Contract
บทที่ 4
กฎหมายว่าด้วยสัญญา
นิติกรรม
หากพิจารณาถึงผู้ท˚านิติกรรมแล้ว อาจแบ่งได้สองประเภท คือ
1.นิติกรรมฝ่ายเดียว ได้แก่ ค˚าxxxx ค˚ามั่น พินัยกรรม เป็นต้น
2.นิติกรรมหลายฝ่าย ได้แก่ สัญญาต่างๆ ดังนนสัญญาจึงเป็นนิติกรรม ประเภทหนึ่ง
มาตรากฎหมายที่อ้างในบทนี้เป็นมาตราประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ทั้งสิ้นเว้นแต่ระบุไว้เป็นอย่างอื่น
ความหมายและสาระส˚าคัญของสัญญา(มาตรา 354-368)
สัญญาคือนิติกรรมหลายฝ่าย เกิดจากความสมัครใจของคู่กรณี ซึ่งมีเจตxxxxก่อให้เกิดความผูกพันกันตามกฎหมาย
สัญญาต้องประกอบด้วย
1. คู่สัญญาสองฝ่ายขึ้นไป ได้แก่ ผู้เสนอ และ ผู้xxxx
2. ค˚าเสนอและค˚าxxxx ซึ่งถูกต้องตรงกัน
3. วัตถุประสงค์ของสัญญา
การก่อให้เกิดสัญญา
สัญญาจะเกิดขึ้นได้ต้องประกอบด้วยค˚าเสนอและค˚าxxxx
ค˚าเสนอ
หมายถึง ค˚าขอให้เข้าท˚าสัญญาโดยมีความxxxxxxxจะให้สัญญาเกิดขึ้น
แน่นอน
ลักษณะของค˚าเสนอ มีดังนี้
1.เป็นนิติกรรมฝ่ายเดียวที่ต้องมีผู้รับการแสดงxxxxx
2.ต้องแสดงxxxxxโดยชัดเจน
3.การแสดงxxxxxนั้น จะเสนอต่อบุคคลเดียวหรือสถานะก็ได้
4.ผู้เสนอจะปฏิเสธxxxxxxถ้ามีผู้xxxx
ลักษณะของค˚าเสนอ
การแสดงxxxxxต่อไปนี้ไม่ถือเป็นค˚าเสนอ
1. ค˚าเชื้อเชิญ คือค˚าขอให้อีกฝ่ายหนึ่งท˚าค˚าเสนอขึ้นxxxxxx
2. ค˚าxxxxxx คือการหยั่งดูว่าประโยชน์จะเป็นอย่างไร
3. ค˚าxxxxx คือค˚าแสดงxxxxxxxxไม่แน่นอน
การผูกพันของค˚าเสนอ
เมื่อส่งค˚าเสนอไปแล้วแต่ยังไม่มีค˚าxxxxตอบมา ผู้เสนอจะถอนค˚าเสนอได้เมื่อใด กฎหมายวางหลัก ไว้สองประการดังนี้
1. กรณีมีการก˚าหนดระยะเวลาให้ท˚าค˚าxxxx จะถอนค˚าเสนอก่อนถึงเวลาก˚าหนดนั้นxxxxxx
2. กรณีxxxxxxก˚าหนดระยะเวลาให้ท˚าค˚าxxxx แยกเป็น 2 กรณี
2.1 กรณีท˚าค˚าเสนอต่อผู้ห่างกันโดยระยะทาง จะถอนค˚าเสนอต่อระยะเวลาอันควรxxxxxxต้อง
พิจารณาพฤติการณ์เป็นเรื่องๆไป
2.2 กรณีท˚าค˚าเสนอต่อหน้าผู้อยุ่เฉพาะหน้า รวมทั้งเสนอทางโทรศัพท์ด้วย จะถอนค˚าเสนอในเวลา ใดก็ได้ แต่ต้องขณะที่ยังไม่มีค˚าxxxx
การสิ้นความผูกพันของค˚าเสนอ
มี 3 กรณีดังนี้
1. เมื่อผู้รับค˚าเสนอxxxxxxxxxไปยังผู้เสนอ
2. เมื่อผู้รับค˚าเสนอไม่xxxxรับภายในก˚าหนดเวลา
3. เมื่อผู้เสนอตายหรือตกเป็นคนไร้ความสามารถ
ค˚าxxxx
หมายถึง ค˚าตอบรับเข้าท˚าสัญญาตามก˚าหนด ลักษณะของค˚าxxxx มีดังนี้
1. เป็นนิติกรรมฝ่ายเดียวที่ต้องมีผู้รับการแสดงxxxxx
2. เป็นการแสดงxxxxxต่อบุคคลโดยเจาะจง
3. ต้องมีความชัดเจนแน่นอนปราศจากเงื่อนไข
4. การxxxxxxxจะโดยชัดแจ้งหรือโดยปริยายก็ได้
การผูกพันของค˚าxxxx
1. ค˚าxxxxxxxไม่ตรงกับค˚าเสนอ หรือมีข้อความเพิ่มเติม มีข้อจ˚ากัดหรือมีข้อแก้ไขอย่างอื่นประกอบ xxxxxxเป็นค˚าบอกปัดและเป็นค˚าเสนอขึ้นมาใหม่
2. ค˚าxxxxxxxมาถึงล่วงเวลา ให้xxxxxxค˚าxxxxนั้นกลายเป็นค˚าเสนอขึ้นมาใหม่
3. ค˚าเสนอที่มาถึงล่วงเวลาแต่เป็นxxxxxxxxว่าค˚าxxxxนั้นได้ส่งโดยทางการxxxxจะมาถึงผู้เสนอทัน ตามก˚าหนดเวลา ผู้เสนอxxxxxxรับค˚าxxxxxxxxนี้ต้องรีบxxxxxxxxไปยังผู้xxxxว่าค˚าxxxxของเขามาถึงช้า กว่าก˚าหนด หากผู้เสนอxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxค˚าxxxxนนมิได้ล่วงเวลา
สัญญาจะเกิดขึ้นเมื่อค˚าเสนอและค˚าxxxxถูกต้องตรงกัน
สัญญาจะเกิดขึ้นได้ มี 3 กรณีดังนี้
1.สัญญาระหว่างบุคคลซึ่งห่างกันโดยระยะทาง ค˚าเสนอและค˚าxxxxxxxตรงกันท˚าได้ทางจดหมาย
2.สัญญาเกิดระหว่างบุคคลเฉพาะหน้า ค˚าเสนอและค˚าxxxxตรงกันโดยมีค˚าเสนอxxxxซึ่งหน้า ทันที
3.สัญญาซึ่งเกิดขึ้นโดยค˚าxxxxตอบรับโดยxxxxxx xxxx ค˚าเสนอให้แดงเช่าบ้าน แดงพยักหน้าxxx
xxxสัญญาเกิดขึ้น
xxxxxxxหลายประเภท ดังนี้
ประเภทของสัญญา
1.สัญญาต่างตอบแทน – สัญญาไม่ต่างตอบแทน
2.สัญญามีค่าตอบแทน – สัญญาไม่มีค่าตอบแทน
3.xxxxxxxxxxx – xxxxxxxxxxxx
4.สัญญาเพื่อประโยชน์ของบุคคลภายนอก
1.สัญญาต่างตอบแทน – สัญญาไม่ต่างตอบแทน
สัญญาต่างตอบแทน หมายถึง สัญญาซึ่งก่อให้เกิดหนี้ต่อxxxxxxxxxxxxสองฝ่าย โดยคู่สัญญามีหน้าที่ ปฏิบัติต่อกัน
ผลของสัญญาต่างตอบแทนท˚าให้เกิดxxxxxแก่คู่สัญญาในกรณีที่เรียกร้องให้อีกฝ่ายหนึ่งปฏิบัติตามข้อ ผูกพัน
หากกรณีช˚าระหนี้ในสัญญา อันเป็นวัตถุประสงค์ที่ก่อให้xxxxxxxโอนทรัพย์เฉพาะสิ่งเป็นการxxxxxxxxโดยxxx xxxโทษใครได้ เจ้าหนี้ต้องxxxxxในภัยพิบัตินั้น เนื่องจากกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ได้โอนxxxxxเจ้าหนี้แล้วนั่นเอง (มาตรา 370)
ทรัพเฉพาะสิ่ง หมายxxx xxxxxxที่xxxxxxxxxxxเลือกเอาไว้เป็นการเฉพาะเจาะจงแล้ว และไม่xxxxxx
น˚าสิ่งอื่นมาxxxxxxxx
สัญญาไม่ต่างตอบแทน
หมายถึง สัญญาซึ่งก่อให้เกิดหนี้แก่คู่สัญญาเพียงฝ่ายเดียว xxxx สัญญายืม
2.สัญญามีค่าตอบแทน – สัญญาไม่มีค่าตอบแทน
สัญญามีค่าตอบแทน หมายถึง สัญญาที่คู่สัญญามีxxxxxxxxรับประโยชน์เป็นการ ตอบแทน xxxx สัญญาซื้อขาย
สัญญาไม่มีค่าตอบแทน หมายถึง สัญญาที่ท˚าให้เปล่าโดยคู่สัญญาฝ่ายหนึ่ง ได้รับประโยชน์โดยไม่มีค่าตอบแทนใดๆ xxxx สัญญาฝากโดยไม่คิดบ˚าหน็จ 3.xxxxxxxxxxx – xxxxxxxxxxxx
สัญญาประธาน หมายถึง สัญญาทั่วไปที่คู่กรณีตกลงท˚าขึ้นและให้มีผลบังคับ
ระหว่างคู่กรณีโดยมีความxxxxxxxในตัวของมันเอง xxxx สัญญาซื้อขาย
สัญญาอุปกรณ์ หมายถึง สัญญาที่คู่สัญญาท˚าขึ้นโดยถือเป็นส่วนหนึ่งของ สัญญาประธาน xxxxสัญญาค้˚าประกันการกู้เงิน
4.สัญญาเพื่อประโยชน์ของบุคคลภายนอก
หมายถึง สัญญาที่คู่สัญญาตกลงกันให้บุคคลภายนอกได้ประโยชน์ใน สัญญานั้นโดยบุคคลภายนอกมิได้เป็นคู่สัญญาโดยตรง xxxx xxxxx xxxxxxxxxxx เป็นต้น
ตัวอย่าง สามีภรรยาxxxxxxxแล้วท˚าสัญญายกเรือนที่อยู่อาศัยเป็น
กรรมสิทธิ์แก่บุตร สัญญานี้เป็นสัญญาเพื่อประโยชน์ของ บุคคลภายนอก
มัดจ˚าและเบี้ยปรับ (มาตรา377-385 )
มัดจ˚า หมายถึง เงินหรือสิ่งมีค่าอื่นซึ่งxxxxxxxxxxxส่งมอบให้กันไว้ขณะท˚าสัญญาเพื่อเป็น
พยานหลักฐาน ผลของมัดจ˚า
ก.กรณีช˚าระหนี้xxxxxxxx
-ให้ส่งมัดจ˚าคืน
-ให้xxxxxxเป็นการช˚าระหนี้บางส่วน
ข.กรณีไม่มีการใช้หนี้xxxxxxxx
1) ฝ่ายวางมัดจ˚าxxxxxxxxช˚าระหนี้
2) ฝ่ายรับมัดจ˚าxxxxxxxxช˚าระหนี้
3) กรณีการช˚าระหนี้เป็นxxxxxxxxด้วยเหตุอันจะโทษฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมิได้
เบี้ยปรับ หมายถึง ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทนความเสียหายซึ่งxxxxxxxxxxxก˚าหนดเอาไว้ล่วงหน้า ผลของเบี้ยปรับ
ก.ผลของxxxxxxxxxxxxก˚าหนดเป็นเงิน
กรณีลูกหนี้ไม่ช˚าระหนี้xxxxxxxx เจ้าหนี้มีสิทธิ์เรียกค่าปรับหรือเรียกให้ลูกหนี้ช˚าระหนี้อย่างใดอย่างหนึ่ง
ก็ได้
ข.ผลของxxxxxxxxxxxxก˚าหนดเป็นอย่างอื่น หมายถึง xxxxxxxxxxxxเป็นการกระท˚าการ หรืองดเว้นกระท˚าการ หรือส่งมอบทรัพย์เพื่อโอนกรรมสิทธิ์
การเลิกสัญญา (มาตรา 386-394)
xxxxxxxxxxxxxxxxxxx xx 2 กรณี ดังนี้
1. โดยข้อสัญญา โดยก˚าหนดให้คู่สัญญามีสิทธิ์เลิกสัญญาได้หากมีเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ตามที่ก˚าหนดไว้ในสัญญา
2. โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย มี 3 กรณีดังนี้
1) กรณลูกหนี้ไม่ช˚าระหนี้
2) ถ้าหนี้มีก˚าหนดเวลาช˚าระหนี้ หากลูกหนี้ไม่ช˚ารหนี้xxxxxxxx
3) กรณีช˚าระหนี้เป็นxxxxxxxxxxxว่าทั้งหมดหรือบางส่วนเพราะความผิดของลูกหนี้
ผลของการเลิกสัญญา มีดังต่อไปนี้
1. xxxxxxไม่มีการท˚าสัญญาต่อกัน คู่กรณีกลับสู่สถานะเดิม ถ้ามีการช˚าระเงินพร้อมดอกเบี้ยร้อย ละ 7.5 ต่อปีนับแต่เวลารับเงินไว้
2. การกลับคืนสถานะเดิมจะต้องไม่กระทบต่อxxxxxของบุคคลภายนอก xxxxxxท˚าการโดยxxxxxx
3. การบอกเลิกสัญญาไม่ตัดxxxxxxxxxxxxxxxxจะเรียกค่าเสียหาย ถ้าเจ้าหนี้ได้รับความเสียหายจาก
การบอกเลิกสัญญา
ค˚ามั่น ( มาตรา 362-365)
คือ การแสดงxxxxxให้ความแน่นอนว่า ตนจะกระท˚าการอย่างใดอย่างหนึ่ง ค˚ามั่นตามxxxxxx
กฎหมายแพ่งและxxxxxxx xxxxxx
1. ค˚ามั่นว่าจะให้รางวัล มีลักษณะดังนี้
1) ต้องการกระท˚าโดยการโฆษณา
2) บุคคลผู้กระท˚าตามค˚ามั่นจะได้กระท˚าเพราะเห็นแก่รางวัลหรือxxx xxxส˚าคัญ
3) จะก˚าหนดระยะเวลาไว้ก็ได้
การถอนค˚ามั่นจะกระท˚าได้ต่อเมื่อ
1) ต้องเป็นเวลาที่ยังไม่มใครท˚าการส˚าเร็จตามที่บ่งไว้ในค˚ามั่น
2) ค˚ามั่นนั้นต้องแสดงไว้ว่าจะไม่ถอน
3) วิธีถอนค˚ามั่นต้องกระท˚าวิธีเดียวกับที่ให้ค˚ามั่นไว้ ผู้มีxxxxxxxxรับรางวัล กฎหมายxxxxxxxไว้ดังนี้
ถ้าบุคคลหลายคนกระท˚าการอันบ่งไว้ในโฆษณา คนที่ท˚าได้ก่อนใครหมดนั้น มีxxxxxจะได้รับ
รางวัล
ถ้าบุคคลกระท˚าการอันนั้นได้พร้อมกันหลายคนทุกคนมีxxxxxxxxรับรางวัลคนละเท่าๆxxx xxx รางวัลนั้นแบ่งxxxxxxให้ใช้วิธีจับxxxx
2. ค˚ามั่นว่าจะให้รางวัลในการประกวดชิงรางวล ต้องระบุให้ชัดเจน คือ
1) กระท˚าการตามเงื่อนไขในค˚ามั่นส˚าเร็จภายในเวลาที่ก˚าหนด
2) กระท˚าการตามเงื่อนไขในค˚ามั่นxxxxxกว่าผู้ประกวดคนอื่นๆ ผลการตัดสินชี้ขาดผู้ให้ค˚ามั่นต้องจ่ายรางวัลตามโฆษณา
อายุความ (มาตรา 193/9-193/35)
หมายถึง ระยะเวลาที่กฎหมายก˚าหนดเกี่ยวกับการฟ้องร้องคดี ประเภทของอายุความ
1. อายุความไดxxxxx หมายถึง อายุความที่ท˚าให้xxxxxxxxxx xxxx การครอบครองปรปักษ์ ต้องใช้
เวลา 10 ปี จึงจะได้xxxxx เป็นต้น
2. อายุความเสียxxxxx หมายถึง อายุความที่ท˚าให้เจ้าหนี้หรือผู้มีxxxxxนั้นแล้วมิได้ฟ้องร้องภายใน
เวลาที่ก˚าหนด
ก˚าหนดอายุความในทางแพ่ง
ก˚าหนดอายุความกฎหมายก˚าหนดไว้ 3 ระยะ คือ 2 ปี 5 ปี และ 10 ปี แล้วแต่กรณี
อายุความ 2 ปี ได้แก่xxxxxเรียกร้องต่อไปนี้
1. ผู้ประกอบการค้าหรืออุตสาหกรรม เรียกเอาค่าของที่ส่งมอบ ค่าการงาน ค่าดูแลกิจการ
2. ผู้ประกอบเกษตรกรรมหรือป่าไม้ เรียกเอาค่าของส่งมอบ
3. ผู้ขนส่ง เรียกเอาค่าโดยสาร ค่าระวาง ค่าธรรมเนียม
4. ผู้ประกอบการxxxxxxxโรงแรมหรือหอพัก เรียกเอาค่าที่พัก ค่าอาหาร ค่าบริการ
5. ผู้ประกอบการxxxxxxxให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ เรียกเอาค่าเช่า
6. ลูกจ้างซึ้งรับใช้งานส่วนบุคล เรียกเอาค่าxxxx
7. ลูกจ้าทั่วไป เรียกเอาค่าxxxx
8. ครูอาจารย์ เรียกเอาค่าสอน
9. ผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์สาขาต่างๆ เรียกเอาค่าการงานที่ท˚าไปหรือค่ารักษา
10. ทนายความ เรียกเอาค่ากานงานที่ท˚า
11. ผู้ประกอบวิชาชีพ วิศวกรรม สถาปัตยกรรม ผู้สอบบัญชีเรียกเอาค่าการงานที่ท˚า
อายุความ 5 ปี ได้แก่xxxxxเรียกร้องต่อไปนี้
1) ดอกเบี้ยค้างช˚าระ
2) เงินที่ต้องช˚าระเพื่อผ่อนทุนคืนเป็นงวดๆ
3) ค่าเช่าทรัพxxxxxxค้างช˚าระ เว้นแต่ค่าเช่าสังหาริมทรัพย์
4) เงินค่าจ่าย คือ เงินเดือน เงินxx x˚านาญ ค่าอุปการะเลี้ยงดู
อายุ 10 ปี ได้แก่xxxxxเรียกร้องดังต่อไปนนี้
1) xxxxxxxxxxxxxxกฏหมายวิธีxxxxxความแพ่งมิได้ก˚าหมดอายุความไว้
2) สิธิเรียกร้องของรัฐบาลที่เรียกเอาภาษีอากร
3) xxxxxเรียกร้องที่เกิดขึ้นโดยค˚าพิพากษาที่ถึงที่สุด หรือโดยสัญญาประหนีxxxxxxxxxxxxxไม่ว่า
xxxxxเรียกร้องเดิมจะมีอายุความเท่าใด
วิธีการนับอายุความ มี 2 กรณี
1) กรณีทั่วไป ให้เริ่มนับอายุความตั้งแต่อาจบังคับxxxxxเรียกร้องได้ นั่นคือxxxxxxหนี้ถึงก˚าหนด นั่นเอง
2) กรณีที่ต้องบอกก่อน ให้เริ่มนับอายุความตั้งแต่เวลาแรกxxxxxxxxxxxxxxxเป็นต้นไป
อายุความสะดุดหยุดลง
อายุความสะดุดหยุดลง หมายถึง กรณีที่มีพฤติการณ์ท˚าให้อายุความซึ่งก˚าลังเดินอยู่นั้นหยุดลง
ไม่มีการนับอายุต่อไป ท˚าให้ระยะเวลาที่เดินมาจนถึงเวลาที่อายุความสะดุดหยุดลงนั้นไม่นับเข้าใน อายุความ
เหตุที่ท˚าให้อายุความสะดุดหยุดลง มีดังนี้
1) ลูกหนี้รับสภาพหนี้โดยท˚าเป็นหนังสือรับสภาพหนี้
2) เจ้าหนี้ได้ฟ้องร้องคดีเพื่อตั้งหลักฐานxxxxxเรียกร้อง
3) เจ้าหนี้ได้ยื่นค˚าขอรับช˚าระหนี้ในคดีล้มละลาย
4) เจ้าหนี้มอบข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการพิจารณา
5) เจ้าหนี้ได้กระท˚าการอื่นใด xxxxxผลเป็นอย่างเดียวกันกับการฟ้องคดี
ผลตามกฏหมายเมื่ออายุความสะดุดหยุดลง
1) ระยะเวลาที่xxxxxxxxxxไปนั้นไม่นับเข้าในอายุความ
2) การเริ่มนับอายุความใหม่ เมื่อเหตุที่ท˚าให้อายุความสะดุดหยุดลงได้สิ้นสุดลง
สมาชิก
นางสาวxxxxxจน์ xxxxxxxxx 554501002
นางสาวพxxxx xxxxxxxx 554501018
xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxx 554501040
นางสาวสxxxxx xxxxxxxx 554501042
การบัญชี