ค่าใช้จ่ายด้านเอกสาร เช่น การจัดทํา Shop drawing, As-built drawing, เอกสารขออนุมัติ และ เอกสารรายงาน
หมวดงานเงื่อนไขและข้อบังคับทั่วไป
xxxxxxx 1 เงื่อนไขและข้อบังคับทั่วไป
คําจํากัดความ
ศัพท์ต่างๆ xxxxxxระบุไว้ในสัญญาxxxxเหมาก่อสร้างรวมถึงเอกสารแนบท้ายสัญญาxxxxเหมา ให้xxxxxxมีความหมาย ดังต่อไปนี้
1. ผู้xxxxxxx หมายถึง มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
2. ผู้รับจ้าง หมายถึง บุคคลหรือนิติบุคคลxxxxxxทําสัญญากับ มหาวิทยาลัยราชภัฏxxxxxxxxx
3. คณะกรรมการตรวจการxxxx หมายถึง xxxxxxxxที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ แต่งตั้งขึ้นเพื่อทําหน้าที่ ตรวจและควบคุมการxxxxให้เป็นไปตามรูปแบบ รายการประกอบแบบ และข้อกําหนดในสัญญา1
4. ผู้แทนผู้xxxxxxx หมายถึง คณะกรรมการตรวจการxxxx ผู้บริหารโครงการ ผู้จัดการโครงการ xxxxxxx วิศวกร หรือผู้ควบคุมงานก่อสร้าง2 ซึ่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มอบหมายแต่งตั้งหรือxxxxxxxให้ดูแล หรือควบคุมให้งาน ก่อสร้างถูกต้องตามรูปแบบและรายละเอียดของโครงการนั้นๆ
5. ผู้แทนผู้รับจ้าง หมายถึง บุคคลที่ผู้รับจ้างแต่งตั้งขึ้น โดยมีอํานาจเต็มที่จะรับคําสั่งคําแนะนําต่างๆ ของผู้xxx xxxx และมีอํานาจสั่งงานควบคุมการทํางานของผู้รับจ้าง โดยได้แจ้งให้คู่สัญญาทราบแล้วเป็นลายลักษณ์xxxxx
6. รูปแบบประกอบสัญญา หมายถึง แบบรูปก่อสร้างทั้งหมดที่ประกอบในการทําสัญญาxxxxเหมาและรวมถึง แบบรูปที่มีการแก้ไข และเพิ่มเติม xxxxxxรับการอนุมัติเห็นชอบจากผู้xxxxxxx
7. ราคาค่างาน หมายถึง ราคาค่างาน งานก่อสร้างตามแบบก่อสร้างและรายการประกอบแบบก่อสร้าง มี ขอบเขตของงานและราคาค่าก่อสร้างที่เหมารวมไว้แล้ว ดังต่อไปนี้ นอกจากจะระบุเป็นอย่างอื่น หรือระบุเพิ่มเติมไว้ใน สัญญา
- งานเตรียมการ เตรียมสถานที่ก่อสร้างและวางผัง เพื่อให้พร้อมสําหรับการเริ่มงานก่อสร้าง
- งานรื้อถอนสิ่งxxxxxxxxx และขนย้ายไปเก็บในxxxxxxผู้xxxxxxxกําหนดให้ หรือขนไปทิ้ง งานตัดต้นไม้หรือล้อม ต้นไม้ งานโยกย้ายระบบสาธารณูปโภค งานขนดินไปทิ้งหรือถมดินxxxxx
- ค่าที่พักคนงาน ห้องน้ํา-ส้วม ทางเข้าสถานที่ก่อสร้างชั่วคราว รั้วชั่วคราว การทําความสะอาด และเก็บขน ขยะเศษวัสดุไปทิ้งนอกสถานที่ ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง
- ค่าก่อสร้างสํานักงานสนามพร้อมครุภัณฑ์และอุปกรณ์สื่อสารของผู้รับจ้าง และของผู้ควบคุมงาน
- ค่าขอมิเตอร์ไฟฟ้าและประปาชั่วคราว หรือค่าเจาะน้ําบาดาล หรือค่าเครื่องปั่นไฟ ค่าน้ํา ค่าไฟ และค่า ระบบสื่อสารต่างๆตลอดระยะเวลาก่อสร้าง งานต่อเชื่อมระบบสาธารณูปโภคเดิมกับระบบสาธารณูปโภค ใหม่ เพื่อให้อาคารใช้งานได้ทันทีเมื่อการก่อสร้างแล้วเสร็จ
- ค่าวัสดุและอุปกรณ์ ค่าแรงงาน ค่าเครื่องมือและxxxxxxxxxxx ค่าขนส่ง ค่าล่วงเวลา
- ค่าxxxxxxงานกับส่วนอื่นๆ หรือหน่วยราชการต่างๆ
- ค่าดําเนินการเกี่ยวกับเทคนิคการก่อสร้าง การรักษาความปลอดภัยและการป้องกันความxxxxxxxxxxจะxxxx xxxบุคคลและทรัพย์สินทั้งในและนอกสถานที่ก่อสร้าง ตลอดจนค่าสิ่งอํานวยความสะดวกชั่วคราวต่างๆ
- ค่าใช้จ่ายด้านเอกสาร xxxx การจัดทํา Shop drawing, As-built drawing, เอกสารขออนุมัติ และ เอกสารรายงาน
1 กํำหนดควำมหมำยและหน้ำที่กรรมกำรตรวจกำรจ้ำงเป็นไปตำมxxxxxxxสํำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยกำรพัสดุ พ.ศ.2535 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
2 กํำหนดควำมหมำยและหน้ำที่ผู้ควบคุมงำนเป็นไปตำมxxxxxxxสํำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยกำรพัสดุ พ.ศ.2535 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม และหรือตำม สัญญำจ้ำงควบคุมงำนกํำหนดไว้
- ค่าทดสอบและตัวอย่างวัสดุต่างๆ ตามที่ระบุไว้ในแบบและรายการประกอบแบบก่อสร้าง
- ค่าประกันภัยสําหรับความเสียหายต่อบุคคลและทรัพย์สิน
- ค่ากําไร
- ค่าภาษีอากรต่างๆ ที่ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย
8. รายการประกอบแบบ หมายถึง รายการมาตรฐานทั่วไป รายการเฉพาะงาน และรายการชี้แจงเพิ่มเติมต่างๆ ซึ่งเป็นรายการมาตรฐานครอบคลุมการทํางาน วัสดุ การตรวจสอบ และวิธีการก่อสร้าง บางรายการ/หมวดอาจไม่มีใน รูปแบบxxxxxxxxกําหนด ให้ตรวจสอบและเลือกใช้หมวดงานให้สอดคล้องกัน
9. สถานที่ก่อสร้าง หมายถึง สถานxxxxxxผู้xxxxxxxกําหนดขอบเขตให้ดําเนินการก่อสร้างxxxxxxxx
10. งานก่อสร้าง หมายถึง งานต่างๆ xxxxxxระบุในแบบประกอบสัญญา รายการประกอบแบบ และเอกสารแนบ สัญญา รวมทั้งงานประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
11. รูปแบบที่ใช้สร้าง (SHOP DRAWING) หมายถึง รูปแบบก่อสร้างที่ผู้รับจ้างจัดทําขึ้นตามวัตถุประสงค์ของ รูปแบบxxxxxxxxxxxx เพื่อประกอบการขออนุมัติรายxxxxxxxxxxทํางาน ขนาด มิติ แบบขยายละเอียด ต่อ ผู้ออกแบบ กรรมการตรวจการxxxx หรือผู้ควบคุมงาน เพื่อเป็นแนวทางในการทํางานและการตรวจสอบงานก่อสร้าง นั้น
12. รูปแบบก่อสร้างจริง (AS-BUILT DRAWING) หมายถึง รูปแบบก่อสร้างที่แสดงรายละเอียดตามxxxxxx ก่อสร้างอันแสดงถึงขนาด มิติ รายละเอียดวัสดุ ตําแหน่ง xxxxxxxxxxxxการทํางานจริงxxxxxxxx เพื่อใช้สําหรับการ ตรวจสอบและแก้ไขเพิ่มเติมงานในxxxxxหลังจากการใช้งานแล้วได้สะดวกและถูกต้อง
13. การอนุมัติ หมายxxx xxxอนุมัติเป็นลายลักษณ์xxxxx จากผู้มีอํานาจหน้าที่ในการอนุมัติ
14. ระบบประกอบอาคาร หมายถึง ระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ ระบบสุขาภิบาล และระบบอื่น ๆ ที่ นอกเหนืองานโครงสร้างและงานสถาปัตยกรรม
จบxxxxxxx 1
xxxxxxx 2
บุคลากรในการก่อสร้างและอํานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. บุคลากรและขอบเขตของงาน
บุคลากรในการก่อสร้างสําหรับโครงการนี้ ครอบคลุมถึงบุคลากรในส่วนต่างๆ ดังนี้
1.1 ผู้xxxxxxx
1.2 ผู้แทนผู้xxxxxxx/ผู้ควบคุมงาน
1.3 ผู้ออกแบบ/xxxxxxx/วิศวกร
1.4 ผู้รับจ้าง
2. อํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ
2.1 ผู้แทนผู้xxxxxxx/ผู้ควบคุมงาน
มีหน้าที่ควบคุมและตรวจงาน ทําการทดสอบ และวิเคราะห์ผลการทํางานของผู้รับจ้าง
2.1.1 ผู้แทนผู้xxxxxxx/ผู้ควบคุมงาน มีอํานาจออกคําสั่ง คําแนะนํา เป็นลายลักษณ์xxxxx โดยxxxxxxเป็น ข้อผูกมัดผู้รับจ้าง เหมือนคําสั่งของผู้xxxxxxxเอง
2.1.2 ผู้แทนผู้xxxxxxx/ผู้ควบคุมงาน ไม่มีอํานาจที่จะยกเว้นความรับผิดชอบใดๆ ของผู้รับจ้างxxxxxxxx และไม่มีอํานาจเกี่ยวกับการxxxxxราคาค่าก่อสร้างหรือทําให้งานเปลี่ยนรูปไป
2.1.3 การที่ผู้แทนผู้xxxxxxx/ผู้ควบคุมงาน xxxxxxคัดค้านการทํางานใดๆ ที่ผู้รับจ้างกระทําไปโดยพลการ xxxxxxลบล้างอํานาจของผู้xxxxxxxหรือผู้ออกแบบ/xxxxxxx/วิศวกรที่จะไม่เห็นชอบกับงานหรือสิ่งของนั้นๆ ได้
2.2 ผู้ออกแบบ/xxxxxxx/วิศวกร
2.2.1 ผู้ออกแบบ/xxxxxxx/วิศวกร มีอํานาจที่จะออกคําสั่งเพิ่มเติมในระหว่างงานกําลังดําเนินอยู่ เมื่อ ผู้ออกแบบ/xxxxxxx/วิศวกร เห็นxxxxx xxxx วิธีการใช้วัสดุที่ถูกต้อง หรือการดําเนินงานส่วนใดควรจะทําก่อนหรือ หลัง เพื่อมิให้เกิดความเสียหายกับงานส่วนอื่นๆ (ทั้งนี้ไม่หมายxxxxxxทําให้ราคาxxxxxขึ้นหรือลดลง) ในขณะก่อสร้าง หรือภายหลังได้ ผู้รับจ้างจะต้องทําตามและยอมรับคําสั่งนั้นๆ ในขณะก่อสร้าง
2.2.2 ผู้ออกแบบ/xxxxxxx/วิศวกร มีอํานาจที่จะสั่งเป็นลายลักษณ์xxxxxให้
(1) รื้อถอนวัสดุ สิ่งของใดๆ ก็ตามที่เห็นว่าไม่เป็นไปตามที่ระบุไว้ในรูปแบบและสัญญาออกจาก บริเวณสถานที่ก่อสร้าง
(2) เปลี่ยนวัสดุสิ่งของที่ถูกต้องมาแทน
(3) รื้อถอนงานใดๆ ที่ฝีมือการทํางาน หรือวัสดุสิ่งของที่ใช้ไม่เป็นไปตามรูปแบบรายการและ สัญญาแล้วให้สร้างใหม่ ในกรณีที่ผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติตามคําสั่งดังกล่าว ผู้xxxxxxxมีสิทธิ์ที่จะxxxxxxxผู้อื่นมาปฏิบัติตามคําสั่ง นั้น ตามคําแนะนําของผู้ควบคุมงาน โดยผู้รับจ้างต้องเสียค่าใช้จ่ายทั้งหมด และยอมให้ผู้xxxxxxxหักเงินที่จ่ายให้กับผู้รับ xxxxมาชดเชยการนี้
2.2.3 ผู้ออกแบบ/xxxxxxx/วิศวกร หรือผู้ใดxxxxxxรับมอบอํานาจจากผู้xxxxxxxมีสิทธิ์จะเข้าไปในบริเวณ งานหน่วยงาน โรงงาน และทุกๆ แห่งที่มีการเตรียมงาน หรือแหล่งผลิต เก็บรักษา วัสดุสิ่งของที่จะนํามาใช้ในการ ก่อสร้าง ผู้รับจ้างมีหน้าที่คอยให้ความสะดวกในการนําไปใช้ในสถานที่ต่างๆ เหล่านั้น
2.2.4 ผู้ออกแบบ/xxxxxxx/วิศวกร มีอํานาจในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบและรายการประกอบแบบตาม ความเห็นชอบของผู้xxxxxxx เพื่อที่จะให้อาคารมั่นคงแข็งแรง หรือทําให้ประโยชน์ในการใช้สอยดีขึ้น โดยไม่ทําให้ราคา ค่าก่อสร้างxxxxxขึ้นหรือลดลง ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตาม
2.2.5 บรรดาคําสั่งหรือคําชี้แจงรายละเอียดต่างๆ ที่ออกโดยผู้ควบคุมงาน ผู้ออกแบบ/xxxxxxx
วิศวกร หรือผู้ว่าจ้าง ทั้งโดยวาจาและลายลักษณ์xxxxxxxxจะมีผลให้ราคาค่าก่อสร้างเปลี่ยนแปลงxxxxxขึ้นหรือลดลง หรือ ต้องเปลี่ยนแปลงระยะเวลาก่อสร้างก็ตาม ผู้รับจ้างจะต้องแจ้งให้ผู้xxxxxxxทราบเพื่อตกลงอนุมัติให้ เป็นที่เรียบร้อยก่อน ดําเนินการ การดําเนินการล่วงหน้าก่อนได้รับการอนุมัติถือเป็นการดําเนินการโดยความ ยินยอมของผู้รับจ้างที่จะ รับผิดชอบค่าใช้จ่ายนั้นๆ
2.3 ผู้รับจ้าง
2.3.1 หากผู้รับจ้างไม่เข้าใจในรูปแบบ รายการประกอบแบบ วัสดุที่ใช้ หรือวิธีการทําก็ตาม ผู้รับจ้า จะต้องแจ้งให้ผู้ออกแบบ/xxxxxxx/วิศวกร ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 15 วัน เพื่อให้ผู้ออกแบบ/xxxxxxx/วิศวกร ชี้แจงข้อสงสัยนั้นๆ เป็นลายลักษณ์xxxxx หรือให้รายละเอียดเป็นแบบเพิ่มเติม ห้ามมิให้ผู้รับจ้างตัดสินใจทําอย่างใด อย่างหนึ่งเอง ผลxxxxxxxxxxเกิดขึ้น ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบทั้งหมด
2.3.2 ผู้รับจ้างจะต้องแต่งตั้งตัวแทนที่มีประสบการณ์เหมาะสมกับงานก่อสร้างและมีอํานาจเต็ม เป็น ผู้รับผิดชอบควบคุมการดําเนินงานโครงการให้เป็นไปตามรูปแบบ รายการประกอบแบบ และข้อกําหนดให้ถูกต้องตาม หลักวิชาการ และวิธีปฏิบัติซึ่งเป็นที่ยอมรับ การลงนามในเอกสารขณะปฏิบัติงานจะถือเป็นความผูกพันของผู้รับจ้างไม่ ว่ากรณีใดๆ ผู้รับจ้างจะยกxxxxxxxxxxxxxที่ตนไม่ทราบข้อเท็จจริงต่างๆ เพื่อประโยชน์ของตนมิได้ ซึ่งต้องมีอย่างน้อย ตามจํานวน ต่อไปนี้
(1) งานสถาปัตยกรรม ต้องมี สามัญxxxxxxx อย่างน้อย 1 คน
(2) งานโครงสร้าง ต้องมี สามัญวิศวกรโยธา อย่างน้อย 1 คน
(3) งานระบบไฟฟ้า ต้องมี สามัญวิศวกรไฟฟ้า อย่างน้อย 1 คน
(4) งานระบบเครื่องกลและงานสุขาภิบาล ต้องมี สามัญวิศวกรเครื่องกล อย่างน้อย 1 คน
ทั้งนี้ต้องทําหนังสือแต่งตั้ง พร้อมประวัติการทํางาน และใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกร ควบคุมตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ.2542 และ/หรือใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมตาม พระราชบัญญัติxxxxxxx พ.ศ.2543
2.3.3 ผู้รับจ้างจะต้องจัดช่างฝีมือตามประเภทของงาน ผู้xxxxxxx/ตัวแทนผู้xxxxxxxมีอํานาจที่จะให้ผู้รับจ้าง ถอนผู้ใดผู้หนึ่งออกจากงานทันที เมื่อผู้xxxxxxx/ตัวแทนผู้xxxxxxxเห็นว่าผู้นั้นประพฤติมิชอบ หรือไร้สมรรถภาพหรือ ปล่อยปละละทิ้งงาน ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาผู้ที่มีความxxxxxxมาเปลี่ยนโดยทันที
2.3.4 ผู้รับจ้างจะต้องทํารายงานตามแบบฟอร์มตามกําหนดระยะเวลาที่ผู้xxxxxxx/ตัวแทนผู้xxxxxxx กําหนดให้ เพื่อแสดงรายxxxxxxxxxxทํางานต่างๆ
2.3.5 ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในการจัดวางผังการก่อสร้างให้ถูกต้องตามรูปแบบ ตลอดจนการแก้ไข ที่ตั้งระดับ ขนาด และแนวต่างๆ ของงานก่อสร้าง จัดหาเครื่องมืออุปกรณ์และแรงงานให้พอเพียง หากมีการวาง ผังผิดพลาดจะต้องแก้ไขใหม่ให้เป็นที่เรียบร้อย ผู้รับจ้างจะต้องบําxxxxxxxx หลักฐาน แนว หมุด เครื่องหมายต่างๆ ที่ใช้ ในการวางผังให้xxสภาพเรียบร้อยอยู่เสมอ
2.3.6 ผู้รับจ้างจะต้องบําxxxxxxxxซ่อมแซมถนน สะพาน หรือเขื่อน ที่ใช้ผ่านไปยังสถานที่ก่อสร้าง เพื่อ หลีกเลี่ยงผลเสียหาย ผู้รับจ้างจะต้องเลือกเส้นทางที่เหมาะสมกับxxxพาหนะที่จะต้องผ่าน เมื่อมีข้อกล่าวหาว่า ผู้รับ xxxxทําสะพาน ถนน หรือเขื่อนเสียหาย ผู้รับจ้างจะต้องทําการซ่อมแซม แก้ไข หรือทําใหม่ให้อยู่ในสภาพเดิมทันที
2.3.7 ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 ทุกประการ ตลอดจนกฎ ข้อบังคับต่างๆ ของxxxxxxxและตามคําสั่งของผู้xxxxxxxหรือตัวแทนผู้xxxxxxx
2.3.8 ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในการจัดส่งตัวอย่างเพื่ออนุมัติและสั่งซื้อในเวลาอันเหมาะสม
2.3.9 บรรดาวัสดุสิ่งของที่ใช้ในการก่อสร้างทุกชนิดที่ปรากฏในรูปแบบก่อสร้างและรายการประกอบ แบบ หรือxxxxxxระบุแต่จําเป็นต้องนําxxxxxxxxงานก่อสร้าง จะมีในท้องตลาดหรือขาดตลาด หรือมีไม่พอ เป็นหน้าที่
ของผู้รับจ้างจะต้องเตรียมการเอาไว้ล่วงหน้า ทั้งวัสดุเทียบเท่าเพื่ออนุมัติ ผู้รับจ้างจะต้องอ้างว่าไม่มีในท้องตลาดหรือ ขาดตลาด หรือต้องสั่งจากต่างประเทศ หรือต้องสั่งทํา หรือต้องรอให้ครบอายุการใช้งาน แล้วนําเหตุผลเ หล่านั้นไป เป็นข้ออ้าง เป็นเหตุให้การก่อสร้างต้องชะงัก หรือล่าช้าไม่ทันกําหนดสัญญา และขอต่ออายุสัญญาxxxxxx เป็นหน้าที่ โดยตรงของผู้รับจ้างที่จะต้องวางแผนงานให้รอบคอบก่อนลงมือดําเนินการก่อสร้าง
2.3.10 ผู้รับจ้างจะต้องเก็บรักษาวัสดุ เครื่องมืออย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ในกรณีที่มีการบกพร่อง ผู้ออกแบบ/xxxxxxx/วิศวกร หรือผู้ควบคุมงาน จะแนะนําให้ผู้รับจ้างปฏิบัติ จัดหา หรือระวังรักษาให้ดีขึ้น เป็นหน้าที่ ของผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตาม
2.3.11 ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้ดําเนินการทดสอบคุณภาพวัสดุ สิ่งของ เพื่อให้ได้คุณภาพตรงตามที่ระบุใน รายการ ค่าใช้จ่ายทั้งหมดเป็นของผู้รับจ้าง
2.3.12 ในกรณีที่ผู้ออกแบบ/xxxxxxx/วิศวกร ต้องการให้มีการทดสอบคุณภาพ ณ โรงงาน หรือ ต้องการใบรับรองจากผู้ผลิตสิ่งของใดๆ ก็ตามที่จะนํามาใช้ ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการนี้ทั้งหมด
2.3.13 วัสดุสิ่งของทั้งหมดที่ผู้รับจ้างสั่งxxxxxหน่วยงาน จะต้องเป็นของใหม่ ไม่เคยผ่านการใช้งานxx xxxx จะต้องบรรจุลงในหีบห่อเรียบร้อยจากโรงงาน หรือมีใบสั่งของจากโรงงานกํากับ และจะต้องเป็นวัสดุสิ่งของที่มี คุณภาพชั้นหนึ่งถูกต้องและมีจํานวนพอเพียง วัสดุสิ่งของxxxxxxได้คุณภาพมาตรฐาน ผู้รับจ้างจะต้องนําออกนอกบริเวณ หน่วยงานก่อสร้างทันที
2.3.14 ในงานบางส่วนที่จําเป็นจะต้องทํา หรือจัดทําเป็นตัวอย่างในหน่วยงาน เพื่อแสดงถึงคุณภาพ เป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงาน ผู้รับจ้างจะต้องเก็บรักษาตัวอย่างxxxxxxรับอนุมัติและดําเนินการตามนั้น
2.3.15 ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบไม่ให้xxxxxxxxxxก่อความรําคาญ หรือxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxหรือบุคคล ในบริเวณ และบริเวณใกล้เคียงการก่อสร้างโดยเด็ดขาด
2.3.16 ในระหว่างการทํางานxxxxxxxxนี้ เมื่อใดก็ตามที่ผู้xxxxxxx/ตัวแทนผู้xxxxxxx เห็นว่าจะต้องxxxxxxx ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามคําสั่งและคําแนะนําของผู้xxxxxxx/ตัวแทนผู้xxxxxxxxxxจะให้หยุดงานในที่แห่งหนึ่ง แล้วย้าย คนงานไปยังที่อีกแห่งหนึ่งเพื่อความเหมาะสม ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามในการxxxxxxxนั้น
2.3.17 เพื่อให้การดําเนินงานก่อสร้างxxxxxเป้าหมายโดยเรียบร้อยและปลอดภัย ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง และคําสั่งของผู้ควบคุมงานโดยไม่มี เงื่อนไขหรือข้อเรียกร้องอื่นใด
2.3.18 ผู้รับจ้างจะต้องจัดหายามประจํา เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัยในบริเวณงานก่อสร้างตลอด ระยะเวลาก่อสร้างงานxxxxxxxx จํานวนยามที่ใช้ให้พิจารณาตามเหมาะสม โดยได้รับความเห็นชอบจากผู้xxxxxxx/ ตัวแทนผู้xxxxxxx
จบxxxxxxx 2
xxxxxxx 3 การxxxxxxงาน
1. การให้ความร่วมมือต่อผู้ควบคุมงานและวิศวกร
ผู้รับจ้างต้องให้ความร่วมมือต่อผู้ควบคุมงาน และวิศวกรในการทํางานตรวจสอบ วัด เทียบ จัดทําตัวอย่าง และ อื่นๆ xxxxxxแก่กรณี
2. การประชุมโครงการ
ผู้รับจ้างต้องเข้าร่วมประชุมโครงการ และประชุมในหน่วยงานซึ่งจัดให้มีขึ้นเป็นระยะๆ ซึ่งตัวแทนผู้รับจ้างและ ผู้เข้าร่วมประชุมต้องมีอํานาจในการตัดสินใจxxxxxxxและทราบรายละเอียดของโครงการและการxxxxxxxของผู้xxxxxxxxxx เป็นอย่างดี
3. การxxxxxxงานด้านสาธารณูปโภค
ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้จัดหาน้ําประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ ฯลฯ ซึ่งเกี่ยวพันกับระบบงานในความรับผิดชอบของผู้ รับจ้างสําหรับใช้ในการก่อสร้าง
3.1 ผู้รับจ้างต้องxxxxxxงานกับผู้แทนผู้xxxxxxxเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นระหว่างการก่อสร้าง ซึ่งอยู่ในความ รับผิดชอบของผู้รับจ้าง
3.2 ผู้รับจ้างต้องรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณ ขนาด และรายละเอียดอื่นๆ ที่จําเป็น และดําเนินการติดต่อกับ หน่วยงานต่างๆ ของรัฐ หรือเอกชน ในการขออนุมัติใช้บริการดังกล่าว
4. การxxxxxxงานในด้านxxxxxxการ
หากพื้นที่ใดของอาคารที่เกี่ยวข้องกับการตกแต่ง xxxxxxxระบุไว้ในแบบก่อสร้าง หรือทราบว่าจะมีการตกแต่งใน ภายหลัง ผู้รับจ้างต้องxxxxxxงานกับxxxxxxx และxxxxxxกรโดยใกล้ชิดตามที่ผู้ควบคุมงานร้องขอ
5. การรักษาความสะอาด
ผู้รับจ้างต้องขนขยะมูลฝอย เศษวัสดุ และสิ่งของเหลือใช้ ออกจากพื้นที่ปฏิบัติงานทุกวัน โดยนําไปทิ้งรวมกัน ในบริเวณxxxxxxxxที่จัดไว้ให้ ถ้ามิได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่น ผู้รับจ้างต้องร่วมเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการกําจัดขยะมูล ฝอยต่างๆ ออกจากบริเวณโครงการ
6. การรักษาความปลอดภัย
ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบในการรักษาความปลอดภัยด้านต่างๆ ภายในสถานที่ก่อสร้าง
7. การติดต่อหน่วยงานรัฐและค่าธรรมเนียม
ถ้ามิได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่น ผู้รับจ้างต้องมีหน้าที่เป็นผู้ติดต่อxxxxxxงานกับหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน เรื่องการทดสอบวัสดุ-อุปกรณ์ หรือการทดสอบระบบต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งความxxxxxxxของงานและระบบประกอบ อาคารนั้น โดยค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการติดต่อดําเนินงานรวมถึงค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บเป็นความรับผิดชอบของผู้ รับจ้างทั้งสิ้น
จบxxxxxxx 3
xxxxxxx 4 การเตรียมสถานที่
1. ผู้รับจ้างต้องตรวจสอบสถานที่ก่อสร้างด้วยตนเองก่อนยื่นเสนอราคา และขอคําชี้แจงเพิ่มเติม (ถ้ามี) โดยผู้xxxxxxxxxx xxxผู้รับจ้างได้ทราบ และเข้าใจสภาพของสถานxxxxxxxxxดีแล้ว
2. ผู้รับจ้างต้องทําการปรับพื้นที่โดยการรื้อถอนสิ่งxxxxxxxxxเดิม xxxx ทางเดิน รั้ว หรืออาคาร โยกย้ายระบบ สาธารณูปโภค (ถ้ามี) ล้อมย้ายต้นไม้ ตลอดจนงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ก่อสร้างเพื่อให้งานในสัญญาดําเนิน ต่อไปโดยเรียบร้อย ทั้งนี้จะต้องขอความเห็นชอบและได้รับอนุมัติจากผู้xxxxxxxก่อนถึงจะดําเนินการได้
2.1 ผู้รับจ้างต้องรื้อย้ายให้เป็นไปตามรูปแบบและรายการประกอบแบบ หากการก่อสร้างจําเป็นต้องรื้อถอนสิ่ง xxxxxxxxกําหนดไว้ ผู้รับจ้างต้องเสนอขออนุมัติต่อผู้xxxxxxxก่อนดําเนินการ
2.2 พื้นที่บริเวณที่ถูกรื้อจะต้องกลบเกลี่ยให้ได้ระดับและมีสภาพxxxxเดียวกับพื้นที่รอบๆ
2.3 วัสดุที่รื้อถอนแล้ว ผู้xxxxxxxจะกําหนดให้ผู้รับจ้างนําไปทิ้งในที่ซึ่งผู้xxxxxxxกําหนด หรือในที่ซึ่งผู้รับจ้างจัดหา
ไว้เอง
2.4 วัสดุที่นําไปใช้ประโยชน์ได้อีกหรือxxxxxxxxxxxxxมีค่า ให้ผู้รับจ้างทําบัญชีรายการวัสดุพร้อมทั้งส่งมอบวัสดุ
ให้ผู้xxxxxxxภายใน 30 วัน นับแต่การรื้อถอนแล้วเสร็จ
2.5 ในกรณีที่มีการโยกย้ายระบบสาธารณูปโภคซึ่งต้องเกี่ยวข้องกับหน่วยงานอื่น ให้ผู้รับจ้างxxxxxxงานกับ หน่วยงานนั้นๆ โดยมีหนังสือรับรองหรือมอบอํานาจxxxxxxงานจากผู้xxxxxxx
2.6 ผู้รับจ้างต้องระวังรักษาและป้องกันมิให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้าง และสิ่งแวดล้อม xxxx อาคาร ถนน สนาม ต้นไม้ xxx xxxมีอยู่ในบริเวณซึ่งมิได้กีดขวางการก่อสร้าง ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยโดยเฉพาะต้นไม้ หากปรากฏว่า ผู้รับจ้างทําให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งต่างๆ ดังxxxxxxกล่าวแล้วข้างต้น ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่อยู่ในบริเวณที่ก่อสร้างหรือนอก บริเวณ ผู้รับจ้างต้องซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพเดิมโดยเร็ว
3. ผู้รับจ้างต้องจัดให้มีสิ่งอํานวยความสะดวกและสิ่งxxxxxxxxxชั่วคราวในบริเวณสถานที่ก่อสร้าง xxxx สํานักงาน ประจําหน่วยงาน ป้ายโครงการ เป็นต้น ทั้งนี้รูปแบบและสถานที่ตั้งต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนผู้xxxxxxxเสียก่อน จึงจะดําเนินการได้
3.1 ผู้รับจ้างต้องดําเนินการให้เรียบร้อยภายใน 10 วัน นับจากxxxxxxส่งมอบสถานที่
3.2 ผู้รับจ้างต้องจัดสร้างสํานักงานสนามประจําหน่วยงานก่อสร้างทั้งของผู้รับจ้างและผู้ควบคุมงาน โดยผู้xxx xxxxกําหนดให้มีเนื้อที่ใช้สอยที่เหมาะสม xxxxxxป้องกันแดดและฝน มีแสงสว่าง การระบายอากาศ และระบบปรับ อากาศที่พอเพียง และมีห้องน้ํา ห้องส้วม อุปกรณ์ เครื่องใช้สํานักงาน เครื่องโทรสาร คอมพิวเตอร์ และเครื่องถ่าย เอกสารที่เหมาะสมเพียงพอกับการควบคุมงานก่อสร้างของตัวแทนผู้xxxxxxx ดังนี้
(1) โต๊ะพร้อมเก้าอี้ 1 ชุด
(2) เครื่องโทรศัพท์และโทรสาร พร้อมคู่สาย 1 ชุด
(3) เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 ชุด
(4) เครื่องถ่ายเอกสาร ตามเหมาะสม
3.3 ผู้รับจ้างต้องจัดทําป้ายชื่อโครงการและชื่อผู้รับจ้างตามรูปแบบมาตรฐานที่รายการประกอบแบบกําหนด และได้รับการอนุมัติจากผู้xxxxxxxก่อนดําเนินการ หรือตามรูปแบบที่ผู้xxxxxxxเห็นชอบให้ดําเนินการ โดยห้ามติดตั้ง เครื่องหมายการค้าและป้ายโฆษณาทุกชนิดในบริเวณที่ก่อสร้าง เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากผู้xxxxxxxเป็นลายลักษณ์ xxxxx
รูปแบบมาตรฐานป้ายโครงการก่อสร้าง ขนาด 1.20 X 2.40 ม.
หมายเหตุ
(1) แผ่นป้ ายxxxxxxxx STICKER พิ มพ์ ด้วย INK JET ปิ ดบนแผ่นพลาสติกลูกฟูก (Polypropylene Corrugated Board หนาไม่น้อยกว่า 3 มม.) โดยแผ่นป้ายดังกล่าวจะติดตั้งทับบนแผ่นไม้อัดหนา 6 มม. ซึ่งทาสี ด้านหลัง
(2) ขนาดตัวxxxxx ชื่อหน่วยงานเจ้าของโครงการ สูง 8-10 ซม. สถานที่ติดต่อ สูง 3-5 ซม. รายละเอียด ข้อความ สูง 2-5 ซม. และข้อความท้ายป้าย สูง 5-10 ซม. รูปแบบตัวxxxxx PSL Natrinthorn, PSL Text Regular หรือ EAC Paetai Regular
(3) สีของป้ายและตัวxxxxx ให้ขออนุมัติจากผู้xxxxxxxก่อนการดําเนินการติดตั้ง
3.4 ผู้รับจ้างต้องจัดสร้างโรงเก็บวัสดุที่xxxxxxกันแสงแดด กันฝนสาด และเพียงพอกับปริมาณของวัสดุที่ จําเป็นต้องเก็บสํารองไว้ในการก่อสร้าง ทั้งนี้ผู้รับจ้างต้องดูแลเรื่องความปลอดภัย ความสะอาด และความเรียบร้อย ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง
3.5 ผู้รับจ้างต้องจัดสร้างรั้วรอบโครงการ และประตูทางเข้าโครงการก่อสร้าง เพื่อป้องกันอันตรายต่างๆ อัน อาจเกิดขึ้นแก่บุคคลและทรัพย์สินในบริเวณงานและบริเวณข้างเคียง โดยรั้วต้องมีความมั่นคงแข็งแรง มีการดูแล บําxxxxxxxxให้อยู่ในสภาพxxxxxxเวลาก่อสร้าง ซึ่งผู้xxxxxxxจะเป็นผู้กําหนดแนวรั้วรอบโครงการให้ และหากเกิดความ เสียหายขึ้นซึ่งเป็นผลมาจากความบกพร่องของรั้ว ผู้รับจ้างจะต้องซ่อมแซม ชดใช้ หรือxxxxxxxxxxxให้เหมาะสมxx สภาพใช้งานได้ตามเดิม โดยค่าใช้จ่ายต่างๆ เป็นของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
3.6 ผู้รับจ้างต้องจัดสร้างบ้านพักคนงาน พร้อมทั้งระบบสาธารณูปโภคxxxxxxxxxx โดยจัดสร้างให้เรียบร้อยและ ถูกสุขลักษณะ และได้รับการอนุมัติตําแหน่งการก่อสร้างจากผู้xxxxxxxก่อนจึงจะก่อสร้างได้
3.7 เมื่องานแล้วเสร็จผู้รับจ้างจะต้องรื้อถอนสิ่งxxxxxxxxxชั่วคราวต่างๆ ออกจากบริเวณที่ก่อสร้าง
3.8 ผู้รับจ้างต้องจัดทําบ่อล้างล้อสําหรับล้างล้อรถที่เข้าสู่สถานที่ก่อสร้างตามมาตรฐานเพื่อมิให้กระทบหรือ สกปรกแก่ถนนที่มีอยู่เดิมของผู้xxxxxxx และจะต้องทําการล้างถนนเป็นประจําสม่ําเสมอ
3.9 ผู้รับจ้างต้องจัดทํารายงานการสํารวจเส้นทางสัญจรจากภายนอกสถานที่ก่อสร้างสู่สถานที่ก่อสร้างเพื่อ ตรวจสอบว่ามีส่วนชํารุดบกพร่องหรือไม่หากเกิดความเสียหายของเส้นทาง,ถนน หรืออื่น ๆ ผู้รับจ้างต้องทําการ ซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย
ภาพประกอบ
4. ผู้รับจ้างต้องทําการสํารวจ วางแนว และระดับของผังโครงการ ไม่ว่าจะเป็นถนน ท่อระบายน้ํา ขอบเขตบริเวณที่ดิน ปักผังอาคารให้ถูกต้องตามรูปแบบ
4.1 ผู้รับจ้างต้องทําการสํารวจตรวจสอบพื้นที่ก่อสร้างก่อนการวางผัง เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของแผนผังใน การดําเนินงาน หากมีปัญหาเรื่องของเขตจะต้องเสนอการปรับเปลี่ยนแบบก่อสร้าง เพื่อขอความเห็นชอบจาก ผู้ออกแบบให้อนุมัติก่อนดําเนินการ
4.2 ผู้xxxxxxxจะเป็นผู้ชี้ตําแหน่งหมุดหลักเขตของกรมที่ดินหรือเอกสารอื่นๆ ของผู้xxxxxxx บริเวณที่ก่อสร้าง และ กําหนดหมุด ค่าระดับมาตรฐาน (B.M.)
4.3 ก่อนดําเนินการใดๆ ผู้รับจ้างต้องทํา REFERENCE POINT ของหมุดหลักเขตไว้ และถ่ายระดับเพื่อ กําหนดค่าระดับมาตรฐานย่อยในบริเวณโครงการ
4.4 ระดับและแนวต่างๆ ต้องได้รับการตรวจสอบและรับรองว่าถูกต้องจากผู้แทนผู้xxxxxxxก่อน จึงจะดําเนินการ ก่อสร้างได้ และผู้รับจ้างต้องขอเข้าดําเนินการอย่างถูกต้องและเป็นทางการ
4.5 ผู้รับจ้างต้องรักษาหลัก CONTROL POINT ในบริเวณก่อสร้างที่ผู้xxxxxxxจัดไว้ให้อยู่ในสภาพและตําแหน่ง xxเดิมเป็นที่เรียบร้อยตลอดเวลาที่ทําการก่อสร้าง จะxxxxxxxxxต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนผู้xxxxxxxแล้ว
5. กําหนดให้ผู้รับจ้างติดตั้งวงจรปิดขนาด 8 ช่องสัญญาณในบริเวณงานก่อสร้างตลอดจนระยะเวลาก่อสร้างงานxxx xxxxx จํานวน 1 ชุด คํานวณราคาวงจรปิด เป็นเงิน 24,000 บาท
จบxxxxxxx 4
xxxxxxx 5 การเตรียมวัสดุ – อุปกรณ
1. สิ่งของที่ปรากฏอยู่ในรูปแบบ และรายการประกอบแบบ หรือมิได้ปรากฏในรูปแบบและรายการประกอบ แบบแต่จําเป็นต้องใช้เป็นส่วนประกอบในการก่อสร้างนี้ ผู้รับจ้างต้องจัดหามาเองทั้งสิ้น
2. ผู้รับจ้างต้องจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ และเครื่องผ่อนแรง ที่มีประสิทธิภาพและความ ปลอดภัย สําหรับใช้ในการปฏิบัติงาน เป็นชนิดที่เหมาะสม เพื่อให้งานก่อสร้างดําเนินการไปxxxxxxxx และได้ผลงาน ที่ถูกต้องxxxxxxxตามรูปแบบและรายการประกอบแบบทุกประการ อีกทั้งจํานวนเพียงพอกับปริมาณงาน ผู้xxxxxxxมี สิทธิ์ที่จะขอให้ผู้รับจ้างเปลี่ยนแปลง หรือxxxxxจํานวนให้เหมาะสมกับการใช้งาน
3. ผู้รับจ้างต้องขออนุมัติวัสดุ-อุปกรณ์ที่ระบุในรูปแบบและ/หรือรายการประกอบแบบกําหนดก่อนการ ดําเนินงานใดๆ โดยต้องส่งตัวอย่างวัสดุ รวมทั้งเอกสารแนะนําตามที่รายการประกอบแบบกําหนด หรือตามที่ผู้ ควบคุมงานเห็นxxxxx ในกรณีที่ผู้รับจ้างมีความจําเป็นจะต้องใช้วัสดุเทียบเท่าวัสดุที่บ่งในรูปแบบและ/หรือรายการ ประกอบแบบ ผู้รับจ้างต้องจัดทํารายละเอียดแสดงความจําเป็นที่ต้องใช้วัสดุชนิดนั้นๆ แทน และให้แสดงหลักฐาน เปรียบเทียบคุณภาพและราคาให้ชัดเจน เสนอผู้ควบคุมงานและคณะกรรมการตรวจการxxxxพิจารณาเห็นชอบ
4. กรณีที่วัสดุก่อสร้างถูกกําหนดคุณสมบัติโดยอ้างอิงมาตรฐานต่างๆ xxxx มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เป็นต้น ผู้xxxxxxxจะทดสอบหรือxxxxxxxxทั้งในการขออนุมัติใช้และระหว่างการใช้งาน โดยการทดสอบจะกระทําเฉพาะ คุณสมบัติที่กําหนดหรือที่ต้องการเท่านั้น และต้องนําไปทดสอบโดยห้องปฏิบัติการที่ผู้xxxxxxxเห็นชอบ กรณีที่ผู้รับจ้าง เลือกใช้ผลิตภัณฑ์xxxxxxรับอนุญาตแสดงเครื่องหมายผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมตามที่กําหนดแล้ว ไม่ต้องทําการทดสอบ เพื่อขออนุมัติใช้
5. ห้ามนําวัสดุอุปกรณ์ทุกชนิดนอกเหนือจากที่ระบุไว้ในรูปแบบ และ/หรือรายการประกอบแบบเข้ามาบริเวณ ก่อสร้างโดยเด็ดขาด ถ้าปรากฏว่ามีการนําเข้าให้xxxxxxส่อxxxxxทุจริต คณะกรรมการตรวจการxxxxมีสิทธิ์ พิจารณา ตัดสินให้ชดใช้และทําใหม่ทั้งหมด โดยผู้รับจ้างจะxxxxxxใช้จ่ายเพิ่มเติมและถือเป็นข้ออ้างในการขอต่ออายุสัญญาxxxx xxxได้
จบxxxxxxx 5
แผนการดําเนน
xxxxxxx 6
xxx xxxรายงานผลงานก่อสร้างและระบบความปลอดภัย
ผู้รับจ้างต้องเตรียมแผนการทํางานทั้งวัสดุ-อุปกรณ์ บุคลากร แรงงาน การxxxxxxงาน และการประเมินผล การปฏิบัติงานเพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ให้การดําเนินงานทุกอย่างxxxxxวัตถุประสงค์ โดยผู้รับจ้างต้องม บุคลากรที่มีความรู้ความxxxxxxในการวิเคราะห์แผนงานก่อสร้าง การทําแผนงานวิกฤต (CRITICAL PATH METHOD) และการจัดการโครงการ (PROJECT MANAGEMENT) ทั้งนี้ผู้รับจ้างต้องเตรียมข้อมูลในการปฏิบัติงาน และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อปรับปรุงแก้ไขแผนงานต่างๆ ให้เป็นไปตามแผนงานหลัก
1. แผนงานหลัก (MASTER SCHEDULE)
1.1 ก่อนเริ่มดําเนินการก่อสร้างผู้รับจ้างต้องเตรียมแผนงานหลักให้แล้วเสร็จภายใน 10 วัน โดยแสดง ความxxxxxxxxของกิจกรรมหลักทั้งหมดในโครงการ เพื่อรับความเห็นชอบจากผู้แทนผู้xxxxxxxก่อนลงมือทํางาน
1.2 ผู้รับจ้างต้องจัดเตรียมบัญชีรายการกิจกรรมก่อสร้างที่เกี่ยวกับโครงการ และระยะเวลาที่ต้องดําเนินการ ของแต่ละกิจกรรม เพื่อการวางแผนงานวิกฤตของโครงการ และความxxxxxxxxของแต่ละกิจกรรม การทําแผนการ ดําเนินงานขั้นละเอียดของกิจกรรมย่อยให้แยกขยายออกจากงานของกิจกรรมหลักต่างหาก
1.3 ในกรณีที่การดําเนินงานล่าช้ากว่าแผนงานหลักเป็นเวลาตั้งแต่ 30 วันขึ้นไป ผู้รับจ้างจะต้องส่งแผนเร่งรัด งาน เพื่อให้โครงการเป็นไปตามแผนงานหลัก
1.4 ผู้รับจ้างต้องแจ้งแผนงานแก่ทุกxxxxxxxเกี่ยวข้องในกิจกรรมต่างๆ ของโครงการ รวมถึงผู้ออกแบบและผู้
xxxxxxx
2. แผนงานการจัดบุคลากรและแรงงาน (MANPOWER SCHEDULE) ในกรณีที่การดําเนินงานล่าช้ากว่าแผนงานหลักเป็นเวลาตั้งแต่ 30 วันขึ้นไป ผู้รับจ้างต้องจัดทําแผนงานการจัด
บุคลากรและแรงงานเสนอต่อผู้ควบคุมงานพร้อมแผนเร่งรัดงาน เพื่อให้โครงการเป็นไปตามแผนงานหลัก โดยแสดง รายละเอียดดังนี้
2.1 รายละเอียดขั้นตอนการดําเนินงาน
2.2 ปริมาณบุคลากรและแรงงานที่ปฏิบัติงาน
2.3 ระยะเวลาการปฏิบัติงาน
2.4 แผนงบประมาณของผู้xxxxxxx
2.5 แผนงบประมาณของผู้รับจ้าง
3. แผนงานการจัดส่งรายละเอียดและเอกสารเพื่อการอนุมัติวัสดุ (MATERIALS APPROVE SCHEDULE) หลังจากที่ผู้รับจ้างจัดทําแผนงานหลักแล้ว ผู้รับจ้างต้องจัดทําแผนงานการจัดส่งรายละเอียดและเอกสารเพื่อ
การอนุมัติวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆ โดยแสดงรายละเอียดดังนี้
3.1 วัน เดือน ปี ที่ส่งเรื่องขออนุมัติ
3.2 หมายเลขหมวดของวัสดุ ผลิตภัณฑ์ที่ขออนุมัติ
3.3 แสดงรายละเอียด หรืออธิบายส่วนของงานที่มีความxxxxxxxxกับรายการนําเสนอขออนุมัติ
ทั้งนี้ผู้รับจ้างต้องคํานึงถึงเวลาการตรวจสอบของผู้ควบคุมxxx xxxพิจารณาของผู้ออกแบบ และการพิจารณา อนุมัติของกรรมการตรวจการxxxx รวมถึงเวลาที่ผู้รับจ้างต้องนําเสนอเอกสารใหม่ กรณีที่เอกสารไม่ถูกต้อง หรือไม่ ครบถ้วน
4. แผนการทํางานล่วงหน้า
ผู้รับจ้างต้องจัดทําแผนการทํางาน และรายละเอียดของงานเสนอต่อผู้ควบคุมงานเพื่อประกอบการขออนุมัติ ทํางานล่วงหน้าดังต่อไปนี้
4.1 แผนการทํางานล่วงหน้ารายวัน (DAILY REQUEST) ประกอบด้วย
(1) ตําแหน่งและปริมาณงานก่อสร้างในวันถัดไป
(2) จํานวนบุคลากรและแรงงานที่เข้าปฏิบัติงานในวันถัดไป
(3) ปริมาณxxxxxxxxxxx วัสดุ และอุปกรณ์ที่ใช้ปฏิบัติงานในวันถัดไปโดยจัดส่งให้ผู้ควบคุมงานล่วงหน้า ก่อนการดําเนินงาน 1 วัน หรือตามที่ผู้ควบคุมงานกําหนดให้
4.2 แผนการทํางานล่วงหน้ารายสัปดาห์ (WEEKLY REQUEST) ประกอบด้วย
(1) ตําแหน่งและปริมาณงานก่อสร้างพร้อมเวลาแล้วเสร็จของงานในรอบสัปดาห์ถัดไป
(2) จํานวนบุคลากรและแรงงานที่เข้าปฏิบัติงานในรอบสัปดาห์ถัดไป
(3) ปริมาณxxxxxxxxxxx วัสดุ และอุปกรณ์ที่ใช้ปฏิบัติงานในรอบสัปดาห์ถัดไปโดยจัดส่งให้ผู้ควบคุมงาน ภายในวันสุดท้ายของแต่ละสัปดาห์ หรือตามที่ผู้ควบคุมงานกําหนดให้
4.3 แผนการนําxxxxxxxxxxx วัสดุ และอุปกรณ์เข้าหน่วยงาน (MATERIALS DELIVERY)
ผู้รับจ้างต้องแสดงชนิด ปริมาณ และกําหนดการนําเข้าของxxxxxxxxxxx วัสดุ หรืออุปกรณ์ โดยจัดส่งให้ผู้ควบคุมงาน ล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วัน เพื่อที่ผู้ควบคุมงานจะxxxxxxxxxxxxงานกับผู้xxxxxxxในกรณีที่การนําเข้านั้นมีผลกระทบกับ บุคคลอื่นๆ xxxx กีดขวางถนน หรือต้องปิดการจราจรชั่วคราว เป็นต้น
4.4 แผนการทํางานนอกเวลาทําการxxxx (OVERTIME REQUEST) หากผู้รับจ้างมีความxxxxxxxxxxจะทํางานใน ช่วงเวลาทํางานที่เกินเวลา 8 ชั่วโมง ในวันทํางานxxxx (วันจันทร์ถึงวันเสาร์) และทํางานล่วงเวลาในวันxxxxxxx xxx นักขัตฤกษ์ หรือxxxxxxทางราชการกําหนดให้เป็นวันหยุด ราชการ ผู้รับจ้างต้องแจ้งให้ผู้ควบคุมงานทราบล่วงหน้าอย่าง น้อย 1 วัน โดยแสดงรายละเอียดปริมาณงาน และตําแหน่งของงาน เพื่อขออนุมัติทํางานล่วงเวลา ผู้ควบคุมงานจะ พิจารณาอนุมัติตามความเหมาะสม ในกรณีที่การทํางานนั้นจําเป็นต้องมีผู้ควบคุมงานอยู่ควบคุม ผู้รับจ้างต้องเป็น ผู้รับภาระออกค่าใช้จ่ายในการทํางานล่วงเวลาของผู้ควบคุมงาน
5. การรายงานความxxxxxxxxของงาน
5.1 ผู้รับจ้างต้องบันทึกรายละเอียดต่างๆ ของงานที่ทําและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน สรุปเป็นรายงาน นําส่งให้ผู้ควบคุมงาน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
5.1.1 ปริมาณงานและตําแหน่งงานที่ปฏิบัติจริง และผลการดําเนินงาน หมายรวมถึง
(1) งานที่แก้ไขเปลี่ยนแปลงตามที่ผู้xxxxxxxหรือผู้ควบคุมงานสั่งดําเนินการ
(2) การปฏิบัติงานนอกเวลาการทํางานxxxx
(3) การปฏิบัติงานฉุกเฉิน และ/หรือเฉพาะกิจ
(4) การเชื่อมต่อ หรือตัด หรือเลิกใช้ สาธารณูปโภค หรือส่วนบริการอื่นๆ
(5) การทดลอง ทดสอบ ระบบ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้
(6) การแก้ไขรายละเอียด ส่วนงานที่ยังไม่เรียบร้อย เพื่อการมอบงาน
(7) การนําเข้าxxxxxxxxxxx วัสดุ หรืออุปกรณ์
(8) การหยุดงาน และสาเหตุ
5.1.2 อุบัติเหตุ (จํานวนครั้ง ลักษณะ และการดําเนินการ)
5.1.3 จํานวนบุคลากรและแรงงานที่ปฏิบัติงาน
5.1.4 จํานวนxxxxxxxxxxx วัสดุ หรืออุปกรณ์ที่ใช้ปฏิบัติงาน
5.1.5 สภาพภูมิอากาศทั่วไป
5.2 การนําส่งรายงานความxxxxxxxxของงาน ให้ผู้รับจ้างนําส่งให้ผู้ควบคุมงานหลังจากการปฏิบัติงานประจําวัน ประจําสัปดาห์ และประจําเดือน
5.2.1 รายงานประจําวัน (DAILY REPORT) ผู้รับจ้างต้องจัดส่งให้ผู้ควบคุมงานภายหลังเลิกงานของวันนั้นๆ หรือก่อนเริ่มงานในวันถัดไป หรือ
ตามที่ผู้ควบคุมงานกําหนดให้
5.2.2 รายงานประจําสัปดาห์ (WEEKLY REPORT) ผู้รับจ้างต้องจัดส่งให้ผู้ควบคุมงานภายในวันแรกของสัปดาห์ถัดไป หรือตามที่ผู้ควบคุมงานกําหนดให้
5.2.3 รายงานประจําเดือน (MONTHLY REPORT) ผู้รับจ้างต้องจัดส่งให้ผู้ควบคุมงานภายในสัปดาห์แรกของเดือนถัดไป หรือตามที่ผู้ควบคุมงานกําหนดให้
6. การนําเสนอและรายงาน ระบบจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง
6.1 รายละเอียดงานจัดการความปลอดภัย
6.1.1 กําหนดให้มีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้างในโครงการ ก่อสร้าง เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทํางานแก่ลูกจ้างที่ปฏิบัติงานโนโครงการxxxxxxxxxxผู้รับจ้าง ได้คํานวณค่าใช้จ่ายไว้แล้ว ณ วันเสนอราคา
6.1.2 กําหนดให้xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxยื่นซองประกวดราคา จัดทําเอกสารแนบท้ายเอกสารประกวดราคา เกี่ยวกับ "ระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง” ตามข้อ 6.1.1 เพื่อป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุที่ เกิดขึ้น ตามมาตรฐานความปลอดภัยฯ ของกระทรวงแรงงานฯ และกฎหมายอื่นฯ ที่เกี่ยวข้อง โดยให้กําหนดเฉพาะ ประเภทของงานก่อสร้าง คือ
(1) งานอาคารขนาดใหญ่ ที่มีพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันเกิน2,000 ตารางเมตร หรืออาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 15.00 เมตร ขึ้นไปและมีพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลัง เดียวกันเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร
(2) งานสะพานที่มีความยาวช่วงเกิน 30.00 เมตร หรืองานสะพานข้ามทางแยกหรือทางยกระดับ หรือสะพานกลับรถยนต์ หรือทางแยกต่างระดับ
(3) งานขุด หรือซ่อมแซม หรือรื้อถอนระบบสาธารณูปโภค ที่ลึกเกิน 3.00 เมตร
(4) งานอุโมงค์ หรือทางลอด
(5) งานก่อสร้างที่มีงบประมาณค่าก่อสร้างเกิน 300 ล้านบาท
6.1.3 กําหนดให้ผู้รับจ้าง หรือผู้รับเหมาก่อสร้าง xxxxxxรับการคัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างงานก่อสร้าง ตาม ข้อ 6.1.2 จัดทําแผนปฏิบัติงานความปลอดภัยในการทํางานอย่างละเอียดและชัดเจน ให้สอดคล้องกับระบบการ จัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง แล้วยื่นต่อผู้xxxxxxx หรือเจ้าของโครงการฯ ก่อนการดําเนินการก่อสร้าง ภายใน 30 วัน นับแต่วันเริ่มทําสัญูญาxxxxxxx
6.1.4 กําหนดให้ผู้xxxxxxของผู้xxxxxxx หรือเจ้าของโครงการฯ เป็นผู้ควบคุม ดูแลและตรวจสอบการ ปฏิบัติงานในหน่วยงานก่อสร้าง โดยให้ผู้รับจ้างปฏิบัติตามแผนปฏิบัติงานความปลอดภัยฯ ตามข้อ 6.1.3 หรือผู้xxxxxxx xxxxxxดําเนินการxxxxxxxxxxปรึกษา ที่มีความxxxxxx ควบคุม ดูแลรับผิดชอบงานความปลอดภัยฯ ในการทํางาน ก่อสร้างโดยตรง
6.1.5 กําหนดให้ผู้รับจ้าง หรือผู้รับเหมาก่อสร้าง ต้องปฏิบัติการตามแผนปฏิบัติงานดังกล่าวตามข้อ
6.1.3 อย่างเคร่งครัด และสอดคล้องกับกฎหมาย และxxxxxxxxxxกําหนดไว้ พร้อมรายงานผลการ ดําเนินการตามแผนการปฏิบัติงานความปลอดภัยฯ ดังกล่าว ให้ผู้xxxxxxx หรือเจ้าของโครงการฯ รับทราบอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง
6.2 ข้อแนะนําขั้นตอนและวิธีการดําเนินการ ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมการ
(ผู้รับจ้างได้ดําเนินการแล้วในขั้นตอนการเสนอราคา ให้นําส่งรายชื่อแจ้งพนักงาน บุคลากร และ เจ้าหน้าที่ ความปลอดภัย ต่อผู้xxxxxxxผ่านต่อผู้ควบคุมงานอีกครั้ง)
(1) ผู้เสนอราคา ต้องคํานวณปริมาณงานค่าก่อสร้างให้ครอบคลุม ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการ ป้องกันอุบัติเหตุและโรคเนื่องจากการทํางานxxxxxxเกิดขึ้นในหน่วยงานก่อสร้างตามมาตรฐานความปลอดภัยในการ ทํางานเกี่ยวกับงานก่อสร้างและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
(2) ผู้เสนอราคา ต้องเตรียมบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุ อันตรายxxxxxxจะเกิดขึ้นให้เพียงพอและเหมาะสม เพื่อดําเนินการxxxxxxxxxxxxxxx
(3) ผู้เสนอราคาต้องเตรียมจัดทําเอกสารรายละเอียดเป็นภาษาไทยเกี่ยวกับ “ระบบการ จัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง” สําหรับโครงการก่อสร้างที่จะยื่นเสนอราคาตามxxxxxxxหรือเงื่อนไขที่ เจ้าของโครงการกําหนด และxxxxxxปฏิบัติงานได้จริง โดยมีข้อกําหนดที่สําคัญๆ ประกอบด้วย
- กําหนดนโยบายความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทํางาน
- การจัดองค์กรความปลอดภัยฯ ในงานก่อสร้าง และหน้าที่ความรับผิดชอบ
- กฎหมายและข้อกําหนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
- การฝึกอบรมความปลอดภัยฯ
- กําหนดมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย
- การตรวจความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง
- กําหนดกฎความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง
- การควบคุม ดูแลความปลอดภัยฯ ของผู้รับเหมาช่วง
- การตรวจสอบและการติดตามผลความปลอดภัยฯ
- การรายงานอุบัติเหตุ และการสอบสวน วิเคราะห์อุบัติเหตุ
- การxxxxxxxxxxxxxxความปลอดภัยฯ
- การปฐมพยาบาล
- การวางแผนฉุกเฉิน
- การจัดเก็บเอกสารที่เกี่ยวข้อง
- อื่นๆ
ขั้นตอนที่ 2 การเสนอราคา
(1) ผู้เสนอราคา ต้องแนบเอกสารประกวดราคา ตามขั้นตอนที่ 1 ข้อ (3) พร้อมกับเอกสาร อื่นๆ ที่กําหนดไว้ ในการยื่นซองประกวดราคาเพื่อประกอบการพิจารณา
(2) ผู้เสนอราคา ต้องศึกษาเอกสารดังกล่าว ตามขั้นตอนที่ 2 ข้อ (1) ไห้เข้าใจชัดเจน สําหรับ ชี้แจงตอบข้อซักถามของคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา
ขั้นตอนที่ 3 การทําสัญญาxxxx
(1) ผู้รับจ้างต้องเตรียมรวบรวมข้อมูลพื้นฐานที่จะต้องมากําหนดกระบวนการของ การ วางแผนให้สอดคล้องและครอบคลุมหัวข้อหลักๆ ของระบบการจัดการความปลอดภัยฯ ที่กําหนดไว้ ตามขั้นตอนที่ 1 ข้อ (3)
(2) ผู้รับจ้าง ต้องศึกษากฎหมายและข้อกําหนดต่างๆ รวมทั้งขั้นตอนและวิธีการก่อสร้าง โครงการดังกล่าวอย่างละเอียด เพื่อจัดทําแเผนปฏิบัติงานความปลอดภัยฯ อย่างเป็นรูปธรรมและxxxxxxปฏิบัติได้ จริง ยื่นต่อผู้xxxxxxxตามที่กําหนดไว้
(3) ผู้รับจ้าง ต้องจัดบุคลากรที่เตรียมไว้ ตามขั้นตอนที่ 1 ข้อ (2) เพื่อกําหนดโครงสร้างและบทบาท หน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้องด้านความปลอดภัยฯ ให้ชัดเจน
ขั้นตอนทื่ 4 การตรวจสอบและติดตามผล
(1) ผู้รับจ้าง ต้องส่งแผนปฏิบัติงานความปลอดภัยฯอย่างละเอียดเเละชัดเจน ให้ผู้xxxxxxxตาม ระยะเวลาที่กําหนดไว้ ก่อนการดําเนินการก่อสร้างให้เรียบร้อยทั้งนี้ไม่เกิน 30 วัน
(2) ผู้รับจ้าง ต้องปฏิบัติตามxxxxxxxหรือเงื่อนไขสัญญาxxxxxxxผู้xxxxxxxกําหนดไว้อย่างเคร่งครัด
(3) ผู้รับจ้าง ต้องปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกําหนดที่เกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยใน การทํางานอย่างเคร่งครัด
(4) ผู้รับจ้าง ต้องตรวจสอบติดตามวิธีการทํางานและสภาพของงานในหน่วยงานก่อสร้างให้เกิดความ ปลอดภัยในการทํางานตามแผนปฏิบัติงานความปลอดภัยฯ ที่กําหนดไว้อย่างเคร่งครัด พร้อมปรับปรุงแก้ไขให้ เหมาะสม และxxxxxxปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและxxxxxxxxxx
ขั้นตอนที่ 5 การรายงานผล
(1) ผู้รับจ้าง ต้องรายงานผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงานความปลอดภัยฯ ตามขั้นตอนที่ 4 ข้อ
(4) ให้ผู้xxxxxxxทราบเป็นระยะๆ ตามที่ระบุไว้xxxxxxxxxxxxอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ผ่านผู้ควบคุมงานเสนอต่อผู้ xxxxxxx
(2) ผู้รับจ้าง ต้องประเมินผลความสําเร็จ หรือความล้มเหลวของกิจกรรม ที่วางแผนไว้ เพื่อนํามา ปรับปรุงและแก้ไขในการบริหารการจัดการในงานก่อสร้างให้ดีขึ้น
7. ระบบความปลอดภัย ผู้รับจ้างอย่างน้อยต้องดําเนินการจัดระบบความปลอดภัยนอกเหนือจากที่นําเสนอดังนี้
7.1. การป้องกันการxxxxxxxxxข้างเคียง
ผู้รับจ้างต้องจํากัดขอบเขตการก่อสร้าง และต้องป้องกันดูแลมิให้ลูกจ้างของตนxxxxxxxxxข้างเคียงของผู้อื่น โดยเด็ดขาด ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย ค่าชดเชย รวมทั้งการแก้ไขให้คืนดีในเมื่อxxxxxxxเรียกร้องค่าเสียหาย ใดๆ ที่เกิดจากการกระทําของลูกจ้างของตนในกรณีที่ไปxxxxxxxxxข้างเคียง
7.2 การป้องกันบุคคลภายนอกและอาคารข้างเคียง ผู้รับจ้างต้องป้องกันไม่ให้บุคคลภายนอกหรือผู้xxxxxxได้รับอนุญาตจากผู้ควบคุมงานเข้าไปในบริเวณ
ก่อสร้างตลอดระยะเวลาก่อสร้างทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน ให้ผู้รับจ้างปฏิบัติตามข้อนี้อย่างเคร่งครัด เมื่อถึง เวลาเลิกงานก่อสร้างในแต่ละวัน ให้ตัวแทนผู้รับจ้างตรวจตราให้ทุกคนออกไปจากอาคารที่ก่อสร้าง ยกเว้นยาม xxxxxxxx หรือการทํางานล่วงเวลาของบุคคลxxxxxxรับการอนุมัติแล้วเท่านั้น ผู้รับจ้างจะต้องติดตั้งเครื่องป้องกันวัสดุxx xxxxxxxจะเป็นอันตรายต่อชีวิต หรือสร้างความxxxxxxxxxxxxxxxx
และอาคารข้างเคียง โดยไม่กีดขวางทางสัญจรสาธารณะ ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง ขออนุญาต ค่าบําxxxxxxxx ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง รวมถึงค่ารื้อถอนเมื่อแล้วเสร็จงาน
7.3 การป้องกันสิ่งก่อสร้างที่มีอยู่เดิม
7.3.1 สิ่งxxxxxxxxxข้างเคียง ผู้รับจ้างต้องป้องกันมิให้เกิดความเสียหายใดๆแก่สิ่งxxxxxxxxxข้างเคียงในระหว่างทําการก่อสร้าง
หากเกิดความเสียหายขึ้นผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบแก้ไข ซ่อมแซม ให้คืนอยู่ในสภาพเดิมโดยเร็ว ในกรณีที่ผู้ควบคุม งานเห็นว่าการป้องกันหรือการแก้ไขที่ผู้รับจ้างทําไว้xxxxxxxxxx หรือไม่ปลอดภัย อาจออกคําสั่งให้ผู้รับจ้างแก้ไขหรือ เพิ่มเติม ได้ตามความเหมาะสม
7.3.2 สิ่งก่อสร้างใต้ดิน
ผู้รับจ้างต้องสํารวจจนทราบแน่ชัดแล้วว่ามีสิ่งxxxxxxxxxที่อยู่ใต้ดินในบริเวณก่อสร้างหรือบริเวณ ใกล้เคียง xxxx ท่อน้ําประปา ท่อระบายน้ํา สายโทรศัพท์ ฯลฯ ซึ่งผู้รับจ้างต้องระวังรักษาให้อยู่ในสภาพxxxxxxxxx ระยะเวลาก่อสร้าง หากเกิดความเสียหายขึ้นผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบแก้ไข ซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพเดิมโดยเร็ว ในกรณี ที่กีดขวางการก่อสร้าง จําเป็นต้องขออนุญาตเคลื่อนย้าย จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ผู้รับจ้างรับผิดชอบดําเนินการ เองทั้งหมด โดยเป็นค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
7.4 การป้องกัน รักษางานก่อสร้างและป้องกันเพลิงไหม้
7.4.1 การป้องกันและรักษางานก่อสร้าง ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้รับผิดชอบในการป้องกันและรักษางานก่อสร้าง รวมทั้งวัสดุอุปกรณ์ที่นํามา
ติดตั้งหรือxxxxxxxในบริเวณก่อสร้าง ตั้งแต่เริ่มงานจนกระทั่งผู้xxxxxxxรับมอบงานงวดสุดท้าย ในกรณีจําเป็นผู้รับจ้างต้อง จัดทําเครื่องป้องกันความเสียหาย xxxxxxเกิดขึ้นกับวัสดุอุปกรณ์และงานก่อสร้าง ไม่ว่าจะเป็นการสร้างที่กําบัง การ ป้องกันการขีดข่วน การตั้งเครื่องสูบน้ําป้องกันน้ําท่วม และการป้องกันอื่นๆ ที่ผู้ควบคุมงานเห็นว่าเหมาะสม รวมทั้ง วิธีการป้องกันวัสดุอุปกรณ์สูญหาย xxxx การตรวจค้นอย่างละเอียดและ
เคร่งครัดกับทุกคนที่เข้า-ออกบริเวณหรืออาคารที่ก่อสร้างตลอดเวลา
7.4.2 การป้องกันเพลิงไหม้
ผู้รับจ้างต้องจัดให้มีเครื่องดับเพลิงที่มีประสิทธิภาพและเพียงพอ ประจําอาคารที่ก่อสร้างทุกชั้น รวมทั้งในสํานักงานชั่วคราว โรงเก็บวัสดุ และในที่ต่างๆ ที่จําเป็น มีการป้องกันอย่างเคร่งครัดต่อแหล่งเก็บเชื้อเพลิง และวัสดุไวไฟ โดยจัดให้มีป้ายเตือนที่เห็นเด่นชัด ห้ามนําไฟหรือวัสดุที่ทําให้เกิดไฟ เข้าใกล้แหล่งเก็บวัสดุไวไฟ ห้ามสูบ บุหรี่หรือจุดไฟในอาคารที่ก่อสร้างโดยเด็ดขาด
7.4.3 ความรับผิดชอบ
ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการดูแล ป้องกัน และรักษางานก่อสร้างดังกล่าว และ ต้องรับผิดชอบต่อความเสียหาย และการสูญหาย xxxxxxเกิดขึ้นกับวัสดุอุปกรณ์และงานก่อสร้างทั้งหมด จนกว่าผู้ xxxxxxxรับมอบงานงวดสุดท้าย
7.5 การหลีกเลี่ยงเหตุxxxxxxxxxรําคาญ
งานก่อสร้างหรือการกระทําใดๆ ของลูกจ้างxxxxxxจะเป็นเหตุxxxxxxxxxรําคาญแก่บุคคลในที่ข้างเคียง ผู้ ควบคุมงานอาจออกคําสั่งให้ผู้รับจ้าง ทํางานก่อสร้างนั้นตามวิธีและเวลาที่เหมาะสม หรือแจ้งให้ผู้รับจ้างหาวิธีป้องกัน เหตุxxxxxxxxxดังกล่าว ผู้รับจ้างจะต้องเร่งดําเนินการในทันที
8. อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยในการทํางาน
ผู้รับจ้างต้องจัดสถานที่ก่อสร้างให้มีสภาพแวดล้อมxxxxx สะอาด ไม่มีสิ่งที่จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของ ลูกจ้าง จัดให้มีป้ายเตือนที่เห็นเด่นชัด ในบริเวณxxxxxxเกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุทุกแห่งในบริเวณก่อสร้างจัดให้มี อุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่างๆ xxxx หมวกนิรภัย เข็มขัดนิรภัย รั้วกันตกจากที่สูง เป็นต้น ผู้ควบคุมงานอาจออกคําสั่ง ให้ผู้รับจ้างปรับปรุงแก้ไขได้ตามความเหมาะสม ให้ผู้รับจ้างมีการจัดการเรื่องความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด และ ถูกต้องตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง
9. การปฐมพยาบาลและอุปกรณ์ช่วยชีวิต
ผู้รับจ้างต้องจัดให้มียาและเวชภัณฑ์สําหรับการปฐมพยาบาล และอุปกรณ์ช่วยชีวิตที่จําเป็นตามความเหมาะสม หรือตามที่กําหนดไว้ในกฎหมายที่เกี่ยวข้อง และต้องจัดการให้มีเพิ่มเติมเพียงพออยู่เสมอ ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง
10. การประกันภัย
ผู้รับจ้างจะต้องจัดให้มีการประกันภัยสําหรับความเสียหายต่อบุคคลทุกคนที่เกี่ยวข้อง และไม่เกี่ยวข้องโดยตรง กับการก่อสร้างนี้ตามกฎหมาย และประกันภัยสําหรับความxxxxxxxxxxxxxxxxxxxในบริเวณก่อสร้างและข้างเคียง รวม
ความxxxxxxxxxxเกิดxxxxxxxxxxxxxx และอุบัติเหตุอื่นๆ ตามระบุในสัญญา หรือตามกฎหมายตามxxxxxxของงาน ก่อสร้าง และตามระยะเวลาก่อสร้างxxxxxxxx โดยได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานและผู้xxxxxxxก่อน
11. การรายงานอุบัติเหตุ
เมื่อมีอุบัติเหตุใดๆเกิดขึ้นในบริเวณก่อสร้าง xxxxxxxxxxนั้นๆ จะมีผลกระทบต่องานก่อสร้างหรือไม่ก็ตาม ให้ ตัวแทนผู้xxxxxxxรีบรายงานเหตุที่เกิดนั้นๆ ให้ผู้ควบคุมงานทราบในทันที แล้วทํารายงานเป็นลายลักษณ์xxxxxระบุ รายละเอียดเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การแก้ไขเหตุการณ์นั้นๆ และการป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นอีก
จบxxxxxxx 6
xxxxxxx 7
แบบ วัสดุ และการขออนุมัติ
1. แบบประกอบสัญญา รูปแบบที่ใช้สร้าง (SHOP DRAWING) และรูปแบบก่อสร้างจริง (ASBUILT DRAWING)
1.1 แบบประกอบสัญญา
1.1.1 ผู้รับจ้างต้องรับรองว่าได้ตรวจสอบและทําความเข้าใจรายละเอียดแบบวิศวกรรม แบบ สถาปัตยกรรม และแบบงานระบบต่างๆ พร้อมทั้งรายการประกอบแบบ และข้อกําหนดต่างๆ ที่ปรากฏในโครงการนี้ จนเข้าใจถึงเงื่อนไขต่างๆ โดยละเอียดถี่ถ้วนแล้ว หากปรากฏว่ารูปแบบและรายการนี้ผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนไปจาก หลักการทางวิศวกรรมหรือทางเทคนิค ให้ผู้รับจ้างสอบถามจากผู้ควบคุมงานโดยตรง แต่ทั้งนี้ผู้รับจ้างตกลงที่จะปฏิบัติ ตามคําวินิจฉัยของกรรมการตรวจการxxxxหรือผู้ควบคุมงาน เพื่อให้งานแล้วเสร็จxxxxxxxโดยจะxxxxxxใช้จ่ายใดๆ xxxxxขึ้นจากผู้xxxxxxxxxxxxx
1.1.2 การอ่านแบบให้ถือตัวxxxxxและตัวเลขเป็นสําคัญ ห้ามใช้วิธีวัดจากแบบโดยตรง ในส่วนที่ต้อง ติดตั้งวัสดุ-อุปกรณ์ ผู้รับจ้างต้องตรวจสอบจากวัสดุ-อุปกรณ์xxxxxxรับอนุมัติให้ใช้ในโครงการและสถานที่ติดตั้งจริง
1.1.3 เมื่อแบบประกอบสัญญาไม่xxxxxxx xxxชัดเจน หรือในทางปฏิบัติงานช่างxxxxxxระบุได้ครบถ้วน ผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้เสนอรูปแบบที่ใช้สร้าง (SHOP DRAWING) หรือรายการเพิ่มเติม ให้xxxxxxx/วิศวกรผู้ออกแบบ พิจารณาตรวจสอบก่อนการดําเนินการ และให้xxxxxxแบบและรายการเพิ่มเติมนั้นเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาด้วย
1.1.4 ในกรณีที่เกิดความxxxxxxxxxxx xxxxxxx หรือไม่ชัดเจนในแบบประกอบสัญญา รายการประกอบ แบบ ใบกรอกปริมาณ รายการวัสดุ-อุปกรณ์ หรือเอกสารสัญญา ผู้รับจ้างต้องรีบแจ้งให้ผู้ควบคุมงานทราบเพื่อขอคํา วินิจฉัยทันที กรรมการตรวจการxxxxหรือผู้ควบคุมงานจะเป็นผู้ชี้ขาดและมีสิทธิ์ถือเอาส่วนxxxxxกว่า ถูกต้องกว่าจาก องค์ประกอบของสัญญาข้างต้น และหลักการทํางานที่ถูกต้องตามหลักวิชาช่าง ตลอดจนความมั่นคงแข็งแรงเป็นเกณฑ์ พิจารณา เพื่อให้ได้งานที่มีคุณภาพตามวัตถุประสงค์แห่งสัญญาxxxx ผู้รับจ้างจําเป็นต้องทําโดยไม่มีข้อโต้แย้งใดๆ ทั้งสิ้น หากผู้ควบคุมงานยังไม่แจ้งผลการพิจารณา ห้ามผู้รับจ้างดําเนินการในส่วนนั้น มิฉะนั้นผู้รับจ้างจะต้อง รับผิดชอบข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น และผู้ควบคุมงานอาจจะเปลี่ยนแปลงงานส่วนนั้นได้ตามความเหมาะสม ซึ่งในกรณีที่ผู้ รับจ้างต้องดําเนินการแก้ไขจะxxxxxxใช้จ่ายxxxxxและขอต่อสัญญาxxxxxx
1.2 รูปแบบที่ใช้สร้าง (SHOP DRAWING)
1.2.1 ผู้รับจ้างต้องศึกษาทําความเข้าใจแบบวิศวกรรม แบบสถาปัตยกรรม แบบตกแต่งภายใน และงาน ระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องประกอบกัน รวมทั้งตรวจสอบสถานที่ก่อสร้างจริง เพื่อให้การจัดทํารูปแบบที่ใช้สร้างถูกต้อง และไม่เกิดอุปสรรคจนเป็นสาเหตุให้หมายกําหนดการโครงการต้องล่าช้า
1.2.2 วิศวกรผู้รับผิดชอบของผู้รับจ้างต้องตรวจสอบรูปแบบที่ใช้สร้างให้ถูกต้องและชัดเจน พร้อมลง นามรับรอง และลงxxxxxxกํากับบนแบบที่เสนอขออนุมัติทุกแผ่น
1.2.3 ผู้รับจ้างต้องจัดทํารูปแบบที่ใช้สร้างยื่นเสนอขออนุมัติต่อผู้ควบคุมงานอย่างน้อย 30 วันก่อน
ดําเนินการ
1.2.4 รูปแบบที่ใช้สร้างต้องมีขนาดและมาตรส่วนตามความเหมาะสม เพื่อแสดงรายละเอียดxxxxxxxxx
และเข้าใจได้ถูกต้อง ทั้งนี้ให้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ควบคุมงาน
1.2.5 ในกรณีที่รูปแบบที่ใช้สร้างของผู้รับจ้างแตกต่างไปจากแบบประกอบสัญญา ผู้รับจ้างต้องทํา สารบัญแสดงรายการที่แตกต่าง และใส่เครื่องหมายกํากับการเปลี่ยนแปลง
1.2.6 ผู้รับจ้างต้องไม่ดําเนินการใดๆ ก่อนที่รูปแบบที่ใช้สร้างจะได้รับการอนุมัติจากผู้ควบคุมงาน มิฉะนั้นแล้วหากผู้ควบคุมงานมีความเห็นให้แก้ไขเพื่อความเหมาะสม ซึ่งแตกต่างไปจากรูปแบบที่ใช้สร้างที่ผู้รับจ้างขอ อนุมัติไว้ ผู้รับจ้างต้องดําเนินการแก้ไขให้โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น
1.2.7 รูปแบบที่ใช้สร้างที่ไม่มีรายละเอียดเพียงพอ ผู้ควบคุมงานxxxxxxให้ผู้รับจ้างทราบ และอาจส่งคืน โดยไม่มีการพิจารณาแต่ประการใด
1.2.8 ผู้ควบคุมงานมีอํานาจ และหน้าที่xxxxxxxให้ผู้รับจ้างจัดทํารูปแบบที่ใช้สร้างเพิ่มเติมขยายส่วนหนึ่ง ส่วนใดของงานที่เห็นว่าจําเป็น
1.2.9 รูปแบบที่ใช้สร้างxxxxxxรับอนุมัติแล้ว มิได้หมายความว่าเป็นการพ้นความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง หากผู้ควบคุมงานตรวจสอบข้อผิดพลาดในภายหลัง ผู้รับจ้างต้องดําเนินการแก้ไขใหม่ให้ถูกต้อง
1.3 รูปแบบก่อสร้างจริง (ASBUILT DRAWING)
1.3.1 เมื่อดําเนินการแล้วเสร็จxxxxxxxxผู้รับจ้างต้องจัดทํารูปแบบก่อสร้างจริงทั้งหมด และต้องลง นามรับรองความถูกต้องโดยวิศวกรของผู้รับจ้าง
1.3.2 รูปแบบสร้างจริงจะต้องมีขนาดและมาตราส่วนเท่ากับแบบประกอบสัญญา
1.3.3 รูปแบบสร้างจริงจะต้องจัดทําสารบัญแบบ โดยจําแนกเป็นส่วนๆ เพื่อสะดวกในการค้นหาเมื่อ ต้องการใช้งาน
2. วัสดุ
2.1 การอนุมัติให้ใช้วัสดุชนิดต่างๆ ในงานก่อสร้าง จะต้องกระทําเป็นลายลักษณ์xxxxxxxxชัดเจนเสนอผู้ควบคุม งานของผู้xxxxxxxและคณะกรรมการตรวจการxxxxหรือผู้ออกแบบอาคารเห็นชอบก่อนนําวัสดุชนิดนั้นๆ ไปใช้ได้
2.2 วัสดุทุกชนิดที่ระบุในรูปแบบและรายการประกอบแบบ ผู้รับจ้างต้องจัดหาตัวอย่างหรือแคตตาล็อก และ คุณลักษณะนําเสนอผู้ควบคุมงาน และคณะกรรมการตรวจการxxxxหรือผู้ออกแบบอาคาร พิจารณาอนุมัติก่อนใช้งาน ไม่น้อยกว่า 30 วัน รายการใดที่ยังไม่อนุมัติ ห้ามนําเข้าxxxxxบริเวณหน่วยงานโดยเด็ดขาด
2.3 วัสดุบางอย่างที่ระบุให้ใช้เฉพาะเจาะจง และจําเป็นต้องสั่งซื้อหรือสั่งทําจากต่างประเทศ ให้ผู้รับจ้างออก ใบสั่งซื้อ (PO) วัสดุดังกล่าวภายใน 30 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญาxxxx หากสั่งซื้อวัสดุชนิดดังกล่าวไม่ทันจะ นํามาเป็นข้ออ้างในการต่ออายุสัญญาหรืองดและลดค่าปรับxxxxxx
2.4 การใช้วัสดุเทียบเท่ากระทําได้โดยคณะกรรมการพิจารณาวัสดุก่อสร้างของผู้xxxxxxx หรือผู้ควบคุมงาน อาคารเป็นผู้อนุมัติ โดยผู้รับจ้างต้องยื่นเสนอขอเทียบเท่าเป็นลายลักษณ์xxxxxและได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์xxxxx ก่อนกําหนดการใช้วัสดุนั้นๆ ไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยแสดงรายละเอียดของผลิตภัณฑ์ที่ขอเทียบเท่า และข้อมูลที่ จําเป็น เพื่อการพิจารณาเปรียบเทียบ เงื่อนไขที่อนุญาตให้เทียบเท่าได้มีดังนี้
2.4.1 เหตุผลและความจําเป็นที่ขอเทียบเท่า พร้อมแสดงหลักฐานประกอบด้านคุณภาพและราคา
2.4.2 วัสดุชนิดนั้นมีลักษณะใกล้เคียง รูปแบบกลมกลืนและเข้ากันได้กับการออกแบบเดิม ไม่ก่อให้xxxx xxxเปลี่ยนแปลงแก้ไขรูปแบบ การคํานวณ หรือกระทบกระเทือนงานอื่นที่เกิดความxxxxxxxxxแข็งแรง
2.4.3 มีคุณสมบัติ ประสิทธิภาพ และการบําxxxxxxxxไม่ต่ํากว่ามาตรฐานของวัสดุที่ระบุไว้เดิม
2.4.4 หรือให้ผู้ออกแบบอาคารนําเสนอความเห็นประกอบการขออนุมัติก่อนที่จะนําวัสดุนั้นๆ มาใช
แทนได้
เมื่อได้รับอนุมัติให้ใช้วัสดุเทียบเท่าแล้วปรากฏว่าเป็นผลให้ต้องxxxxxงานและ/หรือค่าใช้จ่าย ผู้รับจ้างต้องยินยอม ปฏิบัติงานส่วนที่xxxxxและรับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่xxxxxขึ้น xxxxxxxนํามาเป็นข้ออ้างในการต่ออายุสัญญา ทั้งนี้ผู้ควบคุมงานมี สิทธิ์ไม่พิจารณา หากเอกสารการขอเทียบเท่าไม่ครบถ้วนxxxxxxx
2.5 วัสดุที่จะนํามาใช้ในการก่อสร้างต้องเป็นของใหม่ที่มีคุณภาพ ขนาด ลักษณะตรงตามที่ระบุไว้ในรูปแบบและ รายการประกอบแบบ และถูกต้องตามวัตถุประสงค์ที่บ่งไว้ ทั้งนี้หากเกิดความเสียหายขึ้นในระหว่างการก่อสร้าง หรือ ในระยะประกันxxxxxxxx ผู้รับจ้างจะต้องแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงให้ใหม่ โดยจะเรียกร้องค่าสินค้าเพิ่มเติมและถือเป็น ข้ออ้างในการขอต่ออายุสัญญาหรืองดและลดค่าปรับxxxxxx
2.6 คณะกรรมการตรวจการxxxxมีสิทธิ์ที่จะไม่อนุญาตให้ใช้วัสดุอื่นใดที่มีขนาด หรือคุณภาพ xxxxxxตรงตามที่ระบุไว้ใน รูปแบบและรายการประกอบแบบมาใช้ อีกทั้งกรรมการตรวจการxxxxxxxxxxxxxxในการเลือกยี่ห้อของผลิตภัณฑ์ที่ระบุ ไว้ในรูปแบบและรายการประกอบแบบโดยคํานึงถึงประโยชน์ในการใช้งานของผู้xxxxxxxเป็นเกณฑ์ โดยไม่มีข้อโต้แย้ง ใดๆ ทั้งสิ้น
3. การขออนุมัติ
3.1 การขออนุมัติในโครงการนี้หมายxxx xxxขออนุมัติวัสดุ-อุปกรณ์ที่ระบุในรูปแบบและรายการประกอบแบบ หรือมิได้ระบุแต่จําเป็นต้องใช้เป็นส่วนประกอบในการก่อสร้างนี้ การขออนุมัติรูปแบบที่ใช้ก่อสร้าง รวมxxxxxxขอ อนุมัติเอกสารอื่นๆ ที่จําเป็นต้องขอความเห็นชอบจากกรรมการตรวจการxxxxก่อนเริ่มดําเนินการ xxxx บุคลากรใน โครงการ แผนการดําเนินงาน เป็นต้น รายการที่ต้องขออนุมัติสําหรับใช้ในโครงการนี้ดังแสดงในดังตารางที่ 1
3.2 ผู้รับจ้างต้องจัดเตรียมการล่วงหน้าในการจัดทํารายละเอียดต่างๆ ที่จะต้องนําเสนอขออนุมัติตามตารางที่ 1 และต้องมีเวลาพอเพียงสําหรับการตรวจสอบรายละเอียดของผู้ออกแบบ (ถ้ามี) การจัดซื้อ การขนส่ง หรือการ เปลี่ยนแปลงแก้ไขรายละเอียดxxxxxxxxรับการอนุมัติและต้องนําเสนอใหม่
3.3 การขออนุมัติแก้ไขเปลี่ยนแปลงงานก่อสร้าง ผู้รับจ้างต้องขออนุมัติจากผู้xxxxxxxเป็นลายลักษณ์xxxxx โดย ระบุรายละเอียดเหตุผลที่แก้ไขตลอดจนราคาปรับลดเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม และเวลาดําเนินการด้วยเมื่อได้รับอนุมัติ แล้วจึงดําเนินการได้ ทั้งนี้กําหนดให้มีการตกลงราคา ระยะเวลาก่อสร้าง และรูปแบบที่แก้ไขให้เสร็จสิ้นไปในคราว เดียวกัน
3.4 รายxxxxxxxxxxนําเสนอเพื่อขออนุมัติ
3.4.1 ผู้รับจ้างต้องดําเนินการส่ง และ/หรือแก้ไขเอกสาร และรายละเอียดต่างๆ เพื่อขออนุมัติตาม ข้อกําหนดในรายการประกอบแบบดังแสดงในตารางที่ 2 หรือตามที่ผู้ควบคุมงานเห็นxxxxx โดยรวบรวมข้อมูล เรียงลําดับให้เข้าใจง่าย เพื่อประกอบการพิจารณา
3.4.2 การนําเสนอตัวอย่างวิธีการติดตั้ง ให้ผู้รับจ้างติดตั้งเป็นตัวอย่างในสถานที่ก่อสร้าง หรือสถานที่ กําหนดเฉพาะกรณี โดยให้ยึดถือตัวอย่างวิธีการติดตั้งxxxxxxรับการอนุมัติแล้วเป็นxxxxxxxxxในการก่อสร้างต่อไป
3.4.3 สี ลาย และ/หรือรูปแบบของวัสดุผลิตภัณฑ์ที่ต้องเลือกโดยผู้ออกแบบ จะต้องนําเสนอตาราง ตัวอย่างสีที่เหมือนจริง หรือตารางลวดลายของวัสดุผลิตภัณฑ์นั้นๆ และรูปแบบที่ใช้สร้างที่แสดงสีและลายเพื่อ ประกอบการขออนุมัติด้วย
3.5 การขออนุมัติต้องแสดงxxxxxในการขออนุมัติ และอ้างอิงตามหมวดของรายการประกอบแบบ รวมถึง เลขที่หน้า เลขที่แบบที่อ้างอิงทุกครั้ง
3.6 เอกสารหรือรายละเอียดที่ต้องนําเสนอใหม่ด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตาม การระบุหมายเลขเอกสารนําเสนอ ต้อง ลําดับเลขหมาย และวันเดือนปีใหม่ โดยต้องไม่ซ้ําของเดิม และอ้างถึงหมายเลขเอกสารเดิมทุกครั้ง
3.7 จํานวนชุดของการนําเสนอเพื่อขออนุมัติ
3.7.1 เอกสารเพื่อขออนุมัติ ให้นําส่งอย่างน้อย 3 ชุด หรือตามที่ผู้ควบคุมงานกําหนดให้
3.7.2 สําเนาส่งผู้ออกแบบxxxxxxxเป็นเอกสารอ้างอิงจํานวน 1 ชุด โดยให้นําส่งตามที่อยู่ที่ปรากฏใน รูปแบบทางไปรษณีย์ หรือรวบรวมส่งผ่านผู้ควบคุมงาน
3.7.3 จํานวนตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่นําเสนอเพื่อขออนุมัติ ให้นําส่งอย่างน้อย 2 ตัวอย่าง หรือตามที่ผู้ ควบคุมงานกําหนดให้
3.8 ผู้รับจ้างต้องทําตารางสรุปและรวบรวมเรื่องการส่งรายละเอียดต่างๆ ทั้งส่วนxxxxxxรับการอนุมัติแล้ว และ ส่วนที่ยังมิได้อนุมัติทั้งหมดให้ผู้xxxxxxx และ/หรือตัวแทนผู้xxxxxxx เมื่อได้รับการร้องขอ
ตารางที่ 1 รายการที่ต้องขออนุมัติสําหรับใช้ในโครงการ
เงื่อนไขและข้อบังคับทั่วไป | หมายเหตุ | |
✓ | บุคลากรในการก่อสร้างและอํานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ | หัวข้อตามหมวดงานใน เล่มรายการประกอบ แบบ |
✓ | แผนการดําเนินงาน และการรายงาน | |
- แผนงานหลัก | ||
- แผนงานการจัดบุคลากรและแรงงาน | ||
- แผนงานการจัดส่งรายละเอียดและเอกสารเพื่อการอนุมัติวัสดุ | ||
- แผนการทํางานล่วงหน้า | ||
- รายงานความxxxxxxxxของงาน | ||
- ระบบจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง | ||
✓ | การป้องกันอุบัติเหตุ และมาตรฐานในงานก่อสร้าง | |
- โครงสร้างชั่วคราว | ||
- รั้วชั่วคราว | ||
- การรักษาความปลอดภัยทรัพย์สิน | ||
- การป้องกันฝุ่น ตาข่ายป้องกัน | ||
- ป้ายเตือน และสัญญาณเตือนภัย | ||
- รายการคํานวณนั่งร้าน | ||
- รายชื่อผู้ควบคุมงานตามกฎหมาย | ||
✓ | การรักษาสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย | |
งานวิศวกรรมโครงสร้าง | หัวข้อตามหมวดงานใน เล่มรายการประกอบ แบบ | |
✓ | งานดินขุด ดินถม และปรับระดับดินเดิม | |
✓ | งานเสาเข็ม | |
- เสาเข็มไม้ | ||
✓ | - เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัด แรงหล่อสําเร็จ | |
งานวิศวกรรมโครงสร้าง | ||
✓ | งานแบบหล่อ | |
✓ | งานเหล็กเสริมคอนกรีต |
✓ | งานเหล็กรูปพรรณ | |
✓ | งานคอนกรีต | 19 |
✓ | งานพื้นคอนกรีตสําเร็จรูป | 20 |
งานผนังคอนกรีตสําเร็จรูป | 22 | |
✓ | งานระบบ POST TENSIONED | 23 |
✓ | งานไม้ | 24 |
✓ | งานป้องกันและกําจัดปลวก | 25 |
งานสถาปัตยกรรม | หัวข้อตามหมวดงานใน เล่มรายการประกอบ แบบ | |
หัวข้อตามหมวดงานในเล่มรายการประกอบแบบ | ||
- พื้นหินขัด | ||
- พื้นปูหินxxxxxxxx | ||
✓ | - พื้น ค.ส.ล. ปูกระเบื้องยางชนิดม้วน | |
✓ | - พื้น ค.ส.ล. ปูไม้ Laminate | |
✓ | - พื้น ค.ส.ล. ปูกระเบื้องเซรามิค | |
✓ | - พื้น ค.ส.ล. ปูกระเบื้องดินxxxชนิดผิวแกร่ง | |
✓ | - พื้น ค.ส.ล. ผวิ ทรายล้าง / กรวดล้าง | |
✓ | - พื้น ปูกระเบื้องดินxxxสลับผิวทรายล้าง | |
✓ | - พื้นxxxxxxเรียบผสมน้ํายากันซึม และทํากันซึมชนิดxxxxxx | |
✓ | - พื้นปูพรมทอชนิดแผ่นแบบมัน | |
- พื้นปูบล็อกปูพื้นสําหรับปลูกหญ้า | ||
✓ | - พื้นปูบล็อกxxxxxxปูพื้นถนน | |
✓ | - พื้น ปูไม้สังเคราะห์ | |
✓ | - พื้นทําผิวแกร่ง | |
✓ | - พื้น ค.ส.ล. ผวิ xxxxxx / ผิวxxxxxxผสมน้ํายากันซึม / ผิวxxxxxx xxxxx | |
✓ | - พื้น ค.ส.ล. ผวิ ขัดหยาบ / ผิวขัดหยาบเซาะร่องก้างปลา | |
✓ | - พื้นยก | |
- พื้นกระเบื้องหินควอร์ทซ์ | ||
✓ | - พื้นกระเบื้องแกรนิตโต้ผิวหยาบ | |
- พื้นกระเบื้องแก้วโมเสด | ||
✓ | - พื้นผิวปูปรับระดับxxxxxxทําสีอีพ๊อกซี |
- พื้นวีว่าบอร์ดหนา 10 มม. โครงเคร่าเหล็กกลม | ||
งานสถาปัตยกรรม | ||
✓ | - พื้นทําผิวxxxx PU-POLYURETHANE | |
- หญ้าเทียม | ||
งานผนัง | ||
✓ | - ผนังxxxxxxมอญ | |
- ผนังก่อคอนกรีตบล็อก | ||
✓ | - ผนังก่อคอนกรีตมวลเบา | |
✓ | - ผนังฉาบปูน | |
✓ | - งานโครงเคร่าโลหะผนังเบา | |
✓ | - ผนังแผ่นยิปซั่มบอร์ด | |
✓ | - ผนังบุแผ่น ACOUSTIC BOARD | |
✓ | - ผนังบุกระเบื้องเซรามิค | |
- ผนังบุกระเบื้องดินxxxชนิดแกร่ง | ||
- ผนังไฟเบอร์ซีเมนต์บอร์ด (ปราศจากใยหิน) | ||
- ผนังก่อบล็อกแก้ว | ||
✓ | - ผนังบุหินxxxxxxxx | |
- ผนังเลื่อนกั้นห้องประชุม | ||
- ผนังอินxxxxxxxx | ||
- ผนังคอนกรีตบล๊อคกันความxxxx | ||
- ผนังอคูสติกดูดซับเสียงโพxxฯ | ||
- คอนกรีตเสริมxxxxxx GRC/GFRC | ||
- ผนังสําเร็จรูปชนิดชนิด PU | ||
- ผนังบุแผ่นอxxมิเนียมคอมโพสิทพร้อมโครงเหล็ก | ||
- ผนังบุไม้สังเคราะห์ขนาดกว้าง 0.15 หนา 8 มม ตีเว้นร่อง 10 ซม. ทาสี | ||
- ผนังทําสีพ่น TEXTURE | ||
งานหลังคา | ||
- หลังคากระเบื้องคอนกรีต | ||
- หลังคากระเบื้องซีเมนต์ผสมเส้นใยสังเคราะห์ |
✓ | - หลังคาเหล็กxxxลอน | |
- หลังคากระจกเทมเปอร์ลามิเนต | ||
งานxxxxป้องกันความxxxx | ||
✓ | - แผ่นสะท้อนความxxxx | |
✓ | - xxxxกันความxxxx ชนิดxxxxxx | |
งานสถาปัตยกรรม | ||
- xxxxกันความxxxxชนิด POLYETHYLENE FOAM | ||
งานฝ้าเพดาน | ||
- งานโครงเคร่าโลหะฝ้าเพดาน | ||
✓ | - ฝ้าเพดานแผ่นยิปซั่มบอร์ด | |
✓ | - ฝ้าเพดานแผ่นยิปซั่มชนิดกันชื้น | |
✓ | - ฝ้าเพดานแผ่นกันเสียงสะท้อนใยแร่ (ACOUSTIC BOARD) | |
✓ | - ฝ้าเพดานแผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์บอร์ด | |
- ฝ้าอxxมิเนียมแบบตะแกรง | ||
✓ | - ฝ้าเพดานท้องพื้น Post Tension หรือท้องพื้น ค.ส.ล. ฉาบปูน เรียบทาสี | |
- ฝ้าเพดานไม้ระแนงxxxxxxxxxxxx สีสําเร็จรูป | ||
- ฝ้าเพดานแผ่นอะคูสติกดูดซับเสียง ใยไม้สําเร็จรูป | ||
- ฝ้าเพดานสําเร็จรูปชนิด PU | ||
✓ | - ฝ้าเพดานแผ่นอxxมิเนียมคอมโพสิต พร้อมโครงเหล็ก | |
- ฝ้าเพดานอคูสติกซับเสียงโพลีเอสเตอร์ | ||
- ฝ้าเพดานไม้สังเคราะห์รุ่นผิวเรียบ (ขอบตัววี) ขนาด 0.012x0.10 ม. โครงเคร่าไม้ 1½”X3” @ 0.60x0.60 ทาสี | ||
- ฝ้าเพดานไม้สังเคราะห์ไฟเบอร์ซีเมนต์ กว้าง 0.075 หนา 0.008 ม. ชนิดขอบตรง ผิวเรียบ กรุตาข่ายในล่อนกันแมลง ตีเว้น ร่อง 0.005 ม. ตั้งฉากกับผนังโครงเหล็กกล่อง | ||
งานบันได | ||
✓ | งานบันได | |
งานประตู – หน้าต่าง | ||
✓ | - ประตู-หน้าต่างไม้ | |
- ประตู-หน้าต่างอxxมิเนียม | ||
✓ | - ประตู หน้าต่างxxxxxx | |
- ประตูกระจกบานเปลือย | ||
✓ | - ประตูบานม้วน (SHUTTER) | |
✓ | - ประตูเหล็กทนไฟ | |
✓ | งานกระจก |
✓ | งานลูกบิดและลูกกุญแจ | |
✓ | งานสุขภัณฑ์ | |
✓ | งานผนังห้องน้ําสําเร็จรูป | |
✓ | งานสี | |
งานสถาปัตยกรรม | ||
✓ | งานระบบกันซึม | |
✓ | งานแผ่น ALUMINIUM COMPOSITE | |
✓ | งานป้าย - เครื่องหมายทั่วไป - เสาธง | |
✓ | งานเครื่องหมายอุปกรณ์จราจร | |
✓ | งานเครื่องหมายหนีไฟ - ดับเพลิง | |
✓ | สิ่งอํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและ คนชรา | |
งานผังบริเวณ | ||
✓ | งานผังบริเวณและงานดินถม | |
✓ | งานภูมิสถาปัตยกรรม | |
งานวิศวกรรมสุขาภิบาล | หัวข้อตามหมวดงานใน เล่มรายการประกอบ แบบ | |
✓ | ระบบประปา | |
✓ | ระบบระบายน้ําฝนและระบบระบายน้ําทิ้ง | |
✓ | ระบบบําบัดน้ําเสีย | |
ระบบกําจัดขยะ | ||
งานระบบปรับอากาศ | หัวข้อตามหมวดงานใน เล่มรายการประกอบ แบบ | |
✓ | เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน | |
งานระบบไฟฟ้า | หัวข้อตามหมวดงานใน เล่มรายการประกอบ แบบ | |
✓ | ระบบไฟฟ้า | |
✓ | หม้อแปลงไฟฟ้า | |
✓ | เครื่องกําเนิดไฟฟ้าสํารอง | |
✓ | ตู้สวิตช์อัตโนมัติเมน | |
✓ | ระบบป้องกันฟ้าผ่า | |
ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ | ||
งานระบบสื่อสาร | ||
✓ | ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และระบบโทรศัพท์ผ่านเครือข่ายxxxx | |
✓ | ระบบเสียง |
✓ | ระบบเสาอากาศวิทยุ – โทรทัศน์รวม | |
✓ | ระบบโทรทัศน์วงจรปิด | |
✓ | ระบบควบคุมการเข้าออก | |
✓ | ระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ | |
✓ | xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx | |
งานระบบลิฟต์โดยสาร | ||
✓ | ระบบลิฟต์โดยสาร | |
งานระบบป้องกันเพลิงไหม้ | ||
✓ | ระบบดับเพลิง | |
✓ | ระบบสัญญาณแจ้งเพลิงไหม้ |
ตารางที่ 2 รายละเอียดที่ต้องส่งเพื่อการอนุมัติ
รายการขออนุมัติ | รายละเอียด | รูปแบบ ที่ใช้สร้าง/ แค็ตตาล็อก | ตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์ | รูปแบบ ติดตั้ง | อื่นๆ |
บุคลากรในงานก่อสร้างและ อํ า น า จ ห xx x xxx ค ว า ม รับผิดชอบ | - | - | - | - | ห นั งสือแต่งตั้ง ประวัติการ ทํางานใบอนุญ าตประกอบ วิชาชีพ |
แผนการดําเนินงาน และ ระบบจัดการความปลอดภัย | 🗸 | - | - | ||
เสาเข็ม | 🗸 | 🗸 | - | - | รายการคํานวณเสาเข็ม ร า ย ก า ร คํ า น ว ณ BLOW COUNT |
การทดสอบการรับน้ําหนัก บรรทุกเสาเข็ม | 🗸 | - | - | - | |
แบบหล่อและค้ํายัน | - | 🗸 | - | - | แผนงานความปลอดภัยนั่งร้าน และรายการคํานวณ (ในกรณี อาคารสูง) |
เหล็กเสริมคอนกรีต | 🗸 | - | 🗸 | - | |
คอนกรีต | 🗸 | - | - | - | การคํานวณออกแบบส่วนผสม |
เหล็กรูปพรรณ | 🗸 | - | 🗸 | - | |
ระบบป้องกันและกําจัด ปลวก | 🗸 | - | - | - | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ |
ไม้ | 🗸 | - | 🗸 | - | |
ระบบ Post Tensioned | 🗸 | 🗸 | - | - | รายการคํานวณ |
พื้นคอนกรีตสําเร็จรูป | 🗸 | 🗸 | - | - | รายการคํานวณ |
ผนังคอนกรีตสําเร็จรูป | 🗸 | 🗸 | - | - | |
วัสดุป้องกันน้ําและความชื้น | 🗸 | 🗸 | 🗸 | - |
รายการขออนุมัติ | รายละเอียด | รูปแบบ ที่ใช้สร้าง/ แค็ตตาล็อก | ตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์ | รูปแบบ ติดตั้ง | อื่นๆ |
ระบบกันซึมชนิดแผ่น | 🗸 | - | 🗸 | - | |
ระบบกันซึมชนิดทา/ฉาบ | |||||
ระบบกันซึมชนิดน้ํายา ผสมในคอนกรีต | ✓ | ✓ | ✓ | ||
หินขัดในที่ หินขัดสําเร็จรูป | - | - | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ | ||
ซีเมนต์xxxxxx/xxxxxxxxxxx | 🗸 | - | 🗸 | - | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ |
ทรายล้าง กรวดล้าง หินล้าง | 🗸 | - | 🗸 | - | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ |
กระเบื้องดินxxx กระเบื้องเซรามิค | 🗸 | - | 🗸 | - | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ |
กระเบื้องยาง | 🗸 | - | 🗸 | - | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ |
หินอ่อน หินแกรนิต | ✓ | ||||
คอนกรีตบล็อกxxxxxxปู พื้น | 🗸 | - | 🗸 | - | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ |
xxxxxมิเนท | ✓ | ✓ | |||
ยางสังเคราะห์ | |||||
พรม | |||||
คอนกรีตบล็อกสนามหญ้า | |||||
พื้นยก | |||||
ไม้สังเคราะห์ | |||||
พื้นยางสังเคราะห์ SYNTHETIC | |||||
จมูกบันได | ✓ |
รายการขออนุมัติ | รายละเอียด | รูปแบบ ที่ใช้สร้าง/ แค็ตตาล็อก | ตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์ | รูปแบบ ติดตั้ง | อื่นๆ |
คิ้ว PVC | 🗸 | - | 🗸 | - | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ |
ผนังxxxxxx | 🗸 | - | 🗸 | - | |
ผนังก่อคอนกรีตบล็อก | |||||
ผนังก่อคอนกรีตมวลเบา | 🗸 | - | 🗸 | 🗸 | |
บล็อกแก้ว | 🗸 | - | 🗸 | - | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ |
ผนังเลื่อนกั้นห้องประชุม | |||||
น้ํายาซิลิโคนเคลือบผิว | |||||
โครงเคร่าโลหะผนังเบา | 🗸 | - | 🗸 | 🗸 | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ |
วัสดุยาแนว | 🗸 | - | 🗸 | - | |
ห ลั งคาโลหะ ผนั งโลหะ และเกล็ดระบายอากาศ โลหะ | 🗸 | - | 🗸 | - | |
หลังคากระเบื้องซีเมนต์ | |||||
xxxxกันไฟชนิดพ่น | 🗸 | - | 🗸 | - | |
xxxxกันความxxxxสําหรับ อาคาร | 🗸 | - | 🗸 | - | |
โครงเคร่าโลหะฝ้าเพดาน | 🗸 | - | 🗸 | 🗸 | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ |
แผ่นยิปซั่มบอร์ด | 🗸 | - | 🗸 | 🗸 | |
แผ่นอะคูสติกบอร์ด | |||||
ฝ้าอxxมิเนียมแบบตะแกรง | |||||
งานประตูและงานวงกบ เหล็ก | 🗸 | - | 🗸 | - | |
งานประตูและหน้าต่าง อxxมิเนียม | 🗸 | 🗸 | 🗸 | - | |
งานประตูไม้ | 🗸 | - | 🗸 | - | |
งาน ป ร ะ ตู ก ร ะ จ กบ าน เปลือย | ✓ | ||||
งานประตูบานม้วน | 🗸 | 🗸 | - | - | |
งานประตูเหล็กทนไฟ | 🗸 | 🗸 | - | - | |
อุปกรณ์ประตู-หน้าต่าง | 🗸 | - | 🗸 | - |
รายการขออนุมัติ | รายละเอียด | รูปแบบ ที่ใช้สร้าง/ แค็ตตาล็อก | ตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์ | รูปแบบ ติดตั้ง | อื่นๆ |
กระจก | 🗸 | - | 🗸 | - | |
กระจก CURTAIN WALL | |||||
สุ ข ภั ณ ฑ์ แ ล ะ อุ x x x xx ประกอบ | 🗸 | - | - | - | |
ผนังห้องน้ําสําเร็จรูป | ✓ | ||||
แผ่นอะลูมิเนียมคอมโพสิต | 🗸 | 🗸 | 🗸 | 🗸 | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ |
สีทาถนน/สีจราจร | |||||
สีน้ํามัน | 🗸 | - | - | - | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ |
สีทาภายนอก/ภายใน | 🗸 | - | - | - | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ |
น้ํามันเคลือบแข็งโพxxยูรี เทน | |||||
ป้ายเครื่องหมาย | |||||
วั ส ดุ อุ x x x xx ร ะ บ บ สุขาภิบาล | 🗸 | - | 🗸 | - | |
ระบบประปา | |||||
การติดตั้งท่อ/อุปกรณ์ | 🗸 | 🗸 | 🗸 | - | |
วาล์ว และเครื่องประกอบ | 🗸 | 🗸 | 🗸 | - | |
เครื่องสูบน้ํา | 🗸 | 🗸 | - | - | |
หัวกะโหลกรับน้ําฝน | 🗸 | 🗸 | - | - | |
ระบบบําบัดน้ําเสีย | 🗸 | 🗸 | - | - | |
วัสดุอุปกรณ์ระบบป้องกัน เพลิงไหม้ | 🗸 | - | - | - | |
วัส ดุ อุป กรณ์ ระบบปรับ อากาศ | 🗸 | - | - | - | |
ดวงโคมและส่วนประกอบ | |||||
สวิทซ์ ฝาครอบ | 🗸 | - | 🗸 | - | |
เต้ารับ ฝาครอบ | 🗸 | - | 🗸 | - | |
สายไฟฟ้า หัวต่อสาย | 🗸 | - | 🗸 | - | |
ท่อและอุปกรณ์การต่อท่อ | 🗸 | - | 🗸 | - | |
Emergency Light | 🗸 | - | 🗸 | - |
รายการขออนุมัติ | รายละเอียด | รูปแบบ ที่ใช้สร้าง/ แค็ตตาล็อก | ตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์ | รูปแบบ ติดตั้ง | อื่นๆ |
หม้อแปลงไฟฟ้า | 🗸 | 🗸 | - | - | |
เครื่องกําเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน | |||||
ตู้สวิตซ์อัตโนมัติเมน | 🗸 | 🗸 | - | - | |
ระบบป้องกันฟ้าผ่า | 🗸 | 🗸 | - | - | |
ระบบโทรศัพท์และสื่อสาร | 🗸 | 🗸 | - | - | |
ระบบเครือข่ายxxxx | |||||
ระบบคอมพิวเตอร์ | 🗸 | 🗸 | - | - | |
ระบบเสียง | 🗸 | 🗸 | - | - | |
ระบบเสาอากาศวิทยุ- โทรทัศน์รวม | 🗸 | 🗸 | - | - | |
ระบบโทรทัศน์วงจรปิด | 🗸 | 🗸 | - | - | |
ระบบควบคุมการเข้าออก | ✓ | ||||
ร ะ บ บ ค ว บ คุ ม อ า ค า ร อัตโนมัติ | ✓ | ||||
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx | x | 🗸 | - | - | |
ระบบลิฟต์โดยสาร | 🗸 | 🗸 | - | - | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ |
สิ่ งอํ านวยความสะดวก สําหรับผู้พิการ | 🗸 | 🗸 | 🗸 | - | ขออนุมัติ Shop Drawing ก่อนดําเนินการ |
อื่นๆ | ตามความเห็นของผู้ควบคุมงาน |
จบxxxxxxx 7
xxxxxxx 8 การดําเนินงาน
1. การดําเนินการทั่วไป
1.1 รูปแบบและรายการประกอบแบบ ผู้xxxxxxxจะจัดไว้ให้ 1 ชุด นอกเหนือจากคู่สัญญา ให้ผู้รับจ้างเก็บรักษา ไว้ในสถานที่ก่อสร้างอย่างน้อย 1 ชุด และพร้อมที่จะนําออกมาใช้งานได้ตลอดเวลา
1.2 ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบควบคุมงานก่อสร้างจนแล้วเสร็จ โดยจะให้มีผู้แทนผู้รับจ้างควบคุมงานแทนก็ได้ ซึ่ง จะต้องแจ้งให้ผู้xxxxxxxทราบเป็นลายลักษณ์xxxxx คําสั่ง คําแนะนําต่างๆ ของผู้xxxxxxxซึ่งแจ้งแก่ผู้แทนผู้รับจ้าง xxxxxxxxx แจ้งผู้รับจ้างด้วย และผู้xxxxxxxxxไว้ซึ่งสิทธิ์ในการเปลี่ยนตัวแทนผู้รับจ้างได้ด้วย
1.3 ผู้รับจ้างต้องจัดให้มีการป้องกันอุบัติเหตุ อันตราย และมิให้เกิดความเสียหายใดๆ ต่อชีวิตและทรัพย์สินของ บุคคลภายนอก บุคคลในบังคับของผู้รับจ้าง รวมทั้งเจ้าหน้าที่ของผู้xxxxxxx ทั้งนี้ให้เป็นไปตามประกาศตามกฎกระทรวง ของกระทรวงมหาดไทย3 กฎหมายแรงงาน กฎหมายควบคุมอาคาร กฎหมายxxxxxxxx ข้อกําหนดความปลอดภัย หรือ มาตรฐานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงานนั้นๆ xxxx การติดตั้งโครงสร้างชั่วคราว รั้วชั่วคราว การ ป้องกันฝุ่น ตาข่ายป้องกัน ป้ายเตือน หรือสัญญาณเตือนภัยในระหว่างการทํางานกลางคืนหรือขณะฝนตกหนัก เป็น ต้น ในกรณีเป็นอาคารสูง4 ให้ผู้รับจ้างนําเสนอแผนงานความปลอดภัย รายการคํานวณนั่งร้าน รายชื่อผู้ควบคุมงาน วิศวกร ตามมาตรฐานอาคารสูงอย่างเคร่งครัดต่อผู้ควบคุมงานและผู้xxxxxxxพิจารณาอนุมัติก่อนดําเนินการ
1.4 ในกรณีที่การดําเนินงานก่อสร้างจะกีดขวางการจราจรทั้งทางบกและทางน้ํา การสัญจร การระบายน้ําหรือ อื่นๆ จะก่อให้เกิดความxxxxxxxxxต่อชุมชนนั้นๆ ผู้รับจ้างต้องจัดการป้องกันและหาทางแก้ไขทันที
1.5 ผู้รับจ้างต้องรับผิดต่ออุปัทวเหตุ ความเสียหาย หรือภยันตรายใดๆ อันเกิดจากการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง และจะต้องรับผิดต่อความเสียหายจากการกระทําของลูกจ้างของผู้รับจ้าง ความเสียหายใดๆ อันxxxxxxxงานที่ผู้รับจ้าง ได้ทําขึ้น แม้เกิดขึ้นเพราะเหตุสุดวิสัย นอกจากกรณีอันเกิดจากความผิดของผู้xxxxxxx ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดโดย ซ่อมแซมให้ดีหรือเปลี่ยนให้ใหม่ โดยค่าใช้จ่ายของผู้รับจ้างเอง ความรับผิดของผู้รับจ้างดังกล่าวในข้อนี้จะสิ้นสุดลง เมื่อผู้xxxxxxxxxxรับมอบงานครั้งสุดท้าย
1.6 ผู้xxxxxxxมีสิทธิ์ที่จะสั่งให้ผู้รับจ้างทํางานพิเศษซึ่งxxxxxxแสดงไว้ หรือรวมอยู่ในเอกสารสัญญา หากงานพิเศษ นั้นๆ อยู่ในขอบข่ายทั่วไปแห่งวัตถุประสงค์ของสัญญา นอกจากนี้ผู้xxxxxxxยังมีสิทธิ์สั่งให้เปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขรูปแบบ และข้อกําหนดต่างๆ ในเอกสารสัญญานี้ โดยไม่ทําให้สัญญาเป็นโมฆะแต่อย่างใด อัตราค่าxxxxหรือราคาที่กําหนดไว้ใน สัญญานี้ให้กําหนดใช้สําหรับงานพิเศษหรืองานที่เพิ่มเติมขึ้น หรือตัดทอนลงทั้งปวงตามคําสั่งของผู้xxxxxxx หากใน สัญญาxxxxxxกําหนดไว้ถึงอัตราค่าxxxxหรือราคาใดๆ ที่จะนํามาใช้สําหรับงานพิเศษหรืองานที่xxxxxขึ้นดังกล่าว ผู้xxxxxxx และผู้รับจ้างต้องตกลงxxxxxxจะกําหนดอัตราหรือราคา รวมทั้งการขยายระยะเวลา (ถ้ามี) กันใหม่ เพื่อความเหมาะสม ในกรณีที่ตกลงกันxxxxxxผู้xxxxxxxจะกําหนดอัตราxxxxหรือราคาตายตัวตามแต่ผู้xxxxxxxจะเห็นว่าเหมาะสมและถูกต้องซึ่งผู้ รับจ้างต้องปฏิบัติงานตามคําสั่งของผู้xxxxxxx
1.7 งานสิ่งใดก็ตามถ้าผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติตามรูปแบบการก่อสร้าง รายการกําหนด หรือรายการที่สั่งแก้ไข โดย คําสั่งอันถูกต้องของคณะกรรมการตรวจการxxxx หรือตามหลักวิชาช่างxxxxx ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบต่อผลเสียหาย
3 กฎหมายความปลอดภัยในการก่อสร้าง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย
4 อาคารสูง หมายถึง อาคารที่บุคคลอาจเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยxxxxxxมีความสูงตั้งแต่ยี่สิบสามเมตรขึ้นไป การวัด ความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้า สําหรับอาคารทรงxxxxหรือxxxxxxxให้วัดจากระดับ พื้นดินที่ก่อสร้างถึงยอดผนังของชั้นสูงสุด
หรือผลงานxxxxxxถูกต้องที่เกิดขึ้น และจะต้องรับจัดการแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้องตามรายการดังกล่าวข้างต้น โดยจะ เรียกร้องค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมหรือถือเป็นข้ออ้างในการขอต่ออายุสัญญาxxxxxxxได้
2. การดําเนินการที่เกี่ยวข้องกับงานระบบ
2.1 การทําช่องเปิดและการตัด - เจาะ
2.1.1 ผู้รับจ้างต้องตรวจสอบช่องเปิดต่างๆ สําหรับติดตั้งงานระบบจากแบบโครงสร้างและ สถาปัตยกรรม เพื่อยืนยันความต้องการและความถูกต้อง
2.1.2 การสกัด ตัด หรือเจาะส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคาร ผู้รับจ้างต้องจัดทําแบบแสดงรายละเอียด กรรมวิธีการดําเนินงาน เสนอขออนุมัติจากผู้ควบคุมงานก่อนการดําเนินงานอย่างน้อย 7 วัน เพื่อป้องกันผลกระทบxxx xxxก่อให้เกิดความเสียหายต่อส่วนอื่นๆ
2.1.3 กรณีที่ต้องการแก้ไขขนาด ตําแหน่งของช่องเปิด หรือต้องการช่องเปิดxxxxxจากxxxxxxจัดเตรียมการ ให้ตามแบบโครงสร้างและสถาปัตยกรรม ผู้รับจ้างต้องเสนอขออนุมัติ พร้อมจัดทําแบบแสดงรายxxxxxxxxxxติดตั้งต่อ ผู้ควบคุมงานล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน ก่อนการดําเนินงานนั้นๆ
2.2 การxxxxxxช่องว่าง
2.2.1 ภายหลังการติดตั้งวัสดุ-อุปกรณ์ผ่านช่องเปิด หรือช่องเจาะใดๆ ผู้รับจ้างต้องดําเนินการxxxxxx ช่องว่างที่เหลือ ด้วยวัสดุและกรรมวิธีที่เหมาะสม โดยต้องได้รับอนุมัติจากผู้ควบคุมงาน
2.2.2 การเลือกใช้วัสดุ และกรรมวิธีในการอุดช่องว่าง นอกจากต้องคํานึงxxxxxxตรวจซ่อมในxxxxx แล้ว ยังต้องคํานึงxxxxxxป้องกันไฟและคxxxxxx ตลอดจนการป้องกันเสียงxxxxxxxโดยตรงด้วย
2.2.3 การอุดช่องว่างในส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคาร ไม่ว่าจะเป็นพื้น หรือผนังที่เป็นโครงสร้างคอนกรีต เสริมเหล็ก และส่วนที่เป็นโครงสร้างเพื่อกันไฟ ต้องใช้วัสดุและกรรมวิธีที่xxxxxxทนไฟxxxxxxน้อยกว่า 2 ชั่วโมง เว้นแต่ จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น
2.3 ช่องเปิดเพื่อการซ่อมบํารุง
ผู้รับจ้างต้องตรวจสอบช่องเปิดที่ใช้เพื่อการตรวจซ่อม (SERVICE PANEL) วัสดุ-อุปกรณ์ภายหลังการติดตั้งงานแล้ว เสร็จ โดยต้องขออนุมัติพร้อมจัดทําแบบแสดงรายละเอียดขนาดและตําแหน่งต่อผู้ควบคุมงาน เพื่อพิจารณาดําเนินการ ตามความเหมาะสม
2.4 การจัดทําแท่นเครื่อง
ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้จัดทํา แท่น ฐาน และอุปกรณ์รองรับน้ําหนักอุปกรณ์ต่างๆ ให้มีความแข็งแรง xxxxxxทนการ สั่นสะเทือนของอุปกรณ์ขณะใช้งานได้เป็นอย่างดี โดยข้อมูลรายละเอียดขนาดและตําแหน่งที่จะจัดทําต้องเสนอขอ อนุมัติจากผู้ควบคุมงานอย่างน้อย 7 วัน ก่อนดําเนินการ
2.5 การยึดท่อและอุปกรณ์กับโครงสร้างอาคาร
2.5.1 ผู้รับจ้างต้องจัดหาอุปกรณ์ยึดหรือแขวนท่อและอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับโครงสร้างอาคาร การ ประกอบโครงเหล็กต้องทําด้วยความxxxxxxไม่มีเหลี่ยมคมอันอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ ผู้รับจ้างต้องขออนุมัติจากผู้ ควบคุมงานก่อนดําเนินการยึดหรือแขวนใดๆ
2.5.2 EXPANSION SHIELD ที่ใช้เจาะยึดในคอนกรีตต้องเป็นโลหะตามมาตรฐานของผู้ผลิต และต้อง ได้รับอนุมัติจากผู้ควบคุมงาน
2.5.3 ขนาดและชนิดของอุปกรณ์ยึดหรือแขวนจะต้องเป็นที่รับรองว่าxxxxxxรับน้ําหนักได้ โดยมีค่า ความปลอดภัยไม่ต่ํากว่า 3 เท่าของน้ําหนักใช้งาน (SAFETY FACTOR = 3)
2.5.4 การยึดหรือแขวนกับโครงสร้างอาคารต้องแน่ใจว่าจะไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย หรือกีดขวางงาน
ระบบอื่นๆ
2.6 งานติดตั้งในห้องเครื่อง
ผู้รับจ้างต้องวางแผนการติดตั้งอุปกรณ์ รวมทั้งแท่นวาง โดยไม่เป็นอุปสรรคต่อการดําเนินงานก่อสร้างอาคาร
2.7 การป้องกนน้ําเข้าอาคาร
การติดตั้งวัสดุ-อุปกรณ์ที่ใกล้ชิดกับบริเวณที่มีความชื้นสูง หรือเชื่อมโยงกับภายนอกอาคาร ผู้รับจ้างต้องจัดทํา รายละเอียดแสดงวิธีการติดตั้ง และเสริมเพิ่มเติมวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆ โดยให้ผู้ควบคุมงานอนุมัติก่อนดําเนินการใดๆ เพื่อให้การป้องกันน้ําเข้าอาคารเป็นไปอย่างxxxxxxx
2.8 การแก้ไข ซ่อมแซม
2.8.1 ในกรณีที่ผู้รับจ้างxxxxxxxxxxxxในการดําเนินการ หรือเตรียมการใดๆ จนมีผลให้ต้องมีการ เปลี่ยนแปลงรูปแบบ หรือการติดตั้งวัสดุ-อุปกรณ์ ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบต่อค่าใช้จ่ายxxxxxxเกิดขึ้นทั้งหมดในทุกกรณี
2.8.2 ผู้รับจ้างต้องยอมรับและดําเนินการโดยxxxxxxxxx เมื่อได้รับรายงานให้แก้ไขข้อบกพร่องในการ ปฏิบัติงานจากผู้ควบคุมงาน เพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนดในสัญญา และถูกต้องตามหลักวิชาการ โดยต้องรับผิดชอบ ต่อค่าใช้จ่ายในการแก้ไข เนื่องจากความบกพร่องต่างๆ ทั้งสิ้น
2.9 การทดสอบอุปกรณ์และระบบ
2.9.1 ผู้รับจ้างต้องจัดทําตารางแผนแสดงกําหนดการทดสอบอุปกรณ์และระบบ รวมทั้งจัดเตรียม เอกสารแนะนําจากผู้ผลิตในการทดสอบ (OPERATION MANUAL) เสนอผู้ควบคุมงานก่อนทําการทดสอบ
2.9.2 ผู้รับจ้างต้องทําการทดสอบอุปกรณ์และระบบตามหลักวิชาการและข้อกําหนด โดยมีผู้แทนผู้ xxxxxxxxxxxxxxxขณะทดสอบด้วย
2.9.3 รายงานข้อมูลในการทดสอบ (TEST REPORT) ให้ทําเป็นแบบฟอร์มเสนอขออนุมัติต่อผู้ควบคุม งานก่อนทําการทดสอบ หลังการทดสอบผู้รับจ้างต้องกรอกข้อมูลตามxxxxxxจากการทดสอบจริงนําส่งให้ผู้ควบคุมงาน จํานวน 3 ชุด หรือตามที่ผู้ควบคุมงานกําหนดให้
2.9.4 ค่าใช้จ่ายต่างๆ xxxx กระแสไฟฟ้า น้ําประปา แรงงาน ฯลฯ ในระหว่างการทดสอบอุปกรณ์และ ระบบอยู่ในความรับผิดชอบของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
จบxxxxxxx 8
xxxxxxx 9 มาตรฐาน และการอ้างอิง
1. สถาบันมาตรฐาน
นอกเหนือจากข้อบังคับ หรือข้อบัญญัติแห่งกฎหมายxxxxxxxx ตลอดจนxxxxxxxของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ แล้ว ถ้ามิได้กําหนดไว้เป็นอย่างอื่น มาตรฐานทั่วไปของวัสดุ-อุปกรณ์ การประกอบ การติดตั้งที่ระบุไว้ในรูปแบบ และ รายการประกอบแบบ เพื่อใช้อ้างอิงสําหรับงานโครงการนี้ให้ถือตามมาตรฐานของสถาบันที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
1.1 มาตรฐานทั่วไป
MINISTRY OF INTERIOR THAILAND (กระทรวงมหาดไทย) MINISTRY OF INDUSTRY THAILAND (กระทรวงอุตสาหกรรม) MINISTRY OF ENERGY THAILAND (กระทรวงพลังงาน)
BMA BANGKOK METROPOLITAN ADMINISTRATION
(กทม.) (กรุงเทพมหานคร)
EIT THE ENGINEERING INSTITUTE OF THAILAND UNDER H.M. THE KING’S PATRONAGE
(วสท.) (วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์) TISI THAI INDUSTRIAL STANDARDS INSTITUTE
(สมอ.) (สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม)
TEI Thailand Environment Institute (สสท.) (สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย)
ACI American Concrete Institute
AISC American Institute of Steel Construction ANSI American National Standards Institute ASTM American Society for Testing and Materials
BOCA Building Officials and Code Administrators International, Inc. BSI British Standards Institution
CSA Canadian Standards Association DIN Deutsches Institut für Normung ICC International Code Council
JSA Japanese Standards Association NEA NATIONAL ENERGY ADMINISTRATION
1.2 งานระบบสุขาภิบาล
MWA Metropolitan Waterworks Authority (กปน.) (การประปานครหลวง)
PWA Provincial Waterworks Authority (กปภ.) (การประปาส่วนภูมิภาค)
ASPE American Society of Plumbing Engineers ASSE American Society of Sanitary Engineering AWWA American Water Works Association
1.3 งานระบบป้องกันอัคคีภัย
NFPA National Fire Protection Association UL Underwriters Laboratories
1.4 งานระบบวิศวกรรมเครื่องกลและปรับอากาศ
AHAM Association of Home Appliance Manufacturers
AHRI Air-Conditioning, Heating, and Refrigeration Institute AMCA Air Movement and Control Association
ASHRAE American Society of Heating, Refrigerating and Air-Conditioning Engineers ASME American Society of Mechanical Engineers
AWS American Welding Society
BHMA Builders Hardware Manufacturers Association
SMACNA Sheet Metal and Air Conditioning Contractors’ National Association
1.5 งานระบบไฟฟ้าและสื่อสาร
MEA Metropolitan Electricity Authority (กฟน.) (การไฟฟ้านครหลวง)
PEA Provincial Electricity Authority (กฟภ.) (การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค)
IEC International Electrotechnical Commission NEMA National Electrical Manufacturers Association NESC National Electrical Safety Code
2. สถาบันตรวจสอบ
ในกรณีที่ต้องทดสอบคุณภาพของวัสดุ-อุปกรณ์ ทดสอบงานระบบต่างๆ ตามระบุในสัญญานี้ ให้ผู้รับจ้าง ทดสอบโดยห้องปฏิบัติการที่ผู้xxxxxxxเห็นชอบ ในกรณีที่จําเป็นอาจทําการทดสอบโดยห้องปฏิบัติการของหน่วย ราชการอื่น หรือของบริษัทที่ผู้xxxxxxxและผู้ออกแบบเชื่อถือและให้การรับรอง
จบxxxxxxx 9
xxxxxxx 10 การตรวจงานและควบคุมงาน
1. ผู้xxxxxxxจะแต่งตั้ง “คณะกรรมการตรวจการxxxx” ขึ้นชุดหนึ่งเพื่อทําหน้าที่ตรวจและควบคุมการxxxxให้เป็นไปตาม รูปแบบ รายการประกอบแบบ และข้อกําหนดในสัญญา
2. ผู้แทนผู้xxxxxxxจะต้องได้รับความสะดวกปลอดภัยตามxxxxx ในการตรวจและควบคุมการทํางานในสถานที่ก่อสร้าง และxxxxxxตรวจสอบครอบคลุมพื้นที่การก่อสร้างทั้งหมดได้
3. ผู้แทนผู้รับจ้างซึ่งxxxxxxรับผิดชอบและxxxxxxควบคุมงานแทนผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้ได้รับอนุญาตประกอบ วิชาชีพในการควบคุมงานก่อสร้าง และมาประจํา ณ สถานที่ก่อสร้าง โดยต้องนําเสนอรายชื่อพร้อมเอกสารวิชาชีพต่อ ผู้xxxxxxx
4. เมื่อมีปัญหาขณะก่อสร้างให้ผู้รับจ้างรายงานผู้แทนผู้xxxxxxxทันที พร้อมทั้งบันทึกเป็นหลักฐานและเสนอวิธีการ แก้ปัญหา อํานาจในการตัดสินใจแก้ปัญหาเป็นของผู้xxxxxxx
5. การส่งงวดงาน ผู้รับจ้างต้องส่งมอบงานแต่ละงวดเป็นลายลักษณ์xxxxx คณะกรรมการตรวจการxxxxและตรวจ ผลงาน จะลงนามในใบรับรองผลงาน ผู้รับจ้างจะได้รับเอกสาร 1 ชุด เพื่อนําไปเบิกเงินยังที่เบิกจ่ายต่อไป
6. เมื่อผู้รับจ้างได้รับเงินค่าxxxxxxxxxxxxแต่ละงวดแล้ว ให้ปิดประกาศไว้ในที่เปิดเผย เพื่อให้ลูกจ้างของผู้รับจ้าง ทราบต่อไป
7. กําหนดให้ผู้รับจ้างจัดเตรียมหมวก รองเท้าบู๊ต เพื่ออํานวยความสะดวกต่อคณะกรรมการตรวจการxxxx และผู้ ควบคุมงานก่อสร้างครบตามจํานวน เพื่ออํานวยความสะดวกและความปลอดภัยในการตรวจการxxxxและควบคุมงาน ก่อสร้าง
จบxxxxxxx 10
xxxxxxx 11 การรักษาสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
1. สถานที่ก่อสร้าง
1.1 ข้อกําหนดทั่วไป
1.1.1 งานก่อสร้าง หมายความว่า การประกอบการเกี่ยวกับการก่อสร้างอาคารและระบบต่างๆ ของ อาคาร xxxx ไฟฟ้า ประปา เป็นต้น และหมายรวมxxxxxxต่อเติม ซ่อมแซม ซ่อมบํารุงดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร หรือ สิ่งก่อสร้างนั้นๆ
1.1.2 เขตก่อสร้างหรือสถานที่ก่อสร้าง หมายความว่า พื้นที่บริเวณโดยรอบ พื้นที่ที่ดําเนินการก่อสร้าง
1.1.3 เขตอันตราย หมายความว่า บริเวณที่กําลังก่อสร้าง หรือบริเวณที่ใช้xxxxxxxxหรือบริเวณที่ติดตั้ง นั่งร้าน หรือติดตั้งลิฟต์ขนส่ง หรือส่วนของงานก่อสร้างหรือทางลําเลียงวัสดุเพื่อการก่อสร้างหรือสถานที่เก็บเชื้อเพลิง หรือวัสดุเพื่อการก่อสร้าง หรือบริเวณที่ใช้xxxxxxxxxxxกล หรือกระแสไฟฟ้าเพื่อการก่อสร้าง
1.1.4 ในสถานที่ก่อสร้างจะต้องติดตั้งป้ายเตือนให้ลูกจ้างปฏิบัติให้ระวัง / ห้าม และให้สวมใส่อุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลในเขตก่อสร้าง โดยใช้เครื่องหมาย / ป้ายที่เข้าใจง่ายและเห็นได้ชัดเจน
1.1.5 ห้ามดื่มสุราหรือเสพสารเสพติดทุกชนิดในสถานที่ก่อสร้าง
1.2 ความเป็นxxxxxxxเรียบร้อยภายในสถานที่ก่อสร้าง
1.2.1 ห้ามมิให้ลูกจ้างหรือผู้อื่นเข้าxxxอาศัยในอาคารที่กําลังก่อสร้าง หรือในเขตก่อสร้างเว้นแต่ นายจ้าง หรือ ผู้รับจ้างเหมาจะได้จัดให้มีมาตรการด้านความปลอดภัย และได้รับความเห็นชอบจากวิศวกร และเก็บ เอกสารแสดงความเห็นชอบนั้นไว้ ณ สถานที่ก่อสร้าง เพื่อให้พนักงานแรงงานตรวจสอบได้และในกรณีxxxxxxรับความ เห็นชอบให้มีการxxxอาศัยในอาคารที่ทําการก่อสร้าง ให้นายจ้างปฏิบัติดังนี้
(1) ปิดป้ายแสดงเขตที่พักให้xxxxxx x เขตที่พักอาศัย
(2) กําหนดทางเข้า–ออก มิให้ผ่านเขตก่อสร้างและเขตอันตราย
(3) จัดให้มีวิศวกรความปลอดภัยดูแลที่พักอาศัย
1.2.2 ผู้รับจ้างต้องแจ้งและปิดประกาศห้ามลูกจ้าง และไม่ยินยอมให้ลูกจ้างเข้าxxxอาศัยในอาคารที่ กําลังก่อสร้างโดยการปิดประกาศนั้น ให้ปิดไว้ในที่เปิดเผยตลอดเวลา ณ เขตก่อสร้าง
1.2.3 จะต้องรักษาความสะอาด บันได ทางเข้า-ออก และทางเดิน ไม่ให้มีวัตถุหรือวัสดุที่จะนําเข้าไปใช้ งาน หรือสิ่งกีดขวางอื่นๆ ทุกชนิด
1.2.4 จะต้องวางวัตถุ วัสดุที่นําเข้าใช้งานให้ห่างจากริมช่องส่งของ ช่องบันไดพื้นหรือถ้ายังxxxxxxสร้าง ผนัง xxxxxxxอาคาร จะต้องวางให้ห่างจากขอบอาคารxxxxxxx
1.2.5 ห้ามทิ้งชิ้นสิ่งของใดๆ ไว้เกลื่อนกลาดตามพื้นหรือบนหลังคา ซึ่งยังมุงไม่เสร็จเว้นแต่จะเก็บหรือผูก มั่นไว้มั่นคงปลอดภัย
1.2.6 จะต้องเก็บรวบรวม ตะปู สลักเกลียว แป้นเกลียว หรือหมุดย้ํา และวัสดุมีคมทุกวัน โดยxxxxxxxใน กล่องหรือที่เก็บอื่นที่เหมาะสม
1.2.7 ต้องไม่วางเครื่องมือxxxxxxxตามพื้น ซึ่งอาจทําให้ผู้อื่นสะดุดหกล้มหรือเกิดอันตรายอื่นๆ และทุกครั้ง ก่อนเลิกงานจะต้องรวบรวมและเก็บเครื่องมือไว้ที่แผงเครื่องมือหรือที่ๆ จัดไว้สําหรับเก็บเครื่องมือไม่ใช้งานแล้ว
1.2.8 ถุงบรรจุปูนหรือวัสดุที่ก่อให้เกิดฝุ่นละออง จะต้องมีสิ่งปกปิดไม่ให้xxxxxxxxxxและป้องกันไม่ให้ เกิดความเสียหายเนื่องจากความชื้น
1.2.9 ตะปูที่ถูกตอกโผล่ขึ้นมาจะต้องถูกถอน ตอกให้ฝังจมหรือตีพับปลายให้ฝังในเนื้อไม้
1.2.10 เศษไม้ เศษวัสดุเหลือใช้และของต่างๆ ซึ่งเกิดจากการก่อสร้างอาคารจะต้องรวบรวมและขนย้าย ออกไปเก็บรวมกองให้เรียบร้อยโดยต้องไม่กองไว้ในลักษณะซึ่งอาจเกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน หรือสัญจรไปมา
1.2.11 เมื่อกองวัสดุและขยะxxxxxxxในอาคาร จะต้องกองไว้ในลักษณะที่จะไม่ทําให้พื้นรับน้ําหนักเกิน กําลังหรือในลักษณะที่จะเป็นอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน
1.2.12 ห้ามทิ้งสิ่งของหรือขยะจากชั้นบนลงชั้นล่างหรือลงสู่พื้นดิน เศษไม้และวัสดุควรจะใช้วิธีผูกรวม และหย่อนลงเบื้องล่างโดยใช้รอก หรือโดยปล่องทิ้งขยะหรือโดยวิธีอื่นๆ ที่ปลอดภัยและไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ
1.2.13 ห้ามทําลายวัสดุเหลือใช้หรือขยะด้วยการxxx
1.3 การรักษาความปลอดภัยทั่วไปในสถานที่ก่อสร้าง
1.3.1 ห้ามลูกจ้างเข้าไปในอาคารที่กําลังก่อสร้างหรือเขตก่อสร้างนอกเวลาทํางานโดยมิได้รับมอบหมาย หรือได้รับอนุญาตจากนายจ้าง
1.3.2 จะต้องติดป้ายเตือนเขตก่อสร้างและเขตอันตราย บริเวณเข้า / ออกทุกแห่งและจัดให้มีคนให้ สัญญาณในขณะที่มีxxxพาหนะขนส่งเข้า – ออก เขตก่อสร้าง
1.3.3 บริเวณทางขนส่งที่เลี้ยวโค้ง จะต้องติดตั้งกระจกนูนขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร ที่หัวมุมเลี้ยวโค้ง เพื่อให้ลูกจ้าง / คนงาน และผู้ขับขี่xxxพาหนะที่กําลังสวนทางมามองเห็นได้สะดวก
1.3.4 เมื่องานสร้างอาคารเสร็จในแต่ละชั้น หรือแต่ละส่วนหรือแต่ละวัน จะต้องจัดให้มีการสํารวจ ช่องว่างลิฟต์ ช่องเปิดต่างๆ แล้วทําราวกันตกหรือปิดคลุมด้วยวัสดุxxxxxxxxxxรับน้ําหนักxxxxxxน้อยกว่า 20 กิโลกรัมต่อ ตารางเมตร
1.3.5 จะต้องจัดให้มีไฟxxxxxxxxxฉุกเฉินให้พร้อม เพื่อใช้ในกรณีที่ไฟฟ้าดับ
1.3.6 ในบริเวณเขตก่อสร้างที่มีวัสดุติดไฟได้ง่าย จะต้องติดตั้งเครื่องดับเพลิงขนาดที่พ่นได้ระยะไม่น้อย กว่า 20 เมตร ครอบคลุมพื้นที่ 270 ตร.ม. ถึง 540 ตร.ม. อย่างน้อยหนึ่งเครื่องสําหรับพื้นที่ทุกๆ 280 ตร.ม. และไม่ว่า ในกรณีใดให้มีเครื่องดับเพลิงขนาดไม่น้อยกว่า 8 กิโลกรัมและอุปกรณ์xxxเพลิงประจํา ณ ที่เขตก่อสร้างอย่างน้อย หนึ่งเครื่อง
2. นั่งร้านและบันไดไต่
2.1 ข้อกําหนดทั่วไปเกี่ยวกับนั่งร้านทุกแบบ
2.1.1 จะต้องสร้างนั่งร้านให้เป็นไปตามข้อกําหนดนี้ ให้ผู้ปฏิบัติงานซึ่งไม่xxxxxxจะปฏิบัติงานได้โดย ปลอดภัยจากพื้นดินหรือจากสิ่งก่อสร้างxxxxxxxxx ยกเว้นงานที่ปฏิบัตินั้นเป็นงานในช่วงเวลาสั้นๆ ซึ่งxxxxxxจะ ปฏิบัติงานให้ปลอดภัยโดยใช้บันได
2.1.2 นั่งร้านหรือยกพื้นที่สูงเกินกว่า 3.70 เมตร นับจากพื้นดินหรือพื้นไม่ว่าจะเป็นแบบแขวนลอยจาก สิ่งมั่นคงเบื้องบน หรือรองรับจากพื้นจะต้องสร้างราวกันตกไว้ด้วยการยึดด้วยสลักเกลียวค้ํายัน หรือวิธีอื่นที่จะทําให้ มั่นคงโดยมีความสูงไม่ต่ํากว่า 90 เซนติเมตร และไม่เกิน 1.10 เมตรนับจากกระดานพื้นนั่งร้าน และจะต้องสร้างตาม แนวยาวxxxxxxxนั่งร้านตลอดไปจนสุดปลายทางเดินบนนั่งร้านเว้นไว้แต่xxxxxxxจําเป็นต้องเปิดเพื่อขนถ่ายสิ่งของ นั่งร้านหรือยกพื้นดังกล่าวนี้ จะต้องยึดแน่นเพื่อป้องกันไม่ให้เซออกจากตัวอาคาร
2.1.3 นั่งร้านทุกแบบรวมทั้งฐานรองรับนั่งร้าน จะต้องรับน้ําหนักได้ตามxxxxxxคํานวณออกแบบไว้โดย จะต้องมีอัตราความปลอดภัยอย่างน้อยเท่ากับ 4
2.1.4 จะต้องบําxxxxxxxxนั่งร้านทุกแบบ รวมทั้งอุปกรณ์ประกอบอื่นๆ ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย และ จะต้องไม่มีการดัดแปลงนั่งร้านหรือถอดชิ้นส่วนออกขณะที่ยังใช้งานอยู่
2.1.5 ถ้านั่งร้านใดเกิดความเสียหาย หรือเกิดจุดอ่อนเนื่องจากเหตุใดก็ตามจะต้องได้รับการซ่อมแซม ทันที และห้ามไม่ให้ผู้ปฏิบัติงานใช้นั่งร้านนั้นจนกว่าจะได้รับการซ่อมแซมเสร็จเรียบร้อยแล้ว
2.1.6 ห้ามใช้นั่งร้านเป็นที่เก็บกองสิ่งของ เว้นแต่ใช้เป็นที่วางxxxชั่วคราว และนั่งร้านจะต้องไม่รับ น้ําหนักเกินกําลัง
2.1.7 ห้ามใช้นั่งร้านแบบพิงไว้กับอาคาร
2.1.8 ห้ามอนุญาตให้ผู้ปฏิบัติงานทํางานบนนั่งร้านในขณะเกิดxxxx หรือลมแรง
2.1.9 ห้ามใช้ถัง ลัง กองกระเบื้อง หรือกองอิฐที่ก่อไว้หลวมๆ หรือวัตถุอื่นที่xxxxxxxxxเป็นฐานรับกระดาน ซึ่งพาดเพื่อใช้เป็นนั่งร้าน หรือเพื่อปฏิบัติงาน
2.2 นั่งร้านแบบใช้ท่อเหล็ก
2.2.1 ส่วนประกอบนั่งร้านทุกชิ้น จะต้องเป็นท่อเหล็กเหนียวอาบสังกะสี
2.2.2 ส่วนประกอบทั้งแนวราบ และแนวดิ่งจะต้องยึดแน่น โดยใช้เครื่องยึดหรือเครื่องล๊อคห้าม เพื่อให้ ส่วนที่ต่อกันแน่น เครื่องล๊อคห้ามจะต้องเป็นแบบที่ไม่มีส่วนใดหลวมคลอน
2.2.3 เครื่องยึด (Coupler) หรือเครื่องล๊อคห้าม (Locking device) จะต้องเป็นเหล็กเหนียวอาบสังกะสี ห้ามใช้เหล็กหล่อ
2.2.4 ในการสร้างนั่งร้านแบบใช้ท่อเหล็ก จะต้องใช้ส่วนประกอบต่างๆ ตามขนาดดังต่อไปนี้
(1) นั่งร้านสําหรับงานเบา สําหรับนั่งร้านงานเบา ส่วนประกอบทั้งเสา คาน และตงจะต้องมี เส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก 5 ซม. โดยวางระยะระหว่างเสาตามแนวขวาง 1.80 เมตร และระยะระหว่างเสาตามแนว ยาว 3.00 เมตร ส่วนประกอบโยงยึดทั้งหมดให้ใช้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก 5 เซนติเมตร
(2) นั่งร้านสําหรับงานxxxxxxxx สําหรับนั่งร้านซึ่งใช้งานxxxxxxxx เสา และคานให้ใช้ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก 5 ซม. และตงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางนอก 6.35 ม. โดยวางระยะระหว่างเสา ตามแนวขวาง
1.80 เมตร และระยะระหว่างเสาตามแนวยาว 2.40 เมตรส่วนประกอบโยงยึดทั้งหมด ให้ใช้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ภายนอก 5 เซนติเมตร
(3) นั่งร้านสําหรับงานหนัก สําหรับนั่งร้านงานหนัก เสาและคานให้ใช้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ภายนอก 5 ซม. และตงใช้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก 6.35 ซม. โดยวางระยะระหว่างเสาตามแนวทาง 1.80 เมตร และระยะระหว่างเสา ตามแนวยาว 2.00 เมตร ส่วนประกอบโดยยึดทั้งหมดให้ใช้ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ภายนอก 5 เซนติเมตร
2.2.5 สําหรับนั่งร้านแบบใช้ท่อเหล็ก ซึ่งสูงไม่เกิน 22.85 เมตร ให้ใช้เสาขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก 5 ซม. ส่วนนั่งร้านที่สูงเกินกว่า 22.85 เซนติเมตร แต่ไม่เกินกว่า 60.90 เมตร ให้ใช้เสาขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก
6.35 เซนติเมตร
2.2.6 นั่งร้านแบบใช้ท่อเหล็ก จะต้องออกแบบให้มีอัตราความปลอดภัยไม่น้อยกว่า 4 อาจจะใช้อัตรา ความปลอดภัยxxxxxxสูงกว่านี้ โดยคํานึงxxxxxxใช้งานนั่งร้าน
2.2.7 จะต้องตั้งเสาให้อยู่ในแนวดิ่งและมีค้ํายันรับตามลําดับ เพื่อให้เสามั่นคงและรักษาแนวดิ่งไว้
2.2.8 เสาจะต้องยึดแน่นกับฐาน ซึ่งวางบนฐานรากxxxxxxxxx หรือวางบนแผ่นเหล็กเพื่อเฉลี่ยน้ําหนัก
2.2.9 สําหรับนั่งร้านล้อเลื่อนใช้สําหรับงานภายในอาคาร ฐานเสาจะต้องมีวงล้อหรือล้อเลื่อน (Casters) ซึ่งเป็นแบบที่ใช้สําหรับงานนั่งร้านโดยเฉพาะ
2.2.10 ท่อเหล็กที่นํามาต่อเป็นคาน จะต้องต่อและยึดให้แน่นด้วยหัวต่อปลายชนปลายและยึดกับเสาที่ จุดตัดโดยใช้เครื่องยึด
2.2.11 คานต่างๆ ไม่ว่าตามแนวยาว หรือแนวขวางจะต้องอยู่ในระดับราบ
2.2.12 ในการประกอบคานอันที่อยู่เหนือขึ้นไป เริ่มแรกจะต้องจัดระยะความสูงของเครื่องยึดซึ่งสวมไว้ กับเสาด้วยการใช้ไม้วัดระยะ
2.2.13 ตงจะต้องวางตั้งฉาก และยึดแน่นกับคานโดยใช้เครื่องยึด
กระดานพื้น
2.2.14 จะต้องติดตั้งตงให้เสร็จเรียบร้อยที่ระดับใช้งานต่างๆ รวมทั้งระดับxxxxxxxxในขณะที่ประกอบ
2.2.15 ตงจะต้องยาวเกินแนวเสา ไม่ว่าด้านในหรือxxxxxxx ไม่น้อยกว่า 25.00 เซนติเมตร
2.2.16 ในกรณีนั่งร้านแบบxxxxxxxxเดี่ยว ปลายในของตงจะต้องสอดผ่านxxxxxxโดยมีเหล็กแผ่นขนาด
4.50 มม. ยึดติดไว้ด้านหลัง
2.2.17 ตงควรจะมีระดับเอียงต่ําเล็กน้อย เข้าหาผนังตึก
2.2.18 จะต้องมีค้ํายันซึ่งทําด้วยท่อเหล็ก ยึดทั้งแนวของนั่งร้าน ตามจุดที่จําเป็น
2.2.19 ค้ํายันตามแนวยาวจะต้องติดตั้งอยู่xxxxxxxร้าน ให้ยึดติดกับปลายตงส่วนที่ยื่นออกมาด้วยเครื่อง
ยึด
2.2.20 จะต้องมีค้ํายันยึดตามแนวขวางของนั่งร้านทุกๆ สี่ หรือห้า ช่วงเสา โดยมีเครื่องยึดติดกับคาน
โดยติดxxxxxxxxxxxxxxxระดับต่างๆ กัน
2.2.21 ฐานเสาซึ่งไม่มีคาน หรือตงยึดอยู่จะต้องมีเครื่องยึดชนิดเลื่อนแต่ตําแหน่งได้ไว้ยึดค้ํายันเสา
2.2.22 จะต้องมีการตรวจสอบนั่งร้าน ตามระยะเวลาและบ่อยครั้งในระหว่างใช้งาน
2.2.23 กรณีผู้รับจ้างจะใช้นั่งร้านชนิด และขนาดแตกต่างจากที่กําหนดดังกล่าวนี้ให้ผู้รับจ้างจัดทํา รายการคํานวณเสนอ พร้อมมีวิศวกรผู้ควบคุมการก่อสร้างของผู้รับจ้างลงนามรับรองบันไดไต่
2.3 ข้อกําหนดทั่วไปเกี่ยวกับบันไดไต่
2.3.1 ยกเว้นที่ซึ่งได้จัดให้มีบันไดxxxx หรือชั่วคราว ทางลาด (Ramps) จะต้องจัดให้มีบันไดไต่ ขึ้นสู่พื้น ปฏิบัติงาน ซึ่งสูงจากพื้นดินหรือพื้นxxxxหรือพื้นชั่วคราวเกินกว่า 1.50 เมตรขึ้นไปข้อกําหนดนี้อาจยกเว้นได้ถ้าได้จัด ทางขึ้นสะดวกอย่างอื่นที่เหมาะสม xxxx นั่งร้านคานหาม นั่งร้านลอยซึ่งใช้ในการก่อสร้างโครงเหล็ก
2.3.2 จะต้องติดตั้งบันไดไต่ดังกล่าวไว้จนกระทั่งได้สร้างบันไดxxxxเสร็จ และพร้อมที่จะใช้งานได้ และ เมื่อมีการทํางานในระดับสูงเกินกว่า 18 เมตรจากพื้นดินควรงดใช้บันไดไต่ และต้องสร้างบันไดxxxxตามไป ให้ทันใช้ งาน
2.3.3 บันไดไต่แบบต่างๆ จะต้องดําเนินการโดยมีวิศวกรผู้ควบคุมการก่อสร้างของผู้รับจ้างรับรองความ
ปลอดภัย
2.4 ข้อควรระวังและวิธีใช้บันไดไต่
2.4.1 ในการใช้บันไดไต่ยกย้ายได้ จะต้องพาดบันไดโดยให้ระยะนับจากฐานบันไดถึงเส้นตั้งฉากลากจาก จุดที่บันไดพาดลงมา ประมาณหนึ่งในสี่ของความยาวบันได นับจากฐานบันไดถึงจุดที่บันไดพาด ในกรณีที่จําเป็นต้อง พาดบันไดเกือบอยู่ใน แนวตั้ง จะต้องผูกยึดปลายบันไดเพื่อป้องกันบันไดหงายลงมา และถ้าพาดในแนวเกือบราบ จะมี ค้ํายันบันไดเพื่อป้องกันบันไดxxxx
2.4.2 ในการxxxxxxxxxอาคารสูงเกินกว่าสองชั้น ถ้ามีการขึ้นลงมาก ควรจะสร้างบันไดไต่แยกไว้เป็นทาง ขึ้นและทางลง
2.4.3 ห้ามใช้บันไดไต่เดี่ยวยกย้าย ซึ่งยาวเกินกว่า 9.00 เมตร ถ้าจําเป็นต้องขึ้นที่สูงกว่านี้ จะต้องติดตั้ง บันไดอีกอันหนึ่ง โดยจัดให้มีชานxxxเมื่อสุดบันไดส่วนหนึ่ง
2.4.4 ห้ามใช้บันไดไต่ชั้นบันไดฝังซึ่งมีบันไดยึดติดกับแม่บันไดเพียงอันเดียว
2.4.5 ห้ามต่อบันไดสั้นเข้าด้วยกัน เพื่อxxxxxความยาวของบันได
2.4.6 ห้ามใช้บันไดไต่เหยียบเป็นยกพื้นสําหรับปฏิบัติงาน
2.4.7 ห้ามนําบันไดไต่ ไปวางหรือใช้งานในปล่องลิฟต์โดยสาร หรือปล่องลิฟต์ส่งของเว้นแต่ผู้ใช้เป็น ผู้ปฏิบัติงานในปล่องลิฟต์โดยสาร หรือปล่องลิฟต์ส่งของนั้น โดยได้ป้องกันสิ่งของที่จะหล่นลงมา ซึ่งเกิดจากการ ปฏิบัติงานบนที่สูง ในหรือใกล้เคียงปล่องลิฟต์นั้น
2.4.8 เมื่อใช้บันไดไต่ยกย้ายได้บนพื้นเรียบ หรือผิวเรียบอื่นๆ จะต้องติดตั้งอุปกรณ์กันลื่นที่ฐานบันได หรือยึดฐาน บันไดไว้ให้มั่นคง เพื่อป้องกันบันไดไกลลื่น
3. กว้านและลิฟต์
3.1 ข้อกําหนดทั่วไป
กว้านหรือลิฟต์ที่ใช้ส่งผู้โดยสารหรือสิ่งของ จะต้องควบคุมการใช้โดยผู้ที่มีความชํานาญและได้รับมอบหมายหน้าที่ใน การควบคุม และต้องรายงานการตรวจสอบรับรองการใช้งานจากวิศวกรเครื่องกล ผู้ควบคุมดูแลกว้านและลิฟต์ทุก 15 วัน
3.2 เครื่องกว้าน
3.2.1 เครื่องกว้านต้องมีกําลังสูง และมีเบรกที่จะบังคับ 150% ของอัตราน้ําหนักบรรทุกให้หยุดได้ และ xxxxxxบังคับน้ําหนักบรรทุกสูงสุดได้ตามตําแหน่งที่ต้องการ
3.2.2 จะต้องสร้างหลังคาxxxxxxxxxxเพื่อป้องกันตัวเครื่องกว้าน และผู้ควบคุมให้ปลอดภัยจากฝน หรือ วัสดุxxxxxxตกหล่นมาจากชั้นบน
3.2.3 จะต้องตรวจสอบส่วนประกอบของเครื่องกว้านอยู่xxxx xxxx เบรกหมู่เฟืองคันบังคับ จะต้องอยู่ ในสภาพใช้งานxxxxx
3.2.4 จะต้องxxxxxxxxxxxxxให้กะบะเบรกเปรอะเปื้อนน้ํามันเครื่อง หรือจาระบีหรือสารชนิดอื่นใด ซึ่งลด ประสิทธิภาพของเบรก
3.2.5 ไม่ควรติดตั้งเครื่องกว้านในทางสาธารณะ เมื่อxxxxxxจะหลีกเลี่ยงได้แต่ถ้าจําเป็นจะต้องสร้าง ห้องกันไว้ เพื่อป้องกันอันตรายซึ่งอาจจะxxxxxxxสาธารณะ เครื่องยนต์และผู้ปฏิบัติงาน
3.2.6 ในการขับเคลื่อนเครื่องกว้าน ผู้บังคับจะต้องให้สัญญาณไฟ หรือเสียงสัญญาณให้ผู้อยู่ใกล้เคียง
ทราบ
3.2.7 เมื่อเครื่องยนต์ของเครื่องกว้านติดตั้งบนชั้น ที่อยู่สูงจากพื้นดินขึ้นไปจะต้องสร้างราวกั้น และขอบ
กันของตกทุกxxxxxxxเปิดโล่งอยู่
3.3 ลิฟต์ส่งของและลิฟต์โดยสาร
3.3.1 ลิฟต์ภายในสถานที่ก่อสร้าง จะต้องจัดให้ผู้xxxxxxรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุมสาขาวิศวกรรมโยธา จากสภาวิศวกร เป็นผู้ออกแบบ และคํานวณโครงสร้างพร้อมทั้งกําหนดรายละเอียดของ หอลิฟต์และตัวลิฟต์อย่างน้อยให้เป็นไปตามข้อกําหนด ดังต่อไปนี้
(1) หอลิฟต์ ต้องxxxxxxรับน้ําหนักxxxxxxน้อยกว่าสองเท่าของน้ําหนักการใช้งาน(Working Load)
(2) คานสําหรับติดตั้งรอกและฐานที่รองรับคาน ต้องมีความแข็งแรงพอที่จะรับน้ําหนักรอก น้ําหนักตัวลิฟต์ และน้ําหนักบรรทุก (Live Load) โดยมีส่วนปลอดภัย (Safety Factor)
(3) หอลิฟต์ที่สร้างด้วยไม้ ต้องสร้างด้วยxxxxxxมีหน่วยแรงดันประลัย (Ultimatic Bending Stress) ไม่น้อยกว่า 800 KSC. และมีส่วนปลอดภัยไม่น้อยกว่าแปด
(4) หอลิฟต์ที่สร้างด้วยโลหะ ต้องเป็นโลหะที่มีจุดราก (Yield Point) ไม่น้อยกว่า 2400 KSC. และมีส่วนปลอดภัยไม่น้อยกว่าสอง
(5) ฐานรองรับหอลิฟต์ ต้องมีความมั่นคงxxxxxxรับน้ําหนักxxxxxxกว่าสองเท่าของ น้ําหนัก หอ ลิฟต์ น้ําหนักตัวลิฟต์ และน้ําหนักบรรทุก
(6) ตัวลิฟต์ ต้องมั่นคงแข็งแรงxxxxxxรับน้ําหนักบรรทุกxxxxxxน้อยกว่าห้าเท่าของ น้ําหนักใช้งาน (Working Load) และต้องมีขอบกันของตกสูงไม่น้อยกว่า 7 ซม. จากพื้นของตัวลิฟต์โดยรอบและxxxxxxxมิใช่ทางขน ของเข้า - ออก ต้องมีผนังปิดกั้นด้วยไม้หรือลวดตาข่าย มีความสูง จากพื้นของตัวลิฟต์ไม่น้อยกว่า 1.00 ม.
ปลอดภัย
(7) หอลิฟต์ ต้องมีการยึดโยง ค้ํายัน หรือตรึงกับพื้นดิน หรือตัวอาคารให้มั่นคง แข็งแรง และ
3.3.2 ห้องลิฟต์จะต้องมีโครงสร้างและคุณสมบัติ ดังนี้
(1) ห้องลิฟต์ จะต้องมีลวดตาข่าย เบอร์ 16 (U.S.Gage) ขนาดช่อง 3.8 x 3.8 ซม. ปิดกั้น
โดยรอบ สูงอย่างน้อย 2.40 ม. พร้อมขอบกันของตก ทางเข้า - ออก จะต้องปิดกั้นด้วย ประตูเลื่อนสูงไม่น้อยกว่า
1.70 ม. ตั้งสูงจากพื้นไม่เกิน 5 ซม. และห่างจากปล่องลิฟต์ หรือหอลิฟต์ไม่ เกิน 15 ซม. ประตูจะต้องมีกลไกใน การล๊อค หรือใส่กลอน
(2) ทางเดินระหว่างห้องลิฟต์กับสิ่งก่อสร้าง จะต้องมีราวกันตกสูงไม่น้อยกว่า 90 ซม. และไม่เกิน
1.10 เมตร จากพื้นทางเดินและขอบกันของตกสูงไม่น้อยกว่า 7 ซม. จากพื้นทางเดิน
(3) พื้นลิฟต์จะต้องออกแบบและก่อสร้างอย่างมั่นคงแข็งแรงมีส่วนปลอดภัยในการ บรรทุกตาม
อัตราไม่น้อยกว่าห้า
(4) เพดานห้องลิฟต์ จะต้องคลุมด้วยลวดตาข่ายหรือปูด้วยไม้เพื่อป้องกันอันตราย จากของxxxxxx
ตกลงมาในปล่องลิฟต์
3.3.3 ลวดสลิงและลิฟต์รอก และมอเตอร์ไฟฟ้า จะต้องมีคุณสมบัติดังนี้
(1) ลวดสลิงทุกเส้นที่ใช้แขวนลิฟต์จะต้องใช้ลวดสลิง ขนาด Plow Steet เป็นอย่างน้อย และ จะต้องประกอบด้วยกลุ่มเส้นลวดอย่างน้อย 6 กลุ่ม แต่ละกลุ่มประกอบด้วยลวด 19 เส้น ลวดสลิงที่ใช้ยกลิฟต์จะต้อง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 12.70 มม.
(2) ขนาดของลวดสลิง ซึ่งใช้แขวนลิฟต์อยู่กับอัตราส่วนปลอดภัย (Safety Factor) น้ําหนักที่จะ ยก และอัตราความเร็วของลิฟต์หรือกว้าน ซึ่งแสดงในตารางข้างล่างนี้ แสดงอัตราความเร็วของลิฟต์หรือกว้าน
อั ต ร าความเร็วของลิ ฟ ต์ (เมตร/นาที) | อัตราส่วนปลอดภัย (Safety Factor) | |
ลิฟต์โดยสาร | ลิฟต์ส่งของ | |
15 | 7.50 | 6.67 |
30 | 7.85 | 7.00 |
45 | 8.20 | 7.32 |
60 | 8.54 | 7.64 |
(3) ห้ามใช้ลวดสลิงที่มีคุณสมบัติดังนี้ กับลิฟต์ทุกชนิด
- เมื่อลวดสลิงxxxxxxลวดขาดเกินกว่า 10% ต่อช่วงความยาว 30 เซนติเมตร
- เนื้อลวดสลิงส่วนxxxxxxxxกับรอกสึกไปกว่า 30% ของพื้นเดิม
- โดยการตรวจดูผิวของลวดสลิง xxxxxxxxสนิมผุกร่อนอย่างชัดเจน
(4) การทําห่วงสลิง จะต้องทําอย่างมั่นคง แข็งแรง
(5) ขนาดของลวดสลิงและรอกที่เล็กที่สุด ที่ยอมให้ใช้ต้องมีขนาดตามตารางข้างล่างนี้
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ของลวดสลิง (เซนติเมตร) | ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ของรอก (เซนติเมตร) | ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ของเพลา (เซนติเมตร) |
1.27 | 30 | 3.00 |
1.60 | 35 | 3.65 |
1.90 | 40 | 4.50 |
2.22 | 45 | 5.00 |
2.54 | 50 | 5.50 |
(6) การติดตั้งมอเตอร์ไฟฟ้า จะต้องดําเนินการให้เป็นไปตามข้อบัญญัติหรือมาตรฐานเพื่อความ ปลอดภัยทางด้านไฟฟ้าที่เป็นที่ยอมรับในระดับxxxx
(7) จะต้องติดตั้งตู้สวิทซ์ปิด – เปิดและตู้ฟิวส์ ควบคุมการทํางานของมอเตอร์ไฟฟ้าเสมอ
(8) แผงสวิทซ์มอเตอร์ไฟฟ้า จะต้องมีตาข่ายกั้น หรือเป็นเหล็กปิดล้อมและมีเครื่องหมายเตือนผู้
ไม่เกี่ยวข้องเข้าใกล้
3.3.4 ข้อกําหนดการใช้ลิฟต์
(1) ผู้ทําหน้าที่บังคับ / ควบคุมลิฟต์ จะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมก่อน
(2) ให้มีการตรวจสอบลิฟต์ทุกวัน ถ้ามีส่วนใดชํารุดเสียหายต้องซ่อมแซมให้เรียบร้อยก่อนที่จะใช
งาน
(3) ติดป้าย “ห้ามใช้ลิฟต์” ให้ทุกคนทราบในกรณีที่ลิฟต์ไม่อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน หรือไม่มีผู้ทํา
หน้าที่บังคับ / ควบคุมลิฟต์
(4) ห้ามมิให้บุคคลใดใช้ลิฟต์โดยลําพัง
(5) ต้องติดป้ายบอกพิกัดน้ําหนักบรรทุก ไว้ที่ลิฟต์ให้เห็นได้ชัดเจน
(6) ต้องจัดวางและป้องกันมิให้วัสดุตกหรือยื่นออกมาขัดกับโครงหอลิฟต์
(7) ในการใช้ลิฟต์ขนรถขนของหรือเครื่องมือที่มีล้อ ต้องป้องกันมิให้รถหรือเครื่องมือนั้นเคลื่อนที่
ได้
3.4 หอลิฟต์
3.4.1 หอลิฟต์ที่สร้างอยู่ภายนอกอาคาร จะต้องสร้างด้วยวัสดุxxxxxxxxxx
3.4.2 ฐานของหอลิฟต์ จะต้องกว้างพอที่แผ่น้ําหนักของหอลิฟต์ทั้งหมดลงสู่ดินโดยxxxxxxเกินกําลัง
ปลอดภัยของดินที่จะรับได้ ฐานรากจะต้องได้ระดับราบ
3.4.3 การสร้างหอลิฟต์ จะต้องดําเนินการโดยผู้มีประสบการณ์ในการสร้างxxxxxxเท่านั้น
3.4.4 จะต้องมีลวดสลิงโยงยึดตัวหอลิฟต์ และปลายลวดสลิงอีกด้านหนึ่งจะต้องยึดแน่นกับแท่น
3.4.5 ลวดสลิงโยงยึดจะต้องยึดแน่นกับแท่นตอม่อที่มีขนาดใหญ่ และฝังจมให้ลึกพอเพียง เว้นแต่ ลวดสลิงนั้นจะโยงยึดกับอาคารxxxxxxx
3.4.6 บริเวณชานขนของ เข้าและออกจากประตูลิฟต์ จะต้องมีขนาดใหญ่พอและแข็งแรงรวมทั้งจะต้อง มีราวกั้น และขอบกันของตก และจะต้องทําทุกชั้นที่คนงานทํางาน
3.4.7 ทุกด้านของหอลิฟต์ จะต้องxxxxxxxความสูงของหอลิฟต์นั้น โดยใช้ลวดตาข่ายเบอร์ 16 (US. Gage) ขนาดช่อง 3.8 ซม. x 3.8 ซม. ลวดตาข่ายจะต้องยึดแน่นกับโครงสร้างของหอลิฟต์ ยกเว้นช่องประตูที่เข้าออก แต่ละชั้นซึ่งจะต้องมีเครื่องป้องกันพอxxxxx
3.4.8 ส่วนบนสุดของหอลิฟต์ จะต้องมีความแข็งแรงพอที่จะรับน้ําหนักของรอกน้ําหนักห้องบรรทุกของ และน้ําหนักของที่จะยก โดยมีส่วนปลอดภัยไม่น้อยกว่า 5
3.4.9 เมื่อต้องการสร้างหอลิฟต์ที่สูงมาก ควรสร้างเป็นส่วนๆ โดยการสร้างส่วนล่างสูงพอเหมาะกับการ ใช้งาน เมื่อสร้างตึกสูงขึ้น จึงค่อยสร้างหอลิฟต์ให้สูงตามเพื่อจะได้เสริมความแข็งแรงให้กับตัวหอลิฟต์มากขึ้น
3.4.10 ควรมีแผงxxxxxxxทําด้วยตาข่าย หรือไม้ สําหรับกันมิให้คนเข้าไปในบริเวณใต้ชานxxxลิฟต์
3.4.11 จะต้องปิดประกาศแจ้งทราบเมื่อคนงานทํางานส่วนที่เกี่ยวกับหอลิฟต์ การทํางานบน หลังคาลิฟต์ ที่เครื่องกว้านหรือในบ่อลิฟต์
3.4.12 จะต้องจัดให้มีการตรวจตราเครื่องมือ xxxxxxxxxxxทุกชิ้น ก่อนที่จะเริ่มให้ลิฟต์ทํางานทุกวัน
3.5 xxxxxxxx
3.5.1 จะต้องสร้าง ติดตั้ง บําxxxxxxxx และใช้งานxxxxxxxx โดยไม่ให้ชิ้นส่วนใดรับแรงเกินกว่าหน่วยแรงใช้ ที่ปลอดภัย และจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย
3.5.2 จะต้องตรวจสอบลวดสลิงทุกเส้น ก่อนนําไปใช้งาน ลวดสลิงเส้นใดขึ้นสนิมมากหรือลวดแตก เกลียวตั้งแต่ร้อยละสิบขึ้นไปของจํานวนลวดทั้งหมดต่อความยาวของลวดสลิง 90 เซนติเมตรจะต้องไม่นํามาใช้งานอีก
3.5.3 ฐานของxxxxxxxxจะต้องมีที่รองรับแข็งแรงและยึดมั่นคง เพื่อป้องกันไม่ให้เคลื่อนตัวไปทิศทางใดๆ
3.5.4 ก่อนการติดตั้งxxxxxxxxแบบสายโยงยึด จะต้องตรวจสอบว่า รอก แช็คเกิ้ลรอกเคลื่อนและการต่อ ส่วนต่างๆ ที่ปลายเสากระโดงอยู่ในสภาพดี
3.5.5 xxxxxxxxแบบสายโยงยึด ลวดสลิงดึงทางด้านปลายเสา ควรจะทําเป็นห่วงสลิง โดยมีเหล็กรองห่วงส ลิง (Thimble) เพื่อป้องกันลวดสลิงหักพับ และปลายสลิงยึดด้วยกริ๊บ (Clips or U-clamps) 3 ตัว สายโยงยึดจะต้อง ยึดมั่นคงกับแผ่นยึดสลิงหัวเสา โดยใช้แช็คเกิ้ล (Shackle) และสลัก ของแช็คเกิ้ลควรเป็นแบบสวมเข้าที่โดยใช้เดือย ล๊อคขวาง (Cotter pin) ห่วงสลิง ถ้าไม่ใช้เป็นกริ๊บสลิง อาจจะใช้ห่วงสลิงสําเร็จรูป (Socket fiting) แทนได้
3.5.6 ปลายเสากระโดงของxxxxxxxxแบบสายโยงยึดจะต้องxxxxxxที่ และจะต้องยึดโดยลวดสลิงไม่น้อยกว่า 6 เส้น ดึงทํามุมระหว่างกันเท่ากัน
3.5.7 ถ้าใช้ “ตอม่อ” เป็นหลักยึดสายโยงยึด จะต้องระวังไม่ไห้ตอม่อนั้นรับแรงเกินกว่าหน่วยแรงเฉือนของวัตถุที่ นํามาใช้ทําตอม่อ
3.5.8 จะต้องระวังไม่ให้ส่วนหนึ่งส่วนใดของxxxxxxxx สายโยงยึด หรือสิ่งของที่ยกกระทบกับสายไฟฟ้า
3.5.9 จะต้องระวังไม่ให้สิ่งของที่ยก สลิงที่ใช้ยกของและคันยก กระแทกนั่งร้าน วัตถุหรือโครงสร้าง
3.5.10 สายดึง หรือสายโยงยึดจะต้องมีขนาดที่จะใช้ได้กับน้ําหนักสิ่งของที่ยกต่างๆ กันโดยสิ่งของนั้น แกว่งได้xxxxxจะต้องใช้ผู้ปฏิบัติงานซึ่งมีความชํานาญคอยควบคุมสายดึงเหล่านี้
3.5.11 สําหรับxxxxxxxxแบบขายยึดตายตัว (Stiff–leg derricks) ซึ่งจะมีคันยกยาวกว่าเสากระโดง อุปกรณ์คอห่าน (Goose necks) ที่ปลายเสากระโดงจะต้องยึดแน่นกับขายึดตายตัว เพื่อไม่ให้เกิดแรงเสียดทานxxxxxx xxxมากเกินไป
3.5.12 น้ําหนักถ่วงและหลักยึด (Anochoring) ที่ใช้กับขายึดตายตัวจะต้องอยู่ในลักษณะที่ทําให้xxxxxxxx
ทรงตัวxxxxx
3.5.13 จะต้องใช้ผู้ชํานาญการ ตรวจสอบสภาพxxxxxxxxทุกวัน และบันทึกผลการตรวจสอบสภาพไว้xxx xxx
ควบคุมxxxxxxxxนั้นจนกระทั่งงานแล้วเสร็จ
3.5.14 ให้ใช้ผู้ปฏิบัติงานที่มีความชํานาญไว้ควบคุมดูแลxxxxxxxx และห้ามไม่ให้ผู้อื่นxxxxxxได้มอบหมายมา ปฏิบัติการเกี่ยวกับxxxxxxxxนั้น
3.5.15 ห้ามผู้ปฏิบัติงาน โดยสารไปกับสิ่งของxxxxxxxxxxxxกําลังยกอยู่
3.516 ห้ามยกสิ่งของ หรือยกxxxสิ่งของข้ามxxxxxของบุคคลใด และห้ามบุคคลใดเดินลอดใต้สิ่งของที่
ยกลอยตัว
3.5.17 ขณะxxxงาน หรือขณะไม่ใช้xxxxxxxx จะต้องวางคันยกลงแนวราบหรือผูกยึดเอาไว้เพื่อป้องกัน
แรงลม ซึ่งอาจจะพัดให้คันยกแกว่งหรือหมุนไป
3.5.18 จะต้องให้ผู้ชํานาญงาน หรือจัดให้มีการควบคุมดูแลการผูกสลิงรัดสิ่งของให้ถูกต้อง
3.5.19 ต้องจัดให้มีห้ามล้อ ซึ่งxxxxxxจะบังคับหยุด น้ําหนักสิ่งของxxxxxxxละ 150 ของพิกัดน้ําหนักxxx xxxxxxxxจะยกได้และจะต้องอยู่ในสภาพใช้การxxxxxอยู่เสมอ
3.5.20 xxxxxxxxสําหรับวางท่อ จะต้องตรวจสอบสภาพรอกเคลื่อน ขอเกี่ยว ลวดสลิงห้ามล้อ และเชือก หรือโซ่ ทุกวันก่อนเริ่มงาน
3.5.21 xxxxxxxxสําหรับวางท่อจะต้องมีห้ามล้อ ชนิดใช้แรงเสียดทานและเดือยบังคับหยุด (Pawl) ไว้ที่แกน กว้านม้วนสลิง
3.5.22 xxxxxxxxสําหรับวางท่อต้องใส่ครอบป้องกันอันตรายที่เฟืองขับ และรอกทุกตัว
3.5.23 เมื่อเสร็จงานxxxxxxxxสําหรับวางท่อ จะต้องม้วนลวดสลิงให้สุด และใช้xxxxxxxแกนกว้านล๊อคด้วย
กุญแจ
3.5.24 ถ้าใช้xxxxxxxxสําหรับวางท่อ ซึ่งติดตั้งบนรถบรรทุกหรือรถแทร็คเตอร์ จะต้องระมัดระวังการยก
สิ่งของที่จะไม่ทําให้รถบรรทุก หรือรถแท็คเตอร์ พลิกคว่ํา
3.6 ทาวเวอร์เครน (Tower crane) เครื่องมือที่สําคัญตัวหนึ่งของงานก่อสร้าง ซึ่งมีขนาดและ Function ต่างๆ กัน ซึ่งผู้รับจ้างจะต้องมีวิศวกรรับรอง ในการติดตั้งและใช้งานในการก่อสร้าง
3.6.1 การติดตั้ง Tower crane จะต้องตั้งอยู่บนฐานxxxxxxxxx และไม่ลาดเอียง
3.6.2 ถ้าความสูงเกิน 80 เมตร ต้องยึดตึกกับอาคาร เพื่อเสริมความมั่นคง
3.6.3 Tower crane ชนิดไต่ตัวตามตัวอาคาร xxxx ติดตั้งในช่องลิฟต์ ต้องใช้คานเหล็กรองรับxxxxxxxxx
แข็งแรง
3.6.4 ต้องตรวจสอบดูแล Hydraulic และหมั่นตรวจน้ํามัน Hydraulic ให้เต็มอยู่เสมอ
3.6.5 ต้องติดตั้ง Limit switch และจุดต่อxxxxxxไฟฟ้าต้องขันยึดให้แน่น
3.6.6 ลวดสลิงใน Boll ต้องไม่ขบกันและเส้นลวดไม่แตก
3.6.7 ควรตรวจดูลวดสลิง ไม่ให้ตกร่องจากรอกตลอดเวลา
3.6.8 ต้องตรวจสอบ Tower crane และอุปกรณ์ทุกชิ้นก่อนลงมือปฏิบัติงาน
3.6.9 จะต้องใช้ผู้ชํานาญการ ตรวจสอบสภาพ Tower crane ทุกวัน และบันทึกผลการตรวจสอบ
สภาพไว้xxx xxxควบคุม Tower crane นั้น จนกระทั่งงานแล้วเสร็จ
3.6.10 การรื้อ หรือการย้ายเพื่อไปติดตั้งยังตําแหน่งใหม่ ต้องอยู่ในความดูแลของวิศวกรโดยตลอด
3.6.11 ให้ใช้ผู้ที่มีความชํานาญได้รับการฝึกอบรมxxxxxx และมีใบอนุญาตเท่านั้นเป็นผู้บังคับเคลื่อน Tower crane ห้ามมิให้ผู้อื่นxxxxxxได้รับมอบหมายมาปฏิบัติการเป็นอันขาด
4.พื้นชั่วคราว ราวกั้น ขอบกันของตก และบันได ช่องเปิด
4.1 พื้นชั่วคราว (ไม้)
4.1.1 จะต้องปูพื้นไม้ชั่วคราวทุกๆ ชั้น ซึ่งยังxxxxxxเทพื้นxxxx หรือxxxxxxปูไม้แบบสําหรับเทพื้น พื้นไม้ ชั่วคราวนี้จะต้องปูปิดแถวของคานทั้งหมด เว้นไว้แต่ช่วงที่จะใช้เป็นทางสําหรับขึ้นลงบันไดxxxxxxใช้ปูพื้นชั่วคราวจะต้อง ไม่มีเสี้ยน หรือตะปูตอกโผล่ปลายแหลมอยู่
4.1.2 ไม้ปูพื้นชั่วคราว จะต้องเป็นไม้เนื้อแข็ง ความหนาไม่น้อยกว่า 5 ซม. สําหรับกรณีพาดวางช่วงxxx xxxเกิน 3 ม. และความหนาไม่น้อยกว่า 2 ซม. สําหรับกรณีปูxxxxxxแถวของตงรับพื้นซึ่งพื้นชั่วคราวจะต้องรับน้ําหนัก xxxxxxน้อยกว่า 450 กก./ตรม.
4.1.3 การปูกระดานพื้นจะต้องปูชิดกัน ให้ปลายไม้กระดานทุกแผ่นวางอยู่บนฐานรับxxxxxxxxx เพื่อ ป้องกันการพลิกกระดกหรือตะแคง และแต่ละฝ่ายจะต้องทับบนฐานรับอย่างน้อย 10 ซม.
4.1.4 ก่อนจะทําการรื้อไม้กระดานพื้นออก จะต้องเก็บเศษวัตถุสิ่งของบนพื้นออกก่อนเพื่อป้องกันเศษ วัตถุสิ่งของเหล่านี้ตกหล่นไปโดนบุคคลเบื้องล่าง
4.1.5 จะต้องจัดให้มีการตรวจสอบสภาพพื้นชั่วคราวเป็นประจําทุกวัน
4.2 ราวกั้นและขอบกันตก
4.2.1 ราวกั้นมาตรฐาน จะต้องมีความสูงตามแนวดิ่งไม่น้อยกว่า 0.90 ม. และไม่เกิน 1.10 เมตร นับ จากพื้นราวxxxxxxxจะต้องอยู่กลางระหว่างพื้นกับผิวด้านใต้ของราวอันบน
4.2.2 ราวxxxxxxxอาจจะใช้ตะแกรงลวดขึงระหว่างราวอันบนกับพื้นหรือขอบกันตกโดยใช้ลวดตะแกรง เบอร์ 6 (U.S.gage wise) และขนาดช่องตะแกรง 38 มม.
4.2.3 การยึดเสากับพื้นหรือยกพื้น รวมทั้งโครงของราวกั้นจะต้องสร้างให้ราวกั้นxxxxxxรับแรง กระแทกxxxxxxน้อยกว่า 100 กก. ในทุกทิศทางxxxxxxที่มากระทํา
4.2.4 ในกรณีที่ต้องมีขอบกันของตก ขอบดังกล่าวจะต้องสูงตามแนวดิ่งอย่างน้อย 15 ซม. นับจากพื้น ยกพื้น ทางลาด หรือทางเดินถึงขอบบนของขอบกันของตก
4.3 บันได
4.3.1 ต้องติดตั้งบันไดxxxxให้เร็วที่สุด เท่าxxxxxxxxxxปฏิบัติงานจะอํานวยให้
4.3.2 เมื่องานก่อสร้างอาคารดําเนินการคืบหน้าไปถึงระดับสูงเกินกว่า 18.00 เมตรเหนือพื้นดินและ ในทางปฏิบัติยังไม่xxxxxxxxxจะติดตั้งบนไดxxxxจะต้องสร้างบันไดชั่วคราวอย่างน้อยหนึ่งบันได ทอดตลอดความสูง ของโครงสร้างขึ้นไปถึงจุดที่กําลังก่อสร้างอยู่ และจะต้องxxบันไดนี้ไว้จนกว่าจะติดตั้งบันไดxxxxเสร็จ
4.3.3 ชั้นบันไดและชานxxxชั่วคราวจะต้องรับน้ํา หนักได้ 500 กก./ตร.ม.โดยปลอดภัย
4.3.4 บันไดชั่วคราว จะต้องมีขนาดลูกตั้งและลูกนอนเท่ากับขนาดของบันไดมาตรฐาน
4.3.5 บันไดชั่วคราวจะต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 1.00 เมตร
4.3.6 บันไดชั่วคราวซึ่งสูงตามแนวดิ่งเกิน 3.50 เมตร จะต้องสร้างชานxxx
4.3.7 ต้องจัดให้มีแสงสว่างพอxxxxxxxxบันไดชั่วคราวทั้งหมด
4.3.8 บันไดชั่วคราว ซึ่งมีฝากั้นด้านข้างต้องไม่สร้างประตูเปิดออกโดยตรงที่ปลายบันได แต่จะต้องสร้าง ชานบันไดจากปลายบันไดถึงประตู ให้มีความกว้างไม่น้อยเท่ากับความกว้างของประตู
4.3.9 บันไดชั่วคราวที่เป็นไม้ จะต้องไม่มีตะปู หรือเสี้ยนโผล่ปลายแหลมอยู่
4.3.10 บันได และชานxxxซึ่งไม่มีฝากั้นด้านข้าง จะต้องสร้างราวกั้นมาตรฐานทางด้านข้างที่เปิดโล่ง ตลอดความยาวบันได
4.3.11 บันไดที่สูงเกินกว่า 50 องศา นับจากแนวราบ ให้ถือเป็นบันไดไต่และต้องดําเนินการตาม มาตรฐานบันไดไต่
4.3.12 บันไดซึ่งกว้างไม่เกิน 1.10 เมตร และxxxxxxข้างเปิดโล่งอยู่ข้างหนึ่งต้องสร้างราวบันไดทางด้าน ข้างที่เปิดโล่งไว้นั้น
4.3.13 บันไดซึ่งเกินกว่า 1.10 เมตร ต้องมีราวมือจับทางxxxxxxxปิดกั้น และราวบันไดทางxxxxxxxเปิดโล่ง
4.4 ช่องเปิด
4.4.1 ช่องเปิด หรือรู ที่พื้นที่อาจก่อให้เกิดอันตราย พลัดตก หรืออาจก้าวถลําลงไปได้ให้ป้องกันโดยปิด กั้นด้วยวัสดุที่xxxxxxรับน้ําหนักxxxxxxน้อยกว่า 200 กก./ตร.ม. หรือทําราวกั้นมาตรฐาน และขอบกันตกของทุกxxxxxxx เปิดโล่ง
4.4.2 ช่องเปิดที่ผนัง ซึ่งสูงจากระดับพื้นไม่เกิน 7.50 ซม. หรือสูงจากระดับพื้นเกินกว่า 1.50 ขึ้นไป จะต้องกั้นด้วยขอบกันของตก หรือราวกั้นมาตรฐานที่ขึงด้วยตะแกรง โดยมีช่องว่างไม่เกิน 2.50 ซม. ตามลําดับเพื่อ ป้องกันอันตรายที่จะเกิดจากสิ่งของหล่นใส่บุคคลข้างล่าง
5. การทํางานในที่สูง และการป้องกันการตกหล่น หรือพังทลาย
5.1 การทํางานในที่สูง
5.1.1 การทํางานจากพื้นที่ที่ปฏิบัติงานเกินความสูงสองเมตรขึ้นไป จะต้องจัดให้มีนั่งร้านมาตรฐาน สําหรับผู้ปฏิบัติงานใช้ในขณะปฏิบัติงาน
5.1.2 การทํางานในที่สูงเกินสี่เมตรขึ้นไป จะต้องจัดทําราวกันตก หรือตาข่ายนิรภัยและจัดให้มีเข็มขัด นิรภัย - สายxxxxxช่วยชีวิตแก่ผู้ปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาที่ทํางาน
5.1.3 ช่องเปิดหรือปล่องต่างๆ ในที่สูง จะต้องทําฝาปิดหรือรั้วxxxxxxมีความสูงไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร เพื่อป้องกันการตกหล่น
5.1.4 ห้ามทํางานในที่สูงเกินกว่าสองเมตร ในขณะที่มีxxxx ลมแรง ฝนตกหรือฟ้าคะนอง
5.2 การป้องกันจากการตกหล่น
5.2.1 ห้ามทํางานบนหรือในถัง บ่อ หรือกรวยสําหรับเทวัสดุหรือภาชนะอื่นใดxxxxxxตกลงไป หรืออาจถูก วัสดุพังทับ เว้นแต่ได้มีการป้องกันโดยใช้เข็มขัดนิรภัยหรือสิ่งปิดกั้นหรือรั้วป้องกันxxxxxxxxxแข็งแรง
5.2.2 ในกรณีที่ต้องใช้บันไดไต่ชนิดเคลื่อนย้ายได้ เพื่อปฏิบัติงานบนที่สูงจะต้องตั้งบันไดให้ระยะ ระหว่างฐานบันไดถึงผนังที่วางพาดบันไดต่อความยาวบันได มีอัตราส่วนประมาณ 1:4 หรือมีมุมบันไดที่ตรงข้าม ประมาณ 70 องศา และบันไดจะต้องมีสภาพมั่นคงแข็งแรงต่อxxxxxxxใช้งานความกว้างของบันไดไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร และมีขาบันไดหรือสิ่งยึดโยงที่xxxxxxป้องกันการลื่นไถลของบันไดได้
5.2.3 ในกรณีที่ต้องใช้ขาหยั่งหรือม้ายืนในการปฏิบัติงาน ขาหยั่งหรือม้ายืนนั้นจะต้องมีโครงสร้างxxx xxxxxxxปลอดภัย ถ้าขาหยั่งหรือม้ายืนนั้นเป็นชนิดมีบันไดขึ้นต้องมีพื้นที่สําหรับยืนปฏิบัติงานอย่างเพียงพอ
5.3 การป้องกันอันตรายจากการพังทลายและวัสดุตกหล่นหรือกระเด็น
5.3.1 สถานที่ทํางานxxxxxxxxxxxxxพังทลาย ตกหล่น ของหิน ดิน ทราย หรือวัสดุอื่นๆ จะต้องจัดทําไหล่ หิน ดิน ทราย หรือวัสดุอื่น ให้ลาดเอียงเป็นมุมที่xxxxxxxxxxจะไม่ทําให้xxxxxxxพังทลาย
5.3.2 การทํางานในท่อ โพรง หรือบ่อ xxxxxxมีการพังทลายจะต้องจัดทําผนังกั้นค้ํายันหรือวิธีการอื่นๆ ที่ xxxxxxป้องกันอันตรายนั้นๆ ได้
5.3.3 การทํางานในที่ๆ อาจมีวัสดุตกหล่นหรือกระเด็น จะต้องจัดทําแผ่นกั้น ผ้าใบหรือตาข่ายปิดกั้น
หรือรองรับ
5.3.4 การลําเลียงวัสดุจากที่สูง จะต้องจัดทําราง ปล่อง หรือใช้เครื่องมือ
5.3.5 สถานที่ทํางานxxxxxxมีการปลิว ตกหล่นหรือกระเด็นของวัสดุ ผู้ปฏิบัติงานในสถานที่ดังกล่าว
จะต้องสวมหมวกแข็ง และรองเท้าที่xxxxxxป้องกันอันตรายได้อยู่ตลอดเวลา
6. การจัดเก็บวัสดุ และอุปกรณ์การก่อสร้าง
6.1 ข้อกําหนดทั่วไป
6.1.1 วัสดุทุกชนิดที่บรรจุในถุง ภาชนะหรือผูกรวมกันเป็นมัด และวัสดุซึ่งเก็บกองเป็นแถวเป็นแนวควร จะเก็บโดยวิธีกองซ้อนกัน มีไม้กันชื้นไว้ วางทับเหลื่อมกันเพื่อให้วัสดุยึดระหว่างกัน และจะต้องควบคุมความสูง ในการ วางซ้อนกัน เพื่อให้กองสิ่งของนั้นทรงตัวได้ โดยปลอดภัยไม่เลื่อนไถลหรือทลายลงมา
6.1.2 วัดสุที่กองxxxxxxxในอาคารซึ่งอยู่ในระหว่างก่อสร้าง จะต้องไม่กองไว้ใกล้กว้านหรือxxxxxxxเปิดไว้ที่ พื้นในระยะ 1.80 ม. หรือไม่กองไว้ที่พื้นชั้นใดๆ ที่อยู่เหนือพื้นดินในระยะ 3.00 เมตร นับจากขอบนอกอาคาร จนกว่า จะได้สร้างผนังให้สูงขึ้นไป เหนือxxxxxxxของกองวัสดุนั้นในกรณีนี้ ระยะห่างต่ําสุดจะต้องไม่น้อยกว่า 1.80 เมตร
6.1.3 ห้ามเด็กและผู้ไม่เกี่ยวข้อง xxxxxxxxxxรอบๆ หรือบนกองวัสดุ
6.2 การจัดเก็บวัสดุ อุปกรณ์ก่อสร้าง
6.2.1 การกองไม้
(1) จะต้องกองxxxxxxxทับกันบนไม้รองรับ เพื่อป้องกันไม่ให้xxxxxxกองนั้นสัมผัสกับพื้นดิน
(2) ไม้รองรับจะต้องวางให้ได้ระดับ และวางอยู่บนพื้นที่มั่นคง
(3) จะต้องกองxxxxxxxให้อยู่ในลักษณะที่ปลอดภัย ไม่หล่นหรือโคนล้มลงมา
(4) เมื่อกองไม้สูงเกินกว่า 1.20 เมตร จะต้องวางไม้พาดขวางทุกๆ ระยะ 1.50 ม.
(5) ไม้ซึ่งใช้งานแล้วจะต้องถอนตะปูออกให้หมดก่อน ที่จะนํามากองเก็บ
6.2.2 การกองปูนซีเมนต์ และปูนขาว
(1) จะต้องกองถุงปูนซีเมนต์และปูนขาวให้มีความมั่นคง และปลอดภัยในการใช้งานโดยทั่วไปไม่
ควรกองเกิน 10 ชิ้น
(2) คนงานซึ่งยกถุงปูนซีเมนต์ และปูนขาวจะต้องสวมแว่นป้องกันฝุ่นปูน รวมทั้งมีอุปกรณ์คลุม
xxxxxและบ่าในการยกปูน
(3) จะต้องมีประกาศเตือนคนงาน ไม่ให้สวมเสื้อผ้าซึ่งเปรอะเปื้อนด้วยฝุ่นปูนซีเมนต์จนแข็งตัว แล้ว เนื่องจากเสื้อผ้าสภาพดังกล่าว อาจทําให้ผิวหนังระคายเคืองหรือเกิดผื่นคันพุพองภายหลัง
(4) จะต้องแจ้งให้คนงานทราบว่า ถ้าผิวหนังไหม้อันเนื่องจากถูกปูนซีเมนต์หรือปูนขาวจะต้อง รายงานทันที และเตือนคนงานให้หมั่นทําความสะอาดร่างกาย คนงานที่แพ้ปูนซีเมนต์และปูนขาวจะต้องเปลี่ยน โยกย้ายให้ไปปฏิบัติงานอย่างอื่น
(5) ควรจัดครีมหรือยาทาป้องกันผิวหนังไหม้ให้คนงานได้ใช้
(6) การกองเก็บปูนขาวจะต้องเป็นในที่แห้ง เพื่อป้องกันปฏิกิริยาการดูดซึมความชื้นอย่างรวดเร็ว ของปูนขาว ซึ่งอาจก่อให้เกิดความxxxxสูงไฟอาจจะลุกไหม้ได้
6.2.3 การกองเก็บอิฐ
(1) ห้ามกองอิฐไว้บนพื้นดินอ่อนหรือพื้นที่ไม่เรียบ ควรจะกองอิฐไว้บนแผ่นxxxxxxเรียบเสมอ
(2) ต้องไม่กองอิฐเก็บสํารองไว้บนนั่งร้านหรือทางเดิน ยกเว้นกรณีการส่งอิฐเพื่อใช้ในการxxxxxx สําหรับงานบนนั่งร้าน สําหรับช่วงxxxxxx
(3) จะต้องไม่กองอิฐสูงกว่า 2.10 เมตร เว้นแต่จะกองไว้ภายในโรงเก็บ
6.2.4 การกองเก็บอิฐบล็อก
(1) จะต้องกองอิฐบล็อกวางซ้อนกันเป็นแนวบนพื้นที่มั่นคง และระดับราบ
(2) การกองอิฐบล็อกจะต้องกองไม่สูงเกินกว่า 1.80 เมตร
(3) ถ้าจําเป็นต้องกองอิฐบล็อกสูงเกินกว่า 1.80 เมตร การวางซ้อนจะต้องให้เหลื่อมร่นเข้าข้างใน มีแถวแนวยันรับมีไม้รองรับอิฐบล็อกระหว่างชั้น เพื่อไม่ให้กองอิฐบล็อกทลายลงมา
(4) ห้ามโยนอิฐบล็อกลงมาจากที่สูง ควรทิ้งลงในรางระบายวัสดุวัสดุที่ปิดทึบ
6.2.5 การกองเก็บเหล็กรูปพรรณและเหล็กเส้น
(1) เหล็กจะต้องเก็บแยกไว้เป็นกองๆ ตามความยาวและขนาดของเหล็กเส้นนั้น
(2) คนงานขนเหล็กจะต้องสวมหมวกนิรภัยและถุงมือหนัง
(3) การคัดเหล็กเส้นจะต้องกระทําบนโต๊ะที่ยึดมั่นคงเพื่อป้องกันโต๊ะล้ม และจะต้องวางโต๊ะไว้บน
พื้นเรียบและไม่ลื่น
(4) จะต้องกองเหล็กรูปพรรณด้วยความระมัดระวัง เพื่อป้องกันเหล็กแต่ละชิ้นเลื่อนไถลลงมา
ถึงแม้จะไม่มีอันตรายจากกองเหล็กโค่นล้มก็ตาม การกองเหล็กรูปตัวไอไม่ควรวางในลักษณะแกนอยู่ในแนวดิ่ง
6.2.6 การกองเหล็กแผ่นและสังกะสี
(1) เหล็กแผ่นและสังกะสีควรจะกองในลักษณะแบนราบ โดยกองสูงไม่เกิน 1.20 เมตร
(2) ควรมีแผ่นชั้นรองระหว่างมัดแต่ละมัด และมีเสาไม้ปักกั้นโดยรอบกองเหล็กแผ่นและสังกะสี เพื่อกั้นไม่ให้คนงานเดินเข้าใกล้ซึ่งอาจเกิดเตะหรือถูกเหล็กแผ่นหรือสังกะสีบาดเท้าได้
6.2.7 การกองเก็บท่อ
กอง
(1) ท่อทุกชนิดจะต้องวางซ้อนและจัดกองในลักษณะที่จะป้องกันไม่ให้ท่อกลิ้งxxxxxxออกมาจาก
(2) ในการรื้อท่อขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางกว่า 5 เซนติเมตร ขึ้นไปออกจากกองโดยที่ท่อวางอยู่ใน
แนวเดียวกัน และซ้อนกันตั้งแต่ 2 ชั้น ขึ้นไป ผู้รื้อจะต้องดึงท่อออกจากด้านปลายห้ามดึงออกทางด้านข้าง
(3) ท่อระบายต่างๆ ถ้ามีการจัดกองจะต้องจัดท่อขนาดใหญ่ไว้ข้างล่างลําดับขึ้นไปถึงท่อเล็กๆ อยู่ ข้างบน และความสูงของกองท่อจะต้องไม่เกิน 1.50 เมตร
6.2.8 การกองเก็บทราย กรวด และหินย่อยขนาดต่างๆ
(1) การทิ้งทราย กรวด หรือหินย่อย กองไว้ข้างผนังอาคาร จะต้องกองไม่สูงจนอาจเป็นสาเหตุให้ ผนังอาคารทลายลงมา
(2) คนงานซึ่งทํางานอยู่ที่ถังปิดเปิด หรือบนกองวัสดุxxxxxxยึดตัวกันแน่นจะต้องสวมเข็มขัดนิรภัย
และxxxxxxxชีวิต
7. การเชื่อมและการตัด
7.1 ข้อกําหนดทั่วไป
7.1.1 ช่างเชื่อมหรือช่างตัด จะต้องเป็นผู้ที่ชํานาญซึ่งxxxxxxจะทําการเชื่อมและตัดได้ตามข้อกําหนด คุณสมบัติช่างเชื่อมและตัด ซึ่งได้กําหนดไว้ในข้อบัญญัติต่างๆ xxxx American Welding Society (AWS) : Code for Arc and Gas Welding in Building Construction , American Standard Code for pressure piping.
7.1.2 บริเวณที่ทําการเชื่อมหรือตัดจะต้องจัดเตรียมอุปกรณ์ดับเพลิงที่ใช้ได้ผลเตรียมไว้ เพื่อใช้ได้ xxxxxxxxxและถ้าบริเวณที่ทําการเชื่อม หรือตัดมีวัสดุที่ติดไฟได้ง่ายอยู่ใกล้จะต้องจัดให้มีผู้ช่วย หรือจัดคนไว้เป็นพิเศษ เพื่อช่วยในการระงับอัคคีภัย
7.1.3 จะต้องใช้ฉาก xxxxกั้น หรือสิ่งป้องกันอันตรายอื่นๆ ที่เหมาะสมเพื่อป้องกัน บุคคลหรือวัสดุที่ติด ไฟง่าย ซึ่งอยู่เบื้องล่างหรืออาจเป็นอันตรายจากxxxxxxไฟเชื่อมหรือตัด
7.1.4 ห้ามแกะหรือxxxxxxซ่อมอุปกรณ์นิรภัย หรือลิ้นปิด – เปิดของท่อเก็บแก๊ส ออกซิเจน xxxxxxxมี การชํารุดดังกล่าว จะต้องแจ้งให้ผู้ส่งท่อแก๊สทราบและส่งคืนทันที พร้อมปฏิบัติตามข้อแนะนําวิธีการขนส่งกลับคืน โรงงาน
7.1.5 เมื่อมีการเชื่อมหรือตัดโลหะชนิดที่ก่อให้เกิดควันพิษ xxxx ตะกั่ว สังกะสี หรือวัสดุxxxxxxแคดเมี่ยม จะต้องจัดให้มีระบบระบายอากาศxxxxxxxxxx
7.2 การเชื่อมด้วยไฟฟ้า
7.2.1 อุปกรณ์การเชื่อมไฟฟ้ามาตรฐาน xxxx เครื่องเชื่อมไฟฟ้าชนิดผลิตไฟฟ้าโดยใช้เครื่องยนต์ขับผลิต ไฟฟ้าโดยขับด้วยมอเตอร์ หม้อแปลงไฟฟ้า เครื่องแปลงไฟตรง (Rectifier) ฯลฯ จะต้องมีคุณสมบัติตามข้อกําหนด มาตรฐานในระดับxxxxรองรับ xxxx National Electrical Manufacturers Association
7.2.2 การติดตั้งและบําxxxxxxxxวงจรไฟฟ้ากําลัง ซึ่งใช้กับอุปกรณ์การเชื่อมไฟฟ้า จะต้องเป็นไปตาม มาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้า xxxx National Electrical Safety Code
7.2.3 โครงโลหะของเครื่องเชื่อมไฟฟ้าซึ่งต่อมาจากวงจรไฟฟ้า จะต้องต่อสายดินด้วย ลวดทองแดง ขนาดไม่น้อยกว่า No.8 B (U.S.Gage) c และการต่อสายดิน หรือสายไฟเชื่อมอื่นๆ จะต้องยึดหัวสายให้มั่นคงด้วยวิธี ทางไฟฟ้า โดยให้เหมาะสมกับการใช้งาน
7.2.4 สายไฟเชื่อมและสายดิน จะต้องยกให้สูงหรือยึดวางให้แน่นหนาเพื่อไม่ให้xxxxxทางเดิน หรือxxxx xxxสะดุดหกล้มของผู้ปฏิบัติงานในบริเวณดังกล่าว
7.2.5 เมื่อจําเป็นต้องต่อสายไฟเชื่อมและสายดินให้ยาวออกไป ควรใช้หัวต่อซึ่งมีxxxx หุ้มทั้งสองเส้น เพื่อความสะดวกในการถอดหรือการต่อเป็นครั้งคราว แต่ถ้าต่อxxxxควรบัดกรีต่อหัวสายและใช้เทปพันสายไว้
7.2.6 ต้องใช้หัวจับลวดเชื่อมที่มีขนาดให้กระแสไฟฟ้าผ่านxxxxxxxxxx และมีxxxxหุ้มป้องกันไฟดูด หรือ ป้องกันกระแสไฟฟ้าลัดวงจร
7.2.7 ถ้าใช้เครื่องเชื่อมไฟฟ้าซึ่งขับด้วยเครื่องยนต์ในที่แคบหรือในที่อันทึบจะต้องจัดให้มีระบบระบาย อากาศเสียออกสู่บรรยากาศภายนอก
7.2.8 ช่างเชื่อมและผู้ช่วยงานเชื่อมทุกคน จะต้องสวมเครื่องป้องกันอันตรายต่อxxxxx
7.3 การเชื่อม – ตัดด้วยแก๊ส
7.3.1 เครื่องผลิตแก๊สอะเซทxxxxx จะต้องติดตั้งและใช้งานตามข้อกําหนดที่กล่าวไว้ใน “ Gas System for Welding and Cuting ” ฉบับย่อที่ 51 ออกโดย National Board of Fire Underwriters
7.3.2 ท่อและถังเก็บแก๊สอะเชทxxxxx และแก๊สออกซิเจน จะต้องมีเครื่องหมายกํากับไว้ ตามข้อบังคับ ของ Interstate Commerce Commission อะเชทxxxxx ICC - 3 A
7.3.3 ท่อและถังเก็บแก๊สที่ จะเป็นต้องxxxxxxxในอาคารจะต้องทําผนังทนไฟกั้นไว้ ท่อ – ถังเก็บแก๊ส
7.3.4 ท่อและถังเก็บแก๊สไว้ในที่กลางแจ้ง จะต้องป้องกันไม่ให้ถูกฝนหรือถูกแสงแดด ตลอดเวลา
7.3.5 ท่อ – ถังเก็บแก๊สซึ่งใช้แก๊สหมดแล้ว จะต้องปิดวาล์วและสวมฝาครอบวาล์ว ไว้เสมอ
7.3.6 ต้องใช้รถเข็นซึ่งออกแบบไว้เฉพาะขนย้ายถังเก็บแก๊ส โดยมีโซ่รัดถังยึดไว้กับตัว รถเข็น แต่ในกรณี ไม่มีรถเข็น อาจใช้วิธีกลิ้งถังเก็บแก๊สตะแคงถังให้ขอบฐานถังกลิ้งไปตามทาง ห้ามใช้วิธี ลากหรือไสให้ไถลลื่นไป และ ห้ามปล่อยให้ถังเก็บแก๊สหล่นกระแทกพื้นหรือกระทบกันเองรุนแรง
7.3.7 ท่อ – ถังเก็บแก๊ส จะต้องเก็บให้ห่างจากจุดปฏิบัติงานตัดหรือเชื่อมxxxxxxxxxxจะ ไม่ให้xxxxxxไฟ เศษเชื่อมxxxxxxxอยู่ หรือเปลวไฟเข้าใกล้ หรือกระเด็นถูกท่อ – ถังเก็บแก๊สได้ และจะต้อง ไม่วางท่อ – ถังเก็บแก๊สใกล้ วงจรไฟฟ้า สายไฟฟ้าหรือสายดินทุกชนิด
7.3.8 ห้ามผสมแก๊ส เติมแก๊สหรือใช้ท่อ – ถังเก็บแก๊สผิดจากวัตถุประสงค์ที่ผู้ผลิตกําหนดไว้
7.3.9 ถังเก็บแก๊สอะเชทxxxxxจะต้องมีปลั๊กนิรภัยxxxxxx ซึ่งxxxxxxxxxxเมื่อxxxxถึงจุด เดือดของน้ําด้วย เหตุนี้ ถ้าปลายทางออกของวาล์วมีน้ําแข็งอุดตัน จะต้องใช้น้ําอุ่นxxxxห้ามใช้น้ําต้มเดือด และxxxxเฉพาะทีวาล์ว เท่านั้น ห้ามใช้เปลวไฟลนเพื่อให้น้ําแข็งละลาย
7.3.10 ต้องเก็บและใช้งานถังเก็บแก๊ส และเชื้อเพลิงเหลวในลักษณะตั้งขึ้นห้ามวางนอน และxxxxxxxการ รั่วจะต้องเลิกใช้งาน และขนย้ายออกไปโดยทันที
7.3.11 การเปิดวาล์วถังแก๊สอะเชทxxxxx จะต้องเปิดxxxx xxxเกินหนึ่งรอบครึ่ง การเปิด จะต้องใช้กุญแจ ซึ่งผู้ผลิตให้มาโดยเฉพาะและกุญแจนี้ควร จะได้ปิดวาล์ว เมื่อกรณีฉุกเฉินจะได้ปิดวาล์ว xxxxxxxxxxxx
7.3.12 ถังเก็บแก๊สออกซิเจนและข้อต่อต่างๆ จะต้องxxxxxxxไม่ให้เปื้อนจาระบีและ น้ํามันทุกชนิด รวมทั้ง ห้ามใช้แก๊สออกซิเจนเป่าทําความสะอาดผิววัสดุที่เปรอะเปื้อนน้ํามัน หรือเป่าถังเก็บ สารไวไฟทุกชนิด
7.3.13 เมื่อต่ออุปกรณ์ควบคุมการลดความดันเข้าวาล์วของถังเก็บออกซิเจนแล้ว การเปิด วาล์วในครั้ง แรกจะต้องเปิดช้าๆ เพื่อให้เครื่องวัดความดันออกซิเจนขึ้นช้าๆ หลังจากนั้นจึงจะเปิดวาล์วเต็มที่ และการเปิดวาล์ว จะต้องยืนทางด้านข้างอุปกรณ์ควบคุมการลดกําลังดัน ห้ามยืนหันหน้าเข้ากระจก เครื่องวัดความดัน
7.3.14 ท่อรวมหรือท่อต่อแยก ซึ่งใช้สําหรับให้แก๊สออกซิเจน หรือแก๊สอะเชทxxxxxจาก ถังเก็บแก๊ส หลายๆ ท่อผ่านเข้าxxxxxอุปกรณ์ควบคุมการลดความดันตัวเดียวกัน จะต้องออกแบบให้แข็งแรง และทนทานต่อความ ดันใดๆ ที่ใช้งานอยู่ได้โดยปลอดภัย
7.3.15 ต้องใช้อุปกรณ์ควบคุมการลดความดัน (Regulator) ซึ่งออกแบบไว้สําหรับแก๊สแต่ละชนิด โดยเฉพาะ และห้ามต่อแก๊สจากถังเก็บแก๊สออกไปใช้งาน โดยไม่ผ่านอุปกรณ์ควบคุมการลดความดัน
7.3.16 ก่อนต่ออุปกรณ์ควบคุมการลดความดัน ให้ค่อยๆ เปิดวาล์วถังเก็บแก๊สเพื่อทําความสะอาดฝุ่น ละอองหรือสิ่งสกปรกxxxxxxลิ้น แล้วปิด
7.3.17 หัวต่อและท่อยางสําหรับแก๊สออกซิเจนและแก๊สอะเซทxxxxx จะต้องใช้สีต่างกันเพื่อป้องกันการ ต่อสลับกันหรือสับสน
7.3.18 หัวต่อท่อยางจะต้องยึดมั่นคงโดยใช้ปลอกรัดท่อยางอัดแน่น (Clamp) และไม่ควรใช้ท่อยางยาว เกินไปโดยไม่จําเป็น ถ้าจําเป็นต้องใช้ท่อยางยาวจะต้องระวังอย่าให้ท่อยางหักพับหรือพันกันยุ่งเหยิง รวมทั้งจะต้อง ป้องกันไม่ให้รถทับ คนเหยียบ หรือความเสียหายใดๆ เกิดขึ้นได้
7.3.19 จะต้องตรวจสอบการรั่วซึม รอยสึกหรอ หรือข้อต่อหลวม เป็นประจํา
7.3.20 ท่อพ่นเปลวไฟ หัวเชื่อม หัวผสม และหัวตัด จะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานตามข้อกําหนดที่ ผู้ผลิตกําหนดมา
7.3.21 เมื่อจะเปลี่ยนหัวเชื่อม – ตัด หรือหยุดงานเชื่อม – ตัดชั่วคราว จะต้องปิดแก๊สที่อุปกรณ์ควบคุม การลดความดัน หรือปิดวาล์วถังเก็บแก๊สก่อนห้ามใช้วิธีบีบพับท่อยาง
7.3.22 ห้ามใช้ไม้ขีดไฟจุดหัวเชื่อม – ตัด ควรให้ไฟแก๊สจุดหัวเชื่อม (Friction Lighter) หรือชุดจุดหัว เชื่อม (Stationary Pilot Flames)
7.4 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่อxxxxx
7.4.1 ผู้ปฏิบัติงานเชื่อม – ตัดด้วยไฟฟ้าหรืออ๊อกซีอะเซทxxxxx จะต้องสวมแว่นซึ่งมีเลนส์กรองแสงที่ เหมาะสม โดยให้เป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่อxxxxxxxxxxและอวัยวะ เกี่ยวกับการหายใจ
7.4.2 ผู้ปฏิบัติงานอื่นซึ่งอยู่ใกล้บริเวณสถานที่ทํางานเชื่อม – ตัด และอาจได้รับอันตรายจากเศษโลหะ ปลิวเข้าตา ซึ่งเกิดจากการสกัด หรือการปฏิบัติงานอื่นที่มีผลตามลักษณะนี้ จะต้องสวมแว่นซึ่งมีเลนส์แข็ง และมีกรอบ ป้องกันด้านข้างแว่น
8. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
8.1 ข้อกําหนดทั่วไป
8.1.1 ผู้รับจ้างจะต้องจัดให้ลูกจ้าง / คนงานของตนใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ตลอดเวลาทํางาน และให้ถือเป็นxxxxxxxปฏิบัติงานของสถานที่ก่อสร้างตลอดเวลาที่ลูกจ้าง / คนงานทํางาน ทั้งนี้ให้มี อุปกรณ์คุ้มครองอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(1) กรณีงานไม้ งานทาสี ให้สวมหมวกนิรภัย และรองเท้าป้องกัน
(2) กรณีงานยก แบก หรือหามของหนัก อันอาจเกิดอันตรายร้ายแรงให้สวมหมวกนิรภัย
(3) กรณีงานเหล็ก งานประปา งานกระจก ให้สวมหมวกนิรภัย ถุงมือหนัง และรองเท้าป้องกัน
(4) กรณีงานxxxxxxฉาบปูน และงานเทคอนกรีต หรือตกแต่งผิวปูน ให้สวมหมวกนิรภัย ถุงมือหนัง
และรองเท้าป้องกัน
(5) กรณีงานเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้าหรือแก๊ส ให้สวมถุงมือหนังกระบังหน้าลดแสงหรือแว่นตากรอง
แสง แผ่นปิดหน้าอกกันxxxxxxไฟและรองเท้าป้องกัน
(6) กรณีงานตัด รื้อถอน สกัด ทุบ เจาะวัสดุที่ก่อให้เกิดฝุ่นละอองให้สวมหมวกนิรภัยที่ปิด ปาก – จมูก ถุงมือหนังและรองเท้าป้องกัน
(7) กรณีที่ทํางานมีเสียงดังเกินกว่า 80 เดซิเบล ให้สวมปลั๊กลดเสียง หรือครอบหูลดเสียง
(8) กรณีงานสารพิษ ให้สวมหมวกนิรภัย ชุดหน้ากากป้องกันสารพิษ และรองเท้า ป้องกัน กรณีงานอุโมงค์ ให้สวมหมวกนิรภัย หน้ากากกันฝุ่น อุปกรณ์ช่วยหายใจและรองเท้าป้องกัน
(9) กรณีงานกระเช้าแขวน นั่งร้านแขวน หรืองานที่มีลักษณะโล่งแจ้งในที่สูงเกิน 4 เมตร ให้สวม หมวกนิรภัย เข็มขัดนิรภัยเชือกนิรภัยและรองเท้าป้องกัน
(10) กรณีงานทั่วไป ให้สวมหมวกนิรภัย และรองเท้าป้องกัน
8.1.2 ถ้าลูกจ้าง / คนงานไม่ใช้ หรือไม่สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ให้ผู้รับจ้างสั่ง หยุดการทํางานของลูกจ้างของตนทันทีจนกว่าจะปฏิบัติตามที่กําหนดนี้
8.1.3 ให้ผู้รับจ้างเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลของคนงาน / ลูกจ้าง
ของตน
8.2 มาตรฐานอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
8.2.1 หมวกนิรภัยต้องไม่มีรูทะลุ ตัวหมวกทําด้วยวัตถุที่ไม่ใช่โลหะ มีน้ําหนักไม่เกิน 420 กรัม ต้านทาน แรงกระแทกxxxxxxน้อยกว่า 385 กิโลกรัม ภายในหมวกต้องมีรองในหมวกที่ทําด้วยหนังพลาสติก หรือวัสดุอื่นที่ คล้ายกัน โดยรองในหมวกต้องมีระยะห่างจากxxxxxxxไม่น้อยกว่า 3 เซนติเมตร ซึ่งxxxxxxปรับระยะได้ตามขนาด xxxxxของผู้ใช้
8.2.2 ถุงมือหนังต้องมีความเหนียว ไม่ฉีกขาดง่าย มีความยาวหุ้มถึงข้อมือและเป็นชนิดที่สวมนิ้วมือได้ ทุกนิ้ว เมื่อสวมแล้วxxxxxxเคลื่อนไหวนิ้วมือได้สะดวกxxxxxxกันน้ําและกรดหรือด่างxxxxx
8.2.3 รองเท้าป้องกัน ต้องทําด้วยหนังหรือผ้าหุ้มเท้าตลอด หรือวัสดุอื่นที่xxxxxxป้องกันอันตรายได้ และมีพื้นรองเท้าเป็นยางxxxxxxป้องกันการลื่นไถลได้
8.2.4 รองเท้ายางชนิดหุ้มแข็ง ต้องทําด้วยยางหรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกันหุ้มเท้าตลอดขึ้นไป สูงไม่ต่ํากว่าครึ่งหนึ่งของหน้าแข้งxxxxxxกันน้ําและกรดหรือด่างxxxxx
8.2.5 รองเท้าหนังหัวโลหะ ปลายรองเท้าต้องมีโลหะแข็งหุ้ม xxxxxxทนแรงกดxxxxxxน้อยกว่า 446
กิโลกรัม
8.2.6 เข็มขัดนิรภัยต้องทําด้วยหนัง หรือทําด้วยด้าย หรือใยไนล่อน หรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติคล้ายคลึง
กัน ถักเป็นแถบ มีความกว้างไม่น้อยกว่า 5 เซนติเมตร xxxxxxทนแรงดึงxxxxxxน้อยกว่า 1,150 กิโลกรัม
8.2.7 เชือกนิรภัย ต้องxxxxxxทนแรงดึงไม่น้อยกว่า 1,150 กิโลกรัม ถ้าเป็นลวดสลิงต้องมีเครื่องช่วย รับแรงกระตุกติดตั้งไว้ด้วย
8.2.8 กระบังหน้าลดแสง ตัวกระบังต้องทําด้วยxxxxxxx ซึ่งxxxxxxลดความจ้าของแสงให้อยู่ในระดับxxx xxxเป็นอันตรายต่อสายตา กรอบของแว่นตาต้องมีน้ําหนักเบาและต้องไม่ติดไฟง่าย
8.2.9 แว่นตาลดแสง ต้องแว่นต้องทําด้วยxxxxxxx ซึ่งxxxxxxลดความจ้าของแสงให้อยู่ในระดับxxxxxx เป็นอันตรายต่อสายตา กรอบของแว่นตาต้องมีน้ําหนักเบา
8.2.10 ปลั๊กลดเสียง ต้องทําด้วยพลาสติก หรือยาง หรือวัสดุอื่น ใช้ใส่ช่องหูทั้งสองข้างxxxxxxลดระดับ เสียงลงพอเพียงที่จะไม่เกิดอันตราย
8.2.11 ครอบหูลดเสียง ต้องทําด้วยพลาสติกหรือยาง หรือวัสดุอื่น ใช้ครอบหูทั้งสองข้าง xxxxxxลด ระดับเสียงลงพอเพียงที่จะไม่เกิดอันตราย
จบxxxxxxx 11
xxxxxxx 12 การส่งมอบงาน
เมื่อผู้รับจ้างดําเนินงานแล้วเสร็จถูกต้องxxxxxxxx และส่งมอบงานงวดสุดท้ายแล้ว ผู้xxxxxxxจะออกหนังสือ รับรองผลงานให้ โดยก่อนการส่งมอบงานผู้รับจ้างต้องดําเนินการ ดังนี้
1. การเตรียมสถานที่ก่อนการส่งมอบงาน
1.1 ผู้รับจ้างต้องรื้อถอนสิ่งxxxxxxxxxชั่วคราวต่างๆ xxxx สํานักงาน โรงเก็บวัสดุ บ้านพักคนงาน และอื่นๆ ออกไปจากบริเวณที่ก่อสร้างให้หมด เว้นแต่จะได้มีการตกลงเป็นอื่น
1.2 ผู้รับจ้างต้องซ่อมแซมอาคาร สาธารณูปโภคต่างๆ ที่ชํารุดเนื่องจากการทํางานของผู้รับจ้าง xxxx ถนน ท่อ ระบายน้ํา สายไฟฟ้า ทางระบายน้ํา สนามหญ้า ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย
1.3 ผู้รับจ้างต้องทําความสะอาดสถานที่กลบเกลี่ยพื้นให้เรียบร้อย ตกแต่งบริเวณให้สะอาด ทําความสะอาดตัว อาคารเก็บกวาดเศษอิฐ หิน ปูน ทราย ฯลฯ และขนออกไปจากบริเวณ
1.4 ผู้รับจ้างต้องทําความสะอาดภายในอาคาร ในการส่งมอบงานงวดสุดท้าย โดยxxxxxxพร้อมใช้งานได้ (ทํา ความสะอาด ขัด เช็ด ถู ลงแว๊ก เป็นต้น)
2. การทดสอบระบบและการรับประกัน
2.1 อุปกรณ์ต่างๆ ของระบบประปา ไฟฟ้า เครื่องกล ต้องติดตั้งให้ครบก่อนส่งมอบงาน และต้องผ่านการ ทดสอบการใช้งาน
2.1.1 ผู้รับจ้างต้องเปิดใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพ หรือ พร้อมที่จะใช้งานได้เต็มความxxxxxx โดยค่าใช้จ่ายที่มีทั้งหมดอยู่ในความรับผิดชอบของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
2.1.2 ผู้รับจ้างต้องทําการทดสอบอุปกรณ์และระบบตามที่ผู้ควบคุมงานจะกําหนดให้ทดสอบ จนกว่าจะ ได้ผลเป็นที่xxxxและแน่ใจว่าการทํางานของระบบถูกต้องตามความxxxxxxxของผู้xxxxxxx
2.2 การรับประกัน
2.2.1 หากมิได้ระบุไว้เป็นอย่างอื่น ผู้รับจ้างต้องรับประกันคุณภาพผลงาน ความxxxxxxการใช้งานของ วัสดุ-อุปกรณ์ และการติดตั้งเป็นเวลา 365 วัน (หรือตามที่สัญญากําหนด) นับจากวันลงนามในเอกสารรับมอบงาน แล้ว
2.2.2 ระหว่างระยะเวลาประกัน หากผู้xxxxxxxตรวจพบว่าผู้รับจ้างใช้วัสดุxxxxxxถูกต้อง คุณภาพต่ํากว่า ข้อกําหนด หรือทําไว้ไม่เรียบร้อย ไม่ถูกต้องตามมาตรฐานแห่งหลักวิชาการ หรือในกรณีที่วัสดุ-อุปกรณ์เกิดชํารุด เสียหายหรือเสื่อมคุณภาพอันเนื่องมาจากข้อผิดพลาดของผู้ผลิตหรือการติดตั้ง ผู้รับจ้างต้องดําเนินการเปลี่ยน แก้ไข ให้ถูกต้อง ให้อยู่สภาพใช้งานได้xxxxxxเดิมโดยxxxxxxxxx
2.2.4 ผู้รับจ้างต้องจัดเตรียมช่างผู้ชํานาญในแต่ละระบบไว้สําหรับตรวจสอบซ่อมแซม และบําxxxxxxxx อุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพใช้งานxxxxx เป็นประจําทุกเดือน ภายในระยะเวลาประกัน โดยผู้รับจ้างต้องจัดทํารายงานผลการ ตรวจสอบอุปกรณ์ ระบบ และการบําxxxxxxxx เสนอผู้xxxxxxxภายใน 7 วัน นับจากวันตรวจสอบทุกครั้ง
2.2.5 การดําเนินการแก้ไข เปลี่ยนแปลงใดๆ ที่อยู่ในระยะเวลาประกัน ผู้รับจ้างต้องรีบทําการแก้ไขให้ เป็นที่เรียบร้อย โดยผู้xxxxxxxxxxต้องออกเงินใดๆ ในการนี้ทั้งสิ้น หากผู้รับจ้างxxxxxxxxxxxกระทําการดังกล่าวภายใน กําหนด 15 วัน นับแต่xxxxxxได้รับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้xxxxxxxหรือไม่ทําการแก้ไขให้ถูกต้องเรียบร้อยภายในเวลาที่ผู้ xxxxxxxกําหนด ให้ผู้xxxxxxxมีสิทธิ์ที่จะทําการนั้นเองหรือxxxxผู้อื่นให้ทํางานนั้น โดยผู้รับจ้างต้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย
3. รายการสิ่งของที่ผู้รับจ้างต้องส่งมอบให้แก่ผู้xxxxxxxในวันส่งมอบงาน ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของการตรวจรับมอบงาน
3.1 รายงานผลการทดสอบระบบทุกระบบ
3.2 รูปแบบก่อสร้างจริง (ASBUILT DRAWING) ทั้งงานสถาปัตยกรรมและงานวิศวกรรมทุกระบบ ซึ่งได้รับการ ตรวจสอบและลงนามโดยxxxxxxx,วิศวกรของผู้รับจ้าง โดยนําส่งในรูปแบบของ
3.2.1 กระดาษไข เข้าเล่มจํานวน 1 ชุด
3.2.2 พิมพ์เขียว เข้าเล่มจํานวน 3 ชุด
3.2.3 CD-ROM จํานวน 1 ชุด ในรูปแบบ
(1) CAD FILE พร้อม FONT ที่ใช้
(2) PDF FILE แยกหมวดงาน
3.3 คู่มือการใช้งานและบําxxxxxxxxวัสดุ-อุปกรณ์ทุกชนิดแยกเป็นรายชนิด xxxx FIRE STATION, FIRE PUMP, FHC, GENERATOR, AIR CONDITION SYSTEM และลิฟต์ เป็นต้น โดยต้องมีรายละเอียดดังนี้
3.3.1 รายละเอียดของอุปกรณ์ทั้งหมดxxxxxxยื่นเสนอและได้รับการอนุมัติให้ใช้ในโครงการ
3.3.2 คู่มือผลิตภัณฑ์สินค้า
3.3.3 เอกสารแนะนําวิธีการติดตั้ง และการซ่อมบํารุง
3.3.4 รายชื่อบริษัทผู้แทนจําหน่ายอุปกรณ์
3.3.5 รายการอุปกรณ์ อะไหล่ และข้อแนะนําชิ้นส่วนอะไหล่ที่ควรมีสํารองไว้ขณะใช้งาน
3.4 เครื่องมือพิเศษสําหรับใช้ในการปรับแต่ง ซ่อมบํารุงxxxxxxxxxxx อุปกรณ์ ซึ่งโรงงานผู้ผลิตส่งมาให้
3.5 เอกสารรับประกันวัสดุและอุปกรณ์การก่อสร้างทั้งหมด พร้อมตารางการเข้าตรวจสอบคุณภาพการใช้งาน วัสดุหลังจากติดตั้งแล้วเสร็จ ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในรายการประกอบแบบนี้
3.6 กุญแจ ผู้รับจ้างต้องทําป้ายxxxxแสดงลูกกุญแจให้ตรงกับแม่กุญแจส่งมอบให้ผู้xxxxxxx ระหว่างที่ลูกกุญแจ อยู่ในความดูแลของผู้รับจ้าง จะต้องรักษาอย่างดี ห้ามมีการจําxxxกุญแจโดยเด็ดขาด หากลูกกุญแจหายต้องเปลี่ยน กุญแจชุดใหม่ให้ หากเป็น MASTER ให้สั่งผลิตให้xxxxxxและนําส่งให้เรียบร้อยด้วย
จบxxxxxxx 12
งานระบบมาตรการป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุ
xxxxxxx 13 มาตรการป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุในงานก่อสร้างของรัฐ (SAFETY)
ตามที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติในหลักการมาตรการป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุในงานก่อสร้างของรัฐและให้ หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติต่อไป ตามที่กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมเสนอ โดยให้รับความเห็นของสํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสํานักงบประมาณ เกี่ยวกับแนวทางในการดําเนินการและ ค่าใช้จ่ายในการจัดระบบความปลอดภัยไปพิจารณาดําเนินการด้วย นอกจากนี้ให้ประเมินผลหลังจากดําเนินการตาม มาตรการดังกล่าวแล้วประมาณ 1 ปี เพื่อนําไปใช้ในการพิจารณาปรับปรุงแนวทางการดําเนินงาน และรายงานให้ คณะรัฐมนตรีทราบด้วย ดังนี้
1. อนุมัติหลักการให้หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจกําหนดให้มีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับระบบการจัดการความ ปลอดภัยในการทํางานก่อสร้างในโครงการก่อสร้างของรัฐเพื่อให้เกิดความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทํางาน แก่ลูกจ้างที่ปฏิบัติงานในโครงการของรัฐ โดยมอบหมายให้สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีไปพิจารณาดําเนินการ ในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป
2. กําหนดให้xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxจะยื่นซองประกวดราคา จัดทําเอกสารแนบท้าย เอกสารประกวดราคา เกี่ยวกับ "ระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง" ตามข้อ 1 เพื่อป้องกันและควบคุมอุบัติเหตุที่จะ เกิดขึ้นตามมาตรฐานความปลอดภัยฯ ของกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และกฎหมายอื่นฯ ที่เกี่ยวข้อง โดย ให้กําหนดเฉพาะประเภทของงานก่อสร้าง คือ
• งานอาคารขนาดใหญ่ที่มีพื้นที่อาคารรวมทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกันเกิน 2,000 ตา ราเมตร หรืออาคารที่มีความสูงตั้งแต่ 15.00 เมตร ขึ้นไป และมีพื้นที่อาคารรวมกันทุกชั้นหรือชั้นหนึ่งชั้นใดในหลัง เดียวกันเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร
• งานสะพานที่มีความยาวช่วงเกิน 30.00 เมตร หรืองานสะพานข้ามทางแยกหรือทางยกระดับ หรือสะพานกลับรถยนต์ หรือทางแยกต่างระดับ
• งานขุด หรือซ่อมแซม หรือรื้อถอนระบบสาธารณูปโภคที่ลึกเกิน 3.00 เมตร
• งานอุโมงค์ หรือทางลอด
• งานก่อสร้างที่มีงบประมาณค่าก่อสร้างเกิน 300 ล้านบาท
3. กําหนดให้ผู้รับจ้าง หรือ ผู้รับเหมาก่อสร้าง xxxxxxรับการคัดเลือกให้เป็นผู้รับจ้างงานก่อสร้าง ตามข้อ 2 จัดทําแผนปฏิบัติงานความปลอดภัยในการทํางานอย่างละเอียดและชัดเจนให้สอดคล้องกับระบบการจัดการความ ปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง แล้วยื่นต่อผู้xxxxxxx หรือเจ้าของโครงการฯ ก่อนการดําเนินการก่อสร้างภายใน 30 วัน นับแต่วันทําสัญญาxxxxxxx
4. กําหนดให้ผู้xxxxxxของผู้xxxxxxx หรือเจ้าของโครงการฯ เป็นผู้ควบคุมดูแลและตรวจสอบการปฏิบัติงานใน หน่วยงานก่อสร้าง โดยให้ผู้รับจ้างปฏิบัติตามแผนปฏิบัติงานความปลอดภัยฯ ตามข้อ 3 หรือผู้xxxxxxxxxxxxx ดําเนินการxxxxxxxxxxปรึกษาที่มีความxxxxxx ควบคุม ดูแลรับผิดชอบงานความปลอดภัยฯ ในการทํางานก่อสร้าง โดยตรง
5. กําหนดให้ผู้รับจ้าง หรือผู้รับเหมาก่อสร้างต้องปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานดังกล่าว ตามข้อ 3 อย่าง เคร่งครัด และสอดคล้องกับกฎหมายและxxxxxxxxxxกําหนดไว้พร้อมรายงานผลการดําเนินงานตามแผนการปฏิบัติงาน ความปลอดภัยดังกล่าว ให้ผู้xxxxxxx หรือเจ้าของโครงการฯ รับทราบอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
กฎxxxxxxxความปลอดภัยในการทํางาน
1. กฏทั่วไปเกี่ยวกับความปลอดภัย
1.1 ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องปฏิบัติตามxxxxxxx คําแนะนําต่างๆ อย่างเคร่งครัด อย่าฉวยโอกาสหรือละ เว้นถ้าไม่ทราบไม่เข้าใจให้ถามเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย หรือหัวหน้างาน
1.2 ผู้ปฏิบัติงานทุกคนเมื่อพบเห็นxxxxxxxทํางานxxxxxxปลอดภัย หรือพบว่าเครื่องมือเครื่องใช้ชําxxxxxx อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย ถ้าแก้ไขด้วยตนเองได้ให้ดําเนินการแก้ไขทันที ถ้าแก้ไขxxxxxxให้รายงานให้ ผู้บังคับบัญชาทราบโดยเร็ว
1.3 สังเกตและปฏิบัติตามป้ายห้ามป้ายเตือนอย่างเคร่งครัด
1.4 ห้ามบุคคลxxxxxxเกี่ยวข้องเข้าไปบริเวณทํางานที่ตนไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง
1.5 อย่าทํางานในxxxxxxxxผู้คนเพียงคนเดียว โดยไม่มีใครทราบโดยเฉพาะการทํางานหลังเวลาทํางานxxxx
1.6 xxxxxxxxxxxให้เรียบร้อยรัดกุม ไม่ขาดรุ่งริ่ง ห้ามมีส่วนยื่นห้อย และห้ามถอดเสื้อในขณะที่ปฏิบัติงาน ตามปกติ
1.7 ต้องใส่หมวกนิรภัยตลอดเวลาทํางานในสภาพปกติที่สามารถใส่ได้
1.8 ห้ามใส่รองเท้าแตะ และต้องใส่รองเท้าหุ้มส้นตลอดเวลาทํางานในสภาพปกติที่สามารถใส่ได้
1.9 ห้ามหยอกล้อเล่นกันในขณะปฏิบัติงาน
1.10 ห้ามเสพของมึนเมา และเข้ามาในสถานที่ปฏิบัติงานในลักษณะมึนเมาโดยเด็ดขาด
1.11 ห้ามปรับแต่ง หรือซ่อมแซมเครื่องจักรกลต่างๆ ที่ตัวเองไม่มีหน้าที่หรือไม่ได้รับอนุญาต
1.12 ให้ใช้อุปกรณ์ป้องกันต่างๆ และรักษาอุปกรณ์เหล่านั้นให้อยู่ในสภาพที่ดีอยู่เสมอ
1.13 ในการซ่อมแซมอุปกรณ์ต่างๆ ทางไฟฟ้า ต้องให้ช่างไฟฟ้าหรือผู้ที่รู้วิธีการเท่านั้นปฏิบัติหน้าที่นี้
1.14 เมื่อได้รับบาดเจ็บไม่ว่าจะเล็กน้อยเพียงใดก็ตาม ต้องรายงานให้หัวหน้างานและเจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยทราบ เพื่อสอบถามสาเหตุหาวิธีป้องกันและแจ้งให้ผู้ปฏิบัติงานอื่นๆ ทราบเพื่อจะได้รู้และ หาวิธีการที่ดีกว่า และรับการปฐมพยาบาลเพราะหากปล่อยไว้อาจเกิดอันตรายในภายหลัง
1.15 ถ้าหัวหน้างานเห็นว่าผู้ใต้บังคับบัญชาไม่อยู่ในสภาพที่จะทํางานได้อย่างปลอดภัย ต้องสั่งให้หยุดพัก ทํางานทันที
2. การรักษาความสะอาด และการจัดเก็บวัสดุในบริเวณสถานที่ทํางาน / การจัดการวัสดุก่อสร้าง
2.1 ผ้าที่เปื้อนน้ํามันต้องเก็บลงถังขยะที่ทําด้วยโลหะที่มีฝาปิดมิดชิดเพื่อป้องกันการติดไฟ
2.2 ห้ามจัดวางวัสดุที่ง่ายต่อการลุกไหม้ใกล้กับจุดติดตั้งหลอดไฟ หรือวัสดุที่มีความร้อน / มีประกายไฟ ขยะในบริเวณที่ทํางานจะต้องเก็บกวาดให้สะอาดอย่างสม่ําเสมอ เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย และลดการเกิดอุบัติเหตุ เป็นการป้องกันอุบัติภัยได้
2.3 ให้มีผู้ดูแลการจัดการวัสดุ ซึ่งจะทําหน้าที่ควบคุมดูแลวัสดุก่อสร้างทุกชนิดที่เข้ามาที่หน้างานให้มี ปริมาณ เพียงพอในการใช้งาน และคงไว้ซึ่งคุณภาพที่ดีตลอดไปเมื่อจะมีการเคลื่อนย้ายวัสดุก่อสร้าง จะต้องมั่นใจว่าไม่กีดขวางการทํางานก่อสร้างและไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการจราจร 2.4 ไฟแสง สว่างในพื้นที่จัดเก็บวัสดุก่อสร้าง จะต้องจัดเตรียมไว้ให้เพียงพอ เพื่อให้การปฏิบัติงานต่างๆ เป็นไป อย่างสะดวกและปลอดภัย
2.4 อุปกรณ์ที่ใช้ในการยก จัดเก็บ และขนย้ายวัสดุก่อสร้าง จะใช้ให้เหมาะสม และดูแลรักษาให้อยู่ใน สภาพดีตลอดระยะเวลาทํางาน
2.5 การขนถ่ายวัสดุอันตราย จะต้องกระทําตามคําแนะนําของผู้ผลิตอย่างเคร่งครัด
3. การป้องกันอัคคีภัยและเครื่องดับเพลิง
( ตามประกาศกระทรวงม👉าดไทย เรื่อง การป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการเพื่อความปลอดภัย ใน การทํางานสํา👉รับลูกจ้าง ลงวันที่ 21 พฤศจิกายน 2534 )
3.1 ปฏิบัติตามแผนป้องกันอัคคีภัย
3.2 การทํางานที่มีประกายไฟและความร้อนใกล้กับวัสดุที่อาจติดไฟได้ต้องจัดเตรียมเครื่องดับเพลิงตามจํานวน และชนิดที่เหมาะสมที่จะสามารถดับเพลิงได้ทันท่วงที
3.3 ห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณที่มีป้ายห้ามสูบและบริเวณพื้นที่ก่อสร้างที่ไม่มีป้ายอนุญาตให้สูบบุหรี่ และเก็บขยะ ต่างๆ เช่น เศษผ้า , เศษกระดาษ หรือขยะอื่นๆ ที่ติดไฟได้ง่ายลงที่ที่จัดไว้ให้เรียบร้อย
3.4 ห้ามเทน้ํามันเชื้อเพลิงหรือของเหลวไวไฟลงไปในท่อน้ําหรือท่อระบายสิ่งโสโครกอื่นๆ
3.5 ห้ามทําให้เกิดประกายไฟในบริเวณที่เก็บวัตถุไวไฟ
3.6 ก่อนใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าต้องตรวจบริเวณรอยต่อ หรือข้อต่อต่างๆ ว่าแน่นหนาดีหรือไม่ ถ้าหลวมอาจเกิด ประกายไฟหรือความร้อนซึ่งจะเป็นสาเหตุให้เกิดเพลิงไหม้ได้
3.7 ก่อนเลิกงานจะต้องตัดสวิทซ์ไฟฟ้าสําหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ไม่ได้ใช้งานทุกจุด
3.8 เมื่อเกิดเพลิงไหม้ ให้ผู้ที่ประสบเหตุระงับหรือดับไฟโดยอุปกรณ์ดับเพลิงที่มีอยู่ ถ้าไม่สามารถดับด้วยตนเองได้ ให้แจ้งผู้บังคับบัญชาทราบโดยเร็ว และปฏิบัติตามแผนการดับเพลิง ( ตามรายละเอียดเอกสารแนบ 29 )ต้อง จัดให้มีเครื่องดับเพลิงตามลักษณะของเพลิงอันเนื่องมาจากวัตถุหรือของเหลวที่มีใช้งานอยู่เช่นเครื่องดับเพลิง ชนิด ABC, DRY POWDER CHEMICAL หนัก 5-7 กิโลกรัม เป็นต้น โดยมีจํานวนตามที่กําหนดในประกาศ อ้างถึง จัดให้มีการฝึกอบรมดับเพลิง โดยเชิญวิทยากรจากกองดับเพลิง หน่วยบรรเทาสาธารณภัย
4. อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
4.1 ต้องใส่หมวกนิรภัยตลอดเวลาที่ปฏิบัติงานตามสภาพงานที่สามารถสวมใส่ได้
4.2 ต้องใส่รองเท้าหุ้มส้นในขณะทํางานตลอดเวลาในสภาพงานที่สามารถใส่ได้ ห้ามใส่รองเท้าแตะ
4.3 ควรใช้ถุงมือที่เหมาะสมกับงานแต่ละชนิด
4.4 ต้องใช้เครื่องมือป้องกันหู หรือที่อุดหู ถ้าจําเป็นต้องทํางานในสภาพซึ่งมีเสียงดังกว่าปกติ
4.5 ผู้รับจ้าง / ผู้รับงานช่วง ต้องจัดหาให้ผู้ปฏิบัติงานตามข้อกําหนดของกฎหมาย ตามสภาพข้อกําหนดของ สภาพการ ปฏิบัติงานโดยทั่วไป บนดิน ใต้ดิน ใต้น้ํา บนที่สูงและบนภูเขา
4.6 หมวกนิรภัย รองเท้า ถุงมือ เครื่องป้องกันเสียง เครื่องป้องกันฝุ่น เครื่องป้องกันสายตา และอุปกรณ์ฉุกเฉิน สําหรับการค้นหาได้ง่ายในกรณีเกิดอุบัติเหตุโดยมิได้คาดหมาย
5. ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องมือ เครื่องจักร
( ตามประกาศกระทรวงม👉าดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร ลงวันที่ 23 กรกฎาคม 2519)
5.1 ต้องมีตระแกรงเหล็กเหนียว ครอบส่วนที่หมุน และส่วนส่งถ่ายกําลังให้มิดชิด
5.2 จัดทําที่ครอบป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร และติดตั้งสายดินเพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่ว
5.3 ผู้ที่ทํางานกับเครื่องจักรต้องสวมใส่เครื่องป้องกันอันตรายที่เหมาะสมตามสภาพและลักษณะงานอย่าง เคร่งครัด
5.4 มีที่ปิดบังประกายไฟของเครื่องจักร
5.5 เมื่อซ่อมแซมต้องติดป้าย “ กําลังซ่อมห้ามเปิดสวิทซ์ ”
5.6 ห้ามใช้เครื่องมือ เครื่องจักรผิดประเภท
5.7 ห้ามถือเครื่องมือโดยหิ้วที่สายไฟ และถอดปลั๊กโดยการดึงที่สายไฟ
5.8 เมื่อพบเครื่องมือเครื่องจักรชํารุดต้องหยุดการใช้ ตัดสวิทซ์จ่ายพลังงานแขวนป้าย ” ชํารุดห้ามใช้ ” และส่ง ซ่อมทันที
5.9 ห้ามโดยสารไปกับรถ หรือเครื่องจักรกลที่ไม่ได้ทําไว้เพื่อการโดยสาร
6. ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม
( ตามประกาศกระทรวงม👉าดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดล้อม ลงวันที่ 12 พฤศจิกายน 2519)
6.1 บริเวณทํางานต้องมีแสงสว่างเพียงพอโดยสามารถมองเห็นได้ชัดเจนในระยะ ๒๐ ม .
6.2 ทางเดินต้องมีแสงสว่างเพียงพอ และมีตลอดเส้นทาง
6.3 หากเสียงดังขนาดยืนห่างกัน ๑ ม . แล้วต้องตะโกนพูดกัน ต้องใช้เครื่องอุดหู หรือครอบหูลดเสียง
6.4 การทํางานที่มีแสงจ้า และรังสีจะต้องใส่แว่นตาป้องกันแสง และรังสี
6.5 การทํางานในบริเวณที่มีความร้อนสูงเกินกว่า 38 องศาเซลเซียสจะต้องมีการระบายความร้อน หรือสวมใส่ อุปกรณ์ป้องกันความร้อนที่เหมาะสม
6.6 การทํางานเกี่ยวกับสารเคมีที่มี กลิ่น ฝุ่น ละออง แก๊ส ไอระเหย จะต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันที่เหมาะสม
7. ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับวัสดุอันตราย
7.1 การจัดเก็บวัสดุไวไฟประเภทของเหล็ก จะต้องจัดเก็บวัสดุอันตรายอยู่ในภาชนะที่มีฝาปิดสนิทแยกจากวัตถุ ไวไฟประเภทอื่น โดยต้องติดตั้งป้ายเตือนให้เห็นอย่างชัดเจน
7.2 ต้องมีการป้องกันเหตุการณ์ที่อาจนําไปสู่การเกิดเพลิงไหม้ ในบริเวณจัดเก็บวัสดุไวไฟ โดยต้องติดตั้งป้ายห้าม สูบบุหรี่ให้เห็นอย่างชัดเจน
7.3 อุปกรณ์ดับเพลิง ผู้รับจ้างจะจัดเตรียมให้มีอย่างพอเพียง และอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งานตลอดเวลา
7.4 ผู้รับจ้างจะจัดให้มีการระบายอากาศในบริเวณที่จัดเก็บอย่างเพียงพอ
7.5 ผู้ที่สามารถเข้าสู่พื้นที่จัดเก็บวัตถุไวไฟ ต้องเป็นผู้ที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น
7.6 ผู้รับจ้างจะจัดให้มีมาตรการป้องกันภาชนะบรรจุก๊าซจากอุณหภูมิ ที่จะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างพอเพียง
7.7 สารเคมีอันตราย (ถ้ามี) ผู้รับจ้างต้องปฏิบัติตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการ ทํางานเกี่ยวกับภาวะแวดล้อม (ถ้ามี) ดูเอกสารแนบ 35 แบบแจ้งรายละเอียดของสารเคมีอันตรายในสถาน ประกอบกิจการ
8. ความปลอดภัยในการใช้เครื่องตัด ดัดเหล็ก
8.1 ผู้ควบคุมเครื่อง และผู้ป้อนเหล็กจะต้องเป็นผู้ที่ชํานาญงาน และทําหน้าที่นี้ประจําเท่านั้น
8.2 ผู้ควบคุมเครื่อง และผู้ป้อนเหล็กต้องติดบัตรผู้ควบคุมเครื่อง และผู้ป้อนเหล็กไว้ให้เห็นได้ชัดตลอดเวลาที่ทํา หน้าที่
8.3 ห้ามตัด หรือดัดเหล็กในขณะที่ผู้ป้อนเหล็กยังจับเหล็ก หรือตัวคน หรืออวัยวะของร่างกายอยู่ในบริเวณที่ เหล็ก หรือเครื่องจักรอาจบีบ , ชน , กระแทกได้ 8.4 การแบกหามเหล็ก เข้าเครื่องตัดหรือดัดจะต้องเป็นไป ในทิศทางไปด้านเดียวเท่านั้นไม่มีการเดินสวนกันเพราะปลายเหล็กอาจทิ่มแทงกันได้
8.4 เศษเหล็กที่ใช้ไม่ได้แล้วจะต้องแยกขนาด และนําออกวันต่อวันไปเก็บไว้ในที่ทิ้งเศษเหล็ก
9. ความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้างว่าด้วยเขตก่อสร้าง
( ตามประกาศกระทรวงม👉าดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้างว่าด้วยเขตก่อสร้าง ลงวันที่ 10 กันยายน 2528)
9.1 บริเวณเขตก่อสร้างต้องจัดทํารั้วหรือคอกกั้น พร้อมปิดป้ายประกาศบริเวณเขตก่อสร้างโดยรอบบริเวณที่ทํา การก่อสร้าง “ เขตก่อสร้าง บุคคลภายนอกห้ามเข้า ”
9.2 บริเวณเขตอันตรายต้องจัดทํารั้วหรือคอกกั้น พร้อมปิดป้ายประกาศบริเวณเขตอันตราย “ เขตอันตรายใน การ ก่อสร้าง ” และมีไฟสัญญาณสีแดงแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนในเวลากลางคืน
9.3 ไม่อนุญาตให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือหมดหน้าที่เข้าไปในเขตก่อสร้าง และเขตอันตรายในการก่อสร้าง ยกเว้นแต่ ได้รับอนุญาตจากนายจ้างหรือตัวแทน 9.4 ห้ามผู้ปฏิบัติงานพักอาศัยในบริเวณเขตก่อสร้าง
10. ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับปั้นจั่น
( ตามประกาศกระทรวงม👉าดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับปั้นจั่น ลงวันที่ 17 เมษายน 2530 )
10.1 ต้องปฏิบัติตามคู่มือการใช้ของผู้ผลิตอย่างเคร่งครัด
10.2 ต้องมีการแสดงพิกัดการยก คําเตือน และสัญญาณอันตราย
10.3 ในขณะปฏิบัติงานต้องมีผู้ให้สัญญาณเพียงคนเดียวต่อปั้นจั่นหนึ่งตัว และผู้ให้สัญญาณ กับผู้ควบคุมปั้นจั่น จะต้อง เข้าใจสัญญาณกันเป็นอย่างดี
10.4 ต้องตรวจสอบปั้นจั่นทุก ๓ เดือนโดยวิศวกรซึ่งได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
ตามแบบ ตรวจสอบของทางราชการ ( แบบ คป . ๑ , คป . ๒ ) และเก็บแบบตรวจสอบไว้พร้อมเรียกตรวจ
10.5 การปฏิบัติงานจะต้องมีระยะห่างจากสายไฟฟ้า และเสาโทรคมนาคมตามมาตรฐานกําหนดดังนี้ ( แรงดันไฟฟ้า ๕๐ กิโลโวลท์มีระยะห่าง ๓ เมตร และเพิ่มระยะห่าง ๑ ซม . ทุก ๑ กิโลโวลท์ แรงดันไฟฟ้า เกิน ๓๔๕ กิโลโวลท์แต่ไม่เกิน ๗๕๐ กิโลโวลท์ระยะห่างไม่น้อยกว่า ๕ เมตร )
10.6 ต้องมีราวกันตก และเข็มขัดนิรภัยถ้าทํางานบนแขนปั้นจั่น
10.7 อุปกรณ์การยกจะต้องรับน้ําหนักได้อย่างปลอดภัย
10.8 มุมการยก และการผูกมัดจะต้องถูกต้องปลอดภัย
10.9 ต้องสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
11. ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับการตอกเสาเข็ม
( ตามประกาศกระทรวงม👉าดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับการตอกเสาเข็ม ลงวันที่ 21 ธันวาคม 2531)
11.1 ต้องจัดทําเขตอันตรายบริเวณที่ทําการตอกเสาเข็ม และทําการตรวจอุปกรณ์ต่างๆ ก่อนการตอกเสาเข็ม พร้อมจัดเก็บบันทึกไว้เป็นหลักฐาน
11.2 กรณีมีแนวสายไฟฟ้าอยู่ใกล้เคียงจุดตอกเสาเข็ม ต้องจัดให้มีระยะห่างระหว่างแนวสายไฟฟ้ากับโครงเครื่อง ตอกเสาเข็มตามที่กําหนด หรือประสานกับการไฟฟ้าเพื่อติดตั้งฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า
11.3 อุปกรณ์การยกจะต้องรับน้ําหนักได้อย่างปลอดภัย
11.4 การผูกมัด และมุมการยกต้องถูกต้องปลอดภัย
11.5 ต้องปิดรูเสาเข็มหากรูมีเส้นผ่าศูนย์กลางกว้างเกิน ๑๕ ซม .
11.6 การตัดเสาเข็มหากหัวเสาเข็มอยู่ต่ํากว่าระดับผิวดินมากกว่า ๘๐ ซม . และหัวเสาเข็มมีเหล็กเส้นที่มีขนาด หน้าตัดน้อยกว่า ๓๐ มม . โผล่ขึ้นมาสูงกว่า ๘ ซม . จะต้องจัดทําที่ครอบหัวเสาเข็มเพื่อป้องกันคนพลาดตก ลงไปถูกเหล็กเส้นทิ่มแทง
12. ความปลอดภัยในการทํางานในสถานที่มีอันตรายจากการตกจากที่สูง วัสดุกระเด็น ตกหล่น และการพังทลาย
( ตามประกาศกระทรวงม👉าดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานในสถานที่มีอันตรายจากการตกจากที่สูง วัสดุ กระเด็น ตก👉ล่น และการพังทลาย ลงวันที่ 18 ตุลาคม 2534)
12.1 งานที่สูง / ต่ํากว่า ๒ เมตรจากพื้นดินต้องมีบันไดขึ้นลงพร้อมราวจับอย่างน้อย ๑ ข้าง
12.2 ช่องเปิดหรือปล่องต่างๆ ต้องจัดทําฝาปิดหรือรั้วกั้นที่มีความสูงไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตรเพื่อป้องกันการตก หล่น
12.3 ต้องมีการปิดกั้นด้วยนั่งร้าน ตาข่ายป้องกันมิให้ผู้ที่ปฏิบัติงานตกหล่นลงมาจากที่สูง
12.4 พื้นที่ลาดชันระหว่าง ๑๕ – ๓๐ องศานายจ้างจะต้องจัดการป้องกันมิให้ลูกจ้างตกหล่น
12.5 ต้องมีการป้องกันการพังทลาย และวัสดุกระเด็นตกจากที่สูงโดยทําผนังค้ํายัน ทําผ้าใบปิดกัน หรือทําที่ รองรับ
12.6 ต้องสวมหมวกแข็งป้องกันศรีษะ รวมทั้งอุปกรณ์อื่นๆตามความเหมาะสมในระหว่างทํางานในที่สูง
13. ความปลอดภัยในงานเชื่อม
13.1 เมื่อเลิกงานให้ดับสวิทซ์ไฟฟ้าที่จ่ายไปยังตู้เชื่อม
13.2 ถ้าจําเป็นต้องเชื่อมภาชนะที่มีสารไวไฟอยู่ภายใน เช่น ถังน้ํามัน จะต้องล้างทําความสะอาดเสียก่อน และ ก่อนเชื่อมจะต้องแน่ใจว่าไม่มีไอระเหยของสารไวไฟตกค้างอยู่
13.3 ก่อนจะเชื่อมจะต้องแน่ใจว่าไม่มีวัสดุติดไฟอยู่ใกล้กับบริเวณที่จะทําการเชื่อม ถ้ามีต้องทําการปิดป้องกัน ด้วยวัสดุ ที่เป็นฉนวนให้มิดชิด
13.4 ให้ระมัดระวังควันจากการเชื่อม โดยเฉพาะการเชื่อมตะกั่ว โลหะอาบสังกะสี เพราะควันจากการเชื่อมมี อันตราย มาก
13.5 ในกรณีที่ต้องเชื่อมในที่เปียกชื้นต้องสวมรองเท้ายาง และหาวัสดุที่เป็นฉนวนไฟฟ้ารองพื้นตรงจุดที่ทําการ เชื่อม
13.6 การต่อสายดินต้องต่อให้แน่น จุดต่อต้องอยู่ในสภาพดี และให้ใกล้ชิ้นงานเชื่อมมากที่สุด
14. ความปลอดภัยในงานตัดด้วยแก๊ส
14.1 ก่อนเคลื่อนย้ายถังอ๊อกซิเจน / แก๊ส ต้องถอดหัวปรับความดันออก และขณะเคลื่อนย้ายต้องปิดฝาครอบหัว ถังด้วยทุกครั้ง ห้ามกลิ้งถัง
14.2 เมื่อต้องวางสายอ๊อกซิเจน / แก๊ส ข้ามผ่านทางต้องใช้วัสดุวางกั้นทั้งสองข้างหรือฝังกองดินทับเพื่อกันรถทับ
14.3 ตรวจสาย และถังอ๊อกซิเจน / แก๊ส เสมอๆ และทุกครั้งก่อนนําออกใช้ สายต้องไม่รั่วแตก ข้อต่อต้องไม่ หลวม / รั่ว และห้ามใช้สายที่มีรอยไหม้
14.4 หัวตัดต้องมีวาล์วกันไฟย้อนกลับ (CHECK VALVE)
14.5 หัวตัดแก๊ส หัวปรับความดัน ถ้าเกิดบกพร่องต้องแจ้งหัวหน้าเพื่อเปลี่ยนหรือซ่อม
14.6 การต่อท่ออ๊อกซิเจน / แก๊ส ต้องใช้เข็มขัดรัดท่อ ห้ามใช้ลวดผูก
14.7 ถังอ๊อกซิเจน / แก๊ส ต้องวางตั้งและหาเชือกหรือโซ่ผูกให้มั่นคงกันล้ม
15. ความปลอดภัยในงานเจียร์
15.1 ก่อนทํางานเจียร์ทุกครั้งต้องสวมแว่นตานิรภัย
15.2 ตรวจสอบเครื่องมือให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย เครื่องเจียร์ต้องมีกําบังใบกันใบแตกกระเด็นโดนผู้ใช้
15.3 การเปลี่ยนใบเจียร์ทุกครั้งต้องดับสวิทซ์ และดึงปลั๊กไฟออก
15.4 เวลายกเครื่องเจียร์ให้จับที่ตัวเครื่อง อย่าหิ้วสายไฟโดยเด็ดขาด
16. ความปลอดภัยในการทํางานบนที่สูง
16.1 พื้นที่สูงที่มีช่องเปิดต่างๆ รวมทั้งราวบันได ต้องทําราวกันตกที่มั่นคงแข็งแรง
16.2 พื้นรองรับขาตั้งและข้อต่อต่างๆ ของนั่งร้านจะต้องอยู่ในสภาพดีและมั่นคงและไม่สั่นคลอนในขณะทํางาน
16.3 พื้นไม้หรือเหล็กจะต้องยึดวางอย่างมั่นคงกับโครงสร้างของนั่งร้าน
16.4 โครงสร้างของนั่งร้านที่เป็นเสาค้ํายันจะต้องให้ได้ฉากกับแนวระดับ ชิ้นส่วนของนั่งร้านที่เสียหายห้าม นํามาใช้งานเด็ดขาด
16.5 ตรวจสอบอุปกรณ์ทุกชนิดที่เกี่ยวกับข้องกับการใช้งาน เช่น รถเครน , ลวดสลิง , เชือก , ตะขอ , สะเก็น ว่า อยู่ในสภาพดีทุกครั้งก่อนเริ่มทํางาน หากชํารุดห้ามนํามาใช้
16.6 ผู้ปฏิบัติงานบนที่สูงเกิน 4 เมตร ในที่โดดเดี่ยวเปิดโล่งต้องสวมเข็มขัดนิรภัยและคล้องเมื่ออยู่ในสภาพที่ คล้องได้
16.7 ขณะที่มีพายุหรือฝนตก ผู้ปฏิบัติงานบนที่สูงต้องหยุดทํางานและลงมาข้างล่าง
16.8 ในกรณีที่พื้นนั่งร้านลื่นชํารุดหรือเป็นช่อง ต้องทําการแก้ไขโดยทันทีและห้ามใช้ไม้ที่ชํารุดผุกร่อนมาทําพื้น นั่งเรียบ นั่งร้านที่สูงกว่า 2 เมตร ต้องมีราวกันตก สูง 90 ซม . แต่ไม่เกิน 1.10 เมตร
17. ความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า
( ตามประกาศกระทรวงม👉าดไทย เรื่อง ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้า ลงวันที่ 8 มีนาคม 2522)
17.1 จัดทําแผนผังวงจรไฟฟ้าชั่วคราวที่ใช้ในระหว่างก่อสร้าง พร้อมปรับปรุงข้อมูลในกรณีที่มีการแก้ไข เปลี่ยนแปลง
17.2 จัดทําป้ายเตือนอันตรายติดตั้งไว้ในบริเวณจุดติดตั้งแผงควบคุมและหม้อแปลงไฟฟ้า เมื่อเกิดไฟฟ้าลัดวงจร หรือมีผู้ประสบอันตรายเนื่องจากกระแสไฟฟ้า ต้องทําการตัดกระแสไฟทันที ด้วยการปิดสวิทซ์ที่ใกล้ที่สุด โดยเร็วที่สุด
17.3 ถ้าพบอุปกรณ์ไฟฟ้าชํารุดต้องเลิกใช้และรีบแจ้งผู้รับผิอชอบทําการแก้ไขทันที
17.4 การต่อเชื่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าต้องใช้อุปกรณ์หรือชุดต่อที่เหมาะสม รอยต่อสายไฟทุกแห่งต้องใช้เทปพันสายไฟ พันหุ้มลวดทองแดง ให้มิดชิด และแน่นหนาจนแน่ใจว่าจะไม่หลุด
17.5 หลอดไฟฟ้า และเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดที่จะทําให้เกิดความร้อนได้ไม่ควรให้อยู่ติดกับผ้าหรือเชื้อเพลิงอื่นๆ ที่อาจทําให้เกิดการลุกไหม้ได้ง่าย
17.6 ห้ามต่อสายไฟฟ้าโดยไม่ผ่านอุปกรณ์ตัด - จ่ายกระแสไฟ และห้ามใช้ตัวนําอื่นๆ แทนฟิวส์
17.7 ห้ามใช้สายไฟชนิดฉนวนชั้นเดียว (THW.) ให้ใช้สายไฟชนิดฉนวน 2 ชั้น (VCT.) (NYY.) ซึ่งทนทานที่จะใช้ใน งานก่อสร้าง
17.8 การช่วยผู้ประสบอันตรายให้หลุดพ้นจากกระแสไฟฟ้า อย่าเอามือเปล่าจับ จงใช้ผ้า ไม้ เชือก สายยาง ที่ แห้งสนิทดึงผู้ประสบอันตรายให้หลุดออกมา และถ้าผู้ประสบอันตรายหมดสติให้รีบให้การปฐมพยาบาลโดย การเป่าลมทางปากและการนวดหัวใจ
17.9 ต่อสายดินกับโลหะที่ครอบเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดเพื่อป้องกันอันตรายเมื่อไฟฟ้ารั่ว
18. ความปลอดภัยในการยกเคลื่อนย้ายของหนักด้วยมือ
18.1 ต้องสวมถุงมือชนิดต่างๆ ให้เหมาะสมกับวัสดุที่จะทําการยก
18.2 ถ้าของหนักเกินกว่าจะยกคนเดียวได้ให้เรียกคนมาช่วยมากพอที่จะยกได้โดยไม่ต้องฝืนออกแรงมากจน เกินกําลัง งอเข่าและคู้ลงต่ําใกล้ของให้ลําตัวชิดของ ให้หลังตรงเกือบเป็นแนวดิ่งแล้วยืนขาทั้งสองขึ้น ให้ใช ขายก อย่าใช้หลัง ยก เมื่อจะวางของให้ทําวิธีย้อนกลับตามวิธีเดิม
19. ความปลอดภัยในการใช้เครื่องกลหนักและขนย้ายสิ่งของด้วยรถเครน
19.1 จัดให้มีผู้ให้สัญญาณที่ชํานาญเพียงคนเดียว ห้ามผู้ที่ไม่มีหน้าที่ให้สัญญาณในการยกมาร่วมให้สัญญาณเป็น อันขาด
19.2 อย่าเข้าใกล้ส่วนที่เครื่องจักรที่จะต้องหมุนเหวี่ยง
19.3 ในกรณีที่มีการขุด ต้องกั้นอาณาบริเวณไว้โดยรอบ
19.4 ห้ามเข้าไปอยู่ใต้วัสดุที่กําลังยกโดยเด็ดขาด
19.5 ในกรณีที่ทํางานในหลุมหรือเกี่ยวกับรถตักหรือขุด ต้องระวังการตั้งตําแหน่งของเครื่องจักรเหล่านี้ให้ห่าง จากขอบบ่อ โดยกะระยะให้ปลอดภัยเพียงพอ เพื่อป้องกันการพังทลายของขอบบ่อ
20. ความปลอดภัยในสํานักงานโครงการ
20.1 เก้าอี้ โต๊ะ และเฟอร์นิเจอร์ จะต้องไม่หลวม , คลอน , โยก จนเกิดอันตราย ต้องอยู่ในสภาพดีและใช้ งานได้อย่างปลอดภัย
20.2 การปีนขึ้นไปเอาเอกสารในกรณีที่ต้องใช้บันได ขาบันไดต้องไม่ลื่น
20.3 การเดินตามทางเดิน ห้ามวิ่ง การเดินลงบันไดต้องจับราวบันได
20.4 อย่ายืนหรือคุยกันหน้าประตู อาจจะมีบุคคลอื่นเปิดเข้ามา
20.5 ขณะกําลังเดิน ห้ามอ่านหนังสือ เอกสาร นั่งให้เรียบร้อยเสียก่อน
20.6 อย่ายืนเกะกะกีดขวางทางเดินและบันได
20.7 ให้ระมัดระวังสายโทรศัพท์ที่อยู่ที่พื้นสํานักงาน อาจจะสะดุดได้
20.8 ประตู ตู้เก็บเอกสารปิดให้เรียบร้อย
20.9 ลิ้นชักที่ดึงออกมาอย่าค้างไว้ เมื่อใช้แล้วดันเก็บเข้าที่เดิม
20.10 ให้ตรวจสอบ ตู้ โต๊ะ เฟอร์นิเจอร์ ที่ใช้สกรูต่างๆ อาจจะหลวม
20.11 เก็บมีดตัดกระดาษและของมีคมที่นํามาใช้ให้เรียบร้อย
20.12 ต้องแน่ใจว่าเครื่องอุปกรณ์คอมพิวเตอร์วางอยู่บนโต๊ะที่แข็งแรง
20.13 ขณะที่อุปกรณ์สํานักงาน กําลังทํางาน ห้ามปรับ - แต่งหรือซ่อมแซม
20.14 อย่าซ่อมไฟฟ้าในสํานักงานด้วยตนเองให้เรียกช่างไฟฟ้า
20.15 ปฏิบัติโดยเคร่งครัดในกรณีบางพื้นที่ห้ามสูบบุหรี่
21. ตรวจความปลอดภัยของตะขอ (HOOK) , เสกน ( Shackle) , ลวดสลิง , โซ่ยก , สลิงยก , ตะขอ ( HOOK)
21.1 ห่วงตะขอ ( Eye) ยึดติดกับสลิงในแนวดิ่ง การใช้งานเกิดการเสียดสีกับส่วนของสลิงจนทําให้ความโต หรือ เส้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กที่ใช้ทําห่วงสึกหรอไป ถ้าการสึกหรอนั้นยังไม่เกิน 10 % จากมาตรฐานเดิม ถือ ว่ายังไม่ได้
21.2 ตัวล็อคสลิง ( Safety Latches) ชุดล็อคป้องกันสลิงหลุดจากตะขอ ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่ายังอยู่ใน สภาพที่ดี เมื่อนําสลิงใส่กับตะขอแล้ว สปริงตัวล็อคต้องดันกลับไม่ให้สลิงหลุด
21.3 ท้องตะขอ คือจุดยกวัสดุโดยมีสลิงคล้องยกในแนวดิ่ง หรือทํามุมยกจากแนวดิ่งไม่เกินข้างละ 45 ? เมื่อใช้ งานจะเกิดการเสียดสีกับห่วงโซ่ยก หรือสลิงยก ถ้า การสึกหรอนั้นยังไม่เกิน 10 % จากมาตรฐานเดิม ถือ ว่ายังอยู่ใน สภาพที่ดี
21.4 คอตะขอ ( throat) คือส่วนที่มีความแคบสุดของช่องเปิดของตัวตะขอ เมื่อใช้งานไปนานๆ ส่วนนี้( throat opening) จะอ้าออก ถ้า ส่วนที่อ้าออกนี้ ยังไม่เกิน 15 % ของความอ้าปกติ ถือว่าตะขอนี้ยังมีสภาพดี ใช้ได้
21.5 ตัวตะขอ หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของตะขอ ต้องไม่มีรอยร้าว
21.6 ปลายแหลมของตะขอ หรือ ปากตะขอ ต้องไม่บิดตัวไปเกินกว่า 10 ? จากแนวดิ่ง เสกน ( Shackle) เป็น ห่วงใส่สลัก ใช้เป็นจุดยึดต่อระหว่างสลิงหรือโซ่กับตะขอ เพื่อใช้ในงานยก
21.7 ห้ามใช้ BOLT หรือ SCREW ใส่แทนสลักเกลียว ( Shackle Pin) เพราะจะไม่แข็งแรงเพียงพอ
21.8 ห้ามยกโดยเสกนเอียงเป็นมุม ซึ่งจะเป็นเหตุให้ขาเสกนอ้าถ่างออก
21.9 อย่าใช้ลวดสลิง หรือสลิงยกสัมผัสกับสลักเกลียวโดยตรง การเลื่อนของลวดสลิงจะหมุนสลักเกลียวคลาย ตัวหลุดได้ ลวดสลิง (Wire Rope) ลวดสลิง จะต้องมีการตรวจเมื่อมีการติดตั้งใช้งานทุกครั้ง โดยหัวหน้า งานและผู้ปฏิบัติงานสําหรับลวดสลิงทั้งชนิดวิ่งของรถปั้นจั่น จะมีการตรวจโดยผู้บังคับเครนก่อนเริ่ม ปฏิบัติงานทุกวัน และมีการตรวจประจําเดือนโดยฝ่ายความปลอดภัยร่วมกับหัวหน้างานทุกเดือน ตาม แบบฟอร์มในเอกสารแนบ
21.10 ที่ความยาว 8 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลาง ถ้ามองเห็นมีเส้นลวดขาดหรือแตกเกิน10 % ของเส้นลวดทั้งหมด ถือว่าหมดอายุใช้งาน
21.11 ที่มีแผล , หักงอ , หรือถูกกัดกร่อน ต้องห้ามใช้งาน
21.12 สําหรับลวดวิ่ง ถ้าพบมีเส้นลวดขาด 6 เส้นใน 1 รอบของการตีเกลียว หรือลวดขาด 3 เส้นใน 1 แสตรนด์ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่าง ถือว่าหมดอายุใช้งาน
21.13 มีรอยการถูกไฟไหม้ ต้องห้ามใช้
21.14 เมื่อลวดสลิงเกิดการสึกหรอจนเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กลงกว่า 7 % จากมาตรฐานเดิม ห้ามนํากลับมาใช้งาน
โซ่ยก (Chain sling)
21.15 ห้ามใช้โซ่ยก ที่มีรอยแตกร้าว ตัวโซ่คดงอผิดรูป
21.16 ตรวจสอบการสึกหรอ ที่จุดใดๆ ของโซ่ยก ด้วยตารางข้างล่างนี้
ขนาดโซ่ (นิ้ว) | สึกหรอได้สูงสุด (นิ้ว) | ขนาดโซ่ (นิ้ว) | สึกหรอได้สูงสุด (นิ้ว) |
1/4 3/8 1/2 5/8 3/4 7/8 | 3/16 5/64 7/64 9/64 5/32 11/64 | 1 1 1/8 1 1/4 1 3/8 1 1/2 1 3/4 | 3/16 7/32 1/4 9/32 5/16 11/32 |
21.17 สลิงยกที่มีเส้นลวดขาด 6 เส้นใน 1 รอบของการตีเกลียว (1 rope lay) หรือมีเส้นลวดขาด 3 เส้นใน 1 แสตรนด์ ถือว่าหมดอายุใช้งาน สลิงยก ( Wire Rope Sling)
21.18 สลิงที่มีการสึกหรอมากกว่า 1 ใน 3 ของเส้นผ่านศูนย์กลางเดิม ถือว่าหมดอายุการใช้งาน
21.19 การหักงอ หรือแตกออกเป็นรูปกรงนก หมดอายุใช้งาน
21.20 สลิงยกที่มีรอยถูกไฟไหม้ หมดอายุการใช้งาน
21.21 สลิงที่มีรอยแตกร้าวที่ปลาย Fittings ทั้งสองข้าง หรือมีการกร่อนที่ลวดสลิง ห้ามใช้งาน
22. ความปลอดภัยรถเครน
รถเครนทุกคันรวมทั้งเครนชนิดอยู่กับที่ จะต้องได้รับการตรวจสอบทุก 3 เดือน ตามแบบฟอร์ม คป .2 ของกระทรวง แรงงานและลงนามโดยวิศวกรเครื่องกล จึงจะอนุญาตให้ปฏิบัติงานในโครงการได้
22.1 พนักงานควบคุมเครนจะต้องปฏิบัติงานใช้เครนและซ่อมบํารุงตามที่ผู้สร้างได้กําหนดมาตรฐานไว้เท่านั้น
22.2 ก่อนใช้เครนปฏิบัติงานของพนักงานแต่ละผลัดจะต้องตรวจสอบสภาพของเครนก่อนปฏิบัติงานทุกวัน
22.3 พิกัดการยกน้ําหนัก และมุมของบูมจะต้องเป็นไปตามตารางของเครนที่ผู้สร้างได้กําหนดไว้
22.4 ห้ามซ่อมบํารุงเครนขณะที่เครนกําลังทํางาน
22.5 ใช้สัญญาณมาตรฐานสากลเท่านั้นในการให้สัญญาณ
22.6 ปิดกันบริเวณที่เครนหมุนตัว ห้ามบุคคลอื่นเข้าไปในบริเวณนั้น
22.7 ห้ามเกาะที่ขอเครนโดยเด็ดขาด
22.8 มีเครื่องดับเพลิงชนิด ABC, 5 กก . เคมีผงติดตั้งที่เครนพร้อมใช้ได้ตลอดเวลา
22.9 กระเดื่องที่ตะขอของเครนต้องมีและใช้ได้ตลอดเวลา เพื่อป้องกันสลิงหลุดออกจากตะขอ
22.10 ต้องมีลูกศรชี้มุมของบูมแสดงองศาตลอดเวลา
22.11 การปฏิบัติงานใกล้กับสายไฟฟ้า ให้ปฏิบัติตามบทกําหนดของประกาศกระทรวงแรงงานโดยเคร่งครัด
23. ความปลอดภัยว่าด้วยบันได
23.1 การใช้บันไดจะต้องปฏิบัติตามคําแนะนําของผู้ผลิตบันไดโดยเคร่งครัด
23.2 ควรใช้บันไดที่ผลิตจากโรงงานชนิดบันไดใช้กับงานหนัก (Heavy duty)
23.3 บันไดที่ชํารุด แตก หัก ห้ามใช้และควรติดป้าย “ ห้ามใช้งาน
23.4 ห้ามนําบันได 2 อันมามัดต่อกันเพื่อให้ยาวขึ้น
23.5 บันไดชนิดตรงเมื่อพาดใช้งานจุดใดควรมัดติดให้แข็งแรงด้วย
23.6 อย่าตั้งบันไดบริเวณที่ลื่น มีขยะ
23.7 ตีนบันไดจะต้องตั้งห่างจากฝาที่ตั้งเป็นอัตรา 1 ต่อ 4 ของความสูงบันได
23.8 ปลายของบันไดต้องเกินจากจุดที่พาดผ่าน 3 ฟุต
23.9 บันไดที่ใช้อยู่ใกล้บริเวณทางเดิน ประตู ควรมีสิ่งกีดขวางไว้ เช่น เชือกขาว - แดง แผงป้องกันปิดกั้นไว้
23.10 การขึ้นลงบันไดให้หันหน้าเข้าหาบันได
23.11 ห้ามยกของแบกของขึ้นทางบันได
23.12 ห้ามใช้บันไดโลหะกับงานไฟฟ้าโดยเด็ดขาด
24. ความปลอดภัยว่าด้วยนั่งร้าน
(ตามประกาศกระทรวงม👉าดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้างว่าด้วยนั่งร้าน ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2525)
24.1 ทํางานในที่สูงเกินกว่า 2.00 เมตร ต้องทํานั่งร้าน
24.2 นั่งร้านเสาเรียงเดี่ยวสูงเกิน 7 เมตร หรือนั่งร้านสูงเกิน 21 เมตร ต้องมีวิศวกรรับรองตามแบบฟอร์มของ กระทรวงแรงงาน
24.3 นั่งร้านสร้างด้วยโลหะต้องรับน้ําหนักบรรทุกได้ไม่น้อยกว่า 4 เท่า ของน้ําหนักการใช้งาน
24.4 โครงนั่งร้านต้องมีการยึดโยงค้ํายัน เพื่อป้องกันมิให้เซหรือล้ม และในกรณีที่ต้องทํางานใกล้แนวสายไฟที่ไม่ มีฉนวนต้องมีระยะห่างไม่น้อยกว่าที่กําหนด หรือติดต่อการไฟฟ้ามาทําการติดตั้งฉนวนครอบสายไฟ ชั่วคราว
24.5 มีราวกันตกสูงไม่น้อยกว่า 90 ซม . และสูงไม่เกิน 1.10 เมตร ยกเว้นเฉพาะช่วงที่จะขนถ่ายสิ่งของ
24.6 ถ้าพบนั่งร้านชํารุดห้ามใช้งานทันทีจนกว่าจะได้ทําการซ่อมแซมแก้ไขให้สภาพดีเหมือนเดิม
24.7 ถ้ามีการทํางานซ้อนกัน ต้องมีสิ่งป้องกันของตกมิให้เป็นอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติงานอยู่ข้างล่าง
24.8 การทํางานอยู่บนนั่งร้านสูงเกินกว่า 4 เมตร ผู้ปฏิบัติงานต้องสวมเข็มขัดนิรภัย
25. ความปลอดภัยรถยนต์และเครื่องมือหนักและการจราจร
25.1 เมื่อรถจอดต้องดึงเบรคมือล็อคล้อรถทุกครั้ง
25.2 เครื่องมือหนักทุกชนิดห้ามโดยสาร
25.3 ห้ามเข้าไปนั่งอยู่ข้างล่างใบมีด ลูกล้อ หรือไปนอนในบุ้งกี๋ แทรค หรือส่วนใดของเครื่องจักร
25.4 อุปกรณ์ไฮดรอลิคจะต้องเอาลงหมดเมื่อเครื่องจักรจอด เช่น ใบมีด บุ้งกี๋ ริปเปอร์
25.5 ถ้ามีการซ่อมแซมอุปกรณ์ยกไฮดรอลิคของเครื่องจักรต้องมีเหล็กค้ํายัน (Safety Bar) กันตกขณะซ่อมแซม
25.6 มองหลังทุกครั้งที่ถอยรถหรือเครื่องจักร
25.7 ดับเครื่องยนต์ขณะเติมน้ํามันเชื้อเพลิง
25.8 ควรมีกระบังหน้าเมื่อเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ หรือขณะต่อสายแบตเตอรี่
25.9 ความเร็วในบริเวณก่อสร้าง 20 กม ./ ชม . และต้องปฏิบัติตามเครื่องหมายจราจรอย่างเคร่งครัด
26. ป้ายเตือนความปลอดภัย
26.1 จัดหาป้ายเตือนตามมาตรฐานสากลติดบริเวณที่ทํางานก่อสร้าง
26.2 ติดป้ายห้ามสูบบุหรี่บริเวณที่เก็บเชื้อเพลิง เก็บอ๊อกซิเจน อะซิเทลีน และห้องเก็บสีหรือสารไวไฟ 27. การปฐมพยาบาล
27.1 จัดให้มีห้องปฐมพยาบาลในโครงการ
27.2 จัดหายาตามที่ระบุในประกาศกระทรวงแรงงานแจ้งไว้
27.3 จัดฝึกการปฐมพยาบาลเบื้องต้นโดยคัดเลือกพนักงานเข้ามาอบรม
28. ความปลอดภัยงานขุดขนดิน
28.1 การขุดดินกรณีที่ขุดติดกับทางสาธารณะต้องติดต่อเจ้าหน้าที่ไฟฟ้า ประปา องค์การโทรศัพท์เพื่อชี้จุด ที่จะขุด
28.2 ถ้าขุดใกล้สายไฟใต้ดินจะต้องมีป้ายบอก และตัดสะพานไฟ
28.3 การขุดใกล้สายไฟให้ขุดด้วยมือ เมื่อตรวจพบแล้วจึงจะเริ่มขุดด้วยรถแบ็คโฮ (Backhoe)
28.4 มีเชือกกั้นแบ่งเขตที่ขุดและติดป้ายบอก ในเวลากลางคืนต้องติดไฟส่องสว่างให้เห็นได้ชัดเจน
28.5 ถ้าต้องขุดลึกถึง 4 ฟุต ต้องปรับดินให้ราบเป็นมุม 45 องศา หรือมีผนังกันดินถล่ม พร้อมทั้งจัดบันได ไว้ขึ้นลงได้ โดยสะดวก
28.6 ถนนที่เป็นทางผ่านเข้า - ออกไปขุดดิน จะต้องสะอาดและมีแผงกั้นตลอดเวลา
28.7 ห้ามวางวัสดุไว้บนปากบ่อที่ขุดในระยะ 4 ฟุต จากปากบ่อ
28.8 คนงานขุดดินต้องสวมหมวกแข็งและรองเท้าพื้นยางหุ้มส้น
28.9 มีป้ายติดตั้ง “ ระวังวัสดุหล่นมีคนทํางานอยู่ข้างล่าง ” อยู่ด้านบน
29. ความปลอดภัยลิฟต์ขนส่งวัสดุ
( ตามประกาศกระทรวงม👉าดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้างว่าด้วยลิฟต์ขนส่งวัสดุชั่วคราว ลงวันที่ 29 มกราคม 2524)
29.1 ลิฟต์ที่มีความสูงเกิน 9.00 เมตร จะต้องมีเอกสารรับรองการออกแบบและคํานวณโครงสร้างลิฟต์ โดยใช้ แบบฟอร์มของกระทรวงแรงงาน
29.2 หอลิฟต์สามารถรับน้ําหนักได้ไม่น้อยกว่า 2 เท่าของน้ําหนักแห่งการใช้งาน (Working Load) มีส่วน ความปลอดภัยไม่น้อยกว่า 5 (Safety Factor)
29.3 หอลิฟต์ที่สร้างด้วยโลหะจะต้องมีจุดคราก (Yield Point) ไม่น้อยกว่า 2,400 Kg/Cm2 และมีส่วน ความปลอดภัยไม่น้อยกว่า 2 (Safety Factor = 2)
29.4 ตัวลิฟต์ต้องรับน้ําหนักได้ไม่น้อยกว่า 5 เท่าของน้ําหนักแห่งการใช้งาน
29.5 หอลิฟต์จะต้องโยงยึดกับอาคารอย่างแข็งแรง รวมถึงติดตั้งราวกันตกความสูงระหว่าง 90 – 110 เซนติเมตร บนทางเชื่อมระหว่างหอลิฟต์กับสิ่งปลูกสร้าง 29.6 ต้องปิดกั้นบริเวณที่ลิฟต์ขึ้นลงมิให้คน เข้าไป
29.6 ผู้บังคับลิฟต์จะต้องได้รับการอบรมการบังคับลิฟต์อย่างปลอดภัย
29.7 มีป้ายติดไว้ด้านหน้า ซึ่งจะแจ้งถึงข้อบังคับการใช้ลิฟต์
29.8 มีการตรวจสอบลิฟต์ทุกวัน
29.9 เมื่อเกิดการชํารุด หรืออยู่ในระหว่างซ่อมแซม ห้ามใช้ลิฟต์โดยเด็ดขาดจนกว่าจะซ่อมแซมแล้วเสร็จ
29.10 มีป้ายแจ้งพิกัดน้ําหนักอย่างชัดเจน
30. การควบคุมยาเสพติดและแอลกอฮอล์
30.1 เป็นนโยบายบริษัทจะไม่ให้มีการขายยาเสพติดในบริเวณเขตก่อสร้าง โดยจะประสานงานกับตํารวจ ท้องที่ตลอดเวลา
30.2 ห้ามขายสุรายาบ้าและเครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์ในเขตก่อสร้างของบริษัทโดยเด็ดขาด
30.3 จะมีการสุ่มตรวจสอบคนงานที่มีพฤติกรรมน่าสงสัย โดยส่งตรวจปัสสาวะหาสารเสพติด ถ้าตรวจพบ จะเลิกจ้างทันทีและส่งตัวเข้ารับการรักษา
30.4 ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุในเขตก่อสร้าง จะตรวจสอบว่าส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากยาเสพติดและเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์ผสมหรือไม่
ตามที่กระทรวงแรงงานได้มีการออกกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๑ มิถุนายน
๒๕๔๙
ประเภทกิจการหรือสถานประกอบกิจการที่อยู่ในข่ายบังคับ กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร และการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้แก่ กิจการหรือ สถานประกอบกิจการตามข้อ 3 คือการก่อสร้าง ต่อเติม ติดตั้ง ซ่อม ซ่อมบํารุง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร สนามบิน ทางรถไฟ ทางรถราง ทางรถใต้ดิน ท่าเรือ อู่เ รือ สะพานเทียบเรือทางน้ํา ถนน เขื่อน อุโมงค์ สะพาน ท่อระบาย ท่อ น้ํา โทรเลข โทรศัพท์ ไฟฟ้า ก๊าซหรือประปา หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ รวมทั้งการเตรียมหรือวางรากฐานของการก่อสร้าง ซึ่งผู้รับจ้างต้องจัดเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยไว้ 1 คน โดยให้นําเสนอรายชื่อผ่านผู้ควบคุมงานก่อนดําเนินการก่อสร้าง
31. หน้าที่ตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับหัวหน้างาน
(๑) กํากับ ดูแล ให้ลูกจ้างในหน่วยงานที่รับผิดชอบปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือว่าด้วยความ ปลอดภัยในการทํางาน
(๒) วิเคราะห์งานในหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อค้นหาความเสี่ยงหรืออันตรายเบื้องต้น โดยอาจ ร่วมดําเนินการกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพ
(๓) สอนวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องแก่ลูกจ้างในหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อให้เกิดความปลอดภัยใน การปฏิบัติงาน
(๔) ตรวจสอบสภาพการทํางาน เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยก่อน ลงมือปฏิบัติงานประจําวัน
(๕) กํากับ ดูแล การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลของลูกจ้างในหน่วยงานที่
รับผิดชอบ
(๖) รายงานการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรําคาญอันเนื่องจากการ ทํางานของลูกจ้างต่อนายจ้าง และแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพ สําหรับสถานประกอบกิจการที่มีหน่วยงานความปลอดภัยให้แจ้งต่อหน่วยงานความปลอดภัย ทันทีที่เกิดเหตุ
(๗) ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรําคาญอัน เนื่องจากการทํางานของลูกจ้างร่วมกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพและรายงานผล รวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาต่อนายจ้างโดยไม่ชักช้า
(๘) ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมความปลอดภัยในการทํางาน
(๙) ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการทํางานอื่นตามที่เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางาน ระดับบริหารมอบหมาย
32. หน้าที่ตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับบริหาร
(๑) กํากับ ดูแล เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางานทุกระดับซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการทํางานระดับบริหาร
(๒) เสนอแผนงานโครงการด้านความปลอดภัยในการทํางานในหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อนายจ้าง (๓) ส่งเสริม สนับสนุน และติดตามการดําเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางานให้เป็นไปตาม
แผนงานโครงการเพื่อให้มีการจัดการด้านความปลอดภัยในการทํางานที่เหมาะสมกับสถานประกอบ กิจการ
(๔) กํากับ ดูแล และติดตามให้มีการแก้ไขข้อบกพร่องเพื่อความปลอดภัยของลูกจ้างตามที่ได้รับ รายงานหรือตามข้อเสนอแนะของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทํางาน คณะกรรมการหรือหน่วยงาน ความปลอดภัย