Bilateral Investment Treaties – BITs) : ความรู้เบื้องต้น
ความตกลงทวิภาคีดานการลงทุน
(Bilateral Investment Treaties – BITs) : ความรู้เบื้องต้น
ในภาวะปัจจุบัน โลกมีความเชื่อมโยงกันมากขึ้น การค้าและการลงทุนxxxxxx ขยายตัวไปยังต่างประเทศxxxxxxxxxxxxขึ้นอันเนื่องมาจากแรงจูงใจในปัจจัยการผลิตของแต่ละ ประเทศ ซึ่งทําให้มีเงินตราต่างประเทศไหลเข้ามาในประเทศและทําให้xxxxxxxถ่ายทอดเทคโนโลยี และการพัฒนาบุคลากรให้มีความxxxxxxxxxxxxxxxxขึ้น แต่โดยที่การค้าและการลงทุนมักจะถูกจํากัด และควบคุมจากกฎหมายและกฎเกณฑ์ภายในของแต่ละประเทศ ดังนั้น เพื่อxxxxxxxxและอํานวย ความสะดวกแก่การค้าและการลงทุน จึงมีxxxxxxxxxxแต่ละประเทศจะจัดทําความตกลงระหว่าง ประเทศในเรื่องการค้าและการลงทุนxxxxxมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งความตกลงระหว่างประเทศ ว่าด้วยการลงทุน เพื่อให้การลงทุนของประเทศตนได้รับการxxxxxxxxและคุ้มครองในต่างประเทศxxx xxxxขึ้น
โดยทั่ วไปความตกลงระหว่ างประเทศว่ าด้ วยการลงทุน (International Investment Agreements – IIAs) เป็นความตกลงที่มีวัตถุประสงค์โดยรวมเพื่อที่จะสร้างปัจจัยที่เอื้อ ประโยชน์ให้กับการลงทุนทางตรง (Foreign Direct Investment) ซึ่งอาจมีหลายประเภทขึ้นอยู่กับ ขอบเขตและเนื้อหาของความตกลง ได้แก่ ความตกลงทวิภาคีด้านการลงทุน (Bilateral Investment Treaties – BITs) ความตกลงว่าด้วยภาษีซ้อน (Double Taxation Treaties – DTTs) ความตกลง เขตการค้าxxxxxxxมีข้อบทเกี่ยวกับการลงทุน (Free Trade Agreements – FTAs)๑ ความตกลงว่าด้วย การเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจที่มีข้อบทเกี่ยวกับการลงทุน (Economic Partnership Agreements
– EPAs) ความตกลงว่าด้วยการลงทุนในระดับxxxxxxx (Regional Integration Agreements – RIAs) ความตกลงพหุภาคีว่าด้วยการลงทุนอื่น xxxx GATs, TRIMs, TRIPs เป็นต้น สําหรับความตกลง ทวิภาคีด้านการลงทุน หรือ BITs นั้น เป็นความตกลงxxxxxxรับความxxxxอย่างxxxxxxxx เนื่องจาก มีขั้นตอนการจัดทําที่น้อยกว่าและมีขอบเขตแคบกว่าความตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการลงทุน แบบอื่น โดย BITs ฉบับแรกของโลกทําขึ้นระหว่างประเทศเยอรมนีและประเทศปากีสถานเมื่อxxxxxx
๒๙ พฤศจิกายน ๑๙๕๙ และการจัดทํา BITs ระหว่างประเทศกําลังพัฒนาและระหว่างประเทศ ในxxxxxxxเดียวกันมีแนวโน้มxxxxxมากขึ้นเป็นลําดับ
ความตกลงทวิภาคีด้านการลงทุน หรือ BITs นั้น เป็นความตกลงระหว่างรัฐบาลของ สองประเทศที่กําหนดพันธะกรณีในการxxxxxxxxและให้ความคุ้มครองการลงทุนxxxxxxรับอนุญาตให้เข้า มาในประเทศและอยู่ภายใต้กฎหมายภายในของประเทศผู้รับการลงทุน เพื่อเป็นการคุ้มครอง การลงทุนของนักลงทุนในประเทศของตนหรือเพื่อxxxxxxxxให้มีการลงทุนในประเทศของตนxxxxxมาก
ภายในหรือเหตุผลอื่น xxxx การควบคุมแรงงานต่างด้าว หรือการลงทุนนั้นไม่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศ มิได้
๒
ขึ้น ดงนั้น Bits จึงเป็นกลไกทางxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxจะxxxxxxประโยชน์ของทั้งสองประเทศ ดังกล่าว๒
โดยทั่วไป BITs มีเนื้อหาสาระหลักแบ่งได้เป็น ๓ ส่วน คือ ๑) ขอบเขตของ ความตกลง ๒) ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการลงทุนและการxxxxxxxxการลงทุน และ ๓) การระงับข้อพิพาท สรุปสาระสําคัญในแต่ละส่วนได้ดงนี้
(๑) ขอบเขตของความตกลง
ขอบเขตของความตกลงจะปรากฏอยู่ในเนื้อหาสองส่วน คือ ข้อบทว่าด้วย ขอบเขตการบังคับใช้ และคํานิยาม
๑) ข้อบทว่าด้วยขอบเขตการบังคับใช้ เป็นข้อบทสําคัญที่กําหนดขอบเขต การxxxxxxxxและคุ้มครองการลงทุนและนักลงทุนตาม Bits และยังเป็นข้อบทที่ใช้ในการกําหนดวิธีการ กลั่นกรองการลงทุนxxxxxxรับความคุ้มครองตาม Bits อันเป็นไปตามหลักการยอมรับการลงทุน ซึ่งมี หลักการว่า การลงทุนที่จะได้รบประโยชน์และการคมครองตามความตกลงควรจะเป็นการลงทุนที่เป็น ประโยชน์ร่วมกนระหว่างผู้ลงทุนและประเทศผู้รับการลงทุน๓ ทั้งนี้ การกําหนดขอบเขตการบังคับใช้ อาจกําหนดให้ต้องเป็นการลงทุนทางตรง (Foreign Direct Investment - FDI)๔ xxxxxxเข้ามาใน ประเทศผู้รับการลงทุน (Post-establishment)๕ แล้ว และได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่มีอํานาจ หน้าที่หรือเป็นไปตามเงื่อนไขที่กําหนดโดยกฎหมายของประเทศภาคีคู่สัญญา ส่วนการกําหนด
๒) คํานิยาม คือ บทนิยามสําคัญที่แสดงถึงขอบเขตของความตกลง Bits ได้แก่ นิยามคําว่า “นักลงทุน” และ “การลงทุน” โดยนิยามคําว่า “นักลงทุน” นั้น หมายถึง บุคคลธรรมดา ที่มีสัญชาติหรือมีถิ่นที่อยู่xxxx หรือนิติบุคคลที่จัดตั้ง (Incorporated) หรือก่อตั้ง (Constituted) ในประเทศภาคีคู่สัญญา สําหรับนิติบุคคลนั้นอาจต้องพิจารณาจากสัดส่วนการถือหุ้น (Ownership) หรืออํานาจควบคุม (Control) ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมควบคู่กันไปด้วยในการพิจารณา ความเกี่ยวพันกับประเทศภาคีคู่สัญญาเพื่อประโยชน์ในการได้รับการxxxxxxxxหรือคุ้มครอง ส่วนนิยาม คําว่า “การลงทุน” นั้น หมายถึง ทรัพย์สินที่มีไว้เพื่อประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยไม่รวมถึง
๓อ้างแล้ว, xxxxxxxxxxx ๒, หน้า ๑๓.
๒) การลงทุนในหลักทรัพย์ (Portfolio Investment) หมายxxx xxxลงทุนในหุ้นหรือหลักทรัพย์ของบริษัท ผ่านตลาดหุ้นของประเทศที่ไปลงทุน ๓) การกู้ยืมเงินระหว่างประเทศ (International Loan) หมายxxx xxxกู้ยืมเงิน จากประเทศหนงเพื่อนําไปใช้ในโครงการหรือเพื่อลงทุนในอีกประเทศ
๓
ทรัพย์สินที่มีไว้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น โดยทั่วไปประกอบด้วย สังหาริมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์ หุ้น xxxxx เรียกร้องที่มีxxxxxxทางการเงิน xxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx0
(๒) ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการxxxxxxxxและคุ้มครองการลงทุน ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการxxxxxxxxและคุ้มครองการลงทุนกําหนดหลักการดังต่อไปนี้
๑) การปฏิบัติเกี่ยวกับการลงทุนของนักลงทุนในประเทศภาคีคู่สัญญาโดยใช้ มาตรฐานการประติบัติเยี่ยงคนชาติ (National Treatment : NT)๗ และมาตรฐานการประติบัติเยี่ยง ชาติxxxxxxรับความอนุเคราะห์ยิ่ง (Most-favoured-Nation – MFN)๘ และมาตรฐานการประติบัติ อย่างเป็นธรรมและเท่าเทียม (Fair and Equitable Treatment) กล่าวคือ ประเทศผู้รับการลงทุน ได้รับการคาดหมายว่าจะให้การคุ้มครองที่มีเหตุผลและปฏิบัติต่อนักลงทุนหรือการลงทุนของประเทศ ภาคีคู่สัญญาอีกฝ่ายไม่น้อยไปกว่าที่ปฏิบัติต่อนักลงทุนหรือการลงทุนของนักลงทุนที่เป็นคนชาติของ ตน หรือนักลงทุนหรือการลงทุนของประเทศที่สาม อย่างไรก็ตาม ประเทศภาคีxxxxxxxxxxx กําหนดให้การคุ้มครองตามหลัก NT และหลัก MFN เป็นไปตามหลักต่างตอบแทน (a reciprocal basis) ก็ได้
๒ ) การเวนคืนและค่ าชดเชยความเสียหาย (Expropriation and Compensation) ซึ่งกําหนดมิให้ประเทศผู้รับการลงทุนเวนคืนทรัพย์สินของการลงทุนหรือนักลงทุน ของประเทศภาคีคู่สัญญาโดยไม่เป็นธรรมและการเวนคืนนั้นต้องเป็นไปตามเงื่อนไขที่กําหนดและ จะต้องมีการชดเชยความเสียหาย
๓) การโอน (Transfer of funds) ซึ่งกําหนดให้การลงทุนหรือนักลงทุนxxxxxx โอนเงินหรือผลตอบแทนจากการลงทุนหรือที่เกี่ยวเนื่องกับการลงทุนได้โดยxxxxและxxxxxxxxxรวมถึง สกุลเงินและอัตราแลกเปลี่ยนโดยมีขอยกเว้นบางประการ
๔) เรื่องอื่นๆ xxxx ค่าชดเชยความเสียหาย (Compensation for Losses) ซึ่งกําหนดให้มีการชดเชยความxxxxxxxxxxเกิดกับการลงทุนหรือนักลงทุนของประเทศภาคีคู่สัญญา อันเนื่องมาจากเหตุการณ์xxxxxxx xxxx xxxxxx จลาจล หรือการใช้xxxxx โดยรวดเร็ว เพียงพอ และมี ประสิทธิภาพ และการรับช่วงxxxxx (Subrogation) ซึ่งกําหนดให้มีการรับช่วงxxxxxเรียกร้องหรือxxxxx อื่นให้แก่ผู้ที่จ่ายค่าชดเชยความเสียหายแก่การลงทุนหรือนักลงทุนของประเทศภาคีคู่สัญญาไป
๗เป็นหลักปฏิบัติแบบเปรียบเทียบซึ่งกําหนดให้ประเทศผู้รับการลงทุนต้องปฏิบัติต่อนักลงทุน
หรือการลงทุนของนักลงทุนของประเทศภาคีคู่สัญญาอีกฝ่ายไม่น้อยไปกว่าที่ปฏิบัติต่อนักลงทุนหรือการลงทุน ของนักลงทุนที่เป็นคนชาติของตน
๔
(๓) การระงบขอพิพาท (Dispute Settlements) ซงรวมถึงวิธีการ องค์กร ผลบังคับ และค่าใช้จ่ายของการระงับข้อพิพาท โดยอาจแบ่งเป็นการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศภาคี คู่สัญญาและการระงับข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนกับประเทศภาคีคู่สัญญา สําหรับการระงับข้อพิพาท ระหว่างประเทศภาคีxxxxxxxxxxxกระทําเป็นขั้นตอนโดยเริ่มต้นจากการเจรจาหรือการปรึกษาหารือ และสิ้นสุดลงที่อนุญาโตตุลาการ เมื่ออนุญาโตตุลาการมีคําชี้ขาดแล้ว คําชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ มีผลผูกพันประเทศภาคีคู่สัญญาตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ โดยประเทศภาคีคู่สัญญาแต่ละ ฝ่ายต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกิดจากกระบวนการอนุญาโตตุลาการในส่วนของตน หรืออาจ กําหนดให้ประเทศภาคีคู่สญญาที่แพ้คดีเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งหมด
ส่วนการระงับข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนกับประเทศภาคีคู่สญญาโดยทั่วไปมีขั้นตอน ในลักษณะเดียวกันกับการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศภาคีคู่สัญญา คือ เริ่มต้นจากการเจรจา หรือการปรึกษาหารือ หากไม่xxxxxxระงับข้อพิพาทโดยกระบวนการดังกล่าวได้ นักลงทุนอาจเป็น ผู้เลือกหรือxxxxxxxxxxxxสองฝ่ายตกลงร่วมxxxxxxจะเลือกใช้วิธีการระงับข้อพิพาทผ่านกระบวนการ ยุติธรรมของประเทศผู้รับการลงทุน อนุญาโตตุลาการ หรือองค์กรเพื่ออํานวยความสะดวก ด้านการระงับข้อพิพาทเกี่ยวกับการลงทุนระหว่างประเทศ xxxx International Center for the Settlement of Investment Disputes – ICSID, United Nations Commission on International Trade Law – UNCITRAL เป็นต้น๙
โดยที่ BITs เป็นxxxxxxxxxxxxด้านการคุ้มครองและxxxxxxxxการค้าและการลงทุน จากต่างประเทศจึงอาจเข้าลักษณะเป็นxxxxxxxxxxxxxxxมีผลผูกพันด้านการค้าหรือการลงทุนของ ประเทศอย่างมีนัยสําคญตามมาตรา ๑๙๐ วรรคสอง ของรฐxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทย ที่จะต้อง เสนอกรอบการเจรจาและขอความเห็นชอบจากรัฐสภา รวมxxxxxxรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และเยียวยาผู้xxxxxxxxกระทบจากการปฏิบัติตามxxxxxxxxxxxxดังกล่าว xxxxxxxผ่านมากระทรวง การต่างประเทศได้จัดทํากรอบการเจรจาโดยรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนและหน่วยงานของรัฐ ต่างๆ และเสนอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาให้ความเห็นชอบตามลําดับ กรอบการเจรจาดังกล่าว จะกําหนดหัวข้อและขอบเขตของ BITs อย่างกว้างๆ ส่วนรายxxxxxxxxxxเจรจาจะระบุในท่าที การเจรจาในภายหลังซึ่งขึ้นอยู่กับการจัดทํา BITs แต่ละฉบับ และเพื่อเป็นการอํานวยความสะดวก ในการเจรจาจัดทํา BITs แต่ละฉบับ กระทรวงต่างประเทศได้จัดทํา BITs Model เพื่อใช้เป็น แนวทางการจัดทํา BITs โดย BITs Model ได้มีการรับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และได้มีการเสนอรัฐสภาให้ความเห็นชอบเพื่อเป็นกรอบการเจรจารวมของ BITs ในxxxxx โดยรัฐสภาได้ให้ความเห็นชอบแล้ว อย่างไรก็ดี กระทรวงการต่างประเทศยังxxทบทวน BITs Model ในรายละเอียดเพื่อปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจของโลกและแนวทางการจัดทํา BITs ของนานาประเทศต่อไป