เชื่อมั่นว่าการปฏิบัติตามอนุสัญญานี้จะนําไปสู่การเสริมสร้างประชาธิปไตยในภูมิภาค ของ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจแห่งสหประชาชาติยุโรป (ECE)
อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงความยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม*
จัดทําขึ้น ณ เมืองออร์ฮูส ประเทศเดนมาร์ก xxxxxx 25 มิถุนายน 2541
*เอกสารฉบับนี้แปลจากต้นฉบับภาษาอังกฤษ ใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาหรือเพื่อเผยแพร่ความรู้เท่านั้น สํานักงานคณะกรรมการxxxxxมนุษยชนแห่งชาติไม่รับผิดชอบต่อความเสียหาย ข้อผิดพลาด ข้อบกพร่อง หรือความไม่xxxxxxxใด ๆ ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม
จัดทําขึ้น ณ เมืองออร์ฮูส ประเทศเดนมาร์ก xxxxxx 25 มิถุนายน 2541
ภาคีของxxxxxxxxxxx
xxxxxถึงหลักการข้อที่ 1 ของxxxxxxxxxxxxxxxว่าด้วยสิ่งแวดล้อมของมนุษย์
และxxxxxถึงหลักการข้อที่ 10 ของxxxxxxริโอว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา
รวมทั้งxxxxxถึงข้อมติxxxxxxใหญ่ที่ 37/7 xxxxxx 28 xxxxxx 2525 ว่าด้วยกฎบัตรโลกเพื่อxxxxxxxx และ ข้อที่ 45/94 xxxxxx 14 ธันวาคม 2533 ว่าด้วยความจําเป็นในการสร้างสภาพแวดล้อมต่อสุขภาพเพื่อความเป็นอยู่xxx xxของบุคคล
xxxxxถึงกฎบัตรยุโรปว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพโดยรับรองในการประชุมยุโรปด้านสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพครั้งแรกขององค์การอนามัยโลกที่เมืองxxxxxxเฟิร์ต-อัมไมน์ ประเทศเยอรมนี เมื่อxxxxxx 8 ธันวาคม พ.ศ. 2532
ยืนยันความจําเป็นในการxxxxxx xxxxxxxx และปรับปรุงสภาวะสิ่งแวดล้อม และการทําให้มั่นใจว่าการ พัฒนาเป็นไปอย่างยั่งยืนและเป็นxxxxต่อสิ่งแวดล้อม
ตระหนักว่าการxxxxxxสิ่งแวดล้อมอย่างเพียงพอเป็นสิ่งจําเป็นต่อความเป็นอยู่xxxxxของมนุษย์ และการ ได้รับxxxxxมนุษยชนขั้นพื้นฐาน รวมถึงxxxxxในการมีชีวิตของตนเอง
xxxxxxxxxxxxxxบุคคลทุกคนมีxxxxxxxxจะอาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมxxxxxพอต่อสุขภาพและมีความเป็นอยู่xxxxx อีกทั้งมีหน้าที่ส่วนบุคคลและร่วมกับผู้อื่นในการxxxxxxและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมเพื่อประโยชน์ของคนรุ่นปัจจุบัน และxxxxx
พิจารณาว่าการที่จะใช้xxxxxxxxและปฏิบัติตามหน้าที่นี้ได้ ประชาชนทั้งหลายต้องเข้าถึงข้อมูล มีxxxxxเข้า ร่วมในการตัดสินใจ และเข้าถึงความยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม และยอมรับว่าในเรื่องดังกล่าวนี้ว่าประชาชนอาจ ต้องการความช่วยเหลือเพื่อใช้xxxxxของตน
ตระหนักว่าในด้านสิ่งแวดล้อม การปรับปรุงการเข้าถึงข้อมูลและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ ตัดสินใจ ช่วยxxxxxคุณภาพและการดําเนินการตัดสินใจ มีคุณประโยชน์ในการสร้างความตระหนักรู้ต่อสาธารณชน เกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม เปิดโอกาสให้สาธารณชนแสดงความใส่ใจและช่วยให้หน่วยงานของรัฐร่วมพิจารณาถึง ข้อกังวลดังกล่าวได้
มีจุดมุ่งหมายเพื่อxxxxxxxxความรับผิดชอบและความโปร่งใสในการตัดสินใจและเพื่อxxxxxxxxxxการ สนับสนุนของประชาชนสําหรับการตัดสินใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ตระหนักถึงความxxxxxxxให้มีความโปร่งใสในทุกด้านของรัฐบาล และxxxxxxxให้หน่วยงานนิติบัญญัติ ดําเนินการปฏิบัติตามหลักการของxxxxxxxxxxx
xxxxxxxxxxxxxxประชาชนจําเป็นต้องตระหนักถึงขั้นตอนในการมีส่วนร่วมเพื่อการตัดสินใจด้าน สิ่งแวดล้อม เข้าถึงการตัดสินใจเหล่านี้ โดยxxxxxxเข้าถึงได้อย่างxxxxxและรู้วิธีการใช้ขั้นตอนในการมีxxxxxxxx
xxxxxxxยิ่งขึ้นถึงความสําคัญของบทบาทที่เกี่ยวข้องซึ่งประชาชนแต่ละคน องค์กรพัฒนาเอกชน และ ภาคเอกชนxxxxxxมีบทบาทในการxxxxxxสิ่งแวดล้อม
xxxxxxxxxxจะxxxxxxxxการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อเพิ่มพูนความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและการ พัฒนาxxxxxxxxxx และเพื่อxxxxxxxxความตระหนักรู้ของสาธารณชนในวงกว้างและการมีส่วนร่วมในการxxxxxxxxxxxจะ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาxxxxxxxxxx
ข้อสังเกตในxxxxxxxxคือความสําคัญของการใช้สื่อและสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือการสื่อสารรูปแบบอื่น ๆ ใน
xxxxx
xxxxxxxถึงความสําคัญของการบูรณาการข้อพิจารณาด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเต็มที่ในการตัดสินใจของ
รัฐบาล และความจําเป็นที่หน่วยงานของรัฐจะต้องถือปฏิบัติเพื่อให้มีข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้อง ครอบคลุม และเป็นปัจจุบัน
รับทราบว่าหน่วยงานของรัฐมีการจัดเก็บข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อประโยชน์สาธารณะ ใส่ใจว่ากลไกการพิจารณาคดีที่มีประสิทธิภาพควรเข้าถึงได้โดยสาธารณชน รวมถึงองค์กร เพื่อให้xxxxxxx
คุ้มครองxxxxxxxxxxที่ชอบด้วยกฎหมาย และมีการบังคับใช้กฎหมาย
สังเกตถึงความสําคัญของการให้ข้อมูลของผลิตภัณฑ์อย่างเพียงพอ แก่ผู้บริโภค เพื่อเป็นข้อมูลทางเลือก ด้านสิ่งแวดล้อม
ตระหนักถึงความกังวลใจของสาธารณชนเกี่ยวกับการจงใจปล่อยสิ่งมีชีวิตที่ดัดแปลงพันธุกรรมสู่ สิ่งแวดล้อม และความจําเป็นในการxxxxxความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมของประชาชนมากขึ้นในการxxxxxxxx
xxxxxxxxxว่าการปฏิบัติตามxxxxxxxxxxxจะนําไปสู่การxxxxxxxxxxประชาธิปไตยในxxxxxxxของ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจแห่งสหประชาชาติยุโรป (ECE)
ตระหนักถึงบทบาทในเรื่องนี้โดย ECE และxxxxxถึงแนวทาง ECE ว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม และการมีส่วนร่วมของสาธารณชนในการตัดสินใจด้านสิ่งแวดล้อมซึ่งรับรองในxxxxxxรัฐมนตรีโดยการรับรองใน การประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่สามคือ "สิ่งแวดล้อมสําหรับยุโรป" ที่เมืองxxxxxx ประเทศบัลกาเรีย เมื่อxxxxxx 25 xxxxxx พ.ศ. 2538
โดยคํานึงถึงxxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้องในอนุสัญญาว่าด้วยการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในบริบทข้าม พรมแดน ซึ่งทําขึ้น ณ เมืองเอสโป ประเทศฟินแลนด์ เมื่อxxxxxx 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 และอนุสัญญาว่าด้วย การเกิดอุบัติภัยจากภาคอุตสาหกรรมที่มีผลกระทบข้ามxxxและอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองและการใช้ลําน้ํา ข้ามพรมแดนและทะเลสาบระหว่างประเทศ (International Lakes) ทั้งสองฉบับทําที่เฮลซิงกิ เมื่อxxxxxx 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 และการประชุมระดับxxxxxxxอื่น ๆ
โดยตระหนักว่าการยอมรับxxxxxxxxxxxจะมีส่วนช่วยให้กระบวนการ "สิ่งแวดล้อมสําหรับยุโรป" xxxxxxxx ยิ่งขึ้น และผลการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่สี่ที่เมืองออร์ฮุส ประเทศเดนมาร์ก ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2541
ได้ตกลงกัน ดังนี้
ข้อ 1 วัตถุประสงค์
เพื่อมีส่วนร่วมในการคุ้มครองxxxxxของทุกคนในรุ่นปัจจุบันและxxxxxในการดํารงชีวิตในสภาพแวดล้อมxxx xxxxxxxต่อสุขภาพและความเป็นอยู่xxxxx ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องรับประกันxxxxxในการเข้าถึงข้อมูล การมี ส่วนร่วม ของประชาชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงความยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อมตามบทบัญญัติของxxxxxxxxxxx
ข้อ 2 คํานิยาม
เพื่อวัตถุประสงค์ของxxxxxxxxxxx
1. “ภาคี” หมายถึง ภาคีคู่สัญญาของxxxxxxxxxxx เว้นแต่ข้อความจะระบุเป็นอย่างอื่น
2. “หน่วยงานสาธารณะ” หมายความว่า
(ก) รัฐบาลในระดับชาติ ระดับxxxxxxx และระดับอื่น ๆ
(ข) บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่ปฏิบัติหน้าที่ด้านการบริหารราชการแผ่นดินภายใต้กฎหมาย ของประเทศ รวมถึงหน้าที่เฉพาะ กิจกรรมหรือบริการที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
(ค) บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลอื่นใดที่มีความรับผิดชอบหรือหน้าที่สาธารณะ หรือให้บริการ สาธารณะเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ภายใต้การควบคุมขององค์กรหรือบุคคลที่อยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) หรือ (ข) ข้างต้น
(ง) สถาบันขององค์กรบูรณาการทางเศรษฐกิจระดับxxxxxxxใด ๆ ที่อ้างถึงในข้อ 17 ซึ่งเป็นภาคี ของxxxxxxxxxxx
คําจํากัดความนี้ไม่รวมถึงหน่วยงานหรือสถาบันที่ทําหน้าที่xxxxxxxหรืออํานาจหน้าที่ทางนิติบัญญัติ
3. “ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม” หมายถึงข้อมูลใด ๆ ที่เป็นลายลักษณ์xxxxx ภาพ เสียง อิเล็กทรอนิกส์ หรือ ในรูปแบบอื่น ๆ ที่:
(ก) สถานะขององค์ประกอบของสิ่งแวดล้อม xxxx อากาศและบรรยากาศ น้ํา ดิน ที่ดิน ภูมิทัศน์ และแหล่งxxxxxxxx ความหลากหลายทางชีวภาพและองค์ประกอบ รวมถึงสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม และความเกี่ยวพันระหว่างองค์ประกอบเหล่านี้
(ข) ปัจจัยต่าง ๆ xxxx สาร พลังงาน เสียงและรังสี และกิจกรรมหรือมาตรการต่าง ๆ รวมถึง มาตรการทางการxxxxxx ข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อม นโยบาย กฎหมาย แผนงานและโครงการ ซึ่งส่งผล กระทบหรือมีxxxxxxxxxxจะส่งผลกระทบต่อองค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมภายในขอบเขตของอนุวรรค (ก) ข้างต้น และต้นทุน-xxxxxxxxxxและการวิเคราะห์และสมมติฐานทางเศรษฐศาสตร์อื่น ๆ รวมทั้งข้อสรุปที่ ใช้ในการตัดสินใจด้านสิ่งแวดล้อม
(ค) สถานะของสุขภาพและความปลอดภัยของมนุษย์ เงื่อนไขของชีวิตมนุษย์ แหล่งวัฒนธรรม และโครงสร้างที่สร้างขึ้น xxxxxxxxxxxเป็นหรืออาจxxxxxxxxกระทบจากสถานะขององค์ประกอบของ
สิ่งแวดล้อม หรือโดยองค์ประกอบเหล่านี้ โดยปัจจัยกิจกรรมต่าง ๆ หรือมาตรการที่อ้างถึงในอนุวรรค (ข) ข้างต้น
4. “สาธารณะ” หมายถึง บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลตั้งแต่หนึ่งคนขึ้นไป และสมาคม องค์กร หรือกลุ่ม ของพวกเขาตามกฎหมายหรือแนวปฏิบัติแห่งชาติ
5. “ประชาชนที่เกี่ยวข้อง” หมายถึง ประชาชนที่xxxxxxxxกระทบหรือมีxxxxxxxxxxจะxxxxxxxxกระทบหรือ xxxxxxxxxx ในการตัดสินใจด้านสิ่งแวดล้อม ตามวัตถุประสงค์ของคําxxxxxxxx องค์กรพัฒนาเอกชนที่xxxxxxxxการ คุ้มครองสิ่งแวดล้อมและปฏิบัติตามข้อกําหนดใด ๆ ภายใต้กฎหมายภายในประเทศจะxxxxxxมีส่วนได้ส่วนเสีย
ข้อ 3
บทบัญญัติทั่วไป
1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะใช้มาตรการทางกฎหมาย xxxxxxxข้อบังคับ และมาตรการอื่น ๆ ที่จําเป็น รวมถึงมาตรการ เพื่อให้xxxxxความเข้ากันได้ระหว่างxxxxxxxxxxxxใช้ข้อมูล การมีส่วนร่วมของประชาชน และบทบัญญัติการเข้าถึง ความยุติธรรมในxxxxxxxxxxx ตลอดจนมาตรการบังคับใช้ที่เหมาะสม เพื่อกําหนดและ รักษากรอบการทํางานxxx xxxxxx โปร่งใส และสอดคล้องกันเพื่อดําเนินการตามบทบัญญัติของxxxxxxxxxxx
2. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องxxxxxxให้แน่ใจว่าเจ้าหน้าที่และผู้มีอํานาจช่วยเหลือและให้คําแนะนําแก่ประชาชนใน การแสวงหาการเข้าถึงข้อมูล ในการอํานวยความสะดวกในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และในการแสวงหาการ เข้าถึงความยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม
3. ภาคีแต่ละฝ่ายจะxxxxxxxxการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมและความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมในหมู่สาธารณชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับวิธีการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมตัดสินใจ และการเข้าถึงความยุติธรรมในเ รื่อง สิ่งแวดล้อม
4. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องจัดให้มีการยอมรับและสนับสนุนอย่างเหมาะสมแก่สมาคม องค์กร หรือกลุ่มที่xxxxxxxxการ คุ้มครองสิ่งแวดล้อม และรับรองว่าระบบกฎหมายของประเทศสอดคล้องกับxxxxxxxxxxx
5. บทบัญญัติของxxxxxxxxxxxจะไม่กระทบต่อxxxxxของภาคีในการรักษาหรือแนะนํามาตรการที่จัดให้มีการเข้าถึง ข้อมูลที่กว้างขึ้น การมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างขวางมากขึ้นในการตัดสินใจ และการเข้าถึงความยุติธรรม ในเรื่องสิ่งแวดล้อมที่กว้างขึ้นกว่าที่กําหนดโดยxxxxxxxxxxx
6. xxxxxxxxxxxจะไม่กําหนดให้มีการเสียxxxxxจากที่มีอยู่เพื่อการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของประชาชนในการ ตัดสินใจ และการเข้าถึงความยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม
7. ภาคีแต่ละฝ่ายจะxxxxxxxxการประยุกต์ใช้หลักการของxxxxxxxxxxxในกระบวนการตัดสินใจด้านสิ่งแวดล้อม ระหว่างประเทศ และภายในกรอบขององค์กรระหว่างประเทศในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
8. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องรับรองในแน่ใจว่า บุคคลที่ใช้xxxxxของตนตามบทบัญญัติxxxxxxxxxxxจะไม่ถูกลงโทษ ข่มเหง หรือล่วงละเมิดในทางใดทางหนึ่งจากการมีส่วนร่วมของตน บทบัญญัตินี้จะไม่ส่งผลกระทบต่ออํานาจของศาลใน ประเทศในการตัดสินค่าใช้จ่ายxxxxxxxxxxxxxในการพิจารณาคดี
9. ภายในขอบเขตของxxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้องของxxxxxxxxxxx ประชาชนจะxxxxxxเข้าถึงข้อมูล มีโอกาสที่จะมีส่วน ร่วมในการตัดสินใจ และเข้าถึงความยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อมโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติในเรื่องสัญชาติ เชื้อ
ชาติ หรือภูมิลําเนา และในกรณีของนิติบุคคล โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติไม่ว่ามีการจดทะเบียนหรือแสดงศูนย์กลาง ในการดําเนินงาน หรือไม่ก็ตาม
ข้อ 4 การเข้าถึงข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
1. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องรับรองว่าภายใต้วรรคต่อไปของข้อนี้ หน่วยงานของรัฐในการตอบxxxxต่อคําร้องขอข้อมูล ด้านสิ่งแวดล้อม เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณะ ภายใต้กรอบของกฎหมายในประเทศ รวมถึงเมื่อมีการร้องขอ และอยู่ภายใต้ ในอนุวรรค (ข) ด้านล่าง สําเนาของเอกสารจริงที่มีหรือประกอบด้วยข้อมูลดังกล่าว:
(ก) ไม่ต้องระบุส่วนได้ส่วนเสีย (ข) ในรูปแบบที่ร้องขอ เว้นแต่:
(1) มีเหตุผลxxxxxxxxหน่วยงานของรัฐจะจัดให้มีในรูปแบบอื่น ซึ่งในกรณีนี้จะต้องให้เหตุผลใน การทําให้ใช้งานได้ในรูปแบบนั้น หรือ
(2) ข้อมูลนี้เปิดเผยต่อสาธารณะในรูปแบบอื่นแล้ว
2. ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมที่อ้างถึงในวรรค 1 ข้างต้นจะต้องเผยแพร่โดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้และอย่างช้าที่สุด ภายในหนึ่งเดือนหลังจากส่งคําขอ เว้นแต่ปริมาณและความxxxxxxxของข้อมูลจะเป็นเหตุให้ต้องขยายช่วงเวลานี้ได้ ถึงสองเดือนหลังจากการร้องขอ ผู้ยื่นขอจะได้รับแจ้งให้ทราบxxxxxxขยายเวลาพร้อมด้วยเหตุผลอันxxxxx
3. คําขอข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมอาจถูกปฏิเสธหาก
(ก) หน่วยงานของรัฐที่ดําเนินการตามคําขอนั้นไม่มีการเก็บข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมที่ร้องขอ (ข) คําขอนั้นไม่มีเหตุผลอย่างชัดแจ้งหรือมีลักษณะที่กว้างเกินไป หรือ
(ค) คําขอเกี่ยวข้องกับเนื้อหาในระหว่างการดําเนินการเสร็จสิ้นหรือเกี่ยวข้องกับการสื่อสารภายในของ หน่วยงานของรัฐ ซึ่งการยกเว้นดังกล่าวกําหนดโดยกฎหมายของประเทศหรือแนวปฏิบัติตามจารีตประเพณี โดย คํานึงถึงxxxxxxxxxxสาธารณะxxxxxxรับจากการเปิดเผยข้อมูล
4. คําขอข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมอาจถูกปฏิเสธหากการเปิดเผยจะส่งผลเสียต่อ:
(ก) การรักษาความลับของการดําเนินการของหน่วยงานของรัฐ ซึ่งการรักษาความลับดังกล่าวได้xxxxxxxไว้ ภายใต้กฎหมายภายในประเทศ
(ข) ความxxxxxxxxระหว่างประเทศ การป้องกันประเทศ หรือความมั่นคงสาธารณะ
(ค) กระบวนการยุติธรรม ความxxxxxxของบุคคลที่จะได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรม หรือ ความxxxxxxของหน่วยงานของรัฐในการสอบสวนความผิดทางอาญาหรือทางxxxxx
(ง) ความลับของข้อมูลเชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรม ซึ่งการรักษาความลับดังกล่าวได้รับการคุ้มครองตาม กฎหมายเพื่อxxxxxxxxxxxxxxxxทางเศรษฐกิจที่ชอบด้วยกฎหมาย ภายในกรอบนี้ ต้องมีการเปิดเผยข้อมูลการ ปล่อยก๊าซที่เกี่ยวข้องกับการxxxxxxสิ่งแวดล้อม
(จ) xxxxxในทรัพย์สินทางxxxxx
(ฉ) การรักษาความลับของข้อมูลส่วนบุคคลและ/หรือแฟ้มเอกสารที่เกี่ยวข้องกับบุคคลธรรมดาซึ่งบุคคล นั้นไม่ยินยอมให้เปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ ซึ่งการรักษาความลับดังกล่าวมีxxxxxxxไว้ในกฎหมายของประเทศ
(ช) xxxxxxxxxxของบุคคลที่สามxxxxxxให้ข้อมูลตามการร้องขอโดยที่ฝ่ายนั้นไม่อยู่ภายใต้หรือมี ความxxxxxxxxxจะอยู่ภายใต้ข้อผูกมัดทางกฎหมายที่จะทําxxxxนั้น และเมื่อฝ่ายนั้นไม่ยินยอมให้เผยแพร่เนื้อหา หรือ
(ซ) สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล xxxx แหล่งขยายพันธุ์xxxxxxพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตที่หายาก เหตุผล สําหรับการปฏิเสธดังกล่าวจะมีการตีความในลักษณะxxxxxxxxxx โดยคํานึงถึงxxxxxxxxxxสาธารณะxxxxxxรับจากการ เปิดเผย และคํานึงถึงว่าข้อมูลที่ร้องขอนั้นเกี่ยวข้องกับการปล่อยมลพิษสู่สิ่งแวดล้อมหรือไม่
5. ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐxxxxxxเก็บข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมที่ร้องขอ หน่วยงานของรัฐจะต้องแจ้งผู้ขอทราบถึง หน่วยงานสาธารณะอื่นซึ่งเชื่อว่าเป็นไปxxxxxxจะยื่นข้อมูลร้องขอหรือโอนคําขอไปยังหน่วยงานนั้นโดยเร็วที่สุดเท่าที่ จะเป็นไปได้ และแจ้งให้ผู้ขอทราบต่อไป
6. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องรับรองว่า หากข้อมูลxxxxxxรับการยกเว้นจากการเปิดเผยตามวรรค 3 (ค) และ 4 ข้างต้น xxxxxxแยกออกได้โดยxxxxxxxxxxxxxxxxต่อการรักษาความลับของข้อมูลxxxxxxรับการยกเว้น หน่วยงานของรัฐจะ จัดเตรียมข้อมูลสิ่งแวดล้อมที่เหลือxxxxxxรับการร้องขอ
7. การปฏิเสธคําขอจะต้องทําเป็นลายลักษณ์xxxxxหากคําขอนั้นเป็นลายลักษณ์xxxxxหรือผู้ยื่นคําขอได้ร้องขอ การ ปฏิเสธต้องระบุเหตุผลของการปฏิเสธและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการเข้าถึงขั้นตอนการตรวจสอบที่กําหนดไว้ตามข้อ 9 การปฏิเสธจะต้องทําโดยเร็วที่สุดและอย่างช้าที่สุดภายในหนึ่งเดือน เว้นแต่ความxxxxxxxของข้อมูลจะเป็น เหตุผล ในการขยายระยะเวลานี้ออกไปสูงสุดสองเดือนหลังจากการร้องขอ ผู้ยื่นคําขอจะได้รับการแจ้งให้ทราบxxxxxx ขยายเวลาและเหตุผลอันxxxxx
8. ภาคีแต่ละฝ่ายอาจอนุญาตให้หน่วยงานของรัฐเรียกเก็บค่าใช้จ่ายสําหรับการจัดหาข้อมูล แต่ค่าใช้จ่ายดังกล่าว จะต้องไม่เกินจํานวนxxxxxxxxxxxxx หน่วยงานของรัฐที่xxxxxxxจะเรียกเก็บค่าบริการดังกล่าวสําหรับการจัดหา ข้อมูลจะต้องจัดทําตารางค่าใช้จ่ายxxxxxxเรียกเก็บให้แก่ผู้ขอ โดยระบุถึงสถานการณ์xxxxxxเรียกเก็บหรือยกเว้นได้ และเมื่อการจัดหาข้อมูลมีเงื่อนไขในการชําระเงินล่วงหน้าดังกล่าว
ข้อ 5
การรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
1. แต่ละฝ่ายจะต้องรับรองว่า
(ก) หน่วยงานของรัฐครอบครองและปรับปรุงข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ของตน
(ข) ระบบบังคับกําหนดขึ้นเพื่อให้มีการxxxxxxของข้อมูลxxxxxxxxxxต่อหน่วยงานของรัฐเกี่ยวกับกิจกรรม ที่เสนอและกิจกรรมที่มีอยู่ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสําคัญ
(ค) ในกรณีของภัยคุกคามต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมที่ใกล้จะเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเกิดจากกิจกรร ม ของมนุษย์หรือจากสาเหตุทางxxxxxxxx ข้อมูลทั้งหมดที่xxxxxxทําให้สาธารณะxxxxxxใช้มาตรการเพื่อป้องกัน หรือxxxxxxอันตรายที่เกิดจากการคุกคามและxxxxxxxxxx โดยหน่วยงานของรัฐมีการเผยแพร่ไปยังประชาชนxxxxxx xxxxxxxxกระทบ โดยทันทีและxxxxxxxxx
2. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าภายในกรอบของกฎหมายในประเทศ วิธีการที่หน่วยงานของรัฐ เปิดเผยข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมต่อสาธารณะนั้นโปร่งใส และxxxxxxเข้าถึงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย
(ก) ให้ข้อมูลแก่สาธารณชนอย่างเพียงพอเกี่ยวกับประเภทและขอบเขตของข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมที่ หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องxxxxxxxxxx ข้อกําหนดและเงื่อนไขพื้นฐานที่ข้อมูลดังกล่าวมีให้และเข้าถึงได้ และ xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxมาซึ่งข้อมูลนั้น
(ข) การจัดตั้งและxxไว้ซึ่งการเตรียมการในทางปฏิบัติ xxxx
(1) รายการ การลงทะเบียน หรือแฟ้มข้อมูลที่สาธารณะxxxxxxเข้าถึงได้
(2) กําหนดให้เจ้าหน้าที่สนับสนุนประชาชนในการเข้าถึงข้อมูลภายใต้xxxxxxxxxxx และ
(3) การระบุจุดติดต่อ และ
(ค) จัดให้มีการเข้าถึงข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ในรายการ การลงทะเบียน หรือแฟ้มข้อมูลตามที่อ้างถึง ในอนุวรรค (ข) (1) ข้างต้นโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
3. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องทําให้แน่ใจว่าข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมมีอยู่ในฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์อย่างต่อเนื่อง ซึ่ง สาธารณชนxxxxxxเข้าถึงได้ง่ายผ่านเครือข่ายโทรคมนาคมสาธารณะ ข้อมูลที่xxxxxxเข้าถึงได้ในแบบฟอร์มนี้ควร รวมถึง
(ก) รายงานเกี่ยวกับสถานะของสิ่งแวดล้อมตามที่อ้างถึงในวรรค 4 ด้านล่าง (ข) ข้อความของกฎหมายเกี่ยวกับหรือเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
(ค) นโยบาย แผนงาน และโครงการเกี่ยวกับหรือเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม และข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อม ตามความเหมาะสม และ
(ง) ข้อมูลอื่น ๆ ในขอบเขตที่ความพร้อมใช้งานของข้อมูลดังกล่าวในแบบฟอร์มนี้จะอํานวยความสะดวก ในการบังคับใช้กฎหมายภายในประเทศที่xxxxxxxxxxxใช้บังคับ
โดยมีเงื่อนไขว่าข้อมูลดังกล่าวมีอยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
4. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องจัดพิมพ์และเผยแพร่รายงานระดับชาติเกี่ยวกับสถานะของสิ่งแวดล้อมเป็นประจําไม่เกิน สามหรือสี่ปี รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพและข้อท้าทายต่อสิ่งแวดล้อม
5. ภาคีแต่ละฝ่ายจะใช้มาตรการภายใต้กรอบกฎหมายของตนเพื่อวัตถุประสงค์ในการเผยแพร่
(ก) เอกสารทางกฎหมายและนโยบาย xxxx เอกสารเกี่ยวกับกลยุทธ์ นโยบาย โครงการ และแผนปฏิบัติ การเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และรายงานความคืบหน้าในการดําเนินการ ซึ่งจัดทําโดยหน่วยงานระดับต่าง ๆ ของ รัฐบาล
(ข) xxxxxxxxx อนุสัญญา และข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม และ (ค) เอกสารระหว่างประเทศที่สําคัญอื่น ๆ เกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม ตามความเหมาะสม
6. ภาคีแต่ละฝ่ายจะสนับสนุนให้ผู้ดําเนินกิจกรรมที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อสิ่งแวดล้อมแจ้งให้สาธารณชน ทราบอย่างสม่ําเสมอเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ผลกระทบของกิจกรรมและผลิตภัณฑ์ ตามความเหมาะสมภายใต้กรอบ ของการติดxxxxเชิงนิเวศโดยสมัครใจหรือแผนการตรวจสอบเชิงนิเวศ หรือโดยวิธีการอื่น ๆ
7. แต่ละฝ่ายจะต้อง
(ก) เผยแพร่ข้อเท็จจริงและการวิเคราะห์ข้อเท็จจริงที่เห็นว่าเกี่ยวข้องและมีความสําคัญในการจัดทํา ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมที่สําคัญ
(ข) จัดพิมพ์หรือทําให้เข้าถึงได้ สําหรับเอกสารอธิบายเกี่ยวกับการติดต่อกับสาธารณะในเรื่องที่อยู่ใน ขอบเขตของxxxxxxxxxxx และ
(ค) จัดทําข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสมเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่สาธารณะหรือการให้บริการสาธารณะ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของรัฐบาลทุกระดับ
8. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องพัฒนากลไกเพื่อให้แน่ใจว่ามีข้อมูลผลิตภัณฑ์xxxxxxxxxxต่อสาธารณะในลักษณะที่ช่วยให้ ผู้บริโภคตัดสินใจเลือกด้านสิ่งแวดล้อมอย่างมีข้อมูล
9. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องดําเนินการเพื่อสร้างความxxxxxxxx โดยคํานึงถึงกระบวนการระหว่างประเทศที่เหมาะสม ระบบรายการมลพิษหรือลงทะเบียนบนฐานข้อมูลที่มีโครงสร้างที่สอดคล้องกันทั่วประเทศ และจัดทําบนระบบ คอมพิวเตอร์และเข้าถึงได้โดยสาธารณะ ที่รวบรวมผ่านการรายงานที่เป็นมาตรฐาน ระบบดังกล่าวอาจรวมxxxxxx นําเข้า เผยแพร่ และถ่ายโอนสาร และผลิตภัณฑ์ใด ๆ รวมxxxxxxใช้น้ํา พลังงาน และทรัพยากร จากช่วงกิจกรรมที่ ระบุไปจนถึงสื่อสิ่งแวดล้อม และไปยังสถานที่บําบัดและกําจัดในสถานที่และนอกสถานที่
10. ไม่มีข้อความใดในบทความนี้xxxxxxกระทบกระเทือนxxxxxของภาคีในการxxxxxxxxxจะเปิดเผยข้อมูลด้าน สิ่งแวดล้อมบางอย่างตามข้อ 4 วรรค 3 และ 4
1. แต่ละฝ่าย
ข้อ 6
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจเกี่ยวกับกิจกรรมเฉพาะทาง
(ก) จะใช้บทบัญญัติของข้อกําหนดนี้ในส่วนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจว่าจะอนุญาตให้ดําเนินกิจกรรมที่เสนอ ตามรายการในภาคผนวก 1 หรือไม่
(ข) จะใช้บทบัญญัติของข้อกําหนดนี้ตามกฎหมายของประเทศในการตัดสินใจเกี่ยวกับกิจกรรมที่เสนอซึ่ง xxxxxxระบุไว้ในภาคผนวก 1 ซึ่งอาจส่งผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อxxxxxxxxxxนี้ ภาคีจะต้อง พิจารณาว่ากิจกรรมที่เสนอนั้นอยู่ภายใต้ข้อกําหนดเหล่านี้หรือไม่ และ
(ค) อาจตัดสินใจเป็นรายกรณีไป หากกําหนดไว้ภายใต้กฎหมายภายในประเทศ ว่าจะไม่นําบทบัญญัติของ บทความนี้ไปใช้กับกิจกรรมที่เสนอเพื่อวัตถุประสงค์ในการป้องกันประเทศ หากภาคีเห็นว่าการบังคับใช้ดังกล่าวจะ ส่งผลเสียต่อ วัตถุประสงค์เหล่านี้
2. ประชาชนที่เกี่ยวข้องจะได้รับแจ้ง ไม่ว่าจะโดยการประกาศต่อสาธารณะหรือเป็นรายบุคคลตามความเหมาะสม ในช่วงต้นของกระบวนการตัดสินใจด้านสิ่งแวดล้อม และในลักษณะxxxxxxxxxx ทันเวลา และมีประสิทธิภาพ ใน เรื่อง
(ก) กิจกรรมที่เสนอและการดําเนินการที่เกิดขึ้นภายหลังจากการตัดสินใจ (ข) ลักษณะของการxxxxxxxxxxxเป็นไปได้หรือร่างการตัดสินใจ
(ค) หน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบในการตัดสินใจ
(ง) ขั้นตอนที่คาดการณ์ไว้ รวมถึงเมื่อข้อมูลนี้xxxxxxให้
(1) การเริ่มต้นของขั้นตอน
(2) โอกาสสําหรับประชาชนที่จะมีส่วนร่วม
(3) เวลาและสถานที่ของการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
(4) การระบุถึงหน่วยงานของรัฐที่xxxxxxรับข้อมูลที่เกี่ยวข้องและตําแหน่งที่เกี่ยวข้องของข้อมูล ที่มีการฝากไว้ให้ประชาชนตรวจสอบ
(5) การระบุถึงหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องหรือหน่วยงานทางการอื่น ๆ ที่xxxxxxส่งความ คิดเห็นหรือคําถามได้ และตารางเวลาสําหรับการส่งความคิดเห็นหรือคําถาม และ
(6) การระบุว่ามีข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่เสนอ และ
(จ) ข้อเท็จจริงของกิจกรรมที่อยู่ภายใต้ขั้นตอนการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมระดับชาติหรือข้าม พรมแดน
3. ขั้นตอนการมีส่วนร่วมของประชาชนต้องรวมถึงกรอบเวลาxxxxxxxxxxxxxสําหรับช่วงต่าง ๆ โดยให้เวลาเพียงพอ สําหรับการแจ้งให้ประชาชนทราบตามวรรค 2 ข้างต้น และเพื่อให้ประชาชนเตรียมการและมีส่วนร่วมอย่างมี ประสิทธิภาพในระหว่างการตัดสินใจด้านสิ่งแวดล้อม
4. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องจัดให้มีการมีส่วนร่วมของประชาชนตั้งแต่แรกเริ่ม เมื่อทางเลือกทั้งหมดเปิดกว้างและการ มีส่วนร่วมของประชาชนที่มีประสิทธิภาพxxxxxxเป็นไปได้
5. ภาคีแต่ละฝ่ายควรสนับสนุนให้ผู้ยื่นคําขอที่คาดxxxxระบุตัวบุคคลที่เกี่ยวข้อง เข้าสู่กระบวนการปรึกษาหารือ และให้ข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการดําเนินการก่อนที่จะยื่นขอใบอนุญาต
6. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องกําหนดให้หน่วยงานของรัฐที่มีอํานาจมอบxxxxxให้สาธารณชนที่เกี่ยวข้องเข้าถึงการ ตรวจสอบ เมื่อมีการร้องขอภายใต้กฎหมายภายในประเทศ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและทันทีที่xxxxxxให้เข้าถึงข้อมูล ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการxxxxxxxxxxxอ้างถึง ในข้อกําหนดนี้ตามเวลาของขั้นตอนการมีส่วนร่วมของประชาชน โดย xxxxxxxxxxxxxxxxต่อxxxxxของภาคีที่จะปฏิเสธการเปิดเผยข้อมูลบางอย่างตามข้อ 4 วรรค 3 และ 4 ข้อมูลที่ เกี่ยวข้องดังกล่าวอย่างน้อยต้องรวมถึงและไม่มีxxxx ตามบทบัญญัติข้อ 4
(ก) คําอธิบายของสถานที่และลักษณะทางกายภาพและทางเทคนิคของกิจกรรมที่เสนอ รวมทั้งการ ประมาณการของสารตกค้างและการปล่อยมลพิษที่คาดxxxx
(ข) คําอธิบายผลกระทบที่สําคัญของกิจกรรมที่เสนอต่อสิ่งแวดล้อม
(ค) รายละเอียดของมาตรการที่จัดทําขึ้นเพื่อป้องกันและ/หรือลดผลกระทบ รวมทั้งการปล่อยมลพิษ (ง) ข้อมูลสรุปที่ไม่ใช่ทางเทคนิคของข้อมูลข้างต้น
(จ) เค้าโครงของทางเลือกหลักที่ศึกษาโดยผู้ยื่นคําขอ และ
(ฉ) ตามกฎหมายของประเทศ รายงานหลักและคําแนะนําที่ออกให้แก่หน่วยงานของรัฐ ณ เวลาที่ สาธารณชนที่เกี่ยวข้องจะต้องได้รับแจ้งตามวรรค 2 ข้างต้น
7. ในขั้นตอนสําหรับการมีส่วนร่วมของประชาชนจะอนุญาตให้ประชาชนส่งความคิดเห็น ข้อมูล การวิเคราะห์ หรือ ความเห็นใด ๆ ที่พิจารณาว่าเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่เสนอ โดยทําเป็นลายลักษณ์xxxxxหรือตามความเหมาะสม ใน การรับฟังความคิดเห็นสาธารณะหรือสอบถามกับผู้ยื่นคําขอ
8. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องทําให้แน่ใจว่าในการตัดสินใจได้คํานึงถึงผลลัพธ์ของการมีส่วนร่วมของประชาชน
9. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องทําให้แน่ใจว่า เมื่อการตัดสินใจมีการดําเนินการโดยหน่วยงานของรัฐแล้ว สาธารณชนจะ ได้รับแจ้งทันทีเกี่ยวกับการตัดสินใจตามขั้นตอนที่เหมาะสม ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องเผยแพร่ข้อความของคําตัดสิน พร้อมกับเหตุผลและข้อxxxxxxxxxxเป็นพื้นฐานของการตัดสินใจนั้น
10. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องทําให้แน่ใจว่า เมื่อหน่วยงานของรัฐพิจารณาทบทวนหรือปรับปรุงเงื่อนไขการดําเนินงาน สําหรับกิจกรรมที่อ้างถึงในวรรค 1 ให้นําบทบัญญัติของวรรค 2 ถึง 9 ของข้อนี้มาใช้โดยอนุโลมและตามความ เหมาะสม
11. แต่ละภาคีจะต้องใช้บทบัญญัติของข้อนี้ในขอบเขตที่เป็นไปได้และเหมาะสม เพื่อตัดสินใจว่าจะอนุญาตให้มี การปล่อยสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมสู่สิ่งแวดล้อมโดยxxxxxหรือไม่
ข้อ 7
การมีส่วนร่วมของประชาชนเกี่ยวกับแผน โครงการ และนโยบายที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องจัดเตรียมการปฏิบัติที่เหมาะสมและ/หรือบทบัญญัติอื่น ๆ เพื่อให้สาธารณชนมีส่วน ร่วมในการจัดทําแผนและโครงการที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ภายในกรอบxxxxxxxxxxและยุติธรรม โดยให้ข้อมูลที่ จําเป็นแก่สาธารณะ ภายในกรอบนี้ ให้ใช้มาตรา 6 วรรค 3 4 และ 8 จะมีการระบุถึงประชาชนxxxxxxมีส่วนร่วม โดยหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง โดยคํานึงถึงวัตถุประสงค์ของxxxxxxxxxxx ในขอบเขตที่เหมาะสม ภาคีแต่ละฝ่าย จะxxxxxxเปิดโอกาสให้สาธารณชนมีส่วนร่วมในการจัดทํานโยบายที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
ข้อ 8
การมีส่วนร่วมของประชาชนในระหว่างการจัดทํากฎระเบียบการบริหาร และ/หรือ มีผลบังคับตามตราสารเชิง xxxxxxxxx xxxมีผลผูกพันตามกฎหมายโดยทั่วไป
ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องxxxxxxxxxxxxxxการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างมีxxxxxxxxxxในขั้นตอนที่ เหมาะสม และในขณะที่ยังมีทางเลือกอื่น ๆ อยู่ ในระหว่างการเตรียมการโดยหน่วยงานของรัฐ ในการจัดทํากฎ ข้อบังคับ และxxxxxxxปฏิบัติทางการบริหาร และกฎอื่น ๆ ที่มีผลผูกพันทางกฎหมายโดยทั่วไป xxxxxxส่งผลกระทบ ที่สําคัญต่อสิ่งแวดล้อม
เพื่อxxxxxxxxxxนี้ ควรดําเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้
(ก) กําหนดกรอบเวลาxxxxxxxxxxอย่างชัดเจน เพื่อการมีส่วนร่วมอย่างมีประสิทธิภาพ (ข) ควรเผยแพร่หรือเปิดเผยร่างกฎxxxxxxxต่อสาธารณะ และ
(ค) ประชาชนควรได้รับโอกาสในการแสดงความคิดเห็นโดยตรงหรือผ่านองค์กรตัวแทนที่ปรึกษา ทั้งนี้ ให้คํานึงถึงผลของการมีส่วนร่วมของประชาชนเท่าที่จะเป็นไปได้
ข้อ 9
การเข้าถึงความยุติธรรม
1. ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมายภายในประเทศของตน เพื่อให้แน่ใจว่าบุคคลใด ๆ ที่พิจารณา ว่า คําขอข้อมูลของตนภายใต้ข้อ 4 ถูกxxxxxxx ถูกปฏิเสธโดยมิชอบ ไม่ว่าบางส่วนหรือทั้งหมด ได้รับคําตอบxxx xxxxxxx หรือxxxxxxรับการจัดการตามบทบัญญัติของข้อกําหนดนั้น xxxxxxเข้าถึงกระบวนการตรวจสอบของศาล หรือหน่วยงานxxxxxและเป็นกลางอื่น ๆ ที่กฎหมายกําหนด
ในสถานการณ์ที่ภาคีกําหนดให้มีการตรวจสอบดังกล่าวโดยศาล จะต้องทําให้มั่นใจว่าบุคคลดังกล่าวยัง xxxxxxเข้าถึงขั้นตอนที่รวดเร็วซึ่งกําหนดโดยกฎหมาย ซึ่งไม่มีค่าใช้จ่ายหรือไม่แพงสําหรั บการพิจารณาทบทวน โดยหน่วยงานของรัฐหรือการตรวจสอบโดยองค์กรที่เป็นxxxxxและเป็นกลางนอกเหนือจากศาลยุติธรรม
การตัดสินใจขั้นสุดท้ายตามวรรค 1 นี้จะมีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐที่ถือครองข้อมูล ต้องระบุเหตุผล เป็นลายลักษณ์xxxxx อย่างน้อยเมื่อการเข้าถึงข้อมูลถูกปฏิเสธภายใต้วรรคนี้
2. ภาคีแต่ละฝ่ายจะแน่ใจว่าประชาชนที่เกี่ยวข้องอยู่ภายใต้กรอบกฎหมายภายในประเทศ (ก) มีxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxหรืออีกทางหนึ่ง
(ข) มีการฟื้นฟูและรักษาxxxxxซึ่งเสียหรือพร่องไปจากการประกาศใช้กฎหมายวิธีพิจารณาการxxxxxxของ ภาคีที่เป็นเงื่อนไขเบื้องต้น
มีxxxxxเข้าถึงขั้นตอนการพิจารณาคดีของศาลยุติธรรม และ/หรือการตรวจสอบขององค์กรxxxxxและเป็นกลางอื่น ๆ ที่จัดตั้งตามกฎหมาย เพื่อขอให้พิจารณาเกี่ยวกับความถูกต้องตามกฎหมายทั้งในเชิงสารxxxxxxx และวิธีสxxxxxxx ของการตัดสินใจ การกระทํา หรือการละเว้นใด ๆ ภายใต้บทบัญญัติของข้อ 6 และที่xxxxxxxไว้เพื่อให้อยู่ภายใต้ กฎหมายภายในประเทศและไม่กระทบต่อวรรค 3 ด้านล่างของข้อกําหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องของxxxxxxxxxxx
สิ่งที่ก่อให้xxxxxxประโยชน์เพียงพอและการด้อยค่าของxxxxxจะได้รับการพิจารณาตามข้อกําหนดของ กฎหมายในประเทศและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการให้ประชาชนที่เกี่ยวข้องเข้าถึงความยุติธรรมอย่าง กว้างขวางภายในขอบเขตของxxxxxxxxxxx เพื่อxxxxxxxxxxนี้ xxxxxxxxxxขององค์กรพัฒนาเอกชนใด ๆ ที่ตรงตาม ข้อกําหนดที่อ้างถึงในข้อ 2 วรรค 5 จะxxxxxxxxxxxxxสําหรับวัตถุประสงค์ของอนุวรรค (ก) ข้างต้น โดยxxxxxxองค์กร ดังกล่าวมีxxxxxxxxอาจถูกทําให้เสียหายตามวัตถุประสงค์ของอนุวรรค (ข) ข้างต้น
บทบัญญัติของวรรค 2 นี้จะไม่ยกเว้นความเป็นไปได้ของขั้นตอนการตรวจสอบเบื้องต้นของหน่วยงาน ทางการxxxxxxและจะไม่ส่งผลกระทบต่อข้อกําหนดของการสิ้นสุดกระบวนการตรวจสอบทางxxxxxxก่อนที่จะ ใช้กระบวนการพิจารณาของศาล ซึ่งข้อกําหนดดังกล่าวอยู่ภายใต้กฎหมายภายในประเทศ
3. นอกจากนี้และโดยไม่กระทบต่อกระบวนการตรวจสอบที่อ้างถึงในวรรค 1 และ 2 ข้างต้น ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้อง ทําให้แน่ใจว่า หากเป็นไปตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในกฎหมายของประเทศ ประชาชนxxxxxxเข้าถึงการบริหาร หรือ กระบวนการยุติธรรมเพื่อขอให้พิจารณาเกี่ยวกับการกระทําและการละเว้นการกระทําโดยบุคคลทั่วไปและ หน่วยงานของรัฐซึ่งขัดต่อบทบัญญัติของกฎหมายในประเทศที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
4. นอกจากนี้และโดยไม่กระทบต่อวรรค 1 ข้างต้น xxxxxxxxxxxxอ้างถึงในวรรค 1 2 และ 3 ข้างต้นจะต้องให้การ เยียวยาxxxxxxxxxxและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการxxxxxxทุกข์ตามคําสั่งศาลตามความเหมาะสมและเป็นธรรม โดย ทันเวลา และไม่แพงxxxxxxxกว่าที่กําหนด ภายใต้ข้อนี้จะได้รับหรือบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์xxxxx คําตัดสินของ ศาลและเมื่อใดก็ตามที่ของหน่วยงานอื่น ๆ สาธารณชนจะต้องเข้าถึงได้
5. เพื่อประสิทธิภาพที่มากขึ้นของบทบัญญัติข้อนี้ ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องทําให้แน่ใจว่ามีการให้ข้อมูลแก่สาธารณะ เกี่ยวกับการเข้าถึงกระบวนการตรวจสอบทางxxxxxxและการพิจารณาคดี และต้องพิจารณาการจัดตั้งกลไกความ ช่วยเหลือที่เหมาะสมเพื่อกําจัดหรือลดอุปสรรคทางการเงินและอื่น ๆ ในการเข้าถึงความยุติธรรม
ข้อ 10
การประชุมของภาคี
1. การประชุมครั้งแรกของภาคีจะจัดขึ้นไม่เกินหนึ่งปีหลังจากxxxxxxxxxxxxxxxxxมีผลใช้บังคับ หลังจากนั้น การ ประชุมสามัญของภาคีจะจัดขึ้นอย่างน้อยหนึ่งครั้งทุก ๆ สองปี เว้นแต่จะตัดสินใจเป็นอย่างอื่นโดยภาคี หรือตามคํา ร้องขอเป็นลายลักษณ์xxxxxของภาคีใด ๆ โดยมีเงื่อนไขว่า ภายในหกเดือนของคําขอจะถูกส่งไปยังภาคีทั้งหมดโดย เลขาธิการคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรป คําขอดังกล่าวได้รับการสนับสนุนโดยภาคีอย่างน้อยหนึ่งในสาม
2. ในการประชุม ภาคีจะต้องทบทวนการปฏิบัติตามxxxxxxxxxxxอย่างต่อเนื่องบนพื้นฐานของการรายงานอย่าง สม่ําเสมอโดยภาคี และโดยคํานึงถึงxxxxxxxxxxนี้ จะต้อง:
(ก) ทบทวนนโยบายและแนวทางทางกฎหมายและxxxxxxxวิธีในการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงความยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม เพื่อปรับปรุงให้ดีขึ้น
(ข) แลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับประสบการณ์xxxxxxรับในการสรุปและดําเนินการตามข้อตกลงทวิภาคีและพหุ ภาคีหรือข้อตกลงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของxxxxxxxxxxxและภาคีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือมากกว่าที่เข้าร่วม เป็นภาคี
(ค) แสวงหาบริการของหน่วยงาน ECE ที่เกี่ยวข้องและหน่วยงานระหว่างประเทศที่มีอํานาจอื่น ๆ และ คณะกรรมการเฉพาะด้านอื่น ๆ ตามความเหมาะสม ในทุกxxxxxxxนําไปสู่การxxxxxวัตถุประสงค์ของxxxxxxxxxxx
(ง) จัดตั้งหน่วยงานย่อยใด ๆ ตามความจําเป็น
(จ) เตรียมพิธีสารของxxxxxxxxxxx ตามความเหมาะสม
(ฉ) พิจารณาและยอมรับข้อเสนอสําหรับการแก้ไขxxxxxxxxxxxตามบทบัญญัติของข้อ 14
(ช) พิจารณาและดําเนินการเพิ่มเติมใด ๆ xxxxxxจําเป็นเพื่อให้xxxxxวัตถุประสงค์ของxxxxxxxxxxx
(ซ) ในการประชุมครั้งแรก พิจารณาและโดยxxxxxมตินําxxxxxxxปฏิบัติสําหรับการประชุม และการ ประชุมของหน่วยงานย่อย
(ฌ) ในการประชุมครั้งแรก ให้ทบทวนประสบการณ์ในการปฏิบัติตามบทบัญญัติของมาตรา 5 วรรคที่ 9 และพิจารณาว่าขั้นตอนใดที่จําเป็นในการพัฒนาระบบที่อ้างถึงในวรรคนั้นต่อไป โดยคํานึงถึงกระบวนและการ พัฒนาระหว่างประเทศ รวมถึงรายละเอียดเพิ่มเติม ของตราสารที่เหมาะสมเกี่ยวกับการปล่อยมลพิษและขนถ่าย มลพิษหรือสินค้าคงคลังที่xxxxxxผนวกเข้ากับxxxxxxxxxxxได้
3. ที่ประชุมภาคีอาจพิจารณาจัดทําข้อตกลงทางการเงินตามความจําเป็น บนพื้นฐานของxxxxxมติ
4. สหประชาชาติ ทบวงการชํานัญพิเศษและสํานักงานพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ตลอดจนองค์กรบูรณาการ ทางเศรษฐกิจระดับรัฐหรือระดับxxxxxxxxxxมีxxxxxภายใต้ข้อ 17 ในการลงนามในxxxxxxxxxxxแต่xxxxxxเป็นภาคีของ xxxxxxxxxxx และองค์กรระหว่างรัฐบาลใด ๆ ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมในสาขาที่เกี่ยวข้องกับxxxxxxxxxxx จะมีxxxxxเข้า ร่วมในฐานะผู้xxxxxxxxxxxในการประชุมของภาคี
5. องค์กรพัฒนาเอกชนใด ๆ ที่มีคุณสมบัติในสาขาที่เกี่ยวข้องกับxxxxxxxxxxx ซึ่งได้แจ้งเลขาธิการบริหาร ของ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรปทราบถึงความxxxxxxxxxxจะเข้าร่วมในการประชุมของภาคีจะมีxxxxxเข้าร่วมในฐานะ ผู้xxxxxxxxxxx เว้นแต่ภาคีอย่างน้อยหนึ่งในสามที่เข้าร่วมประชุมจะคัดค้าน
6. เพื่อxxxxxxxxxxของวรรค 4 และ 5 ข้างต้น กฎของxxxxxxxxxxxxอ้างถึงในวรรค 2 (ซ) ข้างต้นจะต้องจัดให้มี การเตรียมการในทางปฏิบัติสําหรับขั้นตอนการรับเข้าและข้อกําหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 11
xxxxxในการลงคะแนนเสียง
1. ภาคีแห่งอนุสัญญาแต่ละฝ่ายจะมีเสียงหนึ่งเสียง ยกเว้นตามที่ระบุไว้ในวรรค 2 ด้านล่าง
2. องค์กรบูรณาการทางเศรษฐกิจระดับxxxxxxx ในเรื่องที่อยู่ในอํานาจของตน จะใช้xxxxxลงคะแนนเสียงเท่ากับ จํานวนประเทศสมาชิกที่เป็นภาคีของxxxxxxxxxxx องค์กรดังกล่าวจะไม่ใช้xxxxxในการลงคะแนนเสียงหากประเทศ สมาชิกใช้xxxxxของตน และในทางกลับกัน
ข้อ 12
สํานักงานเลขาธิการ เลขาธิการบริหารของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรปจะทําหน้าที่ฝ่ายเลขานุการดังต่อไปนี้ (ก) การจัดประชุมและการเตรียมการประชุมของภาคี
(ข) การส่งรายงานและข้อมูลอื่น ๆ xxxxxxรับตามบทบัญญัติของxxxxxxxxxxxไปยังภาคี และ (ค) หน้าที่อื่น ๆ xxxxxxถูกกําหนดโดยภาคี
ข้อ 13
ภาคผนวก
ภาคผนวกของxxxxxxxxxxxจะเป็นส่วนหนึ่งของxxxxxxxxxxx
ข้อ 14 การแก้ไขอนุสัญญา
1. ภาคีใด ๆ อาจเสนอการแก้ไขxxxxxxxxxxx
2. ข้อความของข้อเสนอแก้ไขxxxxxxxxxxxจะส่งมอบเป็นลายลักษณ์xxxxxไปยังเลขาธิการบริหารของ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรป xxxxxxxxxxให้ภาคีทั้งหมดทราบล่วงหน้าอย่างน้อยเก้าสิบวันก่อนการประชุ มของ ภาคีที่มีการเสนอให้มีการรับรอง
3. ภาคีจะxxxxxxทุกวิถีทางเพื่อxxxxxข้อตกลงเกี่ยวกับการแก้ไขของxxxxxxxxxxxโดยxxxxxมติ หากความxxxxxx ในxxxxxมติทั้งหมด ไม่xxxxxxxxxxxข้อตกลงได้ การแก้ไขจะเป็นทางเลือกสุดท้ายโดยคะแนนเสียงข้างมากสามใน สี่ของภาคีที่เข้าร่วมและลงคะแนนเสียงในที่ประชุม
4. การรับรองการแก้ไขxxxxxxxxxxx เป็นไปตามวรรค 3 ข้างต้น จะต้องแจ้งโดยผู้เก็บรักษา (Depositary) ไปยังภาคี ทั้งหมด เพื่อให้สัตยาบัน อนุมัติ หรือยอมรับ การแก้ไขเพิ่มเติมxxxxxxxxxxxนอกเหนือจากที่แก้ไขในภาคผนวกจะมี ผลบังคับใช้สําหรับประเทศภาคีxxxxxxxxxxxxxx อนุมัติ หรือยอมรับในxxxxxxเก้าสิบหลังจากที่ผู้ฝากได้รับแจ้งการให้ สัตยาบัน อนุมัติ หรือยอมรับอย่างน้อยสามในสี่ของภาคีเหล่านี้ หลังจากนั้นจะมีผลใช้บังคับสําหรับภาคีอื่นใดใน xxxxxxเก้าสิบหลังจากที่ภาคีนั้นมอบxxxxxxxxxxx xxxอนุมัติ หรือการยอมรับการแก้ไข
5. ภาคีใด ๆ xxxxxxxxxxxxอนุมัติการแก้ไขภาคผนวกของxxxxxxxxxxx จะต้องแจ้งให้ผู้เก็บรักษาทราบเป็นลายลักษณ์ xxxxxภายในสิบสองเดือนนับจากxxxxxxมีการสื่อสารxxxxxxยอมรับ ผู้เก็บรักษาจะต้องแจ้งให้ทุกฝ่ายทราบxxxxxxแจ้ง เตือนดังกล่าวโดยxxxxxxxxx ภาคีอาจใช้แทนการยอมรับสําหรับการแจ้งเตือนครั้งก่อนได้ตลอดเวลา และเมื่อมีการ ฝากสารตอบรับไว้กับผู้เก็บxxxxx xxxแก้ไขภาคผนวกดังกล่าวจะมีผลบังคับใช้สําหรับภาคีนั้น
6. เมื่อครบกําหนดสิบสองเดือนนับจากxxxxxxผู้เก็บรักษาสื่อสารตามที่ระบุไว้ในวรรค 4 ข้างต้น การแก้ไขภาคผนวก จะมีผลบังคับใช้กับภาคีเหล่านั้นซึ่งxxxxxxส่งการแจ้งเตือนไปยังผู้เก็บรักษาตามบทบัญญัติของ วรรค 5 ข้างต้นโดยมี เงื่อนไขว่าภาคีไม่เกินหนึ่งในสามได้ส่งการแจ้งเตือนดังกล่าวแล้ว
7. สําหรับวัตถุประสงค์ของข้อนี้ "ภาคีที่นําเสนอและลงคะแนนเสียง" หมายถึง ภาคีที่นําเสนอและลงคะแนนเสียง เห็นด้วยหรือปฏิเสธ
ข้อ 15
การทบทวนการปฏิบัติตาม
การประชุมของภาคีจะต้องจัดทําขึ้นบนพื้นฐานxxxxxมติ การเตรียมการที่เป็นทางเลือกของลักษณะที่ไม่มี การเผชิญหน้า ไม่ใช่การพิจารณาคดี และการปรึกษาหารือ เพื่อทบทวนการปฏิบัติตามบทบัญญัติของxxxxxxxxxxx ข้อตกลงเหล่านี้จะอนุญาตให้สาธารณชนมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสม และอาจรวมถึงทางเลือกในการพิจารณาการ สื่อสารจากสาธารณชนในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับxxxxxxxxxxx
ข้อ 16
การระงับข้อพิพาท
1. หากเกิดข้อพิพาทขึ้นระหว่างภาคีสองฝ่ายขึ้นไปเกี่ยวกับการตีความหรือการบังคับใช้xxxxxxxxxxx ทุกฝ่ายจะต้อง หาทางแก้ไขโดยการเจรจาหรือด้วยวิธีอื่นใดในการระงับข้อพิพาทxxxxxxxxxxxยอมรับได้
2. เมื่อลงนาม ให้สัตยาบัน ยอมรับ อนุมัติ หรือปฏิบัติตามxxxxxxxxxxx หรือในเวลาใดก็ตามหลังจากนั้น ภาคีอาจ ประกาศเป็นลายลักษณ์xxxxxต่อผู้รับฝากว่า สําหรับข้อพิพาทxxxxxxได้รับการแก้ไขตามวรรค 1 ข้างต้น จะยอมรับ
อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่าง วิธีการระงับข้อพิพาทต่อไปนี้เป็นภาคบังคับที่เกี่ยวข้องกับภาคีใด ๆ ที่ยอม รับภาระผูกพันเดียวกัน
(ก) การยื่นข้อพิพาทต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
(ข) อนุญาโตตุลาการตามขั้นตอนที่กําหนดไว้ในภาคผนวก 2
3. หากxxxxxxxxยอมรับวิธีการระงับข้อพิพาททั้งสองวิธีตามที่อ้างถึงในวรรค 2 ข้างต้น ข้อพิพาทอาจถูกส่งไปยังศาล ยุติธรรมระหว่างประเทศเท่านั้น เว้นแต่xxxxxxxxจะตกลงเป็นอย่างอื่น
ข้อ 17
การลงนาม
xxxxxxxxxxxจะเปิดให้ลงนามที่เมืองออร์ฮุส (ประเทศเดนมาร์ก) ในxxxxxx 25 มิถุนายน พ.ศ. 2541 และหลังจากxxxx xxxสํานักงานใหญ่xxxxxxxxxxx x xxxนิวยอร์ก จนถึงxxxxxx 21 ธันวาคม พ.ศ. 2541 โดยรัฐสมาชิกของ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรปและรัฐที่มีสถานะที่ปรึกษากับคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรปตามวรรค 8 และ
11 ของมติที่ 36 (IV) xxxxxx 28 มีนาคม พ.ศ. 2490 ของคณะxxxxxเศรษฐกิจและสังคม และตามxxxxxxx องค์กร บูรณาการทางเศรษฐกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยสมาชิกรัฐอธิปไตยของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรป ซึ่งรัฐสมาชิกของรัฐ ดังกล่าวได้โอนอํานาจหน้าที่ในเรื่องที่อยู่ภายใต้xxxxxxxxxxx รวมทั้งความxxxxxxในการทําxxxxxxxxxเกี่ยวกับเรื่อง เหล่านี้
ข้อ 18
การเก็บรักษาxxxxxxxxxxx
เลขาธิการสหประชาชาติจะทําหน้าที่เป็นผู้เก็บรักษาxxxxxxxxxxx
ข้อ 19
การให้สัตยาบัน การยอมรับ การอนุมัติ และการเข้าถึง
1. xxxxxxxxxxxจะอยู่ภายใต้การให้สัตยาบัน การยอมรับ หรือการอนุมัติโดยรัฐที่ลงนามและองค์กรบูรณาการทาง เศรษฐกิจระดับxxxxxxx
2. xxxxxxxxxxxจะเปิดเพื่อภาคยานุวัติตั้งแต่xxxxxx 22 ธันวาคม พ.ศ. 2541 โดยรัฐและองค์กรบูรณาการทาง เศรษฐกิจระดับxxxxxxxxxxอ้างถึงในข้อ 17
3. รัฐอื่นใดxxxxxxได้กล่าวถึงในวรรค 2 ข้างต้น ซึ่งเป็นสมาชิกของxxxxxxxxxxxxxxเข้าเป็นภาคีxxxxxxxxxxxเมื่อ ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมภาคี
4. องค์กรใด ๆ ที่อ้างถึงในข้อ 17 ซึ่งเข้าเป็นภาคีของxxxxxxxxxxxโดยไม่มีรัฐสมาชิกเป็นภาคี จะต้องผูกพันตาม พันธกรณีทั้งหมดภายใต้xxxxxxxxxxx หากรัฐสมาชิกขององค์กรดังกล่าวอย่างน้อยหนึ่งประเทศหรือมากกว่าเป็นภาคี ของxxxxxxxxxxx องค์กรและรัฐสมาชิกจะต้องตัดสินใจเกี่ยวกับความรับผิดชอบของตนสําหรับการปฏิบัติตาม พันธกรณีภายใต้xxxxxxxxxxx ในกรณีดังกล่าว องค์กรและรัฐสมาชิกจะไม่มีxxxxxในการใช้xxxxxตามxxxxxxxxxxxพร้อม กัน
5. ในxxxxxxxxxxx xxxยอมรับ การอนุมัติ หรือภาคยานุวัติสารขององค์กร องค์กรบูรณาการทางเศรษฐกิจระดับ xxxxxxxxxxอ้างถึงในข้อ 17 จะต้องประกาศขอบเขตความxxxxxxของตนเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวที่อยู่ภายใต้xxxxxxxx xxx องค์กรเหล่านี้จะต้องแจ้งให้ผู้ฝากทราบxxxxxxเปลี่ยนแปลงที่สําคัญตามขอบเขตความxxxxxxของพวกเขาด้วย
ข้อ 20 การมีผลบังคับใช้
1. xxxxxxxxxxxจะมีผลบังคับใช้ในxxxxxxเก้าสิบหลังจากxxxxxxมอบxxxxxxxxxxx xxxยอมรับ การอนุมัติ หรือ ภาคยานุวัติสารฉบับที่สิบหก
2. สําหรับวัตถุประสงค์ของวรรค 1 ข้างต้น ตราสารใด ๆ ที่มอบให้โดยองค์กรบูรณาการทางเศรษฐกิจระดับ xxxxxxxจะไม่นับรวมกับตราสารที่มอบให้โดยรัฐสมาชิกขององค์กรดังกล่าว
3. สําหรับแต่ละรัฐหรือองค์กรที่อ้างถึงในข้อ 17 ซึ่งให้สัตยาบัน ยอมรับ หรือให้ความเห็นชอบต่อxxxxxxxxxxxหรือ ภาคยานุวัติหลังจากมอบxxxxxxxxxxx xxxยอมรับ การอนุมัติ หรือภาคยานุวัติสารฉบับที่สิบหก อนุสัญญาจะมีผล ใช้บังคับในxxxxxxเก้าสิบหลังจากxxxxxxมอบxxxxxxxxxxx xxxยอมรับ การอนุมัติ หรือภาคยานุวัติสารโดยรัฐห รือ องค์กรดังกล่าว
ข้อ 21
การถอนตัว
ในเวลาใดก็ตามหลังจากสามปีนับจากxxxxxxxxxxxxxxxxxมีผลใช้บังคับกับภาคีใด ภาคีนั้นอาจถอนตัวจากอนุสัญญา โดยแจ้งเป็นลายลักษณ์xxxxxไปยังผู้เก็บxxxxx xxxถอนดังกล่าวจะมีผลในxxxxxxเก้าสิบหลังจากxxxxxxผู้เก็บรักษาได้รับ
ข้อ 22
ข้อความรับรองความถูกต้อง
ต้นฉบับของxxxxxxxxxxxซึ่งเป็นข้อความภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซียมีความถูกต้องเท่าเทียมกัน โดยส่งมอบไว้ กับเลขาธิการสหประชาชาติ
เพื่อเป็นสักขีพยานแก่การนี้ ผู้ลงนามข้างท้ายนี้ซึ่งได้รับมอบอํานาจโดยถูกต้อง ได้ลงนามความตกลงฉบับนี้ จัดทําขึ้น ณ เมืองออร์ฮูส (ประเทศเดนมาร์ก) xxxxxxยี่สิบห้า มิถุนายน หนึ่งพันxxxxxxxxเก้าสิบแปด
1. ภาคพลังงาน:
ภาคผนวก 1
รายการกิจกรรมที่อ้างถึงในข้อ 6 วรรค 1 (ก)
- โรงกลั่นน้ํามันแร่และก๊าซ
- โรงงานผลิตแก๊สและของเหลว
- โรงไฟฟ้าพลังงานความxxxxและการติดตั้งเพื่อการxxxไหม้อื่น ๆ ที่มีฮีตอินพุต (heat input)ตั้งแต่ 50 เม กะวัตต์ (MW) ขึ้นไป
- เตาxxxถ่านโค๊ก
- โรงไฟฟ้านิวเคลียร์และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์อื่น ๆ รวมxxxxxxรื้อหรือรื้อถอนสถานีไฟฟ้าหรือเครื่อง ปฏิกรณ์ 1/ (ยกเว้นการติดตั้งเพื่อการวิจัยสําหรับการผลิตและการแปลงวัสดุฟิชไซล์และวัสดุเฟอร์ไทล์ที่มี กําลังสูงสุดไม่เกิน 1 กิโลวัตต์ต่อโหลดความxxxxต่อเนื่อง)
- โรงงานสําหรับการแปรรูปเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ฉายรังสี
- โรงงานที่ออกแบบ:
- สําหรับการผลิตหรือการเสริมสมรรถนะของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์
- สําหรับการแปรรูปเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ฉายรังสีหรือกากกัมมันตภาพรังสีระดับสูง
- สําหรับการกําจัดเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ฉายรังสีในขั้นสุดท้าย
- สําหรับการกําจัดกากกัมมันตภาพรังสีในขั้นสุดท้ายเท่านั้น
- สําหรับการจัดเก็บเฉพาะของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่ฉายรังสีหรือกากกัมมันตรังสีในสถานที่อื่นซึ่ง ไม่ใช่สถานที่ผลิต (วางแผนไว้นานกว่า 10 ปี)
2. การผลิตและการแปรรูปโลหะ:
- แร่โลหะ (รวมถึงแร่ซัลไฟด์) การxxxหรือการผนึกแร่
- สิ่งติดตั้งสําหรับการผลิตเหล็กดิบหรือเหล็กกล้า (การหลอมละลายหลักหรือรอง) รวมทั้งการหล่อ แบบต่อเนื่องที่มีกําลังการผลิตเกิน 2.5 ตันต่อชั่วโมง
- การติดตั้งสําหรับการแปรรูปโลหะในกลุ่มเหล็ก
(1) โรงงานxxxโลหะที่มีกําลังการผลิตเหล็กดิบเกิน 20 ตันต่อชั่วโมง
(2) โรงงานตีเหล็กด้วยค้อนซึ่งพลังงานเกิน 50 กิโลxxลต่อค้อนหนึ่งอัน โดยที่พลังงานความxxxxxxx ใช้เกิน 20 เมกะวัตต์
(3) การใช้สารเคลือบป้องกันโลหะหลอมกับเหล็กดิบเกิน 2 ตันต่อชั่วโมง
- โรงหล่อโลหะที่มีกําลังการผลิตเกิน 20 ตันต่อวัน
- การติดตั้ง:
(1) สําหรับการผลิตโลหะดิบนอกกลุ่มเหล็กจากแร่ สารเข้มข้น หรือวัตถุดิบ ทุติยภูมิโดย กระบวนการทางโลหะxxxxx เคมี หรืออิเล็กโทรไลต์
(2) สําหรับการถลุง รวมxxxxxxผสมโลหะที่ไม่ใช่เหล็ก รวมถึงผลิตภัณฑ์ที่นําxxxxxxใช้ใหม่ (การ กลั่น การหล่อโลหะ ฯลฯ) ที่มีความxxxxxxในการหลอมเกิน 4 ตันต่อวันสําหรับตะกั่วและ แคดเมียม หรือ 20 ตันต่อวันสําหรับโลหะอื่น ๆ ทั้งหมด
- การติดตั้งสําหรับการปรับสภาพพื้นผิวของโลหะและวัสดุพลาสติกโดยใช้กระบวนการอิเล็กโทรไลต์หรือ เคมีที่ปริมาตรของถังบําบัดเกิน 30 ลบ.ม.
3. อุตสาหกรรมแร่
- โรงงานผลิตปูนเม็ดในเตาxxxแบบหมุนที่มีกําลังผลิตเกิน 500 ตันต่อวัน หรือปูนขาวในเตาxxxแบบหมุน ที่มีกําลังผลิตเกิน 50 ตันต่อวัน หรือในเตาxxxอื่นที่มีกําลังผลิตเกิน 50 ตันต่อวัน
- โรงงานผลิตแร่ใยหินและการผลิตผลิตภัณฑ์จากแร่ใยหิน
- โรงงานผลิตแก้วรวมxxxxxxxxxxที่มีกําลังการหลอมเกิน 20 ตันต่อวัน
- โรงงานหลอมสารแร่ รวมทั้งการผลิตเส้นใยxxxxxxมีกําลังการหลอมเกิน 20 ตันต่อวัน
- โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์xxxxมิกโดยการxxxโดยเฉพาะ กระเบื้องมุงหลังคา อิฐ อิฐทนไฟ กระเบื้อง xxxx แวร์หรือพอร์ซxxxที่มีกําลังการผลิตเกิน 75 ตันต่อวัน และ/หรือที่มีกําลังการผลิตเตาxxxเกิน 4 ลบ.ม.
และมีการกําหนดความxxxxxxxต่อเตาxxxเกิน 300 กก./ลบ.ม.
4. อุตสาหกรรมเคมี- การผลิตตามความหมายของประเภทของกิจกรรมที่มีอยู่ในวรรคนี้ หมายxxx xxxผลิตใน ระดับอุตสาหกรรมโดยกระบวนการทางเคมีของสารหรือกลุ่มของสารที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ก) ถึง (ช)
(ก) การติดตั้งสารเคมีสําหรับการผลิตสารอินทรีย์พื้นฐาน xxxx
(1) ไฮโดรคาร์บอนอย่างง่าย (เชิงเส้นหรือเป็นxxxxx xxxxxxxหรือxxxxxxxxxx อะลิฟาติกหรืออะโร มาติก)
(2) ไฮโดรคาร์บอนที่มีออกซิเจนเป็นส่วนประกอบ xxxx แอลกอฮอล์ xxxxxไฮด์ คีโตน กรดคาร์บอก ซิลิก xxxxxxร์ อะซีเตต อีเทอร์ เปอร์ออกไซด์ อีพอกซีเรซิน
(3) ซัลเฟอร์รัสไฮโดรคาร์บอน
(4) ไนโตรเจนไฮโดรคาร์บอน xxxx xxxxน xxxxด์ สารประกอบไนตรัส สารประกอบไนโตรหรือสาร ประกอบไนเตรต ไนไตรล์ ไซยาเนต xxxxxxยาเนต
(5) ไฮโดรคาร์บอนที่มีฟอสฟอรัสเป็นส่วนประกอบ
(6) ฮาโลxxxไฮโดรคาร์บอน
(7) สารประกอบอินทรีย์โลหะ
(8) วัสดุพลาสติกขั้นมูลฐาน (โพลิเมอร์ เส้นใยสังเคราะห์ และเส้นใยที่มีเซลลูโลสเป็นหลัก)
(9) ยางสังเคราะห์
(10) สีย้อมและเม็ดสี
(11) สารที่ออกฤทธิ์ต่อพื้นผิวและสารลดแรงตึงผิว
(ข) การติดตั้งสารเคมีสําหรับการผลิตสารเคมีอนินทรีย์ขั้นพื้นฐาน xxxx
(1) ก๊าซ xxxx แอมโมเนีย คลอรีนหรือไฮโดรเจนคลอไรด์ ฟลูออรีนหรือไฮโดรเจนฟxxxxไรด์ คาร์บอนออกไซด์ สารประกอบกํามะถัน ไนโตรเจนออกไซด์ ไฮโดรเจน ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ คาร์ บอนิลคลอไรด์
(2) กรด xxxx กรดโครมิก กรดไฮโดรฟxxxxxxx กรดฟอสฟอxxx กรดไนตxxx กรดไฮโดรคลอxxx กรด ซัลฟิวxxx โอเลม กรดกํามะถัน
(3) xxx xxxx แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมไฮดรอกไซด์
(4) เกลือ xxxx แอมโมเนียมคลอไรด์ โพแทสเซียมคลอเรต โพแทสเซียมคาร์บอเนต โซเดียม คาร์บอเนต เปอร์บอเรต ซิลเวอร์ไนเตรต
(5) อโลหะ ออกไซด์ของโลหะ หรือสารประกอบอนินทรีย์อื่น ๆ xxxx แคลเซียมคาร์ไบด์ ซิลิกอน ซิลิกอนคาร์ไบด์
(ค) การติดตั้งสารเคมีสําหรับการผลิตปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัส ไนโตรเจน หรือโพแทสเซียมเป็นพื้นฐาน (ปุ๋ย เชิงเดี่ยวหรือปุ๋ยผสม)
(ง) การติดตั้งสารเคมีสําหรับการผลิตผลิตภัณฑ์สุขภาพพืชขั้นพื้นฐานและไบโอไซด์
(จ) การติดตั้งโดยใช้กระบวนการทางเคมีหรือชีวภาพสําหรับการผลิตเภสัชภัณฑ์ขั้นมูลฐาน (ฉ) การติดตั้งสารเคมีสําหรับการผลิตวัตถุระเบิด
(ช) การติดตั้งทางเคมีซึ่งใช้กระบวนการทางเคมีหรือชีวภาพในการผลิตสารเติมแต่งอาหารโปรตีน การ หมัก และสารโปรตีนอื่น ๆ
5. การจัดการของเสีย
- การติดตั้งสําหรับการxxx การเก็บกู้ การบําบัดสารเคมี หรือการฝังกลบของเสียอันตราย
- การติดตั้งสําหรับการxxxขยะเทศบาลที่มีกําลังการผลิตเกิน 3 ตันต่อชั่วโมง
- สิ่งติดตั้งสําหรับกําจัดของเสียไม่อันตรายที่มีกําลังการผลิตเกิน 50 ตันต่อวัน
- การฝังกลบที่รับมากกว่า 10 ตันต่อวันหรือมีความจุรวมมากกว่า 25,000 ตัน ไม่รวมการฝังกลบของขยะ เฉื่อย
6. โรงบําบัดน้ําเสียที่มีศักยภาพเทียบเท่าสําหรับประชากรมากกว่า 150,000 คน
7. โรงงานอุตสาหกรรมสําหรับ
(ก) การผลิตเยื่อกระดาษจากไม้หรือวัสดุเส้นใยที่คล้ายกัน
(ข) การผลิตกระดาษและแผ่นกระดานที่มีกําลังการผลิตเกิน 20 ตันต่อวัน
8. (ก) การก่อสร้างเส้นทางรถไฟระยะยาวและสนามบิน 2/ โดยมีความยาวทางวิ่งพื้นฐานตั้งแต่ 2,100 ม. ขึ้นไป
(ข) การก่อสร้างมอเตอร์เวย์และทางด่วน 3/
(ค) การก่อสร้างถนนใหม่ขนาดสี่ช่องจราจรขึ้นไป หรือปรับแนว และ/หรือขยายถนนเดิมขนาดสองช่อง จราจรหรือน้อยกว่าเพื่อให้มีช่องจราจรตั้งแต่สี่ช่องขึ้นไป ซึ่งถนนใหม่ หรือปรับแนว และ/หรือขยายส่วนดังกล่าว ของถนนจะมีความยาวต่อเนื่องตั้งแต่ 10 กม. ขึ้นไป
9. (ก) การขนส่งทางแม่น้ํา และท่าเรือสําหรับการสัญจรทางแม่น้ําซึ่งอนุญาตให้เรือขนาดมากกว่า 1,350 ตัน ผ่านได้
(ข) ท่าค้าขาย ท่าเทียบเรือขนถ่ายที่ต่อกับท่าบกและท่าภายนอก (ไม่รวมxxxxxxxฟาก) ซึ่งรับเรือได้ตั้งแต่ 1,350 ตันขึ้นไป
10. อัตราการสูบน้ําบาดาลหรือน้ําบาดาลเทียม ซึ่งปริมาณน้ําที่สูบใหม่ต่อปีเทียบเท่าหรือมากกว่า 10 ล้าน ลบ.ม.
11. (ก) งานเพื่อการถ่ายโอนทรัพยากรน้ําระหว่างลุ่มแม่น้ํา ซึ่งการถ่ายโอนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันปัญหา การขาดแคลนน้ําที่เป็นไปได้ และในกรณีที่ปริมาณน้ําที่ถ่ายโอนเกินกว่า 100 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี
(ข) ในกรณีอื่น ๆ ทั้งหมด ทํางานเพื่อการถ่ายโอนทรัพยากรน้ําระหว่างลุ่มน้ําที่การไหลเฉลี่ยของแอ่ งน้ํา เกิน 2,000 ล้านลูกบาศก์เมตร/ปี และปริมาณน้ําที่ถ่ายโอนเกินร้อยละ 5 ของการไหลนี้
ในทั้งสองกรณีไม่รวมการขนส่งน้ําดื่มแบบท่อ
12. การสกัดน้ํามันปิโตรเลียมและก๊าซxxxxxxxxเพื่อการค้า ปริมาณที่สกัดได้เกิน 500 ตัน/วัน ในกรณีของ ปิโตรเลียม และ 500,000 ลูกบาศก์เมตร/วัน ในกรณีของก๊าซ
13. เขื่อนและสิ่งติดตั้งอื่น ๆ ที่ออกแบบมาเพื่อกักเก็บน้ําหรือกักเก็บน้ําxxxx ซึ่งปริมาณน้ําที่กักเก็บหรือกัก xxxxxxxใหม่หรือเพิ่มเติมเกิน 10 ล้านลูกบาศก์เมตร
14. ท่อขนส่งก๊าซ น้ํามัน หรือสารเคมีที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 800 มิลลิเมตร และยาวเกิน 40
กิโลเมตร
15. โรงเรือนขนาดใหญ่สําหรับการเลี้ยงสัตว์ปีกหรือxxxx xxxมีมากกว่า (ก) 40,000 แห่งสําหรับสัตว์ปีก
(ข) 2,000 แห่งสําหรับxxxxxxxผลิต (มากกว่า 30 กก.) หรือ (ค) 750 ที่สําหรับแม่สุกร
16. เหมืองหินและการทําเหมืองแบบเปิดที่พื้นผิวของพื้นที่การปฏิบัติงานเกิน 25 เฮกตาร์ หรือการสกัดถ่าน หินพีตที่พื้นผิวของพื้นที่การปฏิบัติงานเกิน 150 เฮกตาร์
17. งานก่อสร้างสายไฟฟ้าเหนือศีรษะขนาดแรงดันตั้งแต่ 220 กิโลโวลต์ขึ้นไป ยาวเกิน 15 กม.
18. สถานที่เก็บผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปิโตรเคมี หรือเคมีภัณฑ์ที่มีความจุตั้งแต่ 200,000 ตันขึ้นไป
19. กิจกรรมอื่น ๆ
- โรงงานสําหรับการปรับสภาพ (การปฏิบัติการ xxxx การซัก การฟอกขาว การชุบ) หรือการย้อมเส้นใย หรือสิ่งทอที่มีความxxxxxxในการบําบัดเกิน 10 ตันต่อวัน
- โรงงานสําหรับฟอกหนังและหนังที่มีความxxxxxxในการบําบัดเกิน 12 ตันของผลิตภัณฑ์สําเร็จรูปต่อวัน
- (ก) โรงฆ่าสัตว์ที่มีกําลังการผลิตซากมากกว่า 50 ตันต่อวัน
- (ข) การบําบัดและการแปรรูปที่มีไว้สําหรับการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารจาก:
(1) วัตถุดิบจากสัตว์ (นอกจากนม) ที่มีกําลังการผลิตผลิตภัณฑ์สําเร็จรูปมากกว่า 75 ตันต่อวัน
(2) วัตถุดิบผักที่มีกําลังการผลิตผลิตภัณฑ์สําเร็จรูปมากกว่า 300 ตันต่อวัน (xxxxxxเฉลี่ยรายไตร มาส)
(ค) การบําบัดและแปรรูปนม ปริมาณน้ํานมxxxxxxรับมากกว่า 200 ตันต่อวัน (ค่าเฉลี่ยรายปี)
- สิ่งติดตั้งสําหรับกําจัดหรือรีไซเคิลซากสัตว์และของเสียจากสัตว์ที่มีความxxxxxxในการบําบัดเกิน 10
ตันต่อวัน
- การติดตั้งสําหรับการปรับสภาพพื้นผิวของสสาร วัตถุ หรือผลิตภัณฑ์โดยใช้ตัวทําละลายอินทรีย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสําหรับการตกแต่ง พิมพ์ เคลือบ ล้างไขมัน กันน้ํา ปรับขนาด ทาสี ทําความสะอาด หรือทําให้ชุ่ม โดยมีความxxxxxxในการบริโภคมากกว่า 150 กก. ต่อชั่วโมงหรือมากกว่า 200 ตันต่อปี
- การติดตั้งสําหรับการผลิตคาร์บอน (xxxxxxxxxxxxxยาก) หรืออิเล็กโทรกราไฟต์โดยวิธีxxxหรือแกรไฟต์
20. กิจกรรมใด ๆ xxxxxxครอบคลุมในย่อหน้าที่ 1-19 ข้างต้นที่จัดให้มีการมีส่วนร่วมของประชาชนภายใต้ ขั้นตอนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายของประเทศ
21. บทบัญญัติของข้อ 6 วรรค 1 (ก) ของxxxxxxxxxxxไม่ใช้กับโครงการใด ๆ ข้างต้นที่ดําเนินการโดยเฉพาะ หรือส่วนใหญ่สําหรับการวิจัย การพัฒนา และการทดสอบวิธีการหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เป็นเวลาน้อยกว่าสองปี เว้น แต่จะเป็น มีxxxxxxxxxxจะส่งผลเสียอย่างมากต่อสิ่งแวดล้อมหรือสุขภาพ
22. การเปลี่ยนแปลงหรือขยายกิจกรรมใด ๆ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงหรือขยายในตัวเองนั้นเป็นไปตามเกณฑ์/ เกณฑ์ที่กําหนดไว้ในภาคผนวกนี้ จะต้องอยู่ภายใต้ข้อ 6 วรรค 1 (ก) ของxxxxxxxxxxx การเปลี่ยนแปลงหรือการ ขยายกิจกรรมอื่นใดจะอยู่ภายใต้ข้อ 6 วรรค 1 (ข) ของxxxxxxxxxxx
หมายเหตุ
1/ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์อื่น ๆ เป็นการติดตั้งเมื่อเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ทั้งหมดและ องค์ประกอบที่ปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสีอื่น ๆ ถูกเคลื่อนย้ายจากสถานที่ติดตั้งอย่างxxxx
2/ สําหรับวัตถุประสงค์ของxxxxxxxxxxx "สนามบิน" หมายถึง สนามxxxxxxเป็นไปตามคํานิยามในอนุสัญญาชิคาโก พ.ศ. 2487 ซึ่งจัดตั้งองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ภาคผนวก 14)
3/ เพื่อวัตถุประสงค์ของxxxxxxxxxxx "ทางด่วน" หมายถึง ถนนที่เป็นไปตามคํานิยามในข้อตกลงยุโรปว่าด้วย เส้นทางจราจรระหว่างประเทศหลัก ลงวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518
ภาคผนวก 2 อนุญาโตตุลาการ
1. ในกรณีที่มีการยื่นข้อพิพาทเพื่อการอนุญาโตตุลาการตามข้อ 16 วรรค 2 ของอนุสัญญานี้ ภาคีหรือหลาย ฝ่ายจะต้องแจ้งให้สํานักเลขาธิการทราบถึงประเด็นของการอนุญาโตตุลาการและระบุโดยเจาะจง ถึงข้อกําหนด ของอนุสัญญานี้ ซึ่งการตีความหรือการประยุกต์ใช้เป็นปัญหา สํานักเลขาธิการจะส่งต่อข้อมูลที่ได้รับไปยังภาคี ทั้งหมดของอนุสัญญานี้
2. คณะอนุญาโตตุลาการจะประกอบด้วยสมาชิกสามคน โดยที่ทั้งสองฝ่ายหรือฝ่ายที่อ้างสิทธิและอีกฝ่ายหนึ่ง หรือฝ่ายใดในข้อพิพาทจะแต่งตั้งอนุญาโตตุลาการ และอนุญาโตตุลาการสองคนที่ได้รับการแต่งตั้งนั้นจะต้อง กําหนดโดยข้อตกลงร่วมกันว่าอนุญาโตตุลาการคนที่สามจะเป็นประธานของคณะอนุญาโตตุลาการ ฝ่ายหลัง จะต้องไม่ใช่คนชาติของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในข้อพิพาท และไม่มีที่อยู่อาศัยตามปกติในดินแดนของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือว่าจ้างโดยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง และไม่ได้จัดการกับคดีนี้ในประเด็นอื่นใด
3. หากไม่มีการแต่งตั้งประธานคณะอนุญาโตตุลาการภายในสองเดือนนับจากการแต่งตั้งอนุญาโตตุลาการคน ที่สอง เลขาธิการบริหารของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรปจะแต่งตั้งประธานตามคําร้องขอของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ในข้อพิพาท ภายในระยะเวลาสองเดือนถัดไป
4. หากคู่พิพาทฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่แต่งตั้งอนุญาโตตุลาการภายในสองเดือนหลังจากได้รับการร้องขอ คู่สัญญา อีกฝ่ายหนึ่งอาจแจ้งเลขาธิการบริหารของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรป ซึ่งจะแต่งตั้งประธานคณะ อนุญาโตตุลาการ ภายในระยะเวลาอีกสองเดือน เมื่อมีการแต่งตั้ง ประธานคณะอนุญาโตตุลาการจะต้องขอให้ฝ่าย ที่ยังไม่ได้แต่งตั้งอนุญาโตตุลาการดําเนินการดังกล่าวภายในสองเดือน หากไม่ดําเนินการภายในระยะเวลาดังกล่าว ประธานจะแจ้งเลขาธิการบริหารของคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจยุโรป ซึ่งจะเป็นผู้นัดหมายภายในระยะเวลาสอง เดือนถัดไป
5. คณะอนุญาโตตุลาการจะต้องตัดสินตามกฎหมายระหว่างประเทศและบทบัญญัติของอนุสัญญานี้
6. คณะอนุญาโตตุลาการใด ๆ ที่จัดตั้งขึ้นภายใต้บทบัญญัติที่กําหนดไว้ในภาคผนวกนี้จะกําหนดระเบียบวิธี ปฏิบัติขึ้นเอง
7. การตัดสินของคณะอนุญาโตตุลาการ ทั้งในด้านกระบวนการและเนื้อหา จะถือตามคะแนนเสียงข้างมาก ของสมาชิก
8. คณะอนุญาโตตุลาการอาจใช้มาตรการที่เหมาะสมทั้งหมดเพื่อสร้างข้อเท็จจริง
9. คู่พิพาทในข้อพิพาทจะต้องอํานวยความสะดวกในการทํางานของคณะอนุญาโตตุลาการ และโดยเฉพาะ อย่างยิ่ง การใช้วิธีการทั้งหมดที่จะต้อง
(ก) จัดเตรียมเอกสาร สิ่งอํานวยความสะดวก และข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
(ข) จัดให้มี หรือดําเนินการตามที่จําเป็น เพื่อเรียกพยานหรือผู้เชี่ยวชาญและรับหลักฐานของพวกเขา
10. คู่สัญญาและอนุญาโตตุลาการจะต้องปกป้องความลับของข้อมูลใด ๆ ที่พวกเขาได้รับเป็นความลับระหว่าง การดําเนินการของคณะอนุญาโตตุลาการ
11. คณะอนุญาโตตุลาการอาจเสนอมาตรการคุ้มครองชั่วคราวตามคําร้องขอของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
12. หากคู่พิพาทฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ปรากฏตัวต่อหน้าคณะอนุญาโตตุลาการหรือไม่สามารถแก้ต่างคดีของตนได้ คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งอาจร้องขอให้ศาลดําเนินการต่อไปและให้คําตัดสินเป็นที่สิ้นสุด การขาดคู่ความหรือความ ล้มเหลวของคู่ความในการต่อสู้คดีจะไม่ถือเป็นการขัดขวางการดําเนินกระบวนพิจารณา
13. คณะอนุญาโตตุลาการอาจรับฟังและตัดสินข้อเรียกร้องโต้แย้งที่เกิดขึ้นโดยตรงจากสาระสําคัญของข้อ พิพาท
14. เว้นแต่คณะอนุญาโตตุลาการจะพิจารณาเป็นอย่างอื่นเนื่องจากสถานการณ์เฉพาะของคดี ค่าใช้จ่ายของ ศาลรวมถึงค่าตอบแทนของสมาชิกจะต้องตกเป็นภาระของคู่พิพาทในส่วนแบ่งที่เท่ากัน ศาลจะเก็บบันทึกค่าใช้จ่าย ทั้งหมด และจะส่งคําแถลงขั้นสุดท้ายให้กับคู่กรณี
15. ภาคีใด ๆ ของอนุสัญญานี้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียตามกฎหมายในสาระสําคัญของข้อพิพาท และซึ่งอาจได้รับ ผลกระทบจากการตัดสินในคดีนี้ อาจเข้าแทรกแซงกระบวนพิจารณาโดยได้รับความยินยอมจากศาล
16. คณะอนุญาโตตุลาการจะต้องให้คําชี้ขาดภายในห้าเดือนนับจากวันที่จัดตั้งขึ้น เว้นแต่เห็นว่าจําเป็นต้อง ขยายระยะเวลาที่กําหนดไว้ซึ่งไม่ควรเกินห้าเดือน
17. คําชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการจะต้องแสดงเหตุผลประกอบ ซึ่งถือเป็นที่สิ้นสุดและมีผลผูกพันทุกฝ่าย ในข้อพิพาท คําชี้ขาดจะถูกส่งโดยคณะอนุญาโตตุลาการไปยังคู่กรณีในข้อพิพาทและสํานักงานเลขาธิการ จากนั้น สํานักงานเลขาธิการจะส่งต่อข้อมูลที่ได้รับไปยังภาคีทั้งหมดของอนุสัญญานี้
18. ข้อพิพาทใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นระหว่างคู่สัญญาฝ่ายต่าง ๆ เกี่ยวกับการตีความหรือการดําเนินการของคําชี้ ขาด อาจถูกเสนอโดยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไปยังคณะอนุญาโตตุลาการที่ทําคําชี้ขาด หรือหากไม่สามารถให้คําชี้ขาดได้ ให้ยื่นต่อคณะอนุญาโตตุลาการคณะอื่นที่จัดตั้งขึ้นเพื่อจุดประสงค์นี้ ในลักษณะเดียวกับครั้งแรก
.................................................................................