Contract
1. ขอบเขตของงานxxxxxxxปรึกษา (Terms of Reference : TOR)
กรมชลประทาน ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “กรม” มีความxxxxxxxจะดําเนินการxxxxxxxปรึกษา โครงการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม อ่างเก็บน้ําแม่xxx อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ จังหวัดลําปาง โดยวิธีคัดเลือก งานxxxxxxxปรึกษาที่มีความxxxxxxxมาก มีเทคโนโลยีสูง หรือมีเทคนิคเฉพาะ จําเป็นต้องคัดเลือกบุคลากรที่มี ความรู้ ความxxxxxxตรงตามความต้องการใช้งานและเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานของรัฐมากที่สุดตาม พระราชบัญญัติการจัดซ้ืxxxxxxxxและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และxxxxxxxกระทรวงการคลังว่าด้วย การจัดซื้อxxxxxxxและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 120, 121 , 122 และข้อ 123 โดยมีข้อแนะนํา และข้อกําหนดดังต่อไปนี้
1.1 เอกสารแนบทายขอบเขตของงานxxxxxxxปรึกษา
1.1.1 ตัวอย่างสัญญาxxxx
1.1.2 เง่ือนไขเฉพาะการxxxx
1.1.3 รายการรายละเอียดควบคุมงาน
1.1.4 บทนิยาม
(1) ผู้เสนอราคาที่มีxxxxxxxxxxร่วมกัน
(2) การขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม
1.1.5 แบบบัญชีเอกสาร
1.2 คุณสมบัติเฉพาะของผู้ยื่นขอเสนอ
1.2.1 มีความxxxxxxตามกฎหมาย
1.2.2 ไม่เป็นบุคคลลมละลาย
1.2.3 ไม่อยู่ระหว่างเลิกกิจการ
1.2.4 ไม่เป็นบุคคลซึ่งอยู่ระหว่างถูกระงบการย่ืนข้อเสนอหรือทําสัญญากับหน่วยงานของรัฐไว้ชั่วคราว ตามท่ีประกาศเผยแพร่ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง
1.2.5 เป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่ประกอบอาชีพเป็นท่ีปรึกษาในสาขาท่ีจะxxxx และได้ขึ้น ทะเบียนไว้กับศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษา กระทรวงการคลัง
1.2.6 ไม่เป็นบุคคลซึ่งถูกระบุชื่อไว้ในบัญชีรายช่ือผู้ทิ้งงานและได้แจ้งเวียนช่ือให้เป็นผู้ทิ้งงานของ หน่วยงานของรัฐในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบญชีกลาง ซ่ึงรวมถึงนิติบุคคลท่ีผู้ทิ้งงาน เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหาร ผู้มีอํานาจในการดําเนินงานในกิจการของนิติ บุคคลนั้นด้วย
1.2.7 มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามท่ีคณะกรรมการนโยบายการจัดซ้ืxxxxxxxxและการ บริหารพัสดุภาครัฐกําหนดในราชกิจจานุเบกษา
1.2.8 เป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล xx xอาชีพรับจ้างงานที่เสนอราคาดงกล่าว
1.2.9 ไม่เป็นผู้มีxxxxxxxxxxร่วมกันกับท่ีปรึกษารายอื่นที่เข้าย่ืนข้อเสนอให้แก่ กองพัสดุ กรมชลประทาน
กรุงเทพฯ ณ วันเสนอราคา หรือไม่เป็นผ เป็นธรรม ในการเสนอราคาดงน้ี
ระทําการอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่าง
1.2.10 ไม่เป็นผูไดร้ บxxxxxxxxxหรือความค ก ซึ่งอาจปฏxxxxxxx ยอมขึนศาลไทย เวนแตร่้ ัฐบาล
ของท่ีปรึกษามีคําสั่งให้สละxxxxxxxxxความคุ้มกนxxxxว่านั้น
1.2.11 ไม่เป็นผู้xxxxxxผ่านเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานตามxxxxxxxxxxรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลังกําหนด
1.2.12 ท่ีปรึกษาที่ยื่นเสนอราคาในรูปแบบของ “กิจการร่วมค้า” ต้องมีxxxxxบ ิดงนั
(1) กรณีท่ีกิจการร่วมค้าได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลใหม่ กิจการร่วมค้าจะต้องมีคุณสมบัติ ครบถ้วนตามเงื่อนที่กําหนดไว้ในหนังสือxxxxxxx และการเสนอราคาให้เสนอราคาในนาม “กิจการ ร่วมค้า” ส่วนคุณสมบัติด้านผลงานของที่ปรึกษา กิจการร่วมค้าดังกล่าวxxxxxxนําผลงานของที่ ปรึกษา ของผู้เข้าร่วมค้ามาใช้แสดงเป็นผลงานของกิจการร่วมคาที่เสนอราคาได้
(2) กรณีที่กิจการร่วมxxxxxxได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลใหม่ นิติบุคคลแต่ละนิติบุคคลที่เข้า ร่วมค้าทุกรายจะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนที่กําหนดไว้ในหนังสือxxxxxxx เว้นแต่ ในกรณีท่ี กิจการร่วมค้ามีข้อตกลงระหว่างผู้เข้าร่วมค้าเป็นลายลักษณ์xxxxxกําหนดให้ผู้เข้าร่วมค้ารายใดราย หนึ่งเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการเข้าเสนอราคากับหน่วยงานของรัฐ และแสดงหลักฐานดังกล่าวมา พร้อมการยื่นข้อเสนอราคา กิจการร่วมร่วมค้านั้นxxxxxxใช้ผลงานของที่ปรึกษา ของผู้เข้าร่วมค้าหลัก รายเดียวเป็นผลงานของกิจการที่ยื่นเสนอราคาได้
ทั้งนี้ “กิจกรรมร่วมค้าที่จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลใหม่” หมายความว่า กิจการร่วมค้าท่ีจด ทะเบียนเป็นนิติบุคคลต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์
1.2.13 ที่ปรึกษาต้องลงทะเบียนในระบบจัดซื้อxxxxxxxภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement: e-GP) ของกรมบัญชีกลาง
1.2.14 ที่ปรึกษาต้องไม่อยู่ในฐานะเป็นผู้ไม่แสดงบัญชีรายรับรายจ่ายหรือแสดงบัญชีรายรับรายจ่าย ไม่ถูกตองครบถ้วนในสาระสําคญตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.กําหนด
1.2.15 ท่ีปรึกษาซึ่งได้รับคัดเลือกเป็นคู่สัญญาต้องรับและจ่ายเงินผ่านบัญชีธนาคาร เว้นแต่ การจ่ายเงินแต่ละครั้งซ่ึงมีxxxxxxไม่เกินสามหม่ืนบาทxxxxxxxxxxxจ่ายเป็นเงินสดก็ได้ตามที่ คณะกรรมการ ป.ป.ช.กําหนด
1.3 xxxxxบ ิเฉพาะของผู้ย่ืนขอเสนอ (xxxxxเติม)
1.3.1 นิติบุคคลผู้มีอาชีพประกอบกิจการที่ปรึกษา ซึ่งจดทะเบียนไว้กับศูนย์ข้อมูลท่ีปรึกษา กระทรวงการคลัง และต้องข้ึนทะเบียนเป็นผู้มีสิทธิ์จัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม กับสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และได้รับหนังสือxxxxxxxให้เข้า ยื่นข้อเสนอจากกรม
1.3.2 กิจการร่วมค้า ซ่ึงประกอบด้วยนิติบุคคลผู้มีอาชีพประกอบกิจการที่ปรึกษา ซึ่งจด ทะเบียนไว้กับศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษากระทรวงการคลัง และมีนิติบุคคลอย่างนอย 1 ราย ต้องขึ้นทะเบียน เป็นผู้มีสิทธิ์จัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมกับสํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และได้รับหนังสือxxxxxxxให้เข้ายื่นขอเสนอจากกรม
1.3.3 ในกรณีรวมกลุ่มกันเพ่ือยื่นข้อเสนอในฐานะกิจการร่วมค้าแล้ว ห้ามมิให้เข้ายื่นข้อเสนอ งานเดียวกันในฐานะอื่นอีก และไม่อนุญาตให้เปลี่ยนแปลงxxxxxเติมกลุ่มผู้ร่วมค้ากันภายหลัง หรือจะ เขาร่วมค้ากับที่ปรึกษารายอื่นอีกเพื่อเข้าย่ืนข้อเสนองานเดียวกันxxxxxx
1.4 เอกสารและหลักฐานในการยื่นข้อเสนอ
ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอเอกสารหลักฐานและซองข้อเสนอด้านคุณภาพ ซองข้อเสนอด้าน ราคา โดยแยกเอกสารหลักฐานไว้นอกซองขอเสนอด้านคุณภาพและซองข้อเสนอด้านราคาดังน้ี
1.4.1 เอกสารหลักฐานนอกซองข้อเสนอด้านคุณภาพและข้อเสนอด้านราคา อย่างน้อยต้องมีเอกสาร
ดังต่อไปน
ํานวน 11 ชุด (ต้นฉบ
1 ชุด สําเนา 10 ชุด)
(1) ในกรณีผู้ยื่นขอเสนอเป็นนิติบุคคล
(ก) ห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือห้างหุ้นส่วนจํากัด ให้ยื่นสําเนาหนังสือรับรองการจด
ทะเบียนนิติบุคคล บัญชีรายชื่อหุ้นส่วนผู
ดการ ผู้มีอํานาจควบค
พรอมรับรองสําเนาถูกต้อง
(ข) บริษัทจํากัด หรือบริษัทมหาชนจํากัด ให้ย่ืนสําเนาหนงสือรับรองการจดทะเบียนนิติ
บุคคล หนังสือบริคณห์สนธิ บญชีรายชื่อกรรมการผ รับรองสําเนาถูกต้อง
ัดการ xx
xอํานาจควบคุม และบญชีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ พร้อม
(2) ในกรณีผู้ย่ืนข้อเสนอเป็นผู้ยื่นข้อเสนอร่วมกันในฐานะเป็นกิจการร่วมค้า ให้ยื่นสําเนา สัญญาของการเข้าร่วมค้า และเอกสารตามท่ีระบุไว้ใน (1)
(3) ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นนิติบุคคลตาม (1) ให้ยื่นหลักฐานสําเนารูปถ่าย ทะเบียนบ้าน ซ่ึงระบุสัญชาติของกรรมการผู้จัดการหรือหุนส่วนผู้จัดการ พรอมรับรองสําเนาถูกต้อง
(4) หนังสือมอบอํานาจซ่ึงปิดอากรแสตมป์ตามกฎหมายในกรณีที่ผู้ยื่นข้อเสนอมอบอํานาจ ให้บุคคลอื่นลงนามในเอกสารข้อเสนอแทน
1.4.2 ซองข้อเสนอด้านคุณภาพซองท่ี 1 และซองข้อเสนอด้านราคาซองที่ 2
1.4.3 บญชีเอกสารทั้งหมด xxxxxxยื่นพร้อมกับซองขอเสนอ ตามแบบในข้อ 1.1.5
1.5 การยื่นข้อเสนอ
ผ ื่นข้อเสนอตองยื่นข้อเสนอด้านคุณภาพและขอเสนอด้านราคาพร้อมกันโดยแยกเป็น 2 ซอง ดงน
1.5.1 ซองที่ 1 ให้บรรจุเอกสารข้อเสนอทางด้านคุณภาพ จํานวน 11 ชุด ประกอบด้วยต้นฉบับ 1
ชุด สําเนา 10 ชุด ดังนี้
(1) ข้อเสนอทางดานคุณภาพ
(2) หลักฐานแสดงผลงาน ประกอบด้วย
(2.1) บญชีแสดงรายการงาน ซึงเสร็จเรียบร้อยแลว้
(2.2) บัญชีแสดงรายการงาน ในปัจจุบนที่ยังไม่แล้วเสร็จ
(2.3) สําเนารูปถ่ายหนังสือรับรองผลงานของผู้xxxxxxx หรือ สําเนารูปถ่ายสัญญา ของผู้xxxxxxx ตามบัญชีแสดงรายการงานในข้อ (2.1) และ (2.2) ซึ่งรับรอง
สําเนาถูกต้อง โดยผ ีอานาจxx xxนิตกรรมแทนนิิ ตบคคลุิ
(3) หลกฐานเก่ียวกบเจาหนาที่ของนิติบุคคล ประกอบด้วย
(3.1) บัญชีแสดงรายช่ือ คุณวุฒิ จํานวนเจ้าหน้าที่ของนิติบุคคลxxxxxxxปฏิบัติงาน ประจํา และปฏิบัติงานชั่วคราว (เฉพาะxxxxxxxxxxxxxxมาทํางานโครงการนี้)
(3.2) ประวัติการทํางานของเจ้าหน้าที่ของนิติบุคคลทุกคนตามท่ีระบุในข้อ (3.1) โดยเสนอเป็นต้นฉบับพร้อมลงลายมือชื่อเจ้าของประวัติ (ด้วยหมึกสีน้ําเงิน) และวัน เดือน ปี อย่างxxxxxxx และให้แนบสําเนาบัตรประจําตัวที่ทาง ราชการออกให้พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง
1.5.2 ซองท่ี 2 ให้บรรจุเอกสารข้อเสนอด้านราคา จํานวน 11 ชุด ประกอบด้วยต้นฉบับ 1 ชุด สําเนา 10 ชุด
ข้อเสนอด้านราคา จะต้องสอดคล้องกับข้อเสนอทางด้านคุณภาพโดยให้แยกการเสนอราคา ออกเป็นส่วน ๆ ตามที่กําหนดเงื่อนไข xxxx
ราคาค่าสํารวจ โดยแยกออกเป็น
- ค่าสํารวจสภาพป่าไม้/สัตว์ป่า
- ค่าสํารวจสภาพเศรษฐกิจสังคม
- ค่าเก็บตัวอย่างและวิเคราะห์คุณภาพนํา้
- ค่าสํารวจอื่น ๆ
ราคาค่าศึกษา ท้ังนีจะต้องแสดงรายละเอียดประกอบดังต่อไปนี้
- xxxxxxxxxxxxxxจะใชปฏิบัติงานและความรับผิดชอบ ของแต่ละคน
- จํานวน MAN–MONTH ของบุคคลหลักและบุคคลสนับสนุน แต่ละบุคคลที่ใช้ ปฏิบัติงาน
- อัตราราคา MAN–MONTH จะต้องมีหลักฐานแสดงด้วยว่าอัตรา MAN– MONTH ของแต่ละบุคคลได้รับจากหน่วยราชการใดเป็นครั้งสุดท้ายจํานวนเท่าใด และเมื่อใด
- อตราค่าสํารวจและทดสอบ ฯลฯ
- ค่าใช้จ่ายอื่น
ราคาที่เสนอจะต้องเสนอกําหนดยืนราคาไม่น้อยกว่า 120 วัน นับแต่วันย่ืนข้อเสนอและท่ี ปรึกษาต้องปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จภายใน 450 วันนบตั้งแต่วนเร่ิมปฏิบัติงาน
อนึ่ง ข้อเสนอทุกซองจะต้องปิดผนึกให้เรียบร้อย จ่าหน้าถึงประธานคณะกรรมการดําเนินงาน xxxxxxxปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก เขียนช่ือโครงการที่xxxxxxxจะย่ืนข้อเสนอให้ชัดเจน แล้วนํายื่นเสนอโดยตรงต่อ คณะกรรมการดําเนินงานxxxxxxxปรึกษาโดยวิธีคัดเลือกตาม วัน เวลา และสถานxxxxxxระบุใน “หนังสือxxxxxxxให้ เข้ายื่นข้อเสนอ”
1.6 หลกเกณฑ์และxxxxxของกรมชลประทาน
การดําเนินxxxxxxxปรึกษาโครงการนี้ กรมจะแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมาจํานวน 2 คณะ
ประกอบด้วย
คณะกรรมการดาเนํ ินงานxxxxxxxปรึกษาโดยวธxxx ัดเลือก โดยมีอานาจหนํ าที่
1) พิจารณาคุณสมบัติของที่ปรกษาท่ีึ มายื่นข้อเสนอให้เป็นไปตามเง่ือนไขที่กําหนดใน หนังสือเชญชวนิ
2) พxxxxxคิ ดเลือกท่ีปรึกษาตามหลักเกณฑ์การพxxxxxขิ อเสนอใหเป็นไปตาม เงอนไขท่ีื่ กําหนดไวในหน้ ังสือเชญชวนิ
3) รายงานผลการพิจารณาและเสนอความเห็นตอห่ ัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
คณะกรรมการตรวจรบพัั สดในงานจุ้ างท่ีปรึกษา โดยมีอํานาจหนาที่้ ทําการตรวจรับงานxxxx
ให้เป็นไปตามเง่ือนไขของสัญญาหรือข้อตกลงนั้น
1.6.1 หลักเกณฑ์การรับซองข้อเสนอและเอกสารหลักฐาน
คณะกรรมการดําเนินงานxxxxxxxปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก จะพิจารณารับซองข้อเสนอพร้อม เอกสารหลักฐานตามข้อ 1.4 และข้อ 1.5 เฉพาะท่ีย่ืนเสนอโดยตรงต่อคณะกรรมการฯ ตามวัน เวลา สถานxxxxxx กําหนดในหนงสืxxxxxxxxให้เขาย่ืนข้อเสนอเท่านั้น
1.6.2 หลักเกณฑ์การตรวจสอบผูเสนอราคาที่มีxxxxxxxxxxร่วมกัน
คณะกรรมการดําเนินงานxxxxxxxปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก จะดําเนินการตรวจสอบ คุณสมบัติของผู้ย่ืนข้อเสนอเพื่อรับจ้างเป็นท่ีปรึกษาแต่ละราย ว่าเป็นผู้เสนอราคาที่มีxxxxxxxxxxร่วมกันกับ ผู้ยื่นข้อเสนอรายอ่ืน ตามข้อ 1.1.4 (1) ณ xxxxxxรับหนังสือxxxxxxxให้เข้ายื่นข้อเสนอหรือไม่ และประกาศ รายช่ือผู้ยื่นข้อเสนอท่ีมีxxxxxxxxรับการคัดเลือก ก่อนการเปิดซองข้อเสนอด้านคุณภาพ
หากปรากฏต่อคณะกรรมการดําเนินงานxxxxxxxปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก ก่อนหรือในขณะที่มีการ เปิดซองข้อเสนอด้านคุณภาพ หรือเปิดซองข้อเสนอด้านราคาว่ามีผู้ย่ืนข้อเสนอกระทําการอันเป็นการขัดขวาง การแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรมตามข้อ 1.1.4 (2) และคณะกรรมการฯ เชื่อว่ามีการกระทําอันเป็นการขัดขวาง การแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม คณะกรรมการฯ จะตัดรายชื่อผู้ย่ืนข้อเสนอรายน้ันออกจากการเป็นผู้ยื่น ข้อเสนอในการxxxxxxxปรึกษา และประกาศรายชื่อผู้ยื่นข้อเสนอที่มีxxxxxxxxรับการคัดเลือก และกรมจะพิจารณา ลงโทษผู้ยื่นข้อเสนอดังกล่าวเป็นผู้ท้ิงงาน เว้นแต่คณะกรรมการฯ จะวินิจฉัยได้ว่าผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้นเป็นผู้ท่ีให้ ความร่วมมือเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาของทางราชการและมิไดเปนผู้ริเร่ิมให้มีการกระทําดังกล่าว
ผู้ยื่นข้อเสนอที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเป็นผู้ยื่นข้อเสนอ ในการxxxxxxxปรึกษาเพราะเหตุเป็น ผู้เสนอราคาท่ีมีประโยชน์ร่วมกันกับผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่น ณ xxxxxxรับหนังสือxxxxxxxให้เข้าย่ืนข้อเสนอ หรือ
เป็นผ ื่นขอเสนอท่ี้ กระทําการอันเป็นการขดขวางการแขั ่งขนราคาอย่างเปนธรรม็ อาจอุทธรณ์คําสั่งดังกล่าวต่อ
ปลัดกระทรวงภายใน 3 วัน นับแต่xxxxxxได้รับแจ้งจากคณะกรรมการดําเนินงานxxxxxxxปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก
การวินิจฉัยอุทธรณ์ของปลดกระทรวงxx xอเป็นที่สุด
คณะกรรมการดําเนินงานxxxxxxxปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก จะกําหนดวัน เวลา และสถานที่เปิด
ซองข้อเสนอดานคุณภาพ ของผู้ย่ืนข้อเสนอท่ีมีxxxxxxx xxxxxxxxรับการคดเลือกดังกล่าวข้างต้น
ับการคัดเลือก พร้อมกับประกาศรายชื่อผู้ยื่นขอเสนอที่ม
การยื่นอุทธรณ์ตามวรรคสาม ย่อมไม่เป็นเหตุให้มีการขยายระยะเวลาการเปิดซองข้อเสนอ ด้านคุณภาพ หรือซองข้อเสนอด้านราคา เว้นแต่ปลัดกระทรวงพิจารณาเห็นว่าการขยายระยะเวลาดังกล่าว จะเป็นประโยชน์แก่ทางราชการอย่างยิ่ง และในกรณีที่ปลัดกระทรวงพิจารณาเห็นด้วยกับคําคัดค้านของผู้ อุทธรณ์ และเห็นว่าการยกเลิกการเปิดซองข้อเสนอด้านคุณภาพ หรือซองข้อเสนอด้านราคา xxxxxxดําเนินการไป แล้วจะเป็นประโยชน์แก่ทางราชการอย่างยิ่ง ให้ปลัดกระทรวงมีอํานาจยกเลิกการเปิดซองข้อเสนอดังกล่าวได้
1.6.3 หลักเกณฑ์การเปิดซองข้อเสนอ
คณะกรรมการดําเนินงานxxxxxxxปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก จะเปิดซองข้อเสนอท่ีส่งหลังจากเสร็จ สินกําหนดเวลายื่นซองข้อเสนอ โดยจะดําเนินการตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้
1.6.3.1 จะเปิดซองข้อเสนอและเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ของที่ปรึกษาทุกราย ตรวจสอบการมี xxxxxxxxxxร่วมกัน และเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ของที่ปรึกษาแล้วคัดเลือกท่ีปรึกษาที่ไม่มีxxxxxxxxxxร่วมกัน และย่ืนเอกสารครบถ้วน ถูกต้อง มีคุณสมบัติและข้อเสนอเป็นไปตามเงื่อนไขที่กําหนดไว้ในหนังสือxxxxxxxใน กระบวนการxxxxxxx xxxสอบถามข้อเท็จจริงเพิ่มเติมจากที่ปรึกษารายใดก็ได้ แต่จะให้ที่ปรึกษารายใด เปล่ียนแปลงสาระสําคัญที่เสนอไว้แล้วมิได้ และหากคณะกรรมการฯ เห็นxxxxxxปรึกษารายใดมีคุณสมบัติไม่ ครบถวนตามเงื่อนไขที่กาหนดไวในหนงสืxxxxxxxx ให้คณะกรรมการฯ ตัดรายช่ือของที่ปรึกษารายนั้นออกจาก การคดเลือกในครั้งนัน้
1.6.3.2 พิจารณาคัดเลือกข้อเสนอของที่ปรึกษารายที่ถูกต้องตาม (1.6.3.1) และผ่านเกณฑ์ ด้านคุณภาพที่กําหนดและจัดลําดับ และให้พิจารณาคัดเลือกรายxxxxxxคะแนนด้านคุณภาพมากที่สุด ในกรณีท่ี ปรึกษารายที่คัดเลือกไว้ไม่ยอมเข้าทําสัญญาหรือข้อตกลงกับหน่วยงานของรัฐในเวลาที่กําหนด ให้คณะ กรรมการฯxxxxxxxxxxปรึกษาxxxxxคะแนนมากที่สุดลําดับถดไป
1.6.4 หลักเกณฑ์และxxxxxในการพิจารณาข้อเสนอ
โดยที่กรมมีวัตถุประสงค์จะให้การxxxxxxxปรึกษาโครงการxx xxเร็จลุล่วงไปด้วยดี และเปนประโยชน็
ต่อทางราชการมากที่สุด จึงกําหนดหลกเกณฑ์และxxxxxในการพิจารณาข้อเสนอทั้งหมดของผ ื่นข้อเสนอ ดงตั ่อไปน
1.6.4.1 คณะกรรมการดําเนินงานxxxxxxxปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก จะพิจารณาเอกสารและ หลักฐานที่กําหนดในข้อ 1.4 และข้อ 1.5 ซึ่งผู้ย่ืนข้อเสนอต้องเสนอให้ครบถ้วน สําหรับประวัติการทํางานของ เจ้าหน้าที่และสําเนาบัตรประจําตัวท่ีทางราชการออกให้ ตามข้อ 1.5.1 (3) (3.2) หากเสนอมามิใช่ต้นฉบับและ หรือไม่มีลายมือชื่อของเจ้าของประวัติ และหรือ วัน เดือน ปี ที่ลงลายมือชื่อก่อนวันย่ืนข้อเสนอเกินกว่า 1 เดือน คณะกรรมการดําเนินงานxxxxxxxปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก จะไม่พิจารณาข้อเสนอโดยเด็ดขาด และจะไม่ ส่งคืนเอกสารและหลักฐานทงั หมด
ในการพิจารณาข้อเสนอด้านคุณภาพ จะพิจารณาโดยใช้เกณฑ์เปรียบเทียบประสบการณ์ของที่ ปรึกษา ขอเสนอทางคุณภาพ ตลอดจนเง่ือนไขและบริการต่างๆ รวมท้ังคุณสมบัติและประสบการณ์ของxxxxxxxxxxx xxxเสนอมาเพื่อทําโครงการนี้ ทงั นีได้กําหนดเกณฑ์การให้คะแนนไว้ 5 ส่วน ประกอบด้วยรายละเอียดดังน้ี
1) ผลงานและประสบการณ์ของที่ปรึกษา 20 คะแนน
2) วิธีการบริหารและวิธีการปฏิบัติงาน 35 คะแนน
3) จํานวนบุคลากรxxxxxxxงาน 35 คะแนน
4) ประเภทของที่ปรึกษาที่รฐต้องการxxxxxxxxหรือสนับสนุน 5 คะแนน
5) ข้อเสนอทางด้านการเงิน 5 คะแนน
รวม 100 คะแนน
เมื่อนําคะแนนxxxxxxปรึกษาได้จากข้อ 1), 2) , 3) , 4) และ 5) มารวมกัน ต้องไม่ต่ํากว่า ร้อยละ 70
จึงxxxxxxxxxปรึกษาผ่านการพิจารณาข้อเสนอด้านคุณภาพ และเข้าสู่กระบวนการพิจารณาข้อเสนอด้านราคาต่อไป
1.6.4.2 คณะกรรมการดําเนินงานxxxxxxxปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก xxxxxxให้ผู้ย่ืนข้อเสนอ ทางด้านคุณภาพ ซึ่งได้รับการพิจารณาให้เปิดซองข้อเสนอด้านราคาตามข้อ 1.6.3.2 มาเพื่อเจรจาต่อรองให้ได้
ราคาท่ีเหมาะสม ในกรณีที่มีท่ีปรึกษาไดคะแนนเท่ากันหลายราย xx
xxxxxxผ
่ีเสนอราคาตํ่าสุด
1.6.4.3 คณะกรรมการดําเนินงานxxxxxxxปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก มีxxxxxxxxจะเจรจาต่อรอง ท้ังข้อเสนอด้านคุณภาพ และข้อเสนอราคา สอบถามหรือขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติมได้ ผู้ยื่นข้อเสนอต้องให้ ความร่วมมือดวยดี
1.6.4.4 ในกรณีท่ีปรากฏว่า ราคาของที่ปรึกษาที่เป็นผู้ชนะหรือได้รับการคัดเลือกยังสูงกว่า วงเงินที่จะxxxx คณะกรรมการดําเนินงานxxxxxxปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก xxxxxxxxxที่จะดําเนินการ ดงน้ี
(1) ต่อรองราคากับท่ีปรึกษารายที่คณะกรรมการเห็นxxxxxxxxxน้ัน ให้ต่ําสุดเท่าที่จะทําได้ หากท่ีปรึกษารายนั้นยอมลดราคาแล้วราคาที่เสนอใหม่ไม่สูงกว่าวงเงินและเห็นว่าราคาดังกล่าวเป็นราคาที่ เหมาะสม ก็ใหเสนอxxxxจากที่ปรึกษารายนนั้
(2) หากดําเนินการตาม (1) แล้วxxxxxxผล กรมขอxxxxxxxxxx ในการยกเลิกการxxxในคร้ังนัน้
1.6.4.5 เมื่อเจรจาได้ราคาที่เหมาะสมแลว้ จะพิจารณาเง่ือนไขต่างๆ ท่ีจะกําหนดในสัญญาต่อไป
1.6.4.6 ในกรณีที่ปรากฏข้อเท็จจริงภายหลังการเปิดซองข้อเสนอด้านคุณภาพ หรือข้อเสนอ ด้านราคาว่าผู้ย่ืนข้อเสนอท่ีมีxxxxxxxxรับการคัดเลือกตามxxxxxxประกาศรายช่ือไว้ ตามข้อ 1.6.2 เป็นผู้เสนอราคา ที่มีxxxxxxxxxxร่วมกันกับผู้เสนอราคารายอื่น ณ xxxxxxรับหนังสือxxxxxxxให้เข้าย่ืนข้อเสนอ หรือเป็นผู้ยื่น ข้อเสนอที่กระทําการอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม ตามข้อ 1.1.4 (2) กรมมีอํานาจที่ จะตัดรายชื่อผู้ยื่นข้อเสนอท่ีมีxxxxxxxxรับการคัดเลือกดังกล่าวออกจากประกาศรายชื่อตามข้อ 1.6.2 และกรม จะพิจารณาลงโทษผูเสนอราคารายนันเป็นผู้ทิงงาน
ในกรณีนี้หากปลัดกระทรวงพิจารณาเห็นว่าการยกเลิกการเปิดซองข้อเสนอดานคุณภาพ หรือ ซองข้อเสนอราคาxxxxxxดําเนินการไปแล้ว จะเป็นประโยชน์แก่ทางราชการอย่างยิ่ง ปลัดกระทรวงมีอํานาจยกเลิก การเปิดซองข้อเสนอดังกล่าวได้
xxxxxxxxกล่าวมาท้ังหมดในข้อ 1.6.4 เป็นxxxxxโดยชอบของกรม ผู้ย่ืนข้อเสนอจะร้องเรียนหรือ นําไปเป็นเหตุกล่าวอาง เพ่ือฟ้องรองคาเสียหายต่อกรมอย่างหน่งอย่างใดในภายหลังxxxxxx
1.7 หลกเกณฑ์ของการxxxxรบราคาและข้อเสนอ
เมื่อกรมพิจารณารับข้อเสนอของผู้ยื่นข้อเสนอแล้ว จะxxxxรับราคาและข้อเสนอเป็นลาย
ลักษณ์xxxxxไปยังผ
ื่นข้อเสนอรายน
พร้อมท้ังแจ้งกําหนดนัดใหมาทําสญญา
1.8 หลักเกณฑ์การทําสญญา
1.8.1 การลงนามในสัญญาจะกระทําได้ต่อเมื่อกรมได้รบอนุมัติเงิน แล้วเท่านั้น
1.8.2 ก่อนทําสัญญาต่อกัน ผู้ย่ืนข้อเสนอจะขอตรวจดูร่างสัญญาที่จะทําต่อกันล่วงหน้าได้
1.8.3 ผู้ยื่นข้อเสนอต้องไปทําสัญญากับกรมภายในกําหนดเวลาท่ีระบุไว้ในหนังสือxxxxรับ ราคาและข้อเสนอ
ระยะเวลาที่กําหนดให้ไปทําสัญญาดังกล่าวข้างต้น หากกรมมีความจําเป็นxxxxxxลงนาม ในสัญญาได้ และจําต้องเลื่อนกําหนดเวลาในการลงนามในสัญญาออกไปผู้ยื่นข้อเสนอต้องยินยอมไปทําสัญญา
ตามกําหนดเวลาที่เลื่อนออกไปน และไม่ถือเป็นเหตอนุ จะนํามากล่าวอ้างเพ่ือเรียกร้องสิทธใดๆิ จากกรม
หากผู้ยื่นข้อเสนอไม่ไปทําสัญญาภายในกําหนดเวลาดังกล่าวข้างต้น กรมจะพิจารณาเรียก ร้อง ค่าเสียหาย (ถามี) รวมทังจะพิจารณาให้เป็นผู้ทิ้งงานตามxxxxxxxของทางราชการ
1.8.4 ก่อนหรือขณะทําสญญา ผู้ย่นข้อเสนอต้องยื่นหลักฐานต่อไปนีให้กรมตรวจสอบ
(1) สําเนารูปถ่ายหนังสือรับรองแสดงการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลของสํานักงาน ทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกลาง หรือสํานักทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทจังหวัด กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิชย์ ฉบับที่จดทะเบียนหลังสุด ซึ่งรับรองสําเนาถูกต้อง โดยผู้มีอํานาจทํานิติกรรมแทนนิติบุคคล
(2) หนังสือมอบอํานาจที่ติดอากรแสตมป์ครบถ้วน ถ้าผู้จะทําสัญญาเป็นตัวแทนผู้ ได้รับมอบอํานาจจากนิติบุคคล
(3) บัตรประจําตัวผู้ทําสัญญาที่ออกโดยส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ ถ้าเป็นชาว ต่างประเทศอนุโลมให้ใชหนังสือเดินทางแทนได้
1.8.5 ในการลงนามในสัญญาควรมีพยานฝ่ายผู้เสนอราคาลงช่ือเป็นพยานในสญญาด้วย 1 คน
1.9 การจ่ายเงินล่วงหxxx
xxxปรึกษามีxxxxxเสนอขอรับเงินค่าxxxxล่วงหน้า ในอัตราไม่เกินร้อยละ 15 (สิบห้า) ของราคาค่าxxxx xxxxหมด แต่ที่ปรึกษาจะต้องส่งมอบหนังสือค้ําประกันหรือหนังสือค้ําประกันอิเลคทรอนิกส์ของธนาคารใน ประเทศไทยตามแบบที่แนบท้าย (ภาคผนวก ง) ซึ่งมีวงเงินค้ําประกันเท่ากับจํานวนเงินค่าxxxxล่วงหน้าที่ขอรับ ให้แก่กรมก่อนการชําระเงินล่วงหน้านั้น สําหรับการxxxxหน่วยงานภาครัฐ ไม่ต้องมีหลักประกันเงินล่วงหนา้
1.10 อัตราค่าปรบั
ค่าปรับตามเงื่อนไขเอกสารแนบท้ายสัญญา ภาคผนวก ค. จะกําหนดในอัตราร้อยละ 0.10 (ศูนย์จุดหนึ่งศูนย์) ของค่าxxxxxxxxxxxxต่อวัน
2. ตัวอย่างสัญญาxxx
ตัวอย่าง สัญญาxxxxผู้เชี่ยวชาญรายบุคคลหรือxxxxบริษัทที่ปรึกษา
สัญญาเลขที่.....................
สัญญาฉบับนี้ทําขึ้น ณ ................................................... ตําบล/แขวง ...............................................
อํ าเภ อ /เข ต .....................................................................จั งห วั ด .................................…........................…....
เม่ื x xxx xxx .........เดื อน .............................พ .ศ ................ ระหว่าง ..................……...........................................
โดย.......................................................ซึ่งต่อไปนี้ในสัญญานี้เรียกว่า“ผู้xxxxxxx”ฝ่ายหนึ่ง กับ
............................................... อยู่บ้านเลขที่ ..................... ถนน ..................................................................
ตําบล/แขวง....................................อําเภอ/เขต..............................................จังหวัด.......................………
*(ในกรณีเป็นบริษัทท่ีปรึกษาให้ใช้ข้อความว่า ซึ่งจดทะเบียนเป็นนิติ
บุคคล ณ......…..……...........มีสํานักงานxxxxxxxxเลขที่.......................ถนน ตําบล/แขวง
....................................อํ า เ ภ อ /เข ต .............................................จั งห วั ด .....……....................... โด ย
.............................................................. ผู้มีอํานาจลงนามผูกพันนิติบุคคลปรากฏตามหนังสือรับรองของ
สํานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท.....….........……….....................................ลงxxxxxx (และหนังสือ
มอบอํานาจลงxxxxxx แนบท้ายสัญญานี้) * ซึ่งต่อไปในสัญญานี้เรียกว่า “ที่ปรึกษา”
อีกฝ่ายหนึ่ง
โดยที่ผู้xxxxxxxมีความxxxxxxxจะxxxxxxxปรึกษาเพื่อปฏิบัติงานตามโครงการต่อไปนี้…………..…
…………………………………. (บร x x x ย ลั กษ ณ ะ ง า น โดย ย่ อ ) ................................................................
………………………………………………………………………………........... และโดยxxxxxxปรึกษามีความxxxxxxxจะรับจ้าง ทํางานดังกล่าวขางตน้ ทั้งสองฝ่ายจึงไดตกลงทําสัญญากันมขี ้อความดังต่อไปน้ี
ผู้xxxxxxxตกลงxxxx และท่ีปรึกษาตกลงรับจ้างเพ่ือปฏิบัติงานตามรายละเอียดที่กําหนดไว้ใน เอกสารแนบท้ายสัญญา ซ่ึงประกอบด้วยเง่ือนไขของสัญญา และภาคผนวกดังต่อไปนี้
ภาคผนวก ก : ขอบข่ายของงานและกําหนดระยะเวลาการทํางาน ภาคผนวก ข : กําหนดระยะเวลาการทํางานของที่ปรึกษา ภาคผนวก ค : ค่าxxxxและวิธีการจ่ายค่าxxxx
ภาคผนวก ง : แบบหนงสือคําประกัน (หลักประกนการรบเงินค่าxxxxxxxปรึกษาล่วงหน้า) ภาคผนวก จ : แบบหนังสือค้ําประกัน (หลักประกันการรับเงินประกันผลงาน)
ฯลฯ
เอกสารแนบท้ายสัญญาดังกล่าวข้างต้นให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญานี้ ในกรณีที่มีความขัดแย้งกัน ระหว่างข้อความในเงื่อนไขของสัญญา กับข้อความในภาคผนวก ให้ถือข้อความในเงื่อนไขของสัญญาบังคับ ใน กรณีที่เอกสารแนบท้ายสญญาขัดแย้งxxxxxx xxxปรึกษาจะต้องปฏิบตั ิตามคําวินิจฉัยของผู้xxxxxxx
สัญญาน้ีทําขึ้น 2 ฉบับ มีข้อความถูกต้องตรงกัน xxxxxxxxxxxอ่านและเข้าใจข้อความในสัญญาโดยละเอียด ตลอดแล้ว จึงไดลงลายมือช่ือไว้เป็นสําคัญต่อหน้าพยานและคู่สัญญา ต่างยึดถือไว้ฝ่ายละฉบับ
ลงชื่อ ผู้xxxxxxx
(............................................................)
ลงชื่อ ท่ีปรึกษา
(............................................................)
ลงชื่อ พยาน
(............................................................)
ลงชื่อ พยาน
(............................................................)
เง่ือนไขของสญญา
1. ขอความท่วไป
1.1 ขอบข่ายของงาน
งานxxxxxxxปรึกษาจะต้องปฏิบัติตามแห่งสัญญานี้ (ต่อไปในสัญญาเรียกว่า "งาน") ให้เป็นไปตามขอบข่าย ของงานท่ีระบุไว้ในภาคผนวก ก. และงานxxxxxxxปรึกษาและผูxx xxxxxxตกลงxxxxxเติมจากภาคผนวก ก.
1.2 กฎหมายที่จะต้องปฏิบัติตาม
ในการปฏิบัติงานxxxxxxxxนี้ที่ปรึกษาจะต้องเคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย xxxxxxx และข้อบังคับต่าง ๆ ของ ทางราชการ
1.3 หวเรื่อง
ชื่อเรื่องของเง่ือนไขสัญญาข้อหนึ่งข้อใด จะxxxxxxxxxเป็นส่วนหน่ึงของเงื่อนไขของสัญญาข้อนั้น หรือนําไป ประกอบการพิจารณาในการตีความวินิจฉัยความหมายของข้อความในข้อนันๆ หรือข้อความอื่นใดของสัญญานี้
1.4 การxxxxxxxx
บรรดาคําxxxxxxxxหรือการให้ความยินยอมหรือความเห็นชอบใดๆ ตามxxxxxxxxxxxxxxxต้องทําเป็นหนังสือและ xxxxxxxxxส่งไปโดยชอบแล้ว หากได้จดส่งโดยทางหนึ่งทางใดดังต่อไปนี้ คือ
• ส่งมอบโดยบุคคลแก่ผูxxxxxxxxรับมอบหมายของคู่สญญาแต่ละฝ่าย
• ทางไปรษณีย์ลงทะเบียน
• ทางโทรเลข โทรพิมพ์ หรือโทรสาร แล้วยืนยันเป็นหนังสือโดยเร็วไปยังชื่อและที่อยู่ของคู่สัญญา ดังต่อไปนี้
ผู้xxxxxx :
ที่ปรึกษา :
2. การเร่ิมxxx xxxสิ้นสุดของxxx xxxเปลี่ยนแปลงแก้ไข และการบอกเลิกสัญญา
2.1 การเร่ิมมีผลบังคับของสัญญา
สัญญาน ีผลใชบงคั้ ับทันทีเมื่อxxxxxxxxxxลงนาม้
2.2 วนเริ่มปฏิบัติงาน
ที่ปรึกษาจะต้องเริ่มปฏิบัติงานภายใน 30 วันนับถัดจากวันลงนามในสัญญา โดยผู้xxxxxxxจะมีหนังสือแจ้งให ท่ี ปรึกษาทราบ
2.3 วันสิ้นสุดของสัญญา
ท่ีปรึกษาตองปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จภายใน 450 วันนับตั้งแต่วันเริ่มปฏิบัติงานตามข้อ 2.2
2.4 การเปล่ียนแปลงแก้ไขสัญญา
ถ้ามีเหตุจําเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสัญญา ให้ทําเป็นหนังสือตามแบบและxxxxxxxxxxxเดียวกับ การทําสัญญาน้ี
2.5 การโอนงาน
2.5.1 ท่ีปรึกษาจะไม่ให้ช่วงงาน มอบหมายงาน โอนงาน หรือละทิ้งงานให้ผู้อื่นเป็นผู้ทํางานxxxxxxxxนี้ แทนไม่ว่าทั้งหมด หรือแต่เพียงบางส่วนด้วยประการใดๆ โดยxxxxxxรับความยินยอมจากผู้xxxxxxxก่อน และแม้ว่าจะได้รับความยินยอมดังกล่าวที่ปรึกษาก็ยังxxต้องรับผิดชอบอย่างxxxxxxxxxxxxxxxนี้ต่อไป ทุกประการ
2.5.2 ท่ีปรึกษาจะต้องไม่โอนxxxxxประโยชน์ใดๆ xxxxxxxxน้ีให้แก่ผู้อ่ืน โดยxxxxxxรับความxxxxxxxxx
x xxxxxxก่อน เว้นแต่การโอนเงินท่ีถึงกําหนดชําระหรอท่ีจะถึงกําหนดชําระ
2.6 การระงับงานชั่วคราวและการบอกเลิกสัญญา
2.6.1 การบอกเลิกสัญญาหรือใหหยุดงานชั่วคราวโดยผู้xxxxxx
ก) ผู้xxxxxxxมีxxxxxบอกเลิกสัญญานี้ได้ ถ้าผู้xxxxxxxเห็นxxxxxxปรึกษามิได้ปฏิบัติงานด้วยความ ชํานาญและด้วยความเอาใจใส่ในวิชาชีพของที่ปรึกษาเท่าที่พึงคาดหมายได้จากที่ปรึกษาใน
ระดับเดียวกัน หรือมิได้ปฏิบัติตามข้อสัญญา และเงื่อนไขท่ีกําหนดในสัญญาน ในกรณีxxxนี้่
ผู้xxxxxxxจะxxxxxxxxให้ที่ปรึกษาทราบถึงเหตุผลที่จะบอกเลิกสัญญา ถ้าท่ีปรึกษามิได้ดําเนินการ แก้ไขให้ผู้xxxxxxxxxxxภายในระยะเวลา 30 วัน นับแต่xxxxxxได้รับคําxxxxxxxx ผู้xxxxxxxมีxxxxxบอก เลิกสัญญาโดยการส่งคําxxxxxxxxแก่ที่ปรึกษา เม่ืxxxxปรึกษาได้รับหนังสือxxxxxxxxนั้นแล้ว ที่ปรึกษาต้องยุติงานทันที และดําเนินการทุกวิถีทางเพื่อลดค่าใช้จ่ายใด ๆ xxxxxxมีในระหว่าง
การหยุดปฏิบ
ิงานน
ให xxxxxสุด
ข) ผู้ว่าจ้างอาจมีหนังสือxxxxxxxxให้ท่ีปรึกษาทราบล่วงหน้าเมื่อใดก็ได้ว่า ผู้xxxxxxxxxxxxxxจะ ระงับการทํางานทั้งหมดหรือแต่บางส่วน หรือจะบอกเลิกสัญญาในกรณีท่ีผู้xxxxxxxจะบอกเลิกสัญญา การบอกเลิกดังกล่าวจะมีผลในเวลาไม่น้อยกว่า 60 วัน นับจากxxxxxxที่ปรึกษาได้รับหนังสือxxxxxxxx นั้น หรืออาจเร็วกว่าหรือช้ากว่ากําหนดเวลาน้ันก็ได้ แล้วแต่คู่สัญญาจะทําความตกลงกัน เมื่อ ท่ีปรึกษาได้รับหนังสือxxxxxxxxนั้นแล้ว ที่ปรึกษาจะต้องยุติ งานทันที และดําเนินการทุกวิถีทาง
เพ่ือลดค่าใช้จ่ายใดๆ xxxxxxมีในระหว่างการหยุดปฏิบัติงานน
2.6.2 การบอกเลิกสัญญาโดยท่ีปรึกษา
ให้นอยที่สุด
ที่ปรึกษามีxxxxxบอกเลิกสัญญาได้ ถ้าผู้xxxxxxxมิได้ปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดชอบตามท่ีสัญญา ระบุไว้ ในกรณีxxxxนี้ที่ปรึกษาจะมีหนังสือถึงผู้xxxxxxxระบุรายละเอียดถึงสาเหตุและเหตุผลในการ ขอเลิกสัญญา ถ้าผู้xxxxxxxมิได้ดําเนินการแก้ไขให้ที่ปรึกษาxxxxภายในระยะเวลา 30 วัน นับแต่ วนxxxxxxรับหนังสือxxxxxxxxxxxx xxxปรึกษามีxxxxxบอกเลิกสัญญา
2.6.3 เหตุสุดวิสัย
ก) "เหตุสุดวิสัย" xxxxxxxxxxx xxxxใดๆ อันเกิดขึ้นก็ดีจะให้ผลพิบัติก็ดี ไม่มีใครอาจจะ ป้องกันได้แม้ทั้งบุคคลผู้ต้องประสบ หรือใกล้จะต้องประสบเหตุนั้นจะได้จัดการระมัดระวังตาม xxxxx อนพึงคาดหมายได้จากบุคคลนั้นในฐานะxxxxนัน้
ข) ถ้าคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด ไม่xxxxxxปฏิบัติหน้าที่xxxxxxxxนี้ได้เพราะเหตุสุดวิสัย คู่สัญญาฝ่ายนั้นจะต้องxxxxxxxxเป็นลายลักษณ์xxxxx ให้คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งทราบภายในระยะเวลา 14 วัน นับแต่เหตุนั้นเกิดขึ้น และคู่สญญาxxxxxxxได้รับแจ้งต้องพิจารณาว่าจะยอมรับเหตุดงกล่าวว่า เป็นเหตุสุดวิสัยหรือไม่แล้วแจ้งให้คู่สัญญาฝ่ายแรกทราบภายในเวลาอันควร
ค) ในระหว่างที่มีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ให้หน้าที่และความรับผิดชอบของxxxxxxxxxxxxสองฝ่ายระงับ หยุดไปชั่วคราว เว้นแต่จะระบุไว้ในสัญญานี้เป็นประการอื่น xxxxxxxxxxxxxxxปรึกษามีxxxxxจะได้รับการ ขยายเวลาทํางานออกไปเท่ากับระยะเวลาที่ต้องเสียไปอันเน่ืองจากเหตุสุดวิสัยนั้น
ง) ในกรณีที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่xxxxxxปฏิบัติงานหรือยินยอมให้มีการปฏิบัติงาน xxxxxxxxน้ีได้ทั้งหมดหรือแต่เพียงบางส่วน เน่ืองจากเหตุสุดวิสัยต่อเน่ืองกันเป็นเวลาเกิน กว่า 60 วัน นับจากวันแจ้งเหตุสุดวิสัยตามข้อ (ข) คู่สัญญาแต่ละฝ่ายมีxxxxxบอกเลิกสัญญา ได้ โดยส่งคําxxxxxxxxไปยังคู่สัญญาอีกฝ่ายหน่ึงล่วงหน้าเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 15 วนั
2.7 xxxxxของคู่สญญาเมือมีการระงบงานช่วคราวหรือบอกเลิกสญญา
2.7.1 เม่ือมีการระงับการทํางานxxxxxxxxน้ีช่ัวคราวxxxxxxxxขอ้ 2.6.1 (ข) ผู้xxxxxxxจะจ่ายเงินให้แก่
ท่ีปรึกษาเป็นค่าใช้จ่ายเท่าที่จําเป็นตามจํานวนเงินท่ ู่สัญญาจะไดตกลงกัน
2.7.2 เม่ือมีการเลิกสัญญาตามข้อ 2.6.1 (ก) ผู้xxxxxxxจะต้องชําระค่าxxxxตามส่วนที่เป็นธรรมและเหมาะสม ท่ีกําหนดในภาคผนวก ค. ให้แก่ที่ปรึกษา โดยคํานวณตั้งแต่วันเริ่มปฏิบัติงานจนถึงวันบอกเลิกสัญญา ในกรณี xxxxนี้ผู้xxxxxxxมีxxxxxจะยึดเงินประกันผลงานหรือบังคับxxxxxxหนังสือค้ําประกันตามที่ระบุไว้ใน ภาคผนวก ค. แล้วแต่กรณีได้
2.7.3 เม่ือมีการเลิกสัญญาตามขอ้ 2.6.1 (ข) หรือข้อ 2.6.2 ผู้xxxxxxxจะชําระค่าxxxxตามส่วนที่เป็นธรรม และ
เหมาะสมท่ีกําหนดในภาคผนวก ค. ให้แก่ท่ีปรึกษา โดยคํานวณตงั xx xนเริ่มปฏิบตั ิงานจนถึงวันบอกเลิก
สัญญา นอกจากน้ีผู้xxxxxxxจะจ่ายคืนเงินประกันผลงานที่หักไว้ทั้งหมดหรือคืนหนังสือค้ําประกันท่ียืด ไว้ตามภาคผนวก ค. แล้วแต่กรณี รวมทั้งเงินชดเชยค่าเดินทางและเงินค่าใช้จ่าย xxxxxxทดลองจ่ายไป ตามxxxxxและตามความเป็นจริง ซึ่งผู้xxxxxxxยังมิได้เคยชําระxxxxxxให้แก่ท่ีปรึกษาด้วย อย่างไรก็
ตามเงินชดเชย และเงินxxxxx ําระไปแล้วทั้งหมดจะต้อง ไม่เกินยอดเงนตามสิ ัญญาที่กําหนดใน
ภาคผนวก ค. หรือตามxxxxxตกลงแกไขกันไว้
2.7.4 เม่ือมีการบอกเลิกสัญญาตามข้อ 2.6.3 (ง) ผ
่าxxxxจะชําระค่าxxxตามส่วนที่เป็นธรรมและ
เหมาะสมตามที่กําหนดในภาคผนวก ค. ให้แก่ท่ีปรึกษา โดยคํานวณต้ังแต่วันเริ่มปฏิบัติงานจนถึงวัน บอกเลิกสัญญา นอกจากนี้ ผู้xxxxxxxจะจ่ายคืนเงินประกันผลงานท่ีหักไว้ทั้งหมด หรือคืนหนังสือค้ํา ประกันท่ียึดไวตามภาคผนวก ค. แล้วแต่กรณี
2.8 xxxxxเรียกร้องเมื่อมีการบอกเลิกสัญญาเน่ืองจากผิดสัญญา
เมื่อมีการบอกเลิกสัญญาเนื่องจากผิดสัญญา ผู้xxxxxxxและที่ปรึกษาจะทําความตกลงกันในเรื่อง xxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxในกรณีที่การบอกเลิกสัญญาเกิดขึ้น เนื่องจากที่ปรึกษาเป็นฝ่ายผิดสัญญา ผู้xxxxxxxมี xxxxxนําเงินประกันผลงานท่ียึดไว้xxxxxxxxข้อ 2.7.2 หรือเงินที่ธนาคารผู้ค้ําประกันส่งมาให้มาชดใช้เป็น ค่าเสียหายเบื้องต้น
3. xxxxxและหน้าที่ของที่ปรึกษา
3.1 ที่ปรึกษาจะต้องใช้ความชํานาญ ความระมัดระวังและความxxxxxxxxxxxxxx ในการปฏิบัติงานxxx xxxxxอย่างมีประสิทธิภาพและจะต้องปฏิบัติหน้าที่ความรบผิดชอบให้สําเร็จลุล่วงไปตามมาตรฐานของวิชาชีพ ที่ยอมรบนับถือกันโดยท่วไป
3.2 ค่าxxxxซึ่งผู้xxxxxxxจะชําระแก่ที่ปรึกษาตามภาคผนวก ค. น้ัน เป็นค่าตอบแทนเพียงอย่างเดียว xxxx xxxปรึกษาจะได้รับเก่ียวกับการปฏิบัติงานxxxxxxxxนี้ ท่ีปรึกษาจะต้องไม่รับค่านายหน้าทางการค้า ส่วนลด เบียเลียง เงินช่วยเหลือใดๆ โดยตรงหรือโดยทางออม หรือสงิ ตอบแทนใดๆ ในส่วนท่ีเก่ียวข้อง กบสัญญานี้ หรือ
ที่เกี่ยวกับการปฏิบ ิหน้าที่ตามสญญาน้ี
3.3 ที่ปรึกษาจะต้องไม่มีxxxxxxxxxxใดๆ ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม ในเงินค่าxxxxx เงินบําเหน็จ หรือค่านายหน้าใด ๆ ที่เก่ียวกับการนําสิ่งของหรือกรรมวิธีใดๆ ที่มีทะเบียนสิทธิบัตร หรือได้รับการคุ้มครอง มาใช้เพื่อวัตถุประสงค์ของสัญญานี้ เว้นแต่คู่สัญญาจะได้ตกลงกันเป็นลายลักษณ์xxxxxxxxxxxปรึกษาอาจxxx xxxxxxxxxxหรือเงินxxxxว่านี้ได้
3.4 ลิขสิทธิ์ในเอกสารทุกฉบับ xxxxxxxปรึกษาได้ทําข้ึนเกี่ยวกับสัญญานี้ให้ตกเป็นของผู้xxxxxxxบรรดา เอกสารxxxxxxปรึกษาได้จัดทําขึ้นเกี่ยวกับสัญญานี้ ให้ถือเป็นความลับและให้ตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้xxxxxxx
xxxปรึกษาจะต้องส่งมอบบรรดาเอกสารดังกล่าวให้แก่ผ ่าxxxxเมื่อสิ้นสุดสญญาน้ี ที่ปรกษาอาจเกึ ็บสาเนาเอกสารํ
ไว้กับตนได้ แต่ต้องไม่นําข้อความในเอกสารนั้นไปใช้ในกิจการอื่นxxxxxxเกี่ยวกับงานโดยxxxxxxรับความยินยอม ล่วงหน้าเป็นลายลักษณ์xxxxxจากผูxx xxxxxxก่อน
3.5 บรรดาเครื่องมือ เครื่องใช้และวัสดุอุปกรณ์ท้ังหลาย ซึ่งผู้xxxxxxxxxxจัดให้ที่ปรึกษาใช้หรือxxxx xxxปรึกษาซื้อมาด้วยxxxxxxxxxของผู้xxxxxxx หรือซึ่งผู้xxxxxxxเป็นผู้จ่ายชดใช้xxxxxx xxxxxxเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้xxxxxxx และต้องทําเครื่องหมายแสดงว่าเป็นของผู้xxxxxxxด้วยที่ปรึกษาต้องใช้เครื่องมือเคร่ืองใช้และอุปกรณ์ดังกล่าว อย่างเหมาะสมตามxxxxxxxของทางราชการ เพ่ือกิจการที่เกี่ยวกับการxxxxxxปรึกษาเท่านั้น
เมื่อทํางานเสร็จหรือมีการเลิกสัญญา ท่ีปรึกษาจะต้องทําบัญชีแสดงรายการเครื่องมือ เคร่ืองใช้และ วัสดุอุปกรณ์ทั้งหลายข้างต้นที่ยังคงเหลืออยู่ และจัดการโยกย้ายไปเก็บรักษาตามคําสั่งผู้xxxxxxx xxxปรึกษาต้อง ดูแลเครื่องมือเคร่ืองใช้และวัสดุอุปกรณ์ดังกล่าวอย่างเหมาะสมตลอดเวลาที่ครอบครอง แล้วต้องคืนเครื่องมือ และเครื่องใช้และวัสดุอุปกรณ์ดังกล่าวให้ครบในสภาพดีตามความเหมาะสมแต่ไม่ต้องรับผิดชอบสําหรับความ เสื่อมสภาพตามxxxx
4. ความรับผิดชอบของที่ปรึกษา
4.1 ที่ปรึกษาจะต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้xxxxxxx และป้องกันมิให้ผู้xxxxxxxต้องรับผิดชอบในบรรดา xxxxxเรียกร้องค่าเสียหาย ค่าใช้จ่ายหรือราคา รวมตลอดxxxxxxเรียกร้องโดยบุคคลท่ีสามอันเกิดจากความ ผิดพลาดหรือการละเวนไม่กระทําการของท่ีปรึกษา หรือของลูกxxxของที่ปรึกษา
4.2 ที่ปรึกษาจะตองรบผิดต่อการละเมิดบทบัญญัติแห่งกฎหมาย หรือxxxxxใด ๆ ในสิทธิบัตรหรือxxxxx ของบุคคลท่ีสาม xxxxxxxปรึกษานํามาใช้ในการปฏิบัติงานxxxxxxxxนี้
4.3 ที่ปรึกษาจะต้องจัดการประกันภัยเพื่อความรับผิดต่อบุคคลภายนอก และเพื่อความสูญหาย หรือ เสียหายในทรัพย์สินซึ่งผู้xxxxxxxเป็นผู้จัดหาให้หรือสั่งซ้ือโดยxxxxxxxxxของผู้xxxxxxx เพื่อให้ที่ปรึกษาไว้ใช้ในการ ปฏิบัติงานxxxxxxxxนี้ โดยที่ปรึกษาเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการประกันภัยเอง ทั้งนี้เว้นแต่จะมีการตกลงกันไว้ เป็นอย่างอื่นในสัญญานี้
5. พนธะหน้าที่ของผู้xxxxxxx
ผ ่าxxxxจะมอบข้อมูลและสถิติต่างๆ ที่เกี่ยวข้องซึ่งผ ่าxxxxมีอยู่ให้แก่ทีปรึกษา โดยไม่คิดxxxxxx และ
ภายในเวลาอันควร
ในกรณีxxxxxxปรึกษาร้องขอความช่วยเหลือ ผู้xxxxxxxจะให้ความช่วยเหลืออํานวยความสะดวกตามxxxxx
xxxxxx เพ่ือให้การปฏิบัติงานของที่ปรึกษาxxxxxxxxนี้ลุล่วงไปได
6. ค่าxxxxของท่ีปรึกษา
วยดี
6.1 xx xxxxxจะชําระค่าxxxxปฏบตงานใหิัิ ้ที่ปรึกษาตามเงื่อนไขที่ระบุในภาคผนวก ค.
6.2 ในกรณีxxxxxxปรึกษาต้องปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่งเพิ่มเติม นอกเหนือจากที่ระบุในภาคผนวก ก. เน่ืองจากมีเหตุใดๆ นอกเหนือจากการควบคุมของที่ปรึกษาเกิดข้ึน และxxxxxxxปรึกษาxxxxxxคาดหมาย ล่วงหน้าได้ หรือเนื่องจากxxxxxxxxxxxตกลงเปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขงานอันxxxxxxxxxมาจากการเรียกร้อง ของฝ่ายผู้xxxxxxx xxxปรึกษาจะได้รับค่าxxxxรวมทั้งค่าใช้จ่ายท่ีเบิกคืนได้ (ถ้ามี) เพิ่มเติมโดยคํานวณ ตามอตราเดียวกับอัตราที่ระบุในภาคผนวก ค.
6.3 ในกรณีท่ีการล่าช้าเกิดจากฝ่ายผู้xxxxxxx และการล่าช้านั้นทําให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายxxxxxขึ้น เป็นพิเศษ ที่ปรึกษามีxxxxxxxxรับค่าxxxxเพิ่มเติม โดยxxxxxxxxxxxxสองฝ่ายจะได้ตกลงกันในเรื่องค่าxxxx เพิ่มเติมน้นั
7. การชําระเงินให้ท่ีปรึกษา
7.1 เงินสกุลต่างประเทศxxxxxxปรึกษาได้รับชําระทุกครั้ง ผู้xxxxxxxจะช่วยเหลือให้ที่ปรึกษาxxxxxx ส่งกลับไปต่างประเทศได้ ภายใต้บทบัญญัติแห่งกฎหมาย
7.2 เมื่อใดท่ีจําเป็นต้องตีราคาเงินสกุลหน่ึงเป็นเงินอีกสกุลหนึ่ง เพื่อการชําระเงินจํานวนที่ระบุ ในภาคผนวก ค. ให้ใช้อัตราขายตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ในxxxxxxถึงกําหนดชําระเงิน เป็นอตราแลกเปล่ียน
หมายเหตุ ข้อ 7 น้ี ใช้ในกรณีผู้xxxxxxxxxต่างประเทศหรือบริษทที่ปรึกษาต่างประเทศ
8. เงินค่าxxxล่วงหน้า
ผู้xxxxxxxตกลงจ่ายเงินค่าxxxxล่วงหน้าให้แก่ท่ีปรึกษาจํานวนร้อยละ 15 (15%) ของเงินค่าxxxxซ่ึงรวม ภาษีxxxxxxxxxxx คิดเป็นเงิน………………………………บาท (… )
เงินจํานวนดังกล่าวจะจ่ายให้ภายหลังจากxxxxxxปรึกษาได้วางหลักประกันการรับเงินค่าxxxxล่วงหน้า เต็มตามจํานวนเงินค่าxxxxล่วงหน้านั้นให้แก่ผู้xxxxxxxยึดถือไว้ก่อน ท่ีปรึกษาจะต้องออกใบเสร็จรับเงินค่าxxxx ล่วงหน้าตามแบบที่ผู้xxxxxxxกําหนดให้ และท่ีปรึกษาตกลงที่จะกระทําตามเง่ือนไขอันเกี่ยวกับการใช้จ่าย และ
การใช
ืนเงินค่าxxxxล่วงหน้านั้นดังต่อไปนี้
8.1 ที่ปรึกษาจะขอรับเงินล่วงหน้า 15% ได้ภายใน 15 วันนับถัดจากวันเริ่มปฏิบัติงานเป็นต้นไป
8.2 ที่ปรึกษาจะใช้เงินค่าxxxxล่วงหน้านั้นเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานxxxxxxxxเท่านั้น หากท่ีปรึกษา ใช้จ่ายเงินค่าxxxxล่วงหน้าหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของเงินค่าxxxxล่วงหน้านั้นในทางอ่ืน ผู้ว่าจ้างอาจจะเรียก เงินค่าxxxxล่วงหน้าคืนจากท่ีปรึกษา หรือบังคบแกหลกประกันการรับเงินค่าxxxล่วงหน้าได้ทันที
8.3 เม่ือผู้xxxxxxxเรียกร้อง ที่ปรึกษาต้องแสดงหลักฐานการใช้จ่ายเงินค่าxxxxล่วงหน้า เพื่อพิสูจน์ว่า ได้เป็นไปตามข้อ 8.2 ภายในกําหนด 15 วัน นับถัดจากxxxxxxรับแจ้งจากผู้xxxxxxx หากที่ปรึกษาxxxxxx แสดงหลักฐานดังกล่าวภายในกําหนด 15 วัน ผู้ว่าจ้างอาจเรียกร้องเงินค่าxxxxล่วงหน้าคืน
จากท่ีปรึกษา หรือบงคับแก่หลกประกนการรบเงินค่าxxxล่วงหน้าได นท
8.4 ในการจ่ายเงินค่าxxxxให้แก่ท่ีปรึกษา ผู้xxxxxxxจะหักเงินค่าxxxxไว้จํานวนร้อยละ 15 ของเงินค่าxxxx xxxปรึกษาจะได้รับในแต่ละงวด ทั้งนี้จนกว่าจํานวนเงินที่หักไว้ดังกล่าวจะครบตามจํานวนเงินค่าxxxx ล่วงหน้าxxxxxxปรึกษาได้รบไปแล้ว
8.5 ในกรณีที่มีการบอกเลิกสัญญา หากเงินค่าxxxxล่วงหน้าที่เหลือเกินกว่าจํานวนเงินxxxxxxปรึกษา จะได้รับหลังจากหักชดใช้ในกรณีอื่นแล้ว ที่ปรึกษาจะต้องจ่ายคืนเงินจํานวนที่เหลือนั้นให้แก่ ผูxx xxxxxxภายใน 7 วนั นับถดจากxxxxxxรับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้xxxxxxx
ผู้xxxxxxxจะคืนหลักประกันเงินล่วงหน้าให้แก่ที่ปรึกษา ต่อเมื่อผู้xxxxxxxxxxหักเงินค่าxxxxไว้ครบ จํานวนเงินล่วงหนาตามข้อ 8
8.6 ใบเสร็จรับเงินค่าxxxxล่วงหน้า ต้องมีตัวเลขไทย หรืออารบิกและxxxxxxxx ถ้าทําเป็น
ภาษาต่างประเทศต้องมีภาษาไทยกําก ใหปรากฏข้ ้อความดงตั ่อไปน
8.6.1 เลขประจําตวผูเสียภาษีอากรของผูออกใบรับ
8.6.2 ชื่อหรือยี่ห้อ และท่ีอยู่ของผู้ออกใบรับ
8.6.3 ชื่อและที่อยู่ของผู้xxxxxxx
8.6.4 เลขลําดบของเล่ม และของใบรบั
8.6.5 วัน เดือน ปี ที่ออกใบรับ
8.6.6 จํานวนเงินที่รับ
8.6.7 ชนิด ชื่อ งาน/โครงการ ของค่าxxxxล่วงหนา้
8.6.8 ลายมือชื่อผมู้ ีอํานาจของผู้ออกใบรับ
8.6.9 ผ
บเงิน
ภาคผนวก ก.
วันทําสัญญา ..............................................................
ขอบข่ายของงานและกําหนดระยะเวลาทํางาน
ภาคผนวก ข.
วันทําสัญญา ..............................................................................................
กําหนดระยะเวลาทํางานของที่ปรึกษา
ภาคผนวก ค.
วันทําสัญญา ..............................................................................................
ค่าxxxxและวิธีการจ่ายค่าxxxx
ค.1 ค่าxxxxส่วนท่ีเหมาจ่าย ค.1.1 จํานวนเงินเหมาจ่าย
ภาคผนวก ค. แบบท่ี 1 (แบบเหมาจ่าย)
ค่าxxxและวิธีการจ่ายค่าxxxx
ผู้xxxxxxxจะจ่ายค่าxxxxสําหรับการทํางานที่ปรึกษาเป็นการเหมาเป็นเงินทั้งสิ้น………....................
(เงินตราต่างประเทศ) ………….................และ................................ บาท (. )
ค.1.2 งวดเงินค่าxxxส่วนท่ีเหมาจ่าย
ค่าxxxส่วนท่ีเหมาจ่ายจะแบ่งออกเปนเงิน .................................. (เงินตราต่างประเทศ) จํานวน
................ งวด และเงินบาท จํานวน ................ งวด ซ่ึงแต่ละงวดจะถึงกําหนดชําระเมื่อผู้xxxxxxxxx บใบเรียกเก็บ
เงินจากที่ปรึกษา ส่วนใบเรียกเก็บเงินน ให้ยื่นเม่ือวันสุดท้ายของเดือนสําหรับเงินค่าxxxของงวดเดือนนั้น
เงินค่าxxxxในแต่ละงวดทั้งส่วนที่เป็น .................................. (เงินตราต่างประเทศ) และ
เงินบาท จะจ่ายตามกําหนดเวลาดังต่อไปนี้
งวดการจ่ายเงิน | เงินตราต่างประเทศ | เงินบาท |
เดือนที่ 1- | ................................................ | ................................................ |
รวม | ................................................ | ................................................ |
ผู้ว่าจ้างอาจจะยึดหน่วงเงินค่าxxxงวดใดงวดหนึ่งไวก้ ็ได้ หากที่ปรึกษาปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามกําหนดเวลาการ ทํางานในภาคผนวก ก. และจะจ่ายให้ต่อเม่ืxxxxปรึกษาได้ทําการแก้ไขขอบกพร่องนันแล้ว
ค.2 ค่าใชจ้ ่ายส่วนที่เบิกคืนได้
ค.2.1 รายการค่าใชจ่ายส่วนที่เบิกคืนได้
ผู้xxxxxxxจะจ่ายเงินคืนให้แก่ท่ีปรึกษาสําหรับบรรดาค่าใช้จ่ายxxxxxxxปรึกษาได้ใช้จ่ายไปตามความเป็นจริง ดังต่อไปน้ี
ก)
ข)
ค)
ฯลฯ
ค.2.2 การจ่ายเงินค่าใช้จ่ายส่วนที่เบิกคืนxxx
xxxปรึกษาจะต้องส่งใบเรียกเก็บเงินพร้อมด้วยเอกสารที่จําเป็น เพ่ือขอเบิกคืนเงินค่าใช ่ายตามจํานวนท
ได้จ่ายไปจริงต่อผู้xxxxxxxเป็นระยะ ๆ ไป ผู้xxxxxxxจะทําการจ่ายคืนค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้แก่ท่ีปรึกษาภายใน 45 วัน นับแต่ได้รับใบเรียกเก็บเงินน้ัน ในกรณีที่มีค่าใช้จ่ายบางรายการซึ่งยังเป็นข้อโต้แย้งกันอยู่ระหว่างผู้xxxxxxx กับท่ีปรึกษา ผู้xxxxxxxจะจ่ายเฉพาะค่าใช้จ่ายส่วนท่ีไม่มีการโต้แย้งให้แก่ที่ปรึกษา ภายใน 45 วัน นบแต่ได้รับใบ เรียกเก็บเงินนั้น
ค.3 วิธีการจ่ายเงิน
ค.3.1 การจ่ายเงินส่วนท่ีเป็นเงินตราต่างประเทศ
(แบบที่ 1) 1. การจ่ายเงินส่วนที่เป็นเงิน .................. (เงินตราต่างประเทศ) นั้น ผู้xxxxxxxจะเป็นผู้สั่ง
ให้.............. (แหล่งเงินกู้) จ่ายเงินดังกล่าวให้แก่ที่ปรึกษาในนามของผู้xxxxxxx โดยจ่ายเข้าบัญชี
ของธนาคาร xxxxxxxปรึกษาจะได้กําหนด
(แบบท่ี 2) 2. การจ่ายเงินส่วนท่ีเป็นเงิน .…............ (เงินตราต่างประเทศ) ผู้xxxxxxxจะเป็นผู้จ่าย
โดยตรง โดยจ่ายเข้าบญชีของธนาคาร xxxxxxxปรึกษาจะได้กําหนด
ค.3.2 การจ่ายเงินส่วนท่ีเป็นเงินบาท
(แบบท่ี 1) 1. ผ
าxxxจะเป็นx
xxxxxxxซ่ึงเป็นเงินบาทโดยตรงใหแก่ท่ีปรึกษา
(แบบท่ี 2) 2. ผู้xxxxxxxจะเป็นผู้สั่งให้ .............. (แหล่งเงินกู้) จ่ายเงินดังกล่าวให้
แก่ที่ปรึกษาในนามของผ
่าxxxxโดยจ่ายเขาบญชีของธนาคาร xxxxxxxปรึกษาจะได
ําหนด
ค.4. เงินล่วงหน้าและหนงสือคําประกัน
ผู้xxxxxxxตกลงจ่ายเงินค่าxxxxล่วงหน้าให้แก่ที่ปรึกษาจํานวนร้อยละ 15 (15%) ของเงินค่าxxxx ซึ่งรวม ภาษีมูลค่าเพิ่ม คิดเป็นเงิน………………………………บาท (… )
เงินจํานวนดังกล่าวจะจ่ายให้ภายหลังจากxxxxxxปรึกษาได้วางหลักประกันการรับเงินค่าxxxxล่วงหน้า เต็มตามจํานวนเงินค่าxxxxล่วงหน้าน้ันให้แก่ผู้xxxxxxxยึดถือไว้ก่อน ที่ปรึกษาจะต้องออกใบเสร็จรับเงินค่าxxxx ล่วงหน้าตามแบบที่ผู้xxxxxxxกําหนดให้ และท่ีปรึกษาตกลงที่จะกระทําตามเง่ือนไขอันเกี่ยวกับการใช้จ่ายและ การใช้คืนเงินค่าxxxล่วงหน้านั้นดังต่อไปนี้
4.1 ที่ปรึกษาจะขอรบเงินล่วงหน้า 15% ได้ภายใน 15 วันนับถัดจากวันเริ่มปฏิบัติงานเป็นตนไป
4.2 ท่ีปรึกษาจะใช้เงินค่าxxxxล่วงหน้านั้นเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานxxxxxxxxเท่าน้ัน หาก ท่ีปรึกษาใช้จ่ายเงินค่าxxxxล่วงหน้าหรือส่วนใดส่วนหน่ึงของเงินค่าxxxxล่วงหน้านั้นในทางอื่น
ผ ่าxxxxxxxจะเรียกเงินค่าxxxxล่วงหน้าคืนจากที่ปรึกษา หรือบังคับแก่หลักประกันการรับเงินค่าxxxx
ล่วงหน้าได้ทันที
4.3 เม่ือผู้xxxxxxxเรียกร้อง ที่ปรึกษาต้องแสดงหลักฐานการใช้จ่ายเงินค่าxxxxล่วงหน้า เพื่อพิสูจน์ว่าได้ เป็นไปตามข้อ 4.2 ภายในกําหนด 15 วัน นับถัดจากxxxxxxรับแจ้งจากผู้xxxxxxx หากที่ปรึกษาxxxxxx แสดงหลักฐานดังกล่าวภายในกําหนด 15 วัน ผู้ว่าจ้างอาจเรียกร้องเงินค่าxxxxล่วงหน้าคืนจาก ท่ีปรึกษา หรือบงคับแก่หลักประกนการรบเงินค่าxxxxล่วงหน้าได้ทันที
4.4 ในการจ่ายเงินค่าxxxxให้แก่ที่ปรึกษา ผู้xxxxxxxจะหักเงินค่าxxxxไว้จํานวนร้อยละ 15 ของเงินค่าxxxx xxxปรึกษาจะได้รับในแต่ละงวด ท้ังนี้จนกว่าจํานวนเงินท่ีหักไว้ดังกล่าวจะครบตามจํานวนเงิน ค่าxxxxล่วงหน้าxxxxxxปรึกษาได้รับไปแล้ว
4.5 ในกรณีท่ีมีการบอกเลิกสัญญา หากเงินค่าxxxxล่วงหน้าท่ีเหลือเกินกว่าจํานวนเงินxxxxxxปรึกษา จะได้รับหลังจากหักชดใช้ในกรณีอ่ืนแล้ว ท่ีปรึกษาจะต้องจ่ายคืนเงินจํานวนที่เหลือนั้นให้แก่
ผู้xxxxxxxภายใน 7 ว นับถัดจากวนไดร้ั ับแจงเป็นหนังสือจากผู้xxxx xxx
ผู้xxxxxxxจะคืนหลักประกันเงินล่วงหน้าให้แก่ท่ีปรึกษา ต่อเม่ือผู้xxxxxxxxxxหักเงินค่าxxxxไว้ครบ จํานวนเงินล่วงหน้าตามข้อ 4
4.6 ใบเสร็จรับเงินค่าxxxxล่วงหน้า ต้องมีตัวเลขไทย หรืออารบิกและxxxxxxxx ถ้าทําเป็นภาษาต่างประเทศ ตองมีภาษาไทยกํากับ ให้ปรากฏขอความดงต่อไปนี้
4.6.1 เลขประจําตวผเู สียภาษีอากรของผู้ออกใบรับ
4.6.2 ชื่อหรือยี่ห และที่อยู่ของผอู อกใบรับ
4.6.3 ช่ือและที่อยู่ของผู้xxxxxxx
4.6.4 เลขลําดบของเล่ม และของใบรับ
4.6.5 วัน เดือน ปี ท่ีออกใบรับ
4.6.6 จํานวนเงินที่รับ
4.6.7 ชนิด ชื่อ งาน/โครงการ ของค่าxxxxล่วงหน้า
4.6.8 ลายมือชื่อผู
4.6.9 ผู้รับเงิน
ีอํานาจของผู้ออกใบรับ
ค.5 เงินประกนผลงานและหนังสือค้ําประกนั
ในการจ่ายเงินค่าxxxxในแต่ละงวดตามขอ้
ค1.2 ผู้xxxxxxจะหักเงินค่าxxxxไว้ร้อยละ .......(%)… เพื่อ
มารวมไว้เป็นเงินประกันผลงาน และจะจ่ายxxxxxxxxxปรึกษาภายใน 45 วัน นับแต่ (ตัวอย่าง xxxx
“การจ่ายประกันผลงานงวดสุดท้าย” เป็นต้น)
xxxxxxxxxxxx xxxปรึกษาอาจจะขอให้ผู้xxxxxxxจ่ายเงินประกันผลงานคืนให้แก่ที่ปรึกษาได้ แต่ที่ปรึกษาจะต้อง นําหนังสือค้ําประกันของธนาคารซึ่งมีวงเงินคําประกันเท่ากับจํานวนเงินประกนผลงานที่ขอรับคืนมามอบให้ แก่ ผู้xxxxxxxไว้แทน หนังสือค้ําประกันดังกล่าวจะต้องออกโดยธนาคารในประเทศไทยตามแบบที่แนบท้ายสัญญานี้ (ภาคผนวก จ.) และจะต้องมีอายุการค้ําประกันตลอดไปจนกว่าภาระหน้าท่ีของที่ปรึกษา xxxxxxxxนี้สิ้นสุดลง ผู้xxxxxxxจะคืนหนังสือค้ําประกันดังกล่าวให้แก่ที่ปรึกษาภายใน 7 วัน นับแต่xxxxxxหนังสือค้ําประกันนั้นได้ หมดอายุแล้ว
ค.6 เบียปรับกรณีผิดสญญา
ค.6.1 ถ้าที่ปรึกษาปฏิบัติงานxxxxxxxxไม่แล้วเสร็จภายในกําหนดเวลา หรือที่ปรึกษาผิดสัญญา ข้อหนึ่งข้อใดxxxx xxxปรึกษายินยอมรบผิดต่อผู้xxxxxxx ดังนี้
1) หากที่ปรึกษาปฏิบัติงานตามภาคผนวก…….ไม่แล้วเสร็จภายใน…….วัน นับแต่xxxxxx ผู้xxxxxxxแ จ้งให้ เร่ิมป ฏิ บั ติงานได้ในส่วนน้ี ให้ ปรับเป็นรายxxx xxxล ะ…….บาท (…………………………….) จนถึงวนท่ีปฏิบตั ิงานแลวเสร็จxxxxxxxx การนับระยะเวลาตามที่กําหนดในวรรคก่อนให้คํานวณนับตามปฏิทิน วันสุดท้ายตรงกับวัน ใดแม้เป็นวันหยุดทําการตามประกาศเป็นทางการ หรือตามประเพณีก็ตามให้xxxxxxxxx ดังกล่าวเป็นวนครบระยะเวลาที่กําหนด
2) เรียกxxxxxxxxxxxxxต้องเสียไปเน่ืองจากการxxxxxxปรึกษาผิดสัญญา ผู้xxxxxxxทรงไว้ซึ่งxxxxx xxxจะ เรียกร้องให้ท่ีปรึกษาชดใชแต่เบี้ยปรบอยางเดียว หรือค่าเสียหายด้วยหรือxxxxxxxx
3) ในระหว่างที่มีการปรับน ถาผxxxx xxxxxเห็นxxxxxxปรึกษาไม่xxxxxxปฏบัิ ตงานตามสิ ัญญาให้
แล้วเสร็จภายในระยะเวลาอันxxxxx ผู้xxxxxxxมีxxxxxบอกเลิกสัญญาน้ีได้ และใช้xxxxxตาม ข้อ ค6.2 นอกเหนือจากการปรบจนถึงบอกเลิกสัญญาด้วย
ค.6.2 ถ้าผู้xxxxxxxบอกเลิกสัญญาแล้ว ที่ปรึกษายอมให
1) ริบหลกประกนผลงาน
ู้xxxxxxดําเนินการดังต่อไปน
2) เรียกเอาค่าxxxxxxxxxxxxขึนเพราะxxxxxxxปรึกษาอ่ืนทําการน
3) เรียกค่าเสียหายอนxxxxxจากท่ีปรึกษา
ค.6.3 ความรับผิดกรณีงานบกพร่อง
่อไปจนงานแล้วเสร็จบริบูรณ
ในกรณีที่ผลการศึกษาทางวิชาการบกพร่อง หรือไม่เหมาะสมตามความxxxxxxxของผู้xxxxxxx อันเนื่องมาจาก ที่ปรึกษามิได้ดําเนินการให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ ที่ปรึกษาต้องรีบทําการแก้ไขให้เป็นที่ เรียบร้อย โดยxxxxxxxxxบริการจากผู้xxxxxxxอีก ถ้าท่ีปรึกษาหลีกเลี่ยงหรือxxxxxxxxxxxรีบจัดการแก้ไข ให้เป็นที่เรียบร้อยใน กําหนดเวลาที่ผู้xxxxxxxแจ้งเป็นลายลักษณ์xxxxx ผู้xxxxxxxมีxxxxxxxxxที่ปรึกษารายอื่นทําการแทน โดยที่ปรึกษา จะต้องรับผิดชอบจ่ายเงินค่าxxxxตามจํานวนที่ผู้xxxxxxxต้องเสียไปโดยสิ้นเชิง ถ้าความเสียหายเกิดขึ้นแก่งานตาม ผลการศึกษาทางวิชาการxxxxxxปรึกษาได้เป็นผู้ศึกษาไว้ ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากที่ปรึกษา ได้ศึกษาไม่ถูกต้องตามหลัก วิชาการ ผู้xxxxxxxมีสิทธ์ิให้ที่ปรึกษาทําการแก้ไขความเสียหายดังกล่าว ถ้าที่ปรึกษาไม่xxxxxxแก้ไขได้ ผู้xxxxxxxมี xxxxxเรียกร้องค่าเสียหายทั้งหมดหรือบางส่วนที่เกิดขึ้นจากความเสียหายนั้น การเรียกร้องค่าเสียหายดังกล่าวให้ หมายความรวมถึงความxxxxxxxxxxเกิดขึ้นโดยตรงและโดยส่วนที่เกี่ยวกับความxxxxxxxxxxเกิดขึ้นจากการ ปฏิบัติงาน xxxxxxxxของที่ปรึกษาด้วย
เอกสารแนบ ค-1
ค่าใช้จ่ายท่ีเบิกคืนไดส้ ่วนที่เป็นเงิน ............ (เงินตราต่างประเทศ) ..........
1)
2)
3)
ฯลฯ
ค่าใช
เอกสารแนบ ค-2
่ายที่เบิกคืนไดส้ ่วนที่เป็นเงินบาท
1)
2)
3)
ฯลฯ
ภาคผนวก ง.
วันทําสัญญา ..............................................................................................
แบบหนงสือค้ําประกัน (หลักประกันการรบเงินค่าxxxxxxปรึกษาล่วงหน้า)
ภาคผนวก ง.
แบบหนังสือค ประกัน
(หลักประกนการรับเงินค่าxxxxxxปรึกษาล่วงหน )
เลขท่ี………………………….. วนท่ี…………..………………….
ข้าพเจ้า...........(ช่ือธนาคาร)..........สํานักงานตั้งอยู่เลขท่ี.............ถนน………ตําบล/แขวง……………….
อําเภอ/เขต...................จังหวัด………………..…….……..โดย ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน
ธนาคาร ขอทําหนังสือค้ําประกันฉบับนี้ให้ไว้ต่อ……….…….(ชื่อส่วนราชการผู้xxxxxxx)… ซ่ึงต่อไปน้ี
เรียกว่า “ผxxx xxxxx” ดังมีข้อความต่อไปนี้
1. ตามที่………….(ชื่อที่ปรึกษา)… ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “ที่ปรึกษา” ได้ทําสัญญากับผู้xxxxxxx
xxxxxxxxเลขที่…………………..…….ลงxxxxxx xxxxxxxปรึกษามีxxxxxxxxจะขอรับเงินค่าxxxxxxx
ปรึกษาล่วงหนาเป็นจํานวนเงิน………………………บาท (… ) นัน้
2. ข้าพเจ้ายินยอมผูกพันตนในฐานะเป็นลูกหนี้ร่วมโดยไม่มีเงื่อนไขที่จะค้ําประกันการจ่ายเงิน ค่าxxxxล่วงหน้าxxxxxxปรึกษาได้รับไป ภายในวงเงินไม่เกิน………………..บาท (… )
3. หากที่ปรึกษาซึ่งได้รับเงินค่าxxxxล่วงหน้าตามข้อ 1 จากผู้xxxxxxxไปแล้ว ไม่ปฏิบัติxxxxxxxxหรือ ตามเงื่อนไขอื่น ๆ แนบท้ายสัญญา อันเป็นเหตุให้ต้องจ่ายเงินค่าxxxxล่วงหน้าxxxxxxรับไปดังกล่าวคืนให้แก่ ผู้xxxxxxx หรือที่ปรึกษามีความxxxxxxxxxจะต้องจ่ายคืนเงินค่าxxxxล่วงหน้าแก่ผู้xxxxxxxxxxว่ากรณีใดๆ ข้าพเจ้าตกลง ที่จะจ่ายคืนเงินค่าxxxxล่วงหน้าเต็มตามจํานวน……………………..บาท (… ) หรือตามจํานวนที่ยังค้าง
อยู่ให้แก่ผู้xxxxxxxภายใน 7 วัน นับถัดจากxxxxxxได้รับคําxxxxxxxxเป็นหนังสือจากผู้xxxxxxx โดยผู้xxxxxxxxxx จําต้องเรียกให้ที่ปรึกษาชําระหนี้นนั ก่อน
4. หนังสือค้ําประกันนี้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันรับเงินค่าxxxxxxxปรึกษาล่วงหน้าดังกล่าวข้างต้น จนถึงxxxxxx
.........เดือน................พ.ศ (วันจ่ายเงินxxxxxxxxงวดสุดท้าย) / (xxxxxxหักเงินล่วงหน้าจากเงินค่าxxxxไว้ครบ
กําหนดแล้ว)/ (xxxxxxหักเงินล่วงหน้าจากเงินค่าxxxxไว้ครบจํานวนแล้ว)..และข้าพเจ้าจะไม่เพิกถอนการคํ้าประกัน ภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้
5. หากผู้xxxxxxxxxxขยายระยะเวลาใหแก่ท่ีปรึกษา ให้xxxxxxขาพเจาได้ยินยอมในกรณีนั้นๆ ด้วย โดยให้ ขยายระยะเวลาการคําประกนนี้ออกไปตลอดระยะเวลาที่ผู้xxxxxxxxขยายระยะเวลาให้แก่ผูขายดังกล่าวขางต้น
ข้าพเจ้าได้ลงนามและประทับตราไวต้ ่อหน้าพยานเป็นสําคัญ
(ลงชื่อ)… ผู้ค
(………………………………….)
ตําแหน่ง………………………………….
้ําประกัน
(ลงชื่อ)… พยาน
(………………………………….)
(ลงช่ือ)… พยาน
(………………………………….)
วันทําสญญา ..............................................................................................
ภาคผนวก จ.
แบบหนังสือค้ําประก (หลักประกันการรับเงนประกิ ันผลงาน)
ภาคผนวก จ. แบบหนงสือคําประกัน
(หลกประกนการรับเงินประกันผลงานxxxx)
เลขท่ี ............………... xxxxxx ........................................
ข้าพเจ้า...........(ช่ือธนาคาร)..........สํานักงานตั้งอยู่เลขที่.............ถนน………ตําบล/แขวง……………….
อําเภอ/เขต...................จังหวัด………………..…….……..โดย ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน
ธนาคาร ขอทําหนังสือค้ําประกันฉบับนี้ให้ไว้ต่อ……….…….(ชื่อส่วนราชการผู้xxxxxxx)… ซึ่งต่อไปนี้
เรียกว่า “ผู้xxxxxx” ดังมีขอความต่อไปนี้
1. ตามที่ ............. (ชื่อผู้รับจ้าง) ซึ่งต่อไปนี้เรียกว่า “ผู้รับจ้าง” ได้ทําสัญญาxxxxกับผู้xxxxxxx
xxxxxxxxเลขท่ี................ ลงxxxxxx โดยxxxxxxxxดงกล่าวผู้xxxxxxxจะหักเงินประกัน
ผลงานไว้ในอัตราร้อยละ ............. (…….%) ของค่าxxxxแต่ละงวดที่ถึงกําหนดจ่ายให้แก่ผ บxxxxนั้น
2. ข้าพเจ้ายอมผูกพันตนเป็นผู้ค้ําประกันผู้รับจ้างสําหรับเงินประกันผลงาน ซ่ึงผู้xxxxxxxxxxหักไว้จาก ค่าxxxxxxxได้จ่ายให้แก่ที่ปรึกษาตั้งแต่งวดท่ี ......... ถึงงวดที่ .......... เป็นจํานวนเงินทั้งส้ิน บาท
(. ) ซ่ึงผู้รับจ้างได้ขอรับคืนไป กล่าวคือหากผู้รับจ้างปฏิบัติบกพร่อง หรือผิดสัญญา
ข้อใดข้อหนึ่งอันก่อให้เกิดความเสียหายใดแก่ผู้xxxxxxx หรือจะต้องรับผิดชดใช้หนีแก่ผู้xxxxxxxxxxว่ากรณีใด ข้าพเจ้า ยอมชําระเงินค่าเสียหายหรือหนี้ดังกล่าวข้างต้นให้แก่ผู้xxxxxxxทันทีxxxxxxรับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้xxxxxxx โดยผู้xxx xxxxxxxต้องใช้xxxxxทางศาลก่อน ท้ังผู้xxxxxxxไม่มีหน้าท่ีต้องพิสูจน์ถึงข้อบกพร่องดังกล่าวของผู้รับจ้างแต่ประการใด อีกด้วย
3. หนังสือค้ําประกันนี้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันรับเงินประกันผลงานxxxxดังกล่าวข้างต้นจนถึง xxxxxx…………………..(วันจ่ายเงินxxxxxxxxxxxxงวดสุดท้าย). และข้าพเจ้าจะไม่เพิกถอนการค้ําประกัน
ภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้
4. หากผู้xxxxxxxxxxขยายระยะเวลาให้แก่ผู้รับจ้าง ให้xxxxxxข้าพเจ้าได้ยินยอมในกรณีน้ันๆ ด้วย โดยให้ ขยายระยะเวลาการค้ําประกันน้ีออกไปตลอดระยะเวลาท่ีผู้xxxxxxxxxxขยายระยะเวลาให้แก่ผู้รับจ้างดังกล่าว ข้างต้น
ข้าพเจ้าได้ลงนามและประทับตราไว้ต่อหน้าพยานเป็นสําคัญ
ลงช่ือ ผู้คําประกัน
(............................................................)
ตําแหน่ง......................................................................
ลงชื่อ พยาน
(............................................................)
ลงชื่อ พยาน
(............................................................)
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการโอนxxxxxเรียกร้องในเงินค่าxxxxหรือค่าซือทรัพย์สิน
1. การโอนxxxxxเรียกร้องในเงินค่าxxxxหรือค่าซื้อทรัพย์สินให้กระทําได้ ดังน้ี
1.1 ผู้รับจ้างหรือผู้ขาย โอนให้แก่ธนาคารภายในประเทศ บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บรรษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์xxxxxxรับอนุญาตให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์ และประกอบธุรกิจค้ําประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ ทางธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ส่วนราชการต่างๆทราบ
1.2 ผู
ับโอนตาม ข
1.1 ดังกล่าวข้างต้นโอนกลับคืนใหแก่ผูร
ับxxxxหรือผู้ขาย
2. หามมิใหมีการโอนสิทธเริ ียกร้องในเงนxx xxxxxxหรือค่าซื้อทรพย์สินในกรณดงต่ัี อไปน
2.1 สัญญา ใบสั่งหรือข้อตกลงที่กําหนดการจ่ายเงินค่าxxxxหรือค่าซื้อทรัพย์สินโดยวิธีจ่ายผ่านธนาคารเว้นแต่ จะxxxxxxxxxหลักเกณฑ์จองหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องรวมทั้งxxxxxxxหลักเกณฑ์ท่ีจะออกมาในภายหลัง กําหนดไว้เป็นอย่างอื่น
2.2 สัญญา ใบส่ังหรือข้อตกลงภายใต้โครงการที่ดําเนินการด้วยเงินกู้หรือเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ ท่ีกําหนดให้จ่ายค่าxxxxหรือค่าซื้อทรัพย์สิน เบิกจ่ายด้วยวิธีเบิกตรง (DIRECT PAYMENT)
3. การโอนxxxxxเรียกร้องในเงินค่าxxxxหรือค่าซ้ือทรัพย์สิน ผู้โอนและผู้รับโอนจะต้องมีหนังสือxxxxxxxx ใหกรมฯ ทราบตามแบบฟอร์มที่แนบ และจะต้องตกลงยินยอมผูกพันกับกรมฯ ดังต่อไปนี้
3.1 หากมีค่าเสียหายหรือเงินอื่นใดท่ีกรมฯ มีxxxxxจะได้รับ หรือหักออกจากค่าxxxxหรือ ค่าซ้ือทรัพย์สินตาม
เงื่อนไขสญญา ในส่ังหรือข้อตกลง ผ บโอนยนยอมใหกรมฯ รับหรือหักออกไว้ได้ทันท
3.2 หากกรมฯ มีความจําเป็นต้องสั่งจ่ายเงินค่าxxxxหรือค่าซื้อทรัพย์สินล่าช้าเกินกว่ากําหนดเวลาท่ีxxxxxxxxว่า
เน่ืองจากสาเหตุการอนุมัติเงินประจํางวดล่าช
หรือเหตุอื่นใดก็ตาม ผ
บโอนยินยอมสละxxxxxในการเรียก
ดอกเบียหรือค่าเสียหายอ่ืนใดในระหว่างxxxxxxxxxนันจากกรมฯ
3.3 หากกรมฯ มีxxxxxเรียกเงินที่ผู้รับโอนได้รับไปคืนทั้งหมดหรือเพียงบางส่วนแล้ว ผู้โอนและผู้รับโอน จะรับผิดชอบใช้เงินให้กรมฯ ภายในระยะเวลาที่กรมฯ กําหนด
3.4 หากกรมฯ มีxxxxxเรียกรองจากผูโอนและผู้รบโอน ไม่ว่าxxxxxเรียกร้องน จะเกิดจากมูลหนใดๆ้ี หรือจะ
เกิดขึ้นก่อนหรือหลังการโอนxxxxxเรียกร้องในครั้งนี้ ผู ับโอนยินยอมให้กรมฯ นําสิทธเริ ียกร้องดังกล่าว
มาหักกลบลบกับเงินค้าxxxxหรือค่าซื้อทรัพย์สินท่ีผู้รับโอนตะได้รบxxxxxxxxโอนxxxxxเรียกร้อง
3.5 หากกรมฯ มีขอต่อสู้ใดๆ ต่อผูโอน ผู้รับโอนยินยอมใหกรมฯ ยกขึนเป็นข้อต่อสู้แก่ผู้รับโอนxxxxxxxกัน
4. การส่งหนังสือxxxxxxxxการโอนxxxxxเรียกร้อง ให้ผูโอนและผ ับโอนส่งที่กองการเงนและบญชหรีัิ ือ
หน่วยงานในxxxxxxxx ซึ่งเป็นผูเบิกจ่ายเงินค่าxxxหรือค่าซื้อทรัพย์สินตามสญญาใบสั่งหรือข้อตกลงดังกล่าว
5. ผู ับxxxxหรือผูขายจะตองเป็นผู้ออกใบกํากบภาษีตามจํานวนเงินที่ระบุในใบส่งมอบงานหรือใบส่งของ
6. ผู้รับโอนจะต้องเป็นผู้ออกใบเสร็จรบเงนตามจํานวนเงินสุทธิxxxxx xบ
หนังสือxxxxxxxxการโอนxxxxxเรียกร้อง
เขียนท่ี...........................................
xxxxxx…..........เดือน.....................................พ.ศ...................
เรียน อธิบดีกรมชลประทาน
ข้าพเจ้า........................(ชื่อผู้โอน)................................โดย.....................................................
อายุ.....................ปี ตําแหน่ง................................................................ผู้มีอํานาจลงนามผูกพัน............................
(ชื่อผู้โอน)............................ปรากฏตามหนงสือรับรองของ (สํานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท
กรุงเทพมหานคร กรมทะเบียนการค้ากระทรวงพาณิชย์ / สํานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทจังหวัด / และหรือ หนังสือมอบอํานาจ).......................ดังแนบ สํานักงานเลขที่.........................ถนน.................................................
ตําบล/แขวง............................อําเภอ/เขต......................จังหวัด ซ่ึงต่อไปนี้เรียกว่า “ผู้โอน”
และ.............................(ชื่อผู้รบโอน).....................................โดย....................................................อายุ ปี
ตําแหน่ง เป็นxx
xอํานาจลงนามผูกพ
..........(ช่ือผ
บโอน). ปรากฏตาม
หนังสือรับรองของ...................(สํานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกรุงเทพมหานคร กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิชย์ / สํานักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทจังหวัด / และหรือหนงสือมอบอํานาจ). ดังแนบ
สํานักงานเลขท่ี....................ถนน.......................ตําบล / แขวง........................อําเภอ / เขต.................................
จังหวัด ซึ่งต่อไปน้ี เรียกว่า “ผู้รับโอน”
ข้าพเจ้า ผู้โอนและผู้รับโอน ขอแจ้งให้กรมฯ ทราบว่า บัดนี้ ผู้โอนได้โอนxxxxxเรียกร้องรับเงิน
.........(ค่าxxxx / ค่าซื้อทรัพย์สิน)............ตาม................(สัญญา / ใบสั่ง / ข้อตกลง).....................................
เลขที่......................................ลงxxxxxx.........................................ตามที่ผู้โอนมีxxxxxxxxรับรวมทั้งค่า K (ถ้ามี)
ภายในวงเงิน.................................บาท (..................................................)* / ท้ังหมดโดยไม่จํากัดวงเงิน** ใหแก่ผู้รับโอน ซ่ึงปรากฏรายละเอียดตามสําเนาสัญญาโอนxxxxxเรียกร้องดังแนบ โดยผูโอนและผู้รับโอนตกลง ยินยอมผูกพันกับกรมตามเงื่อนไข ดังต่อไปนี้
1. หากมีค่าเสียหายหรือเงินอ่ืนใดท่ีกรมมีxxxxxจะได้รับ หรือหักออกจาก (ค่าxxxx/
ค่าซื้อทรพย์สิน).................................ตามเงื่อนไข..........................(สัญญา / ใบสั่ง / ข้อตกลง).....................................................
เลขที่..................................................ลงxxxxxx...............................................ผ บโอนยนยอมให้กรมฯ รับหรอหักออกไว้ได้ทันท
2. หากกรม มีความจําเป็นต้องสั่งจ่าย..............................................(เงินค่าxxxx / ค่าทรพย์สิน ล่าช้า
เกินกว่ากําหนดเวลาที่xxxxx xxxว่าเนื่องจากสาเหตุการอนุมัติเงินประจํางวดล่าช้า หรือเหตุอ่ืนใดก็ตาม ผู้รับ โอนยินยอมสละxxxxxในการเรียกดอกเบี้ยหรือค่าเสียหายอื่นใดก็ตามผู้รับโอนยินยอมสละxxxxxในการเรียกดอกเบี้ยหรือ ค่าเสียหายอื่นใดในระหว่างxxxxxxxxxนั้นจากกรม
3. หากกรม มีxxxxxxxxxxxxxxxxxx..........(ค่าxxxx / ค่าซื้อทรัพย์สิน). ที่ผู้รับโอน ได้รับไปคืนทั้งหมดหรือ
บางส่วนแล ผู้โอนและผู้รับโอนขอรับผิดชอบใช้เงินให้กรมฯ ภายในระยะเวลาที่กรม กําหนด
4. หากกรมมีxxxxxเรียกร้องจากผู้โอนและหรือผู้รับโอน ไม่ว่าxxxxxเรียกร้องนั้นจะเกิดจากมูลหนี้ใดๆ หรือจะ เกิดขึ้นก่อนหรือหลังการโอนxxxxxเรียกร้องในครั้งนี้ ผู้รับโอนยินยอมให้กรมนําxxxxxเรียกร้องดังกล่าวมาหักกลบลบกับ เงิน..................................(ค่าxxxx / ค่าซือทรัพย์สิน)...................ที่ผูร้ ับโอนจะได้รบตามสญญาโอนxxxxxเรียกร้อง
5. หากกรมมีข้อต่อสู้ใดๆ ต่อผูโอน ผู้รับโอนยินยอมใหกรม ยกขึ้นเป็นข้อต่อส ก่ผู้รับโอนxxxxxxxก
(ลงชื่อ). ผูโอน
(...................................................................)
(ลงชื่อ). ผู้รับโอน
(...................................................................)
(ลงชื่อ). พยาน
(...................................................................)
(ลงช่ือ). พยาน
(...................................................................)
หมายเหตุ * / ** : โปรดระบุให้ชัดเจนว่าต้องการโอนxxxxxเรียกร้องตาม * หรือ ** และขีดฆ่าข้อความxxxxxx ต้องการออก
3. เงื่อนไขและขอบเขตการศึกษา
3.1 ความเป็นมาของโครงการ
เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อxxxxxxงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (สํานักงาน กปร.) ได้มีหนังสือที่ กร 0007.3/1761 ลงxxxxxx 10 มิถุนายน 2551 ถึงอธิบดีกรมชลประทาน ความว่า สํานัก ราชเลขาธิการ ได้ขอให้สํานักงาน กปร. พิจารณากรณีนายสุคํา xxxxxx ราษฎรบ้านเลขที่ 9 หมู่ที่ 11 ตําบล บ้านขอ อําเภอเมืองปาน จังหวัดลําปาง และคณะ ขอพระราชทานโครงการอ่างเก็บน ําห้วยแม่xxx เพื่อ ช่วยเหลือราษฎรตําบลบ้านขอ 5 หมู่บ้าน และตําบลทุ่งกว๋าว 1 หมู่บ้าน รวมทั งหมด 6 หมู่บ้าน ซึ่งประสบ ปัญหาขาดแคลนน ําสําหรับการอุปโภคบริโภคและทําการเกษตร ในการนี สํานักงาน กปร. ได้พิจารณาแล้วเห็น ว่าเรื่องร้องเรียนดังกล่าวเป็นเรื่องการพัฒนาแหล่งน ํา ซึ่งกรมชลประทานเป็นหน่วยงานที่xxxxxxดําเนินงาน เพื่อxxxxxxปัญหาความxxxxxxxxxของxxxxx xxxขอความอนุเคราะห์จากกรมชลประทานตรวจสอบข้อเท็จจริง พร้อมทั งเสนอแนวทางในการในการให้ความช่วยเหลือราษฎร
กรมชลประทานโดยสํานักชลประทานที่ 2 ได้ให้เจ้าหน้าที่ส่วนวิศวกรรมบริหาร เจ้าหน้าที่โครงการ ชลประทานลําปาง และเจ้าหน้าที่โครงการก่อสร้าง 1 ทําการตรวจสอบสภาพพื xxxxบริเวณหมู่บ้านที่ร้องขอใน xxxxxx 25 มิถุนายน 2551 ร่วมกับนายอาจ ธนันท์xxxxxxxxx นายกองค์การบริหารส่วนตําบลบ้านขอ นายสุคํา xxxxxx (เกษตรกรผู้ร้องขอโครงการ) นายxxxxxxx คําปัน หัวหน้าส่วนโยธาองค์การบริหารส่วนตําบลบ้านขอ xxxxxxxxxxx แก้วคําแสน ผู้ใหญ่บ้านป่าเหว หมู่ที่ 3 นายxxxx สอนดี ผู้ใหญ่บ้านขอใต้ หมู่ 4 นายจํานงค์ จํารัสศรี ผู้ใหญ่บ้านขอเหนือ หมู่ 9 นายxxxx อํามาตย์ใหญ่ สมาชิกองค์การบริหารส่วนตําบลบ้านขอหมู่ 3 xxxxxxxx xxxxxมะ สมาชิกองค์การบริหารส่วนตําบลบ้านขอ หมู่ 3 xxxxxxxxx xxxxx สมาชิกองค์การบริหาร ส่วนตําบลบ้านขอ หมู่ที่ 11 นายดา นามปวน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตําบลบ้านขอ หมู่ที่ 11 พร้อมด้วย ราษฎรตําบลบ้านขอจํานวน 20 คน โดยทําการรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม แล้วเห็นว่ามีแนวทางช่วยเหลือได้ ด้วยการก่อสร้างอ่างเก็บน ําในลําน ําแม่xxx (ลําน ําสาขาของน ําแม่ตุ๋ย) ซึ่งจะ xxxxxxแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน ําทําการเกษตรและการอุปโภคบริโภคของราษฎรหมู่บ้านที่ร้องขอโครงการ ได้อย่างยั่งยืน
ต่อมาเมื่อxxxxxx 22 กันยายน 2558 เจ้าหน้าที่ส่วนวางโครงการที่ 1 สํานักบริหารโครงการ เจ้าหน้าที่ สํานักงานก่อสร้างชลประทานxxxxxxxxที่ 2 กรมชลประทาน ร่วมกับนายอาจ ธนันท์xxxxxxxxx นายกองค์การ บริหารส่วนตําบลบ้านขอ ได้ประชุมการมีส่วนร่วมกับราษฎรตําบลบ้านขอ เพื่อรับฟังความคิดเห็นกับโครงการ อ่างเก็บน ําแม่xxx (แม่ตุ๋ย) อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ราษฎรตําบลบ้านขอ เห็นว่าหากมีแหล่งเก็บกักน ําจะ xxxxxxแก้ไขลดปัญหาน ําหลาก ปัญหาการขาดแคลนน ําทําการเกษตรและการอุปโภคบริโภคของราษฎรได้
การพัฒนาโครงการอ่างเก็บน ําแม่xxxอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดลําปาง มีเป้าหมายเพื่อเป็น แหล่งน ําต้นทุนให้กับพื xxxxการเกษตรของราษฎรตําบลบ้านขอ xxxxxxช่วยxxxxxxปัญหาการขาดแคลนน ําทํา การเกษตรและการอุปโภคบริโภคของราษฎร และxxxxxxปัญหาน ําหลากได้ในระดับหนึ่ง เนื่องจากพื xxxxxxxขอ อนุญาตดําเนินการก่อสร้างอาคารหัวงานโครงการและขอบเขตพื xxxxน ําท่วมของอ่างเก็บน ําแม่xxxบางxxxx xxxx ในพื xxxxชั นคุณภาพลุ่มน ําชั xxxx 1 และอยู่ในเขตพื xxxxป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่ตุ๋ยฝั่งขวา ในxxxxxxxxxxxxxxx (โซน C) ซึ่งมีพื xxxxเกินกว่า 500 ไร่ จึงจัดอยู่ในประเภทขนาดของโครงการที่ต้องจัดทํารายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม xxx xxบ.xxxxxxxxและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 และมติคณะรัฐมนตรี เมื่อxxxxxx 26 เมษายน 2554 เพื่อขอผ่อนผันการใช้พื xxxxลุ่มน ําชั xxxx 1 จากคณะรัฐมนตรี เพื่อประกอบการ พิจารณาให้ความเห็นชอบต่อรายงานฯ จากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(คชก. และ กก.วล.) การขอใช้พื xxxxป่าสงวนแห่งชาติจากกรมป่าไม้/เพิกถอนพื xxxxอุทยานแห่งชาติจากกรม อุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และxxxxxxxxx เพื่อก่อสร้างโครงการ กรมชลประทานจึงเห็นxxxxxให้มีโครงการศึกษา วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม อ่างเก็บน ําแม่xxxอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ตามกฎหมายและxxxxxxx ปฏิบัติที่กําหนด เพื่อประกอบการพิจารณาอนุญาตจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อการพัฒนาโครงการต่อไป
3.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
3.2.1 เพื่อศึกษาและจัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม หรือรายงานการประเมินผล กระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ ที่สอดคล้องและเป็นไปตามข้อกําหนดของกฎหมายและxxxxxxxxxxเกี่ยวข้อง และแนวทางของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.)
3.2.2 เพื่อจัดทําแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และแผนติดตามตรวจสอบ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIMP)
3.2.3 ดําเนินงานประชาสัมพันธ์ มวลชนxxxxxxxxและการมีส่วนร่วมของประชาชนและของทุกภาค ส่วน เพื่อแสดงให้เห็นว่ากรมมีความมุ่งมั่นในการแก้ไขปัญหาด้านการxxxxxxอุทกภัยและการขาดแคลนน ําใน พื xxxxให้แก่ราษฎรอย่างโปร่งใส และสร้างโอกาสการมีส่วนร่วมของสาธารณชนอย่างจริงจัง โดยให้สอดคล้อง และเป็นไปตามข้อกําหนดของกฎหมายและxxxxxxxxxxเกี่ยวข้อง
3.3 ที่ตั้งและลักษณะโครงการ
ผลการศึกษาของรายงานการศึกษาวางโครงการ ( Pre - Feasibility Study ) ของกลุ่มงานวางโครงการ 1 ส่วนวางโครงการ สํานักบริหารโครงการ เมื่อเดือนกันยายน 2554 พบว่า โครงการอ่างเก็บน ําแม่xxx ตั งอยู่หมู่ที่
3 บ้านป่าเหว ตําบลบ้านขอ อําเภอเมืองปาน จังหวัดลําปาง Latitude 18°- 41′- 20.00″ เหนือ Longitude
99°- 27′- 35.00″ตะวันออก พิกัดตามแผนที่มาตราส่วน 1: 50,000 47 QMA 485–668 ระวางหมายเลข
4846 II ดังแสดงในรูปที่ 3.3-1
3.3.1 ลักษณะโครงการ :
ประเภทโครงการ อ่างเก็บน ํา (Storage Dam)
พื xxxxรับน ําลงอ่างฯ | 104.27 | ตร.กม. |
ความยาวของลําน ําจากต้นน ําถึงเขื่อนดิน | 17.82 | กม. |
ส่วนxxxxxของลําน ําบริเวณที่ตั งอ่างฯ | 1 : 56 | |
ปริมาณฝนเฉลี่ยตลอดปี | 991.70 | มิลลิเมตร |
อัตราการระเหย (E-Pan) | 1,452.00 | มิลลิเมตร |
ปริมาณน ําท่าเฉลี่ยรายปี | 31,780,000 | ลบ.ม./ปี |
ปริมาณน ํานองสูงสุดในรอบ 100 ปี | 223.00 | ลบ.ม./วินาที |
ปริมาณน ํานองสูงสุดในรอบ 200 ปี | 269.00 | ลบ.ม./วินาที |
ปริมาณน ํานองสูงสุดในรอบ 500 ปี | 339.00 | ลบ.ม./วินาที |
อาคารหัวงาน : เขื่อนดิน สันเขื่อนกว้าง 10.00 ม. ความยาว 550.00 ม. ความสูง 51.00 ม. อาคารระบายน ําล้น : ชนิด Side Chanel ยาว 50 เมตร ระบายน ําสูงสุด 321.20 ลบ.ม./วินาที
ระบบส่งน ํา : ส่งน ําด้วยแรงโน้มถ่วง (Gravity) ผ่าน River Outlet ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.00 ม. ลงสู่ลําน ําเดิม
ระดับท้องน ํา +370.000 ม. (รทก.)
ระดับ Dead Storage +385.000 ม. (รทก.)
ระดับน ําเก็บกัก +416.000 ม. (รทก.)
ระดับน ําเก็บกักสูงสุด +418.000 ม. (รทก.)
ระดับสันเขื่อน +421.000 ม. (รทก.)
ความจุอ่างฯ ที่ Dead Storage 880,000 ลบ.ม.
ความจุอ่างฯที่ระดับน ําเก็บกัก 10,240,000 ลบ.ม.
ความจุอ่างฯที่ระดับน ํานองสูงสุด 11,441,800 ลบ.ม.
พื xxxxผิวอ่างฯ ที่ระดับ Dead Storage 73.75 ไร่
พื xxxxผิวอ่างฯ ที่ระดับน ําเก็บกัก 358.78 ไร่
พื xxxxผิวอ่างฯ ที่ระดับน ํานองสูงสุด 394.88 ไร่
พื xxxxชลประทาน ฤดูฝน 6,000 ไร่
พื xxxxชลประทาน ฤดูxxxx 1,500 ไร่
ราคาค่าก่อสร้างรวมทั งสิ น ประมาณ 527,000,000 บาท
ระยะเวลาการก่อสร้าง 3 ปี
การประเมินผลทางเศรษฐกิจ (EIRR) 8.81 เปอร์เซ็นต์
3.4 วัตถุประสงค์ของโครงการ
1) เพื่อเก็บกักน ําช่วยเหลือสนับสนุนการxxxxxxxxในเขตพื xxxxการเกษตรของราษฎร xxxxxxxประสบ ปัญหาการขาดแคลนน ําเป็นประจํา
2) เพื่อเป็นแหล่งเก็บกักน ําสําหรับการอุปโภคบริโภคของราษฎร
3) เพื่อxxxxxxอุทกภัยจากน ําป่าไหลหลากในฤดูน ําหลาก
4) เพื่อยกฐานะความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตของxxxxx xxxอยู่ในพื xxxxโครงการและบริเวณใกล้เคียงให้ สูงขึ น โดยจะเป็นผลสืบเนื่องจากการผลผลิตการxxxxxxxxxxxxxxผลดีขึ น เนื่องจากมีปริมาณน ําต้นทุนxxxxxxxxx เป็นการลดความเสี่ยงของการขาดแคลนน ําต้นทุนช่วงฤดูxxxx
รูปที่ 3.3-1 แผนที่แสดงทต
งโครงการอางเกบน ้าแมxxx อนเนื่องมาจากพระราชดา
ริ จงxxxxx
ปาง
3.5 ขอบเขตพื้นที่ศึกษา
เพื่อให้xxxxxวัตถุประสงค์ของโครงการ ขอบเขตพื xxxxศึกษาของโครงการต้องพิจารณาให้ครอบคลุมพื xxxxxxx คาดว่าจะxxxxxxxxกระทบจากการด้าเนินโครงการ ได้แก่ พื xxxxลุ่มน ้า พื xxxxอ่างเก็บน ้า พื xxxxหัวงาน พื xxxxท้ายน ้า พื xxxxชลประทาน และพื xxxxอื่น ๆ (หากมี)
3.6 ขอบเขตการศึกษา
3.6.1 ศึกษาทบทวนความเหมาะสม การศึกษาทางเลือกของโครงการและเหตุผลประกอบ ใน รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจะต้องเสนอทางเลือกในการพัฒนาโครงการ ได้แก่ ประเภทการ พัฒนาที่เหมาะสม ที่ตั งหัวงานที่เหมาะสม ปริมาณน ําเก็บกักที่เหมาะสม พื xxxxชลประทานที่เหมาะสม ระบบ ชลประทานที่เหมาะสม เป็นต้น โดยต้องมีรายละเอียดเบื องต้น รวมทั งสรุปข้อดีข้อเสียของแต่ละทางเลือก และ เหตุผลประกอบการตัดสินใจเลือกทางเลือกนั น ๆ ทั งทางด้านวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และสังคม โดยคํานึงถึงความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายในการพัฒนาโครงการ และจะต้องระบุทางเลือกที่ เหมาะสมที่สุดที่จะดําเนินโครงการพร้อมแสดงเหตุผลและความจําเป็นประกอบ
3.6.2 ศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการพัฒนาโครงการ โดยให้ครอบคลุมองค์ประกอบ ทางสิ่งแวดล้อมและคุณค่าต่าง ๆ ที่คาดว่าจะxxxxxxxxกระทบจากการพัฒนาโครงการใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้าน กายภาพ ด้านชีวภาพ ด้านคุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ และด้านคุณค่าต่อคุณภาพชีวิต โดยประกอบด้วย การศึกษาสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการพัฒนาโครงการ มาตรการ ป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและการชดเชย มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม ทั งนี จะต้องดําเนินการตามแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคม และแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมกระทบ สิ่งแวดล้อม
3.6.3 ดําเนินxxxxxxxกระทบด้านแผ่นดินไหว ต่อการพัฒนาโครงการ
3.6.4 ศึกษาวิเคราะห์ผลตอบแทนทางด้านเศรษฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมของโครงการ
ดังนี
1) ด้านเศรษฐศาสตร์ เป็นการวิเคราะห์ความเหมาะสมในเชิงเศรษฐกิจ โดยพิจารณา
ผลตอบแทนที่คุ้มค่าต่อสังคม รวมทั งการวิเคราะห์xxxxxxxxxxที่เกิดขึ นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการมี/ไม่มี โครงการ ให้นําเสนอผลการวิเคราะห์ด้านเศรษฐศาสตร์ของโครงการโดยไม่นําการประเมินxxxxxxของผลกระทบ สิ่งแวดล้อมมารวมไว้ โดยข้อมูลต้นทุนองค์ประกอบของโครงการและxxxxxxxxxxที่เกิดจากโครงการทั งหมด ทั งทางตรงและทางอ้อมที่นํามาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลต้องxxxxxxรายละเอียดให้ชัดเจนทั งต้นทุนและ xxxxxxxxxxของโครงการ
2) ด้านเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม เป็นการนําผลกระทบสิ่งแวดล้อมมาประเมินในเชิงxxxxxx เพื่อนําไปผนวกกับการวิเคราะห์ด้านเศรษฐศาสตร์ เพื่อพิจารณาถึงความคุ้มค่าของโครงการ โดยต้องระบุให้ ชัดเจนในเรื่องที่xxxxxxประเมินxxxxxxได้ และไม่xxxxxxประเมินได้ (ให้ประเมินในรูปคุณค่าและความสําคัญ ในประเด็นนั นแทน) และให้จําแนกต้นทุนและxxxxxxxxxxทั งทางตรงและทางอ้อมให้ครอบคลุม ชัดเจน และ
ครบถ้วนในทุกประเด็นอย่างละเอียด และนํามาประเมินxxxxxxให้เห็นอย่างชัดเจน พร้อมระบุแหล่งที่มาของ ข้อมูลที่นํามาใช้ในการคํานวณหรือ้างอิงให้ชัดเจน และราคาที่นํามาใช้ควรมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับ สภาพความเป็นจริงในพื xxxxโครงการ รวมทั งควรเลือกใช้เครื่องมือทางด้านเศรษฐศาสตร์และกลุ่มเป้าหมายให้ เหมาะสมในแต่ละประเด็น
3) ด้านความคุ้มค่าของโครงการ ให้นําผลการวิเคราะห์ด้านเศรษฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม มาxxxxxxร่วมกัน เพื่อวิเคราะห์ความคุ้มค่าของโครงการในภาพรวม โดยหากผลการวิเคราะห์การ ดําเนินโครงการมีผลxxxxxxคุ้มค่าแต่มีความจําเป็นต้องดําเนินการ ให้ระบุเหตุผลและความจําเป็นในการพัฒนา โครงการให้ชัดเจน เพื่อประกอบการพิจารณาตัดสินใจในการพัฒนาโครงการต่อไป
3.6.5 ศึกษาและจัดทํามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตาม ตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม การจัดทําแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และ แผนปฏิบัติการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environment Impact Mitigation and Monitoring Plan : EIMP) โดยใช้ข้อมูลผลการศึกษาในการอธิบายรายละเอียดในการป้องกันและแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ น และเสนอแผนปฏิบัติการเพื่อชดเชยหรือxxxxxxความเสียหายดังกล่าวกรณี ความเสียหายนั นxxxxxxหลีกเลี่ยงได้ รวมทั งให้เสนอมาตรการและแผนการดําเนินการในการติดตามตรวจสอบ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทางวิชาการและความเป็นไปได้ในแนวทางปฏิบัติ โดยต้องมีการจัดประชุม หารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ก่อนที่จะกําหนดxxxxxxxปฏิบัติการฯ ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งของการติดตาม และประเมินผลภายหลังการดําเนินโครงการด้วย
3.6.6 ดําเนินการประชาสัมพันธ์ มวลชนxxxxxxxx และการมีส่วนร่วมของประชาชน ดังนี
1) ให้ดําเนินการตามแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อม ตามประกาศของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยต้องดําเนินการตามข้อกําหนดของ กฎหมายและxxxxxxxxxxเกี่ยวข้อง และแนวทางของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (สผ.)
2) ให้จัดทําแผนงานของการดําเนินการประชาสัมพันธ์ มวลชนxxxxxxxx การมีส่วนร่วมของ ประชาชนโดยให้ครอบคลุมกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย ดังนี ผู้xxxxxxxxกระทบ (กลุ่มผู้เสียประโยชน์ และกลุ่มผู้xxxxxx xxประโยชน์) หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทํารายงานฯ หน่วยงานที่ทําหน้าที่พิจารณารายงานฯ หน่วยงานราชการใน ระดับต่างๆ (xxxxxxxx ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น) กลุ่มองค์กรเอกชน กลุ่มxxxxxxxx สถาบันการศึกษา นักวิชาการ xxxxx สื่อมวลชน และภาคประชาชน (ผู้นําชุมชน ประชาชนทั่วไป)
3) การดําเนินการประชาสัมพันธ์ มวลชนxxxxxxxx การมีส่วนร่วมของประชาชนให้ครอบคลุมทุก ขั นตอน ตั งแต่เริ่มต้นโครงการ ปฐมนิเทศ การพิจารณาเปรียบเทียบทางเลือก การศึกษาทบทวนความเหมาะสม ของโครงการ การศึกษาสภาพแวดล้อมปัจจุบันและการประเมินผลกระทบ การกําหนดมาตรการด้านสิ่งแวดล้อม และการพัฒนากลไกการติดตามตรวจสอบ และการจัดทํารายงานและรับฟังความคิดเห็น ตามประกาศกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ xxxxxxxปฏิบัติและแนวทางการจัดทํา รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
4) ดําเนินการประชาสัมพันธ์ มวลชนxxxxxxxx และการมีส่วนร่วมของประชาชนให้ครอบคลุมทุก ขั นตอน ตั งแต่เริ่มต้นโครงการ การศึกษาทบทวนความเหมาะสมของโครงการ การศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม การกําหนดมาตรการป้องกันแก้ไขด้านสิ่งแวดล้อมและการพัฒนากลไกการติดตามตรวจสอบ และการ จัดทํารายงานและรับฟังความคิดเห็นต่อผลการศึกษา
5) รูปแบบกิจกรรมในการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความคิดเห็นระหว่างการศึกษา สําหรับผู้มีส่วน ได้เสียกลุ่มต่างๆ ให้พิจารณาจากแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนฯ ของสํานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สิงหาคม, 2549) หรือxxxxxxxสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความ คิดเห็นของประชาชน พุทธศักราช 2548 อาทิ การสนทนากลุ่มย่อย การจัดเวทีประชาคม การสานเสวนา การ ประชุมเชิงปฏิบัติการ เป็นต้น
6) สื่อที่ใช้ในการสื่อสารประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ อาทิ เอกสาร วีดีทัศน์ จดหมายข่าว รวมทั ง ข่าว บทความ สารคดี เพื่อเผยแพร่ทางสื่อมวลชน (หอxxxxxxข่าว วิทยุชุมชน หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์) เป็นต้น
7) จัดกิจกรรมสื่อสัญจรเพื่อประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลของโครงการในระดับประเทศ
อย่างน้อย 1 ครั ง
3.6.7 จัดทําระบบสารสนเทศxxxxxxxxxx (GIS) และพจนานุกรมข้อมูลของโครงการ เพื่อให้ใช้งานได้ สะดวกและxxxxxxใช้ร่วมกับระบบสารสนเทศxxxxxxxxxxxxxกรมชลประทานได้พัฒนาไว้แล้ว
3.6.8 ศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบไฟฟ้าพลังน ํา โดยกําหนดรูปแบบที่เหมาะสมและ สอดคล้องกับการบริหารจัดการน ํา ที่ปรึกษาต้องวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม ด้านเศรษฐศาสตร์และการเงินและมี การวิเคราะห์xxxxxxxxxxของโครงการทั งประโยชน์ทางตรง และทางอ้อม (Direct and Indirect Benefits) ของโครงการพร้อมทั งเสนอแนวทางตามหลักเกณฑ์ กฎxxxxxxx และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การศึกษา ให้ระบุรายละเอียดวิธีการศึกษาที่เป็นมาตรฐานxxxxและการได้มาของข้อมูลการเก็บ ตัวอย่าง ระยะเวลาที่ใช้ ความเหมาะสมและข้อจํากัดของวิธีการศึกษา และหากมีการประเมินที่ต้องใช้การ วิเคราะห์ข้อมูลในห้องปฏิบัติการ ต้องใช้ห้องปฏิบัติการของหน่วยงานxxxxxxมาตรฐานหรือได้รับการรับรอง มาตรฐานจากทางราชการ
3.7 แนวทางการศึกษา
3.7.1 แนวทางในการศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ให้ดําเนินการศึกษาตามแนวทางต่าง ๆ ดังนี
1) แนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการพัฒนาแหล่งน ํา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมและสิ่งแวดล้อม (xxxxxx, 2559)
2) แนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามเอกสารท้ายประกาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้อง จัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ xxxxxxxปฏิบัติและแนวทางในการ จัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อxxxxxx 20 มิถุนายน 2555
3.7.2 แนวทางการประเมินผลกระทบสุขภาพ ให้ดําเนินการศึกษาตามแนวทางต่าง ๆ ดังนี
1) แนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ของสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (เมษายน, 2556)
2) แนวทางการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากโครงการพัฒนาแหล่งน ําของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (เมษายน, 2553)
3.7.3 แนวทางการประชาสัมพันธ์ มวลชนxxxxxxxxและการมีส่วนร่วมของประชาชน ให้ดําเนินการ ศึกษาตามแนวทางต่าง ๆ ดังนี
1) แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมใน กระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (สิงหาคม, 2549)
2) แนวทางของ ดร.xxxxxเอก xxxxxxxxxxxx ในร่างคู่มือxxxxxxxxกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อ การตัดสินใจด้านสิ่งแวดล้อม โดยกรมxxxxxxxxคุณภาพสิ่งแวดล้อม (2559)
3) คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยกองxxxxxxxxการมีส่วนร่วมของประชาชน กรม ชลประทาน (2552)
4) xxxxxxxอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.7.4 การจัดทําแผนงานให้จัดทําแผนงานแสดงกิจกรรมหลัก กิจกรรมรอง ความเชื่อมโยงของ กิจกรรมและภาระงานของบุคลากรหลัก ระยะเวลาดําเนินงานxxxxxxxxx และแผนงานดังกล่าวจะต้องระบุถึงจุด วิกฤตของกิจกรรมที่สําคัญ รวมทั งจุดวัดผลสําเร็จของงานในแต่ละช่วงอย่างครบถ้วน ทั งนี เพื่อใช้ในกรณี การ รายงานผลงาน และการปรับปรุงแผนการดําเนินงาน
3.8 บุคลากรหลักที่ต้องการ
บุคลากรหลักในการศึกษาโครงการจะประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ ดังนี
1) ผู้จัดการโครงการ/ผู้เชี่ยวชาญด้านวางโครงการ
คุณสมบัติเฉพาะ : ต้องมีประสบการณ์ด้านงานพัฒนาแหล่งน ําและxxxxxxปฏิบัติงานเต็มเวลา ตลอดระยะเวลาของการศึกษา xxxxxxxศึกษาไม่ต่ํากว่าxxxxxxโท (วิศวกรรมชลประทาน/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 20 ปี
ทําหน้าที่ : ควบคุมกําหนดแนวทางและวิธีการศึกษาให้ได้คุณภาพงานและแผนงานตามเอกสาร xxxxxxxปรึกษา (TOR) และวางโครงการพัฒนาแหล่งน ําให้เป็นไปตามหลักวิชาการ
2) ผู้ชํานาญการด้านสิ่งแวดล้อม
คุณสมบัติเฉพาะ : ต้องมีใบอนุญาตจัดทํารายงานฯ จาก สผ. และจะต้องมีประสบการณ์โครงการของ รัฐด้านการพัฒนาแหล่งน ํา ในขณะที่เป็นผู้ชํานาญการเท่านั น ซึ่งจะต้องแนบเอกสารในขั นตอนเสนอบุคคลากรหลัก xxxxxxxศึกษาไม่ต่ํากว่าxxxxxxโท (สิ่งแวดล้อม/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : ศึกษา/วิเคราะห์/ประเมิน ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยภาพรวมของทั งโครงการ พร้อมทั งเสนอมาตรการป้องกันแก้ไขและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม การจัดทํา EIMP และต้อง เป็นผู้ชี แจงโครงการในระหว่างการศึกษารวมถึงการนําเสนอรายงาน และตอบข้อคิดเห็นต่อหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง
3) ผู้เชี่ยวชาญด้านอุทกวิทยา
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (อุตุนิยมวิทยา-อุทกวิทยา/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : ศึกษาวิเคราะห์ ทางด้านอุตุนิยมวิทยาและอุทกวิทยา รวมถึงประเมินสภาพอุตุวิทยา และอุทกวิทยา หลังจากมีการพัฒนาโครงการ
4) ผู้เชี่ยวชาญด้านชลประทาน
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (วิศวกรรมชลประทาน/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : วิเคราะห์หาความต้องการใช้น ําของพืช ค่าความต้องการใช้น ําชลประทาน ศึกษา แบบจําลองสมดุลน ําในอ่างเก็บน ําศึกษาประสิทธิภาพระบบชลประทานรวมถึงการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และเสนอมาตรการป้องกันแก้ไขและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม
5) ผู้เชี่ยวชาญด้านทรัพยากรน ํา/ไฟฟ้าพลังน ํา
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 15 ปี (วิศวกรรม ทรัพยากรน ํา/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : ศึกษา วิเคราะห์ ด้านสมดุลน ํา การจัดการทรัพยากรน ํา ศักยภาพในการพัฒนา ระบบไฟฟ้าพลังน ํา ดําเนินการด้านแบบจําลองคณิตศาสตร์ด้านแหล่งน ํา
6) ผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (สาธารณสุขศาสตร์/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่
น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : ศึกษา/สํารวจ/วิเคราะห์/ประเมิน ผลกระทบต่อสุขภาพ (HIA) ของราษฎรในพื นที่
โครงการ และพื นที่ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบ
7) ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจสังคมและประชากรศาสตร์
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (สังคมศาสตร์/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่
น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : สํารวจ/ศึกษา/วิเคราะห์/ประเมิน ด้านเศรษฐกิจ รูปแบบสังคมหรือองค์กรในพื นที่
โครงการฯ ศึกษาด้านผลกระทบทางด้านสังคม (SIA)
8) ผู้เชี่ยวชาญด้านโบราณคดีและประวัติศาสตร์
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (โบราณคดี/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่น้อย
กว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : สํารวจ/ศึกษา/วิเคราะห์/ประเมิน แหล่งโบราณคดีและประวัติศาสตร์ ในพื นที่
โครงการ ที่อาจจะเกิดจากการพัฒนาโครงการ
9) ผู้เชี่ยวชาญด้านคมนาคม
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (วิศวกรรมการจราจร/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : สํารวจ/ศึกษา/วิเคราะห์/ประเมินระบบคมนาคมในพื นที่โครงการ และเสนอเส้นทาง คมนาคมหากได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ
10) ผู้เชี่ยวชาญด้านออกแบบเขื่อน
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (วิศวกรรมโยธา/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่ น้อยกว่า 15 ปี ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ประเภทวุฒิวิศวกร ตามพระราชบัญญัติวิศวกร ปี พ.ศ. 2542
คุณสมบัติเฉพาะ : ต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามพระราชบัญญัติ วิศวกรปี พ.ศ. 2542 ซึ่งจะต้องแนบเอกสารในขั นตอนเสนอบุคลากรหลัก
ทําหน้าที่ : ออกแบบเขื่อนประเภทต่าง ๆ ให้ได้ตามมาตรฐานของกรม สามารถวิเคราะห์ความ มั่นคงของตัวเขื่อน และพฤติกรรมจากเครื่องมือตรวจวัดพฤติกรรมเขื่อนได้
11) ผู้เชี่ยวชาญด้านประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (นิเทศศาสตร์/วารสารศาสตร์/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : จัดทําแผนและดําเนินการประชาสัมพันธ์โครงการเพื่อให้ความรู้และความเข้าใจ เกี่ยวกับโครงการต่อราษฎรในพื นที่โครงการ จัดทํากระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน วิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ เสีย รวมทั งการประเมินผลกิจกรรมที่จัด และดําเนินกลไกการดําเนินงานตามแนวทางการมีส่วนร่วมของ ประชาชน โดยต้องเสนอทีมงานด้านมวลชนสัมพันธ์ที่มีความรู้และประสบการณ์ตามที่ระบุในเงื่อนไขประกอบ ข้อ 3.15
12) ผู้เชี่ยวชาญด้านป่าไม้/จัดการลุ่มน ํา
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (วนศาสตร์/นิเวศวิทยาป่าไม้/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : สํารวจ/ศึกษา/วิเคราะห์/ประเมินนิเวศวิทยาป่าไม้ รวมถึงการบริหารจัดการพื นที่ลุ่มน ํา
13) ผู้เชี่ยวชาญด้านสัตว์ป่า
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (สัตววิทยา/ชีววิทยา/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : สํารวจ/ศึกษา/วิเคราะห์/ประเมิน ชนิด ปริมาณ การดํารงชีวิต สถานภาพ ของสัตว์ ป่าที่มีอยู่ในพื นที่ที่คาดว่าจะมีผลกระทบจากการพัฒนาโครงการฯ
14) ผู้เชี่ยวชาญด้านชดเชยทรัพย์สิน
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (สังคมศาสตร์/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : ตรวจสอบและประมาณราคา ค่าชดเชย ทรัพย์สิน ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ
15) ผู้เชี่ยวชาญด้านคุณภาพน ํา
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (สิ่งแวดล้อม/ประมง/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : สํารวจ/ศึกษา/วิเคราะห์/ประเมิน คุณภาพน ําผิวดิน และใต้ดินในพื นที่โครงการฯ และพื นที่ที่คาดว่าจะได้รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการฯ
16) ผู้เชี่ยวชาญด้านนิเวศวิทยาทางน ํา
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (ประมง/การเพาะเลี ยงสัตว์น ํา/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : สํารวจ/ศึกษา/วิเคราะห์/ประเมินนิเวศวิทยาทางน ํา และสถานภาพด้านการประมง ในบริเวณพื นที่โครงการ รวมทั งศึกษาทางผ่านสัตว์น ํา
17) ผู้เชี่ยวชาญด้านเกษตร ดิน การใช้ที่ดิน
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (เกษตรศาสตร์/ปฐพีวิทยา/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : สํารวจ/ศึกษา/วิเคราะห์ แยกประเภทชนิดของชุดดิน ตามมาตรฐานของกรมพัฒนาที่ดิน ศึกษาการใช้ประโยชน์ที่ดินและความเหมาะสมของดิน เพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ในพื นที่โครงการ
18) ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์/เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (เศรษฐศาสตร์/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : ศึกษา/วิเคราะห์/ประเมินด้านเศรษฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม
19) ผู้เชี่ยวชาญด้านธรณีวิทยา / แผ่นดินไหว / แหล่งแร่ / วัสดุก่อสร้าง
คุณสมบัติ : วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (ธรณีวิทยา/เทคโนโลยีธรณี/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : ศึกษาสํารวจวิเคราะห์ สภาพธรณีวิทยา ธรณีสัณฐาน สภาพการเกิดแผ่นดินไหวใน พื นที่โครงการ แหล่งแร่ รวมทั งแหล่งวัสดุก่อสร้างที่จะนํามาใช้การก่อสร้างโครงการ ประเมินผลกระทบจาก การพัฒนาโครงการต่อสภาพธรณีวิทยา ความมั่นคงของฐานราก แหล่งแร่ เสนอมาตรการป้องกันแก้ไข ผลกระทบและมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม
20) ผู้เชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยว
คุณสมบัติเฉพาะ :วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (การจัดการการท่องเที่ยว/การวางแผน ภาคและเมือง/สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : ศึกษา/สํารวจ/วิเคราะห์/ประเมิน แหล่งท่องเที่ยวและการจัดการทรัพยากร ทางด้านการท่องเที่ยวในพื นที่โครงการ
21) ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
คุณสมบัติเฉพาะ :วุฒิการศึกษาไม่ต่ํากว่าปริญญาตรี (ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์/ภูมิศาสตร์/ สาขาที่เกี่ยวข้อง) ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 15 ปี
ทําหน้าที่ : ศึกษา/สํารวจ/วิเคราะห์/ประเมิน/จัดทํา ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในพื นที่ โครงการ และพจนานุกรมข้อมูลของโครงการ เพื่อให้ใช้งานได้สะดวกและสามารถใช้ร่วมกับระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ที่กรมชลประทานได้พัฒนาไว้แล้ว
ที่ปรึกษาอาจเสนอบุคคลากรหลัก นอกเหนือจากที่ระบุไว้ข้างต้นได้ตามความเหมาะสมแต่ต้อง คํานึงถึงเหตุผลความจําเป็น และต้องทําความเข้าใจต่อขอบเขตของงาน กําหนดบทบาทหน้าที่ของบุคลากร หลักที่เสนอให้ชัดเจน บุคลากรหลักที่เสนอแต่ละตําแหน่งต้องเป็นไปตามคุณสมบัติเฉพาะที่กําหนดตามที่ระบุ และมีประสบการณ์ตรงที่เคยปฏิบัติงาน ซึ่งควรมีประสบการณ์การทํางานตรงไม่น้อยกว่า 10 ปีขึ นไป หรือมี ประสบการณ์รวม 15 ปี ขึ นไป ถ้าไม่เป็นไปตามข้อกําหนด กรมขอสงวนสิทธิ์ในการไม่พิจารณาข้อเสนอ
นอกจากนี แล้วบุคลากรหลักจะต้องแนบสําเนาบัตรประชาชนหรือสําเนาบัตรประจําตัวที่ออกโดยส่วน ราชการหรือรัฐวิสาหกิจ และรับรองสําเนาถูกต้อง ลงนามกํากับในใบประวัติการทํางานของตน และรับรองการ ปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาการศึกษาด้วยปากกาหมึกสีน ําเงินเท่านั น มิฉะนั นจะไม่พิจารณา โดยต้องชี แจงผล การศึกษา และตอบข้อซักถามด้วยตนเองในวาระการรายงานผลการศึกษาต่อกรมชลประทาน
3.9 การจัดหาเอกสารข้อมูลและการสนับสนุนโดยกรมชลประทาน
เพื่อช่วยให้การสํารวจและศึกษาของที่ปรึกษา ได้ดําเนินการด้วยความต่อเนื่องและสําเร็จตาม วัตถุประสงค์ของกรมชลประทาน จึงจะให้การจัดหาสนับสนุนข้อมูลต่าง ๆ ดังนี
3.9.1 แผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1: 50,000 หรือ 1:250,000 ของกรมแผนที่ทหาร
3.9.2 แบบรายละเอียด (ถ้ามี)
3.9.3 ผลสํารวจด้านต่าง ๆ ของกรมชลประทาน (ที่มี)
3.9.4 รายงานการศึกษาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของกรมชลประทาน
3.9.5 อื่น ๆ (ถ้ามี)
ทั งนี ข้อมูลต่าง ๆ เหล่านี ที่ปรึกษาจะต้องควบคุมการใช้และเก็บรักษาตามกฎระเบียบของทางราชการอย่าง เคร่งครัด และจะต้องส่งคืนกรมชลประทานก่อนถึงวันสิ นสุดสัญญาหรือตามที่กรมชลประทานเห็นสมควรให้ส่งคืน
3.10 งานสํารวจเพิ่มเติม
งานสํารวจด้านต่าง ๆ ที่ใช้ในการศึกษาที่ดําเนินการสํารวจไว้แล้ว หากไม่เป็นปัจจุบันเพียงพอและที่ ปรึกษาเห็นว่ามีความจําเป็นต้องทําการสํารวจเพิ่มเติมให้ที่ปรึกษาเสนอไว้ในข้อเสนอด้านคุณภาพของโครงการ รวมถึงแนวทางและระยะเวลาที่ใช้ดําเนินการด้วย โดยเสนอขอได้ตามความจําเป็น แต่ทั งนี ต้องมีรายละเอียด เหตุผลที่เพียงพอที่จะนํามาใช้วิเคราะห์เพื่อประกอบการศึกษาโครงการให้ชัดเจน และครบถ้วนตามที่ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษา เห็นสมควร
หากคณะกรรมการดูแลกํากับฯ พิจารณาแล้วเห็นว่ามีความจําเป็นต้องสํารวจเพิ่มเติมนอกเหนือจาก ที่ เสนอไว้ในข้อเสนอด้านคุณภาพของโครงการ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาแล้ว เป็นหน้าที่ของ ที่ปรึกษาต้องทําการสํารวจให้ครบถ้วน โดยค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ นให้เป็นความรับผิดชอบของที่ปรึกษา
3.11 ระยะเวลาของการศึกษาและการรายงานผลการศึกษา
กรมชลประทานได้กําหนดระยะเวลาในการดําเนินงานโครงการทั งสิ น 450 วัน นับตั งแต่วันเริ่ม ปฏิบัติงาน ที่ปรึกษาจะต้องเสนอแผนปฏิบัติต่อคณะกรรมการดําเนินงานจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก และ จะต้องเป็นแผนปฏิบัติงานที่นําไปดําเนินการเพื่อให้บรรลุผลตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพในการเสนอ
แผนปฏิบัติงานจะต้องระบุหัวข้องานหลักอย่างชัดเจน และแสดงหัวข้องานย่อยโดยให้มีรายละเอียดที่เพียงพอ สําหรับการกําหนดปริมาณงานและผลผลิตของงาน อีกทั งต้องมีรายละเอียดเพียงพอที่จะนํามาใช้ ในการ ประเมินกําหนดงวดเงินงวดต่าง ๆ และให้สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงต่อการพิจารณาในการบริหารสัญญา และตรวจรับงานของคณะกรรมการฯ ที่มีหน้าที่รับผิดชอบได้ด้วย
ภายหลังจากที่ได้ลงนามในสัญญาแล้ว ที่ปรึกษาจะต้องจัดทําเอกสารสัญญาและส่งรายงานผล การศึกษา เป็นระยะ ๆ ตามกําหนดเวลาที่ระบุไว้ ดังนี
3.11.1 การส่งรายงานผลการศึกษา
ผู้รับจ้างจะต้องรายงานผลการปฏิบัติงานและเสนอผลงานในรูปแบบของรายงานต่าง ๆ และ Digital form (ถ้ามี) ซึ่งต้องจัดทําเป็นภาษาไทยเสนอกรมชลประทาน โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ ปรึกษา ที่ได้รับมอบหมายดําเนินการตรวจรับพัสดุให้ถูกต้องครบถ้วน ณ สถานที่ที่กําหนดไว้ในสัญญา ตั งแต่วันที่ผู้ รับจ้างนํารายงานฯ มาส่งมอบให้ พร้อมจัดทําใบตรวจรับเป็นหลักฐานอย่างน้อย 2 ฉบับ มอบให้ผู้รับจ้าง 1 ฉบับ และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุฯ 1 ฉบับ เพื่อประกอบการดําเนินการเบิกจ่ายเงินตามระเบียบที่กําหนด และ รายงานให้กรมรับทราบต่อไป การรายงานผลการปฏิบัติงานจะเสนอรายงานเป็นระยะ ๆ ตามแผนปฏิบัติงานที่แจ้ง ไว้ตามกําหนดระยะเวลานับตั งแต่เริ่มปฏิบัติงานตามที่ระบุไว้ ดังนี
(1) รายงานการเริ่มงาน (Inception Report) จะต้องนําเสนอกรอบแนวทาง หลักการการ ดําเนินงาน วิธีการ แผนงานรวม แผนงานและแนวทางการศึกษาแต่ละด้าน บุคลากรหลักที่รับผิดชอบในแต่ละ แผนงานของโครงการ ความสัมพันธ์ของแผนงานแต่ละด้าน พร้อมจัดทําแผนการดําเนินงานโครงการโดยละเอียด จํานวน 20 ชุด ภายใน 60 วัน นับตั งแต่วันเริ่มปฏิบัติงาน
(2) รายงานความก้าวหน้า 1, 2 (Progress Report) เพื่อแสดงความก้าวหน้าของแผนการ ปฏิบัติงาน ประเด็นการศึกษาแต่ละด้าน ปัญหาอุปสรรค และความเห็นในการแก้ไขปัญหาอุปสรรค ฯลฯ ของการ ดําเนินงาน และสรุปความก้าวหน้าของกิจกรรมของผู้เชี่ยวชาญแต่ละราย จํานวน 20 ชุด ภายใน 120 วัน และ ภายใน 300 วัน นับตั งแต่วันเริ่มปฏิบัติงาน
(3) รายงานฉบับกลาง (Interim Report) จะต้องแสดงถึงผลการคัดเลือกแนวทางการพัฒนา โครงการ จํานวน 40 ชุด ภายใน 210 วัน นับตั งแต่วันเริ่มปฏิบัติงาน
(4) ร่างรายงานฉบับสุดท้าย (Draft Final Report) ภายใน 360 วัน นับตั งแต่วันเริ่มปฏิบัติงาน
ประกอบด้วย
ประกอบด้วย
- ร่างรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจํานวน 40 เล่ม
- ร่างรายงานสรุปสําหรับผู้บริหาร (ภาษาไทย) จํานวน 40 เล่ม
- ร่างรายงานแผนปฏิบัติการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และแผนติดตามตรวจสอบ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม จํานวน 40 เล่ม
- ร่างรายงานภาคผนวก จํานวน 40 เล่ม
(5) รายงานฉบับสุดท้าย (Final Report) ส่งภายใน 420 วัน นับตั งแต่วันเริ่มปฏิบัติงาน
- รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม จํานวน 60 เล่ม
- รายงานสรุปสําหรับผู้บริหาร (ภาษาไทย) จํานวน 60 เล่ม
- รายงานแผนปฏิบัติการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผนติดตามตรวจสอบ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม จํานวน 60 เล่ม
- รายงานภาคผนวก จํานวน 60 เล่ม
(6) แผนที่โครงการอ่างเก็บน ําแม่ปานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดลําปาง ที่แสดง
ขอบเขตพื นที่ศึกษาของโครงการ ได้แก่ พื นที่ลุ่มน ํา พื นที่อ่างเก็บน ํา พื นที่หัวงาน และพื นที่ชลประทาน ตามผล การศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ ส่งภายใน 420 วัน นับตั งแต่วันเริ่มปฏิบัติงาน ขนาด A0 จํานวน 20 ชุด
(7) รายงานต้นฉบับของรายการที่ (1) และ (3) พร้อมไฟล์นําเสนอที่แก้ไขแล้ว ให้บันทึกลงใน CD หรือ DVD ในรูปแบบ Text file ที่สามารถใช้ในการอ่านและแก้ไขได้อย่างสะดวก จํานวนอย่างละ 20 ชุด และ ในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) พร้อมอุปกรณ์ที่ใช้ในการอ่านข้อมูล จํานวนอย่างละ 2 ชุด ส่งภายหลัง จากที่คณะกรรมการฯ พิจารณาให้ความเห็นชอบ
(8) รายงานต้นฉบับของรายการที่ (5) ไม่เย็บเล่ม จํานวน 1 ชุด พร้อมบันทึกลงใน CD/DVD ใน รูปแบบ text file (เช่น word และ/หรือ pdf) จํานวน 60 ชุด ที่สามารถใช้ในการอ่านและแก้ไขได้อย่างสะดวก ส่ง พร้อมรายงานฉบับสุดท้าย
(9) รายงานประจําเดือน เพื่อสรุปผลของการดําเนินงานประจําเดือน โดยจัดทําสรุปอย่างสั น ได้ใจความ จํานวนครั งละ 20 ชุด ส่งทุก 30 วัน นับตั งแต่วันเริ่มปฏิบัติงาน
(10) รายงานปิดโครงการ จํานวน 20 ชุด ส่งภายใน 450 วัน นับตั งแต่วันเริ่มปฏิบัติงาน
3.11.2 เอกสารส่งมอบอื่น ๆ
(1) ฐานข้อมูลโครงการ จํานวน 20 ชุด พร้อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ใช้งานครบถ้วน และคู่มือ การใช้ข้อมูล 2 ชุด ส่งภายใน 450 วัน นับตั งแต่วันเริ่มปฏิบัติงานหรือตามระยะเวลาการผลิตงาน
(2) เอกสารการประชาสัมพันธ์ รวมทั งสื่อการประชาสัมพันธ์โครงการในรูปแบบ Digital Form ที่ได้จัดทําขึ นในระหว่างการดําเนินงานโครงการ พร้อมบันทึกลงในแผ่น CD จํานวน 20 ชุด ส่งภายใน 450 วัน นับตั งแต่วันเริ่มปฏิบัติงาน หรือตามระยะเวลาการผลิตงาน
(3) ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิต่าง ๆ ที่ใช้ในการศึกษาในรูปแบบ Digital Form เพื่อกรม ชลประทานจะได้ใช้เป็นข้อมูลในการศึกษาเพิ่มเติมในอนาคต พร้อมบันทึกลงในแผ่น CD จํานวน 20 ชุด ส่งภายใน 450 วันนับตั งแต่วันเริ่มปฏิบัติงาน
นอกจากนี ที่ปรึกษาจะต้องนําส่งตามข้อ 3.11.2 (1) (2) และ (3) ในลักษณะ Digital Form บันทึก ลงใน External Hard disk ขนาด Capacity ไม่น้อยกว่า 2 TB จํานวน 20 ชุด ส่งภายใน 450 วัน นับตั งแต่วันเริ่ม ปฏิบัติงาน
ในการส่งรายงานตามระยะเวลาการศึกษาโครงการให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ ปรึกษา พิจารณาตรวจรับพัสดุให้ถูกต้องครบถ้วนตามข้อกําหนดในสัญญา ดังตารางการส่งมอบงาน คณะกรรมการตรวจรับพัสดุฯ จะเชิญผู้ชํานาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับรายละเอียดของงานนั น ๆ มาให้ คําปรึกษา โดยที่ปรึกษาต้องจัดหาผู้ชํานาญการหรือผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องนําเสนอผลการศึกษาของรายงาน ต่าง ๆ ให้ผู้ชํานาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒินั น ๆ เพื่อพิจารณาให้ความเห็นทางเทคนิคหรือทางวิทยาศาสตร์ตาม กําหนดเวลา สําหรับรายงานที่สําคัญให้นําเสนอในรูปแบบที่ประณีตและ ได้มาตรฐานพร้อมบันทึกลงใน CD/DVD ส่งให้ผู้ชํานาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒิ ทุกครั งที่มีการนําเสนอผลการศึกษาของรายงาน จํานวน 1 ชุด นอกจากนี ที่ปรึกษาจะต้องนําส่งข้อมูลปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ที่ได้จัดรูปแบบที่ใช้ในการศึกษาในลักษณะ Digital Form ให้ด้วย
3.12 การส่งมอบงาน
ที่ปรึกษาต้องจัดทําใบส่งมอบงานที่แล้วเสร็จตามที่กรมชลประทานเป็นผู้กําหนดให้เสนอต่อ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษา ตามระยะเวลาที่กําหนดไว้
รายงาน | ระยะเวลาการศึกษา (วัน) | ||||||||||||||
30 | 60 | 90 | 120 | 150 | 180 | 210 | 240 | 270 | 300 | 330 | 360 | 390 | 420 | 450 | |
รายงานการเริ่มงาน จํานวน 20 ชุด | |||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้า จํานวน 20 ชุด | |||||||||||||||
รายงานฉบับกลาง จํานวน 40 ชุด | |||||||||||||||
ร่างรายงานฉบับสุดท้าย จํานวนเล่มตามที่ระบุในข้อ 3.11.1 (4) | |||||||||||||||
รายงานฉบับสุดท้าย จํานวนเล่มตามที่ระบุในข้อ 3.11.1 (5) | |||||||||||||||
แผนที่โครงการ ตามข้อ 3.11.1 (6) จํานวน 20 ชุด | |||||||||||||||
รายงานต้นฉบับ พร้อมไฟล์นําเสนอที่แก้ไข ตามข้อ 3.11.1 (1) (3) บันทึกลงใน CD หรือ DVD จํานวนอย่างละ 20 ชุด และ E- book พร้อมอุปกรณ์ จํานวนอย่างละ 2 ชุด | |||||||||||||||
รายงานต้นฉบับตามข้อ 3.11.1 (5) ไม่เย็บ เล่ม จํานวน 1 ชุด พร้อมบันทึกลงใน CD หรือ DVD จํานวน 60 ชุด ที่สามารถใช้ใน การอ่านและแก้ไขได้อย่างสะดวก | |||||||||||||||
รายงานประจําเดือน จํานวนครั งละ 20 ชุด ทุก ๆ 30 วัน | |||||||||||||||
รายงานปิดโครงการ จํานวน 20 ชุด | |||||||||||||||
ฐานข้อมูลโครงการ จํานวน 20 ชุด พร้อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ และ คู่มือการใช้ข้อมูล จํานวน 2 ชุด | |||||||||||||||
เอกสารส่งมอบอื่นๆ ตามระบุในข้อ 3.11.2 (1) (2) (3) ในลักษณะ Digital Form พร้อมบันทึกลงใน External Hard disk จํานวน 20 ชุด |
3.13 การตรวจรับงาน
ภายหลังที่ได้รับใบส่งมอบงานจากที่ปรึกษาแล้ว คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษา จะ กําหนดวันเชิญให้ผู้ชํานาญการหรือผู้เชี่ยวชาญที่ปรากฏในบุคลากรหลักของที่ปรึกษา นําเสนอผลการศึกษา โดยอธิบายรายละเอียดต่าง ๆ ในผลงานที่ส่งมอบให้ผู้ชํานาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒินั น ๆ ได้ทราบและพิจารณา ให้ความเห็นทางเทคนิคหรือทางวิทยาศาสตร์ประกอบการตรวจรับงาน และมีสิทธิซักถามเพื่อให้ที่ปรึกษาได้ ชี แจงตามหลักวิชาการ และรับผิดชอบในรายละเอียดทั งหมด ทั งนี คณะกรรมการตรวจรับพัสดุฯ จะทําการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษา โดยพิจารณาความสามารถในการปฏิบัติงานให้แล้ว เสร็จตามสัญญาและคุณภาพของผลงาน เพื่อประโยชน์ในการใช้ประกอบการพิจารณาคัดเลือกในคราวต่อไป
3.14 การจ่ายเงิน
ผู้ว่าจ้าง จะชําระค่าจ้างปฏิบัติงานให้ที่ปรึกษา โดยจะจ่ายเป็นงวด ๆ ในส่วนเหมาจ่าย และจ่ายตามจริง ในส่วนที่เบิกคืนได้ โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษาจะดําเนินการเบิกจ่ายเงินตามหลักฐาน ใบตรวจรับ และตามปริมาณงานที่ที่ปรึกษาส่งมอบ ซึ่งรายละเอียดจะระบุไว้ในสัญญาในภายหลัง
อนึ่ง ผู้ว่าจ้างจะให้เบิกจ่ายเงินค่าจ้างหรืออื่นใดให้ที่ปรึกษาเท่าที่งบประมาณในแต่ละปีเท่านั น และ ที่ปรึกษาให้เป็นเหตุในการเรียกร้องความเสียหายต่อผู้ว่าจ้างมิได้
3.15 เงื่อนไขประกอบ
3.15.1 เพื่อให้การจัดทําและพิจารณาข้อเสนอด้านคุณภาพเป็นไปอย่างกระชับและเข้าใจง่าย สะดวก รวดเร็วต่อการพิจารณาของคณะกรรมการดําเนินงานจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก และฝ่ายที่ปรึกษาผู้ ยื่นข้อเสนอ จึงขอกําหนดกรอบแนวทางการจัดทําข้อเสนอ ดังนี
- ข้อเสนอด้านคุณภาพ ประกอบด้วยเอกสาร 2 เล่ม คือ เล่มเนื อหาด้านคุณภาพ และเล่ม เอกสารหลักฐานของที่ปรึกษา
(1) เล่มเนื อหาด้านคุณภาพ (ความหนาไม่เกิน 200 หน้า) เป็นการแสดงข้อมูล ความเป็นมา ลักษณะทั่วไป สภาพปัญหา ความคิด การวิเคราะห์ ขั นตอนการศึกษาด้านต่างๆ แผนการทํางานและแผนการ จัดกําลังบุคลากร โดยอธิบายให้ชัดเจน เข้าใจง่าย สมบูรณ์ในเนื อหา ถูกหลักทางวิชาการและมาตรฐานของกรม กระชับและสัมพันธ์กับแผนและระยะเวลา พร้อมจัดค่าใช้จ่ายให้สอดรับกับการดําเนินงาน ซึ่งมีหัวข้อดังนี
บทที่ 1 บทนํา แสดงความเข้าใจสอดคล้องต่อ TOR
บทที่ 2 ความเข้าใจโครงการ ทั งต่อวัตถุประสงค์และขอบเขตที่ปรากฏใน TOR แสดงลักษณะพื นที่ สภาพปัญหาและข้อเท็จจริงทุกด้าน พร้อมเสนอแนวคิดและการวิเคราะห์ที่ชัดเจน
บทที่ 3 แนวทางการศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เป็นการแสดงข้อมูล และเสนอแนวทางการศึกษา ขั นตอนในการศึกษา การวางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา การ วิเคราะห์ข้อมูล รวมทั งแนวทางการประเมินผลกระทบ และการจัดทําแผนปฏิบัติการในการป้องกันแก้ไข ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและแผนปฏิบัติการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยให้สอดคล้องกับแนว ทางการจัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม สําหรับโครงการพัฒนาแหล่งน ํา ของสํานักงานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (มกราคม, 2559) พร้อมข้อเสนออื่นที่เป็นประโยชน์
บทที่ 4 การประชาสัมพันธ์,มวลชนสัมพันธ์ และการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นการนําเสนอแนวทาง ขั นตอน แผนงาน กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน และต้องเสนอทีมงานพร้อม แสดงรายละเอียดคุณสมบัติของทีมงานที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ตรง โดยให้เป็นไปตาม แนว ทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมในกระบวนการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฉบับเดือนสิงหาคม 2549 และแนวทางที่กรมใช้ปฏิบัติพร้อมข้อเสนออื่นที่เป็นประโยชน์
บทที่ 5 แผนการทํางานและการจัดกําลังบุคลากร เป็นการนําเสนอรูปแบบการจัด องค์กรปริมาณงาน ลําดับการทํางาน ความเหมาะสมของบุคลากร และสอดสัมพันธ์กัน โดยมีรายละเอียดและ ความชัดเจน เหมาะสมกับระยะเวลาและค่าใช้จ่ายที่มี พร้อมทั งทําการวิเคราะห์หาวิถีวิกฤตของข่ายงาน CPM (Critical Path Method) วิเคราะห์ กิจกรรมต่างๆ ที่จะต้องทําในโครงการอย่างประหยัดที่สุดและให้เสร็จ ทันเวลา เพื่อให้ทราบถึงเวลาแล้วเสร็จของโครงการว่าเป็นเท่าใด และกิจกรรมใดบ้างที่อยู่ในวิถีวิกฤต ซึ่งจะ นําไปสู่การวางแผนตัดสินใจเพื่อควบคุมโครงการ หรือเร่งรัดโครงการต่อไป
บทที่ 6 ข้อเสนออื่นๆ (หากมีเพิ่มเติม แต่ต้องสําคัญและสัมพันธ์กับเนื องาน)
(2) เล่มเอกสารหลักฐานของที่ปรึกษา เป็นการแสดงข้อมูลประกอบ ตามตามรางแสดง คุณสมบัติของที่ปรึกษา ข้อมูลบุคลากร และข้อมูลงบการเงินและรายได้ของบริษัทที่ปรึกษา ซึ่งแยกเล่มจาก ด้านคุณภาพ และควรมีหัวข้อดังนี
- หลักฐานแสดงผลงาน เป็นการแสดงบัญชีแสดงรายการงาน ซึ่งเสร็จเรียบร้อย แล้ว และบัญชีแสดงรายการงาน ในปัจจุบันที่ยังไม่แล้วเสร็จ และอยู่ระหว่างดําเนินการกับกรมชลประทาน (ย้อนหลัง 5 ปีที่ผ่านมา) โดยต้องแนบสําเนารูปถ่ายหนังสือรับรองผลงานของผู้ว่าจ้าง หรือ สําเนารูปถ่าย สัญญาของผู้ว่าจ้าง ซึ่งรับรองสําเนาถูกต้อง โดยผู้มีอํานาจทํานิติกรรมแทนนิติบุคคล บัญชีแสดงรายชื่อ คุณวุฒิ จํานวนเจ้าหน้าที่ของนิติบุคคลทั งที่ปฏิบัติงานประจําในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และปฏิบัติงานชั่วคราว (เฉพาะ เจ้าหน้าที่ที่มาทํางานโครงการนี ) ประวัติการทํางานของเจ้าหน้าที่ของนิติบุคคลทุกคนตามที่เสนอ โดยเสนอ เป็นต้นฉบับพร้อมลงลายมือชื่อเจ้าของประวัติ (ด้วยหมึกสีน ําเงิน) และวัน เดือน ปี อย่างสมบูรณ์ และให้แนบ สําเนาบัตรประจําตัวที่ทางราชการออกให้พร้อมรับรองสําเนาถูกต้อง
- ข้อมูลที่ปรึกษา เป็นการนําเสนอข้อมูลด้านต่าง ๆ ของที่ปรึกษา/ทั งตารางแสดง ผลงานและประสบการณ์ของที่ปรึกษา เครื่องมืออุปกรณ์และ SOFTWARE และศักยภาพอื่น ๆ ของที่ปรึกษา ฯลฯ
- ข้อมูลงบการเงิน เป็นการแสดงเอกสารงบการเงินย้อนหลัง 3 ปีที่ผ่านมา โดย ต้องแนบเอกสารประกอบงบการเงิน และรายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตสอบบัญชีที่รับรองโดยกระทรวง พาณิชย์ พร้อมแนบเอกสารแสดงรายได้ที่ได้รับจากให้บริการในการเป็นที่ปรึกษาแก่หน่วยงานของรัฐเฉลี่ยต่อปี ในรอบปีทางบัญชี 3 ปีที่ผ่านมา ซึ่งรับรองสําเนาถูกต้อง โดยผู้มีอํานาจทํานิติกรรมแทนนิติบุคคล
- ข้อมูลบุคลากรที่เสนอในโครงการศึกษา เป็นการนําเสนอข้อมูลประวัติ บุคลากร (Curriculum Vitae; CV) ที่ที่ปรึกษาเสนอมาในโครงการนี และต้องจัดทําเป็นตารางสรุปข้อมูลที่
สําคัญ ถูกต้อง เข้าใจง่ายและตรงตามความเป็นจริง โดยสรุปรวมแล้วไม่เกิน 4 หน้ากระดาษ A4 ทั งนี ต้องแสดง ปริมาณงานที่เหลือ (คน-เดือน) ของโครงการที่อยู่ระหว่างดําเนินการด้วย และแนบไฟล์ดังกล่าวพร้อมสําเนา หน้าแรกของสัญญาและเอกสาร ที่ระบุถึงหน้าที่ความรับผิดชอบตามสัญญานั น เพื่อให้กรมพิจารณาได้อย่าง รวดเร็ว
3.15.2 ข้อเสนอด้านคุณภาพและข้อเสนอด้านราคา จะต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับงบประมาณที่กรม ชลประทานได้รับสําหรับโครงการนี และหากสาระของงานที่เสนอมาในข้อเสนอด้านคุณภาพได้รับการคัดเลือกแล้ว ในการเจรจาต่อรอง จะต่อรองด้านราคาให้อยู่ในวงเงินงบประมาณ โดยไม่ตัดสาระ องค์ประกอบและเนื อหาของ งานอย่างเด็ดขาด
3.15.3 หากผลการดําเนินการศึกษาโครงการ ปรากฏว่าไม่สามารถเข้าพื นที่เพื่อสํารวจและเก็บ ข้อมูลได้ กรมชลประทาน ขอสงวนสิทธิที่จะยกเลิกงานศึกษาและการจัดทําเอกสารต่าง ๆ ที่จะต้องดําเนินการใน ขั นต่อไป
3.15.4 ที่ปรึกษาต้องจัดเตรียมเอกสารการขออนุญาตตามกฎหมาย (ถ้ามี) ให้แล้วเสร็จ ภายใน 30 วัน นับตั งแต่วันเริ่มปฏิบัติงาน
3.15.5 กรมชลประทาน ขอสงวนสิทธิ์ในการยกเลิกการคัดเลือกครั งนี ไม่ว่าด้วยเหตุใด ๆ ก็ตาม โดยผู้เสนอราคาจะเรียกร้องค่าเสียหายจากกรมชลประทานไม่ได้ทั งสิ น และหากการคัดเลือกครั งนี ต้องยกเลิก ด้วยเหตุผลใดก็ตาม กรมชลประทานขอสงวนสิทธิ์ไม่รับผิดชอบต่อค่าเสียหายใด ๆ ของผู้เสนอราคาทั งสิ น
3.15.6 กรมชลประทาน ขอสงวนสิทธิ์มิให้ผู้รับจ้างนําเอกสารที่เป็นผลจากการศึกษาโครงการนี ไปจําหน่าย หรือพิมพ์เผยแพร่ ยกเว้นได้รับการยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากกรมชลประทาน
3.15.7 บุคลากรหลักผู้ทําการศึกษาในแต่ละส่วนของรายงาน จะต้องเป็นผู้รายงานผลการศึกษา แก่กรมชลประทานทุกครั งที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษา เชิญผู้ชํานาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒิ เกี่ยวกับรายละเอียดของงานนั น ๆ มาให้คําปรึกษา เพื่อพิจารณาให้ความเห็นทางเทคนิคหรือทางวิทยาศาสตร์ ตามข้อกําหนดในสัญญา และเพื่อการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้เชี่ยวชาญและคณะของที่ปรึกษา
3.15.8 ที่ปรึกษาจะต้องมีผู้เชี่ยวชาญในการทําหน้าที่บรรณาธิการ เพื่อตรวจทานภาพรวมของ รายงานให้มีความสอดคล้อง เชื่อมโยงในเนื อหาและสาระของบทต่าง ๆ ในรายงาน สํานวนภาษาต้องเป็น แนวทางเดียวกัน และหัวหน้าโครงการจะต้องรับผิดชอบในการตรวจสอบขั นสุดท้ายก่อนนําเสนอรายงานใน ทุกขั นตอน เพื่อความต่อเนื่องและความสมบูรณ์ของรายงานตามวัตถุประสงค์ของผู้ว่าจ้าง
3.15.9 จากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2556 และหนังสือของสมาคมวิศวกรที่ปรึกษา แห่งประเทศไทยที่ 807/2552 ลงวันที่ 21 ธันวาคม 2552 กรมจะใช้อัตราค่าจ้างใหม่โดยจะพิจารณาหลักฐาน ตามข้อกําหนด แต่หากที่ปรึกษาไม่มีหลักฐานตามข้อกําหนดกรมจะใช้อัตราค่าจ้างเดิม
3.15.10 ที่ปรึกษาจะต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ของโครงการในระดับปริญญาตรีเพื่อเป็นผู้ประสานงาน และปฏิบัติงานในโครงการตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงานจนสิ นสุดโครงการโดยกรมชลประทานจะจัดหา สถานที่สําหรับปฏิบัติงานในกรมชลประทาน (ถ้ามี)
3.15.11 ที่ปรึกษาต้องช่วยชี แจงผลการศึกษาต่อหน่วยงานภายนอก ที่ทําหน้าที่พิจารณารายงาน และ/หรืออนุญาต รวมถึงต้องแก้ไขรายงานตามข้อคิดเห็นของหน่วยงานภายนอกนั น ๆ ด้วย
3.15.12 การดําเนินการด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน การดําเนินการด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ที่ปรึกษาจะต้องผ่านการพิจารณาให้
ความเห็นประกอบก่อนการดําเนินการจากผู้ชํานาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องนั น ๆ นอกจากนี ที่ปรึกษา จะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการดําเนินการ ทั งเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ ค่าใช้การเดินทางและอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ของบุคลากรที่ร่วมดําเนินการทั งหมด รวมทั งค่าประชาสัมพันธ์ ซึ่งในการดําเนินการดังกล่าวที่ปรึกษาจะต้อง
ประสานงานอย่างใกล้ชิดกับฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษา เพื่อให้งาน สําเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์
3.16 หลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอด้านคุณภาพ
คณะกรรมการดําเนินงานจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก จะพิจารณาข้อเสนอด้านคุณภาพของที่ปรึกษา โดยแบ่งออกเป็น 5 ส่วน ซึ่งแต่ละส่วนมีคะแนน ดังนี
1) ผลงานและประสบการณ์ของที่ปรึกษา | 20 | คะแนน |
2) วิธีการบริหารและวิธีการปฏิบัติงาน | 35 | คะแนน |
3) จํานวนบุคลากรที่ร่วมงาน | 35 | คะแนน |
4) ประเภทของที่ปรึกษาที่ต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน | 5 | คะแนน |
5) ข้อเสนอทางด้านการเงิน | 5 | คะแนน |
รวม 100 | คะแนน |
เมื่อนําคะแนนที่ที่ปรึกษารวมได้จากข้อ 1) ถึงข้อ 5) มารวมกัน จะต้องไม่ต่ํากว่า 70 เปอร์เซ็นต์ จึงถือว่าที่ปรึกษาผ่านเกณฑ์ในการพิจารณา และการให้น ําหนักข้อเสนอด้านคุณภาพ และเข้าสู่กระบวนการ พิจารณาในขั นตอนต่อไป
4. รายละเอียดการควบคุมงาน
รายละเอียดการควบคุมงานสํารวจในแต่ละตอน ใช้ควบคุมงานบางส่วนหรือท้ังหมดขึ้นกับลักษณะ แนวทางการศึกษาแต่ละโครงการ โดยจะกําหนดรายละเอียดไว้เป็นเพียงแนวทางสํารวจโดยท่ัวไปเท่าน้ัน หากท่ีปรึกษาหรือกรรมการตรวจรับพัสดุในงานจ้างที่ปรึกษาเห็นว่าไม่เหมาะสมกับการดําเนินงานโครงการนี้ อาจจะเสนอรายละเอียดเปล่ียนแปลงตามความเหมาะสมโดยหลักการสํารวจสากลได้ในภายหลัง ทั้งนี้ต้อง ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจรับงานพสดุในงานจ้างที่ปรึกษา
ตอนที่ 1 รายละเอียดการสํารวจภูมิประเทศ
4.1.1 งานสํารวจวางหมุดหลกฐาน
ในการสํารวจและการจัดทําแผนที่ภูมิประเทศ ต้องมีการสร้างหมุดหลักฐานถาวรในเขต โครงการ ตามมาตรฐานของกรมชลประทาน เพ่ือใช้เป็นหมุดหลักฐานอางอิงของงานในขั้นตอนของการศึกษา ความเหมาะสม การออกแบบ และการก่อสร้าง หมุดหลักฐานที่ใช้ออกงานและเข้าบรรจบต้องมีค่าพิกัดทาง ราบและค่าระดบสูง ที่มีความถูกตองเป็นท่ียอมรับของทางราชการ
ค่าพิกัดทางราบ ให้สํารวจโดยวิธีการวัดพิกดด้วยเครื่องรบสัญญาณดาวเทียม จีพีเอส (GPS) หรือโดยวิธีการวงรอบ (TRAVERSE) คํานวณค่าพิกัดฉาก UTM พื้นหลักฐาน INDIAN 1975 หรือ พ้ืน หลักฐาน WGS 84
ค่าพิกัดทางดิ่งหรือค่าระดับสูง ให้สํารวจโดยการระดับด้วยกล้องระดับ (Differential Leveling) อ้างอิงระดับทะเลปานกลาง (รทก.) ตามมาตรฐานงานระดับชั้นท่ี 2 หรือชั้นที่ 3 ของกรม ชลประทาน
หมุดหลักฐานถาวรที่สํารวจเสร็จแล้ว ต้องบันทึกลงในแบบหมายหมดหุ ลักฐาน เพ่ือการใช้
งานต่อไป
4.1.2 งานสํารวจแผนท่ีบริเวณเข่ือน (DAM) อาคารและหวงาน
ต้องทําการสํารวจทําแผนท่ีภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:500 ถึง 1:4,000 ให้เหมาะสมกับ ขนาดของเข่ือนและอาคาร ท่ีบรรจุลงในแบบมาตรฐานสากล เขียนเส้นช้ันความสูงทุก 0.25 เมตร ถึง 1.00 เมตร โดยรังวัดเส้นซอยห่างกันทุก 10-80 เมตร รังวัดระดับของพื้นท่ีทุกระยะ 5-40 เมตร หรือทุกจุดที่ระดับ เปล่ียนแปลงมาก ฝังหมุดหลักฐานถาวรแบบ ข. อย่างน้อย 2 คู่ ในแนวศูนย์กลางเขื่อน หัวงานหรือใน ตําแหน่งที่เหมาะสม
บริเวณหัวงานเขื่อน ต้องมีการสํารวจรูปตัดยาวและรูปตัดขวางของลําน้ําด้านเหนือนํ้าและ ทายนํา้ ปริมาณงานและมาตราส่วนของแผนท่ี พิจารณาตามความจําเป็นในการศึกษาและออกแบบ
4.1.3 งานสํารวจแผนที่ผังบริเวณ (SITE PLAN)
อาคารทางระบายน้ําล้น (SERVICE SPILLWAY) อาคารทางระบายน้ํ าล้นฉุกเฉิน
(EMERGENCY SPILLWAY) อาคารส่งน้ํา (OUTLET WORKS) ประตูระบายน้ําและอาคารประกอบ ฝายและ
4-1
อาคารประกอบ อาคารประกอบของอุโมงค์ส่งนํ้า / ระบายน้ํา เช่น อุโมงค์เข้า-ออก, ปล่องระบายอากาศ, อาคารสลายพลงงาน ฯลฯ
ต้องทําการสํารวจทําแผนที่ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:500 เขียนเส้นชั้นความสูงทุก 0.25–
0.50 เมตร รังวัดเส้นซอยห่างกันทุก 10 เมตร รังวัดระดับห่างกันทุก 5 เมตร หรือทุกจุดท่ีมีระดับ เปลี่ยนแปลงมาก หรือทําการสํารวจด้วยเคร่ืองมือ TOTAL STATOIN ที่สามารถเก็บข้อมูลภูมิประเทศได้ ละเอียดเทียบเท่ากับวิธีรังวัดด้วยเส้นซอย ฝังหมุดหลักฐานถาวรแบบ ข. ในแนวศูนย์กลาง 1 คู่ และใน ตําแหน่งท่ีเหมาะสมบริเวณขอบของผังบริเวณอีก 1 คู่
4.1.4 งานสํารวจพืนที่ส่งนา้ํ
ต้องทําการสํารวจทําแผนที่ภูมิประเทศของโครงการ โดยครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถส่งน้ําได้ ทั้งหมด มาตราส่วน 1:4,000 – 1:10,000 ประกอบด้วยเส้นชั้นความสูงในพื้นที่ลาดชันมากทุก 2 เมตร และ ในพื้นที่ลาดชันนอยทุก 1 เมตร หรือ 0.50 เมตร
วิธีการสํารวจ อาจทําโดยวิธีการสํารวจทางพื้นดิน โดยใช้ภาพถ่ายดัดแก้ประกอบการสํารวจ หรือโดยวิธีการสํารวจทําแผนที่จากภาพถ่าย วิธีการสํารวจทางพื้นดินให้รังวัดเส้นซอยทุกระยะ 80 – 200 เมตร และรังวัดระดับห่างกันทุกระยะ 40 – 50 เมตร วิธีการสํารวจทําแผนที่จากภาพถ่ายให้ปฏิบัติตาม ข้อกําหนดในการสํารวจทําแผนที่ลายเส้น (LINE MAP) และ/หรือ การจัดทําแผนที่ดิจิทัล ของหลักการสํารวจ และทําแผนท่ีของสํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา ของกรม แผนท่ีภูมิประเทศท่ีจัดทําแล้ว ต้องผ่าน การตรวจสอบโดยวิธีการ MAP TEST ตามวิธีการและมาตรฐานของกรมชลประทาน
4.1.5 งานวางแนวคลองส่งน้ําสายใหญ่พร้อมคลองแยกซอยหรือท่อส่งน้ําสายใหญ่พรอมท่อแยกซอย
ต้องใช้แผนที่ภูมิประเทศของโครงการวางแนวศูนย์กลางคลองส่งน้ําสายใหญ่ และคลองแยก ซอย หรือท่อส่งน้ําสายใหญ่และท่อส่งนํ้าแยกซอย แล้วทําการสํารวจรูปตัดตามยาวตามแนวศูนย์กลางคลอง หรือท่อ รังวัดระดับทุกระยะ 20 เมตร และกรุยแนววัดระยะเพื่อสํารวจรูปตัดขวางทุกระยะ 100 เมตร ตาม แนวศูนย์กลางคลอง โดยรังวัดระดับทุก 5 – 10 เมตร ต่อปีกออกไปท้ังสองข้าง ๆ ละ 100 เมตร กรณีวาง แนวท่อส่งนําไปตามแนวถนนต่อปีกด้านข้างถึงแนวเขตถนน หรือต่อปีกออกไปไม่เกินข้างละ 50 เมตร ฝังหมุด หลักฐานถาวรแบบ ข. เป็นคู่ นอกเขตคลองหรือท่อตามแนว BC-PI หรือ PI-EC. หรือทุกระยะ ไม่เกิน 2 กิโลเมตร และหมุดหลักฐานถาวรแบบ ค. (หมุดท่อ) ณ จุดต้นคลอง, จุดต้นโค้ง, จุด PI., จุดปลายโค้ง และใน แนวตรงทุกระยะประมาณ 500 เมตร
แผนที่รายละเอียดภูมิประเทศของคลองส่งน้ําหรือท่อส่งน้ํา มาตราส่วน 1:4,000 แสดง รายละเอียด และนามศัพท์ท่ีสําคัญ พร้อมตําแหน่งของรูปตัดขวาง และแผนที่แสดงรูปตัดตามยาว มาตราส่วน ทางตั้ง 1:100 ทางราบ 1:4,000 หรือใช้มาตราส่วนอ่ืนที่เหมาะสมกับความลาดชันของพืนที่
4.1.6 งานอาคารประกอบตัดผ่านคลองส่งนําหรือท่อส่งน้ํา
ต้องทําการสํารวจทําแผนท่ีภูมิประเทศผังบริเวณอาคารประกอบที่ตัดผ่านคลองส่งนํ้า หรือ ท่อส่งน้ํา เช่น ลําห้วย, ถนน เป็นแผนที่มาตราส่วน 1:500 กําหนดขอบเขตให้เหมาะสมกับขนาดของอาคาร
4-2
เขียนเส้นช้ันความสูงทุก 0.25 เมตร รังวัดเส้นซอยห่างกันทุก 10 เมตร รังวัดระดับทุกระยะ 5 – 10 เมตร หรือทุกจุดท่ีระดับเปลี่ยนแปลงมาก และสํารวจรูปตัดลํานํ้าทุกระยะ 20 เมตร ตามแนวศูนย์กลางลําน้ําไป ทางด้านเหนือนํ้า และท้ายน้ํา ข้างละไม่น้อยกว่า 2 รูป รังวัดระดับตามแนวรูปตัดทุกระยะ 5 เมตร ฝังหมุด หลักฐานถาวรแบบ ค. ในแนวศูนย์กลาง และในตําแหน่งที่เหมาะสมบริเวณขอบเขตผงบริเวณ
4.1.7 งานสํารวจเพื่อปรับปรุงคลองส่งน้ําและคลองระบายนาํ้
ต้องใช้แบบแนวคลองส่งน้ําหรือคลองระบายนํ้า มาตราส่วน 1:4,000 ประกอบกับภาพถ่าย ทางอากาศ และ/หรือ ภาพถ่ายออร์โธสี (ถ้ามี) และสร้างหมุดหลักฐานอ้างอิงให้เพียงพอเพ่ือตรวจสอบ ตําแหน่งและระดับของคลอง สํารวจรูปตัดตามยาวและรูปตัดขวางตามระยะในแนวศูนย์กลางแนวคลองท่ี กําหนด ปีกของรูปตัดขวาง ให้ครอบคลุมแนวเขตคลอง (Right of way) เก็บรายละเอียดของอาคาร ชลประทานทุกประเภท สะพานข้ามคลอง ท่อส่งน้ํา ฯลฯ ให้ครบถ้วน ตําแหน่งที่เกิดการชํารุดหรือพังทลาย ให้จัดทําผังบริเวณมาตราส่วน 1:500 ประกอบไว้ด้วย ทั้งน้ีให้เป็นไปตามที่วิศวกรออกแบบระบบชลประทาน เป็นผู้กําหนด
แผนท่ีแสดงรูปตัดตามยาวและรูปตัดขวางของคลองส่งน้ําและคลองระบายน้ํา รูปตัด ตามยาวมาตราส่วนทางตั้ง 1:100 ทางราบ 1:4,000 และแผนท่ีแสดงรูปตัดขวาง มาตราส่วนทางตั้ง 1:100
ทางราบ 1:100 หรือมาตราส่วนอ่ืนที่เหมาะสมกับความลาดชันของพื้นท่ี
4.1.8 งานวางแนวอุโมงค์ส่งน้ํา / ระบายนํา้
ต้องใช้แผนที่ภูมิประเทศของโครงการวางแนวศูนย์กลางอุโมงค์ส่งนํ้า / ระบายนํ้า แล้วทํา การสํารวจรูปตัดตามยาวตามแนวศูนย์กลางอุโมงค์ รังวัดระดับทุกระยะ 20 เมตร กรณีวางแนวอุโมงค์ส่งน้ํา / ระบายนํ้าไปตามแนวถนน ต่อปีกด้านข้างถึงแนวเขตถนน หรือต่อปีกออกไปไม่เกินข้างละ 50 เมตร ฝังหมุด
หลักฐานถาวรแบบ ข. เป็นคู่ นอกแนวอุโมงค์ส่งน / ระบายนํ้า ตามแนว BC-PI หรือ PI-EC. หรอทกระยะไมุ่ื
เกิน 2 กิโลเมตร และหมุดหลักฐานถาวรแบบ ค. (หมุดท่อ) ณ จุดอุโมงค์ทางเข้า, จุดต้นโค้ง, จุด PI., จุดปลาย โค้ง และในแนวตรงทุกระยะประมาณ 500 เมตร
แผนท่ีแสดงรูปตัดตามยาวอุโมงค์ส่งน้ํา / ระบายน้ํา มาตราส่วนทางตั้ง 1:100 ทางราบ
1:4,000 หรือมาตราส่วนอ่ืนที่เหมาะสมกับความลาดชันของพื้นที่
4.1.9 สมุดสนาม
ข้อมูลการสํารวจทําแผนที่ทุกชนิด ต้องบันทึกบนแบบฟอร์มของท่ีปรึกษา ระบุชื่อที่ปรึกษา และรายละเอียดรายการต่าง ๆ ที่จําเป็นทุกหน้า เช่น
ชื่อโครงการ ....................................................สายการสํารวจ ...........................................................
ช่ือผู้สํารวจ .....................................................ชื่อผูจดบันทึก .................................................................
วัน เดือน ปี ....................................................ย่ีหอและหมายเลขเครื่องมือ ...........................................
สมุดสนามอาจจัดทําเป็นเล่มปกแข็ง หรือจัดพิมพ์รวบรวมใส่แฟ้มแข็ง มีสารบัญ และแผนที่ แสดงแนวเส้นสํารวจ หรือขอบเขตพื้นที่โครงการโดยชัดเจน
4.1.10 การจัดทําแผนท่ี
ผลการสํารวจต้องนําไปพล๊อตหรือจดทําแผนท่ีเป็นระบบเชิงเลข (Digital Map) บันทึกลงใน แผ่น CD หรือ DVD และจดพิมพ์บนกระดาษต้นฉบับขนาดมาตรฐาน A0 หรือ A1 ตามความเหมาะสม
กรอบช่ือโครงการและรายละเอียดขอบระวางแผนที่ให้ใช้แบบตามที่กรมชลประทาน (สํานัก สํารวจ ดานวิศวกรรมและธรณีวิทยา) กําหนด
ข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในการจัดทําแผนท่ีได้แก่ ข้อมูลหมุดหลักฐานถาวร ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพออร์โธสีเชิงเลข ข้อมูลแบบจําลองค่าระดับเชิงเลข (DEM) ขอมูลเส้นชั้นความสูง ต้อง มีหลักฐานระบุการได้มา หรือการจัดหาที่ถูกต้องตามระเบียบราชการ และต้องจัดส่งให้กรมชลประทานพร้อม กับแผนที่ต้นฉบับ และผลการคํานวณ
4.1.11 เกณฑ์การตรวจรับ
ให้ใช้ข้อกําหนดเฉพาะและมาตรฐานความถูกต้องของงานสํารวจและทําแผนที่ กับหลักการ ตรวจการจ้างสํารวจทําแผนที่ในภาคผนวก ง. (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2536) ของหลักการสํารวจและทําแผนที่ ของสํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน
4.1.12 รายงานผลการสํารวจ
ที่ปรึกษาต้องทํารายงานผลการสํารวจและการจัดทําแผนที่อย่างละเอียด โดยบรรยาย วิธีการสํารวจ ขอบเขตการสํารวจ เคร่ืองมืออุปกรณ์ที่ใช้ วิศวกรผู้ควบคุมงาน เจ้าหน้าที่สํารวจ ผลงานสํารวจ หมุดหลักฐาน และแผนที่ต่าง ๆ โดยครบถ้วน
หมายเหตุ รายละเอียดการสํารวจทําแผนที่ดังกล่าวข้างต้น เป็นเพียงแนวทางของการ
สํารวจโดยท่ัวไป ผู้รับจ้างอาจจะเสนอรายละเอียดเพ่ิมเติม, เปลี่ยนแปลงได้ตามความจําเป็นโดยใช้หลักการ สํารวจและทําแผนที่ตามมาตรฐานสากลและเป็นไปตามหลักการสํารวจ และทําแผนที่ของสํานักสํารวจด้าน วิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน แต่ทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดูแลกํากับฯ เสียก่อน
4-5
4-6
4-7
ตัวอย่างหมายเหตุแสดงวิธีการดําเนินการสํารวจอย่างย่อ เช่น
หมายเหตุ
1. แผนที่ฉบบนี ํารวจโดยที่ปรึกษา............ดวยโปรแกรม้ AutoCAD Land Development
2. งานสํารวจภาคสนาม เดือน มกราคม 2550 ถึง เดือน เมษายน 2550
3. งานสํารวจทั้งหมดสํารวจและบนทึกด้วยระบบข้อมูลเชิงเลข (Digital Format)
4. ระดับความสูงสํารวจด้วยวิธี Tacheometric ระยะประมาณ 50 เมตร โดยใช้ Total Station Theodolite
สํานักสํารวจด้านวศิ วกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน
แบบหมายหมุดหลักฐาน
เล่ม
โครงการ หมุด
พัฒนาลุมน้าตราด (อ่างฯบานทบทิมสยาม - อางฯด่านชุมพล) จังหวดตราด
RID. GPS. 503109
Sheet. 5533 IV (No 625)
RID. GPS. 503110
WGS - 84
Lat .
12 28 36.06620
(N.) Long . 102 35 12.21399
(E.)
Lat .
12 28 34.58707
(N.) Long . 102 35 13.41661
(E.)
UTM. 84
ZONE 48
Ellip. Height 11.233
(m.)
Ellip. Height 9.194
(m.)
N . 1,380,459.409 (m.) E .
237,693.034
(m.)
N . 1,380,413.607 (m.) E .
237,728.950
(m.)
PARAMETER ∆X = 204 m. ∆Y=838 m. ∆Z=295 m.
IND. 1975
Lat .
12 28 29.6147
(N.) Long .
102 35 24.8565
(E.)
Lat .
12 28 28.1354
(N.)
Long .
102 35 26.0592
(E.)
ZONE 48
Ellip. Height
44.480
(m.) ระดับ 33.51882 ม. (รทก.)
Ellip. Height
42.444 (m.) ระด
31.49331 ม. (รทก.)
UTM .
N . 1,380,147.997
(m.) E .
238,108.839
(m.) N .
1,380,102.196
(m.) E .
238,144.755
(m.)
Azimuth จากหมุด RID. GPS. 503109 ถงหมุด
RID. GPS. 503110 141
53 '
52.63 "
ระยะ(กริด) 58.205 ม.
ผู ารวจ (พิกัด)
โ พธทิ อง,อุเทน
วนท
ม.ี ค. 2550
ผ ํารวจ (ระดับ)
สถตย์,ธชพล
วนท
ม.ี ค. 2550
30 ซม.
RID. GPS. 503109
เป}นหมุดคอนกรีตสี่เหล่ียมขนาด 30x30 cm. หล่อไว้บริเวณขางถนน บานปะเดา หมู่ท่ี 6 ตําบลด่านชุมพล อําเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
หมายเหตุ
หมายพยาน RID. GPS. 503109
1. ตนเงาะ 30 ํ / 2.00 เมตร
2. ตนเงาะ 145 ํ / 7.90 เมตร
3. ตนเงาะ 190 ํ / 9.60 เมตร
- ตามถนนหมายเลข 3157 ถึง กม.8 นนทรี เลยี วซ้าย ไปตามถนนหมายเลข 4018 เขาไปประมาณ 2 กม.
เศษ พบซอยคลองตาม หมู่ 3 เลี้ยวซายเขาซอย
เนิน
1
2
RID. GPS. 503109
3
ตรงมาประมาณ 3 กม.เศษ จะพบหมุด RID. GPS. 503110 อยู่ด้านซ้ายมือก่อนถึงทางแยก
สวน
RID. GPS. 503110
1
ซอยคลองตามัน
มงคุด
หมายพยาน RID. GPS. 503110
1. ต้นมังคุด 70 ํ / 2.50 เมตร
2. ต้นเงาะ 180 ํ / 5.50 เมตร
2
เงาะ
อบเ
รงก
ข ข
โค า
30 ซม.
ท่ีปรึกRษIาD. GPS. 503110
ตของงานจ้าง
รศึกษาวิเครา
เป}นหมุดคอนกรีตส่ีเหล่ียมขนาด 30x30 cm. หล่อไวบริเวณข้างถนน บานปะเดา หมู่ที่ 6 ตําบลด่านชุมพล
ะห์ผลอกาเรภะอทบบอ่ สไ่งรแวจดังลหอ้ วมัดอตารงาเดก็บนําแม่บอม อนเน่ืองมาจากพระราชดําริ จังหวดลําปาง
4-9
4-10
4-11
4-12
4-13
4-14
ตอนที่ 2 การสํารวจและทดสอบทางธรณีวิทยา
เพ่ือให้ได้ข้อมูลสํารวจด้านธรณีวิทยา เพ่ือวิเคราะห์สภาพฐานรากสําหรับการศึกษาความเหมาะสม ของโครงการ และการออกแบบก่อสร้างของการทํางานของที่ปรึกษา ตามคุณลักษณะเฉพาะ (SPECIFICATION) ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อตกลงที่กรมชลประทานกําหนดตามข้อเสนอด้านคุณภาพ สิ่งที่ที่ปรึกษาจะต้องส่งมอบ ให้แก่กรมชลประทาน คือ
4.2.1 รายงานผลการสํารวจธรณีฟิสิกส์ด้วยวิธีวัดความเร็วคล่ืนไหวสะเทือน (SEISMIC SURVEY) ตามแนวศูนย์กลางทํานบ (DAM AXIS) ทางระบายนํ้าล้น (SPILLWAY) ท่อส่งน้ํา (OUTLET WORKS) และตามแนวอุโมงค์ส่งน้ํา / ระบายน้ํา เป็นอย่างน้อย
4.2.2 รายงานผลการเจาะสํารวจต่าง ๆ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
4.2.2.1 แผนท่ีธรณีวิทยาบริเวณอ่างเก็บนํ้า และหรือตามแนวอุโมงค์ส่งน้ํา / ระบายน้ํา หรือประตูระบายน้ํา หรือฝาย มาตราส่วนขนาดใหญ่ท่ีสุดเท่าแผนที่สํารวจภูมิ ประเทศที่ได้จัดทําไว้ และเขียนรูปตัดขวางทางธรณีวิทยา
4.2.2.2 แผนที่แสดงตําแหน่งของหลุมเจาะ
4.2.2.3 รายงานธรณีวิทยาของหลุมเจาะ (GEOLOGICAL CORELOG) สําหรับชั้นดิน (OVERBURDEN) ให้ทําการตอกทดลอง โดยวิธี STANDARD PENETRATION TEST ตามมาตรฐาน ASTM. D1586 และเก็บตัวอย่างดินทุก 1 เมตร ทดสอบ การรั่วซึมตาม USBR. DESIGNATION E-18 ทุกระยะ 1 เมตร จนถึงหน้าหิน ให้ จํ าแ น ก ดิ นต า ม ร ะ บบ UNIFIED SOIL CLASSIFICATION (USBR. DESIGNATION E-3 OR ASTM. D-2487)
4.2.2.4 รายงานผลการทดสอบการร่ัวซึมของน้ําในหลุมเจาะ สําหรับชั้นหินให้ทดสอบ ทุกระยะ 3 เมตร ใช้ความดัน 1 PSI. ต่อความลึก 1 ฟุต และทําการทดสอบโดย ค่อย ๆ เพิ่มแรงดันจากน้อยถึงจุดที่กําหนด และลดลงดังนี้ 0.4P, 0.7P, 1P, 0.7P, 0.4P โดยในแต่ช่วงความดันใช้เวลาทดสอบไม่น้อยกว่า 10 นาที (HOULSBY’S METHOD)
4.2.2.5 รูปตัดแสดงสภาพธรณีวิทยาฐานราก ตามแนวศูนย์กลางทํานบและอาคาร ประกอบต่าง ๆ หรือตามแนวอุโมงค์ส่งนํ้า / ระบายน้ํา หรือประตูระบายน้ํา หรือฝายและอาคารประกอบต่างๆ ขนาดมาตรฐานส่วนแนวตั้ง 1:200 และ แนวราบ 1:500 ถึง 1:2,000 หรือตามความเหมาะสม
4.2.2.6 รายงานสรุปผลการเจาะท้ังหมดท่ีได้ดําเนินการตามวิธีไม่น้อยกว่ามาตรฐาน
ASTM D4 2 0 (STANDARD RECOMMENDED PRACTICE FOR
INVESTIGATING AND SAMPLING SOIL AND ROCK FOR ENGINEERING PURPOSES)
4.2.2.7 รายงานการปฏิบัติงานประจําวัน
4.2.2.8 รูปถ่ายสีตัวอย่างหิน ที่บรรจุในกล่องเก็บตัวอย่างตามมาตรฐานของสํานักสํารวจ ด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา โดยถ่าย 1 กล่องต่อ 1 ภาพ
4.2.3 ลังใส่ตัวอย่างดินและแกนหิน (CORE) จากหลุมเจาะ ขนาดบรรจุตัวอย่างลังละ 4 เมตร โดยให้มีแสดงรายละเอียดระยะชั้นหิน ช่ือโครงการ ที่ตั้งระดับปากหลุม และมีฝาปิด ลังหินเรียบร้อย
4.2.4 ขนาดหลุมเจาะต้องมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 76 มิลลิเมตร และตัวอย่างแกนหินจะต้อง ไดขนาดไม่น้อยกว่า 75 เปอร์เซ็นต์
4.2.5 แผนที่ธรณีวิทยา (GEOLOGIC MAP) ครอบคลุมพื้นท่ีบริเวณอ่างเก็บน้ําถึงระดับ เก็บกักน้ําสูงสุดเป็นอย่างน้อย
รายงานต่างๆ ตามข้อ 4.2.1 และ 4.2.2 นี้จะต้องจัดทําและรับรองข้อมูลโดยนักธรณีวิทยาของที่ ปรึกษาและต้องลงชื่อนักธรณีวิทยากํากับไว้ในรายงานด้วย
หมายเหตุ
รายละเอียดการสํารวจและทดสอบธรณีวิทยาดังกล่าวข้างต้น เป็นเพียงแนวทางของการสํารวจ โดยท่ัวไป ผู้รับจ้างอาจจะเสนอรายละเอียดเพิ่มเติมเปลี่ยนแปลงได้ตามความจําเป็น โดยใช้มาตรฐานการ สํารวจทางธรณีวิทยา ของสํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยาของกรมชลประทานเป็นหลกแต่ท้ังนี้ต้อง ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดูแลกํากับฯ เสียก่อน
ตอนที่ 3 การสํารวจแหล่งวสดุก่อสรางและทดสอบวสดุเพื่อศึกษาความเหมาะสม และการออกแบบ
4.3.1 วัตถุประสงค์
การสํารวจแหล่งและทดสอบวัสดุก่อสร้างเพ่ือใช้ในการศึกษาความเหมาะสมของโครงการ และการออกแบบ มีวัตถุประสงค์ดังนี้
4.3.1.1 กําหนดขอบเขตท่ีแน่นอนของแหล่งวสดุก่อสร้าง
4.3.1.2 เพื่อยืนยนปริมาณที่แน่นอน
4.3.1.3 เพื่อทดสอบคุณสมบตั ิต่าง ๆ ของวสดุก่อสร้างท่ีจําเป็นต่อการออกแบบ
4.3.1.4 กําหนดวิธีการขุดท่ีเหมาะสม
4.3.2 วัสดุก่อสรางที่ตองทําการสํารวจแหล่งและทดสอบ
4.3.2.1 ดิน (SOIL MATERIAL)
4.3.2.2 กรวด ทราย (GRAVEL AND SAND)
4.3.2.3 หิน (ROCK)
4.3.3 การพิจารณาเลือกพืนที่เพื่อกําหนดเป็นแหล่งวสดุก่อสร้าง
การคัดเลือกพื้นท่ีเพ่ือกําหนดเป็นแหล่งวสดุก่อสรางใหใช้เกณฑ์ดังนี้
4.3.1.1 พืนที่ที่จะตองทําการขุดต่าง ๆ คือรองแกน ทางระบายนํ้าล้น ท่อส่งน
(ABUTMENT)
4.3.1.2 พื้นที่อ่ืน ๆ ตามลําดับ คือ
และที่ฐานยัน
1. พื้นที่ในอ่างเก็บน ใตระดบนั้ ํ้าสูงสุด
2. พืนที่ขอบอ่างท่ีสูงกว่าระดับนํ้าสูงสุด โดยคํานึงถึงสิทธิครอบครองที่ดินดวย
4.3.1.3 กรณีที่แหล่งวสดุก่อสร้างในพืนท่ตามข 4.3.3.1 และ 4.3.3.2 มีปริมาณไม่เพียงพอ
ให้พิจารณาหาจากแหล่งวสดุก่อสร้างจากบริเวณรอบนอกในรัศมี 3 กิโล เมตร จาก ที่ตั้งเข่ือนโดยคํานึงถึงสิทธิครอบครอบท่ีดินด้วย
4.3.4 วิธีดําเนินการสํารวจ
การสํารวจวัสดุก่อสร้างตองทําการสํารวจเพ่ือยืนยนว่ามีปริมาณ 1.5 เท่าของปริมาณที่จะต้องใช้ใน การก่อสร้าง วิธีการสํารวจให้ดําเนินการดังนี้
4.3.1.1 ดิน (SOIL MATERIAL)
วิธีการสํารวจทําโดยเจาะสุ่มแล้วกําหนดตําแน่งของแปลงดิน ขนาดของแปลงดินประมาณ 200 x 300 ตาราง เมตร ความลึกเฉลี่ย 4 เมตร คิดเป็นปริมาณดินสุทธิ 180,000 ลูกบาศก์เมตร ในแต่ละแปลงทําการเจาะด้วย สว่านไม่น้อยกว่า 35 หลุม ขุดบ่อสํารวจไม่น้อยกว่า 5 บ่อ และเจาะตอกทดลอง (STANDARD PENETRATION TEST) ไม่น้อยกว่า 3 หลุม ทําการทดสอบดินในสนามโดยจําแนกประเภทดินตามมาตรฐาน
ASTM D 2488-84, EMERSON CRUMB TEST และทดสอบแบบอ่ืน ๆ เช่นการทดสอบความแน่นของดิน
(FIELD DENSITY TEST) ตามสภาพและความจําเป็นด้านปฐพี และธรณีวิทยา
4.3.1.2 กรวด ทราย (GRAVEL AND SAND)
วิธีการสํารวจ ทําโดยการขุดบ่ออย่างน้อย 2 บ่อ ต่อปริมาณกรวดทราย 5,000
ลูกบาศก์เมตร ลึกบ่อละประมาณ 4 เมตร และเก็บตัวอย่างตามความจําเป็น เพ่ือทดสอบในห้องปฏิบัติการ
4.3.1.3 หิน (ROCK)
วิธีการสํารวจให้กระทําโดยการสํารวจพื้นผิวและใช้เครื่องเจาะหัวเพชร ขนาดของหลุม เจาะมีเสนผ่านศูนย์กลาง 76 มิลลิเมตร ความลึกของหลุมเจาะให้ใชเกณฑ์ต่อไปนี้
ปริมาตร (ลูกบาศก์เมตร) | ความลึกหลุมเจาะรวม (เมตร) |
ไม่เกิน 10,000 | 30 |
10,000-50,000 | 60 |
50,000-100,000 | 90 |
100,000-2,000,000 | 120 |
4.3.5 รายการทดลองในห้องปฏิบ ิการ
การทดลองในห้องปฏิบัติการ ให้เลือกใช้วิธีตามที่กําหนดในตารางข้างล่างนี้เฉพาะที่จําเป็น โดยวิศวกรผู้ออกแบบ และต้องนําผลทดสอบไปใช้งานด้วย ถ้าหากเลือกใช้วิธีนอกเหนือจากที่กําหนดใน ตารางดังกล่าว จะต้องเสนอให้คณะกรรมการดําเนินงานจ้างฯ พิจารณาเห็นชอบก่อน
ชนิด รายการ | ดิน | กรวด - ทราย | หิน |
1. | SPECIFIC GRAVITY TEST | SPECIFIC GRAVITY TEST | SPECIFIC GRAVITY TEST |
2. | GRADATION TEST | GRADATION TEST | UNIT WEIGHT |
3. | ATTERBERG LIMITS | FINENESS MODULUS | POINT LOADING |
4. | STANDARD PROCTOR | ABRASION TEST BY | ABSORPTION TEST BY |
COMPACTION TEST | LOS ANGELES | LOSANGELES MACHINE | |
MACHINE (กรวด) | |||
5 | MODIFIED PROCTOR | SOUNDNESS TEST | ABRASION TEST |
COMPACTION TEST | |||
6. | PERMEABILITY TEST | ||
7. | CONSOLIDATION TEST |
8. | DISPERSIVE SOIL TEST | ||
9. | UNIT WEIGHT | ||
10. | HYDRO METER | ||
12. | UU-TRIAXIAL TEST | ||
13. | CU-TRIAXIAL TEST | ||
14. | CALIFORNIA BEARING | ||
RATION TEST | |||
15. | DIRECT SHEAR TEST |
4.3.6 รายงานผลการสํารวจ
ที่ปรึกษาต้องทํารายงานผลการเจาะสํารวจอย่างละเอียด โดยบรรยายวิธีการสํารวจ มี แผนผังและแผนที่ ปริมาตรและชนิดของดินท่ีเจาะสํารวจพบ ผลการทดสอบรายละเอียดอื่น ๆ รายชื่อคณะ
เจ้าหน้าที่ผ
ําการสํารวจ และวิศวกรผูควบคมดแลงานจะต้องลงช่อกํากบพรอมรบรองข้อมูลในรายงานดวย
หมายเหตุ
รายละเอียดการสํารวจและทดสอบทางปถพีวิทยาดังกล่าวข้างต้น เป็นเพียงแนวทาง
ของการสํารวจโดยทั่วไป ผู้รับจ้างอาจเสนอรายละเอียดเพ่ิมเติมเปลี่ยนแปลงได้ตามความจําเป็น โดยใช้ หลักการสํารวจและทดสอบทางปฐพีกลศาสตร์ของสํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา ของกรม
ชลประทานเป็นหลัก แต่ทงั น ้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดแลกํู ากับฯ เสียก่อน ถ้าไม่นําผลการ
ทดสอบมาใชงานอาจจะพิจารณาไม่ให้เบิกเงินค่าทดสอบ
ตอนที่ 4 การศึกษาแผนพฒนาล่มน้ํา (Comprehensive study) (ถ้ามี)
เพ่ือให้การศึกษาแผนพัฒนาลุ่มนําเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาเพ่ือวางแผนพัฒนาลุ่มน และ
โครงการพัฒนาแหล่งน ของสํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน (มถนายนุิ พ.ศ.2552) แนวทางใน
การศึกษาอย่างน้อยประกอบด้วยหัวข และระดับของการศึกษาดังน
มาตรฐานการศึกษาแผนพฒนาลุ่มน้ํา(Comprehensive Study)
หัวข้อ | ระดับ | วิธี |
1. สภาพท่วไป | ทบทวนการศึกษาเดิม | รวบรวมขอมูลเพิ่มเติม (หากมี), ดูงานภาคสนามเพิ่มเติม |
2. สภาพเศรษฐกิจสังคม | ขอมูลที่มีทงั หมด | สํารวจเพิ่มเติม |
3. สภาพปัญหาด้านต่างๆ | ข้อมูลท่ีมีทั้งหมด | สํารวจเพ่ิมเติม การมีส่วนร่วม |
4. สภาพปัญหาด้านน้ํา | ข้อมูลที่มีทั้งหมด | สํารวจเพิ่มเติม การมีส่วนร่วม |
5. สภาพการพฒนาแหล่งน้ํา | ขอมูลที่มีทั้งหมด | รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม |
6. แผนการพัฒนาที่เกี่ยวของ | ข้อมูลที่มีทง้ หมด | รวบรวมข้อมูลเพ่ิมเติม,การมีส่วนร่วม |
7. เป้าหมายการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม | ข้อมูลที่มีทงั หมด | การมีส่วนร่วมกบหน่วยงานอ่ืนและ ประชาชน |
8.เป้าหมายในการพัฒนา ทางด้านการเกษตร | ข้อมูลที่มีทั้งหมด | การมีส่วนร่วม |
9.เป้าหมายในการพัฒนา ทางด้านอุตสาหกรรม/ การท่องเที่ยว | ข้อมูลที่มีทั้งหมด | การมีส่วนร่วม |
10. แผนการใชน้ ้ํา | ข้อมูลที่มีทง้ หมด | แปลงเป้าหมายด้านต่างๆเป็นแผน บูรณาการ แปลงแผนบูรณาการเป็นแผนการใชท้ ี่ดิน แปลงแผนการใช้ที่ดินเป็นแผนการใช้น้ํา |
มาตรฐานการศึกษาแผนพฒนาลุ่มน้ํา(Comprehensive Study)
หัวข้อ | ระดับ | วิธี |
11. ความต้องการน้ํา | ปริมาณนํารายเดือน | แปลงจากแผนการใช้ท่ีดิน และแผน การใช้น้ํา |
12. ปริมาณน้ําต้นทุน | ปริมาณน้ํารายเดือน | HEC-4, Tank Model หรือเทียบเท่า |
13. แนวทางในการแก้ไขการ ขาดแคลนน้ํา | Water Balance | HEC-3 หรือเทียบเท่า |
14. ปัญหาด้านอุทกภัย | ตรวจสอบประวตั ิปัญหา น้ําท่วม | ดูงานภาคสนาม การวิเคราะห์ดาน อุทกวิทยา |
15. แนวทางในการบรรเทา อุทกภัย | วิเคราะห์แนวทางแกไข เสนอทางเลือกท่ีดีที่สุด | Hydrodynamic Model1Dและ2D Flood Map |
16. ปัญหาคุณภาพนํา้ | เสนอแนวทางในการป้องกนั และแก้ไข |
ตอนที่ 5 การศึกษาการจัดทํารายงานความเหมาะสม (Feasibility report)
เพ่ือใหการศึกษาความเหมาะสมโครงการพัฒนาแหล่งนํ้าเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา เพ่ือวางแผน พัฒนาลุ่มนํ้า และโครงการพัฒนาแหล่งนาํ ของสํานกบริหารโครงการ กรมชลประทาน (มิถุนายน พ.ศ.2552) แนวทางในการศึกษาอย่างน้อยประกอบด้วยหัวขอ้ และระดับของการศึกษาดังนี้
มาตรฐานการศึกษาความเหมาะสม (Feasibility Study)
หัวข้อ | ระดับ | วิธี |
1. การศึกษาเร่ืองเดิม | ข้อมูลที่มีท้ังหมด | ทบทวนการศึกษาเดิม รวบรวมขอมูลเพิ่มเติม |
2. กําหนดที่ตั้งโครงการ | บนแผนที่มาตราส่วน 1:50,000 , | ทบทวนการศึกษาเดิม |
1:10,000, แผนที่ป่าไม,้ แผนท่ี ชนั คุณภาพลุ่มนํ้า,แผนที่พื้นที่ ชุ่มน้ําฯลฯ | ||
3. ความตองการใช้น้ํา | รายเดือน,ตามแผนบูรณาการ | Model WUSMO หรือเทียบเท่า |
4. นาํ ตนทุน | รายเดือน ระยะยาว | Tank Model หรือ HEC-4 หรือเทียบเท่า |
5. การกําหนดประเภทของ โครงการ | บนแผนที่มาตราส่วน 1:10,000 1: 2,000, แผนที่ป่าไม้ แผนท่ีชน้ คุณภาพลุ่มน้ํา แผนท่ีพื้นที่ชุ่มน้ําฯลฯ | ตามการศึกษาความต้องการใชน้ ้ํา และปริมาณนําต้นทุน ต้นทุน หากมีนําเพียงพอตลอดปีเป็นฝาย หากขาดน้ําในฤดูแลงเป็นอ่างเก็บน้ํา |
6. กําหนดที่ตั้งหัวงาน | บนแผนที่มาตราส่วน1:10,000 1:2,000 และ Cross Section ของลํานํา้ | ตามลักษณะที่เหมาะสมของหวงาน แต่ละประเภท |
มาตรฐานการศึกษาความเหมาะสม (Feasibility Study)
หัวขอ้ | ระดับ | วิธี |
7. การออกแบบหัวงาน | ||
7.1 การออกแบบฝาย - กําหนดระดับสันฝาย | บนแผนที่มาตราส่วน 1 : 2,000 และ Cross Section ลําน้ํา | ให้ระดบน้ําสูงเพียงพอต่อการส่งนํ้า เขาสู่พืนท่ีเพาะปลูกได้ |
- ระดับนาํ นองสูงสุด | Cross Section ลํานํา้ | Flood 25 ปี Back water curve Water surface profile |
ระดับน้ําไม่ลนตลิ่ง | ||
- ออกแบบฝาย/อาคาร ประกอบ | บนแผนท่ีมาตราส่วน 1 : 2,000 และ Cross Section ลํานํ้า | ออกแบบเฉพาะตัว ตามความเหมาะสม |
7.2 การออกแบบเขื่อนและ อาคารประกอบ | ||
ระดับ Dead Storage | บนแผนที่มาตราส่วน 1:4,000 | ปริมาณตะกอนในรอบ 50-100 ปี หรือ ตามความเหมาะสม |
ระดับเก็บกกั | บนแผนที่มาตราส่วน 1:4,000 | HEC-3 หรือเทียบเท่า |
ระดับน้ํานองสูงสุด | บนแผนที่มาตราส่วน 1:4,000 | Reservoir Routing |
ระดับสันเขื่อน | บนแผนท่ีมาตราส่วน 1:4,000 | ความสูงของคลื่น ความสูงของเขื่อน การทรุดตัวของเขื่อน |
ออกแบบเขื่อน/อาคาร ประกอบ | บนแผนที่มาตราส่วน 1 : 2,000 แผนท่ีมาตราส่วน 1:4,000 ข้อมูลเจาะสํารวจธรณีวิทยา ข้อมูลปถพีวิทยา | เป็นไปตามความเหมาะสมทางด้าน ความมั่นคงของตัวเขื่อน ความม่นคงของฐานราก และความเหมาะสมดานวัสดุก่อสร้าง |
มาตรฐานการศึกษาความเหมาะสม (Feasibility Study)
หัวข้อ | ระดบั | วิธี |
7.3 การออกแบบทางผ่านปลา (Fish Way) | บนแผนท่ีมาตราส่วน 1:4,000 | ตามความเหมาะสม |
8. ออกแบบระบบส่งนํ้า/ | บนแผนที่มาตราส่วน 1:10,000 | วางแนวคลอง |
ระบายนํ้า | แบ่งแฉก | |
กําหนดอาคารกลางคลอง | ||
คํานวณขนาดคลองและอาคารกลาง |
คลอง | ||
9. การศึกษาระบบบรรเทา อุทกภยั | บนแผนที่มาตราส่วน 1:10,000 เสนชันความสูงชั้นละ 1 เมตร Cross Section ลําน้ํา | 1D และ 2D Hydrodynamics Model ออกแบบอาคารบังคับน้ํา |
10.การชดเชยทรพย์สินและ การอพยพตง้ ถิ่นฐาน | บนแผนที่มาตราส่วน 1:10,000 และภาพถายดาวเทียม | พื้นที่น้ําท่วม พื้นที่อพยพ วางแผนอพยพ |
11. ประมาณราคาค่า ก่อสราง | ตามรายละเอียดการออกแบบ | ประมาณปริมาณงานและราคาหัวงาน ประมาณราคาอื่นๆตามแบบมาตรฐาน |
12. วางแผนงานก่อสราง | วางแผนเบื้องตน้ | Bar Chart |
13. ผลประโยชน์โครงการ | ศึกษาในระดับโครงการ | ศึกษาวิเคราะห์ผลประโยชน์ของ โครงการทุกด้าน |
14. ผลกระทบสิ่งแวดล้อม | แผนท่ีคุณภาพลุ่มน้ํา,ป่าสงวน พนื ที่ชุ่มน้ําและตรวจสอบ สภาพพื้นที่ | ตรวจสอบและชี้ประเด็นปัญหา และใช้ข้อกําหนดของ ส.ผ.เป็นแนวทาง |
15. การวิเคราะห์โครงการ | ศึกษาในระดับโครงการ | FIRR , EIRR และ sensitivity |
16. เศรษฐกิจ-สังคม | ขอมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิ | รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล |
ตอนที่ 6 ด้านการประชาสัมพนธ์
โครงการศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบส่ิงแวดล้อมงานด้านการพัฒนาแหล่งน้ํา ของกรมนั้น นับได้ว่ามีความสําคัญอย่างยิ่งเพราะเป็นจุดเริ่มต้นของการวางโครงการเพ่ือพัฒนาและจัดการทรัพยากรน้ําที่ จะเกิดขึ้นในอนาคต อันจะช่วยให้การบริหารจัดหารน้ําสามารถทําได้อย่างมีประสิทธิภาพและย่ังยืน โดยใน การดําเนินงานจะต้องมีการศึกษาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านวิชาการ สภาพแวดล้อมเศรษฐกิจและ สังคม ซึ่งจะต้องเกี่ยวข้องกับประชาชนเป็นจํานวนมาก การชี้แจงทําความเข้าใจกับประชาชนและหน่วยงาน ต่างๆในแต่ละพื้นท่ีให้รับรู้ รับทราบเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ในการดําเนินงานของโครงการจึงมี ความสําคัญและจําเป็นอย่างยิ่ง
การผลิตสื่อและการดําเนินงานประชาสมพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสมตรงกับกลุ่มเป้าหมาย คือ อีกหนึ่งแนวทางที่จะช่วยให้เกิดการรับรู้ เข้าใจ รวมทั้งก่อให้เกิดการสนับสนุนและความร่วมมือจากประชาชน ดงน้ันในการผลิตและการดําเนินงานประชาสัมพันธ์ รวมทังเผยแพร่ ให้มีความเหมาะสมตรงกับกลุ่มเป้าหมาย ตามรายละเอียดดังต่อไปนีและระดับของการศึกษาดงน้ี
4.6.1 วิดีทัศน์ ดําเนินการผลิตวิดีทัศน์ของโรงการศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพ่ือแนะนําโครงการพัฒนาแหล่งน้ําที่ยังไม่ได้ดําเนินการก่อสร้าง และการบริหารจัดการน้ําทั่วประเทศของ กรม โดยมีขอบเขตและหลักเกณฑ์ในการผลิตวิดีทัศน์ ดังนี้
1. การเตรียมการผลิต | 1.1 คณะกรรมการดูแลกํากับฯ และ/หรือเลขานุการฯ ประชุมหารือ กบที่ปรึกษากําหนดกรอบประเด็นและเป้าหมายในการผลิตวิดีทัศน์ 1.2 ที่ปรึกษาวางแผนการผลิต โดยจะต้องเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาฯ เพื่อเป็นฐานข้อมูลสําหรับการการเขียนบทฯ 1.3 ที่ปรึกษาตองวางแผนการบันทึกภาพการดําเนินการศึกษาความ เหมาะสมโครงการอย่างต่อเนื่อง ครบทุกขั้นตอนการดําเนินงาน เช่น การเข้าพบกลุ่มเป้าหมาย การประชุมกลุ่มย่อย การศึกษาเก็บรวบ รวมข้อมูลของผู้เช่ียวชาญคณะต่าง ๆ สภาพพนื ที่ลุ่มนํ้า การใช้น้ํา การทําการเกษตร เป็นต้น |
2. การเขียนบทสคริปต์ | 2.1 ที่ปรึกษาจดทําเคาโครงบทสคริปต์เสนอคณะกรรมการฯ พิจารณา ซึ่งประเด็นเนือหาจะต้องครอบคลุมทุกประเด็น อาทิ - ความเป็นมาของโครงการ - เหตุผลและความจําเป็น - รายละเอียดขั้นตอนการดําเนินงาน - ลักษณะของโครงการ/บทสรุปผลการศึกษา |
- ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ - การมีส่วนร่วมของประชาชนและอื่น ๆ ซึ่งขึ้นอยู่กบั รายละเอียดในแต่ละโครงการอย่างครบถ้วน | |
2. การเขียนบทสคริปต์ | 2.2 ที่ปรึกษาดําเนินการจดทําบทสคริปต์ โดยในการเขียนบทจะต้อง คํานึงถึง องค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้ - จัดวางตามลําดับเรื่องราวตามเค้าโครงการนําเสนอให้ สอดคล้องและมีความเช่ือมโยงกันในแต่ละประเด็น - ใช้ภาษาท่ีเข้าใจง่าย เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย สรุปความ ให้กระชับชดเจน ตรงประเด็น ไม่เยิ่นเย่อ และพยายาม หลีกเลี่ยงการใช้ศัพท์เทคนิค - ในการผลิตวิดีทศน์ความพิจารณาให้มีการสมภาษณ์ ประชาชน หรือกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง ทั้งได้รับประโยชน์ และได้รับผลกระทบจากโครงการรวมทั้งผูบริหารระดับสูง ของกรมชลประทานมาประกอบเนื้อหา เพื่อให้มีความ สมบูรณ์ครบถวนเกิดความน่าเชื่อถือ ทั้งนีข้ ึ้นอยู่กับความ เหมาะสมแต่ละโครงการ - บทสคริปต์จะต้องมีการกําหนดภาพและดนตรีปะกอบ ใน แต่ละส่วนของคําบรรยายโดยจดทําตามแบบฟอร์มการ เขียนบทสคริปต์ ในภาคผนวก - บทสคริปต์จะต้องมีไตเติ้ลเปิดละปิดของวิดีทัศน์ในแต่ละ เรื่องของโครงการศึกษาความเหมาสมและลกระทบ ส่ิงแวดล้อม โดยไตเติ้ลเปิดเรื่องจะต้องมีชื่อของโครงการ และจังหวัด และ โลโก้ หรือชื่อของหน่วยงาน ส่วนไตเติ้ลปิด ท้ายของแต่ละโครงการจะต้องมีชื่อของหน่วยงานพร้อมโล โก้ รายชื่อคณะกรรมการกํากับและผูเกี่ยวข้องทั้งนี้สามารถ ปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม |
3. องค์ประกอบด้านเทคนิค | 3.1 วิดีทัศน์ท่ีผลิตควรมีความยาวไม่นอยกว่า 8 นาที และไม่ควรเกิน 12 นาที 3.2 ดําเนินการถ่ายทําภาพเพื่อประกอบสารคดี ด้วยทีมงานมืออาชีพ ที่สามารถสร้างสรรค์มุมภาพไดอย่างสวยงามพิถีพิถนั และด้วย อุปกรณ์ที่ทันสมัย คุณภาพสูง คมชัดโดยใช้กล้องระบบ betacams หรือระบบดิจิตอล และ หรือด้วยอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไม่ต่ํากว่านี้ |
3.3 จัดทําภาพ Computer Graphic Animation โมเดล 2-3 มิติ เพ่ืออธิบายการดําเนินงานด้านชลประทาน ลกษณะของโครงการ หากมีการก่อสรางเทคนิคหรือวิธีการต่าง ๆ ให้เห็นภาพได้อย่าง ชัดเจน และเขาใจง่าย ตามความจําเป็นและเหมาะสม 3.4 ใช้ดนตรีและเสียงประกอบบทวีดิทศน์ที่เหมาะสมกับเร่ืองราว ที่ นําเสนอ | |
3. องค์ประกอบด้านเทคนิค(ต่อ) | 3.5 ที่ปรึกษาจะต้องจดส่งเสียงผู้บรรยายใหคณะกรรมการฯ พิจารณาเลือกท้ังนี้เสียงผู้บรรยายจะเป็นผูหญิงหรือผู้ชายก็ได้ แต่ ต้องเป็นเสียงท่ีมีพลังไพเราะ ชวนฝัน สามารถสร้างอารมณ์คล้อย ตามและมีความน่าเชื่อถือ 3.6 พิจารณาใช้เทคนิคในการตดต่อและลําดับภาพเล่าเรื่องราว เหมาะสมต่อการอธิบายเนื้อหา โดยภาพที่นํามาใช้ประกอบบท วิดีทัศน์จะต้องเป็นภาพที่อยู่ในพืนที่ที่ศึกษาเท่าน้นั |
4. การเผยแพร่ | 4.1 ควรพิจารณาจัดทําวิดีทัศน์ของโครงการให้แล้วเสร็จและสามารถ ใช้ในการจัดประชุมกลุ่มย่อยและ/หรือปัจฉิมนิเทศของโครงการ 4.2 นําสารคดีของแต่ละโครงการเผยแพร่ออกอากาศทาง สถานีโทรทศน์เคเบิ้ลท้องถิ่นในพน้ ที่ที่มีการศึกษาโครงการไม่น้อย กว่า 2 ครง้ั |
5. การส่งมอบงาน | 5.1 ออกแบบและจัดทําหน้าปกวิดีทัศน์โครงการที่ศึกษา ประกอบ ด้วยรายละเอียด ชื่อโครงการ จังหวัด ใช้ดนตรีและเสียงประกอบบท วิดีทัศน์ท่ีเหมาะสมกบเรื่องราว ที่นําเสนอ 5.2 บันทึกใส่แผ่น DVD จํานวนไม่น้อยกว่า 20 แผ่น รวมทง้ จะต้อง จัดส่ง file ภาพบนทึกก่อนการตัดต่อจํานวน 1 ชุด |
4.6.2 โปสเตอร์ (Poster) ดําเนินการจัดทําโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์โครงการ สําหรับใช้ในการจัด นิทรรศการและใช้ในการจัดประชุมกลุ่มย่อย ประชุมปฐมนิเทศ เพื่อแจ้งข่าวรายละเอียดโครงการ แผนการ ดําเนินงานของโครงการให้ประชาชนได้รับทราบ โดยมีขอบเขตการดําเนินงานดังนี้
1. เตรียมการก่อนการผลิต | 1.1 คณะกรรมการดูแลกํากบฯ และ/หรือเลขานุการฯ ประชุมหารือ |
กบที่ปรึกษากําหนดขอบเขตและหวขอเนอื หาในการจดทําโปสเตอร์ ของโครงการศึกษาความเหมาะสม อาทิ ระยะแรก - สภาพปัญหา - ความเป็นมา - รายละเอียดการศึกษา/วัตถุประสงค์/เป้าหมาย - ขอบเขตการศึกษา เป็นต้น - และหรือประเด็นอ่ืนๆท่ีสําคญั ระยะที่ 2 - สรุปผลการศึกษา - กราฟฟิกลักษณะโครงการ - สรุปความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของประชาชน | |
1. เตรียมการก่อนการผลิต(ต่อ) | 1.2 บริษททีปรึกษาวางแผนการผลิต จัดทํารายละเอียดและเนื้อหา ในการทําโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์โครงการ 1.3 บริษัทที่ปรึกษาจัดหาภาพประกอบการจัดทําโปสเตอร์ โดย จะต้องถ่ายภาพในระบบดิจิตอล File ที่มีความละเอียดสูงและ จดเตรียมแผนที่ประกอบให้เหมาะสมกับเนือหาที่กําหนด |
2. ขั้นตอนการผลิต | 2.1 บริษทจัดทําข้อความท่ีสมบูรณ์ตามกรอบที่กําหนด/นําเสนอ คณะกรรมการเพื่อพิจารณา/อนุมัติ 2.2 บริษทฯ ดําเนินการออกแบบโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ 2.3 ส่ง ART WORK ที่ออกแบบสมบูรณ์แลว้ /นําเสนอคณะกรรม การเพื่อพิจารณา/อนุมัติ 2.4 จัดพิมพ์โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ |
3. องค์ประกอบพื้นฐานด้านเทคนิค | 3.1 รูปแบบและของโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ - รูปแบบ X Stand Banner ขนาดไม่น้อยกว่า 80 x 190 เซนติเมตร และ/หรือ - รูปแบบ Roll up Stand Banner ขนาดไม่นอยกว่า 80 x 200 เซนติเมตร 3.2 คุณลักษณะการพิมพ์ พิมพ์สี่สี ระบบอิงค์เจ็ท Inkjet ความ ละเอียดไม่น้อยกว่า 700 dpi 3.3 การออกแบบใหต้ ัวอักษรและรูปภาพเด่น อ่านง่ายเป็นที่ดึงดูด |
สายตาและความสนใจของผูคนไดมาก 3.4 ดานล่างของโปสเตอร์ทุกแผ่นจะตองมี มีโลโกช้ ่ือหน่วยงานและ สถานท่ีติดต่อ | |
4. การเผยแพร่ | 4.1 การปฐมนิเทศ/การจัดประชุมกลุ่มย่อย/การปัจฉิมนิเทศ 4.2 ใช้ในโอกาสต่าง ๆ เช่น การจัดนิทรรศการงานต่าง ๆ |
5. การส่งมอบงาน | 5.1 โปสเตอร์ประชาสมพนธ์ที่จัดพิมพ์ตามเง่ือนไขจํานวน 1 ชุด 5.2 นําFile งานที่ออกแบบเสร็จบันทึกเป็น file รูปภาพ (jpec) |
4.6.3 แผ่นพับ เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์ ที่จะสามารถบอกกล่าวรายละเอียดของ โครงการได้อย่างครบถ้วน ดังน้ันจึงต้องมีการแบ่งประเด็นเน้ือหาที่จะนําเสนออย่างชัดเจน สามารถสื่อสาร และตอบคําถาม ได้แก่ what when why who how ได้ การจัดทําแผ่นพับจึงควรมีขอบเขตดังนี้
1. ขั้นเตรียมการผลิต | 1.1 บริษทเก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะห์ จัดทําเค้าโครงประเด็น เนือหาสําหรับผลิตแผ่นพับ 1.2 บริษัทจัดเตรียมภาพประกอบตามเนือหาสําหรับจัดทําแผ่นพบั |
2. การจดทําตนฉบับแผ่นพับ | 2.1 บริษทท่ีปรึกษาศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูล กําหนดประเด็นและ จัดทําเนือหาของแผ่นพับ โดยมีส่ิงที่ต้องคํานึงดังน้ี - หน้าแรกของแผ่นพับ ประกอบด้วยช่ือโครงการ โลโก้ของ หน่วยงานพร้อมภาพประกอบที่สอดคลองกับเนื้อหาด้านใน และ/ หรืออาจมีคําขวัญหรือขอความสั้น ๆ ตามความเหมาะสมของแต่ละ โครงการ - เนื้อหาที่จะนําเสนอในแต่ละหน้าจะต้องสรุปใหกระชับและมี การแบ่งหัวขอให้ชัดเจนไดใจความที่สมบูรณ์ นอกจากนั้นการเขียน เป็นประโยชน์เรียงติดกันก็ไม่ควรท่ีจะแน่นเต็มหน้า ควรมีการย่อหนา้ เว้นวรรค - การเรียงเนื้อหาในแต่ละหน้าของส่วนที่ถูกพบจะต้องมีการแบ่ง หัวข้อใหช้ ดเจน เพราะการอ่านแผ่นพับแต่ละคนจะแตกต่างกันไป แผ่นพับส่วนใหญ่จะเรียงลําดับเนื้อหาจากซ้ายไปขวา หน้าไปหลัง ใน กรณีผู้รบแผนพับอ่านแยกส่วนผูเขียนแผ่นพับจะต้องคํานึงและนํามา พิจารณาเพื่อให้ผอู้ ่านเข้าใจได้ในระดบหนง่ ถึงแมว้ ่าจะไม่ได้อ่านท้งั ฉบับ หากผู้อ่านสนใจจะอ่านแต่ละหัวข้อย่อยต่อ เมื่อมาปะติดปะต่อ ก็เขาใจภาพรวมไดเช่นเดียวกันกับการอ่านที่เรียงตามลําดับ - หนาสุดท้ายของแผ่นพับจะตองมีรายละเอียดที่ต้องระบุให้ |
ชดเจนไดแก่ ช่ือหน่วยงานท่ีรับผิดชอบโครงกร สถานที่เลขที่ ท่ีตั้ง หมายเลขโทรศัพท์สํานักงาน โทรศัพท์มือถือ ปัจจุบันที่ขาดไม่ไดค้ ือ อีเมล์ หรือเว็บไซต์ ที่สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมภายหลังได้ | |
3. องค์ประกอบพื้นฐานด้านเทคนิค | 3.1 การออกแบบแผ่นพบควรพิจารณาเลือกแบบตัวอักษร สี และ ขนาดของตัวอักษรให้เหมาะสมกับเนือหาและการแบ่งหัวข้อย่อย โดยอาจใชขนาดตัวอักษรและสีที่แตกต่างกนก็ได้แต่ต้องคํานึงถึง ความน่าสนใจและความสบายตาในการอ่าน มีการนํารูปภาพหรือ การใช้สัญลักษณ์ ตาราง ลําดบเลขมาแสดงเป็นหัวข้อย่อย รวมทั้ง เทคนิคอื่นๆ ที่จะทําให้แผ่นพบน่าอ่าน 3.2 ขนาดและรูปแบบของแผ่นพับสามารถทําได้หลายรูปแบบซึ่ง สามารถกําหนดได้ตามความเหมาะสม ซึ่งมีรูปแบบไม่น้อยกว่า คุณสมบัติดังต่อไปนี้ - รูปแบบของแผ่นพบั /หนังสือแนะนํา ขนาด 4 1/8x7.5 นิ้ว กระดาษอาร์ตการ์ด 160 แกรม พิมพ์ 4 สีจํานวน 24 หนา้ พับเก็บ เล่ม เย็บกลาง - แผ่นพับขนาด A4 พับ 2 กระดาษอาร์ตการ์ด 160 แกรม พิมพ์ 4 สี |
4. การเผยแพร่ | 4.1 การปฐมนิเทศ/การจัดประชุมกลุ่มย่อย/การปัจฉิมนิเทศ 4.2 ใช้ในโอกาสต่างๆ เช่น การจดนิทรรศการงานต่าง ๆ |
5. การส่งมอบงาน | 5.1 พิมพ์แผ่นพับตามเง่ือนไข จํานวน 1,000 แผ่น 5.2 นํา File งานที่ออกแบบเสร็จเรียบร้อยบนทึกเป็น file jpec และ บันทึกเป็น File Ai (ควร Create outline) ท่ีสามารถปรับแก้ไขได้ใน ภายหลังใส่แผ่น DVD จํานวน 2 แผ่น ใส่กล่องพร้อมปกที่มีช่ือ โครงการ ระยะเวลาศึกษา หน่วยงานทีรับผิดชอบ /กลุ่มงาน วางโครงการ สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน |
4.6.4 จดหมายข่าว Newsletter ดําเนินการจัดทําจดหมายข่าวสําหรบใชในการเผยแพร่บอกกล่าว
ข้อมูลขาวสาร แผนการดําเนินงาน ความก้าวหน้าของการศึกษาความเหมาะสม รวมถึงสรุปผลการศึกษาและ อื่น ๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับโครงการเผลแพร่ไปยังบุคคลเป้าหมายเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีผู้ส่งสารต้องการ ท้งการประชาสัมพันธ์ หรือใหทราบข้อมูลข่าวสาร โดยมีขอบเขตการดําเนินงาน ดังนี้
1. ขั้นเตรียมการผลิต | 1.1 บริษทท่ีปรึกษาวางแผนการจัดทําจดหมายข่าวตามกรอบ ระยะเวลาการศึกษา 1.2 จดทําบัญชีรายชื่อ ท่ีอยู่ ของหน่วยงานองค์กรและประชาชน |
4-31
กลุ่มเป้าหมายในพืนที่ศึกษา สําหรับจัดส่งจดหมายข่าว 1.3 คณะกรรมการดูแลกํากบฯ และ/หรือเลขานุการฯ ประชุมหารือ กับท่ีปรึกษากําหนดกรอบประเด็นเนื้อหาจดหมายข่าวแต่ละฉบับ 1.4 การนําเสนอเนื้อหาในจดหมายข่าว ควรแบ่งเนือหาเป็นคอลัมน์ การเขียนเนือหาจดหมายข่าวใช้รูปแบบการเขียนแบบเขียนข่าว มี พาดหัว มีความนําและมีรายละเอียดเนื้อหา โดยอาจแบ่งเป็นคอลมน์ ประจํา | |
2. การจัดทําจดหมายข่าว | 2.1 บริษทที่ปรึกษาจัดทําต้นฉบับจดหมายข่าว เสนอคณะกรรมการ พิจารณาตรวจ/อนุมัติต้นฉบบั อย่างน้อย 5 วันทําการ 2.2 บริษทดําเนินการจดทําต้นฉบับของจดหมายข่าวตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ที่ต้องการสื่อสารให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบ โดย ในแต่ละฉบับที่จัดทําจะต้องมีการกําหนดประเด็นเนื้อหา อย่าง ชัดเจน 2.3 ดําเนินการออกแบบรูปแบบจดหมายข่าวให้มีความเหมาะสม ระหว่างเนือหาและรูปภาพประกอบ โดยพิจารณาเลือกใช้ขนาดและ สีของตัวอักษร กราฟฟิกใหม้ ีความเหมาะสมกบเนื้อหาด้านวิชาการ |
3. องค์ประกอบพืนฐานด้านเทคนิค | 3.1 โดยขนาดของจดหมายข่าวที่เหมาะสมควรจะเป็น ขนาด A4 พิมพ์หน้าหลัง หรือขนาด A3 พับคร่ึง 4 หนา้ 3.2 จัดทําหัวจดหมายข่าวของแต่โครงการ มีองค์ประกอบ ดังนี้ จัดตั้งช่ือและ ออกแบบหวจดหมายข่าวพร้อมสัญลักษณ์ มี รายละเอียดของฉบับที่...... วันท่ี...... เดือน..... ปี...... ชื่อ..... หน่วยงานพร้อมที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ 3.3 พิมพ์สีสี่ พิมพ์ด้วยกระดาษปอนด์ไม่น้อยกว่า 80 แกรม |
4. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ | 4.1 บริษทจดส่งจดหมายข่าวสารทางไปรษณีย์ตามบัญชีรายชื่อ กลุ่มเป้าหมายในพื้นท่ีที่ศึกษาท่ีจัดทําไว้ตามแผนงานท่ีกําหนดและ ควรกําหนดระยะเวลาจัดส่งในช่วงที่ไม่ได้ลงพนื ที่ และไม่ควรนํา จดหมายข่าวไปแจกในวันประชุมกลุ่มย่อย 4.2 บันทึกจดหมายข่าวเป็น .pdf ไฟล์ ลงซีดีทุกฉบับ จัดส่งเผยแพร่ ทางเว็บไซต์ของสํานักบริหารโครงการ |
4.6.5 ข่าวประชาสัมพันธ์แจกส่ือมวลชน การจัดทําข่าวแจกมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สื่อมวลชนได้ช่วย
เผยแพร่ข่าวสาร การดําเนินงานด้านการศึกษาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ไปสู่ประชาชนผู้รับสาร ซึ่งก็จะ ทําให้ประชาชนได้รับรู้รับทราบความเคลื่อนไหว ความเป็นไป ถือเป็นการเสริมสร้างให้ประชาชนความเข้าใจ
ยอมรับกิจกรรมการดําเนินงานของโครงการ โดยควรทําข่าวประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องตลอดโครงการ ซึ่ง การทําข่าวประชาสัมพันธ์ควรมีขอบเขตการดําเนินงาน ดังนี้
1. ข้นเตรียมการผลิต | 1.1 จัดทําบญชีราชช่อสื่อมวลชน พร้อมท่ีอยู่และเบอร์โทรศัพท์ และ หรือ E-mail ของนักข่าวท้องถิ่น 1.2 ในการจัดกิจกรรมแต่ละครังบริษัทวางแผนจัดทําข่าวแจก สื่อมวลชน และภาพข่าวประชาสัมพันธ์กิจกรรมจัดส่งใหส้ ื่อมวลชน |
2. การจัดทําข่าวประชาสัมพันธ์ | 2.1 การเขียนข่าวประชาสัมพันธ์จะต้องตอบคําถามในเรื่องที่จะเขียน ตามหลัก 5w+1H คือ ใคร (who) ทําอะไร (what) ที่ไหน (where) เมื่อไหร่ (when) เพราะอะไร (why) และ ทําอย่างไร (How) ให้ครบ ในย่อหน้าแรกของข่าวหรือท่ีเรียกว่าความนําหรือบทนํา และต่อด้วย รายละเอียดในเรื่องที่นําเสนอเรียกว่า เนือหา และส่วนสรุป ที่สําคญั จะตองเขียนพาดหัวข่าวให้น่าสนใจ สั้นกระชับได้ใจความด้วย 2.2 ส่ิงที่ต้องพิจารณาในการเขียนและตรวจข่าวประชาสัมพันธ์ - วิธีการเขียนควรเริ่มต้นการเขียนด้วยประเด็นที่สําคัญก่อนแล้ว เขียนไล่ไปหาประเด็นที่สําคญนอยลงมา โดยควรเรียงลําดับข้อมูลที่ สนับสนุนประเด็นสําคัญว่าจะเริ่มด้วยอะไร หรือจะจบอย่างไร |
2. การจัดทําข่าวประชาสัมพันธ์ | 2.2 (ต่อ) - ตองเขียนให้ครอบคลุมรายละเอียดทีส่ ําคัญ หรือเสริมสร้าง ข้อมูลประเด็นที่จําเป็นให้มีความต่อเนื่องตงั แต่ต้นจนจบ หลีกเลี่ยง การเขียนประเด็นที่ซ้ําซาก - เขียนดวยถ้อยคําที่กระชับ ประโยคที่เข้าใจง่าย ใช้สํานวนภาษา ที่สามารถสื่อสารใหผ้ ู้อ่านที่มีความหลากหลายเข้าใจได้ในทันทีทุกคน - ควรเขียนเนือข่าวที่สั้น ๆ กระชับได้ใจความสมบูรณ์ชัดเจนตัด ส่วนไม่สําคัญวกวนออกไป 2.3 ผูเขียนจัดส่งข่าวใหผ้ ทู้ ี่เกี่ยวของตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลก่อนการจัดส่งให้กับสื่อมวลชนเพ่ือเผยแพร่ โดยการส่งข่าว สามารถใช้การส่งทางไปรษณีย์ แฟกซ์ อีเมล์ อินเตอร์เน็ต ใช้เป็นข่าว แจกในกรณีที่เชิญนกข่าวาร่วมกิจกรรมต่าง ๆ |
3. องค์ประกอบพนื ฐานด้านเทคนิค | 3.1 การพิมพ์ข่าว ควรจัดพิมพ์จบในการะดาษ A4 หนาเดียว แต่ใน กรณีที่มีเนื้อหารายละเอียดเยอะอาจพิมพ์เป็น 2 แผ่นและต้องพิมพ์ คําว่า ยังมีต่อ/. ไว้ด้านล่างของกระดาษโดยขนาดของข่าวแจกที่ |
เหมาะสมควรจะเป็นขนาด A4 พิมพ์หน้าหลัง หรือขนาด A3 พบคร่ึง 4 หนา้ 3.2 ข่าวควรจดพิมพบนกระดาษสีขาว ซึ่งในส่วนของกรมชลประทาน ได้มีการจัดทํา รูปแบบหัวข่าวประชาสัมพันธ์ที่สามารถนําไปใช้ในการ จดพิมพ์ข่าวส่งให้ส่ือมวลชนได้ โดยสามารถติดต่อขอรับได้ท่ีฝ่าย ประชาสัมพันธ์ ดานล่างของข่าวควรมีชื่อและเบอร์โทรของผูเขียน หรือหน่วยงาน(การจัดทํารายละเอียดดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ใน กรณีที่มีข้อสงสัยเกี่ยวกับข่าวที่จดส่งก็สามารถที่จะติดต่อสอบถามได้ ทนที) 3.3 ควรจัดข่าวประชาสัมพันธ์และหรือภาพข่าว ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมของโครงการศึกษาความเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง รวมไม่น้อย กว่า 5 ข่าว | |
4. การเผยแพร่ข่าวประชาสัมพนธ์ | 4.1 ใช้เป็นข่าวแจกในกรณีท่ีเชิญส่ือมวลชนเข้าร่วมกิจกรรม ปฐมนิเทศประชุมกลุ่มย่อย และหรือปัจฉิมนิเทศ 4.2 ใชเป็นข่าวประชาสัมพันธ์จัดส่งให้กับสื่อมวลชนทางไปรษณีย์ แฟกซ์ อีเมล์ อินเตอร์เน็ต ตามทะเบียนท่ีอยู่ของส่ือมวลชนที่จัดทําไว้ ในแต่ละพื้นที่ 4.3 นําข่าวประสัมพันธ์และหรือภาพข่าวประชาสัมพันธ์ขึ้นเว็บไซต์ ของสํานักบริหารโครงการ |
4. การเผยแพร่ข่าวประชาสัมพันธ์ (ต่อ) | 4.4 ติดตามสรุปผลของข่าวท่ีจัดส่งว่ามีการนําเสนอทางช่องทาง ใดบางและข่าวท่ีลงนน้ั ยังควรตองตรวจดูเน้ือหาข่าวท่ีลงว่าครบถ้วน หรือไม่มีการปรับเปลี่ยนเนื้อข่าวหรือไม่อย่างไร ทั้งนจี ะสามารถนํามา ปรับปรุงการเขียนข่าวได้ในครั้งต่อไป |
4.6.6 บทความประชาสัมพันธ์ทางสื่อส่ิงพิมพ์ เป็นการประชาสัมพันธ์อีกรูปแบบหนึ่งที่สามารถ นําเสนอเนื้อหารายละเอียดได้อย่างครบถ้วนตามต้องการ โดยบทความที่จัดทําจะต้องมีการกําหนดเค้าโครง ประเด็นเนื้อหาที่จะนําเสนอให้ชัดเจน สามารถนําเรื่องอื่นที่เก่ียวข้องมาเชื่อมโยงกับเรื่องที่จะนําเสนอเพื่อให้ เกิดความน่าสนใจได้ โดยมีขอบเขตในการจดทําบทความประชาสัมพันธ์เพ่ือเผยแพร่ทางส่ือส่ิงพิมพ์ ดังน้ี
1. ขั้นเตรียมการผลิต | 1.1 บริษทท่ีปรึกษาวางแผนการจดทําบทความประชาสัมพันธ์ทางสื่อ ส่ิงพิมพ์ตามที่กําหนด 1.2 คณะกรรมการกํากับและหรือเลขานุการ ประชุมหารือกับที่ ปรึกษากําหนดกรอบประเด็นบทความประชาสัมพันธ์แต่ละชิ้น |
2. การจัดทําบทความประชาสัมพนธ์ | 2.1 กําหนดประเด็นเนอื หาท่ีจะนําเสนอใหครบถวน อาจเช่ือมโยงเขา้ กบเหตุการณ์ ณ ปัจจุบนใหม้ ีความสดใหม่ ทันต่อเหตุการณ์ 2.2 การเขียนต้นฉบับจะต้องมีการตั้งชื่อบทความให้น่าสนใจ บทความจะตองประกอบดวย บทนํา เนือหา และบทสรุปที่เชื่อมโยง กัน ควรใช้ภาษาท่ีเขาใจง่าย และสามารถสอดแทรกขอมูลที่ต้องการ นําเสนอได้อย่างน่าสนใจ ไม่น่าเบื่อ และชวนให้ติดตามอ่านบทความ จนจบ |
3. องค์ประกอบพื้นฐานด้านเทคนิค | 3.1 ต้นฉบับบทความท่ีเขียนจะต้องมีความยาวของเนื้อหาไม่เกิน 2 หน้ากระดาษ A4 ขนาดตัวอักษร 16 3.2 ให้ความสําคัญในการตั้งชื่อบทความ ความนํา ส่วนสรุปบทความ |
4. การเผยแพร่และส่งมอบงาน | นําบทความท่ีผ่านการอนุมัติ ตีพิมพ์เผยแพร่ทางหนังสือพิมพ์ท้องถ่ิน จํานวน 1 ครั้ง และเผยแพร่ทางหนังสือพิมพ์ส่วนกลางจํานวน 1 ครั้ง โดยในแต่ละครั้งมีขนาดไม่น้อยกว่า 50 คอลัมน์นิ้ว |
4.6.7 ส่ือวิทยุกระจายเสียง การประชาสัมพันธ์ทางสถานีวิทยุ มีการดําเนินงานได้ในหลายรูปแบบ ขึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของเรื่องราวที่ต้องการจะเผยแพร่ประชมสัมพันธ์ ได้แก่ การจัดให้มีการสัมภาษณ์บุคคล สารคดีวิทยุ สปอตประชาสัมพนธ์ ข่าวประชาสัมพนธ์ เป็นต้น โดยมีขอบเขตการดําเนินงาน ดังนี้
1. ขันเตรียมการผลิต | 1.1 คณะกรรมการดูแลกํากับฯ และ/หรือเลขานุการฯ ประชุมหารือ กับที่ปรึกษากําหนดรูปแบบการประชาสัมพันธ์ทางสื่อวิทยุกระจายเสียง 1.2 บริษัทที่ปรึกษาวางแผนการผลิตและเผยแพร่ทางสื่อวิทยุ กระจายเสียง |
2. รูปแบบการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ วิทยุกระจายเสียง | 2.1 เขียนบทสารคดี หรือ บทความเพื่อเผยแพร่ทางสถานีวิทยุ กระจายเสียง โดยจะต้องกําหนดแนวคิดประเด็นในการนําเสนอ ให้ชัดเจน แล้วจัดทําโครงร่างซ่ึงประกอบด้วย บทนํา เนือหา และ บทสรุปที่เชื่อมโยงกนจากนั้นเรียบเรียงออกมาเป็นขอความ (คําพูด) ซึ่งจะต้องคํานึงถึงภาษาที่ใช้จะตองเขาใจง่าย และไม่ซ้ําซาก วกวน 2.2 ในการจัดให้มีการสัมภาษณ์บุคคล ควรที่มีการจัดเตรียมประเด็น คําถามและคําตอบล่วงหน้า เพ่ือให้สามารถนําเสนอข้อมูลท่ีต้องการ ได้อย่างถูกตอง ครบถ้วน ชัดเจน เลือกแหล่งข่าวที่จะให้สมภาษณ์ที่ เก่ียวข้องกับโครงการและมีความรู้ความเขาใจต่อโครงการ |
3. องค์ประกอบพื้นฐานด้านเทคนิค | 3.1 บทสารคดีหรือบทความรู้ท่ีเขียนมีลักษณะเป็นแบบพูดคุยตาม บทท่ีเขียนขึ้น เนื้อหาสั้น ๆ ความยาว 2 นาทีขึ้นไปแต่ไม่เกิน 10 |
นาที 3.2 บทสารคดีหรือบทความรทู้ ่ีจดทําจะตองมีขอมูลรายละเอียดตรง หัวกระดาษ ได้แก่ ช่ือรายการ/ชื่อเรื่อง/ตอน สถานีที่ออกอากาศ/ ความถี่วัน-เวลาที่จะออกอากาศ 3.3 จัดให้มีการสมภาษณ์เจาหน้าที่ที่เกี่ยวข้องรวมถึงประชาชน กลุ่มเป้าหมายทางสถานีวิทยุกระจายเสียงทองถิ่นในระบบ FM 3.4 การจัดกิจกรรมเสวนาถ่ายทอดสดทางสถานีวิทยุกระจายเสียงใน ระบบFMความยาวไม่น้อยกว่า 30 นาที 3.5 เผยแพร่ข่าวและหรือสารคดีประชาสัมพันธ์โครงการในประเด็น ต่าง ๆ ผ่านทางสถานีวิทยุทองถิ่นรวมไม่น้อยกว่า 15 ครั้ง | |
4. การเผยแพร่และส่งมอบงาน | บนทึกรูปแบบกิจกรรมประชาสมพันธ์ทางสื่อวิทยุกระจายเสียงที่ ออกอากาศเผยแพร่ บันทึกใส่แผ่น DVD จํานวน 2 ชุด |
4.6.8 การจัดกิจกรรมสื่อสัญจร การจัดกิจกรรมส่ือมวลชนสัญจร ถือเป็นส่ือกิจกรรมพิเศษ ที่
นอกจากจะช่วยสร้างสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างคณะส่ือมวลชนกับผู้บริหารกรมชลประทานและเจ้าหน้าที่ ประชาสัมพันธ์แล้ว ยังมีเป้าหมายที่ต้องการให้ส่ือมวลชนได้เห็นถึงความสําคัญและความจําเป็นของงาน ชลประทานในด้านการพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา รวมถึงมีความเข้าใจในกระบวนการศึกษาความ เหมาะสม และเป็นส่ือกลางในการนําเสนอข้อมูลข่าวสารไปยังประชาชนได้รับทราบและมีความเข้าใจที่ ถูกตองต่อไป โดยมีขอบเขตการดําเนินงาน ดงนี้
1. ขั้นเตรียมการผลิต | 1.1 คณะกรรมการดูแลกํากับฯ และ/หรือเลขานุการฯ ประชุมหารือ กับที่ปรึกษากําหนดวันเวลาและรูปแบบการจดกิจกรรมสื่อมวลชนสัญจร 1.2 บริษทที่ปรึกษาวางแผนการจัดกิจกรรมส่ือมวลชนสัญจร |
2. รูปแบบการจัดกิจกรรมส่ือมวลชน สัญจร | 2.1 บริษทจดทารายละเอียดกิจกรรมสือสญจร/กําหนดการ/บรรยาย สรุป/ดูงานในพื้นที่ศึกษาความเหมาะสม 2.2 ควรเลือกพื้นท่ี กิจกรรมที่มีความเหมาะสม มีจุดเด่น สอดรับกับ โครงการท่ีศึกษา และเหมาะสมกบสถานการณ์ในช่วงน้นั ๆ 2.3 การเดินทางโดยเครื่องบิน และหรือ พาหนะอื่นๆ ที่เห็นสมควร 2.4 ระยะเวลาในการจัดแต่ละครั้ง ไม่น้อยกว่า 2 วัน หรือมากกว่าได้ 2.5 สามารถพกโรงแรม และหรือ สถานที่ที่เหมาะสม |
3. องค์ประกอบพื้นฐานและเง่ือนไข การดําเนินกิจกรรม | 3.1 การจัดกิจกรรมแต่ละครง้ ควรมีสื่อมวลชนร่วมกิจกรมทุกแขนง ได้แก่ วิทยุ ส่ือส่ิงพิมพ์ โทรทศน์ 3.2 การจดกิจกรรมตองดูแลและอํานวยความสะดวกครอบคุลมทุก |
ดานดงนี้ - อาหาร เคร่ืองด่ืม ครบถ้วนทุกมื้อ - ที่พกั เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย - การเตรียมความพร้อมของผูบรรยายและจุดดูงาน - จัดทําเอกสารแจก จัดรูปเล่มที่สะดวกเหมาะสมแก่การพกพา มี ข้อมูลที่เก่ียวของครบถวนตลอดทุกจัดของกิจกรรม - จัดของท่ีระลึกสําหรับมอบให้สื่อมวลชนตามความเหมาะสม โดยเสนอพิจารณาเห็นชอบก่อน 3.3 ทุกครงั ของกิจกรรมตองดูแลความสะดวกทุกด้านในการร่วม เดินทางไปประสานงานและร่วมกิจกรรมของคณะกรรมการกํากับ หรือเลขานุการ รวมถึงทีมงาน 3.4 ต้องจัดเจ้าหน้าที่ทําการบันทึกภาพนิ่งละวิดีโอ 3.5 ติดตามผลจากการจัดกิจกรรมส่ือมวลชนสัญจรๆ โดยแต่ละครั้ง ท่ีจัดกิจกรรมจะต้องมีผลงานเผยแพร่ครอบคลุมสื่อต่างๆรมไม่น้อย กว่า 5 ชิ้นงาน | |
4. การเผยแพร่และส่งมอบงาน | 4.1 เอกสารสรุปผลการดําเนินกิจกรรมส่ือมวลชนสญจรจดทําเป็น รูปเล่มจํานวน 2 ชุด และบนทึกลงแผ่น CD จํานวน 2 แผ่น 4.2 DVD บันทึกภาพนิ่งและวิดีโอตลอดการจัดกิจกรรมจํานวน 2 ชุด |
ตอนท่ี 7 รายละเอียดการควบคุมงานการศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
รายละเอียดการควบคุมงาน ให้ดําเนินการศึกษาจัดทํารายงานตามแนวทางการจัดทํารายงานต่าง ๆ
ดังน ดังน้ี
4.7.1 แนวทางในการศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ให้ดําเนินการศึกษาตามแนวทางต่าง ๆ
1) แนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อมโครงการพัฒนาแหล่งน้ํา
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมและสิ่งแวดล้อม (มกราคม, 2559)
2) แนวทางการจัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามเอกสารท้ายประกาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซ่ึงต้อง จัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการ จัดทํารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2555
4.7.2 แนวทางการประเมินผลกระทบสุขภาพ ให้ดําเนินการศึกษาตามแนวทางต่าง ๆ ดังนี้
1) แนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมของสํานักงานนโยบายและแผนทรพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (เมษายน, 2556)
2) แนวทางการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจากโครงการพัฒนาแหล่งน้ําของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (เมษายน, 2553)
4.7.3 แนวทางการประชาสัมพันธ์ มวลชนสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของประชาชน ให้ดําเนินการ ศึกษาตามแนวทางต่าง ๆ ดังนี้
1) แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคม ในกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบส่ิงแวดล้อม โดยสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (สิงหาคม, 2549)
2) แนวทางของ ดร.เธียรเอก ติยพงศ์พัฒนา ในร่างคู่มือส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อ การตดสินใจด้านสิ่งแวดล้อม โดยกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (2559)
3) คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยกองส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน กรม ชลประทาน (2552)
4) ระเบียบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ขอบเขตของงานจ้างที่ปรึกษา
4-38
5. บทนิยาม
“ผูเสนอราคาท่ีมีผลประโยชน์ร่วมกัน” หมายความว่า บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่เข้าเสนองาน เพื่อรับจ้างเป็นท่ีปรึกษาให้แก่กรม เป็นผู้มีส่วนได้เสีย ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในกิจการของบุคคล ธรรมดา หรือนิติบุคคลอ่ืนท่ีเข้าเสนองานเพื่อรบจ้างเป็นที่ปรึกษาให้แก่กรม ในคราวเดียวกัน
การมีส่วนได้เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมของบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลดงกล่าวขางต้นไดแก่ การท่ีบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลดังกล่าว มีความสมพันธ์กนในลกษณะดังต่อไปนี้
(1) มีความสัมพันธ์กันในเชิงบริหาร โดยผู้จัดการ หุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอํานาจในการดําเนินงานในกิจการของบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลราย หนึ่งมีอํานาจ หรือสามารถใช้อํานาจในการบริหารจัดการกิจการของบุคคลธรรมดา หรือนิติ บุคคลอีกรายหนึ่ง หรือหลายราย ท่ีเข้าเสนองานเพื่อรับจางเป็นที่ปรึกษา
(2) มีความสมพันธ์กันในเชิงทุน โดยผู้เป็นหุ้นส่วนในห้างห้นส่วนสามัญ หรือผูเป็นหุ้นส่วนไม่จํากัด ความรับผิดชอบในห้างหุ้นส่วนจํากัด หรือผู้ถือหุ้นรายใหญ่ในบริษัทจํากัด หรือบริษัท มหาชนจํากัด เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือห้างหุ้นส่วนจํากัด หรือเป็นผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ในบริษัทจํากัด หรือบริษัทมหาชนจํากัด อีกรายหนึ่งหรือหลายราย ท่ีเข้าเสนองานเพื่อ รบจ้างเป็นที่ปรึกษาให้แก่กรมในการจางครั้งนี้
คําว่า “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” ให้หมายความว่า ผู้ถือหุ้นซึ่งถือหุ้นเกินกว่าร้อยละย่ีสิบ ห้าในกิจการนั้น หรือในอัตราอ่ืนตามที่คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุเห็นสมควรประกาศ กําหนดสําหรับกิจการบางประเภท หรือบางขนาด
(3) มีความสัมพันธ์กันในลักษณะไขว้กันระหว่าง (1) และ (2) โดยผู้จัดการ หุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอํานาจในการดําเนินงานในกิจการของบุคคลธรรมดา หรือของนิติบุคคลรายหน่ึง เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือห้างหุ้นส่วนจํากัด หรือเป็น ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ในบริษัทจํากัด หรือบริษัทมหาชนจํากัด อีกรายหนึ่งหรือหลายรายที่เข้า เสนองานเพื่อรับจ้างเป็นที่ปรึกษาให้แก่กรม ในการจ้างครั้งน้ี หรือในนัยกลับกัน
การดํารงตําแหน่ง การเป็นหุ้นส่วนหรือเข้าถือหุ้นดังกล่าวข้างต้นของคู่สมรส หรือบุตรที่ยังไม่บรรลุ นิติภาวะของบุคคลใน (1) (2) หรือ (3) ให้ถือว่าเป็นการดํารงตําแหน่งการเป็นหุ้นส่วน หรือการถือหุ้นของ บุคคลดังกล่าว
ในกรณีบุคคลใดใช้ช่ือบุคคลอื่นเป็นผู้จัดการ หุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหาร ผู้เป็น หุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นโดยที่ตนเองเป็นผู้ใช้อํานาจในการบริหารท่ีแท้จริง หรือเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นที่แท้จริง ของห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทจํากัด หรือบริษัทมหาชนจํากัด แล้วแต่กรณี และห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทจํากัด
หรือบริษัทมหาชนจํากัดท่ีเก่ียวข้อง ได้เข้าเสนองานเพื่อรับจ้างเป็นที่ปรึกษาให้แก่กรมในคราวเดียวกัน ให้ถือ ว่าผเู สนองานนั้นมีความสัมพนธ์กันตาม (1) (2) หรือ (3) แลวแต่กรณี
“การขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม” หมายความว่า การท่ีผู้เสนองานรายหนึ่งหรือหลาย รายกระทําการอย่างใด ๆ อันเป็นการขัดขวางหรือเป็นอุปสรรคหรือไม่เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันราคาอย่าง เป็นธรรมในการเสนองานต่อกรม ไม่ว่าจะกระทําโดยการสมยอมกันหรือโดยการให้ ขอให้หรือรับว่าจะให้ เรียกรับ หรือยอมจะรับเงินหรือทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด หรือใช้กําลังประทุษร้าย หรือข่มขู่ว่าจะใช้ กําลังประทุษร้าย หรือแสดงเอกสารอันเป็นเท็จ หรือกระทําการใดโดยทุจริต ทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะ แสวงหาประโยชน์ในระหว่างผู้เสนองานด้วยกัน หรือเพื่อให้ประโยชน์แก่ผู้เสนองานรายหนึ่งรายใดเป็นผู้มี สิทธิทําสัญญากับกรม หรือเพื่อหลีกเลี่ยงการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม หรือเพื่อให้เกิดความได้เปรียบกรม โดยมิใช่เป็นไปในทางการประกอบธุรกิจปกติ
6. แบบบัญชีเอกสาร
บัญชีเอกสาร
1. ในกรณีผู้ยื่นขอเสนอเป็นนิติบุคคล
(ก) หางหนุ ส่วนสามญหรือห้างหุนส่วนจํากัด สําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล จํานวน แผ่น
บัญชีรายชื่อห
ส่วนผ
ัดการ และผูม
ีอํานาจควบคุม (ถามี) จํานวน แผ่น
สําเนารูปถ่ายทะเบียนบ้านของหุ้นส่วนผู้จัดการ จํานวน แผ่น
(ข) บริษัทจํากดหรือบริษทมหาชน จํากัด
สําเนาหนงสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล จํานวน แผ่น
หนังสือบริคณห์สนธิ จํานวน แผ่น
บญชีรายชื่อกรรมการผู ัดการ และผู้มีอานาจควบคํ ุม (ถ้ามี) จํานวน แผ่น
บัญชีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ จํานวน แผ่น
สําเนารูปถ่ายทะเบียนบ้านของกรรมการผ ดการ จํานวน แผ่น
2. ในกรณีผ
่ืนขอเสนอเป็นผู้ย่นข้อเสนอร่วมกันในฐานะเป็นผ
่วมค้า
สําเนาสัญญาของการเข้าร่วมคา้ จํานวน แผ่น
ในกรณีผู้ร่วมคาเป็นนิติบุคคล
- หางหนุ ส่วนสามัญหรือห้างหุ้นส่วนจํากัด
สําเนาหนงสือรับรองจากการจดทะเบียนนิติบุคคล จํานวน แผ่น
บัญชีรายชื่อหุ้นส่วนผู้จัดการ และผูมีอานาจควบคํ ุม (ถาม)ี จํานวน แผ่น
- บริษทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัด
สําเนาหนงสือรับรองจากการจดทะเบียนนิติบุคคล จํานวน แผ่น
หนังสือบริคณห์สนธิ จํานวน แผ่น
บัญชีรายชื่อกรรมการผ ัดการ ผู้มีอานาจควบคํ ุม (ถ้ามี) จานวนํ แผ่น
บัญชีผู้ถือหุนรายใหญ่ จํานวน แผ่น
3. หนงสือมอบอํานาจซ่ึงปิดอากรแสตมป์ตามกฎหมาย ในกรณีท ู้ยื่นข้อเสนอมอบอํานาจให้บคคลุ
อื่นลงนามในเอกสารข้อเสนอแทน จํานวน แผ่น
4. ซองขอเสนอ
ก. ซองข้อเสนอด้านเทคนิค (TECHNICAL PROPOSAL)จํานวน ซอง
ข. ซองขอเสนอด้านราคา จํานวน ซอง
5. อื่น ๆ (ถ้ามี)
*………………………………………………………………………………………
*………………………………………………………………………………………
*…………………..………………………………………………………………….
*………………………………………………………………………………………
*………………………………………………………………………………………
*…………………………………………………………………………………….
ข้าพเจ้าขอรับรองว่า เอกสารหลักฐานท่ีขาพเจ้ายื่นพรอมซองข้อเสนอด้านเทคนิค และซอง ข้อเสนอดานราคา ถูกต้องและเป็นความจริงทุกประการ
ลงช่ือ ผู้ยื่นขอเสนอ
(……………………………………….)
สารบญั
1. ขอบเขตของงานจ้างที่ปรึกษา (Terms of Reference : TOR)
หน้า
1.1 เอกสารแนบทายขอบเขตของงานจ้างที่ปรึกษา 1-1
1.2 คุณสมบัติเฉพาะของผู้ยื่นข้อเสนอ 1-1
1.3 คุณสมบ ิเฉพาะของผู้ยื่นข้อเสนอ (เพิ่มเตมิ ) 1-2
1.4 เอกสารหลักฐานในการยื่นข้อเสนอ | 1-3 |
1.5 การย่ืนขอเสนอ | 1-3 – 1-4 |
1.6 หลักเกณฑ์และสิทธิของกรมชลประทาน | 1-5 – 1-7 |
1.7 หลักเกณฑ์ของการสนองรับราคาและข้อเสนอ | 1-7 |
1.8 หลักเกณฑ์การทําสัญญา | 1-7– 1-8 |
1.9 การจ่ายเงินล่วงหน้า | 1-8 |
1.10 อัตราค่าปรับ | 1-8 |
2. ตัวอย่างสญญาจ้าง
- ตวอย่างสัญญาจ้างผูเช่ียวชาญรายบุคคลหรือจางบริษทที่ปรึกษา 2-1 – 2-2
- เงื่อนไขของสัญญา 2-3 – 2-8
- ภาคผนวก ก. ขอบข่ายของงานและกําหนดระยะเวลาทํางาน | 2-9 |
- ภาคผนวก ข. กําหนดระยะเวลาทํางานของท่ีปรึกษา | 2-10 |
- ภาคผนวก ค. ค่าจ้างและวิธีการจ่ายค่าจ้าง | 2-11 – 2-15 |
- เอกสารแนบ ค.-1 | 2-16 |
- เอกสารแนบ ค.-2 | 2-17 |
- ภาคผนวก ง. แบบหนังสือคําประกนั (หลักประกนการรบเงินค่าจ้างท่ีปรึกษาล่วงหน้า) | 2-18 – 2-19 |
- ภาคผนวก จ. แบบหนังสือคําประกนั (หลักประกันการรับเงินประกันผลงาน) | 2-20 – 2-21 |
- หลกเกณฑ์และเงื่อนไขการโอนสทธิเรียกร้องในเงินค่าจ้างหรือค่าซือทรพย์สิน | 2-22 |
- หนังสือบอกกล่าวการโอนสิทธิเรียกร้อง | 2-23 – 2-24 |
3. เงื่อนไขและขอบเขตการศึกษา 3.1 ความเป็นมาของโครงการ | 3-1– 3-2 |
3.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา | 3-2 |
3.3 ที่ตังและลกษณะโครงการ | 3-2– 3-3 |
3.4 วัตถุประสงค์ของโครงการ | 3-3 |
3.5 ขอบเขตพืนที่ศึกษา | 3-5 |
3.6 ขอบเขตการศึกษา | 3-5 – 3-7 |
3.7 แนวทางการศึกษา 3-7 – 3-8
3.8 บุคลากรหลักที่ต้องการ 3-8 – 3-12
3.9 การจดหาเอกสารข้อมูลและการสนับสนุนโดยกรมชลประทาน 3-12
3.10 งานสํารวจเพิ่มเติม 3-12
3.11 ระยะเวลาของการศึกษาและการรายงานผลการศึกษา 3-12– 3-14
สารบญ
(ต่อ)
หน้า
3.12 การส่งมอบงาน 3-15
3.13 การตรวจรับงาน 3-16
3.14 การจ่ายเงิน 3-16
3.15 เงื่อนไขประกอบ 3-16 – 3-18
3.16 หลกเกณฑ์การพิจารณาขอเสนอด้านคุณภาพ 3-19
4. รายละเอียดการควบคุมงาน
ตอนที่ 1 รายละเอียดการสํารวจภูมิประเทศ 4-1 – 4-13
ตอนที่ 2 การสํารวจและทดสอบทางธรณีวิทยา 4-14 – 4-15
ตอนที่ 3 การสํารวจแหล่งวัสดุก่อสร้างและทดสอบวัสดุเพ่ือศึกษาความเหมาะสม 4-16 – 4-18
และการออกแบบ
ตอนที่ 4 การศึกษาแผนพัฒนาลุ่มน้ํา (Comprehensive study) 4-19 – 4-20
ตอนที่ 5 การศึกษาการจัดทํารายงานความเหมาะสม (Feasibility report) 4-21 – 4-23
ตอนที่ 6 ด้านการประชาสัมพันธ์ 4-24 – 4-33
ตอนที่ 7 รายละเอียดการควบคุมงานการศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4-34