image(รูปภาพประกอบด้วย ข้อความ, สัญลักษณ์, เครื่องหมาย, เครื่องหมายการค้า คำอธิบายที่สร้างโดยอัตโนมัติ) removed ..>
<.. image(รูปภาพประกอบด้วย ข้อความ, สัญลักษณ์, เครื่องหมาย, เครื่องหมายการค้า คำอธิบายที่สร้างโดยอัตโนมัติ) removed ..>
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ
กองบริหารทรัพยากรบคคล กรมบังคับคดี
พ.ศ. 2567
Human Resources Management Division Legal Execution Department
<.. image(รูปภาพประกอบด้วย ข้อความ, ภาพหน้าจอ, xxxxx คำอธิบายที่สร้างโดยอัตโนมัติ) removed ..>
คำนำ
กองบริหารทรัพยากรบุคคล ได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 เพื่อขับเคลื่อนและให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2567) ของกรมบังคับคดี ให้เจ้าหน้าที่ xxxxxxใช้เป็นคู่มือ ในการบริหารจัดการในการxxxxxxงานตามกรอบตัวชี้วัดความสำเร็จ ค่าเป้าหมาย โดยได้ ระบุรายละเอียดโครงการ กิจกรรม ระยะเวลาในการxxxxxxงาน และผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการปฏิบัติงาน ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของกองบริหารทรัพยากร บุคคล
กองบริหารทรัพยากรบุคคลxxxxxxxxอย่างยิ่งว่าแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 กองบริหารทรัพยากรบุคคล กรมบังคับคดี ฉบับนี้ จะเป็นส่วนสำคัญในการช่วยผลักดัน การxxxxxxงานของกรมบังคับคดี ให้xxxxxxxxxxxวิสัยทัศน์ พันธกิจ และxxxxxxxxxxxกำหนดไว้ต่อไป
กองบริหารทรัพยากรบุคคล
กรมบังคับคดี กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567
คำนำ สารบัญ
สารบัญ
หน้า
ส่วนที่ 1 แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2567) ของกรมบังคับคดี
1. ความเป็นมา 1
2. กรอบแนวคิด 2
ส่วนที่ 2 แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ของกองบริหารทรัพยากรบุคคล
1. เชื่อมโยงแผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2567) ของกรมบังคับคดี 15
2. เชื่อมโยงแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงยุติธรรม 18
3. เชื่อมโยงแผนปฏิบัติการด้านxxxxxมนุษยชนของกรมบังคับคดี 20
4. เชื่อมโยงคำรับรองปฏิบัติราชการของกองบริหารทรัพยากรบุคคล 21
5. รายละเอียดโครงการตามแผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2567) ของกรมบังคับคดี 23
6. รายละเอียดโครงการตามแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงยุติธรรม 33
7. รายละเอียดโครงการตามแผนปฏิบัติการด้านxxxxxมนุษยชน ของกรมบังคับคดี 43
8. รายละเอียดโครงการตามคำรับรองปฏิบัติราชการ ของกองบริหารทรัพยากรบุคคล 48
ส่วนที่ 3 แนวทางการติดตามและประเมินผลแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 64
ของกองบริหารทรัพยากรบุคคล ภาคผนวก
ภาคผนวก ข้อมูลทั่วไปของกองบริหารทรัพยากรบุคคล 65
ส่วนที่ 1
แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2567) ของกรมบังคับคดี
1. ความเป็นมา
ตามที่ กรมบังคับคดี ได้ประกาศใช้แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2567) ของกรมบังคับคดี เมื่อxxxxxx 27 xxxxxx 2566 เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนการปฏิบัติราชการตามภารกิจ ของกรมบังคับคดีให้xxxxxxxxxxxxxxxตามนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และxxxxxxxxxxxก ำหนด โดยแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระดับสำนัก/กอง ได้นำxxxxxxxxxxชาติ 20 ปี และแผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2567) ของกรมบังคับคดี มาเป็นกรอบแนวทางในการกำหนดทิศทางและ การxxxxxxงานตามภารกิจให้xxxxxxตอบxxxxต่อนโยบาย xxxxxxxxxx และความต้องการของประชาชนได้อย่าง เป็นรูปธรรม อีกทั้งยังเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้xxxxxxxxxxxxxxตามเป้าหมาย โดยโครงการและกิจกรรม ที่กำหนดไว้ภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ระดับสำนัก/กอง ได้กำหนดผลผลิต ตัวชี้วัด และเป้าหมาย เพื่อให้xxxxxxxxxxxxxxxตามแผนในระดับต่างๆ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์กับประชาชน อย่างแท้จริง แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ระดับสำนัก/กอง ถือxxxxxxxระดับที่ 3 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อxxxxxx 4 ธันวาคม 2560 โดยมีการเชื่อมโยงความสอดคล้องกับแผนระดับต่างๆ ดังนี้
- แผนระดับ 1 ได้แก่ xxxxxxxxxxชาติ ประเด็น (๖) ด้านการปรับxxxxxและพัฒนาระบบ การบริหารจัดการภาครัฐ (หลัก) ประเด็น (๑) ด้านความมั่นคง (รอง) และ ประเด็น (๒) ด้านความxxxxxxในการ
แข่งขัน (รอง) ซึ่งมีความสำคัญตามลำดับ
- แผนระดับ 2 ได้แก่ แผนแม่บทภายใต้xxxxxxxxxxชาติ (พ.ศ. 2566 – 2580) (ฉบับแก้ไข เพิ่มเติม) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๓ แผนxxxxxxประเทศ (ฉบับปรับปรุง) และนโยบาย และแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2566 – 2570)
- แผนระดับ 3 ได้แก่ แผนxxxxxมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2566 - 2570) นโยบาย
และแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. 2561 – 2580) xxxxxxxxxx การพัฒนาระบบราชการ พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕ แผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๖๙) แผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) ของกระทรวงยุติธรรมแผนปฏิบัติ ราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. ๒๕๖6 – ๒๕70) ของกรมบังคับคดี และแผนอื่น ๆ ที่กรมบังคับคดี มีความเกี่ยวข้อง รวมxxxxxxxxxxนโยบายของคณะรัฐมนตรี และนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
กล่าวโดยสรุปแผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 256๗) ของกรมบังคับคดี ใช้เป็นแนวทาง ให้หน่วยงาน ของกรมบังคับคดีนำไปเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนและปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพและประสทธิผล ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของกรมบังคับคดีที่สอดคล้องและบูรณาการการขับเคลื่อนกับแผน xxxxxxxxxxชาติ และแผนอื่นในระดับที่ ๒ และ ๓ ต่อไป
2. กรอบแนวคิด
กรอบแนวคิดการพัฒนาแผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ถูกพัฒนามาจาก กรอบแนวคิดสำคัญ ดังนี้
1) xxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยมีมาตราที่เกี่ยวข้องกับกรมบังคับคดี
ดังนี้
มาตรา ๖๘ รัฐพึงจัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรมทุกด้านให้มีประสิทธิภาพ
เป็นธรรม และ ไม่เลือกปฏิบัติ และให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยสะดวก รวดเร็ว และไม่เสีย ค่าใช้จ่ายสูงเกินxxxxx รัฐxxxxxมาตรการคุ้มครองเจ้าหน้าที่ของรัฐในกระบวนการยุติธรรม ให้xxxxxxปฏิบัติหน้าที่ ได้โดยเคร่งครัด ปราศจากการแทรกแซงหรือครอบงำใดๆ รัฐพึงให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายที่จำเป็น และเหมาะสมแก่ผู้ยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาส ในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม รวมตลอดxxxxxxจัดหาทนายความให้
มาตรา ๗๗ รัฐพึงจัดให้มีกฎหมายเพียงเท่าที่จำเป็น และยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายที่ หมดความจำเป็นหรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ หรือที่เป็นอุปสรรคต่อการดำรงชีวิตหรือการประกอบอาชีพ โดยxxxxxxxxxเพื่อไม่ให้เป็นภาระแก่ประชาชน และxxxxxxการให้ประชาชนเข้าถึงตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ได้ โดยสะดวกและxxxxxxเข้าใจกฎหมายได้ง่ายเพื่อปฏิบัติตามกฎหมายได้อย่างถูกต้อง ก่อนการตรากฎหมาย ทุกฉบับ รัฐพึงจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ ผลกระทบxxxxxxเกิดขึ้นจากกฎหมาย อย่างรอบด้านและเป็นระบบ รวมทั้งเปิดเผยผลการรับฟังความคิดเห็น และการวิเคราะห์นั้นต่อประชาชน และนำxxxxxxxxการพิจารณาในกระบวนการตรากฎหมายทุกขั้นตอน เมื่อกฎหมายมีผลบังคับใช้แล้ว รัฐพึง จัดให้มีการประเมินxxxxxxxxxxของกฎหมายทุกรอบระยะเวลาที่กำหนด โดยรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เพื่อพัฒนากฎหมายทุกฉบับให้สอดคล้องและเหมาะสม กับบริบทต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป
มาตรา ๒๕๘ xxxxxxการxxxxxxประเทศอย่างน้อยในด้านต่าง ๆ ให้xxxxxxในxxxxxxx ข ค และ ง ที่เกี่ยวข้องกับกรมบังคับคดี ดังต่อไปนี้
ข. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
(๑) ให้มีการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน และการจัดทำ บริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ในการบริหารราชการแผ่นดิน และเพื่อxxxxxความสะดวกให้แก่ประชาชน
(๒) ให้มีการบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงานเข้าด้วยกัน เพื่อให้เป็นระบบ ข้อมูลเพื่อการบริหารราชการแผ่นดินและการบริการประชาชน
(๓) ให้มีการปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างและระบบการบริหารงานของรัฐและแผนกำลังคน ภาครัฐให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายใหม่ ๆ โดยต้องxxxxxxการให้เหมาะสมกับภารกิจของหน่วยงาน ของรัฐแต่ละหน่วยงานที่แตกต่างกัน
(๔) ให้มีการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารงานบุคคลภาครัฐเพื่อจูงใจให้ผู้มีความรู้ ความxxxxxx อย่างแท้จริงเข้ามาทำงานในหน่วยงานของรัฐ และxxxxxxxxxxxxxxxxxxxได้ตามความxxxxxx และxxxxxxxxxx ของงานของแต่ละบุคคล มีความซื่อสัตย์xxxxxx กล้าตัดสินใจและกระทำในสิ่งที่ถูกต้อง โดยคิดถึงประโยชน์ส่วนรวม มากกว่าประโยชน์ส่วนตัว มีความคิดสร้างสรรค์และคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อให้การปฏิบัติราชการและ การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีมาตรการคุ้มครองป้องกันบุคลากรภาครัฐจากการใช้ xxxxxโดยไม่เป็นธรรมของผู้บังคับบัญชา
ค. ด้านกฎหมาย
(๑) มีกลไกให้xxxxxxการปรับปรุงกฎหมาย กฎ xxxxxxx หรือข้อบังคับต่าง ๆ ที่ใช้บังคับอยู่ก่อน วันประกาศใช้xxxxxxxxxxxxxให้สอดคล้องกับหลักการตามมาตรา ๗๗ และพัฒนาให้สอดคล้องกับหลักxxxx โดยให้ มีการใช้ระบบอนุญาตและระบบการxxxxxxการโดยคณะกรรมการเพียงเท่าที่จำเป็น เพื่อให้การทำงาน เกิดความ xxxxxxxx โดยมีผู้รับผิดชอบxxxxxxxxx และไม่สร้างภาระแก่ประชาชน เกินความจำเป็น xxxxxความxxxxxxในการ แข่งขันของประเทศ และป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ
(๒) xxxxxxระบบการเรียนการสอนและการศึกษาอบรมวิชากฎหมายเพื่อพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพ กฎหมายให้เป็นผู้มีความรอบรู้ มีนิติทัศนะ และยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรมของนักกฎหมาย
(๓) พัฒนาระบบฐานข้อมูลกฎหมายของรัฐโดยใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูล กฎหมายได้สะดวก และxxxxxxเข้าใจเนื้อหาสาระของกฎหมายได้ง่าย
(๔) จัดให้มีกลไกช่วยเหลือประชาชนในการจัดทำและเสนอร่างกฎหมาย
ง. ด้านกระบวนการยุติธรรม
(๑) ให้มีการกำหนดระยะเวลาxxxxxxงานในทุกขั้นตอนของกระบวนการยุติธรรมxxxxxxxxx เพื่อให้ ประชาชนได้รับความยุติธรรมโดยxxxxxxxxx และมีกลไกช่วยเหลือประชาชนผู้xxxxxxxxxxxxxxxx ให้เข้าถึง กระบวนการยุติธรรมได้ รวมตลอดทั้งการสร้างกลไกเพื่อให้มีการบังคับการตามกฎหมายอย่าง เคร่งครัด เพื่อลดความเหลื่อมล้ำและความไม่เป็นธรรมในสังคม
(2) xxxxxxxxxxและพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรขององค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรม ให้มุ่งxxxxxความยุติธรรมแก่ประชาชนโดยสะดวกและรวดเร็ว
2) xxxxxxxxxxxxxx (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
xxxxxxxxxxชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) เป็นxxxxxxxxxxชาติฉบับแรกของประเทศไทย ตามxxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งจะต้องนำไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้ประเทศไทยxxxxxวิสัยทัศน์ “ประเทศไทย มีความxxxxxx xxxxxxxx ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักxxxxxxของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อความสุขของคนไทยทุกคน โดยมีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “xxxxxxxxxxxxxxxx ประชาชนxxxxxxxxx เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” ทั้งนี้ กรมบังคับคดีมีความเกี่ยวข้อง กับxxxxxxxxxxชาติ ๓ xxxxxxxxxx ดังนี้ (๑) xxxxxxxxxxxxx ๖ ด้านการปรับxxxxxและพัฒนาระบบการบริหาร จัดการภาครัฐ (๒) xxxxxxxxxxxxx ๑ ด้านความมั่นคง (๓) xxxxxxxxxxxxx 2 ด้านการสร้างความxxxxxx ในการ แข่งขันของประเทศ
3) แผนแม่บทภายใต้xxxxxxxxxxชาติ (พ.ศ. ๒๕๖6 - ๒๕๘๐) (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖6 - ๒๕๘๐) (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) มีทั้งสิ้นจำนวน
๒๓ ประเด็น โดยมีประเด็นที่สอดคล้องและเชื่อมโยงกับกรมบังคับคดี จำนวน 5 ประเด็น ได้แก่ (1) ประเด็น ที่ 22 กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม (๒) ประเด็นที่ 1 ความมั่นคง (๓) ประเด็นที่ 8 ผู้ประกอบการ และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยุคใหม่ (๔) ประเด็นที่ 20 การบริการประชาชนและประสิทธิภาพ และ (5) ประเด็นที่ 21 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
4) แผนปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง)
พระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการดำเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ กำหนดให้การจัดทำ แผนการปฏิรูปประเทศสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ ส่งผลให้ต้องมีการปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศที่ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาและบังคบใช้
เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ โดยคณะกรรมการปฏิรูปประเทศดำเนินการปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศตามขั้นตอนของกฎหมาย คณะรัฐมนตรีได้พิจารณาให้ความเห็นชอบและรัฐสภารับทราบแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) เป็นที่ เรียบร้อยแล้ว จึงประกาศแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ แผนการปฏิรูปประเทศทั้งหมด ๑๓ ด้าน กรมบังคับคดีมีการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องใน ๓ ด้าน ได้แก่
(1) ด้านที่ ๒ การบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับปรับปรุง) (2) ด้านที่ ๓ กฎหมาย (ฉบับปรับปรุง) และ (3) ด้านที่
๔ กระบวนการยุติธรรม (ฉบับปรับปรุง) ทั้งนี้ หลังจากแผนปฏิรูปประเทศสิ้นสุดระยะเวลาดำเนินการลงในวันที่ 31 ธันวาคม 2565 หน่วยงานของรัฐทั้งหน่วยงานรับผิดชอบหลักและหน่วยงานร่วมดำเนินการสามารถ ดำเนินการประเด็นต่อเนื่องต่าง ๆ ผ่านกลไกของแผนระดับ 2 อื่นที่เกี่ยวข้อง
5) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐)
การจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในแต่ละช่วงระยะเวลา ๕ ปี ประมวล กระบวนทัศน์หลักเพื่อสังเคราะห์ประเด็นการพัฒนาที่ประเทศไทยควรให้ความสำคัญและเป็นจุดมุ่งเน้นในระยะ ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๓ ยังเป็นเงื่อนไขที่มีนัยสำคัญต่อการบรรลุเ ป้าหมาย การพัฒนาประเทศในระยะยาว โดยมี ๑๓ หมุดหมาย และมีความเกี่ยวพันธ์กับกรมบังคับคดีอย่างมีนัยสำคัญ อยู่ 1 หมุดหมาย ได้แก่ หมุดหมายที่ 13 ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ โดยมีเป้าหมาย คือ ภาครัฐที่มีขีด สมรรถนะสูงและคล่องตัว
6) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐)
นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) เป็นแผนระดับ ที่ ๒ มีกรอบทิศทางระยะ ๕ ปี รองรับการถ่ายทอดแผนระดับที่ ๑ ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ด้าน (1) ความมั่นคง และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2566 – 2580) (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) ประเด็น
(01) ความมั่นคง โดยมีความเชื่อมโยงกับกรมบังคับคดีใน 1 นโยบาย ได้แก่ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติที่ 5 การป้องกันและแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป้าหมายที่ 3 ประชาชนมีความเชื่อมั่นต่อการแก้ไขปัญหา จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมุ่งเน้นการลดการก่อเหตุรุนแรงและความสูญเสีย พัฒนาเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับ วิถีชีวิตและศักยภาพของพื้นที่ รวมทั้งเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเสริมสร้างความปลอดภัยและขจัดความรุนแรง ผ่านการเสริมสร้างความสามารถในการรักษาความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน สร้างความเข้มแข็งของชุมชนและหมู่บ้าน โดยขับเคลื่อนผ่านกระบวนการ พูดคุยเพื่อสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้ภายใต้เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบนพื้นฐาน ของความจริงใจ สมัครใจ และให้เกียรติ เพื่อเป็นทางออกของความขัดแย้งตามแนวทางสันติวิธี ผ่านการพัฒนา และปรับปรุง โครงสร้างพื้นฐานสำคัญ คุณภาพการศึกษา และการบริหารจัดการของภาครัฐ
7) แผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๖๙)
แผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๖๙) มีวิสัยทัศน์ “สร้างความร่วมมือในการบริหารงานเพื่ออำนวยความยุติธรรมอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม โดยยึดหลักนิติธรรม” อยู่ภายใต้กรอบแนวคิดการบริหารงานยุติธรรม การอำนวยความยุติธรรมอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม 2 มิติหลัก ได้แก่ มิติที่ 1 การสร้างความเป็นธรรมตามกฎหมาย มิติที่ 2 การพัฒนากระบวนการยุติธรรมตามมาตรฐานสากล และ มิติที่ 3 การประสานความร่วมมือในการบริหารงานยุติธรรม โดยกรมบังคับคดีเกี่ยวข้องทั้ง 2 มิติ คือ มิติที่ 1 และมิติที่ 3
8) แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐)
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2566 - 2570) ประกอบด้วย แผนสิทธิมนุษยชน รายด้าน ๕ ด้าน และแผนสิทธิมนุษยชนรายกลุ่มเปราะบาง จำนวน ๑๑ กลุ่ม โดยเป้าหมายของแผนสิทธิมนุษยชน แห่งชาติฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) คือ “การละเมิดสิทธิมนุษยชนลดลงทุกด้าน และทุกกลุ่ม” และมี วัตถุประสงค์ของแผน “เพื่อปกป้อง คุ้มครองสิทธิของประชาชนโดยไม่เลือกปฏิบัติคำนึงถึงศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ สร้างสังคมที่ตระหนักถึงการเคารพสิทธิมนุษยชนอย่างยั่งยืน” สำหรับประเด็น ที่เกี่ยวข้องกับกรมบังคับคดี จำนวน 1 ด้าน คือ แผนสิทธิมนุษยชนด้านกระบวนการยุติธรรม และ 1 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้เสียหาย พยานและเหยื่อของ กระบวนการยุติธรรม
9) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. ๒๕๖๑ -
๒๕๘๐) เป็นแผนแม่บทหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลของประเทศ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ -
๒๕๘๐) ที่กำหนดทิศทางการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งมีความสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เนื่องด้วยสถานการณ์โลกที่การแข่งขันทางเศรษฐกิจ เข้มข้นขึ้น สังคมโลกเชื่อมโยงกันมากขึ้นในสภาพไร้พรมแดน แนวโน้มการพัฒนาทางเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด รัฐบาลตระหนักถึงความ จำเป็นในการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็นองค์ประกอบสำคัญในการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศสู่การเป็นประเทศ ไทย 4.0 เพื่อสร้างระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ขับเคลื่อนการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน จึงกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาไว้ 6 ยุทธศาสตร์ ที่ส่งเสริมซึ่งกันและกัน มีการกำหนดเป้าหมายเพื่อให้สามารถติดตามและประเมินความก้าวหน้าได้ อย่างชัดเจน กรมบังคับคดีมีการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องใน 3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์ที่ ๓ สร้างสังคม คุณภาพที่ทั่วถึงเท่าเทียมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล (2) ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ปรับเปลี่ยนภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล และ
(3) ยุทธศาสตร์ที่ ๕ พัฒนากำลังคนให้พร้อมเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล
10) แผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ของกระทรวงยุติธรรม
แผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ของกระทรวงยุติธรรม เป็นแผนปฏิบัติ ราชการ จัดทำขึ้น เพื่อใช้เป็นกรอบในการกำหนดแนวทางการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ซึ่งประกอบด้วย แผนปฏิบัติราชการ ๔ เรื่อง ได้แก่ (๑) แผนปฏิบัติราชการ เรื่อง เสริมสร้างการรับรู้ด้านกฎหมาย และการอยู่ร่วมกันภายใต้สังคม เคารพกติกา (๒) แผนปฏิบัติราชการ เรื่อง ส่งเสริมการเข้าถึงบริการงานยุติธรรม
การช่วยเหลือเยียวยาและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท (๓) แผนปฏิบัติราชการ เรื่อง เพิ่มประสิทธิภาพ การบังคับใช้ กฎหมายและพัฒนาระบบงานยุติธรรม และ (๔) แผนปฏิบัติราชการ เรื่อง แก้ไข ฟื้นฟูผู้กระทำผิดและคืนคนดี สู่สังคม โดยกรมบังคับคดีเกี่ยวข้อง จำนวน 3 เรื่อง ได้แก่ แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ 1 เรื่องที่ 2 และเรื่องที่ 3
11) กรอบพัฒนากระบวนการยุติธรรมระดับสากล
(1) เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) เป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) เป็นกรอบการพัฒนาของโลกที่แต่ละประเทศ ดำเนินการร่วมกัน เพื่อบรรลุการพัฒนาทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง ภายในปี ค.ศ. 2030 ประกอบด้วย เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) 17 เป้าหมายสำคัญ ซึ่งมีความเป็นสากล เชื่อมโยง และเกื้อหนุนกัน โดยแบ่งแยกมิได้จึงมีการขับเคลื่อนในทุกเป้าหมายไปพร้อมกันโดยสหประชาชาติ กำหนดให้มีตัวชี้วัด เพื่อใช้ในการติดตาม และประเมินความก้าวหน้าของการพัฒนา
โดยกระทรวงยุติธรรมเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมาย ที่ 16 ส่งเสริมสังคมสงบสุขและครอบคลุมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนให้ทุกคนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและสร้าง สถาบันที่มีประสิทธิผล รับผิดชอบและครอบคลุมในทุกระดับ (Peace, Justice and Strong Institutions) มุ่งเน้น การส่งเสริมสังคมที่สงบสุข สร้างความปลอดภัย ให้ทุกคนสามารถเข้าถึงความยุติธรรมได้อย่างเท่าเทียม และสร้าง สถาบันที่มีธรรมาภิบาล โปร่งใสตรวจสอบได้ โดยมีเป้าหมายย่อยที่เกี่ยวข้องกับกรมบังคับคดี จำนวน 1 เป้าหมาย ย่อย คือ เป้าหมายย่อยที่ ๑๖.๓ ส่งเสริมหลักนิติธรรมทั้งในระดับชาติและระหว่างประเทศและสร้างหลักประกันว่า ทุกคนสามารถเข้าถึงความยุติธรรมอย่างเท่าเทียม ตัวชี้วัด 16.3.3 สัดส่วนของประชากรที่มีปัญหาความขัดแย้ง ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา และเข้าถึงกลไกการแก้ปัญหาความขัดแย้งทั้งที่เป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ จำแนกตาม ประเภทของกลไก ซึ่งจากการพิจารณาโครงการ/กิจกรรมของกรมบังคับคดี ที่ดำเนินงานในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา พบว่า “การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทชั้นบังคับคดี” เป็นโครงการ/กิจกรรม ที่มีผลดำเนินงานสอดคล้องและขับเคลื่อน ตัวชี้วัดของเป้าหมายที่ 16 (SDG 16) ด้านที่ 2 ยุติธรรม (JUSTICE) “เข้าถึงความยุติธรรม ลดความเหลื่อมล้ำ ขจัดการเลือกปฏิบัติ” ตามเป้าหมายย่อย 16.3 และ ตัวชี้วัด 16.3.3 ซึ่งสอดคล้องตามแนวทางการรายงาน ข้อมูลตาม UN Metadata ในเรื่องของสถิติข้อพิพาทและคดีความ และการสำรวจความพึงพอใจต่อกระบวนการ ไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาททางแพ่ง ทางอาญา และทางปกครอง
(2) ดัชนีชี้วัดหลักนิติธรรม (Rule of Law Index) การมีหลักนิติธรรมที่ดีจะช่วยลดปัญหาการ
ทุจริตคอร์รัปชันต่อสู้กับความยากจน และช่วยปกป้องผู้คนจากความอยุติธรรมต่างๆ โดยจะเป็นพื้นฐานสำคัญ ที่รับรองความเป็นธรรมในสังคม การเข้าถึงโอกาสการเคารพสิทธิขั้นพื้นฐาน การมีรัฐบาลที่รับผิดชอบ โดยหลักนติธรรม จะครอบคลุมทั้งมิติด้านกฎหมายกระบวนการบังคับใช้กฎหมาย รวมไปถึงกระบวนการตรวจสอบการบังคับใช้ กฎหมาย และส่งผลในการใช้ชีวิตในแต่ละวันของผู้คนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยดัชนีนิติธรรม (Rule of Law Index) นับเป็นตัวชี้วัดระดับสากล ที่ดำเนินการโดยโครงการ The World Justice Project (WJP) จะประเมิน ระดับการแสดงความเป็นหลักนิติธรรมของทุกประเทศเป็นประจำทุกปีจำนวน 1๓๙ ประเทศทั่วโลก โดยการ สำรวจของครัวเรือนกว่า 138,000 ครัวเรือน และนักกฎหมายและผู้เชี่ยวชาญทั่วโลกกว่า 4,200 คน อาทิ ผู้ตัดสินใจเชิงนโยบาย ภาคประชาสังคม สถาบันการศึกษา ภาคประชาชน เป็นต้น เกี่ยวกับประสบการณ์ และการรับรู้ประสิทธิภาพของภาครัฐและตัวแทน และการปฏิบัติจริงภายใต้กรอบกฎหมายภายในประเทศ และเขตอำนาจศาล โดยในแต่ละประเทศจะมีการสำรวจข้อมูลจากความคิดเห็นจากครัวเรือน หรือการสำรวจ
จากประชากรทั่วไป General Population Poll (GPP) ซึ่งจะให้บริษัทภายในประเทศดำเนินการโดยจะมีการ ทดสอบนำร่อง ก่อนจะดำเนินการสำรวจจริง โดยประกอบด้วยข้อคำถามตามการรับรู้ 127 ข้อ และข้อคำถามจาก ประสบการณ์ 213 ข้อ และข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ แบบสอบถามจะถูกแปลเป็นภาษาท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่าง ผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 1,000 คน และสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญประมาณ 30 คน จากผู้ปฏิบัติงาน ในประเทศ และนักวิชาการที่มีความเชี่ยวชาญในกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญาและรัฐธรรมนูญ กฎหมายแรงงานและการสาธารณสุข โดยการตอบแบบสำรวจที่ผ่านการรับรองแล้ว Qualified Respondents’ Questionnaires (QRQs) เช่น ประเด็นข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของศาล ประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย ความน่าเชื่อถือของกลไกความรับผิดชอบ ในลักษณะข้อคำถามจากการรับรู้และ ฉากทัศน์เชิงสมมติ ในหลายสถานการณ์เพื่อจะได้มั่นใจได้ว่าสามารถเปรียบเทียบระหว่างประเทศได้ และรวบรวมผลที่ได้มาจัดทำแผน ที่ข้อมูลตามปัจจัยต่างๆเปรียบเทียบทั่วโลกประกอบเป็นคะแนน และใช้กระบวนการทางสถิติประกอบในการ เปรียบเทียบและจัดอันดับกรอบในการจัดทำ Rule of Law Index ตั้งอยู่บน ๔ หลักการ ได้แก่
(๑) หลักความรับผิดชอบ (Accountability) กล่าวคือ รัฐบาลและภาคเอกชน จะต้องมีความ รับผิดชอบต่อกฎหมาย
(2) กฎหมายที่เป็นธรรม (Just Laws) กล่าวคือ กฎหมายจะต้องมีการเผยแพร่อย่างชัดเจน แน่นอนและเป็นธรรม และต้องมีการบังคับใช้และคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานอย่างเท่าเทียมกัน
(๓) รัฐบาลที่เปิดเผย (Open Government) กล่าวคือ มีการบริหารงานที่เป็นไปตามกฎหมาย และสามารถเข้าถึงได้โดยง่าย เท่าเทียม และมีประสิทธิภาพ
(๔) การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและการระงับข้อพิพาทที่เป็นธรรม ( Accessible and Impartial Dispute Resolution) กล่าวคือ ความยุติธรรมจะต้องมีประสิทธิภาพ คุณธรรม และเป็นอิสระ และ ผู้เกี่ยวข้องจะต้องเป็นกลาง สามารถเข้าถึงได้ซึ่งทรัพยากรที่เพียงพอ
(3) แนวทางการประเมิน Business Ready (B-READY) ของธนาคารโลก ธนาคารโลก ได้เผยแพร่ร่างเอกสารแนวคิดโครงการ (Pre-Concept Note) ของการประเมินบรรยายกาศของการดำเนินธุรกิจ และการลงทุน (Business Enabling Environment : BEE) เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2565 ซึ่งจะนำมาใช้ แทนรายงานความยาก-ง่าย ในการประกอบธุรกิจ (Doing Business) ที่ถูกยกเลิกไปแล้วในปี 2564 และเมื่อ เดือนพฤษภาคม 2566 ธนาคารโลกได้ประกาศชื่อแนวทางการประเมินที่จะใช้อย่างเป็นทางการ จากเดิม ที่จะใช้ชื่อว่า Business Enabling Environment (BEE) เป็น Business Ready (B-READY) โดยที่รายละเอียด การประเมินและกรอบระยะเวลาการดำเนินการยังเป็นไปตามเอกสารแนวคิดโครงการ ( Concept Note) ของการประเมิน Business Enabling Environment (BEE)
(4) สมาชิกองค์กรระหว่างประเทศ
4.1) สภาเจ้าพนักงานบังคับคดีระหว่างประเทศ (Union Internationals des Hussies de Justice : UIHJ) กรมบังคับคดีได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของสภาเจ้าพนักงานบังคับคดีระหว่างประเทศ ( Union Internationals des Hussies de Justice : UIHJ) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 และเป็นสมาชิกถาวร (Full Member) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 โดยสภาเจ้าพนักงานบังคับคดีระหว่างประเทศมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสร้างความร่วมมือ ระหว่างองค์กรเจ้าพนักงานบังคับคดีของแต่ละประเทศ โดยมุ่งสร้างเสริมกระบวนการบังคับคดีระดับชาติและ ระดับสนธิสัญญาระหว่างประเทศและพัฒนาส่งเสริมความรู้ให้แก่องค์กรวิชาชีพของเจ้าหน้าที่ศาลและเจ้าพนักงาน
บังคับคดีในภารกิจต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่การส่งหมาย เอกสารหรือหนังสือต่าง ๆ ไปจนถึง การบังคับคดีให้เป็นไปตาม คำพิพากษาและคำสั่งของศาลอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นมาตรฐานสากลและ มีแนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศ สภาเจ้าพนักงานบังคับคดีระหว่างประเทศได้กำหนดให้มีการประชุมสามัญประจำปีเป็นประจำทุกปี ณ กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส ซึ่งเป็นที่ตั้งของสภาเจ้าพนักงานบังคับคดีระหว่างประเทศ หรือตามที่ได้กำหนด โดยกรมบังคับคดี ได้ส่งผู้แทนเข้าร่วมการประชุมดังกล่าว เป็นประจำทุกปี นอกจากนี้ กรมบังคับคดีได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจว่า ด้วยความร่วมมือด้านวิชาการบังคับคดีแพ่งระหว่างกรมบังคับคดีและสภาเจ้าพนักงานบังคับคดีระหว่างประเทศ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลทางด้านวิชาการ ด้านวิชาชีพ และประสบการณ์อันเกี่ยวข้องกับการปรับปรุงและพัฒนา กฎหมายเกี่ยวกับระบบการบังคับคดีแพ่ง รวมทั้งการแลกเปลี่ยนเจ้าหน้าที่เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ปัญหา ข้อขัดข้องและประเด็นความท้าทาย รวมถึงการแก้ไขปรับปรุงประสิทธิภาพของการบังคับคดีแพ่งผ่านการวิจัย การทัศนศึกษา และการฝึกอบรมโดยการส่งเสริมให้มีโครงการฝึกอบรม การประชุม และการสัมมนาในด้านการ บังคับคดีแพ่งร่วมกัน ซึ่งเป็นความร่วมมือทางวิชาการด้านการบังคับคดีแพ่งระหว่างกันเพื่อเพิ่มศักยภาพ และเป็นการสร้างความเป็นวิชาชีพของเจ้าพนักงานบังคับคดีอีกด้วย
4.2) องค์การเจ้าพนักงานผู้ปฏิบัติงานด้านล้มละลายระหว่างประเทศ องค์การเจ้าพนักงาน ผู้ปฏิบัติงานด้านล้มละลายระหว่างประเทศ (International Association of Insolvency Regulators - IAIR)
ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นองค์กรของรัฐของประเทศต่าง ๆ ซึ่งมีภารกิจในการดำเนินการด้านการกำกับดูแล รวมถึงการวางกฎ ระเบียบเกี่ยวกับการบังคับคดีล้มละลาย ได้มีการประชุมเป็นประจำทุกปี การประชุมดังกล่าว มีวาระการประชุมเกี่ยวกับความท้าทายต่อระบบการบังคับคดีล้มละลายในหลายประเทศทั่วโลก เช่น การบริหาร จัดการระบบการบังคับคดีล้มละลายในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำการบริหารการปฏิบัติงานในคดีล้มละลายข้ามชาติ ระเบียบของผู้ปฏิบัติงานด้านล้มละลาย ทางเลือกอื่น ๆ นอกจากการล้มละลาย การใช้สื่อผ่านช่องทาง อิเล็กทรอนิกส์ การรับรองรายงานการประชุมประจำปี รายงานการพัฒนากฎหมายล้มละลายของประเทศสมาชิก และวาระอื่น ๆ อันเป็นประเด็นเกี่ยวข้องกับกฎหมายล้มละลายซึ่งมีความสอดคล้องกับภารกิจด้านการบังคับคดี ล้มละลายของกรมบังคับคดีโดยตรง
การเข้าร่วมประชุมดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อกรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม และประเทศไทย ในการติดตามความคืบหน้าของกฎเกณฑ์ด้านล้มละลายและการปฏิบัติงานด้านล้มละลายในกรอบคดีล้มละลาย ข้ามชาติ อันเป็นประเด็นที่มีความสำคัญสืบเนื่องจากสภาวะการประกอบธุรกิจในปัจจุบัน ที่มีความเป็นสากล เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงกฎหมายล้มละลายของประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การเข้าร่วมประชุม ดังกล่าว ทำให้กรมบังคับคดีได้ทราบแนวปฏิบัติและสามารถนำแนวปฏิบัติและการพัฒนากฎหมายเกี่ยวกับ กฎหมายล้มละลาย และผลที่ได้จากการหารือในประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การจัดการคดีล้มละลาย ของ World Bank และ UNCITRAL การกำหนดคุณสมบัติผู้ปฏิบัติงานล้มละลาย การจัดการคดีที่ไม่มีทรัพย์สิน การแก้ไขปัญหาลูกหนี้บุคคลธรรมดามาใช้ปรับปรุงและพัฒนากฎหมาย ด้านการบังคับคดีล้มละลายของประเทศ ไทยให้เป็นมาตรฐานสากล
12) นโยบายรัฐบาล
นโยบายของรัฐบาล นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ที่แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันจันทร์ที่ 11 กันยายน 2566 รัฐบาลได้กำหนดกรอบนโยบายในการบริหารและพัฒนาประเทศตามกรอบความเร่งด่วน
2 กรอบ ดังนี้
1. กรอบระยะสั้น รัฐบาลมีความจำเป็นที่จะต้องกระตุ้นการใช้จ่าย จุดประกายให้เครื่องยนต์ ทางเศรษฐกิจกลับมาเติบโตอีกครั้ง ประกอบกับการเร่งแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าของประชาชนอย่างเร่งด่วน และรวดเร็ว
2. กรอบระยะกลางและระยะยาว รัฐบาลจะเสริมขีดความสามารถให้กับประชาชน ผ่านการ สร้างรายได้ ลดรายจ่าย สร้างโอกาส ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นให้กับประชาชนทุกคน
โดยมีนโยบายเร่งด่วนพลิกฟื้นเศรษฐกิจ เร่งแก้ปัญหา และช่วยเหลือประชาชน
1. แก้ปัญหาหนี้สิน พักหนี้เกษตรกร ประคองภาระหนี้สิน และลดต้นทุนทางการเงินสำหรับ ภาคประชาชน และผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ที่ได้รับผลกระทบต่อโควิดภายใต้ ปรัชญาที่จะไม่ขัดต่อวินัยทางการเงินและไม่ทำให้เกิดภาวะภัยทางจริยธรรม (Moral Hazard) ของผู้มีภาระหนี้สิน
2. ลดภาระค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน ไฟฟ้า ก๊าซหุงต้ม และน้ำมันเชื้อเพลิงให้อยู่ในระดับ ที่เหมาะสมให้กับประชาชน
3. ผลักดันการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยว ด้วยการอำนวยความสะดวก ปรับปรุงขั้นตอน และ ยกเว้นการขอวีซ่า และจัดทำ Fast Track VISA สำหรับผู้เข้าร่วมงานแสดงสินค้านานาชาติ (MICE) เพื่อเป็นการ กระตุ้นการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว
4. แก้ไขปัญหาความเห็นที่แตกต่างในเรื่องรัฐธรรมนูญ เพื่อให้คนไทยมีรัฐธรรมนูญ ที่เป็น ประชาธิปไตยมากขึ้น หารือแนวทางในการทำประชามติที่ประชาชนทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม
5. ฟื้นฟูหลักนิติธรรม (Rule of Law) ที่เข้มแข็งมีประสิทธิภาพ โปร่งใส และเป็นที่ยอมรับจาก
นานาประเทศ
13) นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2566 พันตำรวจเอก ทวี สอดส่อง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ได้มอบนโยบายในการบริหารและขับเคลื่อนกระทรวงยุติธรรมเข้าสู่ยุค “ความยุติธรรมสำหรับคนทุกคน หรือ ความยุติธรรมนำประเทศ” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้บริหารกระทรวงยุติธรรม หัวหน้าส่วนราชการ ในสังกัด กระทรวงยุติธรรม หัวหน้าหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม หัวหน้าหน่วยงาน ในส่วนภูมิภาค
และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อรับทราบนโยบายและนำนโยบายไปขับเคลื่อนและผลักดัน ให้ เกิดผลอย่าง รูปธรรม สอดคล้องตามนโยบายรัฐบาลในการอำนวยความยุติธรรมให้เกิดขึ้นอย่างแท้จริง สามารถสรุปเป็น รูปธรรมออกมาเป็นนโยบายหลัก 5 ประการ ดังนี้
1. นำความยุติธรรมเข้าหาประชาชนอย่างทั่วถึงและถ้วนหน้า
2. ต้องแก้ไขและปรับปรุงให้เกิดความเป็นธรรมทางกฎหมาย
3. ต้องฝึกฝนอบรมบุคลากรให้มีความพร้อมในการปฏิบัติการกับอาชญากรรมที่เกิดขึ้น
4. มุ่งธำรงไว้ซึ่งความสูงสุดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือความศักดิ์สิทธิ์ของ
รัฐธรรมนูญ
5. ยึดคติพจน์ “กันไว้ดีกว่าแก้”
ดังนั้น เพื่อให้นโยบายของกระทรวงยุติธรรม ทั้ง 5 ประการ สามารถดำเนินไปสู่การปฏิบัติ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล กระทรวงยุติธรรมจึงได้จัดกลุ่มภารกิจสำคัญรองรับไว้ทั้งสิ้น 4 กลุ่ม ดังนี้
- กลุ่มที่ 1 การบริหารความยุติธรรม เป้าหมายหลัก เพื่อทำให้ความยุติธรรมถึงมือประชาชน
- กลุ่มที่ ๒ การอำนวยความยุติธรรม เป้าหมายหลัก เพื่อทำให้กฎหมายเป็นกฎหมาย ที่เป็นธรรม ต่อปวงชน การบังคับใช้กฎหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- กลุ่มที่ ๓ การพัฒนาพฤตินิสัย เป้าหมายหลัก เพื่อมุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพในการแก้ไข และฟื้นฟูผู้กระทำผิด รวมถึงการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิดให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ การปฏิบัติต่อผู้ต้องขังระหว่าง การพิจารณาคดี
- กลุ่มที่ ๔ การจัดการปัญหายาเสพติด เป้าหมายหลัก มุ่งเน้นในการใช้ประมวลกฎหมาย ยาเสพติด ขับเคลื่อนการจัดการปัญหายาเสพติด
กรมบังคับคดี จัดอยู่ในกลุ่มภารกิจที่ 1 การบริหารความยุติธรรม ซึ่งเป็นหน่วยงาน ที่มีภารกิจ
ขับเคลื่อนกลไกทางกฎหมายแพ่ง โดยให้เน้นการแก้หนี้สินครัวเรือนใช้ระบบการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ที่มีการแก้ไข ปัญหาหนี้ กยศ. ลดภาระของประชาชน ปรับปรุงกฎหมายในการยกเลิกหรือลดค่าธรรมเนียม ในการบังคับคดี ยกระดับกฎหมายฟื้นฟูกิจการทรัพย์สินของลูกหนี้ โดยเปิดโอกาสให้ลูกหนี้ที่เป็นบุคคลธรรมดาสามารถขอฟื้นฟู กิจการได้ รวมทั้งเน้นช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในทุกขั้นตอนของการบังคับคดี และลดขั้นตอนการให้บริการ เพิ่มประสิทธิภาพของระบบ E-offering Auction เพื่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว และลดค่าใช้จ่าย รวมถึงการแก้ไขปัญหาความล่าช้าในกระบวนการบังคับคดี
เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2566 พันตำรวจเอก ทวี สอดส่อง ได้มอบนโยบายเพื่อเป็นกรอบการ ทำงานแก่กรมบังคับคดี และรองรับนโยบายของรัฐบาล ตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลที่ให้ความสำคัญในการ
แก้ไขปัญหาหนี้สินของประชาชน ทั้งในภาคเกษตร ภาคธุรกิจ ภาคประชาชน และผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม (SMEs) ภายใต้ปรัชญาที่จะไม่ขัดต่อวินัยทางการเงินและไม่ทำให้เกิดภาวะภัยทางจริยธรรม (Moral Hazard) ของผู้มีภาระหนี้สิน ซึ่งกรมบังคับคดีได้ทำหน้าที่การไกล่เกลี่ยช่วยเหลือปัญหาหนี้สินของ ประชาชน เพื่อให้เกิดความยุติธรรมสมานฉันท์หรือเป็นการสร้างสันติภาพให้คู่กรณี เป็นการช่วยต่อชีวิตให้ลูกหนี้ สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ โดยมีนโยบายเพื่อเป็นกรอบการทำงานแก่กรมบังคับคดี ดังนี้
1. เน้นให้ความสำคัญการแก้ปัญหาหนี้สินครัวเรือน การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท การแก้ไขปัญหาหนี้ กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.)
2. ผลักดันร่างพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ..) พ.ศ (กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับ
การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้) และร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (แก้ไขตาราง 5 ค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดี) เพื่อยกเลิกค่าธรรมเนียม ถอนการยึด อายัดเงิน หรือทรัพย์สิน
3. นำเทคโนโลยีและดิจิทัลเข้ามาเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
4. ทบทวนปรับบทบาทภารกิจโครงสร้างของกรมบังคับคดีให้มีรูปแบบหลากหลาย ทันสมัย ยืดหยุ่นคล่องตัว ที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
5. พัฒนาบุคลากรของกรมบังคับคดีให้มีทักษะความรอบรู้ มีกรอบความคิดที่เหมาะสม ในการ ปฏิบัติงาน สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของบริบทโลกและบริบทประเทศในปัจจุบันและอนาคต ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึก มีความสามารถสูง มุ่งมั่น และเป็นมืออาชีพ โดยสนับสนุนผลักดัน ให้มีนั กเรียนทุนอย่าง ต่อเนื่อง
6. สื่อสารสร้างความเข้าใจที่ดีให้แก่ประชาชนให้ทราบถึงภยันตรายของคำพิพากษาคดีแพ่ง และ ผลกระทบจากการถูกการบังคับคดี
14) นโยบายกรมบังคับคดี
แนวทางในการขับเคลื่อนภารกิจของกรมบังคับคดีให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายใหม่ ในรูปแบบ “บังคับคดีเชิงรุก สร้างสุขแก่ประชา นำพาความยุติธรรม” โดยมุ่งอำนวยความยุติธรรม ลดความเหลื่อมล้ำ ให้กับสังคมและประชาชน ด้วยการยกระดับการทำงานในเชิงรุก เร่งบริหารจัดการคดี ยกระดับคุณภาพ การให้บริการ พัฒนาองค์กรสู่ดิจิทัล ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของบุคลากรควบคู่กับการสร้างความยุติธรรม เท่าเทียมให้สังคมทุกกลุ่ม เพื่อสร้างความเชื่อมั่น ไว้วางใจ ให้กับประชาชนและสังคม โดยสานต่องานเดิม สร้างสรรค์งานใหม่ ภายใต้หลักการ “Driving towards Justice with LED 7Gs” ประกอบด้วย
1. Good Management ยกระดับการบริหารการบังคับคดี
2. Good Equality สร้างความเท่าเทียมทางกฎหมาย
3. Good Communication เน้นการสื่อสารเชิงรุก สร้างความรับรู้
4. Good Collaboration ประสานความร่วมมือและส่งเสริมการมีส่วนรวม
5. Good Service ยกระดับคุณภาพการให้บริการประชาชน
6. Growth Mindset พัฒนากรอบความคิด เพิ่มศักยภาพบุคลากร
7. Great Digital Organization พัฒนาสู่ความเป็นองค์กรดิจิทัล
<.. image(รูปภาพประกอบด้วย ข้อความ, สูท, ใบหน้าของมนุษย์, ชาย คำอธิบายที่สร้างโดยอัตโนมัติ) removed ..>
15) แผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ของกรมบังคับคดี
แผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐) ของกรมบังคับคดี เป็นแผนปฏิบัติ ราชการจัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นกรอบในการกำหนดแนวทางการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมบังคับคดี ซึ่งประกอบด้วย แผนปฏิบัติราชการ จำนวน ๔ เรื่อง ได้แก่ (1) แผนปฏิบัติราชการ เรื่อง ส่งเสริมเครือข่าย และ กฎหมายเพื่อความยุติธรรมถ้วนหน้า (2) แผนปฏิบัติราชการ เรื่อง ประชาสัมพันธ์เชิงรุกและมีส่วนร่วมกับ ผู้มีส่วน ได้เสีย (3) แผนปฏิบัติราชการ เรื่อง ส่งเสริมสมรรถนะและศักยภาพการดำเนินการขององค์กร และ (๔) แผนปฏิบัติราชการ เรื่อง บูรณาการดิจิทัลกับระบบงานและการเชื่อมต่อข้อมูล
16) แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2567) ของกรมบังคับคดี
แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ.2567) ของกรมบังคับคดี เป็นแผนที่จัดทำขึ้นเ พื่อเป็นกรอบ นโยบายและทิศทางการบริหารจัดการงานยุติธรรมของกรมบังคับคดีในปีงบประมาณ พ.ศ. 256๗ และเพื่อให้ ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมบังคับคดีใช้เป็นแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานและสามารถ นำไปขับเคลื่อนการปฏิบัติงานในภารกิจของกรมบังคับคดีให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
ส่วนที่ 2
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ของกองบริหารทรัพยากรบุคคล
ตามที่ กรมบังคับคดี ได้จัดทำและประกาศใช้แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2567) ของกรมบังคับคดี เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2566 โดยมีการบรรจุโครงการไว้ในแผนปฏิบัติราชการทั้ง 4 เรื่อง ได้แก่
เรื่องที่ 1 ส่งเสริมเครือข่ายและกฎหมายเพื่อความยุติธรรมถ้วนหน้า
เรื่องที่ 2 ประชาสัมพันธ์เชิงรุกและมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย
เรื่องที่ 3 ส่งเสริมสมรรถนะและศักยภาพการดำเนินการองค์กร
เรื่องที่ 4 บูรณาการดิจิทัลกับระบบงานและการเชื่อมต่อข้อมูล
เพื่อใช้เป็นกรอบทิศทาง ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ระดับสำนัก/กอง และขับเคลื่อนภารกิจของกรมบังคับคดีให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามวิสัยทัศน์ พันธกิจและนโยบาย ของกรมบังคับคดี และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนผู้รับบริการด้านการบังคับคดี ดังนั้น กองบริหารทรัพยากร บุคคล จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ของกองบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อเป็น แนวทางในการบริหารจัดการในการดำเนินงานตามกรอบตัวชี้วัดความสำเร็จ ค่าเป้าหมาย โดยได้ระบุรายละเอยด โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลาในการดำเนินงาน และผู้รับผิดชอบโครงการ/กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสะดวก ในการปฏิบัติงาน ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของกองบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งเชื่อมโยงแผนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1) แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2567) ของกรมบังคับคดี
2) แผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
3) แผนปฏิบัติการส่งเสริมค่านิยมและวัฒนธรรมกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
4) แผนปฏิบัติการด้านสิทธิมนุษยชน ของกรมบังคับคดี พ.ศ. 2566 – 2570
5) แผนปฏิบัติราชการตามคำรับรองของกองบริหารทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ประกอบโครงการดังต่อไปนี้
1. แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ของกองบริหารทรัพยากรบุคคล (เชื่อมโยงแผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2567) ของกรมบังคับคดี)
แผนปฏิบัติราชการ/แผนงาน | โครงการ | ผู้รับผิดชอบ |
แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ 2 ประชาสัมพันธ์เชิงรุกและมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย | ||
1. การส่งเสริมพื้นที่ปลอดการบังคับคดีเพิ่ม จำนวนตัวแทนผู้ให้ข้อมูลเชิงรุกและยกระดับ วิทยากรตัวคูณ (ตัวคูณและหน่วยงานตัวแทน) | 1. โครงการสร้างและยกระดับวิทยากรตัวคูณและการสร้างเครือข่ายและ บูรณาการการทำงานกับหน่วยงานรัฐและเอกชน | – ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล - ฝ่ายข้อมูลบุคคลและบำเหน็จ ความชอบ - กลุ่มงานอัตรากำลังและ ระบบงาน |
2. โครงการเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมเชิดชูวิทยากรต้นแบบ | - ฝ่ายข้อมูลบุคคลและบำเหน็จ ความชอบ - กลุ่มงานอัตรากำลังและ ระบบงาน | |
2. การพัฒนาระบบศูนย์กลางประสานงานและ จัดการข้อมูลการสื่อสารภายใน | 3. โครงการประชุมทางวิชาการ เรื่อง การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ กรมบังคับคดี สู่การปฏิบัติ | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล |
แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ 3 ส่งเสริมสมรรถนะและศักยภาพการดำเนินการองค์กร | ||
1. การวางแผนและจัดการอัตรากำลังอย่างมี ความเหมาะสมกับงาน | 4. โครงการวิเคราะห์โครงสร้างอัตรากำลังโดยใช้ค่าสถิติที่น่าเชื่อถือจาก ตัวบ่งชี้ | กลุ่มงานอัตรากำลังและระบบงาน |
5. โครงการศึกษาและจัดทำแนวพัฒนาการเทียบเคียงผลตอบแทนและ สวัสดิการเกื้อกูล | - ฝ่ายข้อมูลบุคคลและบำเหน็จ ความชอบ - ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล |
แผนปฏิบัติราชการ/แผนงาน | โครงการ | ผู้รับผิดชอบ |
2. การวางแผนการบริหารความก้าวหน้าในสาย อาชีพ | 6. โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับตำแหน่งที่สำคัญในอนาคตอย่างมี ประสิทธิภาพ | - ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล - กลุ่มงานสรรหา บรรจุ และ แต่งตั้ง |
7. โครงการพัฒนาบุคลากรทั้งหมดเพื่อขับเคลื่อนพันธกิจหลักของ กรมบังคับคดี | - ฝ่ายข้อมูลบุคคลและบำเหน็จ ความชอบ - ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
8. โครงการเสริมสร้างค่านิยมองค์กร | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
9. โครงการอบรม “ความรู้และทักษะด้านการบริหารที่จำเป็น” | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
10. โครงการจัดทำแผนเกษียณล่วงหน้า | - ฝ่ายข้อมูลบุคคลและบำเหน็จ ความชอบ - กลุ่มงานอัตรากำลังและ ระบบงาน | |
11. โครงการพี่เลี้ยงและจัดการข้อมูลเพื่อใช้เป็นหลักฐานในการพัฒนา จัดการบุคลากร | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
3. การจัดทำ Training Roadmap ระยะ 3 – 5 ปี ให้กับตำแหน่งที่สำคัญ | 12. โครงการประเมิน “ความรู้และทักษะที่จำเป็น (Skill and Knowledge Inventory)” ของแต่ละตำแหน่ง | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล |
13. โครงการประเมิน “ความรู้และทักษะที่จำเป็นของบุคลากรแต่ละท่าน (Skill and Knowledge Mapping)” และมีแผนพัฒนารายบุคคล | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
14. โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้กระบวนการสนับสนุนสู่การปฏิบัติ ที่เป็นเลิศ | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
15. โครงการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสังคม | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล |
แผนปฏิบัติราชการ/แผนงาน | โครงการ | ผู้รับผิดชอบ |
4. การพัฒนาบุคลากรให้มีความเป็นมืออาชีพ | 16. โครงการเสริมสร้างสมรรถนะและศักยภาพให้มีความเป็นมืออาชีพ ประกอบด้วย (1) หลักสูตรวิชาชีพการบังคับคดีแพ่งและล้มละลายระดับต้น (2) หลักสูตรปฐมนิเทศบุคลากรกรมบังคับคดี (3) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการป้องกันและระงับอัคคีภัยเพื่อความ ปลอดภัยของกรมบังคับคดี (4) โครงการพัฒนากรอบความสร้างสรรค์ (Growth Mindset) (5) หลักสูตรพนักงานสอบสวนคดีอาญาตามกฎหมายล้มละลาย (6) หลักสูตรการบัญชีสืบสวน (Forensic Accounting) สำหรับนักบัญชี (7) หลักสูตรเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานสำหรับพนักงานเดินหมาย (8) หลักสูตรการบริหารและกำกับสำนวนคดี (9) โครงการยกระดับความสามารถและสร้างความพร้อมของบุคลากรเพื่อ รองรับการเป็นรัฐบาลดิจิทัล (10) โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อปรับปรุงกระบวนงาน ลดขั้นตอน และระยะเวลาในการปฏิบัติงานร่วมกันของเจ้าพนักงานบังคับคดีและ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ (11) โครงการคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนานวัตกรรมในองค์กรโดยใช้ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล |
2. แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ของกองบริหารทรัพยากรบุคคล (เชื่อมโยงแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงยุติธรรม)
แผนการพัฒนา | โครงการ/กิจกรรม | ผู้รับผิดชอบ |
แผนการพัฒนาที่ 1 การสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ (SMART LO : Smart Learning Organization) | 1. โครงการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ในองค์กร | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล |
2. โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ในองค์กร | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
3. โครงการพัฒนาบุคลากรให้มี Growth Mindset (กรอบความคิดในเชิงพัฒนา) | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
4. กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในองค์กร (KM) | - กพร. - ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
5. กิจกรรมการแลกเปลี่ยน สื่อสาร และถ่ายทอดยุทธศาสตร์/ แผนปฏิบัติราชการขององค์กร | กนย. | |
แผนการพัฒนาที่ 2 การพัฒนาศักยภาพบุคลากร (SMART HP : Smart High Performance) | 6. โครงการพัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะสอดคล้องตามสมรรถนะ หลักขององค์กร | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล |
7. โครงการพัฒนาบุคลากรตามสายงานที่ปฏิบัติให้มีสมรรถนะ ทักษะ และความรู้ที่จำเป็นในงาน | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
8. โครงการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan : IDP) | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
9. การจัดทำแผนพัฒนาทักษะดิจิทัลบุคลากรภาครัฐ | - ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล - ศทส. | |
10. โครงการพัฒนาทักษะดิจิทัลบุคลากรภาครัฐ | - ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล - ศทส. | |
11. โครงการพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะในการตัดสินใจพร้อม ตอบสนองต่อปัญหาที่ซับซ้อนและรองรับอนาคต | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล |
แผนการพัฒนา | โครงการ/กิจกรรม | ผู้รับผิดชอบ |
แผนการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม (SMART ME : Smart Morality and Ethics) | 12. โครงการจัดทำค่านิยมร่วมและวัฒนธรรมองค์กรกระทรวง ยุติธรรม “สุจริต จิตบริการ สานงานยุติธรรม” | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล (สนับสนุนคณะทำงาน) |
13. โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และการปฏิบัติตนตาม มาตรฐานทางจริยธรรม | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล (สนับสนุนคณะทำงาน) | |
14. โครงการจัดทำและประกาศนโยบายการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม | กลุ่มงานจริยธรรม | |
15. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม ที่ประสบความสำเร็จ (Best Practice) | - กลุ่มงานจริยธรรม - ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
แผนการพัฒนาที่ 4 การสร้างองค์กรแห่งความสุข และคุณภาพ ช ี ว ิ ตท ี ่ ด ี ( SMART HO : Smart Happy Organization) | 16. โครงการเสริมสร้างวัฒนธรรมการทำงานที่เปิดกว้างรับฟัง ความคิดเห็น | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล |
17. โครงการทบทวนและจัดทำแผนเสริมสร้างความผาสุกและ คุณภาพชีวิตที่ดีของบุคลากร | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
18. โครงการทบทวนและจัดทำแผนสร้างความผูกพันขององค์กร | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล | |
19. โครงการยกระดับการทำงานวิถีใหม่ | กลุ่มงานอัตรากำลังและระบบงาน |
3. แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ของกองบริหารทรัพยากรบุคคล (เชื่อมโยงแผนปฏิบัติการด้านสิทธิมนุษยชนของกรมบังคับคดี)
แผนงาน | โครงการ/กิจกรรม | ผู้รับผิดชอบ |
1. แผนสิทธิมนุษยชนด้านการเมืองการ ปกครอง | 1. โครงการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพและองค์ความรู้ของ บุคลากรทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล |
2. แผนสิทธิมนุษยชนด้านกระบวนการ ยุติธรรม | 2. โครงการสร้างและยกระดับวิทยากรตัวคูณ การสร้างเครือข่าย และบูรณาการการทำงานกับหน่วยงานรัฐและเอกชน | ฝ่ายข้อมูลบุคคลและบำเหน็จ ความชอบ |
3. แผนสิทธิมนุษยชนกลุ่มผู้ใช้แรงงาน | 3. โครงการศึกษาและจัดทำแนวพัฒนาการเทียบเคียงผลตอบแทน และสวัสดิการเกื้อกูล | ฝ่ายข้อมูลบุคคลและบำเหน็จ ความชอบ/ฝ่ายพัฒนาทรัพยากร บุคคล |
4. แผนสิทธิมนุษยชนกลุ่มคนพิการ | 4. การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ ด้วยการจ้างงานตามมาตรา 33 และมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556 | กลุ่มงานสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง |
4. แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ของกองบริหารทรัพยากรบุคคล (เชื่อมโยงคำรับรองปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
ของกองบริหารทรัพยากรบุคคล)
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานราชการ | น้ำหนัก (%) | เป้าหมาย ปี 2567 | เกณฑ์การให้คะแนน | หมายเหตุ | ผู้รับผิดชอบ | ||||
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | |||||
มิติภายนอก (น้ำหนัก 50) ด้านประสิทธิผลของการปฏิบัติราชการ วัตถุประสงค์ที่ 1 ผู้รับบริการได้รับบริการตามภารกิจของหน่วยงานที่มีมาตรฐาน | |||||||||
1.1 ร้อยละความสำเร็จของบุคลากรที่ได้รับ การพัฒนาตามแผนพัฒนาบุคลากร | 5 | 3 | ร้อยละ 10 | ร้อยละ 20 | ร้อยละ 30 | ร้อยละ 40 | ร้อยละ 50 | 6 เดือน | -ฝ่ายพัฒนาฯ |
ร้อยละ 60 | ร้อยละ 70 | ร้อยละ 80 | ร้อยละ 90 | ร้อยละ 100 | 12 เดือน | ||||
1.2 ระดับคะแนนในการสำรวจความผูกพัน ของบุคลากรที่มีต่อองค์กร | 10 | 3 | 2.75 | 3 | 3.25 | 3.5 | 3.75 | -ฝ่ายพัฒนาฯ | |
1.3 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการ ตามตัวชี้วัดการประเมินสถานการณ์เป็น ระบบราชการ 4.0 และประเภทรายหมวด (ตัวชี้วัดหมวด 7) | 5 | 3 | ร้อยละ 50-60 | ร้อยละ 61-70 | ร้อยละ 71-80 | ร้อยละ 81-90 | ร้อยละ 91-100 | -ทุกกลุ่ม/ฝ่าย | |
1.4 ระดับความสำเร็จตามแผนการ ปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งเป็นระดับ สูงขึ้นของกรมบังคับคดี | 5 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | -กลุ่มงานอัตราฯ | |
1.5 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการย้าย การโอน หรือการเลื่อนข้าราชการพลเรือน สามัญ เพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภท อำนวยการ | 5 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | -กลุ่มงานสรรหาฯ | |
ด้านคุณภาพการให้บริการ วัตถุประสงค์ที่ 2 ความพึงพอใจของผู้รับบริการ | |||||||||
2.1 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ | 5 | 3 | ร้อยละ 65 | ร้อยละ 70 | ร้อยละ 75 | ร้อยละ 80 | ร้อยละ 85 | -ทุกกลุ่ม/ฝ่าย | |
2.2 ร้อยละความเชื่อมั่นของประชาชน ผู้รับบริการที่มีต่อกระบวนการบังคับคดี | 5 | 3 | ร้อยละ 88 | ร้อยละ 89 | ร้อยละ 90 | ร้อยละ 91 | ร้อยละ 92 | -ทุกกลุ่ม/ฝ่าย | |
วัตถุประสงค์ที่ 3 การมุ่งเน้นบุคลากรในเรื่องการให้บริการ | |||||||||
3.1 ร้อยละของเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการ แก้ไขสำเร็จ | 10 | 3 | ร้อยละ 60 | ร้อยละ 70 | ร้อยละ 80 | ร้อยละ 90 | ร้อยละ 100 | -ทุกกลุ่ม/ฝ่าย |
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานราชการ | น้ำหนัก (%) | เป้าหมาย ปี 2567 | เกณฑ์การให้คะแนน | หมายเหตุ | ผู้รับผิดชอบ | ||||
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | |||||
มิติภายนอก (น้ำหนัก 50) ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ วัตถุประสงค์ที่ 4 การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ | |||||||||
4.1 ระดับความสำเร็จในการสร้างความ โปร่งใสในกระบวนการบริหารทรัพยากร บุคคล | 10 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | - ฝ่ายข้อมูลฯ | |
4.2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำและ ดำเนินการตามแผนปฏิบัตราชการประจำปี | 10 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | -ทุกกลุ่ม/ฝ่าย | |
4.3 ร้อยละความสำเร็จของการลดการใช้ กระดาษ | 5 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | ทุกกลุ่ม/ฝ่าย | |
วัตถุประสงค์ที่ 5 การพัฒนาระบบสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร | |||||||||
5.1 ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนการ สร้างความผูกพันและความผาสุก | 5 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | - ฝ่ายพัฒนาฯ | |
ด้านการพัฒนาองค์การ วัตถุประสงค์ที่ 6 บุคลากรกรมบังคับคดีมีสมรรถนะในการทำงานสูง | |||||||||
6.1 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา และมีทักษะเพิ่มขึ้น | 10 | 3 | ร้อยละ 60 | ร้อยละ 70 | ร้อยละ 80 | ร้อยละ 90 | ร้อยละ 100 | - ฝ่ายพัฒนาฯ | |
6.2 ระดับความสำเร็จของจำนวนเรื่องการ ดำเนินการตรวจสอบความรับผิดทางละเมิด สำเร็จได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด | 5 | 3 | ร้อยละ 60 | ร้อยละ 70 | ร้อยละ 80 | ร้อยละ 90 | ร้อยละ 100 | - กลุ่มงานวินัยฯ | |
วัตถุประสงค์ที่ 7 พัฒนามาตรฐานการทำงาน | |||||||||
7.1 ระดับความสำเร็จในการจัดการองค์ ความรู้ (KM) ของหน่วยงาน | 5 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | -ทุกกลุ่ม/ฝ่าย |
5. รายละเอียดโครงการตามแผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2567) ของกรมบังคับคดี
แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ 2 ประชาสัมพันธ์เชิงรุกและมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย
๑) เป้าหมาย
๒) ตัวชี้วัด
(1) เครือข่ายภาคประชาชน มีส่วนร่วมในการเสริมสร้างความรู้และสื่อสารไปยังประชาชน ในพื้นที่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย
(2) ประชาชนรับรู้ เข้าใจและสามารถเข้าถึงการให้บริการด้านการบังคับคดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ทั่วถึงและเป็นธรรม
(3) เพิ่มประสิทธิภาพช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายและครอบคลุมในทุกกลุ่มเป้าหมาย (ภาครัฐ ภาคประชาชน ผู้มีส่วนได้เสีย)
(1) จำนวนเครือข่ายภาคประชาชน ถ่ายทอดความรู้ และสื่อสารสู่ประชาชนในพื้นที่ ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย
(2) จำนวนผู้ที่เข้ารับการอบรมด้านความรู้การจัดการหนี้ กฎหมายและการเข้าถึงบริการด้านการบังคับคดี
(3) ร้อยละการรับรู้ บทบาท ภารกิจและการบริการของกรมบังคับคดี
3) แนวทางการพัฒนา
(1) ยกระดับประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพื่อลดงานบังคับคดี สร้างการยอมรับ เสริมความมั่นคง ในกลุ่มเปราะบาง ป้องกันและสร้างความโปร่งใส
(2) สื่อสารเพื่อสร้างภาพลักษณ์ด้านการเป็นผู้สร้างโอกาสและความเป็นธรรมในการบังคับคดี
(3) พัฒนาช่องทางและการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ
แผนปฏิบัติราชการ/แผนงาน | โครงการ | ตัวชี้วัด | ค่า เป้าหมาย | ระยะเวลา (ไตรมาส) | งบประมาณ (ล้านบาท) | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||||
1. การส่งเสริมพื้นที่ปลอดการ บังคับคดีเพิ่มจำนวนตัวแทน ผู้ให้ข้อมูลเชิงรุกและยกระดับ วิทยากรตัวคูณ (ตัวคูณและ หน่วยงานตัวแทน) | 1. โครงการสร้างและยกระดับ วิทยากรตัวคูณและการสร้าง เครือข่ายและบูรณาการการ ทำงานกับหน่วยงานรัฐและ เอกชน | 1. ร้อยละของการเติมเต็มตาม อัตรากำลังที่กำหนดไว้ | 80 | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายข้อมูลบุคคลและ บำเหน็จความชอบ/ ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล/ กลุ่มงานอัตรากำลังและ ระบบงาน | ||||
2. การพัฒนาขอบเขตการ ท ำ ง า น แ ล ะ ก า ร ก ำ ห น ด คุณสมบัติของวิทยากรตัวคูณ | - | ดำเนินการแล้วตามตัวชี้วัด ปี 2566 | |||||||
2. โครงการเตรียมความพร้อม เพื่อส่งเสริมเชิดชูวิทยากร ต้นแบบ | ร ้ อ ย ล ะ ค ว า ม ส ำ เ ร ็ จ ข อ ง หลักเกณฑ์ส่งเสริมเชิดชูวิทยากร ต้นแบบ | 70 | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายข้อมูลบุคคลและ บำเหน็จความชอบ/กลุ่มงาน อัตรากำลังและระบบงาน |
แผนปฏิบัติราชการ/แผนงาน | โครงการ | ตัวชี้วัด | ค่า เป้าหมาย | ระยะเวลา (ไตรมาส) | งบประมาณ (ล้านบาท) | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||||
2. การพัฒนาระบบศูนย์กลาง ประสานงานและจัดการข้อมูล อันเป็นเท็จ | 3. โครงการประชุมทางวิชาการ เรื่องการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ กรมบังคับคดี สู่การปฏิบัติ | 1. ร้อยละจำนวนผู้เข้าร่วม โครงการ | 90 | 0.856 | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล | ||||
2. ร้อยละความพึงพอใจของ ผู้เข้าร่วมโครงการ | 80 |
แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ 3 ส่งเสริมสมรรถนะและศักยภาพการดำเนินการองค์กร
๑) เป้าหมาย
๒) ตัวชี้วัด
(1) เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารบุคลากร
(2) สร้างโอกาสความก้าวหน้าและการเตรียมความพร้อมขึ้นสู่ตำแหน่งบริหาร
(3) บุคลากรยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรม และสุจริต
(4) เพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความปลอดภัยในการใช้พื้นที่อาคารทั้งในส่วนของบุคลากรและประชาชนผู้รับบริการ
(1) ตัวต้นแบบการประเมินความสมดุลของอัตรากำลัง
(2) ร้อยละของจำนวนบุคลากรมีแผนพัฒนารายบุคคล
(3) คะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน (ITA)
(4) ระดับความพึงพอใจบุคลากรและผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจในการใช้พื้นที่
3) แนวทางการพัฒนา
(๑) สร้างความสมดุลด้านอัตรากำลังเพื่อตอบสนองพันธกิจองค์กร
(๒) สร้างโอกาสความก้าวหน้าและการเตรียมความพร้อมการขึ้นตำแหน่งบริหาร
(๓) พัฒนาสมรรถนะบุคลากร
(4) ส่งเสริมให้บุคลากรเป็นคนดี มีจริยธรรม ซื่อสัตย์ และสุจริต
(5) พัฒนาสถานที่และสร้างความคุ้มค่าในการใช้พื้นที่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
แผนปฏิบัติราชการ/แผนงาน | โครงการ | ตัวชี้วัด | ค่าเป้าหมาย | ระยะเวลา (ไตรมาส) | งบประมาณ (ล้านบาท) | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||||
1. การวางแผนและจัดการ อ ั ต ร า ก ำ ล ั ง อย ่ า ง ม ี ค ว า ม เหมาะสมกับงาน | 1 . โ ครงการวิเคราะห์ โครงสร้างอัตรากำลังโดยใช้ ค่าสถิติที่น่าเชื่อถือจากตัว บ่งชี้ | 1. ตัวต้นแบบในการประเมิน อัตรากำลังแล้วเสร็จ หมายเหตุ : กระบวนการบังคับ คดีแพ่งวัดจาก 3 กลุ่มขนาด ง าน ยกเว ้ นกระบวนการ ล้มละลายที่ไม่แบ่งตามกลุ่ม ขนาดงาน | 2 กระบวนงาน สำคัญ | ไม่ใช้ งบประมาณ | กลุ่มงานอัตรากำลัง และระบบงาน | ||||
2 . ร า ย ง า น ก า ร ท บ ท ว น วิเคราะห์ และสรุปผลการนำ ตัวต้นแบบมาใช้ | 1 | ||||||||
2. โครงการศึกษาและ จ ั ดทำแนวพัฒนา ก า ร เทียบเคียงผลตอบแทนและ สวัสดิการเกื้อกูล | 1 . ร ายงานผลการศึกษา ผลตอบแทนสวัสดิการและ สวัสดิการเกื้อกูลที่สอดรับกลุ่ม บุคลากร | 1 | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายข้อมูลบุคคลและ บำเหน็จความชอบ /ฝ่ายพัฒนาทรัพยากร บุคคล |
แผนปฏิบัติราชการ/แผนงาน | โครงการ | ตัวชี้วัด | ค่า เป้าหมาย | ระยะเวลา (ไตรมาส) | งบประมาณ (ล้านบาท) | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||||
2. การวางแผนการบริหาร ความก้าวหน้าในสายอาชีพ | 3. โครงการพัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับตำแหน่งที่สำคัญ ใ น อ น า ค ต อ ย ่ า ง มี ประสิทธิภาพ | 1. ร้อยละความสำเร็จของการ จัดทำแผนการพัฒนาบุคลากร คุณภาพ (ต้องแล้วเสร็จปี 2566) | 100 | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากร บุคคล | ||||
2. มีอัตราส่วนของบุคลากรคุณภาพ ต่อตำแหน่งที่สำคัญ อย่างน้อย 3 คน ต่อ 1 ตำแหน่งที่สำคัญ | 1 ต่อ 1 | ไม่ใช้ งบประมาณ | กลุ่มงานสรรหา บรรจุ และแต่งตั้ง | ||||||
4. โครงการพัฒนาบุคลากร ทั้งหมดเพื่อขับเคลื่อนพันธ กิจหลักของกรมบังคับคดี | 1. ร้อยละความสำเร็จของการ จัดทำแผนการพัฒนาบุคลากร คุณภาพสูง (ต้องแล้วเสร็จปี 2566) | 100 | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากร บุคคล | |||||
2 . ร ้ อยละของบุคลากรที่มี คุณภาพสูง โดยวัดผลจากเกณฑ์การ ประเมินประจำปี (ร้อยละต่อ บุคลากรทั้งหมด) | 5 | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายข้อมูลบุคคลและ บำเหน็จความชอบ | ||||||
5. โครงการเสริมสร้าง ค่านิยมองค์กร | 1. ร้อยละความสำเร็จของการ จัดทำแผน (ต้องแล้วเสร็จปี 2566) | 100 | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากร บุคคล | |||||
2. ร้อยละของผลคะแนนการ ประพฤติปฏิบัติของบุคลากรที่ สอดคล้องตามค่านิยมองค์กร | 70 |
แผนปฏิบัติราชการ/แผนงาน | โครงการ | ตัวชี้วัด | ค่า เป้าหมาย | ระยะเวลา (ไตรมาส) | งบประมาณ (ล้านบาท) | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||||
6. โครงการอบรม “ความรู้ และทักษะด้านการบริหารที่ จำเป็น” | 1. ร้อยละความสำเร็จของการ จัดทำแผนการอบรม หลักสูตร “ความรู้และทักษะด้านการบริหาร ที่จำเป็น” (ต้องแล้วเสร็จปี 2566) | 100 | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากร บุคคล | |||||
2. ร้อยละของบุคลากรที่ผ่าน การอบรมหลักสูตร | 80 | ||||||||
3. การเตรียมตัวและจัดการผู้รับ งานต่อสำหรับผู้เกษียณ | 7. โครงการจัดทำแผน เกษียณล่วงหน้า | 1. ร้อยละความสำเร็จของการ จัดทำแผน (ต้องแล้วเสร็จปี 2566) | 100 | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายข้อมูลบุคคลและ บำเหน็จความชอบ/ กลุ่มงานอัตรากำลัง และระบบงาน | ||||
2. จำนวนครั้งของการทบทวน อัตรากำลังตามแผนเกษียณ | 1 | ||||||||
3 . ร ้ อ ย ล ะ ข อ ง ก า ร ท ด แ ท น อัตรากำลังตามแผนเกษียณได้ ครบถ้วน | 100 | ไม่ใช้ งบประมาณ | กลุ่มงานสรรหา บรรจุ และแต่งตั้ง | ||||||
4. การบริหารและเตรียมความ พร้อม “บุคลากรเข้าใหม่เพื่อ ส ร ้ า ง มาตรฐานและสร้าง วัฒนธรรมองค์กร” | 8. โครงการพี่เลี้ยงและ จัดการข้อมูลเพื่อใช้เป็นฐาน ใ น ก า ร พ ั ฒ น า จ ั ด ก า ร บุคลากร | ร ้อยละของบุคลากรเข้าร่วม โครงการพี่เลี้ยงและการจัดการ ข้อมูลเพื่อใช้เป็นฐานในการพัฒนา จัดการบุคลากร | 80 | 1.0000 | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากร บุคคล |
แผนปฏิบัติราชการ/แผนงาน | โครงการ | ตัวชี้วัด | ค่า เป้าหมาย | ระยะเวลา (ไตรมาส) | งบประมาณ (ล้านบาท) | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||||
5. การจัดทำ Training Roadmap ระยะ 3 – 5 ปี ให้กับตำแหน่งที่สำคัญ | 9. โครงการประเมิน “ความรู้และทักษะที่จำเป็น (Skill and Knowledge Inventory)” ของแต่ละ ตำแหน่ง | 1. ร้อยละความสำเร็จของการ จัดทำแผน (ต้องแล้วเสร็จปี 2566) | 100 | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากร บุคคล | ||||
2. ร้อยละความสำเร็จของการ ประเมินกลุ่มความรู้ ทักษะและ ทัศนคติที่จำเป็นของแต่ละตำแหน่ง | 70 | ||||||||
10. โครงการประเมิน “ความรู้และทักษะที่จำเป็น ของบุคลากรแต่ละท่าน (Skill and Knowledge Mapping)” และมี แผนพัฒนารายบุคคล | 1. ร้อยละความสำเร็จของการ จัดทำแผนพัฒนารายบุคคล | 70 | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากร บุคคล | |||||
11. โครงการถ่ายทอด องค์ความรู้กระบวนการ สนับสนุนสู่การปฏิบัติที่เป็น เลิศ | 1. จำนวนรุ่นที่เข้ารับการถ่ายทอด (รุ่น) (ดำเนินการในปี 2566 แล้ว จำนวน 5 รุ่น จากตัวชี้วัด 10 รุ่น) | - | 5.2812 | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากร บุคคล | |||||
12. โครงการส่งเสริม กิจกรรมเพื่อสังคม | 1. จำนวนรุ่นที่เข้าร่วมกิจกรรม | 10 | 15.0000 | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากร บุคคล | |||||
2. ร้อยละความพึงพอใจของ ผู้เข้าร่วม | 85 |
แผนปฏิบัติราชการ/แผนงาน | โครงการ | ตัวชี้วัด | ค่า เป้าหมาย | ระยะเวลา (ไตรมาส) | งบประมาณ (ล้านบาท) | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||||
6. การพัฒนาบุคลากรให้มีความ เป็นมืออาชีพ | 13. โครงการเสริมสร้างสมรรถนะ และพัฒนาศักยภาพและองค์ ความรู้ของบุคลากรให้มีความเป็น มืออาชีพ ประกอบด้วย (1) หลักสูตรวิชาชีพการบังคับคดี แพ่งและล้มละลายระดับต้น (2) หลักสูตรปฐมนิเทศบุคลากร กรมบังคับคดี (3) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การป้องกันและระงับอัคคีภัยเพื่อ ความปลอดภัยของกรมบังคับคดี (4) โครงการพัฒนากรอบความคิด สร้างสรรค์ (Growth Mindset) (5) หลักสูตรพนักงานสอบสวน คดีอาญาตามกฎหมายล้มละลาย (6) หลักสูตรการบัญชีสืบสวน (Forensic Accounting) สำหรับ นักบัญชี (7) หลักสูตรเพิ่มประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานสำหรับพนักงาน เดินหมาย | 1. ร้อยละของบุคลากร กรมบังคับคดีเข้าร่วมการ อบรมหลักสูตรพัฒน า เสริมสร้างศักยภาพและองค์ ความรู้ของบุคลากร | 70 | 5.9194 | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากร บุคคล |
แผนปฏิบัติราชการ/แผนงาน | โครงการ | ตัวชี้วัด | ค่า เป้าหมาย | ระยะเวลา (ไตรมาส) | งบประมาณ (ล้านบาท) | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||||
(8) หลักสูตรการบริหารและกำกับ สำนวนคดี (9) โครงการยกระดับ ความสามารถและสร้างความ พร้อมบุคลากรเพื่อรองรับการเป็น รัฐบาลดิจิทัล | |||||||||
14. โครงการประชุมเชิง ปฏิบัติการเพื่อปรับปรุง กระบวนงาน ลดขั้นตอน และ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ร่วมกันของเจ้าพนักงานบังคับคดี และเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ | ร้อยละของเจ้าหน้าพนักงาน พิทักษ์ทรัพย์กรมบังคับคดี เข้าร่วมการอบรม | 80 | 1.5642 | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากร บุคคล | |||||
15. โครงการการคิดสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนานวัตกรรมในองค์กรโดย ใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) | ร้อยละของบุคลากรเข้าร่วม โครงการ | 80 | 0.9930 | ฝ่ายพัฒนาทรัพยากร บุคคล |
6. รายละเอียดโครงการตามแผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรกระทรวงยุติธรรม ประจำปี พ.ศ. 2567
แผนการพัฒนาที่ 1 การสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ (SMART LO : Smart Learning Organization)
เป้าหมาย : 1) สร้างแรงจูงใจ/บรรยากาศการเรียนรู้ 2) สร้างทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3) สร้างชุมชนการเรียนรู้
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาสามารถสร้างบรรยากาศเรียนรู้ภายในองค์กร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
2. ร้อยละของบุคลากรได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะในการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 81
3. ร้อยละของบุคลากรได้รับการพัฒนา Growth Mindset (กรอบความคิดในเชิงพัฒนา) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
4. จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไม่น้อยกว่า 60 ครั้ง
โครงการ/กิจกรรม/แผนงาน | วิธีการ | ระยะเวลาในการดำเนินการ (ไตรมาส) | งบประมาณ | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||
1. โครงการสร้างบรรยากาศการ | ทุกส่วนราชการสามารถดำเนินการตามโครงการได้ไม่จำกัดรูปแบบ เช่น | ไม่ใช้งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนา | ||||
เรียนรู้ในองค์กร | การพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ที่หลากหลาย การพัฒนาหลักสูตรการ | ทรัพยากรบุคคล | |||||
เรียนรู้ผ่านระบบ e - Learning ของกระทรวงยุติธรรม การจัดทำ | |||||||
เครื่องมือที่นำมาใช้ ในกระบวนการทำงาน เพื่อทบทวนวิธีการทำงานทั้ง | |||||||
ด้านความสำเร็จและปัญหาที่เกิดขึ้น (AAR) และนำไปประยุกต์ใช้การ | |||||||
ถอดบทเรียนความสำเร็จของผู้นำไปใช้โดดเด่น จัดเวทีแสดงผลงานจาก | |||||||
ความสำเร็จในการเรียนรู้เป็นต้น | |||||||
1.1 โครงการพัฒนาระบบ | พัฒนา ปรับปรุงระบบ Learning Management System (LMS) - | สป.ยธ. | |||||
Learning Management | MOJ e-Learning และเพิ่มหลักสูตรให้มีความหลากหลาย ครอบคลุม | ||||||
System (LMS) – MOJ | บุคลากรทุกระดับของกระทรวงยุติธรรม | ||||||
e-Learning | |||||||
1.2 โ ค ร ง ก า ร พ ั ฒ น า | พัฒนาหลักสูตรองค์ความรู้ที่จำเป็นตามภารกิจของส่วนราชการ หรือ | ฝ่ายพัฒนา | |||||
แพลตฟอร์มการเรียนรู้ที่ | องค์ความรู้สมรรถนะที่บุคลากรจำเป็นต้องมีที่สนับสนุนต่อการเรียนรู้ | ทรัพยากรบุคคล | |||||
หลากหลาย เพื่อ | ด้วยตนเองของบุคลากร | ||||||
สนับสนุนการเรียนรู้ด้วยตนเอง |
โครงการ/กิจกรรม/แผนงาน | วิธีการ | ระยะเวลาในการดำเนินการ (ไตรมาส) | งบประมาณ | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||
2. โครงการพัฒนาบุคลากร เพื่อสร้างบรรยากาศการ เรียนรู้ในองค์กร | ทุกส่วนราชการดำเนินการจัดกิจกรรรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ ในองค์ความรู้ที่จำเป็นตามภารกิจของกรมหรือองค์ความรู้สมรรถนะ ที่บุคลากรจำเป็นต้องมีพร้อมทั้งให้ผู้ที่ได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ ดังกล่าว ไปถ่ายทอดให้กับในหน่วยงานต่อไป และรายงานผลการ ถ่ายทอดความรู้ให้กับสำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมรวบรวม รายงานผลตามตัวชี้วัดร้อยละของบุคลากรได้รับการพัฒนาสามารถ สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ในองค์กร | ไม่ใช้งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคล | ||||
2.1 ก ิ จกรรมเสริมสร้าง ความรู้ความเข้าใจการเป็น องค์กร แห่งการเรียนรู้ | จัดการฝึกอบรม/กิจกรรม/การเรียนรู้ผ่านช่องทางอิเล็คทรอนิกส์ | ||||||
2.2 กิจกรรมพัฒนาความรู้ และทักษะการสื่อสาร/ ถ่ายทอด | จัดการฝึกอบรม/กิจกรรม/การเรียนรู้ผ่านช่องทางอิเล็คทรอนิกส์/ การสอนงาน | ||||||
2.3 กิจกรรมการทบทวนหลัง การปฏิบัติงาน (After Action Review : AAR) | จัดการฝึกอบรม/กิจกรรม/การเรียนรู้ผ่านช่องทางอิเล็คทรอนิกส์ |
โครงการ/กิจกรรม/แผนงาน | วิธีการ | ระยะเวลาในการดำเนินการ (ไตรมาส) | งบประมาณ | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||
3. โครงการพัฒนาบุคลากร ให้มี Growth Mindset (กรอบความคิดในเชิงพัฒนา) | สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม (สถาบันพัฒนาบุคลากรกระทรวง ยุติธรรม) จัดทำหลักสูตรพัฒนาบุคลากรกระทรวงยุติธรรมให้มี Growth Mindset (กรอบความคิดในเชิงพัฒนา) ทุกส่วนราชการ จัดส่งบุคลากรเข้ารับการพัฒนา รวมทั้ง สำนักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรม ถอดบทเรียนจากบุคคลต้นแบบที่มี Growth Mindset (กรอบความคิดในเชิงพัฒนา) โดดเด่นการถ่ายทอดองค์ความรู้แนว ปฏิบัติจากบุคคลต้นแบบไปสู่บุคลากรในหน่วยงาน | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคล (จัดส่งบุคลากร เข้าอบรม) | ||||
3.1 การจัดทำหลักสูตรการ พ ั ฒ น า Growth Mindset (กรอบความคิดในเชิงพัฒนา) | จัดทำหลักสูตรการพัฒนา Growth Mindset (กรอบความคิดในเชิง พัฒนา) | สป.ยธ. | |||||
3.2 โครงการพัฒนาบุคลากร ให้มีGrowth Mindset (กรอบ ความคิดในเชิงพัฒนา) | จัดการฝึกอบรม/กิจกรรม/การเรียนรู้ผ่านช่องทางอิเล็คทรอนิกส์ | สป.ยธ. |
โครงการ/กิจกรรม/แผนงาน | วิธีการ | ระยะเวลาในการ ดำเนินการ (ไตรมาส) | งบประมาณ | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||
4. กิจกรรมการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ภายในองค์กร (KM) | ทุกส่วนราชการดำเนินการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ องค์ความรู้ที่จำเป็นตามภารกิจของกรม หรือองค์ความรู้ สมรรถนะที่บุคลากรจำเป็นต้องมีหรือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอดประสบการณ์เพื่อให้เป็นเวทีในการสร้างการเรียนรู้ ร่วมกันของบุคลากรในองค์กรร่วมกัน และรายงานผลการจัด กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับสำนักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรมรวบรวม รายงานผลตามตัวชี้วัดจำนวนครั้งในการ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพิ่มขึ้นทุกปี | ไม่ใช้งบประมาณ | - กพร. - ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคล |
แผนการพัฒนาที่ 2 : การพัฒนาศักยภาพบุคลากร (SMART HP : Smart High Performance)
เป้าหมาย : 1) พัฒนาให้มีความเชี่ยวชาญตามสมรรถนะหลักขององค์กร
2) เสริมสร้างความรอบรู้ด้านดิจิทัล
3) เตรียมความพร้อมต่อการแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนสูง และรองรับอนาคต
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนามีสมรรถนะตามสายงาน ร้อยละ 75
2. ร้อยละของบุคลากรมีคะแนนเฉลี่ยผลการประเมินทักษะดิจิทัลในระดับที่เหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40
3. ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะในการตัดสินใจพร้อมตอบสนองต่อปัญหาที่ซับซ้อนและรองรับอนาคต ระดับ 3
- ระดับ 1 มีการวิเคราะห์และกำหนดทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานของบุคลากร
- ระดับ 2 มีการกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่จำเป็นต้องได้รับการพัฒนา
โครงการ/กิจกรรม/แผนงาน | วิธีการ | ระยะเวลาในการดำเนินการ (ไตรมาส) | งบประมาณ | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||
1 . โ ครงการพัฒนาบุคลากรให้มี สมรรถนะสอดคล้องตามสมรรถนะหลัก ขององค์กร 1.1 หลักสูตรผู้บริหารงานยุติธรรม (ระดับต้น ระดับกลาง ระดับสูง) 1.2 โครงการอบรมหลักสูตรวิชาชีพการ บังคับคดีแพ่งและล้มละลาย | ทุกส่วนราชการดำเนินการจัดฝึกอบรมเพื่อพัฒนา สมรรถนะ ทักษะ และทัศนคติให้สอดคล้องตาม สมรรถนะหลักของส่วนราชการ | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคล |
โครงการ/กิจกรรม/แผนงาน | วิธีการ | ระยะเวลาในการดำเนินการ (ไตรมาส) | งบประมาณ | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||
2. โครงการพัฒนาบุคลากรตาม สายงานที่ปฏิบัติให้มีสมรรถนะ ทักษะ และความรู้ที่จำเป็นในงาน | ทุกส่วนราชการดำเนินการประเมินความรู้สมรรถนะ และทักษะ ที่จำเป็นในงานทุกสายงานที่ปฏิบัติเพื่อหาช่องว่างในการพัฒนา (Gap) และนำผู้ที่มี Gap มาพัฒนา เพื่อเพิ่มความรู้สมรรถนะ ทักษะที่จำเป็นให้เป็นไปตามระดับค่าที่คาดหวังของแต่ละสาย งาน รวมทั้งให้มีสมรรถนะ และความเชี่ยวชาญสอดคล้องตาม ระดับตำแหน่งและทุกส่วนราชการรายงานผลจำนวนบุคลากรที่ ได้รับการพัฒนาตามสมรรถนะสายงานที่ปฏิบัติให้กับสำนักงาน ปลัดกระทรวงยุติธรรม โดยจำนวนบุคลากรทุกระดับที่ได้รับการ พัฒนามีสมรรถนะตามสายงานที่ปฏิบัติเทียบกับจำนวนบุคลากร ทั้งหมดของส่วนราชการ ตามตัวชี้วัดร้อยละของบุคลากรที่ได้รับ การพัฒนามีสมรรถนะตามสายงานที่ปฏิบัติสูงขึ้น | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคล | ||||
3. โครงการจัดทำแผนพัฒนา รายบุคคล (Individual Development Plan : IDP) | ทุกส่วนราชการดำเนินการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan : IDP) ของส่วนราชการ | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคล | ||||
4. การจัดทำแผนพัฒนาทักษะ ดิจิทัลบุคลากรภาครัฐ | ทุกส่วนราชการดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาทักษะดิจิทัลบุคลากร ภาครัฐของส่วนราชการ | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคล |
โครงการ/กิจกรรม/แผนงาน | วิธีการ | ระยะเวลาในการดำเนินการ (ไตรมาส) | งบประมาณ | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||
5. โครงการพัฒนาทักษะ ดิจิทัลบุคลากรภาครัฐ | ทุกส่วนราชการดำเนินการพัฒนาบุคลากรตามแผนพัฒนาทักษะ ดิจิทัลบุคลากรภาครัฐของส่วนราชการ และรายงานผลการประเมิน ทักษะด้านดิจิทัลสำหรับข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ (Digital Government) จัดทำโดยสำนักงาน ก.พ. ร่วมกับ สำนักงานพัฒนา รัฐบาลดิจิทัล(องค์การมหาชน) ให้กับสำนักงานปลัดกระทรวง ยุติธรรม ตามตัวชี้วัดร้อยละของบุคลากร มีคะแนนเฉลี่ยผลการ ประเมินทักษะดิจิทัลในระดับที่เหมาะสม | ไม่ใช้ งบประมาณ | - ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคล - ศทส. | ||||
6. โครงการพัฒนาบุคลากร ให้มีทักษะในการตัดสินใจ พร้อมตอบสนองต่อปัญหาที่ ซับซ้อนและรองรับอนาคต | สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม (สถาบันพัฒนาบุคลากรกระทรวง ยุติธรรม) จัดทำหลักสูตรพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลงของกระทรวง ยุติธรรม และทุกส่วนราชการดำเนินการจัดส่งบุคลากรกลุ่มเป้าหมาย เข้ารับการพัฒนา | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคล (จัดส่งบุคลากร เข้าอบรม) |
แผนการพัฒนาที่ 3 : การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม (SMART ME : Smart Morality and Ethics)
เป้าหมาย : 1) ส่งเสริมค่านิยมและวัฒนธรรมองค์กร 2) ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
ตัวชี้วัด : 1. ความเชื่อมั่นของประชาชนที่มีต่อกระบวนการยุติธรรมของกระทรวงยุติธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 81
2. ร้อยละของบุคลากรในกระทรวงยุติธรรมมีความเข้าใจและมีพฤติกรรมสอดคล้องตามค่านิยมร่วมและวัฒนธรรมองค์กรกระทรวงยุติธรรม ร้อยละ 50
3. ร้อยละของบุคลากรมีคุณธรรม จริยธรรม ร้อยละ 50
โครงการ/กิจกรรม/แผนงาน | วิธีการ | ระยะเวลาในการดำเนินการ (ไตรมาส) | งบประมาณ | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||
1. โครงการจัดทำค่านิยมร่วม แ ล ะ ว ั ฒ น ธ ร ร ม อ ง ค ์ ก ร กระทรวงยุติธรรม “สุจริต จิต บริการ สานงานยุติธรรม” | สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม (สถาบันพัฒนาบุคลากรกระทรวง ยุติธรรม) ผู้รับผิดชอบหลัก ดำเนินการจัดทำค่านิยมร่วมและ วัฒนธรรมองค์กรกระทรวงยุติธรรม และทุกส่วนราชการสนับสนุน คณะทำงานในการร่วมกันจัดทำค่านิยมดังกล่าว | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคล (สนับสนุน คณะทำงาน) | ||||
2. โ ค ร ง ก า ร เ ส ร ิ มสร ้ า ง คุณธรรม จริยธรรม และการ ปฏิบัติตนตามมาตรฐานทาง จริยธรรม | สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม (ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงยุติธรรม) ดำเนินการจัดโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและการปฏิบัติตนตามมาตรฐานทางจริยธรรม และทุกส่วน ราชการดำเนินการส่งบุคลากรเข้าร่วมโครงการ | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคล (ส่งบุคลากรเข้า อบรม) | ||||
3. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรยนรู้ เกี่ยวกับการส่งเสริมคุณธรรม จ ร ิ ย ธ ร ร ม ท ี ่ ป ร ะ ส บ ความสำเร็จ (Best Practice) | สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม (ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงยุติธรรม) ดำเนินการจัดโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมที่ประสบความสำเร็จ (Best Practice) และ ทุกส่วนราชการดำเนินการส่งบุคลากรเข้าร่วม โครงการ | ไม่ใช้ งบประมาณ | - กลุ่มงาน จริยธรรม - ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคล (ส่งบุคลากรเข้าอบรม) |
แผนการพัฒนาที่ 4 : การสร้างองค์กรแห่งความสุข และคุณภาพชีวิตที่ดี (SMART HO : Smart Happy Organization)
เป้าหมาย : 1) สร้างวัฒนธรรมการทำงานที่เปิดกว้างรับฟังความคิดเห็นที่แตกต่าง 2) เสริมสร้างความผาสุกและคุณภาพชีวิตที่ดี 3) เสริมสร้างความผูกพัน ความภาคภูมิใจและความเป็นเจ้าขององค์กร
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของบุคลากรที่มีความผาสุกและคุณภาพชีวิตที่ดีตามดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happinomater) ร้อยละ 65
2. ร้อยละความผูกพันของบุคลากรต่อส่วนราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ร้อยละ 55
โครงการ/กิจกรรม/แผนงาน | วิธีการ | ระยะเวลาในการดำเนินการ (ไตรมาส) | งบประมาณ | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||
1. โ ค ร ง ก า ร เ ส ร ิ ม ส ร ้ า ง วัฒนธรรมการทำงานที่เปิดกว้าง รับฟังความคิดเห็น | ทุกส่วนราชการดำเนินการเสริมสร้างวัฒนธรรมการทำงานที่เปิด กว้าง รับฟังความคิดเห็น โดยไม่จำกัดรูปแบบ เช่น มีเวที พบปะระหว่างผู้บริหารกับบุคลากรระดับผู้ปฏิบัติ ช่องทางรับฟัง ความคิดเห็น สื่อสารภายในองค์กรอย่างไม่เป็นทางการ กิจกรรม ละลายพฤติกรรม กิจกรรม Happy Workplace การเสริมสร้าง ความรู้ด้านการบริหารความหลากหลายภายในองค์กร เป็นต้น | ไม่ใช้ งบประมาณ | - ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคล - กลุ่ม ประชาสัมพันธ์ | ||||
1.1 กิจกรรมผู้บริหารพบผู้ ปฏิบัติ | จัดกิจกรรม/สื่อประชาสัมพันธ์ | ||||||
1.2 กิจกรรมสื่อสารภายใน องค์กร | จัดกิจกรรม/สื่อประชาสัมพันธ์ | ||||||
2. โครงการทบทวนและจัดทำ แผนเสริมสร้างความผาสุกและ คุณภาพชีวิตที่ดีของบุคลากร | วิเคราะห์หาปัจจัยที่ส่งผลต่อความผาสุก และคุณภาพชีวิตที่ดี พร้อมทั้งจัดทำแผนเสริมสร้างความผาสุกและคุณภาพชีวิตที่ดีที่ สอดคล้องกับบริบทของหน่วยงาน | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคล |
โครงการ/กิจกรรม/แผนงาน | วิธีการ | ระยะเวลาในการดำเนินการ (ไตรมาส) | งบประมาณ | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||
3. โ ครงการทบทวนและ จัดทำแผนสร้างความผูกพัน ขององค์กร | วิเคราะห์หาปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันของบุคลากรทุกระดับใน องค์กร และจัดทำแผนสร้างความผูกพันที่สอดคล้องกับบริบทของ หน่วยงาน | ไม่ใช้ งบประมาณ | ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากรบุคคล | ||||
4. โครงการยกระดับการ ทำงานวิถีใหม่ | ทุกส่วนราชการดำเนินการยกระดับระบบการทำงานวิถีใหม่โดย สามารถออกแบบกิจกรรม/รูปแบบ/วิธีการ ในการทำงานวิถีใหม่ตาม มติคณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๖๕ มีมติ เห็นชอบ“แนวทางการปฏิบัติราชการที่รองรับชีวิตและการทำงานวิถี ใหม่”เป็นการปฏิบัติราชการรูปแบบใหม่ของภาครัฐ ที่มีความ ยืดหยุ่นคล่องตัวมีประสิทธิภาพ โดยใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี ดิจิทัลในการปรับรูปแบบวิธีการทำงาน และรูปแบบการบริหาร จัดการทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อความเป็นเลิศในการ ปฏิบัติราชการ และการให้บริการประชาชน รวมทั้งเสริมสร้าง คุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ปฏิบัติงาน นอกจากนี้ยังรวมถึง การปฏิบัติ ราชการภายใต้สถานการณ์ภาวะไม่ปรกติที่ส่งผลให้หน่วยงานของรัฐ ต้องปรับรูปแบบการปฏิบัติราชการให้เกิดความคล่องตัว และ สามารถปรับตัวได้ทันต่อเหตุการณ์ | ไม่ใช้ งบประมาณ | กลุ่มงาน อัตรากำลังและ ระบบงาน |
7. รายละเอียดโครงการตามแผนปฏิบัติการด้านสิทธิมนุษยชน ของกรมบังคับคดี พ.ศ. 2567
1) แผนสิทธิมนุษยชนด้านการเมืองการปกครอง
ข้อเสนอแนะที่ 1) รัฐควรจัดให้มีการอบรมด้านสิทธิมนุษยชนและให้ความรู้เจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมายและเจ้าหน้าที่รัฐทุกระดับเพื่อให้เกิดการบังคับใช้ กฎหมายอย่างถูกต้อง และสอดคล้องหลักการสิทธิมนุษยชน รัฐต้องมีการพัฒนางานสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะการพัฒนาระบบการดำเนินงานและการสร้างเสริมศักยภาพ ของผู้ปฏิบัติงาน การส่งเสริมการรับรู้เรื่องสิทธิมนุษยชนซึ่งจะช่วยลดข้อร้องเรียนเรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมถึงกำหนดแนวปฏิบั ติให้หน่วยงานรัฐทุกภาคส่วน ตระหนักถึงหน้าที่ ความรับผิดชอบ การเคารพผู้เห็นต่าง เสรีภาพในการแสดงออก สิทธิในการชุมนุมโดยสงบ และการสมาคม รวมทั้งมีการจัดฝึกอบรมหลักสูตร สิทธิมนุษยชนเป็นระดับต้น กลาง สูง สำหรับเจ้าหน้าที่รัฐตามความเหมาะสม เพื่อให้การขับเคลื่อนงานด้านสิทธิมนุษยชนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลบรรลุความสำเร็จ ตามเป้าหมายอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน
ตัวชี้วัด จำนวนเจ้าหน้าที่บังคับใช้กฎหมาย และเจ้าหน้าที่รัฐทุกระดับควรได้รับการอบรมด้านสิทธิมนุษยชนเพิ่มขึ้น
โครงการ/กิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย | ตัวชี้วัด | ค่าเป้าหมาย | ระยะเวลา (ไตรมาส) | งบประมาณ (ล้านบาท) | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||||
1. โครงการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพและองค์ความรู้ของ บุคลากรทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง | บุคลากรของกรมบังคับคดี | ร ้ อยละของบุคล า ก ร กรมบังคับคดีเข้าร่วมการ อบรมหลักสูตรพัฒนา เสริมสร้างศักยภาพและ องค์ความรู้ของบุคลากร | ร้อยละ 70 | 2 | ฝ่ายพัฒนา ทรัพยากร บุคคล |
2) แผนสิทธิมนุษยชนด้านกระบวนการยุติธรรม
ข้อเสนอแนะที่ 1) รัฐควรส่งเสริมความรู้ให้แก่ประชาชนในขั้นตอนต่าง ๆ ด้านกระบวนการยุติธรรม เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้สิทธิในแต่ละขั้นตอนตั้งแต่ ชั้นการสอบสวน การฟ้องร้อง การดำเนินคดี การปล่อยตัวชั่วคราวโดยมีประกันตัว สิทธิของผู้ต้องหา สิทธิของเหยื่ออาชญากรรมหรือผู้เสีย หาย สิทธิของจำเลยบริสุทธิ์
สิทธิของผู้ต้องขังและสิทธิของผู้พ้นโทษ สิทธิในการเข้าถึงกองทุนยุติธรรม เป็นต้น ผ่านการจัดทำสื่อให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย เพื่ อให้เข้าถึงสื่อได้อย่างแท้จริงใน รูปแบบต่าง ๆ และควรมีการประสานงานหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมและหน่วยงานฝ่ายปกครองให้ครอบคลุมทุกพื้ นที่เน้นการประสานงานกับองค์การบริหาร ส่วนตำบล เทศบาล กำนันผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัครของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมและอาสาสมัครที่เกี่ยวข้องทุกระดับ
ตัวชี้วัด มีช่องทางเพิ่มขึ้นในการให้ความรู้แก่ประชาชนในขั้นตอนต่าง ๆ ด้านกระบวนการยุติธรรม
โครงการ/กิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย | ตัวชี้วัด | ค่าเป้าหมาย | ระยะเวลา (ไตรมาส) | งบประมาณ (ล้านบาท) | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||||
2 . โ ครงการสร้างและ | ประชาชนทั่วไป โจทก์ จำเลย | 1. ร้อยละของการเติมเต็มตาม | ร้อยละ | 1.3 | ฝ่ายข้อมูล | ||||
ยกระดับวิทยากรตัวคูณ | ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาด | อัตรากำลังที่กำหนดไว้ | 80 | บุคคล และ | |||||
การสร้างเครือข่ายและ | กลางและขนาดย่อม ผู้แทน | บำเหน็จ | |||||||
บูรณาการการทำงานกับ | สถาบันการเงิน และสำนักงาน | ความชอบ | |||||||
หน่วยงานรัฐและเอกชน | ทนายความ ผู้มีส่วนได้เสีย | 2. การพัฒนาขอบเขตการทำงาน | - | ฝ่ายข้อมูล | |||||
และผู้ที่เกี่ยวข้อง | และการกำหนดคุณสมบัติของ | (เป้าหมายปี | บุคคล และ | ||||||
วิทยากรตัวคูณ | 66 จำนวน | บำเหน็จ | |||||||
1 ฉบับ) | ความชอบ | ||||||||
3. จำนวนกิจกรรมที่บุคลากรกรม | 4 | สบจ./สาขา | |||||||
บังคับคดีดำเนินการร่วมกับเครือข่าย | กิจกรรม | ||||||||
วิทยากรตัวคูณและหน่วยงานรัฐ/ | |||||||||
เอกชน | |||||||||
4. ร้อยละการรับรู้และความเชื่อมั่น | ร้อยละ | สบจ./สาขา | |||||||
จากวิทยากรในพื้นที่ของประชาชน | 50 |
ข้อเสนอแนะที่ 2) รัฐควรพิจารณาทบทวนการประกาศ/คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่อาจเสี่ยงต่อการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานตามรัฐธรรมนูญ รัฐควรส่งเสริมการสร้างธรรมภิบาลให้กับหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม ให้คำนึงถึงสิทธิมนุษยชนและการให้บริการประชาชนโดยให้ความสำคัญในการคุ้มครอง ประชาชนให้ได้รับสิทธิอันพึงได้รับตามกฎหมาย โดยสร้างการรับรู้หรือช่องทางทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและรับทราบสิทธิได้อย่างง่าย แ ละรวดเร็ว รวมทั้งมีอบรม ให้ความรู้และสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของหลักการสิทธิมนุษยชนอย่างต่อเนื่องแก่ข้าราชการ โดยเฉพาะหน่วยงานมีโอกาสเสี่ยงที่จะป ฏิบัติงานกระทบสิทธิ ประชาชน อาทิ สำนักงานตำรวจแห่งชาติกรมราชทัณฑ์ ควรออกระเบียบข้อบังคับในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้คำนึงถึงหลักสิทธิมนุษยชน ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สร้างจิตสำนึกในการเห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์ โดยวางบทกำหนดโทษและบังคับโทษกับเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ค ำนึงถึงศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ อาทิ การควบคุมตัวโดยพลการ
ตัวชี้วัด มีการส่งเสริมการให้ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน สิทธิในกระบวนการยุติธรรมให้กับผู้บังคับใช้กฎหมาย และเจ้าหน้าที่รัฐเพิ่มขึ้น มีมาตร การส่งเสริม การสร้างธรรมาภิบาลให้กับหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมให้คำนึงถึงสิทธิมนุษยชนและการให้บริการประชาชน
โครงการ/กิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย | ตัวชี้วัด | ค่าเป้าหมาย | ระยะเวลา (ไตรมาส) | งบประมาณ (ล้านบาท) | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||||
3. โครงการพัฒนาหลักสูตร | บุคลากรของกรมบังคับคดี | ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนา | ร้อยละ | ใช้งบ | - LEPA | ||||
ด้านสิทธิมนุษยชน ภายใต้ | หลักสูตรด้านสิทธิมนุษยชน | 100 | ดำเนินงาน | - ฝ่ายพัฒนา | |||||
โครงการพัฒนาและเสริมสร้าง | ภายใต้โครงการพัฒนาและ | ทรัพยากร | |||||||
ศักยภาพและองค์ความรู้ของ | เสริมสร้างศักยภาพและองค์ | บุคคล | |||||||
บุคลากรทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง | ความรู้ของบุคลากรทั้งหมดอย่าง | ||||||||
ต่อเนื่อง |
3) แผนสิทธิมนุษยชนกลุ่มผู้ใช้แรงงาน
ข้อเสนอแนะที่ 1) รัฐควรสร้างมาตรการ กลไกหรือกระบวนการ โดยประสานความร่วมมือทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อให้ดำเนินการบังคับใช้กฎหมาย ด้านแรงงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดการปฏิบัติของนายจ้างต่อผู้ใช้แรงงานมีประสิทธิภาพ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนอย่างรวดเร็ว และลดปัญหาการละเมิดสิทธิแรงงาน
ตัวชี้วัด มีมาตรการ/กลไกหรือกระบวนการในการแก้ปัญหาความเดือดร้อนของแรงงานที่มีประสิทธิภาพ
โครงการ/กิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย | ตัวชี้วัด | ค่าเป้าหมาย | ระยะเวลา (ไตรมาส) | งบประมาณ (ล้านบาท) | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||||
4. โครงการศึกษาและจัดทำแนว | บุคลากรของกรมบังคับคดี | แ ผ น ผ ล ต อ บ แ ท น | - | 0.5000 | - ฝ่ายพัฒนา | ||||
พัฒนาการเทียบเคียงผลตอบแทน | สวัสดิการและสวัสดิการ | (เป้าหมาย ปี | ทรัพยากร | ||||||
และสวัสดิการเกื้อกูล | เกื้อกูลที่สอดรับกลุ่ม | 2570 | บุคคล | ||||||
บุคลากร | จำนวน 1 | - ฝ่ายข้อมูล | |||||||
ฉบับ) | บุคคลและ | ||||||||
บำเหน็จ | |||||||||
ความชอบ |
6) แผนสิทธิมนุษยชนกลุ่มคนพิการ
ข้อเสนอแนะที่ 3) ควรส่งเสริมการจ้างงานคนพิการในหน่วยงานของรัฐและส่งเสริมการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการ ควรตรวจรายงานผล การจ้างงาน ให้ครบตามที่กฎหมายกำหนด เพื่อหารือแนวทางการจ้างงานคนพิการในหน่วยงานของรัฐ การคัดกรองงานให้เหมาะสมกับคนพิการ เพื่อให้คนพิการหรื อผู้ดูแล คนพิการ
ได้รับการจ้างงานคนพิการ ในหน่วยงานของรัฐเพิ่มมากขึ้น และมีการออกเยี่ยมคนพิการที่ทำงานในหน่วยงานภาครัฐ และควรสร้างการรับรู้และ แรงจูงใจในการจ้างงาน คนพิการ ให้นายจ้าง/เจ้าของสถานประกอบการ ได้ทราบสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อส่งเสริมการจ้างงานคนพิการเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจใ ห้กับนายจ้าง/เจ้าของ สถานประกอบการที่ไม่จ้างงานคนพิการหรือส่งเงินเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการเพื่อทำให้คนพิการได้รับการจ้างงานเพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด จำนวนการจ้างงานคนพิการในหน่วยงานของรัฐและส่งเสริมการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการเพิ่มขึ้น
โครงการ/กิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย | ตัวชี้วัด | ค่าเป้าหมาย | ระยะเวลา (ไตรมาส) | งบประมาณ (ล้านบาท) | ผู้รับผิดชอบ | |||
1 | 2 | 3 | 4 | ||||||
5. การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ พิการและผู้ดูแลผู้พิการด้วยการจ้างงาน ตามมาตรา 33 และมาตรา 35 แห่ง พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556 | ผู้พิการ | ร้อยละความสำเร็จของการ จ้างงานคนพิการและผู้ดูแล คนพิการตามสัดส่วน ข ้ า ร า ช ก า ร พน ั ก ง า น ราชการ และลูกจ้างประจำ ของหน่วยงาน 100 คน ต่อ ผู้พิการหรือผู้ดูแลคนพิการ 1 คน | ร้อยละ 100 | 3.065307 | - กลุ่มงานสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง |
8. รายละเอียดตัวชี้วัดเพื่อประกอบคำรับรองการปฏิบัติราชการของ กองบริหารทรัพยากรบุคคล
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
มิติภายนอก ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
วัตถุประสงค์ที่ 1 ผู้รับบริการได้รับบริการตามภารกิจของหน่วยงานที่มีมาตรฐาน
ตัวชี้วัดที่ 1.1 ร้อยละความสำเร็จของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนาบุคลากร
หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : 10
คำอธิบาย : ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาตามแผนพัฒนาบุคลากร หมายถึง การที่หน่วยงาน ได้จัดทำแผนปฏิบัติการในการพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ซึ่งประกอบด้วยแผนงาน/ โครงการ เป้าหมายและตัวชี้วัด โดยที่แต่ละแผนงาน/โครงการจะกำหนดจำนวนบุคลากรที่ต้องได้รับการอบรม พัฒนาไว้ วัตถุประสงค์เพื่อต้องการวัดความสามารถในการบริหารแผนงานโครงการที่มีประสิทธิภาพของหน่วยงาน ว่ามีผลผลิตได้ครบถ้วนตามที่กำหนดไว้ตามวัตถุประสงค์ของแผนงาน/โครงการ พัฒนาทรัพยากรบุคคลที่สอดคล้อง และเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรมบังคับคดี
เกณฑ์การให้คะแนน:
รอบ 6 เดือน
ระดับคะแนน | เกณฑ์การให้คะแนน |
1 | บุคลากรได้รับการพัฒนาตามแผน ร้อยละ 10 |
2 | บุคลากรได้รับการพัฒนาตามแผน ร้อยละ 20 |
3 | บุคลากรได้รับการพัฒนาตามแผน ร้อยละ 30 |
4 | บุคลากรได้รับการพัฒนาตามแผน ร้อยละ 40 |
5 | บุคลากรได้รับการพัฒนาตามแผน ร้อยละ 50 |
รอบ 12 เดือน
ระดับคะแนน | เกณฑ์การให้คะแนน |
1 | บุคลากรได้รับการพัฒนาตามแผน ร้อยละ 60 |
2 | บุคลากรได้รับการพัฒนาตามแผน ร้อยละ 70 |
3 | บุคลากรได้รับการพัฒนาตามแผน ร้อยละ 80 |
4 | บุคลากรได้รับการพัฒนาตามแผน ร้อยละ 90 |
5 | บุคลากรได้รับการพัฒนาตามแผน ร้อยละ 100 |
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป รอบ 6 เดือน และ รอบ 12 เดือน
ผู้จัดเก็บข้อมูล : ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล
มิติภายนอก ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
วัตถุประสงค์ที่ 1 ผู้รับบริการได้รับบริการตามภารกิจของหน่วยงานที่มีมาตรฐาน
ตัวชี้วัดที่ 1.2 ระดับคะแนนในการสำรวจความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กร
หน่วยวัด : ระดับ
น้ำหนัก : 10
คำอธิบาย : ระดับคะแนนในการสำรวจความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กร หมายถึง การที่หน่วยงาน จัดทำแผนเพื่อการสร้างความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร และทำการสำรวจความคิดเห็นของบุคลากรทั่วทั้ง องค์กรที่มีต่อองค์กร ซึ่งประกอบด้วยแผนงาน/โครงการ เป้าหมายและตัวชี้วัด วัตถุประสงค์เพื่อวัดความรัก ความผูกพันของบุคลากรตามสายงานที่มีต่อองค์กร ให้สอดรับกับยุทธศาสตร์และวิสัยทัศน์องค์กร ซึ่งในการจัดทำ แผนปฏิบัติการเพื่อสำรวจความผูกพันของบุคคลที่มีต่อองค์กรจะต้องสอดคล้องและเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรมบังคับคดี
เกณฑ์การให้คะแนน : รายงานรอบ 12 เดือน
ระดับคะแนน | เกณฑ์การให้คะแนน |
1 | ระดับคะแนนเฉลี่ยที่ได้รับจากการสำรวจ 2.75 คะแนน |
2 | ระดับคะแนนเฉลี่ยที่ได้รับจากการสำรวจ 3 คะแนน |
3 | ระดับคะแนนเฉลี่ยที่ได้รับจากการสำรวจ 3.25 คะแนน |
4 | ระดับคะแนนเฉลี่ยที่ได้รับจากการสำรวจ 3.5 คะแนน |
5 | ระดับคะแนนเฉลี่ยที่ได้รับจากการสำรวจ 3.75 คะแนน |
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป รอบ 12 เดือน
ผู้จัดเก็บข้อมูล : ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล
มิติภายนอก ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
วัตถุประสงค์ที่ 1 ผู้รับบริการได้รับบริการตามภารกิจของหน่วยงานที่มีมาตรฐาน
ตัวชี้วัดที่ 1.3 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการตามตัวชี้วด
และประเภทรายหมวด (ตัวชี้วัดหมวด 7)
หน่วยวัด : ระดับ
น้ำหนัก : 5
การประเมินสถานการณ์เป็นระบบราชการ 4.0
คำอธิบาย : ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการตามตัวชี้วัดการประเมินสถานการณ์เป็นระบบราชการ
4.0 และประเภทรายหมวด (ตัวชี้วัดหมวด 7) หมายถึง หน่วยงานมีการดำเนินการกำหนดรายละเอียดและจัดเก็บ ข้อมูลตามตัวชี้วัดฯ หมวด 7 มีการตั้งค่าเป้าหมาย การดำเนินการตามตัวชี้วัดที่กำหนดและสามารถดำเนินการได้ ตามเป้าหมายที่กำหนด ดังนี้
1. จำนวนเครือข่ายบังคับคดีที่เข้ามามีส่วนร่วมกับกรมบังคับคดีที่ครอบคลุมทั่วประเทศ (1,580/คน/ปี)
2. ร้อยละของผู้เชี่ยวชาญตามสมรรถนะหลักขององค์กร (ร้อยละ 10)
3. ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาทักษะการเป็นข้าราชการบังคับคดี (ร้อยละ 80)
4. ร้อยละความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์การ (Engagement survey) (ร้อยละ 80)
5. ร้อยละความสำเร็จตามแผนการอบรมบุคลากร (ร้อยละ 80)
6. ร้อยละความสำเร็จตามการพัฒนาผู้บริหารตามแผนกระทรวงฯ (ร้อยละ 80)
7. ร้อยละของบุคลากรที่มีผลการประเมินสูงกว่ามาตรฐานที่กำหนด (ร้อยละ 20)
8. ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการเลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้นตามคุณสมบัติ (ร้อยละ 100)
9. ร้อยละความสำเร็จตามโครงการการป้องกันและระงับอัคคีภัยเพื่อความปลอดภัยของ กรมบังคับคดี (ร้อยละ 100)
10.ร้อยละบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการอบรมความรู้ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม (ร้อยละ 80)
เกณฑ์การให้คะแนน : รายงานรอบ 12 เดือน
ระดับคะแนน | เกณฑ์การให้คะแนน |
1 | สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด ร้อยละ 50-60 |
2 | สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด ร้อยละ 61-70 |
3 | สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด ร้อยละ 71-80 |
4 | สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด ร้อยละ 81-90 |
5 | สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายตัวชี้วัด ร้อยละ 91-100 |
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป รอบ 12 เดือน
ผู้จัดเก็บข้อมูล : ทุกกลุ่ม/ฝ่าย
มิติภายนอก ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
วัตถุประสงค์ที่ 1 ผู้รับบริการได้รับบริการตามภารกิจของหน่วยงานที่มีมาตรฐาน
ตัวชี้วัดที่ 1.4 ระดับความสำเร็จตามแผนการปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งเป็นระดับสูงขึ้นของกรมบังคับคดี
หน่วยวัด : ระดับ
น้ำหนัก : 5
คำอธิบาย : ระดับความสำเร็จตามแผนการปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งเป็นระดับสูงขึ้นของกรมบังคับคดี หมายถึง หน่วยงานได้ดำเนินการจัดทำคำขอปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง และการประเมินค่างาน (Jethro)
สำหรับการกำหนดตำแหน่งประเภทอำนวยการระดับสูง ในส่วนภูมิภาคของกรมบังคับคดี ซึ่งเป็นตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานบังคับคดีจังหวัด ตามแผนการปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งเป็นระดับสูงขึ้นของกรมบังคับคดี ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕- 2567
กำหนดเกณฑ์การให้คะแนน : รายงานรอบ 12 เดือน
ระดับ คะแนน | เกณฑ์การให้คะแนน |
1 | ประชุมคณะทำงานฯ เพื่อจัดทำคำขอปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง และการประเมินค่างาน (Jethro) ของตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานบังคับคดีจังหวัดที่เป็นตัวแทนเข้ารับการประเมินเป็น ตัวแทนกลุ่ม 3 |
2 | จัดทำคำขอปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง และการประเมินค่างาน (Jethro) ของตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานบังคับคดีจังหวัดที่เป็นตัวแทนเข้ารับการประเมินของกลุ่มที่ 3 จังหวัดแรก ได้แก่ ผู้อำนวยการสำนักงานบังคับคดีจังหวัดสุพรรณบุรีแล้วเสร็จ และส่งข้อมูลให้เจ้าหน้าที่ ก.พ. ตรวจสอบ |
3 | จัดทำประเมินค่างาน (Jethro) ตัวแทนจังหวัดสุดท้ายของกลุ่มที่ 3 ได้แก่ ผู้อำนวยการสำนักงาน บังคับคดีจังหวัดชุมพรแล้วเสร็จ และส่งข้อมูลให้เจ้าหน้าที่ ก.พ. ตรวจสอบ |
4 | ปรับ แก้ คำขอปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งและการประเมินค่างาน (Jethro) ของตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานบังคับคดีจังหวัดสุพรรณบุรี และผู้อำนวยการสำนักงานบังคับคดีจังหวัด ชุมพรตามข้อสังเกตของเจ้าหน้าที่ ก.พ. แล้วเสร็จ |
5 | จัดส่งข้อมูลคำขอปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง และการประเมินค่างาน (Jethro) ให้กระทรวง ยุติธรรม เพื่อนำเข้าคณะกรรมการกำหนดตำแหน่งระดับสูงของกระทรวงยุติธรรม และอ.ก.พ. กระทรวงยุติธรรม |
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป รอบ 12 เดือน
ผู้จัดเก็บข้อมูล : กลุ่มอัตรากำลังและระบบงาน
มิติภายนอก ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
วัตถุประสงค์ที่ 1 ผู้รับบริการได้รับบริการตามภารกิจของหน่วยงานที่มีมาตรฐาน
ตัวชี้วัดที่ 1.5 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการย้าย การโอน หรือการเลื่อนขาราชการพลเรือนสามัญ เพื่อแต่งตั้งใหดำรงตำแหน่งประเภทอำนวยการ
หน่วยวัด : ระดับ
น้ำหนัก : 5
คำอธิบาย : ตามที่กฎ ก.พ. วาด้วยการย้าย การโอน หรือการเลื่อนขาราชการพลเรือนสามัญ ไปแต่งตั้งให ดำรงตำแหนงข้าราชการพลเรือนสามัญตำแหน่งประเภทอำนวยการในหรือตางกระทรวง หรือกรม พ.ศ. ๒๕๖๔ กำหนดให้การย้าย การโอน หรือการเลื่อนขาราชการพลเรือนสามัญเพื่อแต่งตั้ง ใหดำรงตำแหน่งประเภทอำนวยการ ใหเป็นไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด ซึ่งกรมบังคับคดีต้องถือปฏิบัติตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1006/ว15 ลงวันที่ 11 สิงหาคม 2564
เกณฑ์การให้คะแนน : รายงานผลรอบ 12 เดือน
ระดับ/ คะแนน | กิจกรรม |
1 | วางแผนกำลังคนที่ต้องการสำหรับตำแหน่งที่คาดว่าจะว่างในปีงบประมาณถัดไป |
2 | กำหนดหลักเกณฑในการพิจารณากลั่นกรองเพื่อขึ้นบัญชีรายชื่อผู้ผ่านการกลั่นกรอง |
3 | ประกาศหลักเกณฑและวิธีการ พิจารณากลั่นกรองเพื่อขึ้นบัญชีรายชื่อผู้ผ่านการกลั่นกรอง |
4 | ประกาศรับสมัครขาราชการพลเรือนสามัญเพื่อขึ้นบัญชีรายชื่อผู้ผ่านการกลั่นกรอง |
5 | ประกาศขึ้นบัญชีรายชื่อผู้ผ่านการกลั่นกรองภายในเวลาที่กำหนด |
แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บ :
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
ผู้จัดเก็บข้อมูล : กลุ่มงานสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง
มิติภายนอก ด้านคุณภาพการให้บริการ วัตถุประสงค์ที่ 2 ความพึงพอใจของผู้บริการ
ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ
หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : 5
คำอธิบาย : ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ พิจารณาจากผลสำรวจความพึงพอใจ ของผู้รับบริการของกองบริหารทรัพยากรบุคคล
• ประเด็นการสำรวจประกอบด้วยประเด็นสำคัญ ดังนี้
1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการขั้นตอนการให้บริการ
2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ
3. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
4. ความพึงพอใจด้านคุณภาพของการให้บริการ
• ผู้รับบริการ หมายถึง บุคลากรของหน่วยงานกรมบังคับคดีที่เคยมาติดต่อขอรับบริการจาก กองบริหารทรัพยากรบุคคล
สูตรการคำนวณ :
วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบสำรวจความพึงพอใจ
จำนวนผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจ X 100 จำนวนผู้รับมารับบริการจากหน่วยงาน
เกณฑ์การให้คะแนน :
ตัวชี้วัด | หน่วยวัด | เกณฑ์การให้คะแนนปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 | ||||
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | ||
ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ | ร้อยละ | 65 | 70 | 75 | 80 | 85 |
รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :
ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด | หน่วยวัด | ผลการดำเนินงานในอดีตปีงบประมาณ พ.ศ. | |
2566 | 2567 | ||
ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ | ร้อยละ | 91.81 |
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
ผู้จัดเก็บข้อมูล : ทุกกลุ่ม/ฝ่าย
มิติภายนอก ด้านคุณภาพการให้บริการ วัตถุประสงค์ที่ 2 ความพึงพอใจของผู้บริการ
ตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละความเชื่อมั่นของประชาชนผู้รับบริการที่มีต่อกระบวนการบังคับคดี
หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : 5
คำอธิบาย : การประเมินคุณภาพการให้บริการตามกระบวนการบังคับคดีโดยสำรวจการรับรู้และ ความเข้าใจของประชาชนผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหน่วยงานภาครัฐภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ ของกรมบังคับคดี เพื่อให้ทราบถึงความเชื่อมั่นของประชาชน ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในภาพรวม
เกณฑ์การให้คะแนน : รายงานผลรอบ 12 เดือน หน่วย : ร้อยละ
ตัวชี้วัด | หน่วยวัด | เกณฑ์การให้คะแนนปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 | ||||
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | ||
ร ้อยละความเชื่อมั่นของประชาชน ผู้รับบริการที่มีต่อกระบวนการบังคับคดี | ร้อยละ | 85 | 87.5 | 90 | 92.5 | 95 |
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
ผู้จัดเก็บข้อมูล : ทุกกลุ่ม/ฝ่าย
มิติภายนอก ด้านคุณภาพการให้บริการ วัตถุประสงค์ที่ 3 การมุ่งเน้นบุคลากรในเรื่องการให้บริการ
ตัวชี้วัดที่ 3.1 ร้อยละของเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขสำเร็จ
หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : 10
คำอธิบาย : ร้อยละของเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขสำเร็จ หมายถึง การที่หน่วยงานได้รับเรื่อง ร้องเรียนที่เกี่ยวข้องจากการปฏิบัติหน้าที่ให้บริการ และผู้รับบริการไม่พึงพอใจจากการบริการที่ได้รับจากผู้ปฏิบติ ของหน่วยงาน จึงร้องเรียนต่อผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานตามลำดับชั้น และผู้บังคับบัญชาสามารถจัดการให้เร่ือง ร้องเรียนนั้นๆ ยุติได้โดยเร็ว เปรียบเทียบจากจำนวนเรื่องที่ได้รับการร้องเรียนทั้งหมด
หมายเหตุ : ข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการให้บริการ หมายถึง ข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการให้บริการในเชิงลบที่ผู้รับบริการมี ต่อเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการของหน่วยงาน ทั้งนี้ ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับพฤติกรรมการให้บริการในเชิงลบที่ผู้รับบริการ ร้องเรียน/ให้ข้อเสนอแนะนั้นต้องเป็นข้อเท็จจริงที่หน่วยงานได้ตรวจสอบแล้วจึงจะนำมาใช้เป็นข้อมูลในการ ประเมินผลตามตัวชี้วัดนี้
สูตรคำนวณ :
จำนวนเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการให้บริการที่สามารถจัดการได้สำเร็จ X 100
จำนวนเรื่องทั้งหมดที่ผู้มาติดต่อร้องเรียนกับหน่วยงาน
เกณฑ์การให้คะแนน : รายงานผลรอบ 6 เดือนและรอบ 12 เดือน
ตัวชี้วัด | หน่วยวัด | เกณฑ์การให้คะแนนปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 | ||||
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | ||
ร้อยละของเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการแก้ไขสำเร็จ | ร้อยละ | 60 | 70 | 80 | 90 | 100 |
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
ผู้จัดเก็บข้อมูล : ทุกกลุ่ม/ฝ่าย
มิติภายใน ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
วัตถุประสงค์ที่ 4 การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและความโปร่งใสตรวจสอบได้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ระดับความสำเร็จในการสร้างความโปร่งใสในกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล
หน่วยวัด : ระดับ
น้ำหนัก : 10
คำอธิบาย : ระดับความสำเร็จในการสร้างความโปร่งใสในกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล หมายถึง การที่หน่วยงานได้ดำเนินการกำหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง และประกาศหลักเกณฑ์ให้บุคลากรในหน่วยงานทราบ มีการเปิดโอกาสให้ชี้แจงโต้แย้ง ผลการประเมินของผู้บังคับบัญชา ตลอดจนนำผลการประเมินมาปรับปรุงกระบวนการการปฏิบัติงาน ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ประเมินผลสำเร็จของการดำเนินการตามตัวชี้วัด เป็น (Milestone) แบ่งออกเป็น
5 ขั้นตอนดังนี้
เกณฑ์การให้คะแนน : รายงานผลรอบ 6 เดือนและรอบ 12 เดือน
ระดับ/ คะแนน | กิจกรรม |
1 | มีการกำหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในหน่วยงานที่เป็นไปตาม กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง |
2 | มีการกำหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่สอดคล้องกับภาระงานตาม ตำแหน่งและภารกิจของหน่วยงาน |
3 | มีการประกาศหลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานให้บุคลากรให้รับทราบเป็นการล่วงหน้า |
4 | มีการเปิดโอกาสให้มีการชี้แจง โต้แย้งหรือคัดค้านผลการประเมินตามกระบวนการและขั้นตอนที่ เหมาะสมของหน่วยงาน |
5 | มีการนำผลการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรมาปรับปรุงในการปฏิบัติ |
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
ผู้จัดเก็บข้อมูล : ฝ่ายข้อมูลบุคคลและบำเหน็จความชอบ
มิติภายใน ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
วัตถุประสงค์ที่ 4 การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและความโปร่งใส ตรวจสอบได้
ตัวชี้วัดที่ 4.2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำและดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี
หน่วยวัด : ระดับ
น้ำหนัก : 10
คำอธิบาย : ระดับความสำเร็จของการจัดทำและดำเนินการตามแผนปฏิบัติราชการ หมายถึง หน่วยงาน ได้จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณของหน่วยงาน โดยนำนโยบายของกรมบังคับคดี และหรือนโยบายของ ผู้ว่าราชการจังหวัด ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ ที่มีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่โดยกองนโยบายและแผนรวมถึงนโยบายของผู้อำนวยการหน่วยงานตนเอง มาจัดทำ เป็นแผนปฏิบัติการประจำปีของสำนักงานได้อย่างเหมาะสม ประกอบด้วยรายละเอียดเบื้องต้น เช่น
1) ชื่อแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 2) เป้าหมายผลการดำเนินงาน 3) ชื่อผู้รับผิดชอบผลงาน 4) ระยะเวลาที่ต้อง ดำเนินการอาจแบ่งเป็นรอบประเมิน 6 เดือน และรอบ 12 เดือน 5) งบประมาณ (ถ้ามี)
เกณฑ์การให้คะแนน : รายงานผลรอบ 12 เดือน
ระดับ/คะแนน | กิจกรรม |
1 | จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณของหน่วยงาน |
2 | มีการปฏิบัติตามแผนได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 |
3 | มีการทบทวนประเมินผล |
4 | มีการแก้ไขผลการปฏิบัติตามการทบทวน |
5 | ปฏิบัติตามแผนได้ ร้อยละ 100 จากการทบทวนแผน |
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
ผู้จัดเก็บข้อมูล : ทุกกลุ่ม/ฝ่าย
มิติภายใน ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
วัตถุประสงค์ที่ 4 การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ตัวชี้วัดที่ 4.3 ร้อยละความสำเร็จของการลดการใช้กระดาษ
หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : 5
คำอธิบาย : ร้อยละความสำเร็จของการลดการใช้กระดาษ เป็นตัวชี้วัดที่รองรับนโยบายรัฐบาล หมายถึง การที่หน่วยงานได้ดำเนินการ กำหนดมาตรการต่างๆเพื่อลดการใช้ปริมาณกระดาษของหน่วยงานลง เพื่อให้เป็นไป ตามแนวทางการประเมินผู้บริหาร ที่ดำเนินการตามบัญชาของนายกรัฐมนตรี โดยจะเป็นการวัดผลสำเร็จจากการ ดำเนินงานในภาพรวมขององค์การ
สำหรับผลงานที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันดำเนินการ กรมจะวัดความสามารถในการ ลดการใช้กระดาษเป็นรายหน่วยงาน คิดเป็นร้อยละความสำเร็จ เมื่อเทียบกับผลการใช้กระดาษของหน่วยงานกับ ปีงบประมาณ ที่ผ่านมา เป้าหมายที่ต้องการคือลดลง โดยแบ่งรอบการประเมินเป็น 2 รอบ คือรอบ 6 เดือน และ รอบ 12 เดือน ดังนี้
เกณฑ์การให้คะแนน : รายงานผลรอบ 6 เดือนและรอบ 12 เดือน
ระดับ/คะแนน | กิจกรรม |
1 | ใช้ปริมาณกระดาษ ≥ ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 |
2 | ใช้ปริมาณกระดาษลดลง ร้อยละ 0.25 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 |
3 | ใช้ปริมาณกระดาษลดลง ร้อยละ 0.5 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 |
4 | ใช้ปริมาณกระดาษลดลง ร้อยละ 0.75 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 |
5 | ใช้ปริมาณกระดาษลดลง ร้อยละ 1 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 |
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
ผู้จัดเก็บข้อมูล : ทุกกลุ่ม/ฝ่าย
มิติภายใน ด้านประสิทธิภาพทางการปฏิบัติราชการ
วัตถุประสงค์ที่ 5 การพัฒนาระบบการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 5.1 ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนการสร้างความผูกพันและความผาสุก
หน่วยวัด : ระดับ
น้ำหนัก : 5
คำอธิบาย : ระดับความสำเร็จในการจัดทำแผนการสร้างความผูกพันและความผาสุก หมายถึง หน่วยงาน ได้จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดรับกับแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี ของกรมบังคับคดี และแปลงแผนมาสู่การปฏิบัติ ในรูปแบบแผนงาน/โครงการ ที่ครอบคลุมในเรื่องของการสร้างขวัญกำลังใจกับเจ้าหน้าที่ในสายงาน และการความ ปลอดภัยในการปฏิบัติงาน (ด้านเจ้าหน้าที่) รวมถึง การที่หน่วยงานสามารถการจัดทำแผนการสร้างความผูกพัน และความผาสุกในการปฏิบัติงานให้แก่บุคลากรได้เป็นผลสำเร็จตามขั้นตอนที่กำหนด
เกณฑ์การให้คะแนน :
กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ พิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้
รายงานรอบ 12 เดือน
ระดับคะแนน | ระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) | ||||
ขั้นตอนที่ 1 | ขั้นตอนที่ 2 | ขั้นตอนที่ 3 | ขั้นตอนที่ 4 | ขั้นตอนที่ 5 | |
1 | 🗸 | ||||
2 | 🗸 | 🗸 | |||
3 | 🗸 | 🗸 | 🗸 | ||
4 | 🗸 | 🗸 | 🗸 | 🗸 | |
5 | 🗸 | 🗸 | 🗸 | 🗸 | 🗸 |
โดยที่ :
ระดับ คะแนน | เกณฑ์การให้คะแนน |
1 | ดำเนินการออกแบบสำรวจปัจจัยที่มีผลต่อความสุข ปัจจัยสร้างแรงจูง |
2 | ดำเนินการวิเคราะห์และสรุปผลที่ได้จากผลสำรวจเพื่อให้ได้ข้อมูลลำดับความสำคัญตามปัจจัย ในแบบสอบถาม และดำเนินการเสนอให้มีการแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการ สร้างความผาสุกของบุคลากรกรมบังคับคดี |
3 | จัดให้มีการประชุมคณะทำงานเพื่อพิจารณาจัดลำดับความสำคัญลำดับก่อนหลังใน การดำเนินการตลอดจนดำเนินการร่างแผนดำเนินการ |
4 | คณะทำงานดำเนินการสรุปและจัดทำแผนปฏิบัติการสร้างความผาสุกแก่บุคลากรกรมบังคับคดี และเสนอผู้บริหารพิจารณาให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการ ดังกล่าว |
5 | การดำเนินการตามกิจกรรมที่กำหนดในแผนและมีการสรุปผลการดำเนินการเพื่อใช้เป็นข้อ ในการจัดทำ/ปรับปรุง ทบทวน แผนปฏิบัติการดังกล่าวต่อไป |
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
ผู้จัดเก็บข้อมูล : ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล
มิติภายใน ด้านการพัฒนาองค์การ
วัตถุประสงค์ที่ 6 บุคลากรกรมบังคับคดีมีสมรรถนะในการทำงานสูง
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาและมีทักษะเพิ่มขึ้น
หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : 10
คำอธิบาย : ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาและมีทักษะเพิ่มขึ้น หมายถึง การที่หน่วยงาน ได้ดำเนินการพัฒนาบุคลากรตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี และมีการประเมินสมรรถนะในส่วนของทักษะของ บุคลากรตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ. ซึ่งบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาทักษะเรียบร้อยแล้ว มีผลการประเมินทักษะ ที่เพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 วัดจากผลการประเมินบุคคล (ข้าราชการและพนักงานราชการ) ในภาพรวม
เกณฑ์การให้คะแนน : รายงานผลรอบ 6 เดือนและรอบ 12 เดือน
ตัวชี้วัด | หน่วยวัด | เกณฑ์การให้คะแนนปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 | ||||
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | ||
ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาและ มีทักษะเพิ่มขึ้น | ร้อยละ | 60 | 70 | 80 | 90 | 100 |
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
ผู้จัดเก็บข้อมูล : ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล
มิติภายใน ด้านการพัฒนาองค์การ
วัตถุประสงค์ที่ 6 บุคลากรกรมบังคับคดีมีสมรรถนะในการทำงานสูง
ตัวชี้วัดที่ 6.2 ร้อยละของจำนวนเรื่องการดำเนินการทางวินัยและการดำเนินการตรวจสอบความรับผิด ทางละเมิดสำเร็จได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด
หน่วยวัด : ร้อยละ
น้ำหนัก : 5
คำอธิบาย : ร้อยละของจำนวนเรื่องการดำเนินการทางวินัยและการดำเนินการตรวจสอบความรับผิด ทางละเมิดสำเร็จได้ภายในระยะเวลาที่กำหนด หมายถึง การดำเนินการเสร็จภายในกำหนดระยะเวลาตามกฎหมาย
เกณฑ์การให้คะแนน : รายงานผลรอบ 6 เดือนและรอบ 12 เดือน
ตัวชี้วัด | หน่วยวัด | เกณฑ์การให้คะแนนปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 | ||||
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | ||
ร้อยละของจำนวนเรื่องการดำเนินการ ทางวินัยและการดำเนินการตรวจสอบ ความรับผิดทางละเมิดสำเร็จได้ภายใน ระยะเวลาที่กำหนด | ร้อยละ | 60 | 70 | 80 | 90 | 100 |
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
ผู้จัดเก็บข้อมูล : กลุ่มงานวินัยและส่งเสริมคุณธรรม
มิติภายใน ด้านการพัฒนาองค์การ วัตถุประสงค์ที่ 7 พัฒนามาตรฐานการทำงาน
ตัวชี้วัดที่ 7.1 ระดับของความสำเร็จในการจัดการองค์ความรู้ (KM) ของหน่วยงาน
หน่วยวัด : ระดับ
น้ำหนัก : 5
คำอธิบาย : ระดับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์ความรู้ KM ของหน่วยงาน หมายถึง การที่ หน่วยงานดำเนินการบริหารจัดการองค์ความรู้ KM ที่สำคัญ โดยการถอดบทเรียนความรู้ในกระบวนการทำงาน ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน และความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ตรง โดยในช่วงเวลาที่ผ่านมาทางสำนักงาน พบเจอปัญหาอะไร ทางสำนักงานมีวิธีแก้ไขอย่างไร ปัญหานั้นถูกแก้ไขได้อย่างไร เพื่อนำความรู้ต่างๆ มาปรับใช้ใ น การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยเขียนตามแบบฟอร์มการถอดบทเรียนองค์ความรู้ของกรมบังคับคดี
เกณฑ์การให้คะแนน : รายงานผลรอบ 12 เดือน
ระดับคะแนน | กิจกรรม/ผลการดำเนินงาน |
1 | มีการพบเจอปัญหาที่เกิดขึ้นจากกระบวนการทำงาน |
2 | มีการศึกษาวิเคราะห์ปัญหาจากกระบวนการทำงาน |
3 | มีแนวทางในการแก้ปัญหาได้เป็นผล |
4 | มีการออกแบบกระบวนการทำงานใหม่ |
5 | มีการนำผลสำเร็จตามข้อ 4 มาเขียนตามแบบฟอร์ม One Point lesson จำนวน 1 เรื่อง |
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
- ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและรายงานผลการดำเนินงานให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
ผู้จัดเก็บข้อมูล : ทุกกลุ่ม/ฝ่าย
ส่วนที่ 3
แนวทางการติดตามและประเมินผลแผนปฏิบัติราชการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ของกองบริหารทรัพยากรบุคคล
กองบริหารทรัพยากรบุคคล ได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ขึ้น เพื่อเป็นเครื่องมือสำคัญของฝ่ายบริหารเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกอง ด้วยการนำข้อมูลรายงานผล มาใช้ในการวิเคราะห์ประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินงาน อันจะส่งผลให้การปฏิบัติงานของหน่วยงาน เกิดผลสัมฤทธิ์และเกิดความคุ้มค่าต่อภารกิจของหน่วยงาน อีกทั้งยังใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงแผนกลยุทธ์และ แผนปฏิบัติการของหน่วยงานให้มีความทันสมัยต่อสถานการณ์ โดยได้กำหนดแนวทางในการติดตามและประเมินผล ประจำปี เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการดำเนินงาน โดยมีกระบวนการสำคัญ ดังนี้
1. ให้กลุ่มงาน/ฝ่าย ที่รับผิดชอบในแต่ละโครงการ ดำเนินโครงการ/กิจกรรม และรายงานผล การดำเนินการโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ของกองทุก ๆ 4 เดือน รวมถึง ติดตามความก้าวหน้า การประเมินผลสำเร็จ ผลกระทบของการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และผลการพัฒนาภาพรวม พร้อมทั้งกำหนดกรอบเวลาในการติดตามผลตามแผนปฏิบัติฯ
2. การติดตาม ตรวจสอบ ประมวลผลและรายงานผลดำเนินงานให้มีความถูกต้องและแม่นยำ เพื่อให้ได้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. ทบทวน/ปรับปรุง แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ของกอง เมื่อสิ้นปีงบประมาณ เพื่อปรับปรุงกระบวนการให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน เพื่อให้การกำหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด และกลยุทธ์ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากกว่าเดิม และเพื่อให้การจัดทำงบประมาณและจัดทำ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ถูกต้อง เป็นแนวทางวางแผน ในการดำเนินงานในปีงบประมาณต่อไป
ภาคผนวก
ข้อมูลทั่วไปของกองบริหารทรัพยากรบุคคล
1. ความเป็นมา วิสัยทัศน์ด้านทรัพยากรบุคคล พันธกิจ และค่านิยมร่วม
กองบริหารทรัพยากรบุคคล เดิมเป็นฝ่ายการเจ้าหน้าที่ สังกัดสำนักงานเลขานุการกรม ต่อมากรมบังคับคดี ได้มีการปรับปรุงโครงสร้างและจัดตั้งหน่วยงานภายในขึ้นในปี พ.ศ. 2553 โดยได้จัดตั้งฝ่ายการเจ้าหน้าที่สำนักงาน เลขานุการกรมเป็นกองการเจ้าหน้าที่ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2553 โดยแบ่งงานภายในเป็น 5 ฝ่าย 1 งาน ได้แก่
1. งานบริหารทั่วไป
2. ฝ่ายสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง
3. ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล
4. ฝ่ายข้อมูลบุคคลและบำเหน็จความชอบ
5. ฝ่ายอัตรากำลังและระบบงาน
6. ฝ่ายวินัยและส่งเสริมคุณธรรม
ในปี พ.ศ. 2556 กรมบังคับคดีได้ปรับปรุงโครงสร้างส่วนราชการตามประกาศราชกิจจานุเบกษา กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมบังคับคดี กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2556 ลงวันที่ 6 พฤศจิกายน 2556 โดยปรับปรุงโครงสร้างกองการเจ้าหน้าที่ขึ้นเป็น กองบริหารทรัพยากรบุคคล ปัจจุบันกำหนดหน่วยงานภายใน ขึ้นใหม่เป็น 3 กลุ่มงาน 3 ฝ่าย ดังนี้
1. ฝ่ายบริหารงานทั่วไป
2. กลุ่มงานวินัยและส่งเสริมคุณธรรม
3. กลุ่มงานสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง
4. กลุ่มงานอัตรากำลัง และระบบงาน
5. ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล
6. ฝ่ายข้อมูลบุคคลและบำเหน็จความชอบ
วิสัยทัศน์ด้านทรัพยากรบุคคล
บริหารงานบุคคลอย่างมืออาชีพ โปร่งใส ทันสมัย มุ่งสู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง
พันธกิจ
1. มีนโยบายและระบบบริหารจัดการด้านบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ และการสร้างแรงจูงใจ มีความคล่องตัวและมุ่งผลสัมฤทธิ์
2. มีการสร้างวัฒนธรรมการทำงานที่ดี ก่อเกิดความร่วมมือ
3. มีระบบการพัฒนาบุคลากรทันสมัย พัฒนาบุคลากรกรมบังคับคดี ให้ก้าวทันเทคโนโลยี มีทักษะในการ แก้ไขปัญหา
4. สร้างความรอบรู้และความมีจริยธรรม มีความคิดริเริ่มที่จะนำไปสู่นวัตกรรม มีความเป็นองค์กร ที่ปฏิบัติงานโดยเน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง
<.. image(รูปภาพประกอบด้วย ข้อความ, คน, ภาพหน้าจอ, ใบหน้าของมนุษย์ คำอธิบายที่สร้างโดยอัตโนมัติ) removed ..>
2. อำนาจหน้าที่
กองบริหารทรัพยากรบุคคล มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
1. ฝ่ายบริหารงานทั่วไป มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
o ดำเนินการเกี่ยวกับงานธุรการและงานสารบรรณของกอง งานรับ – ส่งหนังสือ เอกสารต่างๆ การเวียน และโต้ตอบหนังสือ การจัดเก็บเอกสาร และการรวบรวมสถิติข้อมูล
o จัดพิมพ์หนังสือ เอกสาร จัดทำสำเนาเอกสาร การเก็บรักษาหนังสือ
o จัดทำบัตรเจ้าหน้าที่กรมบังคับคดี บัตรเจ้าหน้าที่ของรัฐและบัตรเจ้าพนักงานบังคับคดี
o ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
2. กลุ่มงานสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
o ดำเนินการเกี่ยวกับสรรหาบุคคลเข้ารับราชการ การสอบ การบรรจุ แต่งตั้ง การขอกลับเข้ารับราชการ
o การประเมินบุคคลและผลงาน การเลื่อนระดับข้าราชการเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น การโอน การย้ายการช่วยราชการ การออกจากราชการของข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงาน ราชการ ให้สอดคล้องและเป็นไปตามระเบียบมาตรฐานและหลักเกณฑ์ต่าง ๆ
o การจ้างและเลิกจ้างลูกจ้างประจำและพนักงานราชการ
o การดำเนินการเกี่ยวกับการรักษาราชการแทนและปฏิบัติราชการแทนอธิบดี และหัวหน้า ส่วนราชการระดับสำนัก/กอง
o การปรับอัตราเงินเดือนข้าราชการให้ได้รับตามคุณวุฒิ
o ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
3. ฝ่ายข้อมูลบุคคลและบำเหน็จความชอบ มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
o ดำเนินการเกี่ยวกับการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ เลื่อนขั้นค่าจ้างลูกจ้างประจำ เลื่อนค่าตอบแทน พนักงานราชการ และตรวจคำสั่งเลื่อนเงินเดือน/ค่าจ้าง ของหน่วยงานส่วนภูมิภาค
o ดำเนินการเกี่ยวกับการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรก คุณาภรณ์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นเกียรติยศยิ่ง มงกุฎไทย เหรียญจักรพรรดิมาลา
o ดำเนินการเกี่ยวกับการจ่าย รับคืน ส่งคืน เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย และการส่งมอบใบประกาศกำกับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ
o ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดเก็บรักษา จัดทำบัญชีคุมแฟ้ม บันทึกข้อมูลในแฟ้มทะเบียนประวัติ กพ.7 ของข้าราชการและลูกจ้างประจำ และแฟ้มสัญญาจ้างพนักงานราชการ/ลูกจ้างชั่วคราว
o ดำเนินการเกี่ยวกับการบันทึกข้อมูลบุคคลในระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม (DPIS)
o ดำเนินการเกี่ยวกับกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) และกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับ ลูกจ้างประจำของส่วนราชการ (กสจ.)
o ดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการลาทุกประเภท ยกเว้นการลาศึกษา ฝึกอบรมต่างประเทศ
o ดำเนินการเกี่ยวกับการบันทึกข้อมูลในระบบจ่ายตรงเงินเดือนและค่าจ้างประจำ ระบบเบิกจ่ายตรง สวัสดิการรักษาพยาบาล และส่งเอกสารที่เกี่ยวข้องให้กองบริหารการคลัง
o ดำเนินการจัดทำข้อมูลบุคคลในโปรแกรม Excel เช่น บัญชีอาวุโส บัญชีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ในหน่วยงานปัจจุบันของข้าราชการ บัญชีการได้รับแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการ คณะทำงานต่าง ๆ
o ดำเนินการเกี่ยวกับการออกหนังสือรับรองเงินเดือน รับรองการปฏิบัติงาน และรับรองสิทธิต่างๆ
o งานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย
4. ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
o ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนา การประเมินความต้องการและความจำเป็นในการฝึกอบรม การจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากร เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินงาน ตามยุทธศาสตร์กรมบังคับคดี
o ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ออกแบบและพัฒนารายละเอียดโครงการ หลักสูตรฝึกอบรม ตามแผนปฏิบัติการประจำปี เพื่อให้บุคลากรมีขีดความสามารถในการขับเคลื่อนภารกิจในปัจจุบัน และอนาคต
o ศึกษา วิเคราะห์ วางแผนพัฒนารายบุคคล รวมทั้งติดตาม ประมวลผลการพัฒนารายบุคคล เพื่อให้บุคลากรมีการพัฒนาสมรรถนะที่เหมาะสมในการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
o ศึกษา วิเคราะห์ วางแผนและจัดทำแผนการจัดการความรู้ เพื่อให้การจัดการความรู้สนับสนุน การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์และนำไปสู่การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้
o ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำแผนการเตรียมกำลังคนคุณภาพและพัฒนา บุคลากรและคำขอรับการจัดสรรทุนของรัฐบาล (ทุน ก.พ.) เพื่อไปศึกษา ฝึกอบรม ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ
o ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ดำเนินการจัดการสวัสดิการของกรม เพื่อให้บุคลากรของกรมบังคับคดี ได้รับสิทธิประโยชน์ด้านสวัสดิการที่เหมาะสมและเพียงพอ
o ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ดำเนินการเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากรให้ครอบคลุม ทุกมิติ สร้างสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงานและเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กร
o ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน และทำการประเมินผลความพึงพอใจและความผูกพันของบุคลากร เพื่อนำผลการพัฒนาปรับปรุงให้บุคลากรมีความผูกพันและภักดีต่อองค์กร
o ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือได้รับมอบหมาย เพื่อให้ภารกิจนั้น ๆ เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
o งานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย
5. กลุ่มงานวินัยและส่งเสริมคุณธรรม มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
o ดำเนินการเกี่ยวกับการสืบสวน สอบสวน และพิจารณางานวินัย งานเรื่องราวร้องทุกข์กล่าวโทษ งานสมรรถภาพ การติดตามประเมินความประพฤติและการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ
o จัดทำทะเบียนประวัติพฤติการณ์ผู้กระทำผิดวินัยและถูกต้อง ร้องเรียน กล่าวโทษ การตรวจสอบ พฤติการณ์ของข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ ตามที่ส่วนราชการต่าง ๆ ร้องขอ ให้ดำเนินการ
o การเสริมสร้างและพัฒนาให้ข้าราชการมีวินัยและจรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือน รวมทั้ง มีสมรรถภาพ
o การเสริมสร้างระบบคุณธรรม การจัดทำแผนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบ
o ตรวจสอบสืบสวนหาข้อเท็จจริงอันเนื่องมาจากการกล่าวหา ร้องเรียน แจ้งเบาะแสหรือขอความ ร่วมมือให้ดำเนินการแก่ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการของกรม ในกรณีถูกกล่าวหา ว่าทำผิดวินัย
o ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
6. กลุ่มงานอัตรากำลังและระบบงาน มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
o ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำแผน การจัดส่วนราชการและอัตรากำลังในส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค การวางแผนกำลังคน การกำหนดและเกลี่ยอัตรากำลัง การติดตามและประเมินผล การใช้กำลังคน
o การจัดทำบัญชีถือจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างประจำ
o จัดเก็บข้อมูลเพื่อวิเคราะห์และการวางแผนกำลังคน การประเมินค่างาน การกำหนดตำแหน่ง และการปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การขอสนับสนุนอัตรากำลังใหม่ การจัดทำคำบรรยาย ลักษณะงาน มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง เกณฑ์มาตรฐานการทำงาน
o ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
ห น ้ า | 70
3. โครงสร้างและอัตรากำลัง
บุคลากรของกองบริหารทรัพยากรบุคคล มีจำนวน 42 คน มีโครงสร้างการแบ่งงานภายใน ประกอบด้วย
นายธีรภัทร์ ชัยเฉลิมปรีชา
ผู้อำนวยการกอง
ฝ่ายบริหารงานท่วไป
ข้าราชการ
1. นายปราชญ์ณา บุญเรือง
2. นางสาวจิณณรัตน์ แกมกล้า
ลูกจ้างประจำ
3. นายกฤษณ ชื่นแพ
พนักงานราชการ
4. นางสาวขนิษฐา วิชัยเสรีสิทธิ
5. นางสาวเสาร์สิริ ยิ้มละมัย
ลูกจ้างชั่วคราว
6. นายกฤตภาส ศัตรูลี้
7. นางสาวชมพูนุช ตาลพุดซา
กลมุ งานอตรากาลงั
ข้าราชการ
1. นางสาวอรนุช เกิดผล
2. นางสาวพิชามณช์ สุขอ้น
3. นายวรวัฒน์ วีระมโนกุล
4. นางสาวมาลินี เพ็ชรสิริ
พนักงานราชการ
5. นางมณฑา บุญณรงค์
6. นายธีระเชียร แก้วสุวรรณ์
7. นายจริญ เมืองประทับ
และแต่งตงั้
ข้าราชการ
1. นางวรรณวิมล วงค์อริยพร
2. นางสาวจุฑารัตน์ บุญมี
พนักงานราชการ
3. นางสาวพัชรี ทิมทอง
4. นายวิเชียร แก้วใส
5. นายธีรยา ศรีทิใจ
ลูกจ้างชั่วคราว
6. นางสาวมัณฑนา โหงกุล
กลมุ งานวินยั และส่งเสริมคณุ ธรรม
ข้าราชการ
1. นายปุณยวัจน์ ประตังทะสา
2. นายพิสิษฐ์ เจียรศักดิ์โสภณ
3. นางสาวกานต์ระวี สุขกฤษ์
4. นางสาวลลิตา ติณราช
พนักงานราชการ
5. นางสาวสุภาวดี ดินเตบ
6. นางสาวอมลวรรณ ทองแท้
ลูกจ้างชั่วคราว
7. นางสาวรุ่งนภา ติ๊บจี๋
ฝ่ายพฒนาทรพยากรบคคล
ข้าราชการ
1. นางสาววรรณภา จำเนียรพล
2. นางฐิติภรณ์ ธีรสวัสดิ์
3. นางสาวอริศรา สุขสถาพร
พนักงานราชการ
4. นางสาวสุธาสินี บัวบุตรา
5. นางสาวเพียงตะวัน ชมพูนุท
6. นางสาวอรุณี เพชรแก้ว
ลูกจ้างชั่วคราว
7. นายพลากร ม่วงสวย
และบาเหน็จความชอบ
ข้าราชการ
1. นางสาววรรณรัตน์ เมืองโคตร
2. นางสาววรัญญา เกิดชนะ
พนักงานราชการ
3. นายอนุรุด ภาษี
4. นางสาวสมพร ถาวรอินทวัฒน์
5. นายพัชรเมศร์ วุฒิเลิศเดชานนท์
ลูกจ้างชั่วคราว
6. นางสาวจิดาภา วรนิติเยาวภา
7. นายสรศักดิ์ แดงละอุ่น
ห น ้ า | 71