๑. ผลการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาบาเซล สมัยที่ ๑๒ (BC COP12)
สรุปผลการประชุมรัฐภาคีอนุสญญาบาเซล สมัยที่ ๑๒ การประชุมรัฐภาคี อนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ สมัยที่ ๗ และการประชุมรัฐภาคีอนุสญญาสตอกโฮล์มฯ สมัยที่ ๗ ในระหว่างxxxxxx ๔ - ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ณ xxxเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส
การประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามxxxของของเสียอันตราย และการกําจัด สมัยที่ ๑๒ การประชุมรัฐภาคีอนุสัญญารอตเตอร์ดมว่าดวยกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้า สําหรับสารเคมีอันตรายและสารเคมีป้องกันกําจัดศัตรูพืชและสัตว์บางชนิดในการค้าระหว่างประเทศ สมัยที่ ๗ และการประชุมรฐภาคีอนุสัญญาสตอกโฮล์มว่าxxxxxxxมลพิษท่ีตกค้างยาวนาน สมัยที่ ๗ ในระหว่างxxxxxx ๔ - ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ณ xxxxxxxxx xมาพันธรฐสวิส มีสาระสําคัญของผลการประชุมฯ ดังนี้
๑. ผลการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาบาเซล สมัยที่ ๑๒ (BC COP12)
วาระที่ ๑ เปิดการประชุม
การประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาบาเซล สมัยที่ ๑๒ ได้เปิดการประชุม ในxxxxxx ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ โดยมี Mr. Lissinger Peitz สาธารณรฐโปแลนด์ ทําหน้าที่ประธานการประชุมฯ
วาระท่ี ๒ รับรองวาระการประชุม
ท่ีประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๑๒ มีมติรับรองวาระการประชุม ดังนี้ วาระที่ ๑ เปิดการประชุม
วาระที่ ๒ รับรองวาระการประชุม วาระท่ี ๓ องค์ประชุม
(a) การคัดเลือกผู้ดําเนินการการประชุม
(b) องค์ประชุม
(c) การรายงานคณะผู้แทนในการประชุมฯ
วาระที่ ๔ ประเด็นที่เก่ียวข้องกับการดําเนินงานตามอนุสัญญาฯ
(a) ประเด็นดานxxxxxxxxxx
(i) ความxxxxxxxxโครงการริเริ่ม Indonesian-Swiss Country-led Initiative: CLI เกี่ยวกับ การปรบปรุงความมีประสิทธิภาพของการดําเนินงานอนุสัญญาฯ
A. การมีผลใช้บังคับของ Ban Amendment (Addressing the entry into force
of the Ban Amendment)
B. การพฒนาxxxx มือเก่ียวกับการจัดการอย่างเป็นxxxxกับส่ิงแวดล้อม (Developing
guidelines for environmentally sound management)
C. การสร้างความกระจ่างทางกฎหมาย (Providing further legal clarity)
(ii) กรอบแผนงานxxxxxxxxxx
- ๒ -
(iii) xxxxxxxxxxตาเฮนาว่าด้วยการป้องกัน การลด และการนําxxxxxxใช้ประโยชน์ใหม่ ของของเสียอันตรายและของเสียอ่ืน
(b) ประเด็นด้านเทคนิควิชาการและวิทยาศาสตร์
(i) แนวทางด้านเทคนิควิชาการ
I. แนวทางด้านเทคนิควิชาการสําหรับ “การจัดการของเสียที่ประกอบด้วย มี หรือ ปนเปื้อนxxxxxxxมลพิษท่ีตกคางยาวนาน”
II. แนวทางด้านเทคนิควิชาการสําหรับ “การจัดการของเสียที่มีสารปรอทเป็น ส่วนประกอบและของเสียที่มี หรือปนเปื้อนxxxxxxxปรอท”
III. แนวทางด้านเทคนิควิชาการว่าด้วย “การเคล่ือนย้ายข้ามxxxของขยะอิเล็กทรอนิกส์ (e-waste)” โดยxxxxxxxการแยกความแตกต่างระหว่างของเสีย (waste) และที่มิใช่ของเสีย (non - waste) ภายใต้อนุสัญญาบาเซล
อนุสญญาฯ
(ii) การแกไขภาคผนวกของอนุสัญญาฯ
(iii) การจําแนกประเภทและลักษณะความเป็นอันตรายของของเสีย
(iv) รายงานข้อมูลระดับชาติ
(c) ประเด็นด้านกฎหมาย การบังคบใช้กฎหมาย และการกํากับดูแล
(i) คณะกรรมการเพื่อการบริหารกลไกการสนับสนุนการดําเนินงานและการปฏิบัติตาม
A. ข้อเสนอเฉพาะเจาะจงของภาคีในการดําเนินงานและการปฏิบัติตามบทบัญญัติ
ของอนุสัญญาฯ (Specific submissions regarding party implementation and compliance)
1) ขอเสนอเฉพาะเจาะจง
2) Implementation fund
3) การประเมินการแก้ไขขอบเขตการดําเนินงานของคณะกรรมการฯ ใน
paragraph 9 (c)
4) กรอบแผนงานด้านกฎหมาย (Legal framework programme)
B. การทบทวนประเด็นปัญหาท่ัวไปเกี่ยวกับการดําเนินงานและการปฏิบัติตามอนุสัญญาฯ
(Review of general issues of compliance and implementation under the Convention)
1) การรายงานข้อมูลระดับชาติ
2) กฎ/xxxxxxxภายในประเทศ
3) การเคลื่อนย้ายข้ามxxxอย่างผิดกฎหมาย
4) การประกันภัย ตราสารหนี้ หลักประกันทางการเงิน
5) ระบบการควบคุม
6) คู่มือปฏิบัติสําหรับการดําเนินงานตามอนุสัญญาบาเซล (Manual for the implementation of the Basel Convention)
C. การคัดเลือกคณะกรรมการฯ (Election of members of the Committee)
(ii) กฎหมายระดับประเทศ การแจ้งข้อมูล การบังคับใช้อนุสัญญาฯ และการป้องกัน การเคลื่อนย้ายข้ามxxxอย่างผิดกฎหมาย
A. การให้คําแนะนําด้านกฎหมายและนโยบายแก่ภาคี (Legal and policy advice
the parties)
B. การรวบรวมกฎ/xxxxxxxระดบประเทศและมาตรการอน่ืั ๆ (Collection of
national legislation and other measures)
C. การแจ้งข้อมูลคํานิยามระดับประเทศ และการห้ามและการจํากัดการนําเข้า - ส่งออก
(Notifications of national definitions and import/export restrictions and prohibitions)
D. กรณีการลับลอบเคลื่อนย้ายข้ามxxxอย่างผิดกฎหมายและแนวปฏิบัติxxxxxที่สุด ในการป้องกันและต่อต้านการเคลื่อนย้ายข้ามxxxอย่างผิดกฎหมาย (Cases of illegal traffic and best practices in preventing and combating illegal traffic)
E. กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและต่อต้านการเคลื่อนย้ายข้ามxxxอย่าง ผิดกฎหมาย (Activities pertaining to preventing and combating illegal traffic)
(d) ความช่วยเหลือด้านเทคนิควิชาการ
(i) การxxxxxxxxxxขีดความxxxxxx
(ii) การดําเนินงานที่เกี่ยวข้องกบศูนย์xxxxxxxเพ่ือการxxxxxxงานอนุสัญญาฯ
(iii) การดําเนินงานตามมติข้อxxxxxxxxxxx V/32 เกี่ยวกับการขยายขอบเขตของกองทุน อนุสัญญาเพื่อช่วยเหลือประเทศกําลังพัฒนาและประเทศท่ีต้องการความช่วยเหลือทางเทคนิคในการดําเนินงาน ตามอนุสัญญาบาเซล
ระหว่างประเทศ
(e) ประเด็นดานความร่วมมือ การxxxxxxงาน และโครงการหุ้นส่วนความร่วมมือ
(i) แผนงานโครงการหุ้นส่วนความร่วมมืออนุสัญญาฯ
(ii) การรื้อถอนเรืออย่างปลอดภัยต่อส่ิงแวดลอม
(iii) ความร่วมมือกับองค์การทางทะเลระหว่างประเทศ
(iv) ความร่วมมือและการxxxxxxงานระหว่างประเทศอื่น ๆ
(f) การระดมทรัพยากรและการจัดสรรงบประมาณ
(g) การดําเนินการและแผนงานสําหรับที่ประชุม Open-ended Working Group
(OEWG) ระหว่างปี ค.ศ. 2016 - 2017
วาระที่ ๕ แผนการดําเนินงานสํานักเลขาธิการฯ และการรับรองงบประมาณ
วาระที่ ๖ กําหนดการและสถานที่สําหรับประชุมรัฐภาคีอนุสญญาบาเซล สมัยที่ ๑๓ วาระที่ ๗ เรื่องอื่น ๆ
วาระที่ ๘ การรบรองรายงาน วาระที่ ๙ ปิดการประชุม
วาระท่ี ๓ องค์ประชุม
๓.๑ ผู้เขาร่วมประชุม
ที่ประชุมรับรองว่าผู้เข้าร่วมประชุมต้องจัดส่งหนังสือแต่งต้ังคณะผู้แทนในการประชุมฯ ฉบับจริง (Credentials) ตามข้อบทที่ ๑๖ และ ๑๘ ของกฎระเบียบการประชุม กล่าวคือ จัดส่งหนังสือแต่งต้ัง คณะผู้แทน ฉบับจริงให้สํานักเลขาธิการฯ ภายใน ๒๔ ชั่วโมงหลังจากเปิดการประชุม xxxxxxx xxxประชุมxxxxxxxxxxx ให้จัดส่งให้สํานักเลขาธิการฯ ภายในxxxxxx ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เวลาเที่ยง หากไม่ดําเนินการภายในระยะเวลา
ท่ีกําหนด ให้xxxxxxเป็นผูเข้าร่วมประชุมในฐานะผ งเกตการณ์ทั้งในการประชุมกลุ่มย่อยและการประชุมเต็มรูปแบบ
๓.๒ การคัดเลือกผดู้ ําเนินการการประชุม
๓.๒.๑ ผ ําเนินการการประชุม
ที่ประชุมได้พิจารณาสรรหาผูด้ ําเนินการการประชุม รวม ๒ ชุด คือ
๑) Officers of the Conference of the Parties ตามข้อบทที่ ๒๑ ของกฎxxxxxxx การประชุม COP ซึ่งประกอบด้วย (๑) ประธานคณะกรรมการฯ ๑ ท่าน (๒) รองประธานฯ ๙ ท่าน และ (๓)
Rapporteur ๑ ท่าน เพื่อทําหน้าที่หลังจากส สดการประชุม COP-12 จนกระท่งสิ้นสุดการประชุม COP-13
๒) Officers of the Open-ended Working Group ตามข้อบทที่ ๒๖ ของกฎxxxxxxx การประชุม COP ซึ่งประกอบด้วย (๑) ประธานร่วมด้านเทคนิค ๑ ท่าน และด้านกฎหมาย ๑ ท่าน รวมทั้งสิ้น ๒ ท่าน (๒) รองประธานด้านเทคนิค ๑ ท่าน และด้านกฎหมาย ๑ ท่าน รวมท้ังสิ้น ๒ ท่าน และ (๓) Rapporteur ๑ ท่าน เพื่อทําหน้าที่ในช่วงปี ค.ศ. 2016 - 2017
มติข้อตัดสินใจ
- เห็นชอบกับผู้ดําเนินการการประชุม ดังนี้
๑.๑ Officers of the Conference of the Parties
ประธาน : Mr. Xxxxxxxx Xxxxxxxxxxx (Jordan) รองประธานและ Rapporteur : Mr. Xxxxxx Xxxxxxxx (Montenegro รองประธาน : Mr. Xxxxx Xxxxxxxx (Liberia)
Mr. Xxxxxxxxxx Xxxxxxxx (Tunisia)
Mr. Xxxxxxxx Xxxxxxx (Marshall Islands) Mr. Xxxxx Xxxx (Poland)
Ms. Xxxxxxxx Xxxxxxx Xxxxx (Uruguay) Mr. Xxxx Xxxxxxxxx (Colombia)
Mr. Xxxxxx Xxxxxxx (Canada) Mr. Xxx Xxx xx Xxxxx (Belgium)
๑.๒ Officers of the Open-ended Working Group ประธานร่วมด้านเทคนิค : Mr. Xxxxxxxx Xxxxxx (Dominica) ประธานร่วมด้านกฎหมาย : Mr. Xxxxxxxx Xxxxxx Xxxx (Spain) รองประธานด้านเทคนิค : Mr. Xxxxxxxxxx Xxxxx (India) รองประธานด้านกฎหมาย : Ms. Xxxxxxx Xxxxxxxx (Serbia) Rapporteur: Ms. Petronella Rumbidzai Shoko (Zimbabwe)
๓.๓ การรายงานคณะผูแทนในการประชุมฯ
ที่ประชุมมีมติรบรองการรายงานคณะผู้แทนในการประชุมฯ ดังน้ี
๑) ผู้แทนรัฐบาลจากประเทศต่าง ๆ รวมทังสิ้น ๑๖๖ ประเทศ โดยแบ่งเป็น
๑.๑) ประเทศภาคีสมาชิกที่ปฏิบัติตามข้อบทที่ ๑๖ และ ๑๘ ของกฎระเบียบการประชุม รวมทง้ สิ้น ๑๕๙ ประเทศ
๑.๒) ประเทศภาคีสมาชิกxxxxxxจัดส่งต้นฉบับหนังสือแต่งตั้งคณะผู้แทนเข้าร่วมการประชุมฯ ตามกฎระเบียบการประชุม รวมทง้ สิ้น ๖ ประเทศ
๒) ผู้xxxxxxxxxxxการประชุม อาทิ องค์กรระหว่างประเทศ องค์กรภายใต้หน่วยงาน UN
และองค์กรท่ีมิใช่ภาครัฐ (NGOs)
วาระท่ี ๔ การพิจารณาประเด็นที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานตามอนุสัญญาฯ
๔.๑ ประเด็นดานxxxxxxxxxx
๔.๑.๑ ความxxxxxxxxโครงการริเริ่ม Indonesian - Swiss Country - led Initiative: CLI เกี่ยวกับ การปรับปรุงความมีประสิทธิภาพของการดําเนินงานอนุสญญาฯ
๑) การมีผลบังคับใช้ของ Ban Amendment
สํานักเลขาธิการฯ ได้รายงานให้ที่ประชุมทราบว่า หลังจากการประชุม COP-11 เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2013 ได้จัดให้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสนับสนุนให้ภาคีให้สัตยาบันต่อ Ban Amendment เพิ่มเติมอีก ๑ ครั้ง ณ ประเทศแอฟริกาใต้ ต่อมาในการประชุม Bureau เม่ือเดือน พฤษภาคม ๒๕๕๗ ณ สมาพันธรัฐสวิส ที่ประชุมได้แสดงความxxxxxกับการริเร่ิมการดําเนินงานฯ
มติข้อตัดสินใจ
รับทราบความxxxxxxxxในประเด็นการมีผลบังคับใช้ของ Ban Amendment รวมทั้ง xxxxxxxให้ภาคีสมาชิกพิจารณาดําเนินการให้สัตยาบันต่อ Ban Amendment และขอให้สํานักเลขาธิการฯ ให้ความช่วยเหลือภาคีสมาชิกที่ประสบปัญหาอุปสรรคเกี่ยวกับการให้สัตยาบันต่อ Ban Amendment ตามท่ี ร้องขอต่อไป
๒) การพัฒนาคู่มือเกี่ยวกับการจัดการอย่างเป็นxxxxกับสิ่งแวดล้อม
คณะทํางานผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการอย่างเป็นxxxxกับสิ่งแวดล้อม (expert working group on environmentally sound management) ได้จัดให้มีการประชุมรวมทั้งสิ้น ๓ ครั้ง ตั้งแต่เดือนธันวาคม ๒๕๕๖ ถึงเดือนxxxxxx ๒๕๕๘ เพื่อจัดทํากรอบแผนงานฯ เพื่อนําเสนอในการประชุม COP-12 ซึ่งสรุปสาระสําคัญของกรอบแผนงานท่ีเก่ียวข้องด้านการจัดการอย่างเป็นxxxxกับสิ่งแวดล้อมสําหรับ ของเสียอันตรายและของเสียอื่น ซ่ึงประกอบด้วย ๑) การจัดทําคู่มือปฏิบัติเพื่อสนับสนุนการจัดการอย่างเป็นxxxx กับส่ิงแวดล้อมฯ ๒) fact sheet เกี่ยวกับของเสียท่ีควรให้ความสําคัญเป็นพิเศษ (specific waste streams) และ ๓) การประเมินแรงxxxxxxxxเป็นไปได้ในการxxxxxxxxการลงทุนของผู้ประกอบการด้านการจัดการอย่างเป็นxxxx กับสิ่งแวดล้อม
มติขอตดสินใจ
๑. เห็นชอบกับกรอบแผนงานที่เก่ียวข้องด้านการจัดการอย่างเป็นxxxxกับสิ่งแวดล้อม สําหรบของเสียอันตรายและของเสียอื่น
๒. xxxxxxxxxxxจะขยายอํานาจหน้าที่ของคณะทํางานผู้xxxxxxxxxด้านการจัดการ อย่างเป็นxxxxกับสิ่งแวดลอม และรองขอให้พัฒนากิจกรรมต่างๆ ตามทรัพยากรท่ีมีอยู่
๓. ร้องขอให้แต่ละกลุ่มxxxxxxxแต่งตั้งผู้แทนเข้าร่วมในคณะทํางานฯ ภายในxxxxxx
๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘
๔. ขอให้คณะทํางานผู้xxxxxxxxxฯ รายงานผลการดําเนินงานให้ที่ประชุม OEWG-10
และที่ประชุม COP-13 เพื่อพิจารณาต่อไป
๕. xxxxxxxให้ภาคีสมาชิกและผู้เก่ียวข้องอ่ืนๆ จัดส่งข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ กิจกรรมที่ดําเนินการด้านการจัดการอย่างเป็นxxxxกับสิ่งแวดล้อมฯ ให้สํานักเลขาธิการฯ เพื่อเผยแพร่บนเว็บไซต์ ของอนุสัญญาฯ
๓) การสรางความกระจ่างทางกฎหมาย
คณะทํางานระหว่างสมัยประชุมเพ่ือพิจารณาปรับแก้ไขอภิธานศัพท์ที่ใช้ใน อนุสัญญาบาเซล ได้จัดทําร่างอภิธานศัพท์ฯ ฉบับที่ ๑ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ แล้วเสร็จ และเวียนให้ภาคี พิจารณาให้ข้อคิดเห็นฯ ต่อมาได้จัดให้มีการประชุมคณะทํางานฯ เพื่อทบทวนและจัดทําร่างอภิธานศัพท์ฯ ฉบับที่ ๒ เดือนมิถุนายน ๒๕๕๗ ก่อนการประชุม OEWG-9 และหลังจากน้ันได้จัดให้มีการประชุมคณะทํางาน ฯ เพ่ือทบทวนและจัดทําร่างอภิธานศัพท์ฯ ฉบับท่ี ๔ เดือนxxxxxx ๒๕๕๘ เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นจากภาคีและ เสนอให้ท่ีประชุม COP-12 พิจารณาต่อไป
มติข้อตดสินใจ
๑. รับทราบรายงานเกี่ยวกับการตีความคําศัพท์ต่าง ๆ และการศึกษาประเด็น เกี่ยวกับการจัดการสินค้าใชแล้วและสินค้าที่หมดอายุการใช้งาน
๒. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ เสนอร่างอภิธานศัพท์ฯ ฉบับปรับปรุงแก้ไข รวมทั้ง คําอธิบายที่เกี่ยวข้องในการประชุม OEWG-10
๓. xxxxxxxxxxxจะดําเนินการให้มีขั้นตอนเริ่มต้นในการทบทวนภาคผนวก I, III และ IV รวมทั้งประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภาคผนวก IX ของอนุสัญญาฯ เป็นพื้นฐานของทางเลือกตามกลไกทางกฎหมาย ในการระบุในส่วนxxx XX ของภาคxxxx XX และร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ รวบรวมข้อคิดเห็นฯ จากภาคีที่เกี่ยวข้อง กบการทบทวนในประเด็นนี้ เพื่อพิจารณาในการประชุม OEWG-10 ต่อไป
๔. xxxxxxxภาคีผู้นํา (Lead party) ทบทวนข้อคิดเห็นฯ จากภาคีและผู้เกี่ยวข้อง ในการระบุในส่วนxxx XX.A ของภาคxxxx XX
๔.๑.๒ xxxxxxxxxxตาเฮนาว่าด้วยการป้องกัน การลด และการนําxxxxxxใช้ประโยชน์ใหม่
ของของเสียอันตรายและของเสียอื่น
สํานักเลขาธิการฯ ได้รายงานในที่ประชุมฯ เกี่ยวกับความxxxxxxxxการดําเนินงาน ตามแผนงานxxxxxxxxxxเพื่อการดําเนินงานตามอนุสัญญาบาเซล สําหรับปี ค.ศ. 2012 - 2021 ซึ่งได้รับความ
เห็นชอบจากที่ประชุม COP-10 ทั้งน้ี ภาคีสมาชิกส่วนใหญ่เสนอขอความช่วยเหลือทางการเงินและทางเทคนิคจากประเทศ ที่พัฒนาแล้ว ในประเด็นเกี่ยวกับการแยกความแตกต่างระหว่างของเสียอันตรายและของเสียอื่น เพื่อติดตาม การเคลื่อนย้ายข้ามxxxและดําเนินงานตามพันธกรณีอนุสัญญาบาเซล รวมทั้ง ขอให้ศูนย์xxxxxxxเพื่อการ xxxxxxงานอนุสัญญาฯ มีบทบาทในการสนับสนุนเครื่องมือต่าง ๆ ท่ีจําเป็นเพื่อxxxxxวัตถุประสงค์ดังกล่าว
มติข้อxxxxxxxx
xxxประชุมรับรอง Roadmap สําหรับแผนการดําเนินงานเพื่อการปฏิบัติตามxxxxxx xxxxตาเฮนาว่าด้วยการป้องกัน การลด และการนําxxxxxxใช้ประโยชน์ใหม่ของของเสียอันตรายและของเสียอื่น และxxxxxxxxxxxจะกําหนดอํานาจหน้าที่ของกลุ่มผู้xxxxxxxxxเกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นxxxx (Expert Working Group on ESM) เพื่อพัฒนาแนวทางในการให้ความช่วยเหลือภาคีในการจัดทํากรอบแผนงาน xxxxxxxxxxฯ ดังกล่าว
๔.๒ ประเด็นด้านเทคนิควิชาการและวิทยาศาสตร์
๔.๒.๑ แนวทางด้านเทคนิควิชาการ
๑) แนวทางด้านเทคนิควิชาการว่าด้วย “การจัดการของเสียที่ประกอบด้วย มี หรือ ปนเปื้อนxxxxxxxมลพิษที่ตกค้างยาวนาน”
ท่ีประชุมฯ ได้พิจารณาคู่มือด้านเทคนิควิชาการว่าด้วยการจัดการของเสียที่ประกอบด้วย มี หรือปนเป้ือนxxxxxxxมลพิษที่ตกค้างยาวนาน ตามข้อบทของอนุสัญญาบาเซล ควบคู่กับมาตรการลดหรือxxxx xxxปลดปล่อยจากของเสีย ตามข้อบทของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ ทั้งนี้ ได้จัดตั้งคณะทํางานระหว่างสมัยประชุม ซึ่งมีประเทศแคนาดาเป็นประธาน เพื่อพัฒนาคู่มือด้านเทคนิควิชาการเกี่ยวกับสารมลพิษที่ตกค้างยาวนาน ภายใต้อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ
มติข้อตัดสินใจ
๑. เห็นชอบกับ ๑) แนวทางด้านเทคนิควิชาการเกี่ยวกับการจัดการของเสียที่ประกอบด้วย มี หรือปนเปื้อนสารมลพิษท่ีตกค้างยาวนาน ๒) แนวทางด้านเทคนิควิชาการว่าด้วยการจัดการของเสียที่ ประกอบด้วย มี หรือปนเปื้อนสาร perfluorooctane sulfonic acid (PFOS), its salts and perfluorooctane sulfonyl fluoride (PFOSF) ๓) แนวทางด้านเทคนิควิชาการว่าด้วยการจัดการของเสียที่ประกอบด้วย มี หรือ ปนเปื้อนสาร polychlorinated biphenyls, polychlorinated terphenyls หรือ polybrominated biphenyls รวมทั้ง hexabromobiphenyls ; hexa-, hepta-, tetra-, pentaBDE; HBCD และ ๔) สารเคมีป้องกันกําจัด ศัตรูพืชและสัตว์ กล่าวคือ สาร aldrin, สาร alpha hexachlorocyclohexane, สาร beta hexachlorocyclohexane, สาร chlordane, สาร chlordecone สาร dieldrin, สาร endrin, สาร heptachlor, สาร hexachlorobenzene, สาร lindane, สาร mirex, สาร pentachlorobenzene, สาร technical endosulfan and its related isomers or toxaphene or with hexachlorbenzene ซึ่งจัดเป็นสารเคมีทางอุตสาหกรรม
๒. ตระหนักถึงกรณีการพิจารณาตามข้อxxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้องกับค่า low-POP content ที่จัดตั้งขึ้นในการประชุม COP-7 และ COP-8 และในกรณีอื่นๆ ท่ีมีข้อมูลจํากัด ซึ่งxxxxxxxxxxxxxต่อการกําหนด ค่าดังกล่าว ทั้งนี้ การทบทวนขอxxxxxxxxxxxxเก่ียวข้องกบค่า low-POP content ต้องอาศัยระยะเวลา
- ๘ -
๓. xxxxxxxภาคีและผู้เกี่ยวข้องเสนอข้อคิดเห็นเกี่ยวกับค่า low-POP content รวมทั้งข้อคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางด้านเทคนิควิชาการต่างๆ และแนวทางด้านเทคนิควิชาการเฉพาะเจาะจง รวมทั้ง การศึกษาและข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่มีอยู่ภายใต้อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ ให้แก่สํานักเลขาธิการภายใน
๓ เดือนก่อนการประชุม OEWG-10 และร้องขอให้สํานักเลขาธิการรวบรวมข้อคิดเห็นต่าง ๆ
๔. xxxxxxxxxxxจะให้มีการจัดทําแนวทางด้านเทคนิควิชาการต่าง ๆ และแนวทาง ด้านเทคนิควิชาการเฉพาะเจาะจง สําหรับของเสียที่ประกอบด้วย มี หรือปนเปื้อนxxxxxxxมลพิษที่ตกค้าง ยาวนาน ซ่ึงได้รับการบรรจุในการประชุมรัฐภาคีของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ สมัยที่ ๗ ต่อไปในแผนการ ดําเนินงานสําหรับการประชุม OEWG ในช่วงปี ค.ศ. 2016 - 2017
๕. xxxxxxxภาคีและผู้เกี่ยวข้องพิจารณาเข้าร่วมเป็นผู้นําในการทบทวนและจัดทํา แนวทางด้านเทคนิควิชาการต่างๆ ซ่ึงได้รับการบรรจุในการประชุมรัฐภาคีของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ สมัยที่ ๗ และการจัดทําแนวทางด้านเทคนิควิชาการว่าxxxxxxx pentachlorobenzene และจัดเตรียมร่างแนวทางฯ ดังกล่าว เพ่ือนําเสนอในการประชุม OEWG-10 ต่อไป
๖. xxxxxxxภาคีและผู้เกี่ยวข้องเสนอข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับของเสียสําหรับสาร decabromodiphenyl ether ให้แก่สํานักเลขาธิการฯ และประเทศนอร์เวย์ ภายในxxxxxx ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๘ รวมทั้งxxxxxกับความตั้งใจของประเทศนอร์เวย์ในการวิเคราะห์และแลกเปล่ียนข้อมูลกับคณะทํางานระหว่าง สมัยประชุมฯ และร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ นําเสนอข้อมูลxxxxxxรับและการวิเคราะห์ที่จัดทําขึ้นโดยประเทศ นอร์เวย์เข้าสู่การพิจารณาในการประชุม COP-13 ต่อไป
๗. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ รายงานผลการดําเนินงานตามมติข้อตัดสินใจในการ ประชุม OEWG-10 และการประชุม COP-13
๒) แนวทางด้านเทคนิควิชาการสําหรับ “การจัดการของเสียที่มีสารปรอทเป็น
ส่วนประกอบและของเสียที่มี หรือปนเปื้อนxxxxxxxปรอท”
สํานักเลขาธิการฯ ได้รายงานความxxxxxxxxในการจัดทําคู่มือฯ ฉบับปรับปรุงแกไข ภายหลงจากการรวบรวมข้อคิดเห็นและประสบการณ์ในการปฏิบตั ิตามแนวทางฯ ดังกล่าวจากภาคีสมาชิกต่าง ๆ
มติข้อตัดสินใจ
๑. รับรองแนวทางด้านเทคนิควิชาการสําหรับ “การจัดการของเสียท่ีมีสารปรอท เป็นส่วนประกอบและของเสียท่ีมี หรือปนเปื้อนxxxxxxxปรอท”
๒. ขอให้ภาคีและผู้เกี่ยวข้องเสนอข้อคิดเห็นและประสบการณ์ในการปฏิบัติตาม แนวทางฯ ดังกล่าว รวมทั้ง การประเมินความมีxxxxxxxxxxในระยะยาวของแนวทางฯ ดังกล่าว และร้องขอให้ สํานักเลขาธิการฯ รวบรวมข้อคิดเห็นต่างๆ เสนอในการประชุม COP-13 พิจารณาต่อไป
๓) แนวทางดานเทคนิควิชาการว่าด้วย “การเคลื่อนย้ายข้ามxxxของขยะอิเล็กทรอนิกส์
(e-waste)” โดยxxxxxxxการแยกความแตกต่างระหว่างของเสีย (waste) และที่มิใช่ของเสีย (non-waste)
ภายใต้อนุสัญญาบาเซล
สํานักเลขาธิการฯ ได้เสนอให้ท่ีประชุมฯ พิจารณารับรองแนวทางด้านเทคนิค วิชาการว่าด้วย “การเคลื่อนย้ายข้ามxxxของขยะอิเล็กทรอนิกส์ (e-waste)” โดยxxxxxxxการแยกความแตกต่างระหว่าง
ของเสีย (waste) และท่ีมิใช่ของเสีย (non-waste) โดยเฉพาะประเด็นการแก้ไขเพิ่มเติม “Section III B paragraph 26 (b) regarding situations where used equipment should normally be considered waste or not be considered waste” ในร่างแนวทางฯ ดังกล่าว
มติข้อตัดสินใจ
๑. เห็นชอบในเบ้ืองต้น (interim basis) กับแนวทางด้านเทคนิควิชาการว่าด้วย “การเคลื่อนยายขามxxxของขยะอิเล็กทรอนิกส์ (e-waste)” โดยxxxxxxxการแยกความแตกต่างระหว่างของเสีย (waste) และท่ีมิใช่ของเสีย (non-waste) ภายใต้อนุสัญญาบาเซล ซึ่งมีมติข้อตัดสินใจในความเข้าใจร่วมกันว่า แนวทางฯ ดังกล่าว xxxxxxมีผลทางกฎหมาย (non-legally binding nature) และกฎหมายในระดับประเทศ ของภาคีอยู่เหนือกว่าแนวทางฯ โดยเฉพาะใน para 30, 38 และ 39
๒. xxxxxxxภาคีสมาชิกและผู้เกี่ยวข้องเสนอข้อคิดเห็นให้สํานักเลขาธิการฯ ภายใน ๒ เดือน ก่อนการประชุม COP-13
๓. เห็นด้วยกับการจัดทําแผนงานขั้นต่อไปสําหรับการประชุม OEWG ในช่วงปี ค.ศ. 2016 - 2017 เพื่อจัดเตรียมร่างแนวทางฯ xxxxxxรับการปรับปรุงสําหรับนําเสนอในการประชุม COP-13 โดยเฉพาะการอ้างถึงใน para 30a และ 30b ของแนวทางฯ ในประเด็นต่างๆ ๔ ประเด็น กล่าวคือ 1) residual lifetime and age of used equipment 2) management of hazardous wastes from failure analysis, repair and refurbishment operations in developing countries 3) obsolete technologies, including cathode ray tubes และ 4) the presence of hazardous components in used equipment ทั้งน้ี xxxxxxxภาคีสมาชิกและผู้เกี่ยวข้องพิจารณาให้ข้อเสนอแนะทั้ง ๔ ประเด็น ภายใน ๕ เดือนก่อนการประชุม OEWG-10
๔. กระตุ้นภาคีให้แจ้งต่อสํานักเลขาธิการฯ เก่ียวกับเงื่อนไขในประเด็น “used
equipment that should normally be considered waste or non-waste” และร้องขอให้ สํานักเลขาธิการฯ เผยแพร่บนเว็บไซต์อนุสัญญาฯ และขอให้นําเสนอความxxxxxxxxในการดําเนินงานตามมติ ข้อตัดสินใจในการประชุม COP-13 ต่อไป
๔.๒.๒ การแกไขภาคผนวกของอนุสัญญาฯ
สํานักเลขาธิการฯ ได้เสนอให้ท่ีประชุมพิจารณาในรายการ “B3025” กล่าวคือ “Composite packaging waste consisting of mainly paper and some plastic [and aluminum], not containing residues and not containing Annex I materials in concentrations sufficient to exhibit Annex III characteristics.1 [1 It is noted that there may be national laws controlling the import of waste containing household waste]”
มติข้อตดสินใจ
เห็นด้วยว่าจะไม่มีการดําเนินการในประเด็นน้ี เนื่องจากยงไม่มีxxxxxมติแต่อย่างใด
๔.๒.๓ การจําแนกประเภทและลักษณะความเป็นอันตรายของของเสีย
สํานักเลขาธิการฯ ได้รายงานความคืบหน้าการดําเนินงานร่วมกับองค์การศุลกากรโลก (World Customs Organization; WCO) และการดําเนินการต่อไปในประเด็นที่เก่ียวข้องกับการระบุรายการของเสีย ภายใต้อนุสัญญาบาเซลไว้ในระบบ Harmonized Commodity Description and Coding
มติขอตดสินใจ
รับทราบรายงานความคืบหนาการดําเนินงานร่วมกับองค์การศุลกากรโลก (World Customs Organization; WCO) และการดําเนินการต่อไปในประเด็นที่เก่ียวข้องดังกล่าว
๔.๒.๔ รายงานข้อมูลระดับชาติ
สํานักเลขาธิการฯ ได้รายงานความxxxxxxxxการดําเนินงานเกี่ยวกับการจัดทํารายงาน ข้อมูลระดับชาติประจําปีสําหรับอนุสัญญาบาเซลเพื่อปรับปรุงการดําเนินงานและปฏิบัติตามข้อบทท่ี ๑๓ (๓) ของอนุสัญญาฯ และการทบทวนระบบการรายงานตามอนุสัญญาบาเซลและอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ ให้มี ประสิทธิภาพขึ้น
มติข้อตัดสินใจ
รับรองแบบรายงานข้อมูลระดบชาติ xxxปรับปรุงxxxx สุดท้าย ซึ่งปรากฏในภาคผนวก
ของมติข้อตัดสินใจ
๔.๓ ประเด็นด้านกฎหมาย การบังคับใช้กฎหมาย และการกํากับดูแล
สํานักเลขาธิการฯ ได้รายงานความxxxxxxxxเกี่ยวกับผลการดําเนินงานของคณะกรรมการ
เพื่อการบริหารกลไกการสนับสนุนการดําเนินงานและการปฏิบ
มติข้อตดสินใจ
ิตามอนุสัญญาบาเซล
๑. ร้องขอให้ภาคีดําเนินการตามข้อบัญญัติของอนุสัญญาใน para 4 ของข้อบทที่ ๔ เกี่ยวกับ กลไกการสนับสนุนการดําเนินงานและการปฏิบัติตามอนุสัญญาฯ และ para 5 ของข้อบทที่ ๙ เกี่ยวกับกฎหมาย ในระดับประเทศเพื่อการป้องกันการเคลื่อนย้ายข้ามxxxอย่างผิดกฎหมาย รวมทั้ง การทบทวนและพัฒนากฎหมาย ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามxxxของของเสียและการร่วมมือกับกฎหมายในระดับประเทศเพื่อการลงโทษ หรือบทลงโทษเก่ียวกับการเคลื่อนย้ายข้ามxxxอย่างผิดกฎหมายสําหรับของเสียอันตรายและของเสียอ่ืน ๆ
๒. กระตุ้นให้ภาคีจัดเตรียมข้อมูลเก่ียวกับกฎหมายในระดับประเทศและมาตรการอื่น ๆ เพื่อการปฏิบัติตามและการบังคับใชตามอนุสัญญาบาเซล
๓. xxxxxxxให้ภาคีแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านสํานักเลขาธิการฯ เกี่ยวกับแนวปฏิบัติxxxxxในการ ป้องกันและต่อต้านการเคลื่อนย้ายข้ามxxxอย่างผิดกฎหมาย และรายงานกรณีการลักลอบเคลื่อนย้ายข้ามxxx xxxxxxรับการยืนยันให้แก่สํานกเลขาธิการฯ โดยใชแบบฟอรมที่กําหนดขึ้น
๔. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ จัดเตรียมรายงานและข้อเสนอแนะความเป็นไปได้ในการบูรณาการ ระหว่าง ๓ อนุสัญญา เพื่อป้องกันและต่อต้านการเคลื่อนย้ายข้ามxxxอย่างผิดกฎหมายและการค้าเกี่ยวกับ สารเคมีอันตรายและของเสีย ซึ่งเป็นบทเรียนจากอนุสัญญาบาเซล
๔.๔ ความช่วยเหลือด้านเทคนิควิชาการในด้าน
๔.๔.๑ การxxxxxxxxxxขีดความxxxxxx
สํานักเลขาธิการฯ ได้รายงานความxxxxxxxxในการสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้ง การสร้างความxxxxxxxxเกี่ยวกับกฎหมายและการบังคับใช้บทบัญญัติแห่งอนุสัญญาฯ และการให้ความร่วมมือ
กับองค์กรระหว่างประเทศต่างๆ เพื่อให้ที่ประชุมพิจารณาตลอดจนประเด็นที่ภาคีสมาชิกต้องการความ ช่วยเหลือทางเทคนิคและการถ่ายทอดเทคโนโลยี และปัญหาอุปสรรคในการปฏิบตั ิตามอนุสัญญาบาเซล
มติข้อตัดสินใจ
๑. xxxxxกับการพัฒนาระบบข้อมูลในการรวบรวมข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับความต้องการ ของภาคีในการดําเนินการตามพันธกรณี
๒. xxxxxxxให้ภาคีสมาชิกจากกลุ่มประเทศกําลังพัฒนาจัดส่งประเด็นที่ต้องการ ความช่วยเหลือทางเทคนิคและการถ่ายทอดเทคโนโลยี และปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติตามอนุสัญญาบาเซล ให้สํานักเลขาธิการฯ รวมทั้ง xxxxxxxให้ประเทศที่พัฒนาแล้วxxxxxxxเป็นและไม่เป็นภาคีสมาชิกจัดส่งประเด็น ท่ีพรอมจะให้ความช่วยเหลือและถ่ายทอดใหแก่ประเทศกําลังพัฒนา ให้สํานกเลขาธิการฯ ต่อไป
๓. เน้นยําบทบาทหลักของศูนย์xxxxxxxฯ ซึ่งเป็นไปตามข้อบัญญัติของอนุสัญญาบาเซล และอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ รวมทั้ง สํานักงานระดับxxxxxxxและอนุxxxxxxxของหน่วยงาน FAO ในการให้ความช่วยเหลือ ด้านเทคนิควิชาการตามที่ร้องขอในระดับxxxxxxx รวมทั้ง การปฏิบัติตามโครงการความช่วยเหลือด้านเทคนิค วิชาการและการอํานวยความสะดวกในการถ่ายทอดเทคโนโลยีใหแก่ภาคีที่เหมาะสม
๔. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ เสนอรายงานความคืบหน้าในการจัดเตรียมการให้ ความช่วยเหลือทางเทคนิควิชาการเพื่อxxxxxxxxxขีดความxxxxxxและการxxxxxxxxการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่ภาคี ในการประชุม COP-13 และจัดเตรียมโครงการความช่วยเหลือด้านเทคนิควิชาการ ในช่วงปี ค.ศ. 2018 - 2019 ตามข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ รวมท้ัง คํานึงถึงขั้นตอนการบูรณาการตลอดจนการประเมินผลโครงการความ ช่วยเหลือด้านเทคนิควิชาการ
๔.๔.๒ การดําเนินงานของศูนย์xxxxxxxเพื่อการxxxxxxงานอนุสญญาฯ
สํานักเลขาธิการฯ รายงานให้ท่ีประชุมทราบถึงสถานภาพการดําเนินงานศูนย์xxxxxxxฯ
มติข้อตัดสินใจ
๑. รับทราบสถานภาพการดําเนินงานของศูนย์xxxxxxxเพื่อการxxxxxxงานอนุสัญญาบาเซล รวมทังความแตกต่างของศูนย์xxxxxxxฯ ของอนุสญญาบาเซล และศูนย์xxxxxxxของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ
๒. เรียกร้องในประเด็นข้อตัดสินใจร่วมxxxxxxx ๓ อนุสัญญาเกี่ยวกับการxxxxxxxxxx ความร่วมมือและการxxxxxxงานร่วมกัน ซ่ึงเป็นผลจากการประชุมรัฐภาคีร่วมทั้ง ๓ อนุสัญญา ในปี ค.ศ. 2013 xxxxxxxประชุมมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการติดตามการทบทวนในประเด็นการบูรณาการ ซ่ึงกระตุ้นให้มีการดําเนินงาน ทั้งในระดับประเทศและระดับxxxxxxx โดยxxxxxxxการให้ความร่วมมือและการxxxxxxงานของศูนย์xxxxxxxฯ ของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ และอนุสัญญาบาเซล
๓. ขอให้สํานักเลขาธิการฯ รวบรวมผลการดําเนินงานและรายงานให้ที่ประชุม COP-
13 พิจารณาต่อไป
๔. ตัดสินใจใหม้ ีการประเมินพฤตกรรมและความยงยื่ัิ นของศูนย์xxxxxxxฯ และศูนย์
xxxxxxงานของอนุสัญญาบาเซลในการประชุม COP-14 และทุกๆ ๔ ปี
๕. xxxxxxxศูนย์xxxxxxxฯ และศูนย์xxxxxxงาน พิจารณาจัดให้มีกิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับสารปรอทภายใต้อนุสัญญาบาเซล และขอให้สํานักเลขาธิการฯ ทําการประเมินเกี่ยวกับเกณฑ์
ในการบูรณาการ รวมท้ังร้องขอสํานักเลขาธิการฯ ให้นําเสนอข้อมูลเพื่อการพิจารณาในการประชุม INC-7
ของอนุสัญญาxxxxxxxxว่าxxxxxxxปรอท
๔.๔.๓ การดําเนินงานตามมติข้อxxxxxxxxxxx V/32 เกี่ยวกับการขยายขอบเขตของ Trust Fund เพื่อช่วยเหลือประเทศกําลังพัฒนาและประเทศที่ต้องการความช่วยเหลือทางเทคนิคในการดําเนินงาน ตามอนุสัญญาบาเซล
สํานักเลขาธิการฯ รายงานให้ที่ประชุมพิจารณาการแก้ไขประเด็นเกี่ยวกับ “Procedure” ในข้อบทxxx XX ของส่วนที่ ๑ ของแนวทางเบ้ืองต้นสําหรับการดําเนินการตามมติข้อxxxxxxxxxxx V/32 เก่ียวกับ การขยายขอบเขตของ Trust Fund เพื่อความรวดเร็วของกระบวนการภายใต้กลไกความช่วยเหลือฉุกเฉิน ท้ังนี้ บางประเทศเห็นว่ากลไกช่วยเหลือฉุกเฉินดังกล่าวยังมีข้อจํากัด จึงเสนอขอให้สํานักเลขาธิการฯ พิจารณา xxxxxประสิทธิภาพการดําเนินงานดังกล่าว
มติข้อตัดสินใจ
๑. xxxxxในความร่วมมือกันของ Joint UNEP/Office for the Coordination of Humanitarian Affairs (OCHA), Environmental Unit และสํานักเลขาธิการฯ เกี่ยวกับบทบาทการ xxxxxxงานภายใตกลไกความช่วยเหลือฉุกเฉิน
๒. xxxxxxxxxxxจะแก้ไขใน Chapter IV of Part 1 ในแนวทางเบ้ืองต้นสําหรับการดําเนินการ ตามมติข้อxxxxxxxxxxx V/32 เก่ียวกับการขยายขอบเขตของ Trust Fund
๔.๕ ประเด็นด้านความร่วมมือ การxxxxxxงาน และโครงการหุนส่วนความร่วมมือระหว่างประเทศ
๔.๕.๑ แผนงานโครงการหุ้นส่วนความร่วมมืออนุสัญญาบาเซลเกี่ยวกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ฯ
(Partnership for Action on Computing Equipment : PACE)
สํานักเลขาธิการฯ รายงานให้ที่ประชุมเพื่อพิจารณารับทราบความxxxxxxxxการ
ดําเนินงานของ PACE
มติข้อตัดสินใจ
๑. ตระหนักว่า PACE เป็นโครงการหุนส่วนความร่วมมือระหว่างสาธารณะชนและภาคเอกชน
ภายใต้กรอบแผนงานของอนุสัญญาบาเซล ซึ่งจะทําให้เกิดผลลัพธ์ที่ประสบความสําเร็จเกี่ยวกับการจัดการ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ท่ีใช้แล้วและที่หมดอายุการใช้งานแล้วอย่างเป็นxxxxกับสิ่งแวดล้อม
๒. เน้นย้ําการพัฒนาและการปฏิบัติตามxxxxxxxxxxการจัดการอย่างเป็นxxxxกับ ส่ิงแวดลอมของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และขยะอิเล็กทรอนิกส์อ่ืนในระดับประเทศและระดับxxxxxxx
๓. ร้องขอให้คณะทํางาน PACE ดําเนินงานตามแผนงานสําหรับปี ค.ศ. 2014 - 2015 ให้สําเร็จลุล่วง อาทิ การทบทวนเอกสารแนวทางการจัดการอย่างเป็นxxxxกับสิ่งแวดล้อมในการเคลื่อนย้ายข้ามxxx ของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ รวมทั้งการรับรองแนวทางการเคล่ือนย้ายข้ามxxxของขยะอิเล็กทรอนิกส์
๔.๕.๒ โครงการ ENFORCE (Environmental Network for Optimizing Regulatory
Compliance on Illegal Traffic)
ของ ENFORCE
สํานักเลขาธิการฯ รายงานxx
xxประชุมเพ่ือพิจารณารับทราบความxxxxxxxxการดําเนินงาน
มติขอตดสินใจ
๑. กระตุ้นให้สมาชิก ENFORCE ให้ความร่วมมือและแลกเปลี่ยนประสบการณ์อย่าง ต่อเนื่องต่อไป รวมทง้ จัดเตรียมข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องและกิจกรรมการxxxxxxxxxxขีดความxxxxxxในการป้องกันและ ต่อต้านการเคลื่อนย้ายข้ามxxxอย่างผิดกฎหมาย
๒. แต่งตง้ ผู้แทน ๕ ท่าน จาก ๕ xxxxxxx ในการทําหนาที่เป็นสมาชิก ENFORCE
๓. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ ภายใต้งบประมาณท่ีมีอยู่จัดให้มีการประชุม ENFORCE
ประจําปี และรายงานให้ที่ประชุม COP-13 รับทราบเกี่ยวกับการดําเนินงานของ ENFORCE
๔.๕.๓ โครงการการจัดการอย่างเป็นxxxxกับสิ่งแวดล้อมในส่วนของของเสียจากบานเรือน
ประเทศมอริเชียสได้มีข้อเสนอร่วมกับประเทศอุรุกวัยในการริเริ่มการดําเนินการ เก่ียวกับการจัดการอย่างเป็นxxxxกับสิ่งแวดล้อมในส่วนของของเสียจากบ้านเรือน และเสนอให้มีการจัดตั้งกลุ่ม ไม่เป็นทางการเพ่ือการพัฒนาแผนการดําเนินงานในการประชุม OEWG ครั้งต่อไป ทั้งนี้ ประเทศอุรุกวัยเน้นย้ําในเร่ือง ของการป้องกันและเสนอแนะให้มีการดําเนินการร่วมระหว่างรัฐบาลxxxxxxxx ภาคเอกชน และองค์กรสาธารณะ รวมทงั องค์กรเอกชนและผู้เก็บขยะ
มติข้อตัดสินใจ
๑. เน้นยํ้าว่ามาตรการต่างๆ จะต้องxxxxxxxxxxxป้องกันและการลดของเสียอันตราย และของเสียอ่ืน ๆ จากแหล่งกําเนิด โดยคํานึงถึงความเจริญทางเศรษฐกิจ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง กับการเกิดขยะและการปรับปรุงระบบการรวบรวม การคัดแยก การรีไซเคิล การฟื้นฟู และการกําจัดขั้นสุดท้าย รวมทง้ การจัดการวัตถุอันตรายหรือสารอนตรายที่มีอยู่ในของเสียจากบ้านเรือน
๒. xxxxxxxภาคีและผู้เกี่ยวข้องท่ีสนใจเก่ียวกับการเข้าร่วมในกลุ่มไม่เป็นทางการ
เพื่อการพัฒนาแผนการดําเนินงาน ทั้งน อใหแจงสํานักเลขาธิการฯ ภายในวนทั ี่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๘
OEWG-10 พิจารณาต่อไป
๓. ร้องขอให้กลุ่มไม่เป็นทางการพัฒนาแผนการดําเนินงานเพื่อเสนอในการประชุม
๔. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ อํานวยความสะดวกในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการ
พิจารณาจัดสรรงบประมาณและการรายงานความxxxxxxxxการปฏิบัติตามข้อตัดสินใจดังกล่าวในการประชุม
COP-13
๔.๕.๔ การรื้อถอนเรืออย่างปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม
สํานักเลขาธิการฯ รายงานให้ท่ีประชุมรับทราบxxxxxxดําเนินงานในการพัฒนาแผนงาน เพ่ือการรีไซเคิลเรืออย่างยั่งยืน
มติข้อตัดสินใจ
ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ ยังxxดําเนินงานและพัฒนาแผนงานเพื่อการรีไซเคิลเรือ อย่างยั่งยืนต่อไป โดยxxxxxxกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะหน่วยงาน ILO และหน่วยงาน IMO ภายใต้ งบประมาณที่มี รวมทั้งให้รายงานต่อที่ประชุม COP-13 ต่อไป
๔.๕.๕ ความร่วมมือกับองค์การทางทะเลระหว่างประเทศ
สํานักเลขาธิการฯ ได้รายงานให้ที่ประชุมรับทราบเกี่ยวกับความร่วมมือระหว่าง อนุสัญญาบาเซลและหน่วยงาน IMO และบทวิเคราะห์ด้านกฎหมายเพื่อการประยุกต์ใช้งานตามอนุสัญญาบาเซล เกี่ยวกบการเกิดของเสียอันตรายและของเสียอ่ืนบนเรือฉบับที่ปรับปรุงใหม่
มติข้อตัดสินใจ
๑. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ เผยแพร่การประเมินแนวทางด้านเทคนิควิชาการ ของอนุสัญญาบาเซลว่าครอบคลุมของเสียตามอนุสัญญา MARPOL หรือไม่ เพื่อให้หน่วยงาน IMO รับทราบ
๒. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ จัดเตรียมแนวทางปฏิบัติในการปรับปรุงแก้ไขxxxxxx ทางทะเล-ทางบก (sea-land interface) โดยคํานึงถึง IMO’s Comprehensive Manual on Port Reception Facilities และเผยแพร่ในเว็บไซต์ของอนุสัญญาภายในxxxxxx ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ และxxxxxxxให้ภาคีและ ผู้เกี่ยวข้องพิจารณาให้ข้อคิดเห็นร่างแนวทางดังกล่าว ภายในxxxxxx ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๙ และนําเสนอร่างแนวทาง ดังกล่าวxxxxxxรับการปรับปรุงตามข้อคิดเห็นฯ ในการประชุม OEWG-10 รวมทั้งแจ้งให้หน่วยงาน IMO ทราบxxx xxxพัฒนาข้อตัดสินใจxxxxxxจากอนุสัญญาบาเซลและติดตามการพิจารณาของคณะกรรมการเพื่อxxxxxxสิ่งแวดล้อม ทางทะเล (Marine Environmental Protection) และคณะกรรมการเพื่อความปลอดภัยทางทะเล (Maritime Safety) ที่มีประเด็นเกี่ยวข้องกบอนุสัญญาบาเซลและxxxxxxการดําเนินงานร่วมกับหน่วยงาน International Organization for Standardization
๓. ร้องขอให้ที่ประชุม OEWG-10 พิจารณาแนวทางการปรับปรุงแก้ไขxxxxxx ทางทะเล - ทางบก (sea-land interface) ก่อนเสนอใหการประชุม COP-13 ต่อไป
๔.๕.๖ ความร่วมมือและการxxxxxxงานระหว่างประเทศอื่น ๆ
สํานักเลขาธิการฯ ได้รายงานให้ที่ประชุมทราบความxxxxxxxxในการดําเนินงาน ของสํานักเลขาธิการฯ เก่ียวกับความร่วมมือระหว่างประเทศกับหน่วยงาน World Trade Organization (WTO) และพิจารณาxxxxxxงานในระดับประเทศและระดับxxxxxxxเพื่อสนับสนุนความxxxxxxของสํานักเลขาธิการฯ เกี่ยวกับความร่วมมือระหว่างประเทศอื่น ๆ
มติข้อตัดสินใจ
รับทราบความxxxxxxxxในการดําเนินงานของสํานักเลขาธิการฯ และขอให้สํานักเลขาธิการฯ ร่วมมือและxxxxxxงานกับองค์กรระหว่างประเทศ องค์กรระดับxxxxxxx และข้อตกลงพหุภาคีด้านสิ่งแวดล้อม ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกบอนุสัญญาบาเซลอย่างxxxxxxxxต่อไป
๔.๖ การระดมทรัพยากรและการจัดสรรงบประมาณ
สํานักเลขาธิการฯ รายงานให้ที่ประชุมทราบเกี่ยวกับการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ และความxxxxxxxx ของศูนย์xxxxxxxเพื่อการxxxxxxงานอนุสัญญาบาเซลในประเด็นการระดมทรัพยากรและการจัดสรรงบประมาณ เพื่อการดําเนินงานอนุสัญญาฯ อย่างยั่งยืน
มติข้อตัดสินใจ
๑. ช่ืนชมสํานักเลขาธิการฯ ในการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้ง ความxxxxxxxxของศูนย์xxxxxxx เพื่อการxxxxxxงานอนุสัญญาบาเซลในประเด็นการระดมทรัพยากรและการจัดสรรงบประมาณเพื่อการ
ดําเนินงานอนุสัญญาฯ อย่างย่ังยืน และการสนับสนุนงบประมาณจากผู้บริจาคเพื่อให้ความช่วยเหลือภาคี สมาชิกในการดําเนินงานตามอนุสญญาฯ
๒. ขอให้ติดตามผลการประชุมหารือเก่ียวกับทางเลือกทางการเงินสําหรบการจัดการสารเคมี
และของเสีย
๓. ขอให้สํานักเลขาธิการฯ ดําเนินการ (๑) xxxxxxxxxxขีดความxxxxxxของศูนย์xxxxxxx
เพื่อการxxxxxxงานอนุสัญญาบาเซลในด้านการระดมทรัพยากรในxxxxxxxของตน เพื่อให้มีการดําเนินงานระดับ ประเทศและระดับxxxxxxx (๒) อํานวยความสะดวกในการxxxxxxงานกับหน่วยงาน Global Environment Facility (GEF) และหน่วยงาน Inter-Organization Programme for the Sound Management of Chemicals (XXXX) เพื่อพัฒนาโครงการช่วยเหลือด้านเทคนิคแก่ภาคีสมาชิก (๓) xxxxxxความร่วมมืออย่างxxxxxxxxกับองค์กร ระดับxxxxxxxและหน่วยงานระหว่างประเทศเพ่ือพัฒนาโครงการต่าง ๆ เกี่ยวกับการดําเนินงานอนุสัญญาฯ ในระดับ xxxxxxxและระดับประเทศ (๔) ดําเนินกิจกรรมที่มีการดําเนินงานร่วมกันระหว่างอนุสัญญาบาเซล อนุสัญญา รอตเตอร์ดัมฯ และอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ ให้กว้างขวางขึ้น และ (๕) รายงานความxxxxxxxxเกี่ยวกับประเด็น ดังกล่าวในที่ประชุม COP-13
๔.๗ การดําเนินการและแผนงานสําหรับที่ประชุม OEWG ระหว่างปี ค.ศ. 2016 - 2017
สํานักเลขาธิการฯ รายงานให้ที่ประชุมทราบถึงกรอบแผนงานและข้อเสนอด้านงบประมาณ สําหรับท่ีประชุม OEWG ระหว่างปี ค.ศ. 2016 - 2017 ซึ่งมีประเด็นเร่งด่วน คือ ๑) ประเด็นด้านxxxxxxxxxx การดําเนินงานของอนุสัญญาฯ ๒) ประเด็นด้านเทคนิควิชาการและวิทยาศาสตร์ ๓) ประเด็นด้านกฎหมาย การบังคับ ใช้กฎหมาย และการกํากับดูแล ๔) ความช่วยเหลือด้านเทคนิควิชาการ ๕) ประเด็นด้านความร่วมมือและการ xxxxxxงานระหว่างประเทศ ๖) การระดมทรัพยากรและการจัดสรรงบประมาณ และ ๗) กรอบแผนงานสําหรับที่ ประชุม OEWG รวมทั้งการพิจารณารูปแบบใหม่สําหรับการประชุม OEWG และทางเลือกการดําเนินงานของที่ ประชุม OEWG เพื่อความxxxxxระหว่างบุคลากรและงบประมาณ โดยมีทางเลือก ๓ ทางเลือก คือ ๑) Option A : ใช้แนวทางตามxxxxxxจัดการประชุม OEWG-8 และการประชุมก่อนหน้า กล่าวคือจดให้มีการประชุมเต็มรูปแบบโดย ใช้ ๖ ภาษา UN เป็นภาษาหลัก รวมระยะเวลา ๔ วัน ในส่วนของการประชุมกลุ่มย่อยให้จัดประชุมตามxxxxxxรับ มอบหมายจากท่ีประชุมเต็มรูปแบบ โดยจดประชุมคู่ขนานกันและไม่มีการแปลเป็น ๖ ภาษา UN xxxxxxx xxxประชุมฯ อนุญาตให้ภาคีทั้งหมดและผู้xxxxxxxxxxxเข้าร่วมประชุมฯ ได้ตามความเห็นชอบของ COP ๒) Option B : ยังxx รูปแบบเดิมของ Option A ไว้ แต่จดให้มีการประชุมเต็มรูปแบบโดยใช้ ๖ ภาษา UN เป็นภาษาหลักรวมระยะเวลา เพียง ๒ วัน โดยจัดในวันแรกและวันสุดท้ายของการประชุมฯ ในส่วนของการประชุมกลุ่มย่อยจัดให้มีการประชุมรวม ระยะเวลา ๒ วันโดยไม่มีการแปล และ ๓) Option C : อาจยุติการประชุม OEWG และจัดตั้งหน่วยงานย่อยด้าน วิทยาศาสตร์และเทคนิควิชาการ ซึ่งเรียกว่า “Scientific and Technical Committee : STC” โดยที่ประชุม COP จะ แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อดําเนินงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคนิควิชาการตามความจําเป็น ท้ังนี้ การดําเนินงานของ ท่ีประชุม OEWG ก่อนหน้าน้ี ซึ่งไม่เก่ียวข้องกับ STC ให้ดําเนินการโดย COP
ปรับปรุงเพิ่มเติม
มติขอตดสินใจ
๑. เห็นชอบกับกรอบแผนงานสําหรับที่ประชุม OEWG ระหว่างปี ค.ศ. 2016-2017 ตามที่
๒. กําหนดจัดการประชุม OEWG-10 ระยะเวลารวมทังส ๔ วัน โดยการแปลเป็น ๖ ภาษา UN
เป็นเวลา ๓ วัน ท้ังนี้ เพื่อใหเกิดความยืดหยุ่นตามความเห็นของ Executive Secretary
๓. ขอให้ภาคีและผู้เก่ียวข้องจัดส่งข้อคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนรูปแบบใหม่สําหรับการ ประชุม OEWG ให้สํานักเลขาธิการฯ ภายในxxxxxx ๓๑ xxxxxx ๒๕๕๙ โดยพิจารณาจากประสบการณ์xxxxxxรับ จากการจดประชุม OEWG-10
๔. เสนอแนะให้ที่ประชุม COP-13 พิจารณารับรองข้อตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดเตรียม สถาบันในxxxxxสําหรับการดําเนินงานของ OEWG โดยคํานึงถึงข้อเสนอแนะxxxxxxรับจากภาคีและผูเกี่ยวข้อง
๕. ภาคผนวกของข้อตัดสินใจเกี่ยวกับการดําเนินงานและแผนงานสําหรับที่ประชุม OEWG ในระหว่างปี ค.ศ. 2016 - 2017 ประกอบด้วยกิจกรรม ๑) ประเด็นด้านxxxxxxxxxx ๒) ประเด็นด้านเทคนิค วิชาการและวิทยาศาสตร์ ๓) ประเด็นด้านกฎหมาย การบังคับใช้กฎหมายและการกํากับดูแล ๔) ประเด็นด้าน ความร่วมมือ การxxxxxxงาน ๕) การดําเนินการและแผนงาน รวมทั้งงบประมาณ
วาระที่ ๕ แผนการดําเนินงานของสํานักเลขาธิการฯ และการรับรองงบประมาณ
สํานักเลขาธิการร่วมทั้ง ๓ อนุสัญญาฯ ได้จัดทําแผนการดําเนินงานในส่วนของสํานักเลขาธิการ อนุสัญญาบาเซล และประเด็นที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณ ควบคู่กับแผนการดําเนินงานของสํานักเลขาธิการ อนุสัญญารอตเตอร์ดมฯ และอนุสญญาสตอกโฮล์มฯ
มติข้อตัดสินใจ
๑. xxxxxxx UNEP Executive Director พิจารณาความเป็นไปได้ของการจัดต้ัง single joint voluntary trust fund สําหรับ ๓ อนุสัญญา และขอให้นําเสนอข้อเสนอดังกล่าวในการประชุม COPs ครั้งต่อไป
๒. ท่ีประชุมมีมติเห็นชอบกับแผนการดําเนินงานของสํานักเลขาธิการฯ และรับรองงบประมาณ สําหรับโครงการภายใต้อนุสัญญาบาเซล ในระหว่างปี ค.ศ. 2016 - 2017 กล่าวคือ ในปี ค.ศ. 2016 เป็นเงินทั้งสิ้น
๔,๘๐๐,๘๕๔ เหรียญสหรัฐ และในปี ค.ศ. 2017 เป็นเงินทั้งส ๔,๖๐๓,๙๙๐ เหรียญสหรัฐ
๓. ตัดสินใจโดยพิจารณาจากการให้ความช่วยเหลือต้ังแต่xxxxxx ๑ xxxxxx ๒๕๕๓ เป็นต้นมา ว่า ภาคีใดที่ค้างชําระค่าภาคีอนุสัญญาฯ ติดต่อกัน ๒ ปี หรือมากกว่า จะไม่xxxxxxเข้าร่วมเป็นสมาชิกในการ ประชุม COP หรือเข้าร่วมเป็นสมาชิกในองค์กรย่อยภายใต้ COP ได้ ทั้งนี้ ไม่ร่วมภาคีจาก LDCs และ SIDS หรือภาคีxxxxxxมีข้อตกลงและจ่ายค่าภาคีฯ ตามกําหนดการตามกฎxxxxxxxด้านการเงิน และคํานึงถึงกฎข้อ ๕ ของกฎxxxxxxxด้านการเงินเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือตั้งแต่xxxxxx ๑ xxxxxx ๒๕๔๔ เป็นต้นมา ว่า ภาคีใด ที่ค้างชําระค่าภาคีอนุสัญญาฯ ติดต่อกัน ๔ ปี หรือมากกว่า และไม่มีข้อตกลงหรือไม่จ่ายค่าภาคีฯ ตามกําหนด การตามกฎxxxxxxxด้านการเงิน จะไม่xxxxxxxxxรับการสนับสนุนทางการเงินในการเข้าร่วมการประชุม เชิงปฏิบัติการระหว่างสมยประชุมและการประชุมไม่เป็นทางการต่าง ๆ
วาระท่ี ๖ กําหนดการและสถานที่จัดการประชุมรัฐภาคีอนุสญญาบาเซล สมัยที่ ๑๓
ที่ประชุมมีมติข้อตัดสินใจในการจัดประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาบาเซล สมัยที่ ๑๓ ต่อเนื่องกับการ ประชุมรัฐภาคีอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ สมัยท่ี ๘ การประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ สมัยที่ ๘ โดยจะจัด ให้มีการประชุมระดับสูงด้วย ทั้งนี้ สํานักเลขาธิการร่วมทั้ง ๓ อนุสัญญาฯ แจ้งให้ทราบกําหนดการที่คาดว่า น่าจะเป็นไปได้ กล่าวคือ ในระหว่างxxxxxx ๒๓ เมษายน - ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ณ ศูนย์การประชุมนานาชาติ xxxเจนีวา xxxเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส
วาระที่ ๗ เรื่องอื่น ๆ
บนทึกข้อตกลงระหว่างที่ประชุมรัฐภาคีของอนุสัญญาบาเซลและหน่วยงาน UNEP
สํานักเลขาธิการฯ ขอให้ท่ีประชุมพิจารณาบันทึกข้อตกลงระหว่างท่ีประชุมรัฐภาคี (COP) ของอนุสัญญา บาเซล และหน่วยงาน UNEP ซึ่งมีสาระสําคัญเก่ียวกับการปรับบทบาทของสํานักเลขาธิการอนุสัญญาบาเซล ให้สอดคล้องกบมติข้อตัดสินใจของ UN General Assembly ท่ี 60/283 ลงxxxxxx ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ โดยยึด แนวปฏิบัติxxxxเดียวกับบันทึกข้อตกลงระหว่างหน่วยงาน UNEP และอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ และข้อตกลงพหุภาคีดานสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ทั้งนี้ คาดว่าจะมีการรบรองในการประชุม COP-13
นอกจากนี้ ท่ีประชุมยังได้ขอให้ UNEP Executive Director แจ้งในการประชุมคณะกรรมการ ของxxxxxxxxxxxxสาม (Bureaux of the COPs) ทราบเกี่ยวกับการจัดเตรียมเอกสารการประชุม UNEA
ในสมัยที่ ๒ ในประเด็นความxxxxxxxxระหว่าง Special Programme กบสํานักเลขาธิการฯ ของท
วาระที่ ๘ ปิดการประชุม
๓ อนุสัญญาฯ
Mr. Lissinger Peitz สาธารณรัฐโปแลนด์ ประธานฯ กล่าวปิดประชุม เมื่อxxxxxx ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๓.๓๗ น.
สิ่งที่ประเทศไทยจะต้องดําเนินการต่อไป
๑. หารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในประเด็นขอบเขตการปฏิบัติงานตามกฎหมาย ภายในประเทศ การตีความคําศัพท์ต่าง ๆ เพื่อให้การดําเนินงานสอดxxxxกับอภิธานศัพท์ฯ ฉบับปรับปรุงแก้ไข ตามมติข้อตัดสินใจxxxxxxรับการรับรองจากการประชุมรัฐภาคีฯ
๒. ดําเนินการอย่างต่อเนื่องต่อไปในการป้องกัน การลด และการนําxxxxxxใช้ประโยชน์ใหม่ ของของเสียอันตรายและของเสียอื่นตามxxxxxxxxxxตาเฮนาฯ อาทิ การออกกฎหมายเกี่ยวกับการจัดการขยะ แห่งชาติและการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ การดําเนินงานเกี่ยวกับ “waste exchange” ในภาคอุตสาหกรรม และการxxxxxxxxxxขีดความxxxxxxของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการติดตาม และเฝ้าระวังการเคลื่อนย้ายข้ามxxxอย่างผิดกฎหมาย
๓. นําแนวทางด้านเทคนิควิชาการสําหรับการจัดการของเสียต่าง ๆ xxxxxxรับการรับรองตามมติข้อตัดสินใจ ในการประชุมรัฐภาคีฯ มาประยุกต์ใช้ภายในประเทศ รวมทั้งการจัดทําแนวทางด้านเทคนิควิชาการฯ เป็น ภาษาไทย และเผยแพร่ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา และประชาชนทั่วไปได้นําไปใช้ ประโยชน์ต่อไป
๔. ใหความร่วมมือกับสํานักเลขาธิการฯ และภาคีสมาชิกอื่น ๆ ตามความเหมาะสม ในการดําเนินโครงการ หุนส่วนความร่วมมือระหวางประเทศในด้านต่าง ๆ อาทิ แผนงานโครงการหุ้นส่วนความร่วมมืออนุสัญญาฯ เพื่อป้องกัน และต่อต้านการเคลื่อนย้ายข้ามxxxอย่างผิดกฎหมาย การร้ือถอนเรืออย่างปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม และความ ร่วมมือกับองค์การทางทะเลระหว่างประเทศ
๕. จัดประชุมคณะอนุกรรมการอนุสัญญาบาเซล ภายใต้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติในประเด็น การพิจารณาดําเนินการตามพันธกรณีของอนุสัญญาฯ อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการพิจารณาข้อเสนอแนะของไทย สําหรับการประชุมรัฐภาคีสมัยต่อไป
๒. ผลการประชุมรฐภาคีอนุสญญารอตเตอร์ดัมฯ สมัยที่ ๗ (RC COP7)
วาระที่ ๑ เปิดการประชุม
การประชุมรัฐภาคีอนุสญญารอตเตอร์ดัมฯ สมัยที่ ๗ ไดเปิดการประชุม ในxxxxxx ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เวลา ๑๐.๐๐ น. โดยมี Mr. Xxxxxxxx Xxxxxxxxxxx ประเทศxxxxxxx เป็นประธานการประชุมฯ
วาระที่ ๒ รับรองวาระการประชุม
ท่ีประชุมรับรองวาระการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ สมัยที่ ๗ ดังนี้
1. Opening of the meeting.
2. Adoption of the Agenda.
3. Organizational matters:
(a) Election of officers;
(b) Organization of work;
(c) Report on the credentials of representatives to the seventh meeting of the Conference of the Parties.
4. Rules of procedure for the Conference of the Parties.
5. Matters related to the implementation of the Convention:
(a) Status of implementation;
(b) Consideration of chemicals for inclusion in Annex III to the Convention;
(c) Non-compliance;
(d) Technical assistance;
(e) Financial resources;
(f) International cooperation and coordination.
6. Programme of work and budget.
7. Venue and date of the eighth meeting of the Conference of the Parties.
8. Other matters.
9. Adoption of the report.
10. Closure of the meeting.
วาระที่ ๓ ประเด็นด้านการจัดประชุม: การคัดเลือกคณะกรรมการพิจารณาทบทวนสารเคมี (CRC)
เม่ืxxxxxxx ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ผู้แทนสํานักเลขาธิการฯ ได้เสนอที่ประชุมพิจารณาเอกสารเก่ียวกับ คณะกรรมการพิจารณาทบทวนสารเคมีและการพัฒนาการดําเนินการโดยที่ประชุมรัฐภาคี (UNEP/FAO/COP.7/6) ซึ่งประกอบด้วย การหมุนเวียนสมาชิก การเลือกประธาน CRC ความร่วมมือและการxxxxxxงานกับองค์กรอื่น การเข้าร่วมประชุมอย่างมีประสิทธิภาพ และประเด็นด้านข้ันตอน xxxxxxx xxxประชุมได้เลือกให้นาย Jurgen Helbig ผู้แทนราชอาณาจักรสเปน เป็นประธาน CRC และประธานได้รายงานผลการทํางานของคณะกรรมการ ซึ่งได้แก่
การประชุม CRC10 ได้เห็นชอบการแจ้งสาร Tributyltin และ Short - chained chlorinated paraffins ว่าเข้า ข่ายตามหลักเกณฑ์ในภาคผนวก ๒ และมีการแจ้งกฎxxxxxxxขั้นสุดท้ายใหม่อีก ๔ รายการ ซึ่งพิจารณาในการ ประชุม CRC11 ต่อไป
มติข้อตัดสินใจ
๑. เห็นชอบให้แต่งตง้ ผู้เชี่ยวชาญ ๑๗ คน ให้ปฏิบ ิหน้าที่เป็นคณะกรรมการ CRC
๒. รับรองรายช่ือ ๑๔ ภาคีที่เสนอชื่อคณะกรรมการ CRC สําหรับเทอมที่จะเริ่มในxxxxxx ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙
๓. เลือกให้นาย Xxxxxx Xxxxxx ผ ทนราชอาณาจักรสเปน เป็นประธาน CRC
๔. เห็นชอบกับคู่มือขั้นตอนการทํางานและแนวนโยบายสําหรบั CRC
๕. ขอให้สํานักเลขาธิการฯ ดําเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการสําหรับกรรมการใหม่ตามทรัพยากร ท่ีมีอยู่และรายงานผลการดําเนินกิจกรรมดังกล่าวต่อที่ประชุมรัฐภาคีสมัยที่ ๘ ต่อไป
วาระที่ ๔ กฎxxxxxxxของการประชุม
เม่ืxxxxxxx ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ผู้แทนสํานักเลขาธิการฯ ได้นําเสนอเอกสารการประชุมวาระนี้ (UNEP/FAO/ RC/COP.7/3) เตือนความจําของที่ประชุมถึงข้อตัดสินใจในการยกเอาวงเล็บออกจากกฎข้อ ๔๕ เพ่ือยอมให้ใช้การโหวตออกเสียงส่วนใหญ่ตัดสินเมื่อความxxxxxxในการxxxxxข้อตัดสินใจโดยxxxxxมตินั้นล้มเหลว ซึ่งได้มีการพิจารณาประเด็นนีในทุก ๆ การประชุมรัฐภาคีท่ีผ่านมา ประธานไดเสนอแนะนําxxxxxxประชุมรัฐภาคีสมัยที่ ๗ ควรจะให้xxวงเล็บไว้อย่างเดิมและใช้เวลาในการอภิปรายวาระสําคัญอย่างอ่ืนจะดีกว่า ซึ่งผู้แทนสาธารณรัฐโคลัมเบีย ได้กล่าวว่าทางเลือกสุดท้ายคือการโหวตเป็นสิ่งจําเป็นเพ่ือป้องกันภาคีใดภาคีหนึ่งจากการขัดขวางการกําหนดสารเคมี ดังน้นจึงสนับสนุนให้เอาวงเล็บออก ในขณะท่ีสหภาพยุโรป สมาพันธรัฐสวิส สาธารณรัฐนามิเบีย สาธารณรัฐอาร์เจนตินา สาธารณรัฐคิวบา สหพนธรฐรัสเซีย และสาธารณรฐคาร์ซัคสถาน สนับสนุนการตัดสินใจโดยxxxxxมติ
มติขอxxxxxxxx
xxxประชุมยังไม่เห็นดวยท่ีจะเอาวงเล็บออกจากกฎการดําเนินการประชุมข ๔๕
วาระที่ ๕ ประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับการดําเนินงานตามอนุสัญญาฯ
๕.๑ สถานภาพการดําเนินงานตามพันธกรณีของอนุสัญญาฯ
เม่ือวนท่ี ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ประธานได้ขอใหภาคีอภิปรายประเด็นข้อมูลการปฏิบัติตามก่อนแล้ว จึงพิจารณาข้อเสนอการxxxxxการแจ้งกฎxxxxxxxข้ันสุดท้าย และสุดท้ายการแลกเปลี่ยนข้อมูลการส่งออกและการแจ้ง การส่งออก ผูแทนสํานักเลขาธิการฯ ได้แนะนําเอกสารข้อมูลการปฏิบัติตาม (UNEP/FAO/RC/COP.7/ INF/5) โดยเนนว่าหลายประเทศยังไม่ส่งการตอบรับการนําเขาของสารเคมีท่ีกําหนดในภาคผนวก ๓ โดยผู้แทนสหภาพยุโรป ได้ขอให้สํานักเลขาธิการฯ แจ้งภาคีถึงสถานภาพการปฏิบัติตามและเสนอแนะการใช้แบบสํารวจในการดําเนินการ
ดังกล่าว ประธานเสนอว่าxx xxประชุมมีมติรับทราบเอกสารข้อมูลดังกล่าวโดยระบุไว้ในรายงานการประชุม รวมxxx
xxxร้องขอของสหภาพยุโรปที่ให้ดําเนินการสํารวจในเรื่องดังกล่าว สํานักเลขาธิการฯ ได้นําเสนอเอกสารข้อเสนอ การxxxxxการแจ้งกฎxxxxxxxขั้นสุดทาย (UNEP/FAO/RC/COP.7/4) ให้ท่ีประชุมรับทราบว่าจํานวนภาคีxxxxxxจัดส่ง การแจ้งมีจํานวนต่ํามาก สหภาพยุโรปได้เรียกร้องให้ภาคีจัดส่งการxxxxxxxเท่าที่จะเป็นไปได้เพื่อหลีกเลี่ยงการ
- ๒๑ -
กําหนดสารเคมีxxxxxxxxx และเสนอใหแก้ไขข้อตัดสินใจให้รวมถึงข้อเรียกร้องให้สํานักเลขาธิการฯ แจ้งภาคีเกี่ยวกับ การปรากฏอยู่ของxxxxxxxxหลากหลายและความยุ่งยากในการใช้คําxxxxxxxxแตกต่างกันในการปฏิบัติ ผู้แทน สมาพันธรัฐสวิสขอให้มีการสนับสนุนประเทศกําลังพัฒนาในการจัดส่งการแจ้ง ประธานเสนอให้สํานักเลขาธิการฯ จัดเตรียมร่างข้อตดสินใจโดยการพิจารณาข้อแกไขท่เสนอแนะโดยสหภาพยุโรป สําหรับประเด็นการแลกเปลี่ยน ข้อมูลการส่งออกและการแจ้งการส่งออก ผู้แทนสํานักเลขาธิการฯ ได้แนะนําเอกสาร(UNEP/FAO/RC/COP.7/5 and INF/13) ซึ่งผู้แทนสหภาพยุโรปได้แสดงถึงความกังวลเกี่ยวกับการขาดการยอมรับการได้รับการแจ้งการ ส่งออก ซึ่งนําไปสู่การท่ีสหภาพยุโรปต้องส่งการแจ้งxxxxxxมากถึง ๑,๔๐๐ ครั้งในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ จึงได้เสนอให้ แก้ไขร่างข้อตัดสินใจว่า ขอให้สํานักเลขาธิการฯ ภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่ อํานวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยน ข้อมูลและรายงานให้ท่ีประชุมรัฐภาคีแต่ละครั้งทราบ
มติข้อตัดสินใจ
กฎxxxxxxxขั้นสุดท้าย
๑. ร้องขอให้ภาคีแลกเปลี่ยนข้อมูลตามพันธกรณีของอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ โดยส่งการแจ้ง กฎxxxxxxxขั้นสุดท้ายในการห้ามหรือจํากัดการใช้สารเคมีอย่างxxxxxxx
๒. xxxxxxxxให้ภาคีจัดหาเนื้อหากฎหมายแห่งชาติและมาตรการอื่น ๆ ท่ีใช้ในการปฏิบัติตามอนุสัญญา รอตเตอร์ดัมฯ ให้กับสํานักเลขาธิการฯ
๓. ขอให้สํานักเลขาธิการฯ รวบรวมข้อมูลxxxxxxช่วยภาคีในการเตรียมการแจ้งกฎxxxxxxxขั้นสุดท้าย โดยเผยแพร่แก่ภาคีและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรูปแบบที่ใช้ประโยชน์ง่าย อาทิ ข้อมูลวิทยาศาสตร์ และวิชาการ สําหรับการประเมินความเสี่ยงและการตัดสินใจ และกฎหมายแห่งชาติและมาตรการอื่น ๆ ที่ใช้ในการปฏิบัติตาม อนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ
๔. ขอให้สํานักเลขาธิการฯ จัดหาความช่วยเหลือแก่ภาคีเพื่ออํานวยความสะดวกในการxxxxx จํานวนการแจ้งกฎxxxxxxxข้ันสุดท้าย ติดตามภาคีอย่างใกล้ชิดเพื่อประกันว่าการแจ้งของภาคีเป็นไปตามข้อมูล ที่ต้องการในภาคผนวก ๑ ของอนุสัญญาฯ จัดหาความช่วยเหลือแก่ภาคีประเทศกําลังพัฒนาและภาคีที่เศรษฐกิจ อยู่ในระยะเปลี่ยนผ่านโดยมุ่งหมายให้xxxxxจํานวนข้อเสนอในการกําหนดรายชื่อสูตรผสมสารเคมีป้องกันกําจัด ศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรง และดําเนินการสํารวจกฎxxxxxxxขั้นสุดท้ายที่ภาคีรับเอามาใช้ และเผยแพร่ผลสํารวจแก่ภาคีท้ังหมดบนเว็บไซด์ของอนุสัญญารอตเตอร์ดัม รวมถึงกิจกรรมความช่วยเหลือ ทางวิชาการเพื่อสนับสนุนภาคีมีกลไกการxxxxxxงานxxxxxxxxxxxเพื่อตัดสินใจ และกิจกรรมการให้คําปรึกษา แก่ภาคีในการใช้ประโยชน์การประเมินความเสี่ยงและการประเมินการรับสัมผัสในประเทศอื่นๆ หรือการประเมินความ เสี่ยงในระดับนานาชาติเพื่อเป็นสะพานเชื่อมไปสู่การสนับสนุนการจัดส่งข้อเสนอในแผนงานการให้ความ ช่วยเหลือทางวิชาการ และระบุปัญหาสําคัญที่ภาคีกําลังxxxxxเมื่อดําเนินการข้ันตอนการห้ามหรือจํากัดการใช้ สารที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรง
การแลกเปลี่ยนข้อมูลการสงออกและการแจ้งการส่งออก
๑. ที่ประชุมรัฐภาคีรบทราบรายงานของสํานักเลขาธิการฯ
๒. ได้ร้องขอให้ภาคีประกันการปฏิบัติตามอนุสัญญา โดยรวมxxxxxxแลกเปล่ียนข้อมูลการส่งออก และการแจ้งการส่งออก
- ๒๒ -
๓. ขอให้สํานักเลขาธิการฯ จัดหาความช่วยเหลือแก่ภาคี ตามที่มีการร้องขอในการปฏิบัติ ตามวรรคสอง ซี ของข้อบทที่ ๑๑ และ ๑๒ ของอนุสัญญา และ
๔. ขอให้สํานักเลขาธิการฯ ภายใตทรัพยากรท่ีมีอยู่ อํานวยความสะดวกในการแลกเปล่ียนข้อมูล การส่งออกและการแจ้งการส่งออก และรายงานแก่ท่ีประชุมรัฐภาคีในแต่ละครั้ง
๕.๒ การพิจารณาบรรจุรายชื่อสารเคมีเพิ่มเติมในภาคผนวก III ของอนุสัญญาฯ
๕.๒.๑ แร่ใยหิน Chrysotile (Chrysotile asbestos)
เมื่อxxxxxx ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ผู้แทนสํานักเลขาธิการฯ ได้นําเสนอเอกสารให้ที่ประชุม พิจารณา (UNEP/FAO/COP.7/11 และ Add.1) xxxxxxxประชุมได้รับทราบว่าวาระน้ีได้รับการพิจารณาและถกเถียงกัน ตั้งแต่ท่ีประชุมรัฐภาคีสมัยที่ ๓ จนถึงสมัยที่ ๖ ประธานได้เตือนความจําที่ประชุมว่าการกําหนดสารเคมีxxxxxxหมายxxx
xxxห้ามค้าขายแต่เพียงเพื่อxx xการจัดหาข้อมูลท่ีเก่ียวข้องใหแกประเทศในการพxxxxxตดิ่้ สินใจเท่าน้ัน ผู้แทน
สาธารณรัฐซิมบับเว สาธารณรัฐคาซัคสถาน สาธารณรัฐคีร์กิซสถาน สหพันธรัฐรัสเซีย และสาธารณรัฐคิวบา คัดค้านการกําหนดแร่ใยหิน Chrysotile ไว้ในภาคผนวก ๓ ของอนุสัญญาฯ ผู้แทนสาธารณรัฐอินเดียก็คัดค้าน การกําหนดxxxxกันแต่ก็เสนอแนะว่าควรมีการควบคุมการใช้แร่ใยหินดังกล่าว ผู้แทนสาธารณรัฐเบลารุสซึ่งยัง xxxxxxเป็นภาคีอนุสัญญาฯ ก็คัดค้านการกําหนดด้วย ผู้แทน International Alliance of Trade Union Organizations “Chrysotile” ก็คดค้านการกําหนดxxxxเดียวกันและโต้แย้งว่าควรมีควบคุมการใช้แร่ใยหินดังกล่าวภายใต้อนุสัญญา ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization Convention 162) ผู้แทนสาธารณรัฐ
อิสลามปากีสถานกล่าวว่าเรื่องน ังxxต้องการการประเมินทางวิทยาศาสตร์ตอไป่ อยางไรก็ตาม ผู้แทนราชอาณาจักร
ฮัชไมต์xxxxxxx ราชอาณาจักรเนปาล สาธารณรัฐจอร์เจีย สาธารณรัฐเบนิน สาธารณรัฐเปรู สาธารณรัฐโคลัมเบีย มาเลเซีย ราชอาณาจักรนอร์เวย์ สาธารณรัฐฮอนดูรัส สาธารณรัฐเซอร์เบีย สาธารณรัฐไลบีเรีย สหพันธ์สาธารณรัฐ ไนจีเรีย สาธารณรัฐเกาหลี สาธารณัฐมอลโดวา ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย สาธารณรัฐมัลดีฟส์ สาธารณรัฐ
อาร์เจนตินา สาธารณรัฐอุรุกวัย สาธารณรัฐxxxxxxx สาธารณรัฐไนเจอร์ สมาพนธรัฐสวิส มองโกเลีย สาธารณรัฐคองโก
รัฐอิสราเอล สาธารณรัฐแคเมอรูน สาธารณรัฐเคนยา สาธารณรัฐกินี สาธารณรัฐปานามา ราชอาณาจักรตองกา และสาธารณรัฐเอลซัลวาดอร์ ได้สนับสนุนให้มีการกําหนดแร่ใยหินในภาคผนวก ๓ ขณะท่ีผู้แทนสหพันธ์ สาธารณรัฐบราซิลยอมรับว่าเป็นความท้าทายในเฉพาะบางภาคส่วนในประเทศ และได้กล่าวว่าหลักฐานทาง วิทยาศาสตร์ด้านผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมนําไปสู่การกําหนดแร่ใยหินในภาคผนวก ๓ ของ
อนุสัญญาฯ นอกจากนี้ผ ทนสหรัฐอเมริกาซึ่งxxxxxxเป็นภาคีของอนุสัญญาฯ ก็ได้เรียกร้องให้มีการกําหนดแร่ใยหิน
ในภาคผนวก ๓ xxxxเดียวก ผู้แทนเครือรัฐออสเตรเลียกล่าวถึงประสบการณ์อนยาวนานขมขื่นเก่ียวกับผลกระทบ
ต่อสุขภาพอนามัย สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจของแร่ใยหิน Chrysotile ภายหลังจากxxxxxxมีการห้ามใช้ในประเทศตน ซึ่งได้รับการสนับสนุนโดยผู้แทนนิวซีแลนด์ หมู่เกาะxxx สมาพันธรัฐสวิส ผู้แทนราชอาณาจักรไทย ได้กล่าวว่า
ขณะน ัฐบาลไทยอยู่ระหวางการพxxxxxทบทวนการเลิ่ ิกใชแรใยห่้ ินชนิดนี้ และตระหนกวาอน่ ุสัญญารอตเตอร์
ดัมเป็นกลไกการแลกเปลี่ยนข้อมูลผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมของแร่ใยหิน เพื่อที่จะได้จัดการ และใช้ได้อย่างปลอดภัย อย่างไรก็ตามการแลกเปล่ียนและการสนับสนุนข้อมูลทางวิชาการxxxxxxxxxxxxxกระทบ ต่อสุขภาพอนามัยในระดับชาติ รวมทั้งการถ่ายทอดเทคโนโลยีและสารxxxxxxxxประสิทธิภาพคุ้มต้นทุนเป็นสิ่งที่ เป็นประโยชน์แก่ภาคีสมาชิกของอนุสัญญาฯ และราชอาณาจักรตองกา และกล่าวอีกว่ามันถึงเวลาแล้วที่จะตั้ง
คําถามว่าถ้าหากต้องการxxxxxวัตถุประสงค์ของอนุสัญญารอตเตอร์ดัม ต่อเมื่อไม่เพียงแต่สารเคมีได้รับการ กําหนดในภาคผนวก ๓ แต่คือการห้ามค้าขายด้วย ในการน้ีจึงได้นําเสนอเอกสารให้ที่ประชุมพิจารณาว่าควรมี การทํางานเรื่องนี้ในระหว่างสมัยประชุมตามกรอบการดําเนินงานที่มีความเป็นไปได้เพื่อxxxxxxxรวบรวมข้อมูล ของสารเคมีเหล่านั้นตามหลักเกณฑ์การกําหนดสารเคมีในภาคผนวก ๓ ผู้แทนสหภาพยุโรปได้กล่าวว่าการท่ีแร่ใย หิน Chrysotile xxxxxxรับการกําหนดในที่ประชุมรัฐภาคีสมัยที่ ๗ นี้ มันถึงเวลาแล้วที่จะมีการอภิปรายกันอย่าง ตรงไปxxxxxเก่ียวกบความน่าเชื่อถือของอนุสัญญารอตเตอร์ดัม ผู้แทนกลุ่มสตรีในยุโรปเพื่อxxxxx (Women in Europe for a Common Future) ในนามของกลุ่มพันธมิตรอนุสัญญารอตเตอร์ดัม (Rotterdam Convention Alliance) กล่าวว่าการกําหนดสารเคมีเป็นการกีดขวางเพื่อxxxxxxxxxxxxxxxxของอุตสาหกรรม และได้แนะนําแรงงานชาวอินเดีย ซึ่งทํางานกับแร่ใยหิน Chrysotile มา ๔๐ ปี ทนทุกข์ทรมานจากโรคแอสเบสตอสิส (Abestosis) และเป็นผูขอร้องให้มีการกําหนดแร่ใยหินเป็นสารเคมีในภาคผนวก ๓ ของอนุสัญญาฯ ประธานได้เสนอ ให้ส่งเรื่องนี้ให้กลุ่มย่อยด้านการกําหนดสารเคมี (contact group on listing of chemicals) xxxxxxxxxกว่า ที่จะยุติการอภิปรายวาระน้ีไปให้ที่ประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๘ พิจารณา ซึ่งกลุ่มย่อยได้พิจารณาการกําหนดแร่ใยหิน Chrysotile xxxxxxxxxxxคัดค้านการกําหนดยังxxxxxxxxxxคัดค้านของพวกเขา ในที่สุดที่ประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๗ ได้ตกลงเลื่อนการพิจาณาวาระนี้ไปในการประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๘
มติข้อxxxxxxxx
xxxประชุมรัฐภาคีฯ สมัยท่ี ๗ เห็นชอบให้เลื่อนการพิจารณากําหนดแร่ใยหิน Chrysotile
ไปในการประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๘ ต่อไป
๕.๒.๒ xxxxมิโดฟอส (Methamidophos)
เม่ืxxxxxxx ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ผู้แทนสํานักเลขาธิการฯ ไดเสนอเอกสาร (UNEP/FAO/ RC/COP.7/7 Add.1 และ INF/6-7) ให้ที่ประชุมทราบข้อแนะนําของคณะกรรมการพิจารณาทบทวนสารเคมี ในการกําหนดให้xxxxมิโดฟอสในภาคผนวก ๓ ผู้แทนหลายประเทศกล่าวว่าข้อเสนอเป็นไปตามหลักเกณฑ์และ สนับสนุนให้รวมสารเคมีชนิดน้ีในภาคผนวก ๓ ผู้แทนxxxxxเม็กซิโกขอเวลาเพื่อปรึกษาหารือ โดยขอให้ทราบว่า พวกเขาxxxxxxคัดค้านการกําหนดสารxxxxมิโดฟอส แต่พวกเขาไม่อยู่ในฐานะที่จะตัดสินใจได้ ผลก็คือประธานจึง ได้เลื่อนการอภิปรายออกไป และเมื่อxxxxxx ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ผู้แทนxxxxxเม็กซิโกประกาศว่าตนสนับสนุน การกําหนดxxxxมิโดฟอสเป็นสารในภาคผนวก ๓ ของอนุสัญญาฯ
มติข้อตัดสินใจ
๑. ให้แก้ไขภาคผนวก ๓ ของอนุสัญญารอตเตอร์ดัมเพื่อกําหนดxxxxมิโดฟอส
(methamidophos) เพิ่มเติม และให้ตัด methamidophos ในรูปสูตรผสมเหลวที่ละลายได้ของสารซึ่งเกินกว่า
๖๐๐ กรัม ของสารออกฤทธิ์ต่อ ๑ ลิตร (soluble liquid formulations of the substance that exceed 600 g active ingredient/l) ออกจากภาคผนวก ๓ ของอนุสัญญาฯ
๒. ตัดสินใจให้การแก้ไขนันมีผลใช้บังคับสําหรับภาคีทุกฝ่ายภายในxxxxxx ๑๕ กันยายน ๒๕๕๘
๓. อนุมัติร่างเอกสารคําแนะนําการตัดสินใจของสารxxxxมิโดฟอส
๕.๒.๓ พาราควอต (Paraquat)
เมื่อxxxxxx ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ผู้แทนสํานักเลขาธิการฯ ได้นําเสนอเอกสาร (UNEP/FAO/ RC/COP.7/10 และ Add.1) ให้ที่ประชุมพิจารณา ประธานได้เตือนความจําท่ีประชุมว่าในการประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๖
xx xxxxxxแล้วว่าสารพาราควอตเป็นไปตามขอกําหนดการกําหนดรายชื่อสารเคมีแลว้ ดังxxxxxxประชุมรฐภาคี สมัยที่ ๗
เพียงแต่ตัดสินใจว่าจะกําหนดสารชนิดน้ีหรือไม่ ทั้งนี้ ผู้แทนกลุ่มแอฟริกา สหภาพยุโรป สาธารณรัฐปานามา ราชอาราจกรนอร์เวย์ สาธารณรฐอินโดนีเซีย จาไมก้า สมาพันธรัฐสวิส สาธารณรัฐเซอร์เบีย หมู่เกาะxxx สาธารณรัฐ อุรุกวัย สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ยูเครน และมาเลเซีย สนบสนุนการกําหนดสารนีในภาคผนวก ๓ ของอนุสัญญาฯ ขณะที่ผู้แทนสาธารณรัฐกัวเตมาลาคัดค้านการกําหนด เม่ือผู้แทนอินเดียได้ตั้งคําถามว่าพาราควอตเป็นไปตาม หลักเกณฑ์การกําหนดสารเคมีหรือไม่ ประธานจึงได้ให้ผู้แทนสํานักเลขาธิการฯ อ่านมติข้อตัดสินใจของที่ ประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๖ ท่ีระบุว่าสารนั้นเข้าข่ายตามหลักเกณฑ์การกําหนดสารเคมีในภาคผนวก ๓ แล้วให้ ท่ีประชุมรับทราบ ในการนเี พื่อเป็นการเนนว่าบ่อยครั้งคนงานไม่มทางเลือกว่าสารป้องกันกําจดศัตรูพืชและสัตว์ชนิดใด ท่ีพวกเขาใช้ สหภาพคนงานด้านอาหารระหว่างประเทศ (International Union of Food Workers) ได้เรียกร้อง ให้ภาคีกําหนดสูตรผสมพาราควอตในภาคผนวก ๓ เพื่อxxxxxxสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของคนงาน ในเรือกสวนไร่นา วาระนี้ได้รับการพิจาราณาโดยกลุ่มย่อยด้านการกําหนดสารเคมี ซึ่งผู้แทนหลายประเทศให้ การสนับสนุนในการกําหนด แต่มี ๓ ประเทศกําลังพัฒนาคัดค้าน โดยผู้แทน ๒ ประเทศได้กล่าวว่าพาราควอต ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การกําหนดสารเคมีสําหรับสูตรผสมสารป้องกันกําจัดศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็นอันตราย อย่างxxxxxxx xxxxxxxxxxxx มีผูแทนประเทศกาลงพัฒนาหลายประเทศกล่าวว่าพวกเขาใช้พาราควอตแต่สนับสนุน การกําหนดเป็นสารเคมีในภาคผนวก ๓ ต่อมาเม่ืxxxxxxx ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ที่ประชุมเต็มคณะได้พิจารณา การกําหนดพาราควอตอีก ๒ ครั้ง ซึ่งมีผู้แทนสาธารณรัฐกัวเตมาลาและสาธารณรัฐอินเดียคัดค้านการกําหนด ผู้แทนสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ได้ระบุในฐานะภาคีใหม่ว่าได้xxxxxความยุ่งยากอย่างแน่นอนในการยอมรับว่าการ กําหนดพาราควอตในเวลานี้ ผู้แทนกลุ่มแอฟริกา สหภาพยุโรป สาธารณรัฐเปรู สาธารณรัฐนิการากัว สาธารณรัฐ เอลซัลวาดอร์ และสาธารณรัฐปานามา สนับสนุนการกําหนด สาธารณรัฐเอกวาดอร์ ได้ขอให้บันทึกไว้ในรายงาน การประชุมด้วยว่าตนถูกxxxxxxโดยผู้แทนภาคเอกชนเพ่ือชักนําให้ประเทศคัดค้านการกําหนดพาราควอต ซึ่งตนไม่ยอมรับ ในที่สุดที่ประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๗ เห็นชอบให้เลื่อนการพิจารณากําหนดพาราควอตไปในการ ประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๘
มติข้อxxxxxxxx
xxxประชุมรัฐภาคีฯ สมัยท่ี ๗ เห็นชอบให้เลื่อนการพิจารณากําหนดพาราควอตไปใน การประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ ต่อไป
๕.๒.๔ เฟนไธออน (Fenthion)
เมื่อxxxxxx ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ผู้แทนสํานักเลขาธิการฯ ได้นําเสนอเอกสาร (UNEP/FAO/ RC/COP.7/8 Add.1 และ INF/8-9) การกําหนดเฟนไธออน (Fenthion) สูตรผสมปริมาตรต่ํามาก (ultra-low volume formulations, ULV) ที่ระดับหรือเกินกว่า ๖๔๐ กรัมของสารออกฤทธ์ิต่อ ๑ ลิตร (at or above 640 g active ingradient/L) ในภาคผนวก ๓ ของอนุสัญญารอตเตอร์ดัม ในฐานะที่เป็นสูตรผสม สารป้องกันกําจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ท่ีเป็นอันตรายอย่างร้ายแรง รวมถึงเหตุผลและการxxxxxxxxxxxเห็นชอบ
โดยคณะกรรมการทบทวนสารเคมี ท้ังน้ีผู้แทนสาธารณรัฐชาด สหภาพยุโรป ราชอาณาจักรไทย xxxxxเม็กซิโก และอีกหลายประเทศสนับสนุนการกําหนดเฟนไธออน ULV ในภาคผนวก ๓ สาธารณรัฐไนเจอร์ได้เน้นย้ํา ประเด็นท่ีว่าการกําหนดสารเคมีเป็นการช่วยตระเตรียมการควบคุมการนําเข้าให้ดีข้ึน ผู้แทนสหพันธ์สาธารณรัฐ ไนจีเรียและสาธารณรัฐอิสลามมอริเตเนียสนับสนุนการกําหนดและได้ร้องขอความช่วยเหลือทางการเงินและ วิชาการ รวมxxxxxxวิจัยเก่ียวกับสารxxxxx สาธารณรัฐอุรุกวัยได้เน้นยํ้าถึงความสําคัญเพื่อการประกันว่าไม่ เพียงแต่ความมั่นคงทางอาหารแต่ควรคํานึงถึงแหล่งอาหารที่ปลอดภัยด้วย อย่างไรก็ตามสาธารณรัฐซูดาน คัดค้านการกําหนดเฟนไธออน ULV ในภาคผนวก ๓ โดยเน้นย้ําว่าเน่ืองจากยังไม่มีสารxxxxxxxxจะxxxxxxxxxxx จากการอพยพของนกได้ ผู้แทน CropLife International ได้เรียกร้องให้กําหนดข้อแนะนํา โดยกล่าวว่ามันเป็น เรื่องยากท่ีจะสรุปว่าการใช้สูตรผสมเป็นผลให้xxxxxxกระทบอย่างในเอกสารข้อเสนอสูตรผสมสารป้องกันกําจัด ศัตรูพืชและสัตว์ที่เป็นอันตรายอย่างร้ายแรง IPEN สนับสนุนการกําหนดและกล่าวว่าขั้นตอนการยินยอมล่วงหน้า เป็นจุดแข็งที่xxxxxxลดความเส่ียงต่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมได้ ประธานเห็นว่าโดยทั่วไปที่ประชุม มีความเห็นอยากให้กําหนดเฟนไธออน ULV ในภาคผนวก ๓ ซึ่งผู้แทนสาธารณรัฐซูดานได้กล่าวxxxxxxxxxxคัดค้าน ของประเทศตน จึงให้กลุ่มย่อยด้านการกําหนดสารเคมีนําไปพิจารณาและรายงานต่อไป ซ่ึงในการประชุมกลุ่มย่อย มีผู้แทนประเทศกําลังพัฒนาเห็นว่าการจําแนกสารป้องกันกําจัดศัตรูพืชและสัตว์ในรายงานอุบัติการณ์ท่ี CRC ได้ เสนอแนะนั้นยังอ่อนเกินไป และกล่าวว่าสารป้องกันกําจัดศัตรูพืชมีความสําคัญในประเทศของตน เพื่อต่อสู้กับนก ที่อพยพมามากินxxxxxและไม่เห็นว่าจะเป็นอันตราย ในขณะที่ภาคีประเทศกําลังพัฒนาบางประเทศยอมรับข้อมูล ที่เก่ียวข้องกับการกําหนดสารเคมีและกล่าวว่าประเทศตนจะยังxxใช้เฟนไธออน ULV ๖๔๐ กรัมของสารออกฤทธิ์ ต่อ ๑ ลิตร ต่อไป
เม่ืxxxxxxx ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ที่ประชุมเต็มคณะได้พิจารณาวาระนี้อีกครั้ง ประธาน ได้นําเสนอมติข้อตัดสินใจในการกําหนดเฟนไธออน ได้แก่ การเลื่อนกําหนดการมีผลใช้บังคับไปจนถึงxxxxxx ๑๕ กันยายน ๒๕๖๐ และขอให้สํานักเลขาธิการฯ จดหาความช่วยเหลือทางวิชาการแก่สาธารณรัฐซูดานเพื่อหาสารxxxxx การใช้สูตรผสมกับนกอพยพ ซึ่งผู้แทนจาเมกาได้สอบถามเกี่ยวกับนัยสําคัญของxxxxxxเลือกให้มีผลบังคับใช้ ในการกําหนดสารเคมี โดยประธานได้อธิบายว่ามันเป็นความxxxxxxxxxจะให้มีเวลาอย่างเพียงพอในการหาสารxxxxx xxxไธออน ULV สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย สาธารณรัฐไนเจอร์ สาธารณรัฐxxxx บูร์กินาฟาโซ สาธารณรัฐเคนยา สาธารณรัฐแคเมอรูน สาธารณรัฐกินี และสาธารณรัฐเยเมน ได้แจ้งความสนใจท่ีจะรับความสนับสนุนทางวิชาการ ที่เสนอให้กับสาธารณรัฐซูดานด้วย ประธานได้อธิบายว่าข้อมูลใดๆ ที่เก็บรวบรวมได้ในระหว่างที่สนับสนุน สาธารณรัฐซูดานจะแบ่งปันให้กับประเทศอ่ืนๆ ท่ีxxxxxปัญหาเดียวกันด้วยอยู่แล้ว ผู้แทนสมาพันธรัฐสวิส และสหภาพยุโรป คัดค้านมติข้อxxxxxxxxxxxระบุความช่วยเหลือทางวิชาการให้กับประเทศใดประเทศหนึ่ง ซึ่งผู้แทน สมาพันธรัฐสวิสเสนอให้ลบข้อความที่อ้างอิงถึงสาธารณรัฐซูดานออกหรืออ้างถึงแค่เพียงตัวอย่างประเทศ ที่จําเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือประเภทนี้ ประธานจึงได้สอบถามท่ีประชุมรัฐภาคีว่าด้วยการเลื่อนกําหนดการ มีผลบังคับใช้และการจัดหาความช่วยเหลือดังกล่าวท่ีประชุมจะxxxxxxให้ความเห็นชอบกับการกําหนดเฟนไธออน ULV เป็นสูตรผสมสารป้องกันกําจัดศัตรูพืชและสัตว์ได้หรือไม่ ซ่ึงผู้แทนสาธารณรัฐซูดานกล่าวปฏิเสธอย่างเด็ดเดี่ยวว่า ไม่เห็นด้วยกับการกําหนดเฟนไธออน ULV ในภาคผนวก ๓ ดังนั้นท่ีประชุมรัฐภาคีจึงเห็นชอบให้เลื่อนการพิจารณา การกําหนดเฟนไธออน ULV ไปในการประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๘ ต่อไป
มติขอตดสินใจ
ที่ประชุมรัฐภาคีฯ สมัยท่ี ๗ เห็นชอบให้เล่ือนการพิจารณาการกําหนดเฟนไธออน ULV
ไปในการประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๘ ต่อไป
๕.๒.๕ ไตรโคฟอน (Trichlorfon)
เมื่อxxxxxx ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ผ ทนสํานักเลขาธิการฯ ได้เสนอเอกสาร (UNEP/FAO/
RC/COP.7/9 9/Add.1 และ INF10-11) ผู้แทนสหภาพยุโรป หมู่เกาะxxx สาธารณรัฐเยเมน กลุ่มแอฟริกัน สมาพันธรัฐ สวิส xxxxxเม็กซิโก สาธารณรัฐอุรุกวัย ราชอาณาจักรฮัชไมต์xxxxxxx สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล สาธารณรัฐ จอร์เจีย สาธารณรัฐโคลัมเบีย และราชอาณาจักรไทย กล่าวว่าการกําหนดสารดังกล่าวน้ีเป็นไปตามหลักเกณฑ์และ ขั้นตอนต่าง ๆ ได้ดําเนินมาอย่างถูกต้อง แต่ผู้แทนสาธารณรัฐxxxxxxxxxxเห็นด้วย ประธานจึงหยุดการอภิปราย เกี่ยวกับไตรโคฟอนให้กลุ่มย่อยนําไปพิจารณาต่อ ในการประชุมกลุ่มย่อย ประเทศกําลังพัฒนาประเทศหนึ่งได้ กล่าวว่าการกําหนดสารยังไม่เป็นไปตามข้อกําหนด ในขณะที่ภาคีหลายประเทศกล่าวว่าการยื่นเอกสารประเมิน ความเสี่ยงตามขอแนะนําของคณะกรรมการทบทวนสารเคมี ได้อธิบายไว้แล้วการแจ้งของพวกตนสอดxxxxตาม
ข้อกําหนดการกําหนดสารเคมีแล้ว ดังน เมื่อxxxxxx ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ที่ประชมเตมคณะไดพxxxxxวาระนี้ิ้็ุ
อีกครั้ง ซึ่งปรากฏว่าผู้แทนสาธารณรัฐอินเดียได้ยืนยันการคัดค้านการกําหนดสารนี้ และเน้นย้ําว่าเนื่องจากยังไม่ เป็นไปตามข้อกําหนดการกําหนดสารเคมี ท่ีประชุมจึงได้เลื่อนการพิจารณาการกําหนดไตรโคฟอนไปในการประชุม รัฐภาคี สมัยที่ ๘ ต่อไป
มติข้อxxxxxxxx
xxxประชุมรัฐภาคี สมัยท่ี ๗ เห็นชอบให้เลื่อนการพิจารณาการกําหนดไตรโคฟอนไปใน การประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๘ ต่อไป
๕.๒.๖ การทํางานระหว่างสมัยประชุม (Intersessional work)
ประธานได้เสนอให้ตงั กลุ่มทํางานระหว่างสมัยประชุมซึ่งประกอบด้วยภาคีและผู้xxxxxxxxxxx เพื่อสํารวจวิธีการที่จะxxxxxซึ่งวัตถุประสงค์ของอนุสัญญารอตเตอร์ดัม เนื่องจากท่ีประชุมรัฐภาคีไม่xxxxxx ตกลงโดยxxxxxมติในการกําหนดสารเคมีตามข้อแนะนําของคณะกรรมการทบทวนสารเคมีได้ ประธานได้ขอให้ กลุ่มย่อยด้านการกําหนดสารเคมียกร่างมติข้อตัดสินใจในประเด็นน้ีเพื่อจัดตั้งกลุ่มทํางานระหว่างสมัยประชุม และแผนงาน โดยขอให้กลุ่มย่อยพิจารณาเอกสารซึ่งผู้แทนเครือรัฐออสเตรเลียเสนอเกี่ยวกับการดําเนินงาน ของอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ
เมื่อxxxxxx ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ กลุ่มย่อยด้านการกําหนดสารเคมีได้พิจารณาข้อเสนอ ของประธานในการจัดตั้งกลุ่มทํางานระหว่างสมัยประชุม และพิจารณาทบทวนข้อเสนอที่เก่ียวข้องของเครือรัฐ ออสเตรเลีย และยกร่างมติข้อตัดสินใจในสองประเด็นน้ี ต่อมาxxxxxx ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ที่ประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๗ ได้อภิปรายร่างมติข้อตัดสินใจในการจัดตั้งกลุ่มทํางานระหว่างสมัยประชุมเพื่อดําเนินการกําหนด สารเคมีในภาคผนวก ๓ ผู้แทนยูเครนสนับสนุนผู้แทนสหพันธรัฐรัสเซียที่เสนอตั้งกลุ่มทํางานระหว่างสมัยประชุม
๒ กลุ่ม โดยกลุ่มแรกเป็นกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านสารป้องกันกําจัดศัตรูพืชและสัตว์และอีกกลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญด้านแร่ใยหิน Chrysotile ประธานตอบกลับว่าภาคีxxxxxxเสนอชื่อบุคคลที่มีความxxxxxxxxx หลากหลายเพื่อถกxxxxxxxxxสารเคมีxxxxxxรับข้อแนะนําจากคณะกรรมการทบทวนสารเคมีและยังxxxxxxกําหนด
ในอนุสญญารอตเตอร์ด ซึ่งผูแทนสาธารณรฐซูดานเสนอให้ลบขอความที่อางถ้ ึงผู้สงเกตการณ์ โดยกล่าวว่ากลุ่มทํางาน
ระหว่างสมัยประชุมควรเป็นกลุ่มเล็กและควรประกอบด้วยเฉพาะภาคี และอาจปรึกษาหารือผู้xxxxxxxxxxxxxx แต่ไม่ใช้ให้ผู้xxxxxxxxxxxมีส่วนร่วมในขั้นตอนการตัดสินใจ ซึ่งประธานชี้แจงว่ากลุ่มทํางานระหว่างสมัยประชุม จะรายงานต่อที่ประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๘ แต่จะไม่ตัดสินใจใด ๆ ผู้แทนสาธารณรัฐกัวเตมาลาเสนอให้ลบคําว่า “เล็ก (small)” จากคําอธิบายกลุ่มทํางานระหว่างสมัยประชุมเพื่อเปิดทางเลือกให้ภาคีที่สนใจเข้าร่วมได้ ผู้แทนสหภาพยุโรป ได้รับทราบว่าการxxxxxขนาดของกลุ่มจะทําให้เกิดความยุ่งยากด้านงบประมาณซึ่งอาจขัดขวางความเป็นไปได้ในการ จัดประชุมแบบเผชิญหน้ากัน ผู้แทนยูเครนสนับสนุนผู้แทนสหพันธรัฐรัสเซีย สาธารณรัฐกาบอง และสาธารณรัฐ xxxxxxxxx xxxเสนอให้ลบข้อความที่อ้างถึงข้อบทท่ี ๕, ๖ และ ๗ (ข้ันตอนการกําหนดสารเคมี) และกล่าวว่า การทํางานระหว่างสมัยประชุมควรจะxxxxxxxxไปที่ความมีประสิทธิภาพของอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ ซึ่งอาจ เกี่ยวข้องในการพิจารณาถึงส่วนอ่ืน ๆ ของอนุสัญญาด้วย ผู้แทนสาธารณรัฐอาร์เจนตินากล่าวว่ากลุ่มทํางานฯ ควรเปิดกว้างเนื่องจากปัญหาเกิดจากกระบวนการxxxxของการกําหนดสารเคมี ผู้แทนเครือรัฐออสเตรเลีย สนับสนุนผู้แทนสมาพันธรัฐสวิสท่ีเสนอให้อ้างถึงเอกสารจากท่ีประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๔ xxxxxxมีการให้แนวทางเกี่ยวกับ การทํางานระหว่างสมัยประชุมไว้ (UNEP/FAO/RC/COP.4/CRP.12 และ 4/CRP.13) ซึ่งท้ายที่สุดที่ประชุม รัฐภาคีเห็นชอบกับมติข้อตัดสินใจตามที่มีการแก้ไขโดยท่ีประชุมได้ลบข้อความท่ีอ้างถึงข้อบทของอนุสัญญาฯ xxxxxเอกสารจากที่ประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๔ และลบคําว่าเล็กออก
มติข้อxxxxxxxx
xxxประชุมฯ เห็นชอบให้จัดตั้งกลุ่มทํางานระหว่างสมัยประชุมที่ประกอบด้วยภาคีที่สนใจ และผูส้ ังเกตการณ์เพ่ือดําเนินการทบทวนกรณีxxxxxxประชุมรัฐภาคีไม่xxxxxxxxxxxxxxxxมติในการกําหนดสารเคมี โดยจําแนกเหตุผลของการเห็นชอบให้กําหนดและคัดค้านการกําหนด และพัฒนาทางเลือกในการปรับปรุงขั้นตอน ให้มีประสิทธิภาพตามเหตุผลดังกล่าวและข้อมูลอ่ืนๆ และจัดทําข้อเสนอเพื่อให้xxxxxxxไหลของข้อมูลซึ่งสนับสนุน ข้ันตอนการยินยอมล่วงหน้าของสารเคมีเหล่านั้น โดยงานนี้จะได้รับการอํานวยความสะดวกโดยประเทศเจ้าภาพ หรือหากหาประเทศเจ้าภาพxxxxxxก็ให้สํานักเลขาธิการฯ พิจารณาจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการตามที่ทรัพยากร อํานวยเพ่ือให้เกิดความชดxxx และให้กลุ่มทํางานฯ รายงานผลการดําเนินงานต่อที่ประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๘
๕.๓ การไม่ปฏิบัติตาม (Non-compliance)
วาระน้ี (UNEP/FAO/RC/COP.7/12 และ INF/12) ได้รับการนําเสนอในช่วงการประชุมร่วมกัน ของสามอนุสัญญาเมื่อxxxxxx ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เพื่ออภิปรายรวมกับวาระการไม่ปฏิบัติตามของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ โดยที่ประชุมได้มอบหมายให้กลุ่มย่อยด้านการปฏิบัติตามภายใต้อนุสัญญารอตเตอร์ดมพิจารณาต่อไป ซึ่งกลุ่มย่อย ได้มีการหารือวาระนี้ระหว่างสองสัปดาห์ของการประชุมรัฐภาคีสามอนุสัญญา และเม่ืxxxxxxx ๑๔ – ๑๕ พฤษภาคม
๒๕๕๘ กลุ่มเล็กซึ่งประกอบด้วยประธานร่วมของกลุ่มย่อยและเพื่อนๆ ได้หารือกัน และเมื่อช่วงเย็น xxxxxx ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ที่ประชุมเต็มคณะได้พิจารณาข้อเสนอร่างมติข้อตัดสินใจและร่างเอกสารการเจรจากลไกและ ข้ันตอนการปฏิบัติตามในภาคผนวกของร่างมติข้อตัดสินใจ (UNEP/ FAO/RC/COP.7/ CRP.20) ของประธานร่วม กลุ่มย่อย ซึ่งข้อเสนอได้รวมxxxxxxรับรองข้ันตอนและกลไกการปฏิบัติตามที่ร่างโดยที่ประชุมรัฐภาคี สมัยท่ี ๖ และรวมถึงบทบัญญัติในร่างข้อบทที่ ๑๙ ของกลไกการปฏิบัติตาม (มาตรการที่เป็นไปได้ในการจัดการกับประเด็น การปฏิบัติตาม) xxxx การออกแถลงการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการไม่ปฏิบัติตามท้ังในปัจจุบันและxxxxxxxxเป็นไปได้ หรือการ
- ๒๘ -
ขอร้องให้เลขาธิการเผยแพร่สู่สาธารณะถึงกรณีการไม่ปฏิบัติตาม ซ่ึงจะxxxxxxใช้ได้หากว่าที่ประชุมรัฐภาคี
สมัยที่ ๑๐ ตัดสินใจหลังจากทบทวนการปฏิบัติตามข ตอนและกลไก ท่ามกลางสิ่งต่าง ๆ ร่างกลไกการปฏิบัติตาม
จะเสนอให้มีการออกเสียงสี่ในห้าโดยคณะกรรมการการปฏิบัติตาม หากว่าความxxxxxxในการxxxxxฉนทามตินั้นล้มเหลว และได้ขยายความกลไกการทํางานของคณะกรรมการ (Committee trigger) ด้วย ซ่ึงผู้แทนสาธารณรัฐอินเดีย คัดค้านการรับรองข้อเสนอของประธานร่วม ผู้แทนสหพันธรัฐรัสเซีย สหภาพยุโรป กลุ่มแอฟริกัน สมาพันธรัฐ สวิส สาธารณรัฐโคลัมเบีย สาธารณรัฐอาร์เจนตินา เครือรัฐออสเตรเลีย สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล จาเมกา แคนาดา xxxxxxx หมู่เกาะxxx นิวซีแลนด์ และราชอาณาจักรนอร์เวย์ สนับสนุนข้อเสนอของประธานร่วมและ เรียกร้องให้มีการรับรองข้อเสนอ ซ่ึงผู้แทนสาธารณรัฐอินเดียกล่าวว่ายังไม่xxxxxxxxxจะเห็นด้วยกับกลไกการปฏิบัติ ตามได้ ประธานจึงได้ยุติการอภิปรายในวาระนี้และยอมให้มีการหารือในเร่ืองนี้ต่อไป และที่ประชุมรัฐภาคีxxx xxxxxxประชุมกันอีกในเช้าตรู่ของxxxxxx ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ประธานการประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๗ ได้ยื่นข้อเสนอร่าง
มติข้อตัดสินใจของตน (UNEP/FAO/RC/COP.7/CRP.22) xx xxประชุมพิจารณา พร้อมกับร่างข้อเสนอของประธานร่วม
กลุ่มย่อยในภาคผนวก โดยเสนอให้เล่ือนการพิจารณาประเด็นน้ีไปในการประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๘ xxxxxxxประชุม เห็นชอบตามข้อเสนอของประธานการประชุมฯ
มติข้อxxxxxxxx
xxxประชุมรัฐภาคีฯ xxxxxxxxxxxจะพิจารณาประเด็นขั้นตอนและกลไกการปฏิบัติตามตามข้อบททท่ี ๑๗ ของอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ ต่อไปในการประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๘ โดยใช้ร่างเอกสารในภาคผนวกเป็นพื้นฐาน ในการทํางานต่อไป นอกจากนี้ ยังขอให้สํานักบริหารการประชุมอํานวยความสะดวกในการหารือระหว่างสมัยประชุม เพ่ือxxxxxxxxการสนทนาเชิงนโยบายเกี่ยวกับวาระนี้พร้อมกับความเห็นในการคลี่คลายประเด็นนี้ในแนวทางที่สะดวกใน การรับรองในการประชุมรัฐภาคี สมัยที่ ๘
๕.๔ ความช่วยเหลือทางวิชาการ (Technical assistance)
ท่ีประชุมฯ xx xการถกวาระนี้กันในช่วงประชุมร่วมระหว่างสามอนุสัญญา เมื่อxxxxxx ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘
และในท่ีประชุมกลุ่มย่อยว่าด้วยทรัพยากรทางการเงินและความช่วยเหลือทางวิชาการ xxxxxxxประชุมได้รับรองมติ ข้อตัดสินใจว่าดวยความช่วยเหลือทางวิชาการโดยไม่มีข้อแก้ไข เม่ืxxxxxxx ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ (UNEP/FAO/ COP.7/CRP.14)
มติข้อตัดสินใจ
๑. xxxxxกับการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลตามความต้องการของภาคีเพื่อการปฏิบัติ ตามอนุสัญญาฯ และข้อมูลความช่วยเหลือที่มีอยู่
๒. xxxxภาคีประเทศกําลงพฒนาและภาคีที่อย่ระหว่างการเปลี่ยนผ่านทางเศรษฐกิจให้ข้อมูล แก่สํานักเลขาธิการฯ เกี่ยวกับความต้องการของตนในการรับความช่วยเหลือและความยุ่งยากในการปฏิบัติตาม อนุสัญญาฯ
๓. xxxxภาคีประเทศพัฒนาแล้วและผู้ที่มีความxxxxxxในการให้ข้อมูลแก่สํานักเลขาธิการฯ เก่ียวกับการให้ความช่วยเหลือภาคีประเทศกําลังพัฒนาและภาคีที่เศรษฐกิจท่ีอยู่ระหว่างการเปลี่ยนผ่าน
๔. ขอให
- ๒๙ -
ํานักเลขาธิการฯ ดําเนินการอย่างต่อเนื่องในการเก็บรวบรวมข้อมูลผ่านแบบสํารวจ
ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่จัดทําขึ้น และวิเคราะห์ข้อมูลเหล่านั้น เพ่ือหาช่องว่างและอุปสรรคในการให้ความช่วยเหลือ ทางวิชาการและเพ่ือเสนอข้อแนะนําและดําเนินการแก้ไขปัญหาดงกล่าว
๕. xxxxxกับแผนงานการให้ความช่วยเหลือและขอให้สํานักเลขาธิการฯ ดําเนินงานตามแผนงาน โดยร่วมกับผูเกี่ยวข้อง และโดยคํานึงถึงสาระสําคัญเพื่อดําเนินการอํานวยความสะดวกในการจัดส่งความช่วยเหลือ และการxxxxxxxxxxขีดความxxxxxxในการปฏิบัติตามท้ังสามอนุสัญญา และเรียกร้องให้ภาคีและผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ ที่อยู่ในฐานะที่ทําได้จัดหาทุนและทรัพยากรอื่นๆ เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติตามกิจกรรมที่บรรจุในแผนงานการ ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการนัน้
๖. ขอให้สํานักเลขาธิการฯ เมื่อดําเนินแผนงานการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแล้วให้คํานึงถึง ความตองการความช่วยเหลือทางวิชาการท่ีเฉพาะเจาะจงอนเป็นผลมาจากการกําหนดสารเคมีใหม่ในภาคผนวก ๓
๗. ใหอ้ ํานาจสํานกเลขาธิการฯ เพ่ืxxxxxxxผูตรวจสอบทางการเงินxxxxxเพื่อตรวจสอบโครงการ ความช่วยเหลือทางวิชาการและการxxxxxxxxxxขีดความxxxxxxและกิจกรรมที่เก่ียวข้องอื่น ๆ ที่ดําเนินการใน ระดบxxxxxxxและระดับชาติในการปฏิบัติตามอนุสัญญาฯ
๘. เน้นถึงบทบาทสําคัญของศูนย์xxxxxxxตามบทบัญญัติของอนุสัญญาบาเซลและสตอกโฮล์มฯ และสํานักงานxxxxxxxและxxxxxxxย่อยขององค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ ในการจัดส่งความช่วยเหลือ ทางด้านวิชาการตามที่มีการร้องขอในระดับxxxxxxxในส่วนที่เกี่ยวกับการดําเนินตามแผนงานการให้ความช่วยเหลือ ทางวิชาการและอํานวยความสะดวกในการถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ภาคีท่ีเหมาะสม และ
๙. ขอให้สํานักเลขาธิการฯ จัดเตรียมแผนงานการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการสําหรบั ๒ ปีข้างหน้า คือ ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒ โดยคํานึงถึงกระบวนการบูรณาการและการประเมินแผนงานความช่วยเหลือทางวิชาการ
วาระที่ ๖ แผนงานและงบประมาณ (Programme of work and budget)
วาระนีได้รับการพิจารณาในช่วงประชุมร่วมระหว่างสามอนุสัญญาเมื่อxxxxxx ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ xxxxxxxประชุมได้มอบหมายให้กลุ่มย่อยด้านงบประมาณพิจารณารายละเอียดตลอดการประชุมรัฐภาคี ซึ่งในที่ ประชุมเต็มคณะ เม่ืxxxxxxx ๑๖ กันยายน ๒๕๕๘ ประธานร่วมได้แถลงแผนงบประมาณของอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ สําหรับปี ๒๕๕๙ ในวงเงิน ๔,๑๖๙,๘๑๙ เหรียญสหรัฐ และสําหรับปี ๒๕๖๐ ในวงเงิน ๓,๙๗๖,๙๕๙ เหรียญสหรัฐ xxxxxxxประชุมมีมติเห็นชอบกับแผนงานและงบประมาณของอนุสัญญารอตเตอร์ดัมสําหรับปี ๒๕๕๙ – ๒๕๖๐ ตามที่เสนอ
มติข้อตดสินใจ
๑. รับทราบข้อแนะนําของ Office of Internal Oversight Service ในการจัดทําบัญชีการดําเนินงานเดียว (Single operational account) สําหรับค่าใช้จ่ายเจ้าหน้าที่ และในการนี้ขอxxxxผู้อํานวยการบริหารโครงการ ส่ิงแวดล้อมแห่งสหประชาชาติในการจดหาข้อมูลxxxxxเติมเก่ียวกบความยุ่งยากในทางปฏิบตั ิของมาตรการดังกล่าว และการจัดตั้งกองทุนร่วมของทั้งสามอนุสัญญาและจัดทําข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงที่จําเป็นในกฎการเงินซึ่งจะต้อง แจงข้อตัดสินใจนีในการประชุมรัฐภาคี สมัยต่อไป
๒. อนุม ิแผนงบประมาณของอนุสัญญารอตเตอร์ดัมสําหรับปี ๒๕๕๙ – ๒๕๖๐ ในวงเงิน ๔,๑๖๙,๘๑๙
เหรียญสหรัฐ สําหรับปี ๒๕๕๙ และในวงเงิน ๓,๙๗๖,๙๕๙ เหรียญสหรัฐ สําหรับปี พ.ศ. ๒๕๖๐
- ๓๐ -
๓. ขอxxxxหน่วยงานบริหารขององค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ ในการประชุม สมัยที่ ๓๙ เพ่ือพิจารณาการแต่งตั้งตําแหน่งเจ้าหน้าที่xxxxxxงานอาวุโสขององค์การฯ ภายในแผนงานและ งบประมาณสําหรับปี พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๒
๔. ตัดสินใจว่าจะไม่มีผู้แทนซึ่งค้างชําระค่าภาคีสมาชิกตั้งแต่สองปีขึ้นไปมาเป็นคณะกรรมการบริหาร การประชุม (COP Bureau) หรือหน่วยอ่ืน ๆ (Subsidiary body) ของที่ประชุมรัฐภาคี สําหรับการประเมินและ การชําระค่าภาคีสมาชิกของประเทศเจ้าภาพ ตั้งแต่xxxxxx ๑ xxxxxx ๒๕๔๘ เป็นต้นไป โดยจะไม่นํามาใช้กับ ภาคีประเทศxxxxxxxxที่สุด (LDCs) หรือประเทศที่เป็นหมู่เกาะขนาดเล็ก (SIDS) หรือภาคีxxxxxxเห็นชอบและ เคารพกําหนดการชําระค่าภาคีตามกฎการเงิน
๕. ตดสินใจว่าจะไม่มีผูแทนของภาคีใด ๆ ท่ีค้างชําระค่าภาค ้งแต่สีปขี ึนไปและภาคxx xxซึ่งไม่เห็นด้วย
หรือxxxxxxxxกําหนดการจ่ายค่าภาคีสมาชิกในการได้รับสนับสนุนการเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการระหว่างสมัยประชุม และประชุมxxxxxxเป็นทางการอื่น ๆ
วาระที่ ๗ กําหนดสถานที่ และวันเวลาจัดการประชุมรัฐภาคีสมัยต่อไป
การประชุมรัฐภาคีอนุสญญารอตเตอร์ดัมฯ สมัยท่ี ๘ กําหนดจัดขึ้น ในระหว่างxxxxxx ๒๒ เมษายน -
๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ณ xxxเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส โดยจะเป็นการประชุมต่อเน่ืองกับการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญา บาเซล สมยท่ี ๑๓ และการประชุมรฐภาคีอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ สมยที่ ๘ โดยจะมีการพิจารณาวาระท่ีเกี่ยวข้อง ร่วมกันตามความเหมาะสม รวมทั้งช่วงการประชุมระดับสูง (high-level segment) นอกจากนี้ ท่ีประชุมฯ ขอให้ สํานักเลขาธิการฯ สนับสนุนในการจัดประชุมระดับxxxxxxxเพ่ือเตรียมการสําหรบการประชุมรัฐภาคีฯ ดังกล่าวด้วย
วาระท่ี ๘ วาระอื่น ๆ (Other matters)
เม่ืxxxxxxx ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ผู้แทนสํานักเลขาธิการฯ ได้เสนอเอกสารบันทึกความเข้าใจระหว่าง อนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ และโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ ให้ที่ประชุมพิจารณา xxxxxxxประชุมได้มอบหมายให้กลุ่มย่อยด้านทรัพยากรการเงินและการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ พิจารณาในรายละเอียด และเมื่อxxxxxx ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ผูxxxxxนักเลขาธิการฯ ได้เสนอร่างมติข้อตัดสินใจ (UNEP/FAO/RC/COP.7/CRP.4) ให้ที่ประชุมพิจารณา xxxxxxxประชุมรัฐภาคีอนุสัญญารอตเตอร์ดัม สมัยที่ ๗ ได้รับรองมติฯ โดยไม่มีข้อแก้ไข
มติข้อตัดสินใจ
๑. xxxxxกับผู้อํานวยการบริหารโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งxxxxxxxxxxxxxxจัดต้ังทีมงานว่าด้วยความร่วมมือ ดําเนินงานและการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพระหว่างโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ สํานัก เลขาธิการอนุสัญญาฯ ในการกําหนดให้โครงการสิ่งแวดลอมแห่งสหxxxxxชาตปฏิบัติหนาที่สํานักเลขาธิการฯ
๒. ขอให้สํานักเลขาธิการฯ ดําเนินงานและตระเตรียมข้อมูลแก่สํานักบริหารการประชุมของที่ ประชุมรัฐภาคีของสามอนุสัญญาและงานระหว่างสมัยประชุม
๓. xxxxผู้อํานวยการบริหารโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติดําเนินการแจ้งสํานักบริหารการประชุม ของสามอนุสัญญาเมื่อจัดเตรียมเอกสารการประชุม UNEA สมัยที่ ๒ ถึงความxxxxxxxxระหว่างโครงการสิ่งแวดล้อม แห่งสหประชาชาติและxxxxxxxxxxxxสามอนุสัญญา
๔. ขอใหเลขาธิการอนุสัญญาจัดเตรียมร่างบันทึกความเข้าใจระหว่างที่ประชุมรัฐภาคีของอนุสัญญา รอตเตอร์ดัมฯ เกี่ยวกับความxxxxxxxxระหว่างโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติและอนุสัญญา ตามผลการประชุม UNEA สมัยที่ ๒ โดยปรึกษาหารือกับผู้อํานวยการองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติและผู้อํานวยการ บริหารโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ เพื่อร้องขอให้องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ
และโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติปฏิบ ิหน้าท่ีสํานักเลขาธิการอนุสัญญารอตเตอร์ดมั และหากเป็นไปได
ให้จัดเตรียมผลการประชุม UNEA สมัยที่ ๒ เก่ียวกับความxxxxxxxxระหว่างโครงการส่ิงแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ กับอนุสัญญาต่าง ๆ สําหรับการประชุมรัฐภาคี สมัยท่ี ๘ และร่างบันทึกความเข้าใจระหว่างที่ประชุมรัฐภาคีของ อนุสัญญาและผู้อํานวยการบริหารโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ ในการปฏิบัติหน้าท่ีสํานักเลขาธิการ
อนุสัญญาฯ โดยการหารือกบผ
วาระที่ ๙ ปิดการประชุม
ํานวยการบริหารของโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ
ประธานฯ ปิดประชุม ในxxxxxx ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๓.๔๑ น. ทั้งนี้ ประธานได้สรุป ในการปิดประชุมว่าขอแสดงความxxxxxกับการกําหนดxxxxมิโดฟอสในภาคผนวก ๓ ของอนุสัญญา แต่xxxxxxx xxxการตัดสินใจในการกําหนดสารเคมีอื่น ๆ และขอตกลงเรื่องการปฏิบัติตามไม่xxxxxxxxxxxxxxxxมติได้
ส่ิงท่ีประเทศไทยจะต้องดําเนินการต่อไป เน่ืองจากที่ประชุมรัฐภาคีอนุสัญญารอตเตอร์ดัม สมยที่ ๗ ระหว่างxxxxxx ๑๒ - ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ได้มีมติข้อตัดสินใจให้แก้ไขภาคผนวก ๓ ของอนุสัญญารอตเตอร์ดัมเพื่อกําหนดxxxxมิโดฟอส (methamidophos) เพิ่มเติม โดยให้มีผลใช้บังคับสําหรับภาคีทุกฝ่ายภายในxxxxxx ๑๕ กันยายน ๒๕๕๘ ดังนั้น ภาคีต้องดําเนินการ แจ้งตอบรับการนําเข้า (import response) ไปยังสํานักเลขาธิการฯ ภายใน ๙ เดือนหลังจากxxxxxxมีผลบังคับใช้ หรือxxxxxxสํานักเลขาธิการฯ แจ้งเวียนเอกสารคําแนะนําการตัดสินใจของสารxxxxมิโดฟอสให้แก่ภาคี สําหรับ ประเทศไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกรมควบคุมมลพิษ ในฐานะศูนย์xxxxxxงาน (focal point) ของอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ จะต้องดําเนินการxxxxxxแจ้ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมวิชาการเกษตร ในฐานะหน่วยงานผู้มีอํานาจ (designated national authority) ดําเนินการแจ้งตอบ
รบการนําเข้าแก่สํานักเลขาธิการฯ ภายใน ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๙ ต่อไป
๓. สรุปผลการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ สมัยที่ ๗ (SC COP7)
วาระที่ ๑ เปิดการประชุม
การประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ สมัยที่ ๗ ได้เปิดการประชุม ในxxxxxx ๔ พฤษภาคม
๒๕๕๘ โดยมี Ms. Johanna Lissinger Peitz ราชอาณาจักรสวีเดน เป็นประธานการประชุมฯ
วาระท่ี ๒ รับรองวาระการประชุม
ที่ประชุมรฐภาคีฯ สมัยที่ ๗ ได้รับรองวาระการประชุม ดงนี้ วาระที่ ๑ เปิดการประชุม
วาระที่ ๒ รับรองวาระการประชุม วาระที่ ๓ ประเด็นด้านการจัดประชุม
(a) การคัดเลือกคณะกรรมการท่ีเกี่ยวข้อง
(b) ตารางกําหนดการประชุม
(c) การรายงานคณะผูแทนในการประชุม COP7
วาระที่ ๔ กฎxxxxxxxของการประชุม
วาระท่ี ๕ ประเด็นที่เก่ียวข้องกับการดําเนินงานตามอนุสัญญาฯ
(a) มาตรการในการลดหรือxxxxxxxปลดปล่อยสาร POPs จากการผลิตและการใช้โดยจงใจ
(i) ข้อยกเวนพิเศษ
(ii) สาร DDT
(iii) สาร PCBs
(iv) สารกลุ่ม brominated diphenyl ethers และกลุ่ม perfluorooctane sulfonic acid, its salts and perfluorooctane sulfonyl fluoride
(v) การประเมินความจําเป็นในการใช้ข้อกําหนดในย่อหนาที่ ๒(b) ของข้อบทที่ ๓ ต่อไป เก่ียวกับการส่งออกสารเคมีxxxxxxรับการยกเว้นพิเศษตามภาคxxxx xx และ บี ของอนุสัญญาฯ
(b) มาตรการในการลดหรือxxxxxxxปลดปล่อยสาร POPs ที่เกิดจากการผลิตโดยxxxxxxx
(c) มาตรการในการลดหรือxxxxxxxปลดปล่อยสาร POPs จากของเสีย
(d) แผนจดการระดับชาติเพื่อการปฏิบัติตามอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ
(e) การพิจารณาบรรจุรายชื่อสารเคมีเพิ่มเติมในภาคผนวก เอ บี หรือ ซี ของอนุสัญญาฯ
(f) การให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิควิชาการ
(g) ทรัพยากรและกลไกทางการเงิน
(h) การจัดส่งรายงานของประเทศตามข้อบทที่ ๑๕
(i) การประเมินความมีxxxxxxxxxxของอนุสัญญาฯ
(j) กลไกการไม่ปฏิบัติตาม (non-compliance)
(k) ความร่วมมือและการxxxxxxงานระหว่างประเทศ
วาระท่ี ๖ แผนงานของสํานกเลขาธิการฯ และการรับรองงบประมาณประจําปี ค.ศ. ๒๐๑๖ - ๒๐๑๗ วาระที่ ๗ กําหนดสถานที่และวนเวลาจดการประชุมรัฐภาคีฯ สมยที่ ๘
วาระที่ ๘ เรื่องอ่ืน ๆ
วาระที่ ๙ การรบรองรายงานการประชุม วาระที่ ๑๐ ปิดการประชุม
วาระที่ ๓ ประเด็นด้านการจัดประชุม
(a) การคัดเลือกคณะกรรมการที่เก่ียวข้อง
ที่ประชุมรัฐภาคีฯ มีมติรับรองผู้แทนจากสาธารณรัฐกานา เพื่อทําหน้าท่ีเป็นประธานในการประชุม รัฐภาคี สมัยท่ี ๘ โดยมีคณะกรรมการ Bureau ประกอบด้วย
๑) xxxxxxxแอฟริกา คือ ผูแทนจากสาธารณรัฐกานา (ประธาน) และสาธารณรัฐซูดาน
๒) xxxxxxxเอเชีย-แปซิฟิก คือ ผู้แทนจากสาธารณรัฐเยเมน และสาธารณรัฐสงคมxxxxเวียดนาม
๓) xxxxxxxยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก คือ ผู้แทนจากประเทศจอร์เจีย และสาธารณรัฐ
ลัตเวีย
๔) xxxxxxxxxตนอเมริิ กาและแครบเบีิ ยน คือ ผู้แทนจากสาธารณรฐเอกวาดอรั ์ และประเทศ
เซนต์คิตส์และเนวิส
๕) xxxxxxxยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ คือ ผู้แทนจากราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ (รองประธาน)
และเครือรัฐออสเตรเลีย (รองประธาน และ rapporteur)
นอกจากนี้ ที่ประชุมรฐภาคีฯ ได้รับรองการเสนอผู้แทนในคณะกรรมการพิจารณาทบทวนสารมลพิษ ที่ตกค้างยาวนาน (Persistent Organic Pollutants Review Committee: POPRC) ซึ่งมีวาระการดํารงตําแหน่ง ๔ ปี เร่ิมต้นในเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๙ ดังน้ี
๑) xxxxxxxแอฟริกา คือ ผู้แทนจากสาธารณรัฐเคนยา สาธารณรัฐตูนิเซีย สาธารณรัฐxxxx และราชอาณาจักรสวาซิแลนด์
๒) xxxxxxxเอเชีย-แปซิฟิก คือ ผูแทนจากสาธารณรฐประชาชนจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
๓) xxxxxxxยุโรปกลางและยุโรปตะวนออก คือ ผู้แทนจากสาธารณรัฐโปแลนด์
๔) xxxxxxxxxตินอเมริกาและแคริบเบียน คือ ผู้แทนจากสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล และจาเมกา
๕) xxxxxxxยุโรปตะวันตกและอื่น ๆ คือ ผู้แทนจากสมาพันธรฐสวิส ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ และราชรัฐลักเซมxxxxxx
(b) ตารางกําหนดการประชุม
การประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ สมัยที่ ๗ มีการเปิดประชุมและรับรองวาระการประชุมฯ ในxxxxxx ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ การพิจารณาวาระและร่างมติข้อตัดสินใจต่าง ๆ ในระหว่างxxxxxx ๕ - ๘ พฤษภาคม ๒๕๕๘ โดยมีการประชุมฯ xxxxxเติมเป็นระยะ ๆ ในระหว่างxxxxxx ๑๔ - ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ เพ่ือรับรองรายงานการประชุมฯ และมติข้อตัดสินใจเพิ่มเติม
(c) การรายงานคณะผูแทนในการประชุม SC COP7
การประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ สมัยที่ ๗ ประกอบด้วย ผเู ข้าร่วมประชุมจากประเทศ ภาคีสมาชิก รวม ๑๖๑ ประเทศ ในจํานวนน้ีมี ๖ ประเทศ ได้แก่ ประเทศบาร์เบโดส สาธารณรัฐเลบานอน ประเทศลิเบีย สาธารณรัฐมองโกเลีย ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย และประเทศยูเครน xxxxxได้ย่ืนหนังสือแต่งตั้ง คณะผูแทน (credentials) จึงเข้าร่วมการประชุมฯ ในฐานะผู้xxxxxxxxxxx
วาระท่ี ๔ กฎxxxxxxxของการประชุม
ท่ีประชุมรัฐภาคีฯ ยังไม่รับรองในประเด็นxxxxxในการออกเสียงของประเทศสมาชิกโดยxxxxxมติ หรือการออกเสียงส่วนใหญ่ โดยที่ประชุมรัฐภาคีฯ เห็นด้วยให้มีการพิจารณาในประเด็นดังกล่าวในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ ต่อไป ทงั น้ี การตัดสินใจให้เป็นไปโดยฉนทามติ จนกว่าที่ประชุมรัฐภาคจะเห็นชอบให้เป็นอย่างอื่น
วาระท่ี ๕ ประเด็นที่เก่ียวของกบการดําเนินงานตามอนุสญญาฯ
(a) มาตรการในการลดหรือxxxxxxxปลดปล่อยสาร POPs จากการผลิตและการใช้โดยจงใจ
(i) ข้อยกเวนพิเศษ
ที่ประชุมรัฐภาคีฯ สมยที่ ๗ ได้พิจารณาประเด็นที่เก่ียวข้องกับการขึ้นทะเบียนยกเว้นพิเศษ และการใชงานสําหรบวตถุxxxxxxxxxxยอมรับได้ ตามพันธกรณีในข้อบทที่ ๔ ของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ โดยมีมติ ข้อxxxxxxxxxxxสําคญั ดังนี้
มติข้อตัดสินใจ
๑. เห็นชอบให้ปรับปรุงแก้ไขกระบวนการทบทวนเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนยกเว้นพิเศษ โดยให้เป็น กระบวนการปลายเปิด โดยท่ีประชุมรัฐภาคีฯ xxxxxxxxxxxxxอย่างต่อเนื่องตามความจําเป็น รวมทง้ xxxxxx ปรบปรุงกระบวนการทบทวนฯ ได้หากเห็นxxxxx
๒. รับทราบว่า เนื่องจากไม่มีภาคีสมาชิกใดยื่นขอยกเว้นพิเศษสําหรับสาร PFOS, its salts and PFOSF ดงน้ัน จึงปิดไม่ให้มีการขึ้นทะเบียนใหม่อีกสําหรับสารดังกล่าว
๓. กระตุ้นให้ภาคีสมาชิกพิจารณารายงานของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการใช้สาร lindane
และสารxxxxxในการรกษาโรคหิดและเหา โดยxxxxxxxxใหใชม้ ีการหาสารxxxxxสาร lindane
๔. กระตุ้นเตือนภาคีสมาชิกที่xxxxxxxจะขอขึ้นทะเบียนยกเว้นพิเศษสําหรับสาร hexabromo- cyclododecane และสาร technical endosulfan and its related isomers ให้พิจารณาแจ้งสํานักเลขาธิการ ฯ ตามพันธกรณีในข้อบทที่ ๔ ของอนุสัญญาฯ รวมทั้งภาคีสมาชิกที่xxxxxxxจะขึ้นทะเบียนการใช้งานสําหรับ
วตถุxxxxxxxxxxยอมรบได้ และการแจ้งเกี่ยวกบการใชเป็นสารตัวกลางในระบบปิดเฉพาะพ ที่จํากัดด้วย
๕. รับทราบว่า ตามที่ประเทศอินเดียได้ร้องขอ ข้อยกเว้นพิเศษสําหรับการผลิตและการใช้สาร
DDT เป็นสารตัวกลางในระบบปิดเฉพาะพื้นท่ีจํากัดสําหรับการผลิต xxxxxxx xxxรับการขยายระยะเวลาจนถึงxxxxxx
๑๕ พฤษภาคม ค.ศ. ๒๐๒๔
(ii) สาร DDT
ที่ประชุมรัฐภาคีฯ สมัยท่ี ๗ ได้พิจารณาประเด็นการประเมินความต้องการในการผลิตและ การใช้สาร DDT ต่อไปเพื่อการควบคุมพาหะนําโรค โดยที่ประชุมรัฐภาคีฯ มีมติข้อxxxxxxxxxxxสําคัญ ดังนี้
มติขอตดสินใจ
๑. สรุปว่าประเทศต่าง ๆ ที่ต้องพึ่งการพ่นใช้สาร DDT ภายในอาคาร เพ่ือการควบคุมพาหะ นําโรค อาจมีความจําเป็นต้องใช้สาร DDT สําหรับวัตถุประสงค์ดังกล่าวในสภาวะแวดล้อมเฉพาะที่ยังไม่มีสารxxxxx xxxเหมาะสม คุ้มค่าและปลอดภัยในxxxxxxxx xxxจะxxxxxxเลิกใช้สาร DDT อย่างยั่งยืนได้
๒. ตัดสินใจให้มีการประเมินความต้องการในการใช้สาร DDT เพื่อการควบคุมพาหะนําโรคเพิ่มเติม ในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยท่ี ๘ โดยคํานึงถึงข้อมูลท่ีมีอยู่ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคนิควิชาการ สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจ รวมทั้งข้อเสนอแนะจากคณะผู้เชี่ยวชาญด้านสาร DDT รวมท้ังมุ่งเน้นและเร่งรัดในประเด็นการ พฒนาสารxxxxxxxxเหมาะสม คุ้มค่าและปลอดภยในระดับxxxxxxxx
๓. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ ให้การสนับสนุนต่อไปในส่วนของกระบวนการรายงาน การประเมิน ความต้องการในการใช้สาร DDT สําหรับการควบคุมพาหะนําโรค และช่วยเหลือภาคีสมาชิกในการxxxxxxxx สารxxxxxในระดบxxxxxxxxxxxเหมาะสม คุ้มค่าและปลอดภัย เพื่อให้xxxxxxเลิกใชสาร DDT ได้อย่างยั่งยืน
๔. xxxxxxxองค์การอนามัยโลก (WHO) ให้ความร่วมมือต่อไปในกระบวนการรายงาน และการประเมินความตองการในการใช้สาร DDT สําหรับการควบคุมพาหะนําโรค
๕. รบรององค์ประกอบของ roadmap สําหรับการพัฒนาสารxxxxxสาร DDT และxxxxxxxให้ หน่วยงาน UNEP เป็นผู้นําในการดําเนินงาน โดยหารือร่วมกับ WHO คณะผู้xxxxxxxxxด้านสาร DDT และสํานัก เลขาธิการฯ และxxxxxxxให้ UNEP แจ้งความxxxxxxxxผลการดําเนินงานในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ ต่อไป
๖. xxxxxxxให้ UNEP รายงานความxxxxxxxxผลการดําเนินงานของกลุ่มพันธมิตรระดับโลก (Global Alliance) ในการพัฒนาและใช้สารxxxxxสาร DDT สําหรับการควบคุมพาหะนําโรค ในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ ต่อไป
๗. xxxxxxxให้รัฐบาลต่าง ๆ องค์กรรัฐบาลระหว่างประเทศ องค์กรเอกชน สถาบันวิจัย
ภาคอุตสาหกรรม และผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ ให้การสนับสนุนด้านเทคนิคและการเงินต่อการดําเนินงานของกลุ่ม พันธมิตรระดับโลกฯ รวมท้งการดําเนินกิจกรรมตาม roadmap
(iii) สาร PCBs
ท่ีประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๗ ได้รับทราบและพิจารณาประเด็นความxxxxxxxxการดําเนินงาน ในการจดการและกําจัดสาร PCBs โดยมีมติข้อxxxxxxxxxxxสําคัญ ดังนี้
มติข้อตัดสินใจ
๑. ร้องขอให้ภาคีสมาชิกxxxxxความxxxxxxในการจัดส่งรายงานของประเทศ ตามข้อบทท่ี ๑๕ อย่างครบถ้วนภายในกําหนด โดยให้ครอบคลุมถึงขอมูลความxxxxxxxxในการกําจัดสาร PCBs ด้วย
๒. กระตุ้นให้ภาคีสมาชิกxxxxxความxxxxxxในการกําจัดสาร PCBs เพื่อให้xxxxxเป้าหมายในการ เลิกใช้อุปกรณ์ที่มี PCBs ภายในปี ค.ศ. ๒๐๒๕ รวมทั้งกําจัดทําลายน้ํามันและอุปกรณ์ที่มีส่วนประกอบของ PCBs สูงกว่าร้อยละ ๐.๐๐๕ อย่างเป็นxxxxต่อสิ่งแวดลอมโดยเร็วที่สุดแต่ไม่เกินปี ค.ศ. ๒๐๒๘
๓. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ รวบรวมข้อมูลxxxxxxรับรายงานต่าง ๆ เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ ประเมินความมีxxxxxxxxxxพิจารณา ภายในxxxxxx ๓๑ xxxxxx ๒๕๕๙ โดยให้นําเสนอรายงานต่อที่ประชุมรัฐภาคี ฯ สมัยที่ ๘ และขอให้สํานักเลขาธิการฯ เข้าร่วมกิจกรรมของ PCBs Elimination Network ต่อไป
๔. xxxxxxxให้รัฐบาลต่าง ๆ องค์กรรัฐบาลระหว่างประเทศ องค์กรเอกชน สถาบันวิจัย ภาคอุตสาหกรรม และผู้เกี่ยวข้อง ใหการสนับสนุนการดําเนินงานของ PCBs Elimination Network
๕. xxxxxxxให้หน่วยงาน Chemicals Branch ของ UNEP แจ้งความxxxxxxxxกิจกรรม ของ PCBs Elimination Network ให้ที่ประชุมรฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ ทราบต่อไป
(iv) สารกลุ่ม brominated diphenyl ethers (XXXx) และกลุ่ม perfluorooctane sulfonic acid (PFOS), its salts and perfluorooctane sulfonyl fluoride (PFOSF)
ที่ประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๗ ได้รับทราบรายงานและพิจารณาประเด็นการประเมินความxxxxxxxx ของภาคีสมาชิกในการกําจัดสารกลุ่ม XXXx และสาร PFOS, its salts and PFOSF รวมทั้งการทบทวนความจําเป็น ให้มีข้อยกเว้นพิเศษต่อไปสําหรับสารกลุ่มดังกล่าว โดยท่ีประชุมรัฐภาคีฯ มีมติข้อxxxxxxxxxxxสําคัญ ดังน้ี
มติขอตดสินใจ
๑. รับรองแบบฟอร์มฉบับแกไขสําหรับใช้ในการรวบรวมข้อมูลสารกลุ่ม XXXx และตดสินใจ ให้ใช้รูปแบบดังกล่าวสําหรับการประเมินความxxxxxxxxของภาคีสมาชิกในการกําจัดสารกลุ่ม XXXx และการทบทวน ความจําเป็นให้มีข้อยกเว้นพิเศษต่อไป ในการประชุมรฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ และในทุก ๆ สองสมัยxxxxหลังจากนั้น
๒. ตัดสินใจให้คํานึงถึงข้อมูลประสบการณ์xxxxxxรับจากภาคีสมาชิกในการนําข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการ POPRC ไปดําเนินการ รวมทั้งรายงานจากสํานักเลขาธิการฯ เก่ียวกับปัญหาอุปสรรคxxxxxxรับ แจ้งจากภาคีสมาชิก ในช่วงการประเมินความxxxxxxxxและการทบทวนความจําเป็นฯ ในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ ดังกล่าว
๓. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ สนบสนุนกระบวนการเพื่อให้ที่ประชุมรัฐภาคีฯ xxxxxxประเมิน ความxxxxxxxxของภาคีสมาชิกในการกําจัดสารกลุ่ม XXXx และทบทวนความจําเป็นให้มีข้อยกเว้นพิเศษต่อไป และสนบสนุนภาคีสมาชิกในการเก็บรวบรวมและจดส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องสําหรับกระบวนการประเมินฯ ต่อไป
๔. กระตุ้นเตือนภาคีสมาชิกที่xxxxxxxจะขอขึ้นทะเบียนยกเว้นพิเศษสําหรับสารกลุ่ม XXXx
ให้แจ้งขึ้นทะเบียนฯ กับสํานักเลขาธิการฯ อย่างเป็นลายลักษณ์xxxxx
๕. รับทราบข เสนอแนะของคณะกรรมการ POPRC เกี่ยวกับการระบุและการประเมินทางเลือก
xxxxxสาร PFOS สําหรับการใช้งานแบบระบบเปิด รวมท้งxxxxxxxให้ภาคีสมาชิกและผู้สงั เกตการณ์พิจารณา ใช้ประโยชน์จากข้อเสนอแนะดงกล่าว
๖. รับทราบรายงานการประเมินสารxxxxx PFOS, its salts and PFOSF จากคณะกรรมการ
POPRC และรายงานจากสํานกเลขาธิการฯ เกี่ยวกับการประเมินข้อมูลสาร PFOS, its salts and PFOSF
๗. สรุปว่าภาคีสมาชิกอาจยังมีความจําเป็นต้องผลิตและ/หรือใช้สาร PFOS, its salts and PFOSF สําหรับวัตถุประสงค์ที่ยอมรับได้ตามที่ระบุในภาคผนวก บี ต่อไป และจะต้องแจ้งให้สํานักเลขาธิการฯ ทราบเกี่ยวกับ ความxxxxxxxดังกล่าว
๘. กระตุ้นภาคีสมาชิก บนพื้นฐานความพร้อมด้านสารxxxxx ให้พิจารณาถอนทะเบียน วัตถุประสงค์ที่ยอมรับไดส้ ําหรับการผลิตและการใช้สาร PFOS, its salts and PFOSF
๙. ตัดสินใจให้ปรบตารางกําหนดการประเมินความจําเป็นให้มีการใช้งานสําหรับวัตถุประสงค์ ท่ียอมรับได้ต่อไป สําหรับสาร PFOS, its salts and PFOSF โดยใหด้ ําเนินการประเมินในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๙ ต่อไป
๑๐. กระตุ้นเตือนภาคีสมาชิกxxxxxxขึนทะเบียนหรือxxxxxxxจะขอขึ้นทะเบียนการผลิตและการใช้ สาร PFOS, its salts and PFOSF สําหรับวัตถุประสงค์ที่ยอมรับได้ ใหด้ ําเนินมาตรการที่จําเป็นเพ่ือให้แน่ใจว่าผลิตภัณฑ์ ที่มีสาร PFOS, its salts and PFOSF xxxxxxรับอนุญาตให้ผลิตและใช้นั้น xxxxxxบ่งxxxxxxง่ายตลอดวงจรชีวิต ของผลิตภัณฑ์ โดยการติดxxxxหรือวิธีการอื่น ๆ
๑๑. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ ดําเนินการ ๑) ปรับปรุงแบบสอบถามสําหรับเก็บรวบรวมข้อมูล สารxxxxx PFOS, its salts and PFOSF โดยคํานึงข้อเสนอแนะxxxxxxรับจากคณะกรรมการ POPRC และจากที่ประชุม รัฐภาคีฯ สมัยที่ ๗ และขอให้ใช้แบบสอบถามดังกล่าวสําหรับการประเมินความจําเป็นฯ ที่จะมีข้ึนในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๙ ต่อไป ๒) สนับสนุนอย่างต่อเนื่องต่อไป เพื่อให้ที่ประชุมรัฐภาคีฯ xxxxxxประเมินท่ีเกี่ยวข้องกับสาร PFOS, its salts and PFOSF ๓) สนับสนุนภาคีสมาชิกในการเก็บรวบรวมและจัดส่งข้อมูลที่จําเป็นสําหรับ กระบวนการประเมินฯ ๔) xxxxxxxxการแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับสารxxxxxและสนับสนุนภาคีสมาชิกในการ จัดกิจกรรมเพื่อรวบรวมและจัดส่งข้อมูลสําหรับการประเมินฯ สาร PFOS, its salts and PFOSF และ ๕) จัดเตรียม เอกสารระบุประเด็นxxxxxxประชุมรัฐภาคีฯ จะต้องดําเนินการต่อไป หากมีข้อสรุปว่าไม่มีความจําเป็นต้องผลิตและ/หรือ ใช้สาร PFOS, its salts and PFOSF สําหรับวัตถุประสงค์ท่ียอมรับได้ตามท่ีระบุในภาคผนวก บี แล้ว โดยให้ นําเสนอท่ีประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ พิจารณาต่อไป
๑๒. xxxxxxxให้ภาคีสมาชิกแจ้งสํานักเลขาธิการฯ เกี่ยวกับการตีความและแนวทางการปฏิบัติ ตามข้อบทที่ ๔ ของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ เพื่อเสนอให้ท่ีประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ พิจารณา โดยขอให้สํานัก เลขาธิการฯ รวบรวมข้อมูลดงกล่าว และเผยแพร่บนเว็บไซต์ของอนุสัญญาฯ ต่อไป
(v) การประเมินความจําเป็นในการใช้ข้อกําหนดในย่อหน้าท่ี ๒(b) ของข้อบทที่ ๓ ต่อไป เกี่ยวกับการส่งออกสารเคมีxxxxxxรับการยกเว้นพิเศษตามภาคxxxx xx และ บี ของอนุสัญญาฯ
ท่ีประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๗ ได้พิจารณาประเด็นการประเมินความจําเป็นในการใช้ข้อกําหนด ในย่อหน้าที่ ๒(b) ของข้อบทที่ ๓ ของอนุสัญญาฯ เกี่ยวกับการส่งออกสารเคมีในภาคxxxx xx และภาคผนวก บี ของอนุสัญญาฯ โดยมีมติข้อxxxxxxxxxxxสําคัญ ดังนี้
มติข้อตัดสินใจ
๑. สรุปว่ายังมีความจําเป็นในการใช้ข้อกําหนดในย่อหน้า ที่ ๒(b) ขอบทที่ ๓ ต่อไป
๒. ให้ภาคีสมาชิกที่xxxxxxxจะส่งออกสารเคมีในภาคxxxx xx หรือ บี ของอนุสัญญาฯ ไป ยังประเทศที่ไม่ใช่ภาคี จะต้องจัดส่งเอกสารรับรองจากประเทศนําเข้า ตามข้อกําหนดในย่อหน้า ที่ ๒(b) (iii) ของข้อบทที่ ๓ โดยให้ใช้แบบฟอร์มฯ xxxxxร้ ับการรับรองสําหรับวัตถุประสงค์ดังกล่าว
๓. รองขอให้สํานักเลขาธิการฯ จัดกิจกรรมxxxxxxxxxxความตระหนักเก่ียวกับข้อกําหนดและ แบบฟอร์มสําหรับการรบรองการนําเข้าโดยประเทศที่ไม่ใช่ภาคี
๔. เห็นชอบให้มีการทบทวนความมีxxxxxxxxxxของข้อกําหนดในย่อหน้าที่ ๒(b) ของข้อบทที่ ๓ ในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยท่ี ๙ และร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ จัดเตรียมรายงานเกี่ยวกับความมีxxxxxxxxxx ของข้อกําหนดในย่อหน้าที่ ๒(b) ของข้อบทที่ ๓ บนพื้นฐานข้อมูลxxxxxxรับแจ้งในรายงานของประเทศ เอกสาร รับรองจากภาคีผู้ส่งออกและขอมูลอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อนําเสนอให้ที่ประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๙ พิจารณาต่อไป
(b) มาตรการในการลดหรือxxxxxxxปลดปล่อยสาร POPs ท่ีเกิดจากการผลิตโดยไม่xxxx
xxxประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๗ ได้พิจารณาใน ๒ ประเด็น คือ ๑) Toolkit for Identification and Quantification of Releases of Dioxins, Furans and Other Unintentional POPs (Toolkit) และ
๒) Guidelines on Best Available Techniques and Provisional Guidance on Best Environmental
Practices (BAT/BEP) โดยมีมติข้อxxxxxxxxxxxสําค
มติข้อตัดสินใจ
ดังน
๑. รับทราบรายงานการประชุมของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญฯ รวมท้ังข้อสรุปและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้อง กับการใช้ประโยชน์จาก Toolkit ความสอดคล้องกบรูปแบบการรายงานของประเทศตามข้อบทที่ ๑๕ และการพิจารณา ข้อมูลแนวโน้มการปลดปล่อยเพื่อสนับสนุนการประเมินความมีxxxxxxxxxxของอนุสัญญาฯ
๒. ตระหนักว่าการบรรจุเพิ่มเติมรายชื่อสารเคมีในภาคผนวก เอ บี และ/หรือ ซี ของอนุสัญญา ฯ ทําให้จําเป็นจะต้องปรับปรุงคู่มือและแนวทางต่าง ๆ ที่มีอยู่ หรือพัฒนา คู่มือใหม่ เพื่อสนับสนุนภาคีสมาชิก ในการปฏิบัติตามxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้อง
๓. ร้องขอให้กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้าน Toolkit โดยการหารือกับผู้เชี่ยวชาญด้าน BAT/BEP พัฒนา ข้อกําหนดการดําเนินงานร่วมสําหรับการพิจารณาประเด็นxxxxxxxxxxxxกันระหว่างการปลดปล่อยสาร POPs โดยxxxxxxx และแนวทางด้าน BAT/BEP สําหรับสารเคมีในภาคผนวก เอ บี และ/หรือ ซี ของอนุสัญญาฯ
๔. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ ให้การสนับสนุนกลุ่มผู้เชี่ยวชาญฯ ในประเด็นการดําเนินงานต่อไป รวมทังจัดกิจกรรมxxxxxxxxxxความตระหนักและความช่วยเหลือด้านเทคนิคเพื่อxxxxxxxxการใช้ Toolkit ดังกล่าว และรายงานผลการดําเนินงานในการประชุมรฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ ต่อไป
๕. กระตุนใหภาคีสมาชิกใชประโยชน์จาก Toolkit ในการจัดทําทําเนียบสาร POPs ประเภทปลดปล่อย โดยxxxxxxxตามแหล่งกําเนิดต่าง ๆ ที่ระบุในภาคxxxx xx ของอนุสัญญาฯ รวมท้ังในการรายงานข้อมูลทําเนียบดังกล่าว ในรายงานของประเทศตามขอบทท่ี ๑๕ ของอนุสัญญาฯ
๖. xxxxxxxให้ภาคีสมาชิกให้ความเห็นแก่สํานักเลขาธิการฯ เก่ียวกับประสบการณ์การใช้ Toolkit
๗. รบรองแผนการดําเนินงานของกลุ่มผูxxxxxxxxxดาน BAT/BEP ตามท่ีปรากฏในภาคผนวก ของเอกสาร UNEP/POPS/COP.7/CRP.14
๘. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ โดยการหารือกับกลุ่มผู้xxxxxxxxxด้าน BAT/BEP ดําเนินการปรับปรุง ร่างเอกสารแนวทางด้าน BAT/BEP สําหรับการใช้สารในกลุ่ม PFOS และสําหรับการรีไซเคิลและการกําจัดซากผลิตภัณฑ์ ท่ีมีสาร PBDEs เป็นส่วนประกอบ ในส่วนที่มีการอ้างอิงxxxxxxดําเนินงานภายใต้อนุสัญญาบาเซลโดยเฉพาะหลักเกณฑ์ วิชาการด้านการจัดการของเสียอย่างเป็นxxxxต่อสิ่งแวดล้อม
๙. ตระหนักว่าการบรรจุเพิ่มเติมรายชื่อสารเคมีในภาคผนวก เอ บี และ/หรือ ซี ของอนุสัญญา ฯ ทําให้จําเป็นจะต้องปรับปรุงคู่มือและแนวทางต่าง ๆ ที่มีอยู่ หรือพัฒนา คู่มือใหม่ เพ่ือสนับสนุนภาคีสมาชิก ในการปฏิบัติตามxxxxxxxxxxxเก่ียวข้อง รวมทง้ ตองการความxxxxxxxxxเฉพาะ
๑๐. ร้องขอให้กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้าน BAT/BEP ดําเนินการทบทวนปรับปรุงคู่มือและแนวทางต่าง ๆ ต่อไป และให้หารือกับผู้เชี่ยวชาญด้าน Toolkit ในการพัฒนาข้อกําหนดการดําเนินงานร่วมสําหรับการพิจารณา ประเด็นxxxxxxxxxxxxกันระหว่างการปลดปล่อยสาร POPs โดยxxxxxxxและแนวทางด้าน BAT/BEP สําหรับสารเคมี ในภาคผนวก เอ บี และ/หรือ ซี ของอนุสัญญาฯ
๑๑. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ ให้การสนับสนุนกลุ่มผู้เชี่ยวชาญฯ ในการทบทวนปรับปรุง คู่มือและแนวทางต่าง ๆ รวมทงั การจัดกิจกรรมxxxxxxxxxxความตระหนกและให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค เพื่อxxxxxxxx การใช้คู่มือและแนวทางด้าน BAT/BEP โดยให้รายงานความxxxxxxxxในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยท่ี ๘ ต่อไป
๑๒. xxxxxxxให้ภาคีสมาชิกและผู้เกี่ยวข้องเสนอชื่อผู้เชี่ยวชาญด้าน BAT/BEP โดยเฉพาะ ในส่วนของสาร POPs ชนิดใหม่ท่ีบรรจุเพิ่มเติม ต้งแต่ปี ค.ศ. ๒๐๐๙-๒๐๑๕ เพื่อเข้าร่วมในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญฯ
๑๓. กระตุ้นให้ภาคีสมาชิกและผู้เกี่ยวของ ใช้ประโยชนจากคู่มือและแนวทางด้าน BAT/BEP ในการพิจารณาxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้องกบการดําเนินการตามแผนจัดการสาร POPs รวมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณ์ อาทิ ผ่านทาง clearing-house mechanism ภายใต้อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ
(c) มาตรการในการลดหรือxxxxxxxปลดปล่อยสาร POPs จากของเสีย
ท่ีประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๗ ได้รับทราบและพิจารณาประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับการดําเนินมาตรการ ลดหรือxxxxxxxปลดปล่อยสาร POPs จากของเสีย รวมทั้งความร่วมมือและประเด็นคาบเกี่ยวกับการดําเนินงาน ภายใต้อนุสัญญาบาเซล โดยที่ประชุมรัฐภาคีฯ มีมติข้อxxxxxxxxxxxสําคัญ ดังนี้
มติข้อตัดสินใจ
๑. แสดงความxxxxxและรับทราบความคืบหน้าการดําเนินงานภายใต้อนุสัญญาบาเซลในการปรับปรุง หลักเกณฑ์วิชาการด้านการจัดการของเสียสาร POPs อย่างเป็นxxxxต่อสิ่งแวดล้อม ในส่วนของสาร POPs ชนิดใหม่ ตามที่มีการรับรองโดยที่ประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาบาเซล สมัยที่ ๑๒
๒. กระตุ้นเตือนให้ภาคีสมาชิกคํานึงถึงหลกเกณฑxx xxxการฯ ฉบับปรับปรุงดังกล่าว ในการดําเนินงาน ตามxxxxxxxxxxxเกี่ยวของ ในข้อบทที่ ๖ ของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ
๓. กระตุ้นการดําเนินโครงการxxxxxวิธีการจดการของเสียท่ีคุ้มค่า ตามหลกเกณฑ์วิชาการฯ ดังกล่าว
๔. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ จัดกิจกรรมxxxxxxxxxxขีดความxxxxxxและฝึกอบรม ในการสนับสนุน ภาคีสมาชิกในการดําเนินมาตรการลดหรือxxxxxxxปลดปล่อยสาร POPs จากของเสีย โดยคํานึงถึงหลักเกณฑ์ฯ ฉบับปรับปรุงดังกล่าว
๕. xxxxxxxให้องค์กรท่ีเกี่ยวข้องภายใต้อนุสัญญาบาเซล มีการดําเนินงานที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ สมัยที่ ๗ ให้บรรจุเป็นสาร POPs xxxxxเติม ในภาคผนวกของอนุสัญญาฯ โดย
๑) การกําหนดระดับสาร POPs ในของเสียหลังจากกําจัดทําลายเพื่อไม่ให้แสดงคุณสมบัติ ตามหลักเกณฑ์ในภาคxxxx xx ของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ
๒) การกําหนดวิธีการกําจัดของเสียสาร POPs ที่เรียกว่าเป็นวิธีการท่ีเป็นxxxxต่อสิ่งแวดล้อม ตามที่กําหนดในวรรค ๑ (d) (ii) ของขอบทที่ ๖ ของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ
๓) การกําหนดระดับความเข้มข้นของสาร POPs ในของเสียที่เรียกได้ว่า “มีสาร POPs อยู่ใน ระดับต่ํา” ตามที่กําหนดในวรรค ๑ (d) (ii) ของข้อบทที่ ๖ ของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ
๔) การปรับปรุงหลักเกณฑ์วิชาการที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการของเสียอย่างเป็นxxxxต่อสิ่งแวดล้อม โดยเพิ่มเติมประเด็นเกี่ยวกับสาร POPs ชนิดใหม่ดังกล่าว
(d) แผนจดการระดบชาติเพ่ือการปฏิบัติตามอนุสญญาสตอกโฮล์มฯ
ท่ีประชุมรฐภาคีฯ สมยที่ ๗ ไดร้ บทราบและพxxxxxประเด็นที่เก่ียวของกับการจัดทําแผนจดการ ระดบชาติเพื่อการปฏิบัติตามอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ ตามพันธกรณีในข้อบทที่ ๗ ของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ โดยมีมติ ข้อxxxxxxxxxxxสําคัญ ดังนี้
มติขอตัดสินใจ
๑. กระตุ้นให้ภาคีสมาชิกท่ียังxxxxxxจดสงแผนจัดการระดับชาติฯ ให้ดําเนินการจัดส่งโดยเร็ว
๒. รับทราบคู่มือต่าง ๆ ฉบับปรับปรุงแก้ไข และกระตุนให้ภาคีสมาชิกใช้ประโยชน์จากคู่มือฯ ดังกล่าว ในการพัฒนา ทบทวนและปรบปรุงแผนจดการระดับชาติฯ ของตน
๓. ร้องขอให้ภาคีสมาชิกและผู้เก่ียวข้องให้ข้อคิดเห็นแก่สํานักเลขาธิการฯ เกี่ยวกับประสบการณ์ การนําคู่มือต่าง ๆ ไปใช้ในการพัฒนาแผนจัดการระดับชาติฯ และแนวทางในการxxxxxประโยชน์จากคู่มือฯ โดยขอให้ สํานักเลขาธิการฯ พิจารณาปรบปรุงคู่มือฯ ต่อไป
๔. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ จัดกิจกรรมฝึกอบรมและxxxxxxxxxxขีดความxxxxxxเพื่อสนับสนุน ภาคีสมาชิกและอํานวยความสะดวกเกี่ยวกับการจัดทําแผนจัดการระดับชาติฯ พัฒนาคู่มือใหม่สําหรับการจัดทํา ทําเนียบสาร POPs รวมท้ังพิจารณาคู่มืออื่นเพิ่มเติม โดยให้รายงานความxxxxxxxxประเด็นต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง ในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ ต่อไป
(e) การพิจารณาบรรจุรายชื่อสารเคมีเพิ่มเติมในภาคผนวก เอ บี หรือ ซี ของอนุสัญญาฯ
ที่ประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๗ ไดพ้ ิจารณารายชื่อสารเคมี ๓ ชนิด เพื่อบรรจุเพิ่มเติมในภาคผนวก ของอนุสัญญาฯ ตามขอเสนอแนะจากคณะกรรมการพิจารณาทบทวนสารมลพิษที่ตกค้างยาวนาน (Persistent Organic Pollutants Review Committee: POPRC) คือ ๑) สาร hexachlorobutadiene (HCBD) ๒) สาร chlorinated naphthalenes (CNs) และ ๓) สาร pentachlorophenol and its salt and esters โดยที่ประชุม รัฐภาคีฯ มีมติข้อตดสินใจท่ีสําคัญ ดังนี้
มติข้อตัดสินใจ
๑. เห็นชอบให้บรรจุสาร hexachlorobutadiene ในภาคxxxx xx (เลิกใช้และกําจัดให้หมดไป)
โดยไม่มีข้อยกเว้นพิเศษ ท้ังนี้ ในส่วนของข้อเสนอการบรรจุในภาคxxxx xx (เกิดขึ้นและปลดปล่อยโดยxxxxxxx)
ขอให้คณะกรรมการ POPRC พิจารณาข้อมูลxxxxxเติม และเสนอxx xxประชมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ พxxxxxอกครีิ ั้ง
๒. เห็นชอบให้บรรจุสาร chlorinated naphthalenes ที่มีคลอรีนต้ังแต่ ๒ - ๘ อะตอม ไว้ใน ภาคxxxx xx (เลิกใช้และกําจัดให้หมดไป) โดยมีข้อยกเว้นพิเศษสําหรับการผลิตเป็นสารตัวกลางและการใช้ สารดังกล่าวในการผลิต polyfluorinated naphthalenes รวมถึง octafluorinated naphthalene และบรรจุ ในภาคxxxx xx (เกิดขึ้นและปลดปล่อยโดยไม่จงใจ)
๓. เห็นชอบให้บรรจุสาร pentachlorophenol and its salt and esters ประกอบด้วย penta- chlorophenol (CAS No: 87-86-5), sodium pentachlorophenate (CAS No: 131-52-2 and 27735-64-4 (as monohydrate)), pentachlorophenyl laurate (CAS No: 3772-94-9) and pentachloroanisole (CAS No: 1825-21-4) ไว้ในภาคผนวก เอ (เลิกใช้และกําจัดให้หมดไป) ของอนุสัญญาฯ โดยมีข้อยกเว้นพิเศษ สําหรับการผลิตและการใช้งานในเสาไฟฟ้าและแขนกางเขนของเสาไฟฟ้า (utility poles and cross arms)
(f) การให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิควิชาการ
ที่ประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๗ ได้พิจารณาใน ๒ ประเด็นหลัก คือ ๑) การให้ความช่วยเหลือด้าน เทคนิคและการเสริมสร้างขีดความสามารถในการปฏิบัติตามอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ และ ๒) การดําเนินงานและการ ประเมินผลศูนย์ระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาคของอนุสัญญาฯ ในการเสริมสร้างขีดความสามารถและการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่ภาคีสมาชิก โดยที่ประชุมรฐภาคีฯ มีมติข้อตัดสินใจท่ีสําคัญ ดังนี้
มติขอตัดสินใจ
การให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค
๑. ยินดีกับการพัฒนาฐานข้อมูลสําหรับเก็บรวบรวมข้อมูลความต้องการความช่วยเหลือของ ภาคีสมาชิก รวมทั้งข้อมูลความช่วยเหลือที่มีอยู่
๒. เชิญชวนให้ภาคีสมาชิกประเทศกําลังพัฒนาหรือประเทศที่เศรษฐกิจอยู่ในระยะเปลี่ยนผ่าน ให้ข้อมูลแก่สํานักเลขาธิการฯ เกี่ยวกับประเด็นที่ต้องการความช่วยเหลือด้านเทคนิคและการถ่ายทอดเทคโนโลยี รวมทังข้อจํากัดและอุปสรรคที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติตามพันธกรณีของอนุสัญญาฯ
๓. เชิญชวนใหภาคีสมาชิกประเทศท่ีพัฒนาแล้วให้ขอมูลแก่สํานักเลขาธิการฯ เกี่ยวกับประเด็น ความช่วยเหลือด้านเทคนิคและการถ่ายทอดเทคโนโลยี ท่ีสามารถให้แก่ประเทศกําลังพัฒนาหรือประเทศท่ีเศรษฐกิจ อยู่ในระยะเปลี่ยนผ่านได้
๔. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ เก็บรวบรวมข้อมูลฯ ผ่านทางแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์และวิเคราะห์ ข้อมูลดังกล่าว เพ่ือระบุช่องว่างและอุปสรรคท่ีเกี่ยวข้องกับการให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค รวมทั้งเสนอแนะ ความเห็นและดําเนินการเพ่ือแก้ไขปัญหาดังกล่าว
๕. ยินดีกับแผนกิจกรรมความช่วยเหลือด้านเทคนิค และร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ ดําเนินการ ตามแผนฯ โดยร่วมมือกับฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และคํานึงถึงองค์ประกอบของแผนฯ ในการดําเนินงานให้ความช่วยเหลือ ด้านเทคนิคและเสริมสร้างขีดความสามารถในการปฏิบัติตามพันธกรณีของอนุสัญญาฯ นอกจากนี้ กระตุ้นให้ภาคี สมาชิกและผเู กี่ยวข้องให้การสนับสนุนทางการเงินและทรัพยากรอื่น ๆ ในการดําเนินงานตามแผนฯ ดังกล่าว
๖. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ ในการดําเนินกิจกรรมความช่วยเหลือด้านเทคนิค ให้คํานึงถึง ความต้องการความช่วยเหลือด้านเทคนิคเฉพาะที่เป็นผลสืบเนื่องจากการบรรจุสารเคมีชนิดใหม่เพ่ิมเติมในภาคผนวก เอ บี หรือ ซี ของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ
๗. ให้อํานาจหน้าที่แก่สํานักเลขาธิการฯ ในการจัดจ้างผู้ตรวจสอบบัญชีอิสระ เพื่อตรวจสอบโครงการ เสริมสร้างขีดความสามารถและความช่วยเหลือด้านเทคนิค รวมทั้งกิจกรรมอื่น ๆ ที่ดําเนินการในระดับภูมิภาค และ/หรือระดับประเทศ ในการปฏิบตั ิตามพันธกรณีของอนุสัญญาฯ
๘. เน้นยํ้าถึงบทบาทสําคัญของศูนย์ระดับภูมิภาคฯ ตามที่ระบุในข้อกําหนดของอนุสัญญาบาเซล และอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ รวมทั้งสํานักงานระดับภูมิภาคและอนุภูมิภาคของ FAO ในการให้ความช่วยเหลือ ด้านเทคนิคตามที่มีการร้องขอในระดับภูมิภาค ในการดําเนินงานตามแผนกิจกรรมการให้ความช่วยเหลือด้าน เทคนิคและอํานวยความสะดวกการถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ภาคีสมาชิก
๙. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ จัดเตรียมแผนกิจกรรมความช่วยเหลือด้านเทคนิค ในช่วงปี ค.ศ. ๒๐๑๘ - ๒๐๑๙ โดยคํานึงถึงกระบวนการบูรณาการ รวมทั้งผลการประเมินกิจกรรมความช่วยเหลือด้านเทคนิค ที่ผ่านมา
ศูนย์ระดับภูมภาคและอนุภูมิภาคของอนุสัญญาฯ
๑. เนนย้ําถึงบทบาทสําคัญของศูนย์ระดับภูมิภาคฯ ในการให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิคและ อํานวยความสะดวกการถ่ายทอดเทคโนโลยีในการปฏิบัติตามพันธกรณีของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ และร้องขอให้ ศูนย์ฯ ต่าง ๆ ประสานงานและร่วมมือในสาขาความเชี่ยวชาญท่ีจะสามารถใหความช่วยเหลือได้
๒. เรียกร้องให้มีความพยายามอย่างย่ังยืนในการยกระดับผลการดําเนินงานในการช่วยเหลือ ภาคีสมาชิกประเทศกําลังพัฒนา
๓. รับรองการคงสถานะของศูนย์ระดบภูมิภาคฯ ที่มีอยู่ รวม ๑๖ แห่ง ต่อไปอีก ๔ ปี
๔. เน้นย้ําถึงความจําเป็นท่ีต้องมีเครือข่ายศูนย์ระดับภูมิภาคฯ ท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยการส่ือสารกันอย่างต่อเน่ือง รวมทังการจัดประชุมระหว่างศูนย์ฯ ต่าง ๆ และเพ่ิมการใชว้ ิธีการสื่อสารอ่ืน ๆ
๕. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ จัดเตรียมรายงานผลการดําเนินกิจกรรมของศูนย์ระดับภูมิภาคฯ เพ่ือเสนอพิจารณาในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยท่ี ๘ โดยรวมถึงการวิเคราะห์แนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของเครือข่ายศูนย์ระดับภูมิภาคฯ และพิจารณาถึงการปรับเปลี่ยนวิธีการประเมินผลศูนย์ระดับ ภูมิภาคฯ ที่เป็นไปได้ เพ่ือเสนอพิจารณาในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ ต่อไป ทั้งน้ี เชิญชวนให้ศูนย์ระดับ
ภูมิภาคฯ และภาคีสมาชิกให ้อคิดเห็นทีเกี่ยวข้อง ภายในวนที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๙
๖. ตัดสินใจให้มีการประเมินผลการดําเนินงานและความย่ังยืนของศูนย์ระดับภูมิภาคฯ รวมทั้ง พิจารณารับรองการคงสถานะของศูนย์ระดับภูมิภาคฯ ในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๙ และทุก ๆ ๔ ปี หลงจากน้นั
๗. เชิญชวนให้ภาคีสมาชิกประเทศที่พัฒนาแล้ว และภาคีสมาชิกอื่น ๆ พิจารณาแนวทางในการ ยกระดับการให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิคและการถ่ายทอดเทคโนโลยีในระดับภูมิภาค เพื่อส่งเสริมการจัดการ สารเคมีและของเสียอย่างปลอดภัย การพัฒนาที่ยั่งยืน และเพ่ือคุ้มครองสุขภาพอนามัยและส่ิงแวดล้อม นอกจากนี้ เชิญชวนให้ภาคีสมาชิกดังกล่าว พิจารณาโอกาสการพัฒนาความร่วมมือที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลกับศูนย์ระดับ ภูมิภาคฯ ในการดําเนินโครงการระดับภูมิภาคด้านการจดการสารเคมีและของเสียอย่างปลอดภัย
๘. รับทราบว่าศูนย์ระดับภูมิภาคฯ บางแห่ง ไดเผชิญกับอุปสรรคความท้าทาย ท้ังนี้ เชิญชวนให้ ภาคีสมาชิก รวมทั้งศูนย์ระดบภูมิภาคฯ อื่น ๆ ให้ความร่วมมือและสนับสนุนศูนยระดับภูมิภาคฯ ดงกล่าว โดยการ แลกเปล่ียนแนวปฏิบัติท่ีดีที่สุด การให้ความช่วยเหลือด้านเทคนิค และส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยี
๙. เชิญชวนให้ภาคีสมาชิก ผู้สังเกตการณ์ และสถาบันทางการเงินอื่น ๆ ให้การสนับสนุนทางการเงิน เพื่อให้ศูนย์ระดบภูมิภาคฯ สามารถดําเนินตามแผนงานในการสนับสนุนภาคีสมาชิกในการปฏิบัติตามอนุสัญญาฯ
๑๐. เชิญชวนให้ทุกศูนย์ระดับภูมิภาคฯ ดําเนินกิจกรรมท่ีคาบเกี่ยวกับการจัดการสารปรอท และร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ ประสานจัดส่งข้อมูลให้สํานักเลขาธิการเฉพาะกาลของอนุสัญญามินามาตะฯ เพื่อเสนอให้ท่ีประชุม INC7 พิจารณาต่อไป
๑๑. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ ๑) ให้ข้อเสนอแนะอย่างต่อเน่ืองต่อไป เกี่ยวกับกิจกรรม ที่ชัดเจนในการบูรณาการระหว่างศูนย์ระดับภูมิภาคฯ ของอนุสัญญาบาเซล และอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ สํานักงาน ระดับภูมิภาคของ UNEP และ FAO และศูนย์ระดับภูมิภาคอ่ืน ๆ เพื่อให้ท่ีประชุมรัฐภาคีฯ พิจารณาตัดสินใจ
๒) สนับสนุนส่งเสริมแนวทางการบูรณาการของสํานักเลขาธิการฯ กับศูนย์ระดับภูมิภาคฯ และสํานักงานระดับ ภูมิภาคฯ โดยคํานึงถึงความเชี่ยวชาญและอํานาจหน้าท่ีเฉพาะของแต่ละศูนย์ฯ และ ๓) จัดประชุมระหว่าง ผู้อํานวยการศูนย์ฯ และสํานักเลขาธิการฯ ทุก ๆ ๒ ปี และเพิ่มความถี่ของการจัดประชุมฯ หากเป็นไปได้และมี งบประมาณเพียงพอ
(g) ทรัพยากรและกลไกทางการเงิน
ที่ประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๗ ได้พิจารณาประเด็นสําคัญที่เกี่ยวข้องกับแหล่งทุนสนับสนุนและ กลไกทางการเงินของอนุสัญญาฯ ได้แก่ ๑) การรายงานท่ีเกี่ยวข้องของกองทุนสิ่งแวดล้อมโลก (Global Environment Facility: GEF) ต่อท่ีประชุมรัฐภาคี ๒) การทบทวนกลไกทางการเงินของอนุสัญญาฯ ครั้งที่ ๔ และ ๓) ข้อเสนอแนะ
แนวทางสําหรบกลไกทางการเงินของอนุสัญญาฯ ตามที่มีการประมวลรวมกัน โดยที่ประชุมรัฐภาคีฯ มีมติท
มติข้อตัดสินใจ
ําคัญ ดังน
๑. รับทราบข้อมูลการดําเนินงานที่เกี่ยวข้องและการรายงานจาก GEF โดยสามารถระดมทุน ในสัดส่วน ๑: ๓ ระหว่างงบประมาณจาก GEF และแหล่งงบประมาณสมทบอื่น ๆ
๒. ร้องขอให้ GEF มีการรายงานเก่ียวกับบันทึกขอตกลงระหว่างที่ประชุมรัฐภาคี และ GEF ต่อไป
๓. ร้องขอสํานักเลขาธิการฯ โดยการหารือร่วมกับ GEF ในการจัดเตรียมรายงานเกี่ยวกบความมี ประสิทธิผลในการดําเนินงานตามบันทึกข้อตกลงระหว่างท่ีประชุมรัฐภาคีและ GEF ครอบคลุมถึงรายละเอียด เกี่ยวกับการติดตามผลการดําเนินงานและผลการใช้นโยบายงบประมาณสมทบของ GEF เพื่อนําเสนอให้ท่ีประชุม รัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ พิจารณาต่อไป
๔. ยินดีกับการจัดตั้งสาขา chemicals and waste ภายใต้ GEF รวมทั้งยุทธศาสตร์และการเพิ่มวงเงิน จัดสรรสําหรับการจัดการสารเคมีและของเสีย นอกจากนี้ กระตุนให้ GEF ส่งเสริมการบูรณาการกิจกรรมโครงการต่าง ๆ โดยคํานึงถึงประโยชน์ร่วมของอนุสัญญาบาเซล อนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ และยุทธศาสตร์ SAICM ในการ พิจารณาสนับสนุนการดําเนินงานตามอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ
๕. รับทราบโดยมีขอกังวลว่า วงเงินงบประมาณท่ีได้รับจัดสรรเฉพาะในส่วนของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ ไม่เพิ่มขึ้นในช่วง GEF6
๖. รับทราบว่าประเทศกําลังพัฒนาและประเทศที่เศรษฐกิจอยู่ในระยะเปลี่ยนผ่าน มีความต้องการ การสนับสนุนทางการเงินเพิ่มขึ้น ในการปฏิบัติตามพันธกรณีของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ และสําหรับการจัดการ สารเคมีและของเสีย โดยยืนยันการรองขอให้ GEF ตอบสนองประเด็นความต้องการดังกล่าว
๗. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ โดยการหารือร่วมกบสํานักเลขาธิการ GEF ระบุองค์ประกอบของ ข้อเสนอแนะแนวทางสําหรับกลไกทางการเงินฯ ท่ีเกี่ยวข้องกับประเด็นคาบเกี่ยวระหว่างอนุสัญญาบาเซลและ อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ ที่มีความสําคัญในลําดับต้น เพ่ือนําเสนอให้ท่ีประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ พิจารณาต่อไป
๘. ร้องขอให้ GEF มีการเพ่ิมประเด็นผลการดําเนินงานตามประมวลข้อเสนอแนะแนวทาง สําหรับกลไกทางการเงินของอนุสัญญาฯ ในรายงานที่เก่ียวของของ GEF ต่อท่ีประชุมรัฐภาคีฯ ด้วย
๙. รับรองขอบเขตการดําเนินงานสําหรับการทบทวนกลไกทางการเงินของอนุสัญญาฯ ครั้งที่ ๔
๑๐. รองขอให้สํานักเลขาธิการฯ รวบรวมขอมูลที่เกี่ยวข้องกับการทบทวนกลไกทางการเงินของ อนุสัญญาฯ ครั้งที่ ๔ และนําเสนอเพื่อพิจารณาในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ ต่อไป
(h) การจดส่งรายงานของประเทศ
ท่ีประชุมรัฐภาคีฯ ได้รับทราบและพิจารณาในประเด็นที่เก่ียวข้องกับการจัดส่งรายงานของประเทศ
(national report) ตามพนธกรณีในข้อบทที่ ๑๕ ของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ โดยมมตขิ ้อตัดสินใจที่สําคัญ ดังนี้
มติขอตดสินใจ
๑. รบทราบรายงานจากสํานกเลขาธการฯ โดยมีข้อกังวลที่มีภาคีสมาชิกจํานวนน้อย ท่ีจัดส่ง รายงานของประเทศ และขอให้สํานักเลขาธิการฯ พิจารณาปรบร่างยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมให้มีการรายงานฯ ภายใต้อนุสัญญาฯ
๒. เชิญชวนให้ภาคีสมาชิกท่ียังไม่ได้จดสงรายงานฯ ให้จัดส่งรายงานฯ ฉบับที่ ๓ ภายในวันท่ี
๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๘
๓. ตัดสินใจให้ภาคีสมาชิกจดส่งรายงานฯ ฉบบท่ี ๔ ภายในวันท่ี ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๑ เพื่อนําเสนอ ต่อที่ประชุมรฐภาคีฯ สมัยท่ี ๙ ต่อไป
๔. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ ดําเนินการ ๑) ปรับปรุงรูปแบบการรายงานฯ โดยเพิ่มเติม ประเด็นคําถามเกี่ยวกับสาร POPs ชนิดใหม่ที่ถูกบรรจุเพิ่มเติมในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๕๘ ๒) ปรับปรุงระบบ รายงานอิเล็กทรอนิกส์ ให้ทันเวลาสําหรับการรายงาน ฉบับท่ี ๔ โดยคํานึงถึงข้อคิดเห็นที่ได้รับจากประสบการณ์ ในการใช้ระบบฯ ของภาคีสมาชิก รวมทั้งคํานึงถึงการใช้ข้อมูลรายงานฯ สําหรับการประเมินความมีประสิทธิผล ตามข้อบทที่ ๑๖ ๓) ประมวลจัดเตรียมรายงานเสนอต่อที่ประชุมรัฐภาคีฯ สมัยท่ี ๙ ต่อไป และ ๔) ให้คําแนะนํา แก่ภาคีสมาชิกต่อไปเก่ียวกบการใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์สําหรบการรายงาน
(i) การประเมินความมีประสิทธิผลของอนุสัญญาฯ
ที่ประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๗ ได้รับทราบรายงานความก้าวหน้าและพิจารณาประเด็นที่เกี่ยวข้อง กบการประเมินความมีประสิทธิผลตามขอบทที่ ๑๖ ของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ โดยมีมติขอตัดสินใจที่สําคัญ ดังนี้
มติข้อตัดสินใจ
๑. เลือกผู้แทนจากภาคีสมาชิกที่จะทําหน้าท่ีคณะกรรมการประเมินความมีประสิทธิผล ในวาระแรก จํานวน ๑๐ คน จาก ๕ ภูมิภาคของสหประชาชาติ โดยผูแทน ๒ คน มาจากภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก
๒. เชิญชวนให้กลุ่มผูประสานงานระดบโลกท่ีเกี่ยวข้องกับแผนการติดตามตรวจสอบระดับโลก (global monitoring plan) และคณะกรรมการ compliance เสนอชื่อผู้แทนของตน ชุดละ ๑ คน เข้าร่วม ในคณะกรรมการประเมินความมีประสิทธิผล
๓. ร้องขอให ประเมินความมีประสิทธิผล
ํานกเลขาธิการฯ คัดเลือกผูเชี่ยวชาญระดับนานาชาติฯ ๒ คน เข้าร่วมในคณะกรรมการ
๔. ร้องขอให้คณะกรรมการประเมินความมีประสิทธิผล ดําเนินการตามกรอบงานสําหรับการประเมิน ความมีประสิทธิผลฯ และรายงานผลต่อท่ีประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘
๕. ร้องขอให้สํานักเลขาธิการฯ ๑) จัดทําทําเนียบผู้เชี่ยวชาญ เพ่ือสนับสนุนการดําเนินงาน ของคณะกรรมการประเมินความมีประสิทธิผล ตามที่ได้รับการเสนอชื่อจากภาคีสมาชิก ๒) เก็บรวบรวมข้อมูล
สําหรับการประเมินความมีประสิทธิผลตามกรอบงานฯ รวมทั้งจัดเตรียมบทวิเคราะห์เบ้ืองต้นที่เกี่ยวข้อง และ ๓) สนับสนุนการดําเนินงานของคณะกรรมการฯ รวมทังการจัดเตรียมรายงานการประเมินความมีประสิทธิผล
๖. เชิญชวนให้ภาคีสมาชิกแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญ เพ่ือบรรจุไว้ในทําเนียบผู้เชี่ยวชาญฯ โดยให้ระบุ
สาขาความร
วามเช่ียวชาญเฉพาะด้วย
(j) กลไกการไม่ปฏิบัติตาม (non-compliance)
ท่ีประชุมรัฐภาคีฯ สมัยท่ี ๗ ได้พิจารณาร่างกฎระเบียบและกลไกการไม่ปฏิบัติตาม ซึ่งสืบเนื่องมาจาก
การประชุมรัฐภาคีสมัยที่ ๖ อย่างไรก็ตาม ท่ีประชุมรัฐภาคีฯ ไม่สามารถบรรลุข้อตกลงในทุกประเด็น และขอให้ นําเข้าสู่การพิจารณาในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ ทั้งน้ี ที่ประชุมรัฐภาคีฯ ได้ขอให้คณะกรรมการ Bureau อํานวยความสะดวกในการหารือระหว่างสมัยประชุม และหาแนวทางร่วมกันเพื่อให้สามารถรับรองกฎระเบียบ และกลไกการไม่ปฏิบัติตาม ในการประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๘ ต่อไป
วาระที่ ๖ แผนงานของสํานักเลขาธิการฯ และการรบรองงบประมาณประจําปี ค.ศ. ๒๐๑๖ - ๒๐๑๗
ที่ประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๗ ได้พิจารณาแผนงานของสํานักเลขาธิการฯ และงบประมาณประจําปี ค.ศ. ๒๐๑๖ - ๒๐๑๗ โดยมีมติที่สําคัญ อาทิ
มติข้อตัดสินใจ
๑. รับทราบข้อเสนอแนะจากสํานักตรวจภายใน เก่ียวกับการจัดทําบญชีเพียงหนึ่งบัญชีสําหรับงบบุคลากร และรองขอให้ UNEP Executive Director ให้ขอมูลเพิ่มเติมว่าจะมีผลกระทบอย่างไรในทางปฏิบัติ รวมทั้งในส่วน ของการจัดตั้งกองทุนร่วมเพียงหนึ่งกองทุนสําหรับ general trust fund ของทั้ง ๓ อนุสัญญาฯ โดยขอให้ จัดเตรียมข้อเสนอในการปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบด้านการเงินที่เกี่ยวข้อง เพ่ือให้ท่ีประชุมรัฐภาคีฯ สมัยถัดไป พิจารณาตัดสินใจต่อไป
๒. ร้องขอให้ UNEP Executive Director พิจารณาความเป็นไปได้ในการจัดต้ังกองทุนร่วมเพียงหนึ่งกองทุน สําหรับ voluntary trust fund ของท้ัง ๓ อนุสัญญาฯ โดยขอให้นําเสนอเพ่ือพิจารณาในการประชุมรัฐภาคีฯ สมยต่อไป
๓. รับรองงบประมาณดําเนินการสําหรับกิจกรรมภายใต้อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ ประจําปี ค.ศ. ๒๐๑๖ -
๒๐๑๗ ในวงเงิน ๕,๖๙๑,๙๐๒ เหรียญสหรัฐ สําหรับปี ค.ศ. ๒๐๑๖ และ ๕,๘๒๘,๘๒๐ เหรียญสหรัฐ สําหรับปี ค.ศ. ๒๐๑๗
๔. ตดสินใจว่า หากภาคีใดติดค้างการชําระค่าภาคีสมาชิกตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ค.ศ. ๒๐๐๕ เป็นต้นมา ติดต่อกัน ๒ ปีขึนไป จะไม่มีสิทธเสนอชื่อเป็นผูแทนในคณะกรรมการ Bureau หรือคณะกรรมการอื่น ๆ ภายใต้ อนุสัญญาฯ ท้ังนี้ ให้ยกเว้นประเทศที่ยากจนที่สุดและประเทศที่เป็นเกาะเล็ก ๆ หรือประเทศท่ีตกลงและมีการ ดําเนินการที่สอดคล้องตามกฎระเบียบดานการเงินเท่านั้น
๕. ตัดสินใจว่า หากภาคีใดติดค้างการชําระค่าภาคีสมาชิก ติดต่อกัน ๔ ปีขึ้นไป และไม่ได้ตกลง หรือมีการดําเนินการที่สอดคล้องตามกฎระเบียบด้านการเงิน จะไม่มีสิทธิได้รับทุนสนับสนุนในการเข้าร่วม ประชุมต่าง ๆ
วาระท่ี ๗ กําหนดสถานท่ี และวันเวลาจัดการประชุมรัฐภาคีสมัยต่อไป
การประชุมรัฐภาคีอนุสญญาสตอกโฮล์มฯ สมัยที่ ๘ กําหนดจดขึ้น ในระหว่างวันที่ ๒๒ เมษายน -
๕ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ณ นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส โดยจะเป็นการประชุมต่อเนื่องกับการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญา บาเซล สมยที่ ๑๓ และการประชุมรฐภาคีอนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ สมยท่ี ๘ โดยจะมีการพิจารณาวาระท่ีเกี่ยวข้อง ร่วมกันตามความเหมาะสม รวมท้ังช่วงการประชุมระดับสูง (high-level segment) นอกจากนี้ ที่ประชุมฯ ขอให้ สํานกเลขาธิการฯ สนบสนุนในการจัดประชุมระดับภูมิภาคเพ่ือเตรียมการสําหรับการประชุมรฐภาคีฯ ดังกล่าวด้วย
วาระที่ ๘ เรื่องอื่น ๆ
ท่ีประชุมรัฐภาคีฯ ได ิจารณาร่างบันทึกข้อตกลงระหวางหน่่ วยงาน UNEP และท่ีประชมรฐภาคีัุ ฯ
โดยท่ีประชุมรฐภาคีฯ มีมติที่สําคัญ ดังนี้ ๑) ขอให้ Executive Secretary มีส่วนร่วมในการดําเนินงานของทีมงาน UNEP ที่ทําหน้าที่ฝ่ายเลขานุการกองทุน Special Programme และให้แจ้งและหารือคณะกรรมการ Bureau ของทั้ง ๓ อนุสัญญาฯ เก่ียวกับการดําเนินงานของทีมงาน UNEP ในช่วงระหว่างสมัยประชุม ๒) เชิญชวนให้ UNEP Executive Director แจ้งให้คณะกรรมการ Bureau ของท้ัง ๓ อนุสัญญาฯ ทราบ หากจะมีการจัดเตรียม เอกสารประกอบการประชุมสมัชชาสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ สมัยท่ี ๒ ในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับ Special Programme และการดําเนินงาน ๓ อนุสัญญาฯ และ ๓) ขอให้ Executive Secretary โดยการหารือร่วมกับ UNEP Executive Director จัดเตรียมร่างบันทึกข้อตกลงฉบับปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ฝ่าย เลขานุการกองทุน Special Programme เพื่อให้ที่ประชุมรฐภาคีฯ สมัยท่ี ๘ พิจารณารับรองต่อไป
วาระท่ี ๙ การรับรองรายงานการประชุม
ท่ีประชุมรัฐภาคีฯ สมัยที่ ๗ ได้รับรองสาระสําคัญของร่างรายงานการประชุมฯ ตามรายละเอียด ในเอกสาร UNEP/POPS/COP.7/L.1
วาระท่ี ๑๐ ปิดการประชุม
ประธานฯ ได้ปิดการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ สมัยท่ี ๗ เวลา ๐๓.๔๕ น. ในวันที่
๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘ โดยได้เน้นย้ําถึงความสําเร็จของที่ประชุมฯ ในการดําเนินงานตามอนุสัญญาฯ และการ ใช้หลักฉนทามติในการดําเนินงานร่วมกัน
สิ่งท่ีประเทศไทยจะต้องดําเนินการต่อไป
๑. ดําเนินการตามพันธกรณีที่สําคัญ สืบเน่ืองจากการปรับปรุงแก้ไขภาคผนวก เอ และ ซี ของอนุสัญญาฯ โดยการบรรจุเพ่ิมรายชื่อ (๑) สาร hexachlorobutadiene (HCBD) (๒) สาร chlorinated naphthalenes (CNs) และ (๓) สาร pentachlorophenol (PCP) and its salts and esters ซ่ึงจะมีผลบังคับใช้ภายในระยะเวลา ๑ ปี หลังจากการแจ้งอย่างเป็นลายลักษณ์อกษรจากผูเก็บรักษาอนุสัญญาฯ (depositary) ดังนี้
๑) ดําเนินมาตรการควบคุมทางกฎหมายและการบริหารจัดการภายในประเทศ เพื่อลด/เลิกการผลิต การใช้ และการปลดปล่อยสาร POPs ชนิดใหม่ดงกล่าว โดยสถานภาพการดําเนินงานในขณะนี้ คือ
- สาร hexachlorobutadiene อยู่ระหว่างข้ันตอนการพิจารณาของคณะกรรมการวัตถุอันตราย
เพื่อควบคุมภายใต้พระราชบัญญ ิวตถั ุอนตรายั พ.ศ. ๒๕๓๕
- สาร chlorinated naphthalenes กรมควบคุมมลพิษอยู่ระหว่างจัดทําข้อเสนอเพ่ือควบคุม ภายใต้พระราชบัญญัติวตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ และ
- สาร pentachlorophenol and its salts จัดเป็นวัตถุอันตรายชนิดท่ี ๔ ภายใต้พระราชบัญญัติ วัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ ภายใต้การกํากับดูแลของกรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมวิชาการเกษตร และสํานักงาน คณะกรรมการอาหารและยา ทั้งนี้ คณะอนุกรรมการอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ ในคราวการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๘
เมื่อวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ได ีมติขอให้กรมควบคุมมลพิษดําเนินการที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสนอให้มีการควบคุม
สารกลุ่ม esters ของ pentachlorophenol ไว้ภายใต้พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยให้ สอดคล้องตามพันธกรณีของอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ ต่อไป
๒) ปรับปรุงแผนจัดการระดับชาติเพื่อการปฏิบัติตามอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ โดยให้ครอบคลุม ถึงมาตรการการจัดการสาร POPs ชนิดใหม่ ๓ ชนิด ที่ได้รับการบรรจุเพิ่มเติม และจัดส่งแผนฯ ให้ที่ประชุมรัฐ ภาคีฯ ตามพันธกรณีในขอบทที่ ๗ ของอนุสัญญาฯ
๓) ดําเนินการตามพันธกรณีอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ การควบคุมการนําเข้า/ส่งออกสาร POPs เฉพาะที่ได้รับอนุญาตภายใต้อนุสัญญาฯ การจัดการของเสียที่เกิดจากสาร POPs อย่างเหมาะสม การติดตาม ตรวจสอบปริมาณสาร POPs ในสิ่งแวดล้อมและเนื้อเยื่อสิ่งมีชีวิต การสนับสนุนให้มีการวิจัยเรื่องผลกระทบต่าง ๆ จากสาร POPs รวมทั้งขยายขอบเขตกิจกรรมการประเมินความมีประสิทธิผลตามข้อบทที่ ๑๖ ของอนุสัญญาฯ ให้ครอบคลุมถึงสาร POPs ชนิดใหม่ที่ได้รับการบรรจุเพิ่มเติมภายใต้อนุสัญญาฯ อนึ่ง กิจกรรมเหล่านี้ สามารถ พิจารณาบรรจุในแผนจัดการระดับชาติฯ สําหรับการดําเนินงานในระยะยาวได้ รวมทั้งในส่วนของการพิจารณาจัดทํา โครงการความร่วมมือด้านเทคนิควิชาการเพื่อขอรับการสนับสนุนทางการเงินจากกองทุนสิ่งแวดล้อมโลก สําหรับ การจัดการสาร POPs ในประเทศ
๒. จัดทําทําเนียบข้อมูล (inventories) สาร POPs ๑๔ ชนิด ที่ได้รับการบรรจุเพิ่มเติมในภาคผนวก เอ และบี ของอนุสัญญาฯ ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๘ รวมทั้งสาร candidate POPs และปรับปรุง ทําเนียบข้อมูลสาร POPs ๑๒ ชนิดเดิม ทงั น้ี กรมควบคุมมลพิษ อยู่ระหว่างการเสนอขอต้ังงบประมาณประจําปี พ.ศ. ๒๕๕๙ เพื่อดําเนินการดังกล่าว
๓. พิจารณาตัดสินใจในประเด็นการขอขึ้นทะเบียนยกเว้นพิเศษ ดังนี้
๑) การขึ้นทะเบียนการใช้งานสําหรับวัตถุประสงค์ที่ยอมรับได้สําหรับสาร PFOS, its salts and PFOSF อาทิ การถ่ายภาพ การเคลือบกันสะท้อนและกันแสงสําหรับสารกึ่งตัวนํา สารกัดผุสําหรับสารกึ่งตัวนํา เชิงประกอบและไสกรองเซรามิก น้ํามันไฮดรอลิกสําหรับเคร่ืองบิน การชุบโลหะประเภทโลหะหนักในระบบปิด อุปกรณ์การแพทย์บางชนิด (อาทิ ชั้นโพลิเมอร์ ETFE และการผลิต ETFE แบบทึบแสง อุปกรณ์วินิจฉัยภายใน และแผ่นกรองสีหน้าจอ CCD โฟมดับเพลิง และเหย่ือล่อแมลงสําหรับควบคุมมดกัดใบไม้สายพันธุ์ Atta spp. และ Acromyrmex spp.
๒) การแจ้งเกี่ยวกับสาร POPs อาทิ สารกลุ่ม brominated diphenyl ethers ที่เป็นส่วนประกอบ ของอุปกรณ์ที่ผลิตขึนหรือท่ีมีการใช้งานอยู่ก่อนวันที่อนุสัญญาฯ มีผลบังคับใช้
๔. จัดส่งรายงานของประเทศ (national report) ฉบับที่ ๔ ตามข้อบทที่ ๑๕ ของอนุสัญญาฯ ภายในวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๑
- ๔๘ -
๕. ประสานงานและใหความร่วมมือกับสํานกเลขาธิการอนุสัญญาฯ และประเทศภาคีสมาชิกอ่ืนๆ ในการดําเนินการตามพันธกรณีของอนุสัญญาฯ รวมทั้งแจ้งชื่อผู้แทนเข้าร่วมการประชุมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่เก่ียวข้อง อาทิ กลุ่มผเู ช่ียวชาญด้าน Toolkit และด้าน BAT/BEP และทําเนียบผูเชี่ยวชาญด้านการประเมินความมีประสิทธิผล
๖. จัดประชุมคณะอนุกรรมการอนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ ภายใต้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในประเด็นการพิจารณาดําเนินการตามพันธกรณีของอนุสัญญาฯ อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการพิจารณาท่าทีของไทย สําหรบการประชุมรัฐภาคีสมัยต่อไป