสร้างของทางราชการ จําเป็นจะต้องกําหนดเรื่องของการรับประกัน ความชํารุดบกพร่องไว้ในสัญญาxxxxก่อสร้าง ปัจจุบันถือปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี ซึ่งได้กําหนด แนวทางในการกําหนดระยะเวลาการรับประกันความชํารุดบกพร่องของงานxxxxก่อสร้างไว้ โดยให้ กําหนดระยะเวลาในการรับประกันความชํารุดบกพร่องของงานxxxxก่อสร้างไม่น้อยกว่า 2 ปี เว้นแต่ งานก่อสร้างที่โดยสภาพไม่xxxxxxรับประกันความชํารุดบกพร่องได้ถึง 2 ปี ได้แก่ งานถนนลูกรัง
ถนนดิน และงานขุด หรืองานขุดลอกคู xxxx สระหรือหนอง ซึ่งเป็นงานดินที่ไม่มีการดาดคอนกรีตใน กรณีหากเกิดความชํารุดบกพร่องขึ้นระหว่างอายุประกัน ต้องรีบแจ้งให้คู่สัญญาแก้ไขหากไม่แก้ไข ส่วนราชการอาจดําเนินการxxxxxxxxหรือแก้ไขเองแล้วหักหลักประกันชดใช้ค่าเสียหายหรือฟ้องร้อง (โดยอายุความฟ้องร้อง 1 ปี หากฟ้องเกิน 1 ปี ย่อมขาดอายุความฟ้องร้อง ตามxxxxxxกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ ม.193/9) แล้วแต่กรณี ในกรณีที่ขาดอายุความฟ้องร้อง ผู้ค้ําประกันยกเหตุดังกล่าวขึ้น ต่อสู้ได้
2.3.9 การตรวจสอบความชํารุดบกพร่องก่อนคืนหลักประกันสัญญา
คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) ได้กําหนดวิธีปฏิบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับการ ตรวจสอบความชํารุดบกร่องก่อนการคืนหลักประกันสัญญา แจ้งตามหนังสือสํานักxxxxxxxxxxxx xxx นร (กวพ) 1002/ ว42 ลงxxxxxx 15 กันยายน 2532 ดังนี้
2.3.9.1 ให้หัวหน้าหน่วยงานผู้ครอบครองพัสดุ หรือผู้xxxxxxรับมอบหมายมีหน้าที่ รับผิดชอบดูแล บําxxxxxxxxและตรวจสอบความชํารุดบกพร่องของพัสดุ เว้นแต่กรณีที่ไม่มีผู้ ครอบครองหรือมีหลายหน่วยงานครอบครอง ให้หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุที่รับผิดชอบดูแลบําxxxxxxxx และตรวจสอบความชํารุดบกพร่องของพัสดุนั้น
2.3.9.2 ในกรณีที่ปรากฏความชํารุดบกพร่องของสิ่งของหรืองานxxxxภายในระยะเวลา ของการประกันความชํารุดxxxxxxxxxxxxxxx ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบตามข้อ 1 รีบรายงานหัวหน้าส่วน ราชการเพื่อแจ้งให้ผู้รับจ้างดําเนินการแก้ไขซ่อมแซมทันที่พร้อมกับแจ้งให้ผู้ค้ําประกัน (ถ้ามี) ทราบ ด้วย
2.3.9.3 ก่อนสิ้นสุดระยะเวลาของการประกันความชํารุดบกพร่องภายใน 15 วัน สําหรับหลักประกันสัญญาที่มีระยะเวลาของการประกันไม่เกิน 6 เดือน หรือภายใน 30 วัน สําหรับ หลักประกันสัญญาที่มีระยะเวลาของการประกันตั้งแต่ 6 เดือนขึ้น ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบตรวจสอบ ความชํารุดบกพร่องของพัสดุและรายงานให้หัวหน้าส่วนราชการทราบอีกครั้ง หากปรากฏว่ามีความ ชํารุดบกพร่อง ให้หัวหน้าส่วนราชการรีบแจ้งให้ผู้รับจ้างมาดําเนินการแก้ไข หรือซ่อมแซมก่อนสิ้นสุด ระยะเวลาของการประกันความชํารุดบกพร่องตามหลักประกันสัญญาพร้อมกับแจ้งให้ผู้ค้ําประกัน (ถ้ามี) ทราบด้วย ทั้งนี้ ให้เจ้าหน้าที่พัสดุแจ้งกําหนดระยะเวลาการประกันความชํารุดบกพร่องตามหลักประกัน สัญญา ให้หัวหน้าหน่วยงานหรือหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุทราบพร้อมกับการส่งมอบพัสดุทุกครั้ง
2.3.10 การทําสัญญา ขั้นตอนการทําสัญญา
1. ส่วนราชการจะต้องจัดเตรียมสัญญา และมีหนังสือแจ้งให้ผู้รับจ้างเข้ามาทําสัญญา
2. ผู้รับจ้างเตรียมหลักประกัน เพื่อทําสัญญา โดยผู้รับจ้างยื่นหลักประกันสัญญาและ
ลงนามในสัญญา
ในการทําสัญญาxxxx ตามxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยxxxxแล้ว ส่วนราชการจะต้องทําสัญญาตามตัวอย่างที่ กวพ. กําหนด ซึ่งตามตัวอย่างสัญญาได้มีเงื่อนไขกําหนดให้ผู้รับจ้างต้องนําหลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใดตามxxxxxxx ฯ ข้อ 141 มามอบให้แก่ส่วนราชการ ผู้xxxxxxxในขณะทําสัญญา ในกรณีที่ผู้รับจ้างเลือกใช้หนังสือ ค้ําประกันของธนาคารภายในประเทศ มักจะมีปัญหาในทางปฏิบัติเกี่ยวกับการออกหนังสือค้ําประกัน ของธนาคาร xxxx หนังสือค้ําประกันมิได้ลงxxxxxx หรือลงxxxxxxย้อนหลัง เป็นต้น กวพ. จึงมีหนังสือซ้อม ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติในกรณีการออกหนังสือค้ําประกัน (หลักประกันสัญญา) ของ ธนาคารภายในประเทศว่า ในกรณีที่ผู้รับจ้างจะเลือกใช้หนังสือค้ําประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามตัวอย่างที่ กวพ. กําหนด มาเป็นหลักประกันสัญญา ผู้รับจ้างย่อมจะต้องให้ธนาคารผู้ออกหนังสือ ค้ําประกัน จัดทําหนังสือค้ําประกันในวันทําสัญญาหรือก่อนวันทําสัญญาxxxxxxx ดังนั้น โดยหลักการ ปฏิบัติที่ถูกต้อง ในการทําสัญญาส่วนราชการผู้xxxxxxx xxxควรจะต้องพิมพ์ร่างสัญญาให้xxxxxxx พร้อม กับกําหนดวันทําสัญญาxxxxxxx นัดหมายกับผู้รับจ้างล่วงหน้าว่าจะมีการทําสัญญาในวันใด และจะมี เลขที่สัญญาเป็นเลขที่เท่าใด เพื่อให้ผู้รับจ้างได้นําร่างสัญญาไปออกหนังสือค้ําประกันของธนาคาร และธนาคาร ผู้ออกหนังสือค้ําประกันย่อมจะxxxxxxกรอกข้อความในหนังสือค้ําประกันได้อย่าง xxxxxxxครบถ้วน
การนําหลักประกันซองมาใช้เป็นหลักประกันสัญญา คณะกรรมการว่าด้วยการ พัสดุ (กวพ.) ได้อนุมัติยกเว้นการปฏิบัติตามxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมกรณีที่ผู้เสนอราคาxxxxxxรับการคัดเลือกให้เข้าทําสัญญานําหลักประกันซอง ได้แก่ เงินสด หรือเช็คที่ธนาคารสั่งจ่ายซึ่งเป็นเช็คลงxxxxxxที่ใช้เช็คชําระต่อเจ้าหน้าที่หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน 3 วันทําการ ซึ่งส่วนราชการได้นําเข้าบัญชีเงินฝาก ประเภทเงินนอกงบประมาณของส่วนราชการไว้แล้ว วิธีการปฏิบัติ ส่วนราชการxxxxxxดําเนินการได้ดังนี้
1) ผู้เสนอราคาxxxxxxรับการคัดเลือกให้เข้าทําสัญญากับทางราชการแจ้งความ xxxxxxxจะนําหลักประกันซองดังกล่าว มาใช้เป็นหลักประกันสัญญา
2) ส่วนราชการคู่สัญญาดําเนินการทําหลักฐานการคืนหลักประกันซองพร้อม ทั้งจัดทําหลักฐานการวางหลักประกันสัญญาให้แก่คู่สัญญา ให้เสร็จสิ้นภายในวันเดียวกันกับวันทํา สัญญา
สัญญา
3) คู่สัญญานําหลักประกันซอง (xxxxx-ลด) มาวางให้เท่ากับวงเงินหลักประกัน
3.1) ในกรณีที่เงินสดหรือเช็คที่ธนาคารสั่งจ่ายที่นําเข้าบัญชีเงินฝากของ ส่วนราชการที่ใช้เป็นหลักประกันซองน้อยกว่าหลักประกันสัญญาให้นํา
หลักประกันซองตามxxxxxxxฯข้อ141 มาวางให้เท่ากับวงเงินหลักประกันสัญญา
3.2) ในกรณีที่เงินสดหรือเช็คที่ธนาคารสั่งจ่ายที่นําเข้าบัญชีเงินฝากของ ส่วนราชการที่ใช้เป็นหลักประกันซองมากกว่าหลักประกันสัญญา ให้จ่ายคืนผู้เสนอราคาxxxxxxรับการ คัดเลือกเท่ากับส่วนที่เกินจากหลักประกันสัญญา
3.3) หัวหน้าส่วนราชการลงนามในสัญญาxxxx และมอบสัญญาxxxxให้ผู้รับ
xxxx 1 ชุด
3.4) เจ้าหน้าที่พัสดุมีหนังสือแจ้งคณะกรรมการตรวจการxxxxรับทราบ
พร้อมทั้งส่งสําเนาสัญญาให้ด้วย
เมื่อส่วนราชการได้ดําเนินการทําสัญญาแล้ว หัวหน้าส่วนราชการต้องส่งสําเนา สัญญาหรือข้อตกลงเป็นหนังสือ ซึ่งมีxxxxxxตั้งแต่หนึ่งล้านบาทขึ้นไป ให้สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน หรือสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินxxxxxxxxxxxxxxกรณี และกรมสรรพกร ภายใน 30 วัน นับแต่xxxxxx ทําสัญญาหรือตกลง
2.3.11 หลักการบริหารสัญญา
หัวหน้าส่วนราชการมีดุลพินิจในการพิจารณาดําเนินการต่างๆ เพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์และเงื่อนไขต่างๆ ที่กําหนดไว้ในสัญญา โดยให้ดําเนินการภายใต้หลักเกณฑ์และวิธีการ ดังนี้
2.3.11.1 ภายหลังจากที่มีการลงนามในสัญญา และสัญญามีผลบังคับใช้แล้วในงาน xxxxก่อสร้างให้หัวหน้าส่วนราชการเป็นผู้มีอํานาจในการบริหารสัญญาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ ทางราชการ
2.3.11.2 การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาโดยหลักการแล้วจะแก้ไขมิได้ เว้นแต่กรณีมี ความจําเป็นxxxxxxทําให้ทางราชการต้องเสียประโยชน์หรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการ
2.3.11.3 ให้หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุรับผิดชอบการกํากับและติดตามการดําเนินงาน ให้เป็นไปตามที่ตกลงกันไว้ในสัญญา ในกรณีที่เป็นงานxxxxก่อสร้างของราชการในส่วนภูมิภาคให้ หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุxxxxxxงานกับคณะกรรมการตรวจการxxxxและผู้ควบคุมงานในพื้นที่ เพื่อให้ การดําเนินการเป็นไปxxxxxxxxด้วย
2.4 การแก้ไขสัญญา
ในอดีตจนถึงปัจจุบันการบริหารสัญญาก่อสร้างของหน่วยงานราชการมักเกิดปัญหาข้อ ขัดแย้งจนกลายเป็นกรณีพิพาทระหว่างผู้xxxxxxxและผู้รับจ้าง ด้วยเหตุจากสภาพหน้างานโครงการ ก่อสร้างและข้อขัดแย้งของแบบรูปรายการxxxxxxxx ที่ส่งผลกระทบต่อการบริหารสัญญาเป็นเหตุให้ต้อง แก้ไขสัญญาก่อสร้างเพื่อให้โครงการก่อสร้างxxxxxวัตถุประสงค์ของราชการ ตามกรอบงบประมาณของ
ประเทศ ซึ่งในการแก้ไขสัญญาทุกส่วนราชการจะต้องปฏิบัติตามxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยมีเหตุผลในการประกาศใช้เพื่อให้การดําเนินการจัดซื้อ xxxxxxxและการบริหารพัสดุภาครัฐมีกรอบการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่อให้หน่วยงาน ของรัฐทุกแห่งนําไปใช้เป็นหลักปฏิบัติ โดยให้คํานึงถึงวัตถุประสงค์การใช้งานเป็นสําคัญเพื่อให้เกิด ความคุ้มค่าในการใช้จ่ายเงิน โดยมุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชนให้มากที่สุด เพื่อให้เกิดความ โปร่งใสและเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม xxxxxxxxให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมเพื่อ ตรวจสอบและป้องกันการทุจริตและสร้างความxxxxxxxxxให้กับทุกภาคส่วนโดยมีคณะรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลัง เป็นผู้xxxxxxxxตามxxxxxxxxxx
xxxxเดียวกันกับมหาวิทยาลัยอื่น มหาวิทยาลัยมหาสารคามเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ที่มุ่งเน้นในการสั่งสมแสวงหาความเป็นเลิศทางวิชาการ จัดการศึกษาและวิชาชีพชั้นสูงโดยมุ่งเน้นการ ขยายโอกาสทางการศึกษาการผลิตxxxxxxxxxมีคุณภาพตามมาตรฐานและมีคุณลักษณะที่พึงxxxxxxx การสร้างผลิตผลจากงานวิจัยที่เป็นองค์ความรู้ใหม่และมีคุณภาพในทุกสาขาวิชาเพื่อสนับสนุน การเรียนการสอนและนําไปใช้ประโยชน์ตามความเหมาะสม รวมxxxxxxให้บริการวิชาการแก่สังคม เพื่อสร้างความร่วมมือกับประชาคมทุกระดับและชุมชน xxxxxxxx ฟื้นฟู xxxxxx เผยแพร่และพัฒนา ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีของอีสาน โดยในแต่ละปีงบประมาณ มหาวิทยาลัยได้รับ การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเพื่อใช้ในการบริหารจัดการให้xxxxxพันธกิจและเป้าหมายของ มหาวิทยาลัยให้มีความถูกต้องครบถ้วนและเป็นไปตามxxxxxxxของทางราชการ กองคลังและพัสดุ เป็นหน่วยงานxxxxxxxxมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ การบริหารการพัสดุ การบริหารงบประมาณ การ บริหารการเงิน และการบัญชีของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม รวมถึงให้คําปรึกษา แนะนําแนวทางการ ปฏิบัติงานแก่หน่วยงานในสังกัดหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ดําเนินการได้อย่างถูกต้องตามแนวทางที่ พ.ร.บ. กฎกระทรวง xxxxxxx และประกาศที่ออกตามความใน พ.ร.บ. กําหนดหรือข้อกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีการดําเนินการก่อสร้างในแต่ละปีหลายโครงการ แต่ละโครงการ นั้นประสบปัญหาการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างอันเนื่องจากความขัดแย้งของปัญหาหลายประการ อาทิ xxxx แบบรูปรายการ สถานที่ก่อสร้างหน้างานจริงxxxxxxสอดคล้องกับแบบรูปรายการจึงจําเป็นต้องมี การแก้ไขเพิ่มเติมในสัญญาxxxxตามxxxxxxxทางราชการ และจากการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างจึงทําให้ รายละเอียดสิ่งก่อสร้างเปลี่ยนแปลงไปและส่งผลต่อระยะเวลาการดําเนินการก่อสร้างที่ยาวนานขึ้น ประกอบกอบก่อให้เกิดงบประมาณxxxxxขึ้นจากการแก้ไขสัญญา รวมxxxxxxเกิดข้อพิพาทระหว่างผู้ xxxxxxxและผู้รับจ้าง xxxxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้องต้องถูกระวางโทษให้ออกจากราชการในการปฏิบัติหน้าที่ เกี่ยวกับการดําเนินการจัดซื้อจัดxxxxxxxไม่ถูกต้องตามกระบวนการ และมหาวิทยาลัยได้ใช้ประโยชน์ จากสิ่งก่อสร้างxxxxxxxลงเป็นต้น จากปัญหาที่กล่าวมานี้ หากมีการศึกษาปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาการ
แก้ไขสัญญาก่อสร้างภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จะทําให้ทราบถึงสาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาและ อุปสรรคในการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างที่แท้จริง และxxxxxxนํามาบริหารจัดการในการดําเนินการ การบริหารสัญญาเพื่อป้องกันมิให้เกิดปัญหาและอุปสรรคดังกล่าว ซึ่งจะส่งผลให้การบริหารสัญญา งานก่อสร้างของมหาวิทยาลัยมหาสารคามเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ งานก่อสร้าง แล้วเสร็จตามกําหนดเวลา และxxxxxวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย รวมถึงxxxxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้อง xxxxxxปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมายและxxxxxxxวิธีปฏิบัติของทางราชการได้อย่างถูกต้อง ดังนั้น โดยทั่วไปการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาระหว่างการก่อสร้างจะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบที่สําคัญ ได้แก่ เกณฑ์การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา การลด งดค่าปรับ หรือการขยายเวลาxxxxxxxxให้แก่ คู่สัญญา และการบอกเลิกสัญญา
2.4.1 หลักเกณฑ์การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา
2.4.1.1 สัญญาเป็นหนังสือxxxxxxลงนามแล้ว จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงมิได้ เว้นแต่การแก้ไข นั้นจะเป็นความจําเป็น โดยไม่ทําให้ทางราชการต้องเสียประโยชน์หรือเป็นการแก้ไขเพื่อประโยชน์แก่ ทางราชการ ให้อยู่ในอํานาจของหัวหน้าส่วนราชการที่จะพิจารณาอนุมัติให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ แต่ ถ้ามีการxxxxxวงเงินจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือขอทําความตกลงในส่วนที่ ใช้เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือ แล้วแต่กรณี
2.4.1.2 หากมีความจําเป็นต้องxxxxxหรือลดวงเงิน หรือxxxxxหรือลดระยะเวลาส่งมอบของ หรือระยะเวลาในการทํางาน ให้ตกลงพร้อมกันไป
2.4.1.3 การจัดหาที่เกี่ยวกับความมั่นคงแข็งแรงหรืองานเทคนิคเฉพาะอย่าง จะต้อง ได้รับการรับรองจากวิศวกร xxxxxxxและวิศวกรผู้ชํานาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งรับผิด ชอบหรือ xxxxxxรับรองคุณลักษณะเฉพาะ แบบและรายการของงานก่อสร้างหรืองานเทคนิคเฉพาะอย่างนั้น แล้วแต่กรณีด้วย
2.4.1.4 ในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา คณะกรรมการตรวจการxxxxจะต้องเป็นผู้เสนอ ความเห็นเกี่ยวกับการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา เพื่อประกอบการพิจารณาของหัวหน้าส่วนราชการ หรือผู้มีอํานาจในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาในแต่ละครั้งด้วย
2.4.1.5 ในการดําเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาในช่วงเวลาใดก็ได้ แม้จะล่วงเลย กําหนดระยะเวลาแล้วเสร็จxxxxxxxxก็ตาม แต่อย่างช้าจะต้องดําเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงก่อนที่ คณะกรรมการตรวจการxxxxxxxทําการตรวจงานxxxxไว้ใช้
แนวทางในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา
1) ผู้ที่ขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา จะต้องทําเป็นหนังสือถึงหัวหน้าส่วนราชการผ่าน คณะกรรมการตรวจการxxxx โดยระบุรายxxxxxxxxxxขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา พร้อมเหตุผลความ จําเป็นในการขอแก้ไขเปลี่ยนแปลง
2) คณะกรรมการตรวจการxxxxพิจารณา ดังนี้
2.1) ความเหมาะสมของการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา xxxx ด้านคุณภาพ ประโยชน์ใช้สอยความมั่นคงแข็งแรง วงเงินค่าก่อสร้าง และระยะเวลาการทํางาน เป็นต้น โดยให้xxxxxxx และวิศวกรหรือผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรับผิดชอบอาคารที่ก่อสร้างได้รับรองและให้ความเห็น พร้อมทั้ง เปรียบเทียบราคาและเวลาการทํางานด้วย
2.2) การพิจารณาแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาxxxxดังกล่าว ต้องพิจารณากําหนดให้ ชัดเจนว่าการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญานี้ ต้องxxxxxหรือลดระยะเวลาในการก่อสร้างหรือไม่ หากมีการ xxxxxกรณีหนึ่งกรณีใด หรือทั้งสองกรณี ต้องพิจารณาตกลงพร้อมกันไปในขณะนั้น โดยเฉพาะกรณีxxxxx ระยะเวลาในการก่อสร้างอันเนื่องมาจากการxxxxxงานในสัญญาให้เป็นส่วนหนึ่งของการแก้ ไข เปลี่ยนแปลงสัญญามิใช่การขยายเวลาสัญญา และ การพิจารณาแก้ไขเปลี่ยนแปลงต้องอยู่ภายใต้ใน ขอบวัตถุประสงค์ของงานxxxxก่อสร้างนั้นๆ
3) เมื่อหัวหน้าส่วนราชการพิจารณาแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาแล้วนั้น ต้องแจ้งผล การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาให้ผู้รับจ้างทราบในผลการxxxxxxxxxxได้สั่งอนุมัติหรือสั่งไม่อนุมัติให้แก้ไข เปลี่ยนแปลงสัญญา ส่วนราชการต้องแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้รับจ้างทราบทุกครั้ง โดยส่งทางไปรษณีย์ ลงทะเบียนตอบรับและเก็บใบตอบรับไว้เป็นหลักฐานสําคัญ เนื่องจากปรากฏอยู่เสมอว่าผู้รับจ้างขอ ต่ออายุสัญญาโดยอ้างว่าต้องหยุดงานรอผลการอนุมัติแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา
4) การดําเนินการภายหลังการอนุมัติให้มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา ให้ส่วน ราชการแจ้งผู้รับจ้างลงนามในสัญญาที่แก้ไขและหัวหน้าส่วนราชการลงนามในสัญญาที่แก้ไข
5) หลังจากนั้นให้ส่วนราชการทําหนังสือแจ้งคณะกรรมการตรวจการxxxxพร้อม สัญญาฉบับที่แก้ไขเพื่อให้คณะกรรมการตรวจการxxxxรับทราบสัญญาฉบับแก้ไข และให้ส่วนราชการ ส่งหนังสือแจ้งให้ ผู้รับจ้างทราบสัญญาฉบับที่แก้ไข
2.4.2 การลด งดค่าปรับ หรือการขยายเวลาxxxxxxxxให้แก่คู่สัญญา
2.4.2.1 เมื่อครบกําหนดส่งมอบงานก่อสร้างxxxxxxxx หากผู้รับจ้างยังทํางานไม่แล้ว เสร็จxxxxxxxxให้ส่วนราชการรีบแจ้งการเรียกค่าปรับxxxxxxxx
2.4.2.2 เมื่อผู้รับจ้างได้ส่งมอบงานก่อสร้างxxxxxxxx ส่วนราชการจะต้องแจ้งxxxx xxxxxการเรียกค่าปรับในขณะที่รับมอบงานก่อสร้างนั้นด้วย
2.4.2.3 การงดหรือลดค่าปรับให้แก่คู่สัญญา หรือการขยายเวลาทําการxxxxxxxxหรือ ข้อตกลงอยู่ในอํานาจของหัวหน้าส่วนราชการที่จะxxxxxxxxxxตามจํานวนxxxxxxมีเหตุเกิดขึ้นจริง เฉพาะ กรณีดังต่อไปนี้
1) เหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของส่วนราชการ
2) เหตุสุดวิสัย
3) เหตุเกิดจากพฤติการณ์อันหนึ่งอันใดที่xxxxxxxxxxxต้องรับผิดตามกฎหมาย ส่วนราชการจะต้องระบุไว้ในสัญญา ให้คู่สัญญาต้องแจ้งเหตุตามข้อ 2) และ 3)
ดังกล่าวให้ส่วนราชการทราบภายใน 15 วัน นับแต่เหตุนั้นได้สิ้นสุดลง หากมิได้แจ้งภายในเวลาที่กําหนด คู่สัญญาจะยกมากล่าวอ้าง เพื่อขอลดหรืองดค่าปรับ หรือขอขยายเวลาในภายหลังมิได้ เว้นแต่กรณีตาม
1) ซึ่งมีหลักฐานชัดแจ้ง หรือส่วนราชการทราบดีอยู่แล้วตั้งแต่ต้น ตารางที่ 5 สรุปแนวปฏิบัติสําหรับการส่งมอบงาน
กรณี | ผลงาน | แนวปฏิบัติ |
ครบกําหนดส่งมอบ งานก่อสร้างxxxxxxxx | ไม่แล้วเสร็จxxxxxxxx | ส่วนราชการรีบแจ้ง การเรียกค่าปรับxxxxxxxx |
ส่งมอบงานก่อสร้างxxxxxxxx | เสร็จxxxxxxxx | ส่วนราชการจะต้องแจ้ง xxxxxxxxxการเรียกค่าปรับ ในขณะที่รับมอบงานก่อสร้างนั้นด้วย |
กรณีการพิจารณางดหรือลดค่าปรับหรือการขยายเวลาทําการxxxxxxxx โดย พิจารณาตามความหมายดังตารางที่ 6
ตารางที่ 6 กรณีการพิจารณางดหรือลดค่าปรับหรือการขยายเวลาทําการxxxxxxxxตามความหมาย
กรณี ความหมาย
กรณีความผิดหรือความบกพร่อง ของส่วนราชการ กรณีเหตุเกิดจากพฤติการณ์ อันหนึ่งอันใดที่xxxxxxxxxxxต้องรับ ผิดตามกฎหมาย
หมายความรวมถึงเหตุที่เกิดจากส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้องด้วย
กรณีเหตุเกิดจากพฤติการณ์อันหนึ่งอันใดที่xxxxxxxxxxxต้องรับผิด ตามกฎหมายซึ่งเป็นไปตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา205 ซึ่งxxxxxxxว่า“ตราบใดการชําระหนี้นั้นยังมิได้กระทําลง เพราะพฤติการณ์อันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดชอบ ตราบนั้น ลูกหนี้ยังหาได้ชื่อว่าxxxxxxxxx” ทั้งนี้ เหตุอุปสรรคดังกล่าวจะต้องมี ส่วนxxxxxxxx และมีผลกระทบโดยตรงกับงานxxxxxxxxและเป็น เหตุให้ผู้รับจ้างไม่xxxxxxส่งมอบงานได้ตามระยะเวลาที่กําหนดใน สัญญา
คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุได้เคยวินิจฉัย ในหลักการพิจารณาxxxxxxxตาม xxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 139 อาจแบ่งได้เป็น 2 กรณี คือการพิจารณางดหรือลดค่าปรับ ซึ่งเป็นการพิจารณาอนุมัติให้ในเวลาที่ล่วงเลยกําหนดเวลา ของสัญญาหรือข้อตกลง และเป็นกรณีที่มีค่าปรับเกิดขึ้นแล้ว ส่วนอีกกรณีหนึ่งคือ การพิจารณาขยาย เวลาทําการxxxxxxxxหรือข้อตกลง ซึ่งจะเป็นการพิจารณาอนุมัติให้ก่อนที่จะครบกําหนดสัญญาและ ค่าปรับยังไม่เกิดขึ้นในกรณีที่หัวหน้าส่วนราชการได้พิจารณาขยายเวลาทําการxxxxxxxx การงด ค่าปรับ หรือลดค่าปรับ นั้น เป็นกรณีที่จะไม่ปรับผู้รับจ้าง ดังนั้น การขยายเวลา การงดค่าปรับ การ ลดค่าปรับ จึงเป็นกรณีทํานองเดียวกับการที่ผู้xxxxxxxผ่อนเวลาการชําระหนี้ให้แก่ผู้รับจ้าง ซึ่งเป็นนิติ กรรมฝ่ายเดียว เมื่อผู้xxxxxxxเห็นxxxxxว่าระยะเวลาที่เสียไปมิใช่ความผิดของผู้รับจ้าง และเห็นxxxxx ขยายระยะเวลา งด หรือลดค่าปรับให้แล้ว จึงไม่จําเป็นต้องทําสัญญาแก้ไขเพิ่มเติมอีก โดยใช้เพียง คําสั่งอนุมัติของผู้มีอํานาจ ประกอบสัญญาไว้เป็นหลักฐานในการเบิกจ่ายเงินหรือคืนเงินค่าปรับให้แก่ คู่สัญญา
2.4.3 การบอกเลิกสัญญา
2.4.3.1 หัวหน้าส่วนราชการxxxxxxพิจารณาใช้xxxxxบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่มีเหตุอัน เชื่อได้ว่า ผู้รับจ้างไม่xxxxxxทํางานให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนด
2.4.3.2 ในกรณีที่xxxxxxxxxxxxxxxxxปฏิบัติxxxxxxxxและจะต้องมีการปรับxxxxxxxx นั้นหากจํานวนเงินค่าปรับจะเกินร้อยละ10 ของวงเงินค่าxxxx ให้ส่วนราชการพิจารณาดําเนินการบอกเลิก สัญญาเว้นแต่สัญญาจะได้ยินยอมเสียค่าปรับให้แก่ทางราชการ โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น ให้หัวหน้าส่วน ราชการพิจารณาผ่อนปรนการบอกเลิกสัญญาได้เท่าที่จําเป็น
1) กรณีที่ผู้รับจ้างยินยอมเสียค่าปรับ โดยxxxxxxหนังสือความxxxxxxxxxxxส่วน ราชการเพื่อให้ส่วนราชการทราบ
2) เมื่อส่วนราชการรับทราบความยินยอมแล้ว ส่วนราชการจะใช้ดุลพินิจว่าจะบอก เลิกสัญญาหรือไม่
2.1) ในกรณีไม่บอกเลิกสัญญาให้ส่วนราชการแจ้งผู้รับจ้างและคณะกรรมการ ตรวจการxxxxให้รับทราบ และดําเนินการxxxxxxxxต่อไป
2.2) ในกรณีบอกเลิกสัญญาให้ส่วนราชการแจ้งหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุให้ ดําเนินการบอกเลิกสัญญา เพื่อฝ่ายพัสดุจะได้ดําเนินการแจ้งผู้รับจ้างให้ทราบการบอกเลิกสัญญาใน การแจ้งบอกเลิกสัญญาต้องทําเป็นลายลักษณ์พร้อมกับแจ้งการปรับ ริบหลักประกัน (ถ้ามี) และแจ้ง xxxxxxxxพิจารณาให้เป็นผู้ทิ้งงาน
2.4.4 การตกลงเลิกสัญญา
การตกลงเลิกสัญญากับxxxxxxxxxxxนั้น หัวหน้าส่วนราชการจะใช้ดุลพินิจxxxxxxxxxx เฉพาะกรณีที่เป็นประโยชน์แก่ทางราชการโดยตรง หรือเพื่อแก้ไขข้อxxxxxxxxxxของทางราชการในการ ที่จะปฏิบัติxxxxxxxxนั้นต่อไป กรณีดังกล่าวส่วนราชการxxxxxxตกลงเลิกสัญญากับคู่สัญญาได้ การตกลงเลิกสัญญา ในกรณีที่เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการนั้น ให้หมายความรวมถึงเพื่อความเป็น ธรรมด้วย ซึ่งส่วนราชการใช้ดุลพินิจตกลงเลิกสัญญากับผู้รับจ้างได้ ทั้งนี้ ผลของการตกลงเลิกสัญญา คู่สัญญาแต่ละฝ่ายจําต้องให้อีกฝ่ายหนึ่ง ได้กลับคืนสู้ฐานะดังที่เป็นอยู่เดิม ตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ มาตรา 391 หากมีงานที่ผู้ว่าจ้างได้รับไว้ และใช้ประโยชน์ในราชการได้ตามสัญญาหรือ ข้อตกลงแล้ว ผู้ว่าจ้างจะต้องชดใช้เงินคืนตามควรค่าแห่งงานนั้น โดยจะต้องมีการหักค่าปรับและ ค่าเสียหายอื่นๆ (ถ้ามี) ออกก่อนด้วย เว้นแต่ งานที่รับไว้ไม่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ในราชการตาม สัญญาหรือข้อตกลงได้จึงต้องถือว่า ไม่ควรค่าแห่งการชดใช้เงินคืน
2.5 การควบคุมงานและการตรวจการจ้าง
2.5.1 การควบคุมงานก่อสร้าง
ในการจ้างก่อสร้าง ตามระเบียบของทางราชการได้มีข้อกําหนดให้ส่วนราชการแต่งตั้ง ผู้ควบคุมงานเพื่อทําหน้าที่ควบคุม ตรวจสอบปฏิบัติงานของผู้รับจ้างให้ทํางาน และใช้วัสดุตรงตาม แบบรูปรายการที่กําหนด อาจแต่งตั้งคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ ผู้ควบคุมงานมีคุณสมบัติ อํานาจ หน้าที่ และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ดังนี้
การแต่งตั้งผู้ควบคุมงาน
ในการจ้างก่อสร้างแต่ละครั้ง หัวหน้าส่วนราชการจะต้องแต่งตั้งผู้ควบคุมงาน โดยผู้ ควบคุมงานจะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
1) มีความรู้ความชํานาญทางด้านช่าง ตามลักษณะของงานก่อสร้าง
2) เป็นข้าราชการ ลูกจ้างประจํา พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือ พนักงานของรัฐในสังกัด ซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถในการควบคุมงานได้
3) ในกรณีเป็นข้าราชการ ลูกจ้างประจํา พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ ในสังกัดส่วนราชการอื่นต้องได้รับความยินยอมจากหัวหน้าส่วนราชการของผู้นั้นแล้ว
4) มีคุณวุฒิตามที่ผู้ออกแบบเสนอแนะโดยปกติไม่ต่ํากว่าระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพ (ปวช.)
5) ถ้าลักษณะของงานก่อสร้างมีความจําเป็นต้องใช้ความรู้ความชํานาญหลายด้าน จะแต่งตั้งผู้ควบคุมงานเฉพาะด้านหรือเป็นกลุ่มบุคคลก็ได้ โดยได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วน ราชการ
6) ในกรณีจําเป็นจะต้องจ้างที่ปรึกษาเป็นผู้ควบคุมงานแทนได้
อํานาจหน้าที่ของผู้ควบคุมงาน
1) ตรวจและควบคุมงาน ณ สถานที่ที่กําหนดไว้ในสัญญา หรือที่ตกลงให้ทํางานจ้าง นั้นๆ ทุกวัน ให้เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกําหนดในสัญญาทุกประการ โดยสั่ง เปลี่ยนแปลงแก้ไขเพิ่มเติมตัดทอนงานจ้างได้ตามที่สมควร และตามหลักวิชาช่าง เพื่อให้เป็นไปตาม แบบรูปรายการละเอียดและข้อกําหนดในสัญญา ถ้าผู้รับจ้างขัดขืนไม่ปฏิบัติตามก็สั่งให้หยุดงานนั้น เฉพาะส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดแล้วแต่กรณีไว้ก่อนจนกว่าผู้รับจ้างจะยอมปฏิบัติให้ถูกต้องตาม คําสั่ง และให้รายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างทันที
2) ในกรณีที่ปรากฏว่าแบบรูปรายการละเอียด หรือข้อกําหนดในสัญญามีข้อความ ขัดกัน หรือเป็นที่คาดหมายได้ว่าถึงแม้ว่างานนั้นจะเป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และ ข้อกําหนดในสัญญา แต่เมื่อสําเร็จแล้วจะไม่มั่นคงแข็งแรง หรือไม่เป็นไปตามหลักวิชาช่างที่ดีหรือไม่ ปลอดภัย ให้สั่งพักงานนั้นไว้ก่อนแล้วรายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างโดยเร็ว
3) จดบันทึกการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างและเหตุการณ์แวดล้อมเป็นรายวันพร้อมทั้ง ผลการปฏิบัติงานอย่างน้อย 2 ฉบับ เพื่อรายงานให้คณะกรรมการตรวจการจ้างทราบทุกสัปดาห์ และ เก็บรักษาไว้เพื่อมอบให้แก่เจ้าหน้าที่พัสดุเมื่อเสร็จงานแต่ละงวด โดยถือว่าเป็นเอกสารสําคัญของทาง ราชการเพื่อประกอบการตรวจสอบของผู้มีหน้าที่การบันทึกการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างให้ระบุ รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานและวัสดุที่ใช้ด้วย
4) ในวันกําหนดลงมือทํางานของผู้รับจ้างตามสัญญา และในวันถึงกําหนดส่งมอบ งานแต่ละงวดให้รายงานผลการปฏิบัติของผู้รับจ้างว่าเป็นไปตามสัญญาหรือไม่ ให้คณะกรรมการตรวจ การจ้าง ทราบภายใน 3 วัน ทําการนับแต่วันถึงกําหนดนั้นๆ
ระยะเวลาในการดําเนินงานของผู้ควบคุมงาน
ผู้ควบคุมงานจะต้องเร่งรัดการตรวจสอบและจัดทําบันทึกการปฏิบัติงานของผู้ รับจ้างให้แล้วเสร็จโดยเร็วที่สุด ไม่ว่าจะเป็นแบบสัญญาราคาเหมารวมหรือแบบสัญญาราคาต่อหน่วย ก็ตาม ซึ่งได้มีการกําหนดระยะเวลาในการดําเนินการของผู้ควบคุมงานดังกล่าวไว้ ดังนี้
1) กรณีเป็นสัญญาแบบราคาเหมารวมไม่ว่าจะมีมูลค่าของงานเท่าใดใช้
ระยะเวลา 3 วันทําการ
2) กรณีเป็นสัญญาแบบราคาต่อหน่วย จะกําหนดระยะเวลาตามมูลค่างานและ
แยกเป็นการตรวจสอบงานแต่ละงวดกับการตรวจสอบครั้งสุดท้าย กล่าวคือ มูลค่างานการตรวจสอบงาน
ใช้ระยะเวลามูลค่างานไม่เกิน 30 ล้านบาท รายงวดครั้งสุดท้าย 4 วันทําการ 8 วันทําการ มูลค่างาน
ไม่เกิน 60 ล้านบาท รายงวดครั้งสุดท้าย 8 วันทําการ 12 วันทําการ มูลค่างานไม่เกิน 100 ล้านบาท รายงวด ครั้งสุดท้าย 12 วันทําการ 16 วันทําการ มูลค่างานไม่เกิน 100 ล้านบาทขึ้นไป รายงวด ครั้ง สุดท้าย 16 วันทําการ 20 วันทําการ ทั้งนี้ ผู้ควบคุมงานอาจจะจัดทําตารางบันทึกการตรวจสอบงาน เพื่อความชัดเจนด้วยก็ได้
2.5.2 การตรวจการจ้าง
การตรวจการจ้าง คือ การตรวจสอบงานก่อสร้างที่ผู้รับจ้างได้ทําการก่อสร้างตาม รูปแบบรายการที่กําหนดตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการจะดําเนินการในรูปของคณะกรรมการ คือ คณะกรรมการตรวจการจ้าง
การแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจการจ้าง
1) องค์ประกอบของคณะกรรมการอย่างน้อย 3 คน ประกอบด้วย ประธาน กรรมการ 1 คน และกรรมการอย่างน้อย 2 คน ซึ่งการแต่งตั้งต้องคํานึงถึงลักษณะงานหน้าที่และ ความรับผิดชอบเป็นสําคัญ
2) กรณีจําเป็นจะแต่งตั้งคนที่มิใช่ข้าราชการร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้
3) ถ้าประธานกรรมการไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้หัวหน้าส่วนราชการแต่งตั้ง ประธานกรรมการแทน
4) ควรแต่งตั้งผู้ชํานาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับงานจ้างร่วมเป็นกรรมการด้วย
5) มติของคณะกรรมการตรวจการจ้างให้ใช้มติเอกฉันท์ กรณีกรรมการคนใดไม่ เห็นด้วยกับมติคณะกรรมการให้ทําบันทึกความเห็นแย้งไว้ หากหัวหน้าส่วนราชการสั่งการอย่างไรก็ให้ ตรวจรับตามนั้น
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง
1) ตรวจรายงานการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง และเหตุการณ์แวดล้อมที่ผู้ควบคุม งานรายงานโดยตรวจสอบกับแบบรูปรายการละเอียด และข้อกําหนดในสัญญาทุกสัปดาห์ รวมทั้ง รับทราบหรือพิจารณาการสั่งหยุดงาน หรือพักงานของผู้ควบคุมงานแล้วรายงานหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อพิจารณาสั่งการต่อไป
2) การดําเนินตามข้อ1) ในกรณีมีข้อสงสัยหรือมีกรณีที่เห็นว่า ตามหลักวิชาการ ช่างไม่น่าจะเป็นไปได้ ให้ออกตรวจงานจ้าง ณ สถานที่ที่กําหนดไว้ในสัญญาหรือที่ตกลงให้ทํางานจ้าง นั้นๆ โดยให้มีอํานาจสั่งเปลี่ยนแปลงแกไขเพิ่มเติม หรือตัดทอนงานจ้างได้ตามที่เห็นสมควร และตาม หลักวิชาการช่างเพื่อให้เป็นไนตามแบบรูปรายการละเอียดและข้อกําหนดในสัญญา
3) โดยปกติให้ตรวจผลงานที่ผู้รับจ้างส่งมอบภายใน 3 วันทําการ นับแต่วันที่ ประธานกรรมการได้รับทราบการส่งมอบงาน และให้ทําการตรวจรับให้เสร็จสิ้นไปโดยเร็วที่สุด
4) เมื่อตรวจเห็นว่าเป็นการถูกต้องครบถ้วนเป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียด และข้อกําหนดในสัญญาแล้ว ให้ถือว่าผู้รับจ้างส่งมอบงานครบถ้วนตั้งแต่วันที่ผู้รับจ้างส่งงานจ้างนั้น และให้ทําใบรับรองผลการปฏิบัติงานทั้งหมดหรือเฉพาะงวด แล้วแต่กรณี โดยลงชื่อไว้เป็นหลักฐาน อย่างน้อย 2 ฉบับ มอบให้แก่ผู้รับจ้าง 1 ฉบับ และเจ้าหน้าที่พัสดุ 1 ฉบับ
เพื่อทําการเบิกจ่ายเงินตามระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินจากคลัง และ รายงานให้หัวหน้าส่วนราชการทราบในกรณีที่เห็นว่าผลงานที่ส่งมอบทั้งหมดหรืองวดใดก็ตามไม่ เป็นไปตามแบบรูปรายการละเอียดและข้อกําหนดในสัญญา ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการผ่าน หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุเพื่อทราบ หรือสั่งการแล้วแต่กรณี
5) ในกรณีที่กรรมการตรวจการจ้างบางท่านไม่ยอมรับงาน ให้กรรมการท่านนั้น ทําความเห็นแย้งไว้ในรายงาน แล้วเสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อพิจารณาสั่งการ ถ้าหัวหน้าส่วน ราชการสั่งการให้ตรวจรับงานจ้างนั้นไว้ จึงจะดําเนินการตามข้อ (4)
6) ในกรณีที่มีความจําเป็นต้องแกไขเปลี่ยนแปลงสัญญาหรือข้อตกลง หรือ พิจารณาขยายระยะเวลาทําการตามสัญญา การงดหรือลดค่าปรับ คณะกรรมการตรวจการจ้างจะต้อง เป็นผู้เสนอความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของหัวหน้าส่วนราชการหรือผู้มีอํานาจในการแกไข เปลี่ยนแปลงสัญญาการขยายระยะเวลาทําการตามสัญญา การงดหรืองดค่าปรับในแต่ละครั้งด้วย
ระยะเวลาการตรวจการจ้าง
คณะกรรมการตรวจการจ้างจะต้องตรวจงานในสถานที่ก่อสร้างเป็นระยะๆ ใน เวลาที่สมควรโดยดูรายงานของผู้ควบคุมงานประกอบ โดยเฉพาะในกรณีที่เห็นว่างานนั้นอาจมีปัญหา ได้ จะต้องออกตรวจงานจ้าง ณ สถานที่ที่กําหนดไว้ในสัญญา สําหรับระยะเวลาในการดําเนินงานของ คณะกรรมการตรวจการจ้างได้มีหลักเกณฑ์กําหนดระยะเวลาในการดําเนินการของคณะกรรมการ ตรวจการจ้างไม่ว่าจะเป็นงานแบบราคาต่อหน่วยหรืองานแบบราคาเหมารวม หรืองานมีมูลค่าเท่าใด จะกําหนดระยะเวลาเดียวกันหมด คือ ตรวจรายงวด ระยะเวลา 3 วันทําการ และตรวจครั้งสุดท้าย ระยะเวลา 5 วันทําการ
ซึ่งหากดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในกําหนดเวลาไม่ได้ให้รายานหัวหน้าส่วนราชการ พร้อมด้วยเหตุผลความจําเป็น พร้อมกับสําเนาแจ้งให้ผู้รับจ้างทราบสําหรับงานที่คณะกรรมการตรวจการ จ้างต้องคํานึงถึง ดังนี้
สัญญา
1) ตรวจสอบงานที่ผู้รับจ้างส่งมอบว่าปริมาณงานตรงตามงวดงานที่กําหนดใน
2) ตรวจดูคุณภาพของงานที่ส่งมอบว่ามีความถูกต้องตามหลักวิชาและตามที่
กําหนดในแบบรูปรายการรายละเอียด
3) หากมีการแก้ไขงาน ให้จัดทําบัญชีรายงานแก้ไขงานแล้วสั่งการให้ ผู้รับเหมาแก้ไขข้อบกพร่องให้เรียบร้อยโดยเร็ว
4) กรณีเป็นงวดสุดท้าย ให้ตรวจสอบด้วยว่างานที่เสร็จเรียบร้อยแล้วอยู่ ภายในกําหนดเวลาหรือไม่ หากเกินกําหนดเวลาจะนําจํานวนวันที่เกินกําหนดไปคํานวณค่าปรับ รวมทั้งเพื่อตรวจสอบว่ามีการเปลี่ยนแปลงเนื้องานแตกต่างไปจากสัญญาหรือไม่
5) ตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้อง นอกจากรายงานของผู้ควบคุมงานแล้ว ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความชัดเจนว่างานที่ผู้รับจ้างส่งมอบเป็นไปตามที่กําหนดไว้ในสัญญา
การตรวจผลงานที่ผู้รับจ้างส่งมอบงาน
1) โดยปกติประธานกรรมการตรวจการจ้างจะแจ้งนัดกรรมการตรวจการจ้างไป ตรวจผลงานภายใน 3 วันทําการ นับแต่วันที่ประธานกรรมการตรวจการจ้างได้รับทราบการส่งมอบ งาน และต้องตรวจผลงานให้เสร็จสิ้นโดยเร็วที่สุดถ้าประธานกรรมการตรวจการจ้างไม่สามารถปฏิบัติ หน้าที่ได้ ให้หัวหน้าส่วนราชการแต่งตั้งผู้อื่นทําหน้าที่ประธานกรรมการแทน
2) การรับมอบและส่งมอบงานจ้างก่อสร้าง การส่งมอบงานเป็นหน้าที่ของผู้ รับจ้างที่จะต้องส่งมอบงานที่ทํา โดยเมื่อผู้รับจ้างทํางานนั้นเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ทําหนังสือขอส่งมอบ งานให้แก่คณะกรรมการตรวจการจ้างการรับมอบงาน มีคณะกรรมการตรวจการจ้างเป็นผู้ทําหน้าที่ พิจารณา โดยต้องตรวจผลงานที่ผู้รับจ้างส่งมอบให้เสร็จภายในเวลาที่ผู้แต่งตั้งกําหนด
3) การส่งมอบงานก่อสร้าง มีกรณีต่อไปนี้
3.1) การส่งมอบงานภายในกําหนดระยะเวลา
3.1.1) เมื่อผู้รับจ้างส่งมอบงานภายในกําหนดเวลา คณะกรรมการตรวจ การจ้างได้ตรวจผลงานจ้างก่อสร้าง หากผลงานที่ส่งมอบแล้วปรากฏว่า ถูกต้องครบถ้วน ถือว่าผู้ รับจ้างส่งมอบงานถูกต้องครบถ้วนตั้งแต่วันที่ส่งมอบ
3.1.2) หากปรากฏว่าไม่ถูกต้องครบถ้วนให้สั่งการให้ผู้รับจ้างดําเนินการ แก้ไขให้ถูกต้อง เมื่อได้แก้ไขแล้วและได้ส่งมอบครั้งใหม่ภายในระยะเวลาตามสัญญา ซึ่งเมื่อ คณะกรรมการตรวจการจ้างได้ตรวจผลงานที่ส่งมอบครั้งใหม่ เห็นว่าได้แก้ไขถูกต้องเรียบร้อยแล้ว ถือ ว่าส่งมอบงานถูกต้องตั้งแต่วันที่ได้ส่งมอบครั้งใหม่
3.1.3) ในกรณีที่ผู้รับจ้างดําเนินการแก้ไขและไม่สามารถส่งมอบครั้งใหม่ ได้ทันภายในกําหนดเวลาตามสัญญา เมื่อครบกําหนดระยะเวลาตามสัญญา ให้ส่วนราชการแจ้งการ เรียกค่าปรับตามสัญญาและเมื่อผู้รับจ้างได้ส่งมอบงานครั้งใหม่แล้ว ให้ส่วนราชการบอกสงวนสิทธิการ เรียกค่าปรับ ซึ่งเมื่อคณะกรรมการตรวจการจ้างได้ตรวจผลงานที่ส่งมอบครั้งใหม่ เห็นว่า ได้แก้ไข ถูกต้องเรียบร้อยแล้วถือว่าส่งมอบงานถูกต้องตั้งแต่วันที่ได้ส่งมอบครั้งใหม่
3.1.4) ในกรณีการส่งมอบครั้งใหม่เกินกําหนดระยะเวลาตามสัญญา จะต้องมีการคิดคํานวณค่าปรับตามจํานวนวันที่เกินกําหนดตามสัญญา ทั้งนี้ สําหรับระยะเวลาที่ใช้ไป ในการตรวจงานของคณะกรรมการตรวจการจ้างสามารถนํามาพิจารณางดหรือลดค่าปรับให้แก่ผู้รับ จ้างได้ และเมื่อมีการส่งมอบงานถูกต้องครบถ้วนแล้ว ให้เจ้าหน้าที่พัสดุจัดทําใบรับรองผลงานการ ปฏิบัติงานและลงชื่อไว้เป็นหลักฐานอย่างน้อย 2 ฉบับ มอบให้ผู้รับจ้าง 1 ฉบับ เก็บไว้1 ฉบับ เพื่อ ดําเนินการในขั้นตอนต่อไป
3.2) การส่งมอบงานเกินกําหนดระยะเวลา
3.2.1) เมื่อครบกําหนดส่งมอบตามสัญญา หากผู้รับจ้างยังทํางานไม่แล้ว เสร็จให้ส่วนราชการรีบแจ้งการเรียกค่าปรับตามสัญญาจากคู่สัญญา
3.2.2) เมื่อผู้รับจ้างส่งมอบงาน ให้ส่วนราชการบอกสงวนสิทธิ์การเรียก
ค่าปรับ
3.2.3) คณะกรรมการตรวจการจ้างตรวจผลงานที่ผู้รับจ้างส่งมอบ หาก
ผลงานที่ได้ส่งมอบแล้วถูกต้องครบถ้วน ถือว่าผู้รับจ้างได้ส่งมอบงานถูกต้องครบถ้วนตั้งแต่วันที่ส่งมอบ
3.2.4) หากไม่ถูกต้องครบถ้วน ให้สั่งการให้ผู้รับจ้างแก้ไข เมื่อผู้รับจ้าง แก้ไขเรียบร้อยแล้วถือว่าได้ส่งมอบงานถูกต้องตั้งแต่วันที่ส่งมอบครั้งใหม่และคํานวณค่าปรับตาม จํานวนวันที่เกินกําหนด ทั้งนี้ สําหรับระยะเวลาที่ใช้ไปในการตรวจงานของคณะกรรมการตรวจการ จ้างสามารถนํามาพิจารณางดหรือลดค่าปรับให้แก่ผู้รับจ้างได้ และเมื่อมี การส่งมอบงานถูกต้อง ครบถ้วนแล้ว ให้เจ้าหน้าที่พัสดุจัดทําใบรับรองผลงานการปฏิบัติงานและลงชื่อไว้เป็นหลักฐานอย่าง น้อย 2 ฉบับ มอบให้ผู้รับจ้าง 1 ฉบับ เก็บไว้ 1 ฉบับ เพื่อดําเนินการในขั้นตอนต่อไป
3.3) การส่งมอบงานเกินกําหนดระยะเวลา และค่าปรับจะเกินร้อยละ 10
ของวงเงินค่าจ้าง
3.3.1) เมื่อครบกําหนดส่งมอบตามสัญญา ผู้รับจ้างยังทํางานไม่แล้วเสร็จ
ให้ส่วนราชการรีบแจ้งการเรียกค่าปรับตามสัญญาจากคู่สัญญา
3.3.2) ในกรณีที่เกินกําหนดระยะเวลาแล้ว จํานวนเงินค่าปรับจะเกินร้อย ละ10 ของวงเงินค่าจ้าง ให้ส่วนราชการพิจารณาดําเนินการบอกเลิกสัญญา เว้นแต่คู่สัญญาจะได้ ยินยอมเสียค่าปรับให้แก่ทางราชการ โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น ให้หัวหน้าส่วนราชการพิจารณาผ่อน ปรนการบอกเลิกสัญญาได้เท่าที่จําเป็น
กรณีที่ผู้รับจ้างยินยอมเสียค่าปรับ โดยจะแจ้งหนังสือความยินยอมมายัง ส่วนราชการเพื่อให้ส่วนราชการทราบ เมื่อส่วนราชการรับทราบความยินยอมแล้ว ส่วนราชการจะใช้ ดุลพินิจว่าจะบอกเลิกสัญญาหรือไม่
กรณีไม่บอกเลิกสัญญาให้ส่วนราชการแจ้งผู้รับจ้างและคณะกรรมการ ตรวจการจ้างให้รับทราบ และดําเนินการตามสัญญาต่อไป และกรณีบอกเลิกสัญญาให้ส่วนราชการ แจ้งหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุให้ดําเนินการบอกเลิกสัญญา เพื่อฝ่ายพัสดุจะได้ดําเนินการแจ้งผู้รับจ้างให้ ทราบการบอกเลิกสัญญา
3.3.3) ในกรณีที่ส่วนราชการผ่อนปรนการบอกเลิกสัญญา และผู้รับจ้างได้ ดําเนินการตามสัญญาต่อไป เมื่อผู้รับจ้างได้ส่งมอบงานให้ส่วนราชการบอกสงวนสิทธิ์การเรียกค่าปรับ
3.3.4) คณะกรรมการตรวจการจ้างตรวจผลงานที่ผู้รับจ้างส่งมอบ หาก ผลงานที่ได้ส่งมอบแล้วถูกต้องครบถ้วน ถือว่าผู้รับจ้างได้ส่งมอบงานถูกต้องครบถ้วนตั้งแต่วันที่ส่งมอบ ทั้งนี้ สําหรับระยะเวลาที่ใช้ไปในการตรวจงานของคณะกรรมการตรวจการจ้างสามารถนํามาพิจารณา งดหรือลดค่าปรับให้แก่ผู้รับจ้างได้ และเมื่อมีการส่งมอบงานถูกต้องครบถ้วนแล้ว ให้เจ้าหน้าที่พัสดุ จัดทําใบรับรองผลงานการปฏิบัติงานและลงชื่อไว้เป็นหลักฐานอย่างน้อย 2 ฉบับ มอบให้ผู้รับจ้าง 1 ฉบับเก็บไว้ 1 ฉบับ เพื่อดําเนินการในขั้นตอนต่อไป
2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.6.1 งานวิจัยภายในประเทศ
ปรีชา อินสาลี (2556) ศึกษาปัญหาการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้างโครงการภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้ความเห็นไว้ว่า สาเหตุที่สําคัญที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญา งานก่สอสร้างคือ ข้อขัดแย้งของขอบเขตงานไม่ชัดเจน และไม่ครบถ้วนตามที่ระบุในรูปแบบรายการ และเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการบริหารสัญญางานก่อสร้าง ซึ่งจากการศึกษาโครงการก่อสร้างภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น พบว่า โครงการก่อสร้างต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่นส่วนใหญ่เกือบทุก โครงการล้วนประสบข้อขัดแย้งจนทําให้เกิดข้อพิพาทระหว่างผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างอันส่งผลกระทบต่อ ความสําเร็จของโครงการ จึงจําเป็นต้องมีการแก้ไขข้อตกลงสัญญาเพื่อให้งานก่อสร้างดําเนินต่อไปได้ จากการวิเคราะห์ทบทวนงานวิจัยและตรวจสอบจากเอกสารที่มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาพบว่ามี ปัจจัยเสี่ยงได้ทั้งสิ้น 18 ตัว ซึ่งจําแนกออกได้เป็น 4 กลุ่ม โดยการนําปัจจัยเสี่ยงทั้งหมดไปใช้วิเคราะห์ ปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อตกลงสัญญาซึ่งพบว่ากลุ่มตัวอย่างมี ความเห็นตรงกันว่า สาเหตุสําคัญที่ ทําให้เกิดการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อตกลงสัญญาคือ ข้อขัดแย้งขอบเขตของงานไม่ ชัดเจน และไม่ครบถ้วนตามที่ระบุในรูปแบบและรายการ จึงได้นําผลวิจัยนี้ไปเป็นแนวทางปรับปรุง กระบวนการบริหารสัญญาจ้าง โดยต้องเริ่มต้นจากกระบวนการออกแบบต้องมี ความชัดเจน แสดง รายละเอียดต่างๆ ครบถ้วน ตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งาน เพื่อลดความเสี่ยงในการแก้ไข เปลี่ยนแปลงข้อตกลงสัญญาต่อไป
รสิกา กาญจนะ และไพฑูรย์ คงสมบูรณ์ (2561) ศึกษาปัญหาการขอแก้ไขสัญญาจ้าง ตามมูลเหตุของสัญญาเปลี่ยนแปลงไป ให้ความเห็นไว้ว่า จากการศึกษาโครงการก่อสร้าง ภายในประเทศไทย คู่สัญญาจ้างประสบปัญหาเกี่ยวกับรายละเอียดของสัญญาเนื่องจากมีความไม่ แน่นอนของผลกระทบจากปัจจัยด้านการเปลี่ยนแปลงด้านกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การขาดแคลนวัสดุก่อสร้าง จึงเป็นเหตุให้ขอขยายระยะเวลาหรือปรับมูลค่าของงาน เพื่อให้เกิดความ เป็นธรรมกับคู่สัญญาก็จะต้องมีการขอใช้สิทธิขอแก้ไขสัญญาจ้างก่อสร้างเพื่อให้งานก่อสร้างสําเร็จ ลุล่วงไปได้ด้วยดี
ญาณวรรธน์ ชุ่มท้วม และวิกรม พนิชการ (2560) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการ ตรวจสอบงานจัดจ้างก่อสร้างของกลุ่มตรวจสอบการบริหารพัสดุ สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ส่วนกลาง ให้ความเห็นไว้ว่า โครงการก่อสร้างส่วนใหญ่ที่มีมูลค่าสูงที่มีผลต่อสาธารณะมีปัญหาและ อุปสรรคในการตรวจสอบราคากลางงานก่อสร้างอยู่ในระดับมาก ซึ่งมีความจําเป็นต้องแก้ไขเพื่อให้ สอดคล้องกับงานก่อสร้างขนาดใหญ่ของส่วนราชการ พบว่า การตรวจสอบงานจัดจ้างก่อสร้างของ สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ถือว่ามีความสําคัญมากเพราะโครงการก่อสร้างส่วนใหญ่มีมูลค่าสูง และมีผลกระทบต่อสาธารณชน รวมถึงการแก้ไขสัญญา เนื่องจากงานตรวจสอบมีความซับซ้อน และมี รายละเอียดมาก ผู้ทําการตรวจสอบอาจมีปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ จากการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธี ทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยระดับปัญหาและอุปสรรคในการตรวจสอบงานจัดจ้างก่อสร้างใน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3.44) ในงานหลัก พบว่า งานตรวจสอบราคากลางงานก่อสร้าง งาน ตรวจสอบสังเกตการณ์ งานก่อสร้าง และงานตรวจสอบสัญญา แบบปรับราคาได้ มีระดับปัญหาและ อุปสรรคอยู่ในระดับมาก (3.51, 3.51 และ 3.42 ตามลําดับ) และงานตรวจสอบการประกวดราคา
และการก่อหนี้ผูกพัน มีระดับปัญหาและอุปสรรคอยู่ในระดับปานกลาง (3.32)
อนุพงษ์ รักไพฑูรย์ และ ศิริศักดิ์ คงสมศักดิ์สกุล (2555) ได้ศึกษาปัญหาในขั้นตอนส่ง มอบงานในการบริหารงานก่อสร้างประเภทงานทาง โดยให้ความเห็นไว้ว่า ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น ในช่วงส่งมอบงานก่อสร้างประเภทงานทางจนกระทั่งสิ้นสุดระยะเวลาการรับประกัน ระดับความ รุนแรง รูปแบบและจํานวนของการเกิดปัญหาในแต่ละโครงการขึ้นอยู่กับปัจจัย 4 อย่าง คือ 1) ชนิด/ ประเภทงาน 2) ขนาดของโครงการ 3) ศักยภาพของบริษัทผู้รับเหมา และ 4) ชนิดของเจ้าของงาน โดยได้วิเคราะห์สาเหตุที่เกิดขึ้นในขั้นตอนการส่งมอบงาน สาเหตุในแต่ละปัญหาพร้อมนําเสนอ แนวทางในการบริหารงานก่อสร้างประเภทงานทางที่ได้มีการใช้ปฏิบัติจริงในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาในปัจจุบัน โดยเน้นการสัมภาษณ์ข้อมูลเชิงลึกเพื่อทราบปัญหาจากความคิดเห็นของทั้งฝ่าย เจ้าของงาน (ผู้บริหารงานก่อสร้าง) และฝ่ายผู้รับเหมา (วิศวกรผู้ควบคุม) โดยนําปัญหาที่รวบรวมได้ ไปวิเคราะห์สาเหตุในแต่ละปัญหาโดยใช้แผนผังสาเหตุและผล (Cause-Effect Diagram) และสุดท้าย ดําเนินการสัมภาษณ์ผู้บริหารงานก่อสร้างเพื่อหาแนวทางที่ผู้บริหารงานก่อสร้างใช้ในการปฏิบัติงานใน
การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกับสถานภาพการทํางานจริงของโครงการก่อสร้างงานทางใน ประเทศไทย โดยปัจจัยทั้ง 4 นี้ในแต่ละโครงการประสบกับปัญหาที่แตกต่างกันซึ่งปัญหาต่างๆ โดยได้ จัดกลุ่มปัญหาได้แก่ ด1) กลุ่มประเด็นปัญหาในด้านคุณภาพงาน 2) กลุ่มประเด็นปัญหาด้าน ระยะเวลา 3) กลุ่มประเด็นปัญหาในด้านการเงิน 4) กลุ่มประเด็นปัญหาในด้านเอกสาร 5) กลุ่ ม ประเด็นปัญหาในด้านการตรวจงาน 6) กลุ่มประเด็นปัญหาการไม่ได้รับความสะดวกต่างๆ และ
7) กลุ่มประเด็นปัญหาในด้านความไม่ชัดเจน (ความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน) ซึ่งจากการศึกษาได้นําเสนอ วิธีการที่เหมาะสมในการใช้การป้องกันและแก้ไขปัญหาในแต่ละกลุ่ม ทั้งนี้เพื่อเป็นแนวทางในการ จัดการกับปัญหาดังกล่าวที่จะเกิดขึ้นในช่วงส่งมอบงานก่อสร้าง
นิติกรณ์ แนมจันทร์ (2557) ได้นําเสนอปัญหาและอุปสรรคในการตรวจสอบราคากลาง งานก่อสร้างของสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน : กรณีศึกษากลุ่มจังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ ให้ความเห็นไว้ว่า ทัศนะคติและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและ อุปสรรคในการตรวจสอบราคากลางงานก่อสร้างของสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน หลักเกณฑ์การ คํานวณราคากลางงานก่อสร้างตามมติ ครม. วันที่ 13 มีนาคม 2555 มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก แต่การตรวจสอบราคากลางก่อสร้างของสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ ปานกลาง สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินจึงควรปรับปรุงแนวทางการตรวจสอบราคากลางงาน ก่อสร้างของสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน และจัดทําแบบฟอร์มสําเร็จรูปเพื่อให้ง่ายต่อการ ตรวจสอบของผู้ตรวจสอบและผู้สอบทานจัดอบรมเพิ่มความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบราคากลางงาน ก่อสร้างให้กับเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ควรปรับปรุงแนวทางการตรวจสอบราคากลาง งานก่อสร้าง หากราคากลางงานก่อสร้างไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การกําหนดราคาอาจจะทําให้การ คํานวณราคางานก่อสร้างคลาดเคลื่อนนํามาซึ่งต้นทุนงานการก่อสร้างซึ่งจะเป็นปัญหาต่อการ ดําเนินงานก่อสร้าง
วรวิทย์ สวัสดิ์พูน (2557) ได้ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการกําหนดราคากลางงาน ก่อสร้างทางราชการของบุคลากรช่าง : กรณีศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อําเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ ได้ให้ความเห็นไว้ว่า ปัญหาและอุปสรรคในการกําหนดราคากลางงานก่อสร้างทาง ราชการ ในด้านความรู้เกี่ยวกับระเบียบ หลักเกณฑ์ และข้อกําหนดต่างๆ อยู่ในระดับมาก ส่วนด้าน ความรู้ และทักษะในการปฏิบัติงาน, ด้านระบบสารสนเทศ และด้านการประสานงาน มีปัญหาและ อุปสรรคอยู่ในระดับปานกลาง จึงทําการทดสอบสมมติฐาน พบว่าปัจจัยส่วนบุคคลของบุคลากรช่าง ได้แก่ ระดับการศึกษา, ตําแหน่งงาน, ประสบการณ์ การทํางาน, การฝึกอบรมแตกต่างกันส่งผลต่อ ปัญหาและอุปสรรคในการการกําหนดราคากลางงานก่อสร้างทางราชการแตกต่างกัน แนวทางการ แก้ไขปัญหาและอุปสรรคหน่วยงานส่วนกลางในระดับอําเภอควรจัดการอบรมให้ความรู้แก่บุคลากร เพื่อหารือปัญหาอุปสรรคของงานร่วมกัน และผู้บริหารหน่วยงานควรเน้นพัฒนาบุคลากร โดยให้ได้รับ
การอบรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มความรู้ และควรเสริมสร้างระบบการปฏิบัติงานร่วมกันเป็นทีม ปรับปรุงระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพให้เพียงพอต่อการใช้งาน
วชรภูมิ เบญจโอฬาร (2009) ได้ศึกษา การวางแผนและควบคุมงานก่อสร้างด้วยการ กําหนดเวลาและต้นทุนที่เหมาะสม ได้ให้ความเห็นไว้ว่า ทรัพยากรหลักของโครงการก่อสร้าง ได้แก่ เวลา ต้นทุน วัสดุ แรงงาน/เครื่องจักร และเงินสด การบริหารโครงการก่อสร้างจึงมีหน้าที่สําคัญที่ต้อง วางแผนและการควบคุมการใช้ทรัพยากรหลักเหล่าให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่ง ทรัพยากรเหล่านี้มีความสัมพันธ์เชิงปริมาณระหว่างกันอย่างซับซ้อนทั้งโดยตรงและโดยอ้อม โดยการ วิจัยนี้ ได้พัฒนาเทคนิคการโมเดลปัญหาการจัดตารางเวลางานก่อสร้าง (Construction scheduling problems) ที่สามารถบูรณาการเงื่อนไขด้านทรัพยากรหลักของโครงการก่อสร้าง เรียกว่า Integrated Common Resource Project Scheduling Problem (ICRPSP) ตัวแปรตัดสินใจของ โมเดลซึ่งประกอบด้วย กลุ่มตัวแปรเวลาเลื่อน (Shifting time) และกลุ่มการเลือกส่วนผสมของ ทรัพยากรดําเนินงาน (Work resource combinations) และมีฟังก์ชันวัตถุประสงค์แบบหลาย วัตถุประสงค์ย่อย (Multi-objective functions) เพื่อใช้ชี้วัดเป้าหมายหลายด้านพร้อมกัน คือ กลุ่ม ด้านต้นทุนทั้งหมดของโครงการ (Total project cost: TC) และกลุ่มด้านระดับการจัดสรรทรัพยากร (Resource fluctuation) นอกจากนี้ยังมีฟังก์ชันข้อจํากัดแบ่งหลายกลุ่มตามประเภทของ ทรัพยากร หลัก ได้แก่ เวลา ทรัพยากรดําเนินงาน และวงเงินเครดิต และข้อจํากัดด้านความสัมพันธ์ระหว่าง กิจกรรมก่อสร้าง จากนั้นจึงได้พัฒนาโมเดลบนโปรแกรมสํานักงานพื้นฐาน Microsoft Excel ที่ สามารถนําไปใช้งานได้สะดวก โดยใช้วิธีการค้นหาคําตอบที่ดีที่สุดแบบ Genetic Algorithms ซึ่งเป็น วิธีประสิทธิภาพดีเหมาะสําหรับโมเดลปัญหาที่ซับซ้อนเช่น ICRPSP นี้ โมเดล ICRPSP ที่สร้างเสร็จ สมบูรณ์ ได้ถูกนํามาทดสอบ ซึ่งผลการทดสอบได้ชี้ให้เห็นถึงศักยภาพของ ICRPSP ในการนํามาใช้เพื่อ ช่วยการวางแผนและควบคุมโครงการก่อสร้าง โดยจะเป็นเครื่องมือสําหรับประเมินค่าจํานวน ทรัพยากรหลักประเภทต่างๆ เพื่อหาจํานวนที่เหมาะสมเท่าที่จําเป็นต้องใช้ได้ นอกจากนี้ ผลการ ทดสอบยังชี้ ให้เห็นว่าการพิจารณาวางแผนทรัพยากรหลักเฉพาะที่คู่ใดคู่หนึ่ง เป็นการละเลย ผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรหลักอื่นที่ไม่ได้ถูกพิจารณาในคราวนั้นได้ แผนงานที่ได้จึงไม่สมเหตุสมผล ซึ่งไม่เกิดกับแผนงานคําตอบที่ได้จากโมเดล ICRPSP ผลลัพธ์ของการวิจัยนี้ จึงทําให้ได้วิธีในการโมเดล ปัญหาแผนงานโครงการก่อสร้างเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรโครงการต่างๆ และทําให้ได้แผนงาน คําตอบที่มีประสิทธิภาพดีขึ้น เพื่อนําไปใช้ ควบคุมและดําเนินการโครงการต่อไป
ประวุฒิ จิรนนทกิจ, สุธาริน สถาปิตานนท์ และวิโรจน์ รุโจปการ (2560) ได้ศึกษา แบบจําลองปัญหาโต้แย้งในโครงการก่อสร้างอาคารชุด ได้ให้ความเห็นไว้ว่า ปัญหาโต้แย้งในการ ก่อสร้างอาคาร ได้วิเคราะห์ปัจจัยเชิงสํารวจโดยสามารถจัดกลุ่มตัวแปรได้ จํานวน 7 ปัจจัย คือ ลักษณะเจ้าของงาน ประสบการณ์ทีมงาน ลักษณะโครงการ สภาพแวดล้อม เอกสารโครงการ ระบบ
การเงิน และความสามารถในการจัดการ การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยั่งยืนเพื่อหาปัจจัยที่ส่งผลต่อการลด ปัญหาโต้แย้ง พบว่า ดัชนีความกลมกลืนของแบบจําลองอยู่ในระดับปานกลางถึงดี ผลการศึกษาปัจจัย เชิงยืนยันลําดับที่สอง พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลสําคัญช่วยลดปัญหาโต้แย้ง 3 ลําดับแรก ได้แก่ ปัจจัย ลักษณะโครงการ (PRO) ซึ่งมีตัวแปรที่สําคัญคือ ตัวแปรการประมาณระยะเวลาดําเนินงานโครงการ และปัจจัยประสบการณ์ทีมงานโครงการ (EXP) ตัวแปรที่มีน้ําหนักมากที่สุด คือ ตัวแปรความรู้ ความ เชี่ยวชาญของทีมงานโครงการ เนื่องจากวิธีการวิเคราะห์ต่างกัน โดยค่าดัชนีความสําคัญเป็นการ วิเคราะห์เพียงมิติเดียว จากการคํานวณความถี่ของผู้ตอบแบบสอบถามครั้งละหนึ่งปัจจัย ต่างจากการ วิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยันลําดับที่สองที่วิเคราะห์ปัจจัยทั้งหมดพร้อมกัน และยังพิจารณาความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยและส่วนความคลาดเคลื่อนจากการวัดร่วมด้วย แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ในภาพรวม จึงสามารถอธิบายปัจจัยที่ส่งผลต่อการลดปัญหาโต้แย้งได้ดียิ่งขึ้น
เสกสรรค์ ตีงี (2552) ได้ศึกษา ปัญหากรณีศึกษาปัญหาความล่าช้าในทัศนคติ ของ ผู้รับเหมากับโครงการก่อสร้างอาคาร ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วย 6 ด้าน ได้แก่ ปัญหาด้านงบประมาณ ปัญหาด้านบุคลากร หรือ แรงงานปัญหาด้านการ บริหาร ปัญหาด้านเครื่องจักรกล ปัญหาด้านวัสดุก่อสร้าง และปัญหาด้านความเชื่อมั่นในความ ปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ใช้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้รับเหมาจํานวน 190 คน จากสถานประกอบการ จํานวน 190 แห่ง ให้ความเห็นไว้ว่า ผลกระทบของปัญหาในการดําเนินงานก่อสร้างในภาพรวมอยู่ใน ระดับค่อนข้างน้อย ส่วนใหญ่มีความเห็นว่าผลกระทบด้านบุคลากรหรือแรงงาน มีผลต่อความล่าช้าใน การก่อสร้างอาคารมากที่สุด ซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง รองลงมาคือผลกระทบด้านความเชื่อมั่นใน ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง และประเด็นที่ส่งผลกระทบต่องานก่อสร้าง อาคารน้อยที่สุด คือ ด้านวัสดุก่อสร้าง ซึ่งมีผลกระทบค่อนข้างน้อย จากการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ผู้รับเหมาแต่ละสถานประกอบการมีทัศนคติต่อผลกระทบในการดําเนินงานก่อสร้างอาคารแตกต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกันกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
สมัคร ต้นโลห์ และณรงค์ เหลืองบุตรนาค (2552) ได้นําเสนอ ปัญหา, ปัจจัยและการ ปรับปรุงงานก่อสร้างที่ล่าช้าของงานราชการ ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบทําให้โครงการก่อสร้างของ งานราชการเกิดความล่าช้าและหาแนวทางเพื่อช่วยลดปัญหาความล่าช้าที่เกิดขึ้น โดยสอบถามผู้ เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้าง จากส่วนราชการทั้งประเทศของส่วนราชการ 420 แหง ให้ความเห็นไว้ว่า ปัจจัยที่ส่งผลทําให้โครงการก่อสร้างเกิดความล่าช้า คือ 1) กลุ่มปัจจัยที่เกิดจากเจ้าของโครงการ ประกอบด้วย ปัญหาจากการจ่ายเงินค่าก่อสร้างและปัญหาจากการจัดหาวัสดุโดยตรง 2) กลุ่มปัจจัยที่ เกิดจากผู้รับจ้างเหมา ประกอบด้วย ปัญหาด้านการเงิน ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน 3) กลุ่มปัจจัย ภายนอกที่ค้นพบใหม่ คือ ปัญหาทางด้านสังคมและปัญหาทางด้านการเมือง ผลที่ไดจากการศึกษา
สามารถช่วยระบุสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้หน่วยงานราชการใช้เป็นแนวทางในการวิเคราะห์หา สาเหตุและแนวทางในการช่วยลดสภาพปัญหาความล่าช้าของโครงการก่อสร้างได
อังคาร เปียประดิษฐ์ (2555) ได้ศึกษา ปัญหาและการปรับปรุงสัญญาจ้างช่วงในงาน ก่อสร้าง ให้ความเห็นไว้ว่า ข้อโต้แย้งหรือข้อพิพาทที่เกิดขึ้นจากการจ้างผู้รับจ้างเหมาช่วงเข้าทํางาน ก่อสร้าง ซึ่งประเด็นข้อพิพาทดังกล่าวนํามาปรับใช้เพื่อปรับปรุงสัญญาจ้างก่อสร้างได้ ข้อพิพาทใน สัญญาจ้างช่วงส่วนใหญ่จะมาจากข้อพิพาทของการทําสัญญาจ้างก่อสร้างกับทางราชการ ซึ่งข้อพิพาท จากการใช้สัญญาจ้างทางราชการ สามารถนํามาปรับปรุงสัญญาจ้างช่วงได้เนื่องจากสัญญาจ้าง ก่อสร้างทางราชการ จะมีความซับซ้อนและละเอียดกว่าสัญญาจ้างช่วง ซึ่งเป็นการสัญญาจ้างใน บางส่วนของโครงการ การจัดทําสัญญาจ้างช่วงในโครงการก่อสร้างระหว่างผู้รับเหมาหลักและ ผู้รับเหมาช่วงในประเทศไทย ยังไม่มีการกําหนดเป็นลักษณะของสัญญามาตรฐาน ดังนั้น รายละเอียด ของสัญญาจ้างช่วงจึงมีความแตกต่างกันในแต่ละโครงการ และอาจทําให้เกิดปัญหาและข้อขัดแย้งใน การทําสัญญาได้ จึงได้ศึกษาถึงปัญหาของสัญญาจ้างช่วงในงานก่อสร้างและเสนอแนวทางการ ปรับปรุงสัญญาจ้างช่วง โดยจํากัดขอบเขตอยู่เฉพาะงานอาคารในประเทศไทย จากผลการศึกษาพบ ปัญหา 31 ข้อ จึงได้ทําการวิเคราะห์ความครอบคลุมของปัญหาโดยใช้สัญญาจ้างช่วงมาตรฐานของ AIAA401-2007 โดยพบว่าสัญญามาตรฐานสามารถครอบคลุมปัญหารวม 21 ประเด็น และไม่ ครอบคลุมรวม 10 ประเด็น และจากการวิเคราะห์ปัญหาพบว่ามีปัญหาที่มีความสําคัญระดับสูงเพื่อหา แนวทางการปรับปรุงสัญญาจ้างช่วงมีทั้งสิ้น 11 ประเด็น จากผลการศึกษาปัญหาที่มีความสําคัญใน ระดับสูงพบว่าปัญหา 8 ประเด็นครอบคลุมโดยสัญญาจ้างช่วงมาตรฐาน โดยปัญหาที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ สามารถนําข้อกําหนดของสัญญาจ้างช่วงมาตรฐานมาทําการประยุกต์ใช้ได้เนื่องจากมีข้อกําหนด และ หลักปฏิบัติที่ชัดเจน และปัญหา 3 ประเด็นไม่ครอบคลุมโดยสัญญาจ้างช่วงมาตรฐานสามารถใช้ ข้อกําหนดของสัญญาจ้างนานาชาติ FIDIC (1999) และสัญญาจ้างตามสัญญาจ้างแนบท้ายระเบียบ สํานักนายกฯมาทําการประยุกต์ใช้เพื่อลดข้อขัดแย้งที่เกิดจากปัญหานั้นได้ ปัญหาสามอันดับแรกจาก ปัญหาสําคัญทั้ง 11 ประเด็น คือ 1) ปัญหาแบบรายละเอียด และข้อกําหนดของสัญญาก่อสร้างใน สัญญาไม่มีความละเอียดเพียงพอ 2)การเปลี่ยนแปลงงานโดยมีงานลด งานเพิ่มในระหว่างการก่อสร้าง
3) ปัญหาผู้รับเหมาช่วงปฏิบัติงานล่าช้าเกินกว่าแผนงานหลัก
ธิรนันท์ มงคลทิพย์วาที (2555) ได้ศึกษา การจัดการเอกสารประกอบการเรียกร้องสิทธิ สําหรับผู้รับจ้างก่อสร้าง การเรียกร้องสิทธิในงานก่อสร้างส่งผลกระทบโดยตรงต่อมูลค่างานก่อสร้าง ระยะเวลาก่อสร้าง ตลอดจนคุณภาพของงานก่อสร้าง ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจึงควรให้ความสําคัญในการ เรียกร้องสิทธิ โดยเฉพาะผู้รับจ้างก่อสร้างที่ต้องดําเนินงานก่อสร้าง แก้ไข เปลี่ยนแปลงงาน เพื่อให้ งานก่อสร้างสามารถดําเนินไปได้โดยราบรื่นและประสบความสําเร็จ ซึ่งการที่ผู้รับจ้างก่อสร้างจะ สามารถเรียกร้องสิทธิสําเร็จนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ และปัจจัยหนึ่งที่มีความสําคัญและ
ส่งผลต่อการเรียกร้องสิทธิของผู้รับจ้างก่อสร้าง คือ การจัดการเอกสารประกอบการเรียกร้องสิทธิ อย่างมีประสิทธิภาพ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุเอกสารที่จําเป็นในการใช้ประกอบการเรียกร้อง สิทธิสําหรับผู้รับจ้างก่อสร้าง รวมถึงวิเคราะห์รายละเอียดในเอกสารเหล่านั้น การวิจัยอาศัยการ วิเคราะห์เอกสารงงานวิจัยและการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ จํานวน 11 ท่าน จาก 9 หน่วยงานที่มี ประสบการณ์ในการเรียกร้องสิทธิ โดยมีขั้นตอนการศึกษาประกอบด้วย การทบทวนเอกสารงานวิจัย ในอดีตที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญในการเรียกร้องสิทธิ ผู้วิจัยสามารถระบุสาเหตุการ เรียกร้องสิทธิได้ 34 สาเหตุ ซึ่งจําแนกออกเป็น 8 กลุ่ม จากนั้นวิเคราะห์ระดับความสําคัญของสาเหตุ การเรียกร้องสิทธิ พบว่ามีระดับความสําคัญของสาเหตุการเรียกร้องสิทธิมาก ปานกลาง และน้อย จํานวน 10 สาเหตุ 17 สาเหตุ และ 7 สาเหตุตามลําดับ เพื่อช่วยให้ผู้รับจ้างก่อสร้างทราบถึงสา เหตุ การเรียกร้องสิทธิที่ต้องให้ความสําคัญ ซึ่งบางสาเหตุเกิดจากการที่ผู้รับจ้างก่อสร้างขาดเอกสาร หรือ หลักฐานยืนยันที่บ่งชี้ว่าผู้รับจ้างก่อสร้างได้ดําเนินงานก่อสร้างจริง ตลอดจนขาดเอกสารในการ พิจารณามูลค่างานที่เปลี่ยนแปลง ส่งผลให้ไม่สามารถเรียกร้องสิทธิสําเร็จ ขั้นตอนสุดท้ายของงานวิจัย คือ การวิเคราะห์เอกสารประกอบการเรียกร้องสิทธิตามแต่ละสาเหตุ และขั้นตอนในการเรียกร้องสิทธิ เพื่อช่วยให้ผู้รับจ้างก่อสร้างรับทราบถึงเอกสารที่มีความสําคัญในการใช้ประกอบการเรียกร้องสิทธิใน แต่ละสาเหตุ ตลอดจนรายละเอียดในเอกสารเหล่านั้น ผลการวิจัยนี้ผู้รับจ้างก่อสร้างสามารถนําไป ประยุกต์เป็นแนวทางในการประเมินการเรียกร้องสิทธิ ตลอดจนเป็นแนวทางในการจัดเตรียมเอกสาร ประกอบการเรียกร้องสิทธิ อันจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาระบบการจัดการเอกสารประกอบการ เรียกร้องสิทธิในองค์รวมต่อไป พบว่า ในปัจจุบันอุตสาหกรรมการก่อสร้างประเทศแถบภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ได้มีการพัฒนาเป็นอย่างมาก ทําให้ผู้รับจ้างจากต่างประเทศเข้ามาลงทุน โดยเฉพาะโครงการถนนซึ่งเป็นโครงสร้างพื้นฐาน ที่มีความสําคัญและถือเป็นโครงการก่อสร้างอีก รูปแบบหนึ่ง ซึ่งจะต้องมีความรู้และความเข้าใจในการดําเนินงานตามสัญญา การวิจัยนี้เป็นการศึกษา ถึงปัญหาที่สําคัญในการดําเนินงานตามสัญญาจ้าง ในโครงการก่อสร้างถนนของรัฐที่ใช้เงินกู้ยืมใน ประเทศไทย ลาว และเวียดนาม โดยขั้นตอนการศึกษาประกอบด้วย ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปัญหาเบื้องต้น เพื่อใช้ในการจัดทําแบบสอบถามในการสํารวจความคิดเห็นของผู้ว่าจ้างและ ผู้รับจ้าง ตามโครงการก่อสร้างในแต่ละประเทศ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ของคะแนนความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามในแต่ละประเทศ โดยพิจารณา จากความสําคัญและความถี่ของปัญหาในการดําเนินงาน และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขป้องกัน ปัญหาที่จะเกิดขึ้น ในการศึกษาได้แบ่งปัญหาในการดําเนินงานในโครงการก่อสร้างออกเป็น องค์ประกอบทั่วไป การดําเนินงานทั่วไป การเปลี่ยนแปลงงาน ความเสี่ยง ข้อโต้แย้งและการบอกเลิก สัญญา การดําเนินงานของทั้งสามประเทศส่วนใหญ่มีการดําเนินงานตามสัญญาจ้างของโครงการนั้นๆ โดยมีบางส่วนที่มีการดําเนินงานแตกต่างจากสัญญา และการดําเนินงานบางส่วนที่แตกต่างกันไปใน
แต่ละประเทศ ปัญหาสําคัญที่พบในการดําเนินงานจากรณีศึกษา ได้แก่ ปัญหาเกี่ยวกับความล่าช้าของ ผู้ว่าจ้างในการส่งมอบพื้นที่ก่อสร้าง ปัญหาผู้รับจ้างไม่สามรรถทํางานให้แล้วเสร็จตามระยะเวลา ปัญหาข้อบกพร่องของแบบรูปและเอกสาร ปัญหาการเปลี่ยนแปลงงาน ปัญหาความเสี่ยงจากสภาพที่ ไม่สามารถคาดการณ์ได้ และปัญหาในกระบวนการแก้ไขข้อโต้แย้ง ซึ่งที่กล่าวมาเป็นปัญหาที่ทําให้เกิด ความเสียหายทั้งเวลและค่าใช้จ่ายของทั้งผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้าง ดังนั้นจึงควรป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้นโดย ผู้ที่เกี่ยวข้องในการทํางาน ต้องมีความรับผิดชอบหน้าที่ตามที่ระบุในสัญญาจ้าง มีการวางแผนในการ ดําเนินงานที่ดี และมีการทําประกันความเสี่ยง เพื่อทําให้ปัญหาที่เกิดขึ้นลดลงและการดําเนินงาน เป็นไปตามสัญญา
ศศิพร สายสุทธิ์ (2553) ได้ศึกษา การวางแผนการดําเนินงานก่อสร้างในโครงการ ปรับปรุงท่อเมนส่งน้ําประปา ให้การก่อสร้างดําเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนํามา ประยุกต์ใช้กับโครงการอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต จึงได้นําเสนอแนวทางในการจัดการการ ก่อสร้างในโครงการปรับปรุงท่อเมนส่งน้ําประปาให้ได้มาตรฐาน และคุณภาพ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้ เกิดประโยชน์ สูงสุด โดยการใช้หลักการของลีนคอนสตรัคชั่น ( Lean construction) เพื่อช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการดําเนินโครงการ หลักการที่สําคัญ คือ การวางแผนเพื่อป้องกันการผิดพลาด ลด การสูญเสียในกระบวนการก่อสร้าง โดยจะดําเนินการวางแผนการปฏิบัติการก่อสร้าง ศึกษาการใช้ วัสดุก่อสร้าง และการใช้ แรงงานในการก่อสร้าง เพื่อที่จะลดปัญหา ที่อาจจะเกิดขึ้นกับทางโครงการ ทําให้การดําเนินงานมีประสิทธิภาพ มีมาตรฐานที่ชัดเจน ซึ่งจะช่วยลดขั้นตอนที่ไม่จําเป็น และใช้ เครื่องมือและอุปกรณ์ ที่กําหนด และควบคุมระยะเวลาและแรงงานในการก่อสร้าง ซึ่งจะส่งผลต่อ ค่าใช้จ่ายของโครงการ จากการศึกษาพบว่า เมื่อมีการวางแผนใน การดําเนินการก่อสร้าง จะช่วยให้ ลดปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในระหว่าง การก่อสร้าง และจากการวางแผนการก่อสร้าง การวางขั้นตอน การทํางาน จะช่วยลดขั้นตอนที่ซ้ําซ้อน และจะสามารถลดระยะเวลาในการดําเนินการก่อสร้างลงได้ 29 วัน จากการวางแผนการใช้วัสดุ ในการวางแผนการใช้วัสดุหลักของทางโครงการ พบว่า สามารถ ลดค่าใช้จ่ายในเรื่องของวัสดุลงได้ ดังนี้ ต้นทุนค่าวัสดุที่ลดลงจากการเปลี่ยน Supplier มูลค่า 111,162.45 บาท หรือ คิดเป็นร้อยละ 7 ต้นทุนค่าวัสดุที่ลดลงจากการวางแผนการใช้วัสดุอุปกรณ์ และการขนส่ง มูลค่า 52,835 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3.8 และต้นทุนค่าวัสดุที่ลดลงจากการ ตรวจสอบคลังเก็บวัสดุ มูลค่า 22,645.50 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 2 จากการศึกษาด้านแรงงานใน การก่อสร้าง เมื่อกําหนดลักษณะการใช้แรงงานในแต่ละขั้นตอนในการดําเนินการก่อสร้างแล้ว และ กําหนดวันในการก่อสร้างให้แล้วเสร็จภายใน 91 วัน จะสามารถสรุปจํานวนแรงงานในการดําเนิน โครงการปรับปรุงท่อเมนส่งน้ําประปาในระยะทาง 1,230 เมตร โดยใช้แรงงานทั้งสิ้น 8 คน แบ่งเป็น แรงงานที่สามารถใช้เครื่องจักรได้ 3 คน และแรงงานที่ทํางานปกติทั่วไปอีก 5 คน สรุปผลการศึกษา การใช้หลักการของ ลีนคอนสตรัคชั่น (Lean construction) มาช่วยในการควบคุมการก่อสร้างใน
โครงการปรับปรุงท่อเมนส่งน้ําประปา โดยการวางแผนการปฏิบัติงานก่อสร้าง ศึกษาด้านระยะเวลา ด้านการใช้วัสดุ และแรงงานอย่างละเอียด ทําให้สามารถกําหนดระยะเวลาในการก่อสร้างที่สัมพันธ์ กับจํานวนแรงงานในการก่อสร้างได้ ซึ่งสามารถใช้ควบคุมและกําหนดระยะเวลาและจํานวนแรงงาน ได้กับโครงการในอนาคต นอกจากนั้นในการศึกษาการใช้วัสดุอุปกรณ์ ก่อสร้าง เพื่อที่จะกําหนด แนวทางในการใช้วัสดุที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยเหลือเศษน้อยที่สุด จนสามารถกําหนดปริมาณ วัสดุที่แน่นอนได้ ซึ่งเมื่อ สามารถลดการใช้วัสดุที่ไม่จําเป็นลงได้ ก็ส่งผลโดยตรงกับค่าใช้จ่ายในการ ก่อสร้าง ซึ่งการศึกษาทั้งหมดนี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของธุรกิจก่อสร้าง และวิเคราะห์ ธุรกิจเพื่อวางแผนพัฒนาองค์กรเพื่อรองรับการแข่งขันในอนาคต
วุฒิ ไชยพงศ์ (2553) ได้ศึกษา ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อผู้รับเหมาก่อสร้างสําหรับงาน ก่อสร้างที่พักอาศัยในจังหวัดนครราชสีมา ในการศึกษาครั้งนี้ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ ผู้รับเหมาก่อสร้างสําหรับงานก่อสร้างที่พักอาศัยในจังหวัดนครราชสีมา จํานวน 63 คน โดยใช้วิธีการ สุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง ผู้วิจัยใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ ข้อมูลใช้สถิติ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผล การศึกษา พบว่าข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ เป็น เพศชาย ร้อยละ
81.0 มีอายุระหว่าง 31-40 ปี ร้อยละ 42.9 มีสถานภาพสมรส ร้อยละ 60.3 มีการศึกษาอยู่ในระดับ ปริญญาตรี ร้อยละ 55.6 มี ประสบการณ์ ในการก่อสร้างอาคารที่ พักอาศัยต่ํากว่า 3 ปี ร้อยละ
30.2 มี รายได้ เฉลี่ยต่อเดือน มากกว่า 40,000 บาท ขึ้นไป ร้อยละ 41.3 ตําแหน่งงานปัจจุบัน คือ เจ้าของกิจการ ร้อยละ 58.7 และประเภทของสถานประกอบการ คือ บริษัทจํากัด ร้อยละ 41.3 ตามลําดับ โอกาสในการเกิดเหตุการณ์ของผู้รับเหมาก่อสร้าง ที่ พักอาศัยในจังหวัดนครราชสีมา พบว่า ภาพรวมงานบริหาร งานเอกสาร งานโครงสร้าง งานสถาปัตยกรรม และงานระบบ มีโอกาส เสี่ยงที่จะเกิดขึ้นน้อย ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหาของผู้รับเหมาก่อสร้าง ที่พักอาศัยในจังหวัด นครราชสีมา พบว่า ภาพรวม งานบริหาร มีผลกระทบที่เกิดขึ้นอยู่ ในระดับน้อย ส่วนงานเอกสาร งานโครงสร้าง งานสถาปัตยกรรม และงานระบบมีผลกระทบที่เกิดขึ้นอยู่ในระดับปานกลาง
ทวีวุฒิ นามศิริ และกอปร ศรีนาวิน (2558) ได้ศึกษา ปัญหาการบริหารสัญญาก่อสร้าง ในมหาวิทยาลัยของรัฐ โดยเฉพาะโครงการก่อสร้างในปัจจุบันมีความซับซ้อน ขนาดใหญ่ และมีความ เสี่ยงสูงขึ้น ความล้มเหลวของโครงการก่อสร้างมีสาเหตุจากระบบการบริหารที่ ขาดความเชี่ยวชาญ ทางด้านเทคนิควิธีการแก้ไขปัญหา การออกแบบที่ผิดพลาด และสัญญาที่ไม่ชัดเจน ซึ่งมหาวิทยาลัย ของรัฐประสบปัญหาการบริหารสัญญาในโครงก่อสร้างต่างๆ ทําให้โครงการก่อสร้างความล่าช้า ค่าใช้จ่ายโครงการมากกว่างบประมาณ และคุณภาพของงานไม่เป็นไปตามมาตรฐานข้อกําหนด มี สาเหตุจากบริหารสัญญาที่ล้มเหลวส่งผลให้เกิดความเสียหายทําให้รัฐสูญเสียงบประมาณ และยังเป็น ผลพวงการฟ้องร้องตามมา การศึกษานี้มี วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัญหาการบริหารสัญญาก่อสร้างใน
มหาวิทยาลัยของรัฐจากจํานวน 115 โครงการ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ สถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor analysis) ผลการศึกษาพบว่า ปัญหาการบริหารสัญญาที่สําคัญที่กระทบระยะเวลา ค่าใช้จ่ายและคุณภาพของโครงการ คือ การ จัดการส่งมอบงาน ผลประโยชน์และความคุ้มค่างบประมาณ และความพึงพอใจในผลงาน การศึกษานี้ สะท้อนให้เห็นว่าบริบทการบริหารสัญญามหาวิทยาลัยของรัฐควรมีการแนวทางในการแก้ไขปัญหา อย่างมีประสิทธิภาพ
พรชัย หิรัญกุล (2562) ได้ศึกษา ปัจจัยที่มีผลต่อการประมูลงานก่อสร้างอาคารใน มุมมองผู้รับเหมา ได้ให้ความเห็นไว้ว่า ในการก่อสร้างแบบรูปรายการมีนัยสําคัญมากกับสัญญางาน ก่อสร้างและมีผลต่อกําไรขาดทุนของผู้รับเหมา ซึ่งผู้รับเหมาต้องทําความเข้าใจกับแบบรูปรายการ ก่อนการเสนองาน โดยได้สัมภาษณ์ข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์มากกว่า 10 ปี จํานวน 18 ราย จนได้สาเหตุปัญหาที่แท้จริง พบว่า ปัญหาด้านแบบรูปรายการและเอกสารการประมูล ปัญหา ด้านกลุ่มพนักงาน ปัญหาด้านผู้บริหาร ปัญหาด้านของบริษัทผู้รับเหมา และปัญหาด้านเจ้าของ โครงการ โดยเห็นว่าปัญหาด้านแบบรูปรายการผู้รับจ้างต้องทําความเข้าใจก่อนการเสนองานและ พิจารณาว่ามีเงื่อนไขข้อใดบ้างที่เจ้าของโครงการกําหนดไว้ไม่เป็นธรรม ควรให้มีการเจรจาปรับแก้ไข ให้เหมาะสมและยอมรับได้ทั้งสองฝ่าย โดยเงื่อนไขที่กําหนดควรเป็นตามมาตรฐานของโครงการ ก่อสร้างทั่วไป แสดงให้เห็นว่า ปัญหาด้านแบบรูปรายการมีความสําคัญในการก่อสร้างเป็นอย่างมาก หากมีความคลาดเคลื่อนของแบบรูปรายการจะต้องมีการแก้ไขสัญญาเกิดขึ้นเพื่อให้สามารถ ดําเนินงานก่อสร้างไปได้ตามแบบรูปรายการที่ถูกต้อง และตรวจรับมอบงานได้ของหน่วยงาน
จิรเดช เศรษฐกัมพู และนาถ สุขศีล (2562) ได้ศึกษา สาเหตุความล่าช้าในโครงการ ก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ ไว้ว่า ปัญหางานก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่พบว่า หมวดงานโครงสร้างเป็น งานที่ส่งผลกระทบต่อความล่าช้ามากที่สุด โดยสาเหตุแรกที่ถูกกล่าวอยู่ในความล่าช้าที่อ้างไม่ได้เลย คือ การวางแผนงานก่อสร้างและการประสานงานที่ไม่เหมาะสม การเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญางาน ก่อสร้าง เช่น งานเพิ่ม ลด โดยผลการวิจัยนี้ ผู้บริหารโครงการสามารถนําข้อมูลที่ได้ไปช่วยในการ ตัดสินใจสําหรับการวางแผนงานการทํางาน เพื่องานก่อสร้างที่ได้ประสิทธิผล
2.7.2 งานวิจัยต่างประเทศ
Phatsaphan Charnwasununth (2012) ได้ศึกษา การบริหารและจัดการข้อมูล สารสนเทศโดยกระบวนการอัตโนมัติ เพื่อลดความต้องการความรู้ ได้ให้ความเห็นไว้ว่า ความต้องการ ความรู้และทักษะในงานก่อสร้างขึ้นอยู่กับรายละเอียดขั้นตอนการดําเนินงาน และบทบาทและหน้าที่ ของบุคลากร เมื่อนําระบบบริหารจัดการข้อมูลและสารสนเทศมาพัฒนาเพื่อเข้าถึงทรัพยากรโดย อัตโนมัติ รวมทั้งประมวลผลจากสภาพการทํางานจริงที่เกิดขึ้น ส่งผลให้ความต้องการความรู้และ ทักษะของบุคลากรลดลง และความต้องการความรู้และทักษะของบุคลากรลดลงส่งผลต่อระยะเวลา
การดําเนินงานมากขึ้น ดังนั้น การลดความต้องการความรู้และทักษะของบุคลากรจึงเป็นสิ่งสําคัญต่อ การเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน เพิ่มจํานวนของบุคลากรที่มีคุณสมบัติในการทํางาน และเพิ่มโอกาส ในการจัดหาบุคลากรเพื่อตอบสนองความต้องการของอุตสาหกรรมก่อสร้าง งานวิจัยนี้จึงมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการบริหารจัดการข้อมูลและสารสนเทศโดยกระบวนการอัตโนมัติ เพื่อลดความต้องการความรู้และทักษะในงานก่อสร้าง โดยใช้การติดตั้งชิ้นส่วนคอนกรีตสําเร็จรูปใน โครงการก่อสร้างบ้านพักอาศัยเป็นกรณีศึกษา ความต้องการความรู้และทักษะในงานก่อสร้างขึ้นอยู่ กับรายละเอียดขั้นตอนการดําเนินงาน และบทบาทและหน้าที่ของบุคลากร นอกจากนี้ความต้องการ ความรู้และทักษะจะเพิ่มขึ้นเพื่อรับรู้และดําเนินการแก้ไขเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการทํางานที่แตกต่าง จากที่วางแผนไว้ และเมื่อมีข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นก่อนและขณะดําเนินงานก่อสร้าง ดังนั้น การบริหาร จัดการข้อมูลและสารสนเทศอัตโนมัติ โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศร่วมกับระบบการ ชี้เฉพาะด้วยคลื่นความถี่วิทยุ จึงถูกนําเสนอในงานวิจัยนี้ ระบบการบริหารจัดการข้อมูลและ สารสนเทศอัตโนมัติถูกพัฒนาขึ้นจากบทบาทหน้าที่ของบุคลากรและขั้นตอนหลักในการติดตั้งชิ้นส่วน คอนกรีตสําเร็จรูปทั้งสามขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการตรวจนับชิ้นส่วน ขั้นตอนการตัดสินใจในการ ดําเนินการติดตั้งชิ้นส่วน และขั้นตอนการติดตั้งชิ้นส่วน นอกจากนี้ ระบบยังถูกพัฒนาให้ครอบคลุม ขั้นตอนเสริมอันได้แก่ ขั้นตอนการตรวจนับทรัพยากรที่มีอยู่ ขั้นตอนการเปรียบเทียบทรัพยากรที่มีอยู่ และทรัพยากรที่ต้องการสําหรับการติดตั้งชิ้นส่วน ขั้นตอนการพิจารณาตําแหน่งการทํางานของ เครื่องจักร และขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพการติดตั้งชิ้นส่วน ระบบดังกล่าวสนับสนุนบุคลากรใน การเก็บข้อมูล การเข้าถึงสารสนเทศ และการจัดการข้อมูลและสารสนเทศโดยอัตโนมัติ รวมทั้ง ประมวลผลจากสภาพการทํางานที่เกิดขึ้นจริง ณ ปัจจุบันของการก่อสร้าง จากกระบวนการดังกล่าว ทําให้บุคลากรสามารถรับรู้สภาพการทํางานที่เกิดขึ้นจริง และดําเนินการตามข้อมูลสารสนเทศที่ได้รับ ที่นําเสนอในรูปแบบของภาพ ส่งผลให้ความต้องการความรู้และทักษะของบุคลากรลดลง นอกจากนี้ ความต้องการความรู้และทักษะของบุคลากรยังลดลงจากการลดขั้นตอนการทํางานโดยกระบวนการ อัตโนมัติที่พัฒนาขึ้น ซึ่งส่งผลต่อระยะเวลาและคุณภาพของการดําเนินงาน
Nur Soleha Binti Abdul Rahim (2012) ได้ ศึ กษ า ก า รพั ฒ น าแผ น กล ยุ ท ธ์ ต่างประเทศสําหรับผู้รับเหมาก่อสร้างมาเลเซีย ให้ความเห็นไว้ว่า การก่อสร้างระหว่างประเทศไม่ใช่ เรื่องง่ายสําหรับประเทศมาเลเซีย กลยุทธ์ที่เข้มแข็งและเหมาะสมเป็นสิ่งที่จําเป็นต่อการประสบ ความสําเร็จในการก่อสร้างต่างประเทศจึงเริ่มต้นจากการทบทวนจุดแข็งและจุดอ่อน รวมทั้งโอกาส และภัยคุกคาม ของผู้รับเหมาจากประเทศมาเลเซีย ซึ่งพบว่าจุดแข็งหลักของผู้รับเหมาคือการมี ประวัติผลงานเดิมที่ดี ในขณะที่แรงงานให้ผลผลิตต่ําเป็นจุดอ่อนหลัก ดังนั้น ผู้รับเหมาจําเป็นต้อง เตรียมตัวให้ดีก่อนที่จะเข้าร่วมโครงการก่อสร้างระหว่างประเทศเพื่อให้แน่ใจว่าโครงการก่อสร้างจะ ประสบความสําเร็จ การก่อสร้างระหว่างประเทศทําให้เกิดโอกาสสําหรับผู้รับเหมาจากประเทศ
มาเลเซียในการมีส่วนร่วมกับโครงการในต่างประเทศ อย่างไรก็ตามการก่อสร้างในต่างประเทศมิใช่ เรื่องง่ายสําหรับผู้รับเหมาของประเทศมาเลเซีย โดยกลยุทธ์ที่เข้มแข็งและเหมาะสมเป็นสิ่งที่มีความ จําเป็นต่อการประสบความสําเร็จในการก่อสร้างต่างประเทศ ดังนั้นงานวิจัยจึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อเสนอ แผนกลยุทธ์ที่เป็นไปได้สําหรับผู้รับเหมาของประเทศมาเลเซียในการดําเนินงานโครงการก่อสร้างใน ต่างประเทศ งานวิจัยเริ่มต้นจากการทบทวนจุดแข็งและจุดอ่อน รวมทั้งโอกาสและภัยคุกคาม (Strength, Weakness, Opportunity, Threat : SWOT) ของผู้รับเหมาจากประเทศมาเลเซียที่มี ประสบการณ์ในการดําเนินงานโครงการระหว่างประเทศ วิธีการศึกษาในงานวิจัยนี้ใช้เทคนิคการ สัมภาษณ์แบบเชิงลึกกับกรณีศึกษาของบริษัทที่มีประสบการณ์ในการก่อสร้างระหว่างประเทศ จากนั้นงานวิจัยทําการสํารวจด้วยแบบสอบถามและการอภิปรายแบบโต๊ะกลมกับหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนในประเทศมาเลเซีย ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าจุดแข็งหลักของบริษัทจากประเทศมาเลเซีย คือการมีประวัติผลงานเดิมที่ดี ในขณะที่แรงงานให้ผลผลิตต่ําเป็นจุดอ่อนหลัก นอกจากนี้การขยายตัว ของเศรษฐกิจในประเทศที่กําลังพัฒนาเป็นการเพิ่มโอกาสในการเข้าร่วมโครงการในต่างประเทศ อย่างไรก็ตามการคอรัปชั่นในประเทศเจ้าของโครงการเป็นสิ่งที่ส่งผลกระทบต่อการเข้าไปมีส่วนร่วมใน โครงการต่างประเทศ ดังนั้นผู้รับเหมาจําเป็นจะต้องเตรียมตัวให้ดีก่อนที่จะเข้าร่วมโครงการก่อสร้าง ระหว่างประเทศเพื่อให้แน่ใจว่าโครงการจะประสบความสําเร็จ นอกจากนี้งานวิจัยเสนอแนะกลยุทธ์ เช่น การรวมตัวกับบริษัทท้องถิ่นในรูปแบบกิจการร่วมค้า การรับสมัครวิศวกรที่มาจากประเทศ เจ้าของงานเพื่อมาทํางานให้กับบริษัทมาเลเซีย และการทบทวนสภาพการเงินของบริษัทลูกค้า
Ehab Soliman (2012) ได้ศึกษา สาเหตุความล่าช้าโครงการก่อสร้างและผลกระทบ ทางอุตสาหกรรม ให้ความเห็นไว้ว่า โครงการก่อสร้างมักเผชิญปัญหาความล่าช้า ซึ่งเป็นปัญหาทั่วโลก ที่ประสบและมีการศึกษางานวิจัยจํานวนมากเพื่อที่จะชะลอสาเหตุของปัญหาความล่าช้า โดยได้ วิเคราะห์ปัจจัยความล่าช้าไว้ 3 ประการ ได้แก่ ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านสัญญา และปัจจัย ด้านเทคนิค มีผลอย่างมากต่อความล่าช้างานก่อสร้าง สาเหตุของความล่าช้าเหล่านี้เกิดจากการขาด แคลนวัสดุ การขาดแคลนแรงงาน และจากผู้ผลิต การจัดการโครงการก่อสร้างระหว่างประเทศ ระดับ ของประสิทธิภาพการสื่อสารระหว่างสมาชิกโครงการมีความสําคัญมากและมีผลต่อเวลาของโครงการ บทความนี้ศึกษาผลของปัญหาการสื่อสารที่อาจนําไปสู่ความล่าช้าของโครงการ แบบสอบถามปัญหา การสื่อสารที่กําหนดไว้ล่วงหน้า 19 ข้อถูกแจกจ่ายให้กับผู้เข้าร่วมที่ได้รับการคัดเลือกซึ่งกําลังทํางา น ในไซต์โครงการสวัสดิการสังคมสงเคราะห์ (PAHW) ในคูเวต PAHW เป็นหนึ่งในองค์กรภาครัฐที่ใหญ่ ที่สุดในคูเวตซึ่งรับผิดชอบการจัดหาที่อยู่อาศัยให้กับชาวคูเวต แบบสอบถามถูกแจกจ่ายไปยังสองกลุ่ม หลัก: ผู้รับเหมาและเจ้าหน้าที่ดูแลลูกค้า ดัชนีความรุนแรงถูกใช้เพื่อจัดลําดับ ปัญหาการสื่อสาร การสํารวจทําให้เกิดปัญหาห้าประการซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อความล่าช้าของโครงการ ปัญหา เหล่านี้รวมถึงการใช้งานระบบเติมแบบเก่าแทนการใช้งานใหม่, การขาดการประชุมไซต์ความคืบหน้า,
ภาพวาดที่มีคุณภาพไม่ดี, เอกสาร, ความล่าช้าของผู้รับเหมาในการเตรียมตาราง, เช่นเดียวกับ ภาพวาด, ข้อมูลที่ต้องการ บุคลากร การศึกษาเน้นประเด็นที่ควรได้รับการปรับปรุงเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพเวลาของโครงการตามกระบวนการปรับปรุงการสื่อสาร
David Finnie and Noushad Ali Naseem Ameer Ali (2015) ได้ศึกษาการแก้ไข สัญญาการก่อสร้างของนิวซีแลนด์ พบว่าวิธีการระงับข้อพิพาทในการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างที่ ประสบผลสําเร็จมากที่สุดคือ การคํานึงถึงสิทธิและหน้าที่ของทั้งสองฝ่ายระหว่างผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้าง ที่ควรมีความเสมอภาค ขอบเขตของสัญญาที่ชัดเจน ระยะเวลาก่อสร้างที่เหมาะสม รวมถึงผลงานการ ออกแบบที่เป็นมืออาชีพ
จากการทบทวนวรรณกรรม พบว่า ปัญหาที่เกิดระหว่างการก่อสร้างเกิดจากปัจจัยที่สําคัญ ได้แก่ ตําแหน่งหน้าที่ การเงิน ประสบการณ์ทํางานและแรงงาน รูปแบบรายการและวัสดุ การจัดการ คุณภาพ ความปลอดภัยระยะเวลาขอบเขต ไม่ชัดเจนราคากลาง ประเภทงาน และขนาดโครงการ แสดงดังตารางที่ 7
ตารางที่ 7 ปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาการบริหารงานก่อสร้าง
ตําแหน่งหน้าที่ | การเงิน | ประสบการณ์,แรงงงาน | รูปแบบรายการ,เอกสาร | วัสดุ | การจัดการ | คุณภาพ, ความปลอดภัย | ระยะเวลา | ราคากลาง | ประเภทงาน | ขนาดโครงการ | |
ประวุฒิ วีระนนทกิจ และคณะ (2552) | / | / | / | / | |||||||
สมัคร ตนโลห์ และคณะ (2552) | / | / | / | / | |||||||
เสกสรร ตีงี (2552) | / | / | / | / | / | ||||||
วุฒิ ไชยพงศ์ (2553) | / | / | / | / | |||||||
วชรภูมิ เบญจโอฬาร (2554) | / | / | / | / | / | ||||||
อนุพงษ์ รักไพฑูรย์ และคณะ (2555) | / | / | / | / | / | / | / | ||||
ตารางที่ 7 (ต่อ)
ตําแหน่งหน้าที่ | การเงิน | ประสบการณ์,แรงงงาน | รูปแบบรายการ,เอกสาร | วัสดุ | การจัดการ | คุณภาพ, ความปลอดภัย | ระยะเวลา | ราคากลาง | ประเภทงาน | ขนาดโครงการ | |
ปรีชา อินสาลี (2556) | / | / | |||||||||
นิติกรณ์ แนมจันทร์ (2557) | / | / | |||||||||
วรวิทย์ สวัสดิ์พูน (2557) | / | ||||||||||
ทวีวุฒิ นามศิริ และคณะ(2558) | / | / | / | / | |||||||
รสิกา กาญจนะ และคณะ(2561) | / | / | / | / | |||||||
ญาณวรรธน์ ชุ่มท้วม และคณะ (2560) | / | / | / | ||||||||
พรชัย หิริญกุล (2562) | / | / | / | ||||||||
จิรเดช เศรษฐกัมพู นาถ สุขศีล (2562) | / | / | / | / | |||||||
Phatsaphan C. (2012) | / | / | |||||||||
Nur Soleha (2012) | / | / | |||||||||
Soliman (2017) | / | / | |||||||||
David Finnie and Noushad Ail Naseem Ameer Ail (2556) | / | / | / | ||||||||
รวม | 14 | 9 | 6 | 8 | 5 | 4 | 3 | 6 | 2 | 2 | 2 |
จากตารางที่ 7 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการโครงการที่มีรายงานการใช้ปัจจัยดังกล่าว ที่มากที่สุดโดยเรียงลําดับจากมากไปหาน้อย 4 อันดับแรก ได้แก่ ตําแหน่งหน้าที่ การเงิน รูปแบบ รายการและวัสดุ ประสบการณ์การทํางาน โดยปัจจัยส่วนบุคคลประกอบด้วย ตําแหน่งหน้าที่และ ประสบการณ์การทํางาน ขณะที่ปัจจัยทางด้านแรงงานเป็นปัจจัยที่เกิดจากผู้รับจ้างซึ่งไม่เกี่ยวข้องเป็น เหตุให้มีการแก้ไขสัญญาก่อสร้าง ดังนั้น ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารโครงการ ประกอบด้วย ตําแหน่ง หน้าที่ ประสบการณ์การทํางาน การเงิน รูปแบบรายการและวัสดุ แต่อย่างไรก็ตาม ตามหลัก วิศวกรรมแล้วรูปแบบรายการและวัสดุมีความสัมพันธ์และสอดคล้องกันส่งผลให้รวมเป็นปัจจัย เดียวกัน ดังภาพประกอบที่ 3
1. ตํำแหน่งหน้ำที่
2. ประสบกำรณ์กำรทํำงำน
3. กำรเงิน
4. รูปแบบรำยกำรและวัสดุ
การเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้าง
ด้ำนกำรบริหำรบุคคล ด้ำนกำรบริหำรงบประมำณ ด้ำนกำรบริหำรวัสดุ ด้ำนกำรจัดกำรโครงกำร
ภาพที่ 3 กรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษา ปัญหาการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
จากภาพประกอบที่ 3 แสดงกรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาปัญหาการแก้ไขสัญญา ระหว่างการก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคามซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยด้านตําแหน่ง หน้าที่ ประสบการณ์การทํางาน การเงิน และรูปแบบรายการและวัสดุ ซึ่งปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ได้จาก การสังเคราะห์จากผลการวิจัยของงานวิจัยและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 3 วิธีดําเนินการศึกษา
งานวิจัยฉบับนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมีวิธีวิจัยในรูปแบบ ของการสํารวจ (Survey Research) ซึ่งการเก็บข้อมูลจะใช้เครื่องมือที่เรียกว่า แบบสอบถาม (Questionnaire) กอปรการใช้โปรแกรมสําเร็จรูป เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติที่ได้จากการเก็บรวบรวม ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง โดยผู้วิจัยได้ทําการศึกษาวิธีการวิจัยตามลําดับขั้นตอน ดังนี้
3.1 ประชากรกลุ่มตัวอย่าง
3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3.3 การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
3.5 การจัดกระทํากับข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
3.6 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
3.1 ประชากรกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย (Population Sample) ในครั้งนี้ คือ กลุ่มบุคคลที่ เกี่ยวข้องกับโครงการก่อสร้างภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ดําเนินการก่อสร้างในปีงบประมาณ 2550 – 2560 จํานวน 50 โครงการ โดยการสุ่มแบบเจาะจงโครงการที่มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข สัญญาเท่านั้น จํานวน 20 โครงการ รวมทั้งสิ้น จํานวน 202 คน ประกอบด้วย
ตารางที่ 8 จํานวนประชากรกลุ่มตัวอย่างและผู้ตอบแบบสอบถามของโครงการก่อสร้างภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ประเภทของกลุ่มตัวอย่ำง | จํำนวนประชำกร กลุ่มตัวอย่ำง | จํำนวนผู้ตอบ แบบสอบถำม (คน) | |
1. | เจ้ำหน้ำที่พัสดุภำยในมหำวิทยำลัยมหำสำรคำม | 120 | 120 |
2. | กรรมกำรตรวจกำรจ้ำง/กรรมกำรตรวจรับพัสดุภำยใน มหำวิทยำลัยมหำสำรคำม | 30 | 30 |
3. | ผู้ควบคุมงำนก่อสร้ำงภำยในมหำวิทยำลัยมหำสำรคำม | 7 | 7 |
ตำรำงที่ 7 (ต่อ)
ประเภทของกลุ่มตัวอย่ำง | จํำนวน ประชำกรกลุ่ม ตัวอย่ำง | จํำนวนผู้ตอบ แบบสอบถำม (คน) | |
4. | ผู้รับจ้ำงที่เป็นคู่สัญญำจ้ำงกับมหำวิทยำลัย มหำสำรคำม | 20 | 20 |
5. | ผู้ควบคุมงำนเอกชน (บริษัทที่ปรึกษำควบคุมงำน) ที่เป็นคู่สัญญำจ้ำงกับหำวิทยำลัยมหำสำรคำม | 25 | 25 |
รวม | 202 | 202 |
3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งสร้างตาม วัตถุประสงค์และกรอบแนวคิดที่กําหนดขึ้น โดยการเก็บข้อมูลนั้นจะอยู่ในรูปแบบของงานวิจัยเชิง ปริมาณ (Quantitative Research) ซึ่งรายละเอียดในแบบสอบถามจะแบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 คือ ข้อมูลทั่วไปของแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ตําแหน่ง หน้าที่ ประสบการณ์การทํางาน งบประมาณแต่ละโครงการ รูปแบบโครงการและวัสดุ เป็นลักษณะ การตรวจสอบข้อมูลของแต่ละโครงการ จํานวน 8 ข้อ โดยใช้วิธีการประมวลผลทางหลักสถิติเชิง พรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage)
ตอนที่ 2 คือ ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการแก้ไขสัญญางานก่อสร้าง ได้แก่ ปัญหา ด้านการบริหารบุคคล ปัญหาด้านงบประมาณการก่อสร้าง ปัญหาด้านการบริหารวัสดุ และปัญหาด้าน จัดการโครงการ เป็นลักษณะการตรวจสอบข้อมูลปัญหาที่มีผลต่อการก่อสร้าง จํานวน 26 ข้อ โดยใช้ วิธีการประมวลผลทางหลักสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean)
3.3 การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ดําเนินการสร้างเครื่องมือ ตามลําดับดังนี้
3.3.1 ศึกษาข้อมูลจากเอกสารตํารา แนวคิด ทฤษฎี ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์คุณลักษณะ ขอบเขต และจุดประสงค์ของแบบสอบถามเพื่อใช้เป็น แนวทางในการสร้างกรอบแนวคิดและขอบเขตของแบบสอบถาม
3.3.2 จัดทําแบบสอบถามตามข้อกําหนดขอบเขตแบบสอบถาม โดยแบบสอบถามที่ สร้างขึ้นมาจะต้องมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ นิยามศัพท์ และกลุ่มตัวอย่าง
3.3.3 นําแบบสอบถามที่สร้างขึ้นตามกรอบแนวคิด เสนอให้อาจารย์ที่ปรึกษาการ ค้นคว้าอิสระตรวจสอบเพื่อพิจารณาความเหมาะสม ความถูกต้องของข้อมูล ให้ครบถ้วน ตลอดจน การเรียบเรียงภาษาและเนื้อหาของงานวิจัยเพื่อนํามาปรับปรุงแก้ไขตามคําแนะนําของอาจารย์ที่ ปรึกษา
3.3.4 ผู้วิจัยนําแบบสอบถามที่สร้างขึ้น เสนอให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเที่ยงตรง ด้านเนื้อหา (Content Validity) แล้วทําการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ นําเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและครอบคลุมเนื้อหาของการวิจัย ผู้เชี่ยวชาญ ประกอบด้วย
3.3.4.1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีระวัฒน์ เจริญราษฎร์
3.3.4.2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิติพงษ์ ส่งศรีโรจน์
3.3.4.3 อาจารย์ ดร.พีระวัฒน์ ไชยล้อม
3.3.4.4 อาจารย์ ดร.พงศธร ตันตระบัณฑิตย์
3.3.4.5 อาจารย์ ดร.การันต์ กิจระการ
3.3.5 ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ แล้วนําเสนอให้อาจารย์ที่ปรึกษา การค้นคว้าอิสระพิจารณาอีกครั้ง
3.3.6 ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
3.3.6.1 นําแบบสอบถามที่ดําเนินการแก้ไขตามคําเสนอแนะขอผู้เชี่ยวชาญไป ทดสอบใช้ โดยจัดทําการหาค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม โดยการหาค่า IOC (The Index of Item Objective Congruence) เพื่อวัดความเที่ยงตรงของเนื้อหาหรือความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม จํานวน 30 คนแรก กับผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหาสารคามและฝ่ายตรวจสอบ
3.3.6.2 การหาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือ (Reliability Test) ของแบบสอบถาม โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาเป็นรายด้าน (Alpha Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach) โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาซึ่งหมายถึงปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างรายด้าน อยู่ระหว่าง 0.830 - 0.939 (ตาราง 20 ภาคผนวก ค) และมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาโดยรวม 0.948
ค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือที่มีค่าเกิน 0.80 เป็นค่าที่ยอมรับได้ แสดงให้เห็นว่า แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่มีคุณภาพสามารถนํามาใช้ในการเก็บข้อมูลเพื่อทําการวิจัยในครั้งนี้ได้
3.3.7 นําผลที่ได้จากการตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามนําเสนอให้อาจารย์ที่ ปรึกษาการค้นคว้าอิสระอีกครั้งเพื่อปรับปรุงแก้ไขตามคําแนะนํา และเริ่มดําเนินการจัดทําเป็นฉบับ สมบูรณ์เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างในลําดับถัดไป
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยได้ดําเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามขั้นตอนและวิธีการดังนี้
3.4.1 ดําเนินการจัดทําแบบสอบถามตามจํานวนประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย พร้อมกับตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน และสมบูรณ์ของเอกสารเพื่อจัดส่งไปรษณีย์
3.4.2 จัดทําหนังสือขออนุญาตจากคณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม โดยแนบพร้อมกับแบบสอบถามส่งไปยังประชากรกลุ่มตัวอย่าง เพื่อขอความร่วมมือใน การตอบแบบสอบถาม ได้แก่ บริษัทเอกชนที่เป็นคู่สัญญากับมหาวิทยาลัยมหาสารคามและเจ้าหน้าที่ พัสดุ หรือที่เกี่ยวข้องกับโครงการก่อสร้าง
3.4.3 ดําเนินการแจกแบบสอบถาม ถึงประชากรกลุ่มตัวอย่าง เริ่มตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎาคม 2564 และเนื่องจากสถานการ์แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) เพื่อความ ปลอดภัยและป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส ผู้วิจัยได้ส่งแบบสอบถามผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ (Google form) โดยส่งให้กับกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด จํานวน 202 ราย โดยขอความอนุเคราะห์ให้ตอบ กลับมาภายใน 10 วัน
3.4.4 เมื่อครบกําหนดระยะเวลา 10 วัน ปรากฏว่าได้รับข้อมูลการตอบแบบสอบถามมา จํานวน 105 ราย จึงได้สอบถามไปยังกลุ่มตัวอย่างและส่งข้อมูลแบบสอบถามใหม่ และหลังจากวันที่ 31 สิงหาคม 2564 จึงได้ข้อมูลการตอบแบบสอบถามกลับมาครบถ้วน จํานวน 202 ราย คิดเป็น ร้อยละ 100 ของร้อยละกลุ่มตัวอย่าง รวมระยะเวลาในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล จํานวน 46 วัน
3.4.5 ดําเนินการตรวจสอบความถูกต้องจากแบบสอบถามที่ได้รับการตอบกลับทั้ง 202 ฉบับ จากนั้นเปรียบเทียบกับจํานวนที่ส่งกลุ่มตัวอย่าง
3.5 การจัดกระทําและการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ ข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบสอบถามด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สําเร็จรูป ดังนี้ ตอนที่ 1 เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามและข้อมูลเกี่ยวกับ
ธุรกิจโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) โดยนําข้อมูลที่รวบรวมได้มาวิเคราะห์หาค่า ทางสถิติซึ่งประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage)
ส่วนที่ 2 เป็นการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับความสําคัญของปัจจัย ต่างๆ ที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้าง ข้อมูลที่ได้นํามาวิเคราะห์ โดยการแจกแจงสถิติเชิง พรรณนา(Descriptive Statistics) ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) นําเสนอในรูปแบบของตารางควบคู่กับการสรุปผลการวิจัย โดยกําหนดให้คะแนนคําตอบของ แบบสอบถามแบ่งระดับความเห็นออกเป็น 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ซึ่งกําหนดผู้ตอบเลือกตอบได้คําตอบเดียว ซึ่งมีเกณฑ์ในการให้คะแนน (ธนพร บุญประสงค์, 2555) ดังนี้
5 | หมายถึง | มีระดับความพึงพอใจมากที่สุด |
4 | หมายถึง | มีระดับความพึงพอใจมาก |
3 | หมายถึง | มีระดับความพึงพอใจปานกลาง |
2 | หมายถึง | มีระดับความพึงพอใจน้อย |
1 | หมายถึง | มีระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด |
โดยมีเกณฑ์คะแนนของค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจของลูกค้าผู้ใช้บริการ เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของเอไอเอส (ธนพร บุญประสงค์, 2555) ดังนี้
ค่าคะแนนเฉลี่ย | ระดับความพึงพอใจ | |
4.51-5.00 | หมายถึง | มากที่สุด |
3.51-4.50 | หมายถึง | มาก |
2.51-3.50 | หมายถึง | ปานกลาง |
1.51-2.50 | หมายถึง | น้อย |
1.00-1.50 | หมายถึง | น้อยที่สุด |
3.6 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
3.6.1 สถิติพื้นฐาน ได้แก่
3.6.1.1 ร้อยละ (Percentage)
3.6.1.2 ค่าเฉลี่ย (Mean)
3.6.1.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
3.6.2 สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม
3.6.2.1 การหาค่าอํานาจจําแนกของแบบสอบถามเป็นรายข้อ (Discrimination Power) โดยใช้ Item-total C โดยใช้ Item - total Correlation
3.6.2.2 การหาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือ (Reliability Test) โดยใช้วิธีหาค่า สัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ตามวิธีของ Cronbach
3.6.2.3 การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างระหว่างตัวแปรอิสระ (Multicollinearity Test) โดยใช้ Variance Inflation Factor (VIFs)
3.6.3 สถิติพื้นฐานใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน
3.6.3.1 t-test
3.6.3.2 F-test (ANOVA และ MANOVA)
บทที่ 4 ผลการววิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย เรื่อง ปัญหาการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้างโครงการ ภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้วิจัยได้นําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามลําดับดังต่อไปนี้
4.1 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการนําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
4.2 ลําดับขั้นตอนในการนําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
4.1 สัญลักษณ์ในการนําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อให้การนําเสนอข้อมูลเป็นที่เข้าใจตรงกันในการแปลความหมาย ผู้วิจัยได้กําหนด สัญลักษณ์ที่ใช้ในการนําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้
x แทน ค่าเฉลี่ย (Mean)
S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
F แทน ค่าสถิติทดสอบที่ใช้พิจารณาในการแจกแจงแบบ F-distribution SS แทน ผลรวมของคะแนนเบี่ยงเบนกําลังสอง (Sum of Squares)
MS แทน ค่าเฉลี่ยผลรวมของคะแนนเบี่ยงเบนกําลังสอง (Mean Squares) df แทน ระดับชั้นของความเป็นอิสระ (Degrees of Freedom)
p-value แทน ระดับนัยสําคัญทางสถิติ (Significance)
VIFs แทน ค่าทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ (Variance Inflation Factors)
4.2 ลําดับขั้นตอนในการนําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยได้นําเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามลําดับต่อไปนี้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของเจ้าหน้าที่พัสดุ วิศวกร ผู้รับจ้าง คณะกรรมการตรวจการจ้างที่ เกี่ยวข้องกับโครงการก่อสร้างภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างภายใน โครงการก่อสร้างของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ตอนที่ 3 การวิเคราะห์ระดับความสําคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไข สัญญาก่อสร้างของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยการเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง แก้ไขสัญญาก่อสร้าง โครงการก่อสร้างของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของเจ้าหน้าที่พัสดุ วิศวกร ผู้รับจ้าง คณะกรรมการตรวจการจ้างที่ เกี่ยวข้องกับโครงการก่อสร้างภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษาประสบการณ์การทํางาน ตําแหน่งหน้าที่ งบประมาณก่อสร้างแต่ละโครงการ รูปแบบ รายการโครงการและวัสดุ แสดงดังตารางที่ 9
ตารางที่ 9 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม | จํานวน | ร้อยละ | ||
1 | เพศ | |||
ชาย | 84 | 41.6 | ||
หญิง | 118 | 58.4 | ||
รวม | 202 | 100 | ||
2 | อายุ | |||
น้อยกว่า 20 ปี | 19 | 9.4 | ||
20-30 ปี | 34 | 16.8 | ||
31-40 ปี | 62 | 30.7 | ||
41-50 ปี | 59 | 29.2 | ||
มากว่า 50 ปี | 28 | 13.9 | ||
รวม | 202 | 100 | ||
3 | สถานภาพ | |||
โสด | 68 | 33.7 | ||
สมรส | 92 | 45.5 | ||
ตารางที่ 9 (ต่อ)
ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม | จํานวน | ร้อยละ | |
หย่าร้าง | 42 | 20.8 | |
รวม | 202 | 100 | |
4 | ระดับการศึกษา | ||
ต่ํากว่าปริญญาตรี | 39 | 19.3 | |
ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า | 97 | 48 | |
สูงกว่าปริญญาตรี | 66 | 32.7 | |
รวม | 202 | 100 | |
5 | ประสบการณ์การทํางาน | ||
น้อยกว่า 1 ปี | 25 | 12.4 | |
1-5 ปี | 40 | 19.8 | |
6-10 ปี | 44 | 21.8 | |
มากว่า 10 ปี | 93 | 46 | |
รวม | 202 | 100 | |
6 | ตําแหน่งหน้าที่ | ||
เจ้าหน้าที่พัสดุ | 64 | 31.7 | |
ผู้ควบคุมงานของมหาวิทยาลัย | 19 | 9.4 | |
กรรมการตรวจการจ้าง | 38 | 18.8 | |
ผู้จัดการ | 18 | 8.9 | |
กรรมการผู้จัดการ | 16 | 7.9 | |
ผู้จัดการโครงการ | 14 | 6.9 | |
วิศวกร | 15 | 7.4 | |
อื่น | 18 | 8.9 | |
รวม | 202 | 100 | |
ตารางที่ 9 (ต่อ)
ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม | จํานวน | ร้อยละ | |
7 | งบประมาณก่อสร้างแต่ละโครงการ | ||
ต่ํากว่า 1,000,000 บาท | 32 | 15.8 | |
1,000,001 บาท - 10,000,000 บาท | 68 | 33.7 | |
10,000,001 บาท - 20,000,000 บาท | 41 | 20.3 | |
สูงกว่า 20,000,001 | 61 | 30.2 | |
รวม | 202 | 100 | |
8 | รูปแบบรายการโครงการและวัสดุ | ||
โครงการก่อสร้าง | 71 | 35.1 | |
โครงการปรับปรุง | 56 | 27.7 | |
โครงการต่อเติม/ดัดแปลง | 42 | 20.8 | |
โครงการรื้อถอน | 17 | 8.4 | |
อื่นๆ | 16 | 7.9 | |
รวม | 202 | 100 |
จากตารางที่ 9 พบว่า ประชากรส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง (ร้อยละ 58.4) อายุ 31– 40 ปี
(ร้อยละ 30.7) สภาพสมรส (ร้อยละ 45.5) ระดับการศึกษา ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า (ร้อยละ 48) รองลงมา สูงกว่าปริญญาตรี (ร้อยละ 32.7) ประสบการณ์การทํางาน มากกว่า 10 ปี (ร้อยละ 46) รองลงมา 6-10 ปี ตําแหน่งหน้าที่ส่วนมาก เจ้าหน้าที่พัสดุ (ร้อยละ 31.7) รองลงมา กรรมการตรวจ การจ้าง (ร้อยละ 18.8) งบประมาณก่อสร้างแต่ละโครงการ ส่วนใหญ่ คือ โครงการ 1,000,001 บาท ถึง 10,000,000 บาท (ร้อยละ 33.7) รองลงมาคือ โครงการสูงกว่า 20,000,001 บาท (ร้อยละ 30.2) รูปแบบรายการโครงการและวัสดุ ส่วนมากคือ โครงการก่อสร้าง (ร้อยละ 35.1) รองลงมา โครงการ ปรับปรุง (ร้อยละ 8.4)
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างระหว่างโครงการภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นรายด้านของผู้ตอบแบบสอบถาม แสดงดัง ตารางที่ 10-13
ตารางที่ 10 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาที่ทําให้เกิดการแก้ไขสัญญางานก่อสร้าง เป็นรายด้านของ ผู้ตอบแบบสอบถาม
ปัญหำกำรแก้ไขสัญญำงำนก่อสร้ำง | x̅ | S.D | ระดับควำม คิดเห็น |
1. ด้ำนกำรบริหำรบุคคล | 2.94 | .704 | ปำนกลำง |
2. ด้ำนกำรบริหำรงบประมำณ | 3.13 | .743 | ปำนกลำง |
3. ด้ำนกำรบริหำรวัสดุ | 3.09 | .622 | ปำนกลำง |
4. ด้ำนกำรจัดกำรโครงกำร | 3.61 | .451 | มำก |
โดยรวม | 3.19 | .417 | ปำนกลำง |
จากตารางที่ 10 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาที่ก่อให้เกิด การแก้ไขสัญญางานโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคามโดยรวม อยู่ระดับปานกลาง ( x̅ =3.19) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ปัญหาด้านการจัดการโครงการ คือแบบรูปรายการ งานก่อสร้าง อยู่ในระดับมาก ( x̅ =3.61) รองลงมาคือ ปัญหาด้านงบประมาณ ( x̅ =3.13) และ ปัญหาด้านการบริหารวัสดุ ( x̅ =3.09) ปัญหาด้านการบริหารบุคคล ( x̅ =2.94)
ตารางที่ 11 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัย มหาสารคาม ด้านการบริหารบุคคล
ด้ำนกำรบริหำรบุคคล | x̅ | S.D | ระดับควำม คิดเห็น |
1. ปัญหำขำดแคลนผู้ดํำเนินกำรก่อสร้ำงเฉพำะทำงตำม สัญญำกํำหนด (เช่น สถำปนิกหรือวิศวกร) | 2.70 | 1.254 | ปำนกลำง |
2. จํำนวนแรงงำนก่อสร้ำงไม่เพียงพอต่อขอบเขตงำน ก่อสร้ำงตำมสัญญำ | 2.94 | 1.230 | ปำนกลำง |
3. ผู้รับจ้ำงไม่มีประสบกำรณ์ในกำรทํำงำนมำกพอกับ กำรรับงำนก่อสร้ำง | 3.01 | 1.120 | ปำนกลำง |
4. มำตรฐำนด้ำนงำนฝีมือไม่เพียงพอระหว่ำงกำร ดํำเนินโครงกำร | 3.10 | 1.163 | ปำนกลำง |
โดยรวม | 2.94 | .704 | ปำนกลำง |
จากตารางที่ 11 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการแก้ไข สัญญางานก่อสร้าง ด้านบริหารบุคคล อยู่ระดับปานกลางทุกข้อ ( x̅ =2.94) โดยเรียงลําดับค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อย 3 ลําดับแรก ดังนี้ มาตรฐานด้านงานฝีมือไม่เพียงพอระหว่างการดําเนินโครงการ ( x̅ = 3.10) และผู้รับจ้างไม่มีประสบการณ์ในการทํางานมากพอกับการรับงานก่อสร้าง ( x̅ = 3.01) และจํานวนแรงงานก่อสร้างไม่เพียงพอต่อขอบเขตงานก่อสร้างตามสัญญา ( x̅ = 2.94)
ตารางที่ 12 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัย มหาสารคาม ด้านการบริหารงบประมาณ
ด้ำนกำรบริหำรงบประมำณ | x̅ | S.D | ระดับควำม คิดเห็น |
1. งบประมำณกำรก่อสร้ำงกับงวดงำนไม่เหมำะสม | 3.13 | 1.165 | ปำนกลำง |
2. กำรแบ่งงวดงำนกับขั้นตอนกำรก่อสร้ำงไม่สอดคล้องกัน | 3.15 | 1.221 | ปำนกลำง |
3. ผลงำนก่อสร้ำงไม่เป็นไปตำมแผนกำรใช้งบประมำณ | 3.03 | 1.154 | ปำนกลำง |
4. ขำดสภำพคล่องทำงกำรเงินจำกกำรเบิกงวดงำนไม่ได้ | 3.20 | 1.226 | ปำนกลำง |
โดยรวม | 3.13 | .743 | ปำนกลำง |
จากตารางที่ 12 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการแก้ไข สัญญางานก่อสร้าง ด้านการบริหารงบประมาณ อยู่ระดับปานกลางทุกข้อโดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ ( x̅ =3.13) ซึ่งเรียงลําดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 ลําดับแรก ดังนี้ ขาดสภาพคล่องทางการเงิน จากการเบิกงวดงานไม่ได้ ( x̅ =3.20) และการแบ่งงวดงานกับขั้นตอนการก่อสร้างไม่สอดคล้องกัน ( x̅ = 3.15) และงบประมาณการก่อสร้างกับงวดงานไม่เหมาะสม ( x̅ = 3.01)
ตารางที่ 13 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัย มหาสารคาม ด้านการบริหารวัสดุ
ด้ำนกำรบริหำรวัสดุ | x̅ | S.D | ระดับควำม คิดเห็น |
1. วัสดุที่ระบุตำมแบบมีจํำหน่ำยไม่เพียงพอหรือ ยกเลิกผลิต | 2.99 | 1.137 | ปำนกลำง |
2. กำรกํำหนดระยะเวลำภำยในสัญญำไม่เพียงพอในกำร จัดหำวัสดุ | 3.23 | 1.162 | ปำนกลำง |
3. มีกำรเปลี่ยนประเภทวัสดุระหว่ำงกำรก่อสร้ำง | 2.98 | 1.139 | ปำนกลำง |
4. กำรจัดหำเครื่องมือเครื่องจักร และเทคโนโลยีกำร ก่อสร้ำงไม่เพียงพอต่อปริมำณงำนก่อสร้ำงและไม่ทัน ต่อระยะเวลำก่อสร้ำง | 3.16 | 1.211 | ปำนกลำง |
5. กำรขนส่งวัสดุเข้ำพื้นที่ก่อสร้ำงไม่ได้หรือไม่ตรงเวลำ | 3.00 | 1.097 | ปำนกลำง |
6. กำรปรับขึ้นรำคำของวัสดุทํำให้ไม่สำมำรถควบคุม ต้นทุนได้ | 3.16 | 1.196 | ปำนกลำง |
7. วัสดุไม่ตรงตำมข้อกํำหนดหรือมำตรฐำน | 3.11 | 1.233 | ปำนกลำง |
โดยรวม | 3.09 | .622 | ปำนกลำง |
จากตารางที่ 13 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการแก้ไขสัญญา งานก่อสร้าง ด้านการบริหารวัสดุ อยู่ระดับปานกลางทุกข้อโดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ ( x̅ =3.09) ซึ่ง เรียงลําดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย 3 ลําดับแรก ดังนี้ การกําหนดระยะเวลาภายในสัญญาไม่ เพียงพอในการจัดหาวัสดุ ( x̅ =3.23) และการจัดหาเครื่องมือเครื่องจักร และเทคโนโลยีการก่อสร้าง ไม่เพียงพอต่อปริมาณงานก่อสร้างและไม่ทันต่อระยะเวลาก่อสร้าง ( x̅ = 3.16) และวัสดุไม่ตรงตาม ข้อกําหนดหรือมาตรฐาน ( x̅ = 3.01)
ตารางที่ 14 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัย มหาสารคาม ด้านการจัดการโครงการ
ด้ำนกำรจัดกำรโครงกำร | x̅ | S.D | ระดับควำม คิดเห็น |
1. มีกำรเปลี่ยนแปลงขอบเขตกำรทํำงำนระหว่ำงกำร ก่อสร้ำง | 3.30 | 1.202 | ปำนกลำง |
2. ปัจจัยจำกกำรสั่งหยุดงำน เพื่อแก้ไขผลกระทบ สิ่งแวดล้อม | 3.35 | 1.253 | ปำนกลำง |
3. มีกำรเปลี่ยนแปลงรำยกำรก่อสร้ำงหรือแก้ไขแบบรูป รำยกำร | 4.03 | .894 | มำก |
4. ข้อขัดแย้งของแบบรูปรำยกำรหรือแบบรูปรำยกำร ไม่ชัดเจน | 4.29 | .710 | มำก |
5. ข้อขัดแย้งขอบเขตของงำนไม่ชัดเจน และไม่ครบถ้วน | 4.27 | .733 | มำก |
6. แบบรูปรำยกำรล้ำสมัยไม่ตอบสนองควำมต้องกำร ผู้ใช้งำน | 3.54 | 1.061 | มำก |
7. ขำดควำมพร้อมในกำรปฏิบัติงำนของผู้รับจ้ำง | 3.61 | 1.027 | มำก |
8. กำรก่อสร้ำงไม่สำมำรถดํำเนินกำรตำมแผนที่วำงไว้ | 3.34 | 1.149 | ปำนกลำง |
9. มีกำรเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญำบ่อยครั้งจนแบบรูป รำยกำรเปลี่ยนแปลงจำกเดิมมำก | 3.37 | 1.195 | ปำนกลำง |
10. สภำพหน้ำงำนก่อสร้ำงจริงไม่ตรงกับแบบรูปรำยกำร ตำมสัญญำ | 3.45 | 1.146 | ปำนกลำง |
11. พื้นที่กำรก่อสร้ำงได้รับผลกระทบจำกปัจจัยภำยนอก เช่น ไม่สำมำรถส่งมอบพื้นที่ก่อสร้ำงให้ผู้รับจ้ำงได้ หรือพื้นที่ก่อสร้ำงทับซ้อนพื้นที่สำธำรณะอื่น | 3.16 | 1.154 | ปำนกลำง |
โดยรวม | 4.91 | .451 | ปำนกลำง |
จากตารางที่ 14 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการแก้ไข สัญญางานก่อสร้าง ด้านการจัดการโครงการ คือรูปแบบรายการงานก่อสร้าง อยู่ระดับมาก จํานวน 5 ข้อ โดยเรียงจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ข้อขัดแย้งของรูปแบบรายการหรือรูปแบบรายการไม่
ชัดเจน ( x̅ =4.29) ข้อขัดแย้งขอบเขตของงานไม่ชัดเจนและไม่ครบถ้วน ( x̅ =4.27) มีการ เปลี่ยนแปลงรายการก่อสร้างหรือแก้ไขรูปแบบรายการ ( x̅ =4.03) ขาดความพร้อมในการปฏิบัติงาน ของผู้รับจ้าง ( x̅ =3.61) และรูปแบบรายการล้าสมัยไม่ตอบสนองความต้องการผู้ใช้งาน ( x̅ =4.03) และอยู่ในระดับปานกลาง เรียงจากมากไปหาน้อย 3 ลําดับแรก ดังนี้ สภาพหน้างานก่อสร้างจริงไม่ ตรงกับรูปแบบรายการตามสัญญา ( x̅ =3.45) มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาบ่อยครั้งจนรูปแบบ รำยกำรเปลี่ยนแปลงจำกเดิมมำก ( x̅ =3.37) และปัจจัยจำกกำรสั่งหยุดงำนเพื่อแก้ไขผลกระทบ สิ่งแวดล้อม ( x̅ =3.35)
ตอนที่ 3 กำรวิเครำะห์ระดับควำมสํำคัญของปัจจัยที่มีผลต่อกำรเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญำ ก่อสร้ำงของมหำวิทยำลัยมหำสำรคำม
กำรวิเครำะห์ระดับควำมสํำคัญของปัจจัยที่มีผลต่อกำรเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญำก่อสร้ำง ของมหำวิทยำลัยมหำสำรคำม ประกอบด้วย
1. กำรเปรียบเทียบควำมคิดเห็นปัจจัยที่มีผลต่อกำรแก้ไขสัญญำงำนก่อสร้ำงระหว่ำง โครงกำรภำยในมหำวิทยำลัยมหำสำรคำม โดยรวมของผู้ตอบแบบสอบถำมที่มี ตํำแหน่งหน้ำที่ ประสบกำรณ์ทํำงำน กำรเงิน และรูปแบบรำยกำรและวัสดุที่แตกต่ำงกัน (ANOVA)
2. กำรเปรียบเทียบควำมคิดเห็นปัจจัยที่มีผลต่อกำรแก้ไขสัญญำงำนก่อสร้ำงระหว่ำง โครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยรวม ที่มีรูปแบบรายการและวัสดุที่แตกต่างกันของกลุ่ม ตัวอย่างเป็นรายคู่
3. การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้าง ระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นรายด้าน ของกลุ่มตัวอย่าง ที่มีรูปแบบรายการ และวัสดุแตกต่างกัน (MANOVA)
ตารางที่ 15 การเปรียบเทียบความคิดเห็นปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างระหว่าง โครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยรวมของผู้ตอบแบบสอบถาม ที่มีรูปแบบ รายการและวัสดุที่แตกต่างกัน (ANOVA)
ปัญหาที่มีผลต่อการ แก้ไขสัญญางานก่อสร้าง | แหล่งของ ความ แปรปรวน | df | SS | MS | F | P-value |
โดยรวม | ระหว่างกลุ่ม | 4 | 1.995 | .499 | 2.972 | .021* |
ภายในกลุ่ม | 197 | 33.066 | .168 | |||
รวม | 201 | 35.061 |
จากตารางที่ 15 เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางาน ก่อสร้างระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยรวมของผู้ตอบแบบสอบถาม ที่มี รูปแบบรายการและวัสดุที่แตกต่างกัน (ANOVA) พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยมี ผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างโดยรวม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 จึงได้ ทําการเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่
ตารางที่ 16 การเปรียบเทียบความคิดเห็นปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างระหว่าง โครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยรวม ที่มีรูปแบบรายการและวัสดุที่ แตกต่างกันของกลุ่มตัวอย่างเป็นรายคู่
รูปแบบรายการและวัสดุ | MD | SE | |
โครงการก่อสร้าง | โครงการปรับปรุง | -.11619 | .07322 |
โครงการต่อเติม/ดัดแปลง | -.16876 | .07975 | |
โครงการรื้อถอน | -.01928 | .11062 | |
อื่นๆ | -0.4892 | .11338 | |
โครงการปรับปรุง | โครงการต่อเติม/ดัดแปลง | .28495* | .08363 |
โครงการรื้อถอน | .09691 | .11345 | |
อื่นๆ | .06727 | .11614 | |
โครงการต่อเติม/ดัดแปลง | โครงการรื้อถอน | -.18804 | .11777 |
อื่นๆ | -.21768 | .12036 |
จากตารางที่ 16 เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางาน ก่อสร้างระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยรวม รูปแบบรายการและวัสดุที่ แตกต่างกันของกลุ่มตัวอย่างเป็นรายคู่ พบว่า ทุกรูปแบบรายการและวัสดุมีปัญหาการแก้ไขสัญญา ก่อสร้างระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคามโดยภาพรวมรายคู่ ไม่แตกต่างกัน
ยกเว้น โครงการปรับปรุงและโครงการต่อเติม/ดัดแปลง มีปัญหาการแก้ไขสัญญา ก่อสร้างระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคามโดยภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคั ญ ทางสถิติ 0.05
นอกจากนี้แล้ว การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญา งานก่อสร้างระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นรายด้าน ของกลุ่มตัวอย่าง ที่มี รูปแบบรายการและวัสดุแตกต่างกัน (MANOVA) แสดงดังตารางที่ 17
ตารางที่ 17 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้าง ระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นรายด้าน ของกลุ่มตัวอย่าง ที่มี รูปแบบรายการและวัสดุแตกต่างกัน (MANOVA)
สถิติทดสอบ | ปัจจัยที่มีผลต่อการ แก้ไขสัญญาฯ | Hypothesis df | Error df | F | P-value |
Pillai’s Trace | 4 ด้าน | 16.000 | 788.000 | 1.556 | .122 |
Wilks’ Lambda | 4 ด้าน | 16.000 | 593.317 | 1.568 | .881 |
Hotelling’s Trace | 4 ด้าน | 16.000 | 770.000 | 1.573 | .131 |
Roy’ Largest Root | 4 ด้าน | 4.000 | 197.000 | 4.481 | .091 |
จากตารางที่ 17 เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญา งานก่อสร้างระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นรายด้าน ของกลุ่มตัวอย่าง ที่มีรูปแบบรายการและวัสดุแตกต่างกัน (MANOVA) พบว่า รูปแบบรายการและวัสดุที่แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างระหว่างโครงการ ภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม รายด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารบุคคล ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารวัสดุ และด้านการจัดการโครงการ ไม่แตกต่างกัน
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ปัญหาการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม มี ประเด็นสําคัญในการนําเสนอตามลําดับ ดังนี้
5.1 ความมุ่งหมายของการวิจัย
5.2 สรุปผลการวิจัย
5.3 อภิปรายผล
5.4 ข้อเสนอแนะ
5.1 ความมุ่งหมายของการวิจัย
5.1.1 เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้างระหว่างโครงการ
5.1.2 เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้าง โครงการก่อสร้างของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
5.1.3 เพื่อศึกษาระดับความสําคัญและเปรียบเทียบของปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง แก้ไขสัญญาก่อสร้างของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
5.2 สรุปผลการวิจัย
5.2.1 บริบทของปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้างระหว่างโครงการ ประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 58.4) อายุ – 40 ปี (ร้อยละ 30.7) สภาพ
สมรส (ร้อยละ 45.5) ระดับการศึกษา ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า (ร้อยละ 48) รองลงมา สูงกว่า ปริญญาตรี (ร้อยละ 32.7) ประสบการณ์การทํางาน มากกว่า 10 ปี (ร้อยละ 46) รองลงมา 6-10 ปี ตําแหน่งหน้าที่ส่วนมาก เจ้าหน้าที่พัสดุ (ร้อยละ 31.7) รองลงมา กรรมการตรวจการจ้าง (ร้อยละ 18.8) งบประมาณก่อสร้างแต่ละโครงการ ส่วนใหญ่ คือ โครงการ 1,000,001 บาท ถึง 10,000,000 บาท (ร้อยละ 33.7) รองลงมาคือ โครงการสูงกว่า 20,000,001 บาท (ร้อยละ 30.2) รูปแบบรายการ โครงการและวัสดุ ส่วนมากคือ โครงการก่อสร้าง (ร้อยละ 35.1) รองลงมา โครงการปรับปรุง (ร้อยละ 8.4)
5.2.2 วิเคราะห์และสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้าง โครงการก่อสร้างของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ภาพรวมเกี่ยวกับปัจจัยที่ก่อให้เกิดการแก้ไขสัญญางานโครงการภายในมหาวิทยาลัย มหาสารคามโดยรวม อยู่ระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ปัญหาด้านการจัดการ โครงการ คือ แบบรูปรายการงานก่อสร้าง อยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ปัญหาด้านงบประมาณ และ ปัญหาด้านการบริหารวัสดุ ปัญหาด้านการบริหารบุคคล
ด้านบริหารบุคคล ปัญหาอยู่ระดับปานกลางทุกข้อ โดยเรียงลําดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหา น้อย 3 ลําดับแรก ดังนี้ มาตรฐานงานฝีมือไม่เพียงพอระหว่างการดําเนินโครงการ ผู้รับจ้างไม่มี ประสบการณ์ในการทํางานมากพอกับการรับงานก่อสร้าง และจํานวนแรงงานก่อสร้างไม่เพียงพอต่อ ขอบเขตงานก่อสร้างตามสัญญา
ด้านการบริหารงบประมาณ ปัญหาอยู่ระดับปานกลาง โดยเรียงลําดับค่าเฉลี่ยจากมาก ไปหาน้อย 3 ลําดับแรก ดังนี้ การขาดสภาพคล่องทางการเงินจากการเบิกงวดงานไม่ได้ รองลงมา การ แบ่งงวดงานกับขั้นตอนการก่อสร้างไม่สอดคล้องกัน และงบประมาณการก่อสร้างกับงวดงานไม่ เหมาะสม
ด้านการบริหารวัสดุ ปัญหาอยู่ระดับปานกลางทุกข้อ โดยเรียงลําดับค่าเฉลี่ยจากมากไป หาน้อย 3 ลําดับแรก ดังนี้ การกําหนดระยะเวลาภายในสัญญาไม่เพียงพอในการจัดหาวัสดุ การจัดหา เครื่องมือเครื่องจักร เทคโนโลยีการก่อสร้างไม่เพียงพอต่อปริมาณงานก่อสร้างและไม่ทันต่อระยะเวลา ก่อสร้าง และวัสดุไม่ตรงตามข้อกําหนดหรือมาตรฐาน
ด้านการจัดการโครงการ คือรูปแบบรายการงานก่อสร้าง ปัญหาอยู่ระดับมาก จํานวน 5 ข้อ โดยเรียงจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ข้อขัดแย้งของแบบรูปรายการหรือแบบรูปรายการ ไม่ชัดเจน ข้อขัดแย้งขอบเขตของงานไม่ชัดเจนและไม่ครบถ้วน การเปลี่ยนแปลงรายการก่อสร้างหรือ แก้ไขรูแบบรายการ การขาดความพร้อมในการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง และรูปแบบรายการล้าสมัยไม่ ตอบสนองความต้องการผู้ใช้งาน และอยู่ในระดับปานกลาง เรียงจากมากไปหาน้อย 3 ลําดับแรก ดังนี้ สภาพหน้างานก่อสร้างจริงไม่ตรงกับรูปแบบรายการตามสัญญา มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญา บ่อยครั้งจนรูปแบบรายการเปลี่ยนแปลงจากเดิมมาก และปัจจัยจากการสั่งหยุดงานเพื่อแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
5.2.3 ศึกษาระดับความสําคัญและเปรียบเทียบของปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไข สัญญาก่อสร้างของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การวิเคราะห์ระดับความสําคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาก่อสร้าง ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประกอบด้วย การเปรียบเทียบความคิดเห็นปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญา งานก่อสร้างระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยรวมของผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่ม
ตัวอย่าง ที่มีรูปแบบรายการและวัสดุที่แตกต่างกัน (ANOVA) การเปรียบเทียบความคิดเห็นปัจจัยที่มี ผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยรวม ที่มี รูปแบบรายการและวัสดุที่แตกต่างกันของกลุ่มตัวอย่างเป็นรายคู่ และ การเปรียบเทียบความคิดเห็น เกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัย มหาสารคาม เป็นรายด้าน ของกลุ่มตัวอย่าง ที่มีรูปแบบรายการโครงการและวัสดุแตกต่างกัน (MANOVA)
ปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัย มหาสารคาม โดยรวม ที่มีรูปแบบรายการและวัสดุที่แตกต่างกันของกลุ่มตัวอย่างเป็นรายคู่ พบว่า โครงการปรับปรุงและโครงการต่อเติม/ดัดแปลง มีปัญหาการแก้ไขสัญญาก่อสร้างระหว่างโครงการ ภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคามโดยภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05
ปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัย มหาสารคาม เป็นรายด้าน ของกลุ่มตัวอย่าง ที่มีรูปแบบรายการและวัสดุแตกต่างกัน (MANOVA) พบว่า รูปแบบรายการและวัสดุที่แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการ แก้ไขสัญญางานก่อสร้างระหว่างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม รายด้าน ได้แก่ ด้านการ บริหารบุคคล ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารวัสดุ และด้านการจัดการโครงการ ไม่แตกต่างกัน
5.3 อภิปรายผล
การวิจัย เรื่อง ปัญหาการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัย มหาสารคาม สามารถอภิปรายผลได้ดังนี้
5.3.1 ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงแก้ไข สัญญาก่อสร้าง โครงการก่อสร้างของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยภาพรวม อยู่ระดับปานกลาง เนื่องจากกระบวนการก่อสร้างของมหาวิทยาลัยมหาสารคามมีความพร้อมในการดําเนินงานก่อสร้าง ทั้งผู้ว่าจ้าง และผู้รับจ้าง สามารถจัดการปัญหาการก่อสร้างที่เกิดขึ้นได้ หากเกิดปัญหางานก่อสร้าง สามารถดําเนินการแก้ไขสัญญาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อส่วนราชการ และสามารถดําเนินงานไป ต่อได้ ซึ่งถือว่าไม่มีปัญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานมากเพราะผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินการ ก่อสร้างมีความเข้าใจเงื่อนไขการก่อสร้าง ผู้ว่าจ้างมีการจัดเตรียมวัสดุที่เพียงพอต่อโครงการก่อสร้าง วางแผนงานก่อสร้างเพื่อให้ก่อสร้างได้ทันระยะเวลากําหนด ทําให้ไม่มีปัญหาด้านวัสดุ การจัดหา เครื่องมือเครื่องจักร และเทคโนโลยีการก่อสร้างเพียงพอต่อปริมาณงาน การขนส่งวัสดุตรงตามที่ขอ อนุมัติก่อสร้างซึ่งหากมีการวางแผนไว้ตั้งแต่ก่อนก่อสร้างจะทําให้ไม่มีปัญหาด้านงบประมาณการ
ก่อสร้างและไม่ขาดแคลนวัสดุก่อสร้างตามคุณสมบัติกําหนด และนําไปสู่ผลสําเร็จของงานก่อสร้าง และสามารถบริหารโครงการก่อสร้างให้เป็นไปตามสัญญากําหนดได้ ซึ่งไม่สอดคล้องแนวคิดของ ปรีชา อินสาลี (2556) ที่กล่าวว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญาโครงการภายใมหาวิทยาลัย ขอนแก่น คือ ด้านการบริหารโครงการก่อสร้างในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลําดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ ข้อขัดแย้งขอบเขตของงานไม่ ชัดเจน และไม่ครบถ้วนตามที่ระบุในรูปแบบรายการ การเปลี่ยนแปลงรายการก่อสร้าง และไม่มีความ พร้อมในการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง โดยเฉพาะสองปัจจัยแรก แสดงให้เห็นว่า ปัญหาการแก้ไขสัญญา ระหว่างการก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ไม่เป็นปัญหาและอุปสรรคในการ ดําเนินการก่อสร้างตามสัญญา และสอดคล้องกับ จิรเดช เศรษฐกัมพู และนาถ สุขศีล (2562) กล่าวถึงปัญหาการบริหารโครงการก่อสร้างไว้ว่า การตรวจสอบแบบรูปรายการผิดเป็นเพียงปัจจัยหนึ่ง ที่ส่งผลกระทบต่อการบริหารโครงการก่อสร้างเท่านั้น แต่มีปัจจัยด้านอื่นประกอบด้วย ซึ่งได้แก่ การ วางแผนด้านและการประสานงานที่ไม่เหมาะสม แรงงานนัดหยุดงาน วิศวกรหรือช่างเทคนิ คขาด ประสบการณ์ในการควบคุมงาน และการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญาที่ก่อให้ความล่าช้า
แสดงให้เห็นว่า ปัญหาการแก้ไขสัญญาระหว่างการก่อสร้างไม่ได้เกิดจากด้านแบบรูป รายการเป็นสําคัญ เป็นเพียงปัจจัยหนึ่งที่ต้องได้รับการพัฒนาข้อมูลเพื่อกลั่นกรองตรวจสอบแบบรูป รายการให้ดีเสียก่อน ก่อนนํามาก่อสร้างตามโครงการ
5.3.2 ปัญหาด้านแบบรูปรายการอยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ปัญหาด้านงบประมาณ และปัญหาด้านการบริหารวัสดุ และปัญหาด้านการบริหารบุคคล ดังนี้
ปัญหาด้านการจัดการโครงการ คือ รูปรายการงานก่อสร้างอยู่ในระดับมาก เนื่องจากปรากฎข้อขัดแย้งของรูปแบบรายการหรือรูปแบบรายการที่ไม่ชัดเจน ข้อขัดแย้งขอบเขตของ งานไม่ชัดเจนและไม่ครบถ้วน และมีการเปลี่ยนแปลงรายการก่อสร้างหรือแก้ไขรูปแบบรายการงาน ก่อสร้าง ซึ่งปัญหาการจัดการโครงการ คือด้านแบบรูปรายการอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับแนวคิด ปรีชา อินสาลี (2556) กล่าวว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญาโครงการภายใมหาวิทยาลัยขอนแก่น คือ ด้านการบริหารโครงการก่อสร้างในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลําดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ข้อขัดแย้งขอบเขตของงานไม่ชัดเจน และไม่ครบถ้วนตามที่ระบุในรูปแบบรายการ การเปลี่ยนแปลงรายการก่อสร้าง และไม่มีความพร้อม ในการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง โดยเฉพาะสองปัจจัยแรก แสดงให้เห็นว่า ปัญหาการแก้ไขสัญญา ระหว่างการก่อสร้างโครงการภายในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ด้านการจัดการโครงการ คือรูปแบบ รายการงานก่อสร้าง เรียงจากระดับมากไปหาน้อย ได้แก่ ข้อขัดแย้งของรูปแบบรายการหรือรูปแบบ รายการไม่ชัดเจน ข้อขัดแย้งขอบเขตของงานไม่ชัดเจนและไม่ครบถ้วน การเปลี่ยนแปลงรูแบบ รายการก่อสร้างหรือแก้ไขรูปรายการงานก่อสร้าง การขาดความพร้อมในการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง
และรูปแบบรายการงานก่อสร้างล้าสมัยไม่ตอบสนองความต้องการผู้ใช้งาน และสอดคล้องกับ พรชัย หิรัญกุล (2562) กล่าวว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการก่อสร้างอาคารที่สําคัญ คือ รูปแบบรายการงานก่อสร้าง ที่ผู้รับจ้างต้องทําความเข้าใจก่อนการเสนองานและพิจารณาว่ามีเงื่อนไขข้อใดบ้างที่เจ้าของโครงการ กําหนดไว้ไม่เป็นธรรม ควรให้มีการเจรจาปรับแก้ไขให้เหมาะสมและยอมรับได้ทั้งสองฝ่าย โดยเงื่อนไข ที่กําหนดควรเป็นตามมาตรฐานของโครงการก่อสร้างทั่วไป แสดงให้เห็นว่า ปัญหาด้านการจัดการ โครงการ คือรูปรายการงานก่อสร้างมีความสําคัญในการก่อสร้างเป็นอย่างมากหากมีความ คลาดเคลื่อนของรูปแบบรายการจะต้องมีการแก้ไขสัญญาเกิดขึ้นเพื่อให้สามารถดําเนินงานก่อสร้างไป ได้ตามแบบรูปรายการที่ถูกต้อง และตรวจรับมอบงานได้ของหน่วยงาน
ขณะที่ปัญหาด้านการบริหารบุคคลอยู่ในระดับน้อย เนื่องจากไม่ประสบปัญหาขาด แคลนผู้ดําเนินการก่อสร้างเฉพาะทางตามสัญญากําหนด (เช่น สถาปนิกหรือวิศวกร) และไม่ขาด แคลนจํานวนแรงงานก่อสร้างไม่เพียงพอต่อขอบเขตงานก่อสร้างตามสัญญา สอดคล้องกับแนวคิด เสกสรรค์ ตีงี (2552) กล่าวว่า ผลกระทบของปัญหาในการดําเนินงานก่อสร้างด้านบุคคลหรือแรงงาน มีผลต่อความล่าช้าหรือปัญหางานก่อสร้างค่อนข้างน้อย แสดงให้เห็นว่า โครงการก่อสร้างภายใน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีการบริหารบุคคลด้านแรงงานเพียงพอต่อการก่อสร้าง มีการจัดเตรียม บุคลากรวิศวกรครบตามขอบเขตงานกําหนด มาตรฐานฝีมือแรงงานมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ก่อสร้างตรงตามข้อกําหนดในสัญญาและไม่เป็นปัญหาและอุปสรรคของงาน
5.4 ข้อเสนอแนะ
5.4.1 ข้อเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใช้
5.4.1.1 หลังจากที่ได้ศึกษาปัญหาที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างแล้ว สามารถ นําไปพัฒนาแนวทางการปฏิบัติงานด้านการบริหารสัญญางานก่อสร้าง และควรให้ความสําคัญปัจจัย ด้านรูปแบบรายการ เนื่องจากเป็นปัญหาที่ถืออยู่ในระดับมาก เพื่อลดปัญหาและความขัดแย้งผู้ว่าจ้าง และผู้รับจ้าง
5.4.1.2 เป็นทางในการปฏิบัติงานของผู้กําหนดขอบเขตงาน ก่อนการจัดซื้อจัดจ้างเพื่อ คัดกรองข้อมูลและลดความเสี่ยงของผู้ปฏิบัติงาน เพื่อส่งผลให้การดําเนินงานมีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น
5.4.1.3 โครงการปรับปรุงและโครงการต่อเติม/ดัดแปลง ควรให้ความสําคัญทุกด้าน เพราะเป็นงานที่ไม่ได้ก่อสร้างขึ้นใหม่แต่เป็นการปรับปรุง ซ่อมแซม หากกําหนดขอบเขตงานไม่ชัดเจน จะทําให้เกิดปัญหาการแก้ไขปริมาณงานและมีผลต่อการแก้ไขสัญญาขึ้น
5.4.2 ข้อเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งต่อไป
5.4.2.1 ควรศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไขสัญญางานก่อสร้างกับกลุ่มตัวอย่างอื่นๆ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ซึ่งอาจจะทําให้งานวิจัยมีประสิทธิผลและ สามารถนําไปใช้ได้ตรงตามเป้าหมายมากยิ่งขึ้น เช่น
5.4.2.2 ควรศึกษาความสามารถของเจ้าหน้าที่ใน การทํางาน เพื่อวัดความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการบริหารสัญญางานก่อสร้าง เพื่อป้องกันความผิดพลาดและลด ความเสี่ยงในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
5.4.2.3 ควรศึกษาและพัฒนาปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารสัญญาของเจ้าหน้าที่พัสดุ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ เนื่องจากส่วนใหญ่ยังไม่มีผู้วิจัยและกล่าวถึงเรื่องนี้
5.4.2.4 ควรเปลี่ยนวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม เป็นการสอบถามแบบ เชิงลึก (Indepth Interview) เพื่อให้ได้ข้อมูลและความคิดเห็นที่ชัดเจน ถูกต้อง และก่อให้เกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
ขวัญชนก ใจเสงี่ยม. (2558). การบริ👉ารงานของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลช่องวอยซ์ทีวี. กรุงเทพฯ: มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์.
จิรเดช เศรษฐกัมพู และนำถ สุขศีล. (2562). สำเหตุที่ก่อให้เกิดควำมล่ำช้ำในโครงกำรก่อสร้ำงอำคำร ขนำดใหญ่. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ม👉าวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ, 3(14), 110-118.
ญำณวรรธน์ ชุ่มท้วม และวิกรม พนิชกำร. (2560). ปัญหำและอุปสรรคในกำรตรวจสอบงำนจัดจ้ำง ก่อสร้ำงของกลุ่มตรวจสอบกำรบริหำรพัสดุ สํำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดินส่วนกลำง. วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต, 7(2), 76–93.
ทวีวุฒิ นำมศิริ และกอปร ศรีนำวิน. (2558). ปัญหำกำรบริหำรสัญญำก่อสร้ำงในมหำวิทยำลัยของรัฐ.
ประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 34. มีนาคม 2558. 👉น้า 225-
232.
ธนพร บุญประสงค์. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตมันฝรั่งของเกษตรกร ใน เขตอําเภอสันทราย จัง👉วัดเชียงใ👉ม่. รำยงำนกำรวิจัย. เชียงใหม่: มหำวิทยำลัยแม่โจ้.
ธิรนันท์ มงคลทิพย์วำที. (2555). การจัดการเอกสารประกอบการเรียกร้องสิทธิสํา👉รับผู้รับจ้าง ก่อสร้าง. กรุงเทพฯ: ฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย.
นิติกรณ์ แนมจันทร์. (2557). ปัญ👉าและอุปสรรคในการตรวจสอบราคากลางงานก่อสร้างของ สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน : กรณีศึกษากลุ่มจัง👉วัดนครราชสีมา จัง👉วัดชัยภูมิ จัง👉วัดบุรีรัมย์ จัง👉วัดสุรินทร์. กำรค้นคว้ำอิสระปริญญำวิศวกรรมศำสตรมหำบัณฑิต มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีสุรนำรี.
ประวุฒิ จิรนนทกิจ, สุธำริน สถำปิตำนนท์ และวิโรจน์ รุโจปกำร. (2560). แบบจํำลองปัญหำโต้แย้งใน โครงกำรก่อสร้ำงอำคำรชุด. วารสารวิศวกรรมสาร มก., 30(100), 23–32.
ปรีชำ อินสำลี. (2556). ปัญ👉าการแก้ไขสัญญาระ👉ว่างการก่อสร้างโครงการภายใน ม👉าวิทยาลัยขอนแก่น. กำรค้นคว้ำอิสระปริญญำวิศวกรรมศำสตรมหำบัณฑิต มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีสุรนำรี.
พรชัย หิรัญกุล. (2562). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการประมูลงานก่อสร้างอาคาร ในมุมมอง ผู้รับเ👉มา. กำรค้นคว้ำอิสระปริญญำวิศวกรรมศำสตรมหำบัณฑิต สถำบันเทคโนโลยีพระ จอมเกล้ำคุณทหำรลำดกระบัง.
รสิกำ กำญจนะ และไพฑูรย์ คงสมบูรณ์. (2561). ปัญหำกำรขอแก้ไขสัญญำงำนจ้ำงก่อสร้ำงตำมหลัก มูลเหตุของสัญญำเปลี่ยนแปลงไป. นิติศาสตร์ มธ., 2561(1), 528-538
วชรภูมิ เบญจโอฬำร. (2009). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการบริ👉ารงานก่อสร้าง (Construction Management). พิมพ์ครั้งที่ 4. นครรำชสีมำ: สํำนักวิชำวิศวกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีสุรนำรี.
วรวิทย์ สวัสดิ์พูน. (2557). ปัญ👉าและอุปสรรคในการกํา👉นดราคากลางงานก่อสร้างทางราชการของ บุคลากรช่าง : กรณีศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อําเภอนางรอง จัง👉วัดบุรีรัมย์. กำรค้นคว้ำอิสระปริญญำวิศวกรรมศำสตรมหำบัณฑิต มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีสุรนำรี.
วุฒิ ไชยพงศ์. (2553). โอกาสในการเกิดปัญ👉าที่ส่งผลกระทบต่องานก่อสร้างที่พักอาศัย ในจัง👉วัด
นครราชสีมา. กำรค้นคว้ำอิสระปริญญำวิศวกรรมศำสตรมหำบัณฑิต มหำวิทยำลัย เทคโนโลยีสุรนำรี.
ศศิพร สำยสุทธิ์. (2553). การเพิ่มประสิทธิภาพการํางานของธุรกิจก่อสร้างและการวิเคราะ👉์ธุรกิจเพื่อ วางแผนพัฒนาองค์กรเพื่อรองรับการแข่งขันในอนาคต กรณีศึกษา : 👉้าง👉ุ้นส่วนจํากัดพร พิมลฮาร์ดแวร์. กำรค้นคว้ำอิสระปริญญำบริหำรธุรกิจมหำบัณฑิต มหำวิทยำลัยหอกำรค้ำ ไทย.
สมัคร ต้นโลห์ และ ณรงค์ เหลืองบุตรนำค. (2552). สำเหตุที่ก่อให้เกิดควำมล่ำช้ำในโครงกำรก่อสร้ำง อำคำรขนำดใหญ่. วิศวกรรมสาร ฉบับวิจัยและพัฒนา, 1(20).
เสกสรรค์ ตีงี. (2552). กรณีศึกษำปัญหำควำมล่ำช้ำในทัศนคติของผู้รับเหมำกับโครงกำรก่อสร้ำง อำคำรในเขตอํำเภอเมือง จังหวัดนรำธิวำส. Princess of Naradhiwas University Journal, 1(2).
อนุพงษ์ รักไพฑูรย์ และ ศิริศักดิ์ คงสมศักดิ์สกุล. (2555). กำรศึกษำปัญหำในขั้นตอนส่งมอบงำนใน กำรบริหำรงำนก่อสร้ำงประเภทงำนทำง. วิศวกรรมสาร มก., 82(25), 97–107.
อังคำร เปียประดิษฐ์. (2555). ปัญ👉าและการปรับปรุงสัญญาจ้างช่วงในงานก่อสร้าง. รำยงำนกำร วิจัย. วิทยำนิพนธ์ปริญญำวิศวกรรมศำสตรมหำบัณฑิต จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย.
David Finnie and Noushad Ali Naseem Ameer Ali. (2015). The New Zealand Construction Contracts Amendment Act 2015-For Better or Worse. Construction Economics and Building, 15(4), 95–105.
Ehab Soliman. (2012). Construction Projects Delay Causes- Economical and Industrial Effect. Kuwait University Department, March.
Nur Soleha Binti Abdul Rahim. (2012). Development of international strategic planning for Malaysian contractors. Thesis MEng Bangkok : Chulalongkorn University.
Phatsaphan Charnwasununth. (2012). An automation approach for data and information manipulation to reduce knowledge and skill requirements in construction. Thesis DEng Bangkok : Chulalongkorn University.