ABSTRACT
บทคัดย่อ
เมื่อมีข้อสัญญาอนุญาโตตุลาการในสัญญาแต่คู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งกลับx xxxxขึ้นสู่ศาล กฎหมายควรมีช่องทางให้คู่กรณีอีกฝ่ายxxxxxxบังคับให้ฝ่ายแรกxxxxxxท าตามข้อตกลงต้องกลับเข้าสู่ กระบวนการอนุญาโตตุลาการเพื่อระงับข้อพิพาทเสียก่อน
ประเทศที่มีกฎหมายลายลักษณ์xxxxxxxxวางหลักดังกล่าวไว้อย่างชัดแจ้ง xxxxประเทศไทย ประเทศอังกฤษ ประเทศฝรั่งเศส ส่วนในประเทศที่ใช้ระบบกฎหมาย Common Law ที่ไม่มี กฎหมายลายลักษณ์xxxxx xxxxสหรัฐอเมริกา หรือ ประเทศสิงค์โปร์ xxxxxxxxxxxxxxxมิได้เป็นผู้x xxxx ขึ้นสู่ศาลมีxxxxxจะยื่นค าร้องขอให้ศาลที่มีเขตอ านาจให้ออก Anti-suit Injunction เพื่อระงับการ พิจารณาในศาลเพื่อให้ไปท าการอนุญาโตตุลาการเสียก่อน โดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องxxxxxxพิสูจน์ว่า มีสัญญาxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ได้ระหว่างคู่กรณีและข้อพิพาทเดียวกัน ข้อพิพาทนั้นต้องxxxxxx ระงับได้ด้วยการอนุญาโตตุลาการ เงื่อนไขในเชิงxxxxxxxxxxx xหรับสหภาพยุโรป ฯลฯ
ส่วนแนวปฏิบัติของประเทศไทยในเรื่องนี้ ก็ขึ้นอยู่กับความตกลงทั้งทางบริหารหรือทาง xxxxxxxกับประเทศต่างๆ ทั้งนี้โดยต้องรักษาพันธกรณีใน อนุสัญญากรุงนิวยอร์คว่าด้วยการยอมรับ และบังคับตามค าชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ ค.ศ. 1958 ข้อ 2(3) โดยเคร่งครัด
ABSTRACT
In the case where there is arbitration clause or arbitration contract between disputing parties but one of them disregards arbitration and brings the case to the court, there should be certain legal mechanism to put they back on ADR track; i.e. arbitration. This provision empowers the court to stay the proceeding and let the disputing parties resolve their dispute by arbitration first. The jurisdictions with written arbitration law or statute on arbitration are, for instance, Thailand, England, and French.
In the jurisdictions where there is no written arbitration law, e.g. the United States and Singapore, the party which does not initially start court proceeding can file the motion to the jurisdictional court to demand for “Anti-suit Injunction” in order to stay the court proceeding and let the parties put an end to their dispute by arbitration beforehand, provided that the party which file such motion has to prove a)existence and validity of arbitration clause or contract b)identical concerning parties and dispute and c) xxxxxxxxxxxxx.
For Thailand, state practice depends on international administrative or judicial agreement with specific country, together with the obligation under Article II(3) of the New York Convention on Recognition and Enforcement of Arbitral Awards 1958.
Anti-Suit Injunction ในกระบวนการอนุญาโตตุลาการ |
xxxxxxx xxxxxxx* |
ในความเป็นจริง ไม่ว่าจะมีการxxxxxxxทนายความxxxxxxxxxxxxxxxxหรือมีประสบการณ์ให้ เขียนข้อสัญญาอนุญาโตตุลาการครบถ้วนxxxxxxx และครอบคลุมเพียงใดก็หามีความส าคัญไม่ หา xxxxxxxxxxพิพาทกันนั้นไม่มีความตั้งใจอย่างxxxxxxxxxxจะใช้การอนุญาโตตุลาการเป็นเครื่องมือระงับข้อ พิพาท หรือตั้งใจเพียงแต่จะเขียนข้อสัญญาเพื่อใส่ให้ครบถ้วนในสัญญาตามแบบมาตรฐานที่ปฏิบัติ กัน ดังนั้นหากคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งกลับเลือกที่จะx xxxxขึ้นสู่ศาลในภายหลังเมื่อเกิดข้อพิพาทขึ้น xxxxxxxxเริ่มกระบวนการอนุญาโตตุลาการ กฎหมายที่ใช้บังคับอยู่นั้นจึงxxxxxxจะเปิดช่องให้คู่กรณี อีกฝ่ายxxxxxxบังคับให้xxxxxxxบิดพลิ้วจากข้อตกลงเดิมต้องหันมาใช้กระบวนการอนุญาโตตุลาการ ระงับข้อพิพาทเสียก่อน
ประเด็นในเรื่องนี้ดูจะไม่เป็นปัญหากับประเทศที่มีกฎหมายลายลักษณ์xxxxxในเรื่องนี้ รองรับอยู่มากนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอนุญาโตตุลาการภายในประเทศ (Domestic Arbitration) เพราะกฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายต่างประเทศว่าด้วยการอนุญาโตตุลาการส่วนใหญ่ได้ วางหลักหรือมีบทบัญญัติในลักษณะใกล้เคียงกันกับบทบัญญัติในมาตรา 14 แห่ง พระราชบัญญัติ อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 25451 ซึ่งวางหลักไว้ว่าหากมีการฟ้องคดีที่ศาลโดยที่ในค าฟ้องนั้นมีประเด็น
* อาจารย์ประจ าxxxxxxศึกษา คณะxxxxxxxxxxมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ , นิติศาสตร มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, LL.M. University College London, University of London
1 พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 มาตรา 14
“ในกรณีที่คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งฟ้องคดีเกี่ยวกับข้อพิพาทxxxxxxxxอนุญาโตตุลาการ โดยมิได้เสนอข้อพิพาทนั้นต่อคณะxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxถูกxxxxxxxยื่นค าร้อง ต่อศาลที่มีเขตอ านาจxxxxxxกว่าวันยื่นค าให้การหรือภายในระยะเวลาที่มีxxxxxยื่นค าให้การตาม กฎหมายให้มีค าสั่งจ าหน่ายคดีเพื่อให้คู่สัญญาไปด าเนินการทางอนุญาโตตุลาการ และเมื่อศาลท า
ที่เกี่ยวข้องกับข้อพิพาทภายใต้หรือที่เกี่ยวข้องกับสัญญาxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxตกลงกันไว้ ก่อนล่วงหน้าหรือตกลงกันว่าจะมอบข้อพิพาทที่เกิดขึ้นแล้วให้อนุญาโตตุลาการตัดสิน คู่สัญญาอีก ฝ่ายหนึ่งxxxxxxยื่นค าร้องต่อศาลเพื่อให้ศาลมีค าสั่งจ าหน่ายคดีออกจากสารบบความเพื่อให้ คู่สัญญาไปไประงับข้อพิพาทด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการเสียก่อน ในพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ ค.ศ. 1996 (พ.ศ. 2539) มาตรา 92 ซึ่งนอกจากจะวางหลักดังที่กล่าวมาข้างต้น มาตรานี้ยังได้ก าหนด รายละเอียดในเรื่องxxxx xคดีขึ้นสู่ศาลว่าให้หมายรวมถึงค าฟ้องและค าฟ้องแย้งในคดี และไม่ว่าใน สัญญาระงับข้อพิพาทจะได้ก าหนดให้ใช้วิธีระงับข้ อพิพาทอื่นใดก่อนจะใช้กระบวนการ อนุญาโตตุลาการหรือไม่ก็ตาม ส่วนของประเทศฝรั่งเศส กฎหมายว่าด้วยการอนุญาโตตุลาการ xxxxxxxอยู่ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 1422 ถึง 1507 โดยใน
การไต่สวนแล้วเห็นว่าไม่มีเหตุที่ท าให้สัญญาอนุญาโตตุลาการนั้นเป็นโมฆะหรือใช้บังคับxxxxxx หรือมีเหตุที่ท าให้ไม่xxxxxxปฏิบัติxxxxxxxxนั้นxxx xxให้มีค าสั่งจ าหน่ายคดีนั้นเสีย.”
ในระหว่างการพิจารณาค าร้องของศาลตามวรรคหนึ่ง คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจเริ่ม ด าเนินการทางอนุญาโตตุลาการได้ หรือคณะอนุญาโตตุลาการอาจด าเนินกระบวนพิจารณาต่อไป และมีค าชี้ขาดในข้อพิพาทนั้นได้
2 English Arbitration Act 1996 Section 9 Stay of legal proceedings
“(1) A party to an arbitration agreement against whom legal proceedings are brought (whether by way of claim or counterclaim) in respect of a matter which under the agreement is to be referred to arbitration may (upon notice to the other parties to the proceedings) apply to the court in which the proceedings have been brought to stay the proceedings so far as they concern that matter.
(2) An application may be made notwithstanding that the matter is to be referred to arbitration only after the exhaustion of other dispute resolution procedures.
(3) An application may not be made by a person before taking the appropriate procedural step (if any) to acknowledge the legal proceedings against him or after he has taken any step in those proceedings to answer the substantive claim.
(4) On an application under this section the court shall grant a stay unless satisfied that the arbitration agreement is null and void, inoperative, or incapable of being performed.
(5) If the court refuses to stay the legal proceedings, any provision that an award is a condition precedent to the bringing of legal proceedings in respect of any matter is of no effect in relation to those proceedings.”
มาตรา 14583 ก าหนดให้ศาลxxxxxxปฏิเสธเขตอ านาจของตน (ไม่รับคดีไว้พิจารณา) xxxxxxxในกรณี ที่มีxxxx xข้อพิพาทที่อยู่ระหว่างการวินิจฉัยของอนุญาโตตุลาการไปฟ้องเป็นคดีที่ศาล และทั้งใน กรณีที่มีข้อตกลงจะมอบข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาทที่เกิดขึ้นแต่โดย ข้อเท็จจริงxxxxxxxxยังมิได้มีการเริ่มกระบวนการอนุญาโตตุลาการตามที่ตกลงกันไว้แต่อย่างใด
กล่าวโดยเฉพาะในประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายจารีตประเพณี หรือ ระบบ Common Law ในกรณีที่มีความxxxxxxจะเริ่มกระบวนพิจารณาในศาลของมลรัฐใดมลรัฐหนึ่ง (กรณีของประเทศ สหรัฐอเมริกา) หรือประเทศใดประเทศหนึ่ง (กรณีของสหภาพยุโรป) โดยที่ข้อพิพาทเดียวกันนั้นยัง อยู่ระหว่างการพิจารณาในศาลอื่นหรือx xxxxระงับข้อพิพาทโดยการอนุญาโตตุลาการอยู่ xxxxxxxxxxx xxxมิได้เป็นผู้เริ่มด าเนินกระบวนพิจารณาในศาลมีxxxxxจะยื่นค าร้องขอให้ศาลที่มีเขตอ านาจให้ออก Anti-suit Injunction ให้ยุติกระบวนพิจารณาในศาลหรือจ าหน่ายคดีเป็นการชั่วคราวเพื่อให้การ xxxxxxxxxxค้างอยู่ด าเนินต่อไปจนเสร็จสิ้นขบวนการเสียก่อน
Anti-suit Injunction ในประเทศสหรัฐอเมริกา
แนวค าพิพากษาในศาลของสหรัฐอเมริกายอมให้ศาลxxxxxxออก Anti-suit Injunction เพื่อห้ามxxxxxxxxxxให้xxxxxxไปด าเนินกระบวนพิจารณาในศาลอื่นใด หากมีคดีค้างพิจารณาอยู่ใน ศาลหนึ่งศาลใดอยู่ก่อนแล้ว โดย Anti-suit Injunction นี้หมายรวมxxxxxxขอให้ศาลยั้บยั้งการ พิจารณาคดีในศาลเพื่อให้คู่ความไปท าการระงับข้อพิพาทโดยการอนุญาโตตุลาการเสียก่อนทั้งใน กรณีที่การอนุญาโตตุลาการได้เริ่มไปบ้างแล้วและกรณีที่การอนุญาโตตุลาการยังมิได้เริ่มต้นขึ้นแต่ คู่ความxxxxxxxร้องขอให้ศาลสหรัฐอเมริกาออก Anti-suit Injunction xxxxxxพิสูจน์จนเป็นที่xxxxแก่ ศาลนั้นว่าระหว่างคู่ความมีสัญญาอนุญาโตตุลาการระหว่างกันและสัญญาดังกล่าวมีผลใช้บังคับxxx xxxเป็นโมฆะ แต่ทั้งนี้มิใช่ว่าศาลของสหรัฐอเมริกาจะอนุญาตให้ออกได้ทุกเรื่องทุกคราวไป เพราะมี หลักเกณฑ์การออก Anti-suit Injunction xxxxxxxxxxxแน่ชัดวางหลักอยู่ในค าพิพากษาxxxxxxมีการ ขอให้ออกหมายดังกล่าวอยู่ว่า 1) คู่กรณีในศาลสหรัฐอเมริกาและศาลต่างประเทศนั้นต้องเป็นคู่กรณี
เดียวกัน 2) ข้อพิพาทในศาลสหรัฐอเมริกาและศาลต่างประเทศนั้นต้องเป็นประเด็นเดียวกัน4
3 French Code of Civil Procedure Article 1458.
“When a dispute submitted to an arbitral tribunal by virtue of an arbitration agreement is brought before a national court, such court shall decline jurisdiction.
If the arbitral tribunal has not yet been seized of the matter, the court shall also decline jurisdiction unless the arbitration agreement is manifestly void.
In neither case may the court decline jurisdiction on its own motion.”
4 Quaak v Klynveld Peat Marvick Goerdeler Bedrijfsrevisoren 361 F.3d 11 (1st Cir. 2004) and Kaepa Inc v Achilles Corp 76 F.3d 624 at 626 (5th Cir 1996).
ในประเด็นแรกที่คู่กรณีในศาลสหรัฐอเมริกาและศาลต่างประเทศนั้นต้องเป็นคู่กรณี เดียวกันนั้น ค าพิพากษาในคดีมิได้ก าหนดว่าคู่กรณีนั้นจะต้องเป็นคน ๆ เดียวกันในทางกายภาพ หรือทางข้อเท็จจริงเท่านั้น กล่าวคือไม่จ าต้องเป็นบุคคลธรรมดาคนเดียวกันหรือนิติบุคคลเดียวกัน หากแต่ศาลในคดีนั้นต้องพิจารณา “ความคล้ายคลึงที่มากเพียงพอ” (sufficiently similar) ที่จะมี นัยส าคัญแสดงถึง “ความีส่วนได้เสียอันแท้จริงระหว่างคู่กรณีนั้นๆ” (real partied in interest are the same in both matters)5 เพื่อดูว่าxxxxxxxxในทั้งในศาลสหรัฐอเมริกาและศาลต่างประเทศนั้นเป็น คู่กรณีเดียวกันหรือไม่
ส่วนประเด็นที่สองที่ศาลจะต้องดูว่าเนื้อหาในประเด็นข้อพิพาทที่โต้แย้งกันในทั้งสอง ประเทศนั้นเป็นประเด็นข้อพิพาทเดียวกันหรือไม่นั้น เป็นที่ยุติในหลักการ แต่ยังไม่มีถ้อยค าที่เป็น หลักเกณฑ์แน่ชัดในค าพิพากษาของสหรัฐอเมริกาว่าจะใช้หลักเกณฑ์ใดวินิจฉัยเนื้อหาประเด็นข้อ พิพาทที่โต้แย้งกันว่าเป็นประเด็นข้อพิพาทเดียวกันหรือไม่ ในการนี้มีค าพิพากษาxxxxxxสนใจคือ ค า พิพากษาในคดี China Trade and Development Corp v M.V. Choong Yong6 ซึ่งต่อมามีค าพิพากษา ในภายหลังที่วางหลักตามรอยและยืนยันในลักษณะเดียวกัน7 กล่าวคือศาลจะวินิจฉัยว่าเนื้อหาใน ประเด็นข้อพิพาทที่โต้แย้งกันในศาลสหรัฐอเมริกาและศาลต่างประเทศนั้นว่าเป็นประเด็นข้อพิพาท เดียวกันหรือไม่ โดยดูจากคดี “ผลของคดีในศาลต่างประเทศ นั้นมีผลกระทบในทางจ าหน่ายxxxxx หรือท าให้การพิจารณาในประเด็นพิพาทดังกล่าวเสร็จไป)” (The resolution of the case before the enjoining court must be dispositive of the action to be enjoined)8 ทั้งนี้ การพิจารณาว่าประเด็นข้อ พิพาทที่โต้แย้งกันในศาลสหรัฐอเมริกาและศาลต่างประเทศนั้นเป็นประเด็นเดียวกันหรือxxxxxx จ าเป็นต้องดูจากถ้อยค าที่ปรากฏในx xxxxของศาลแต่เพียงอย่างเดียวแต่ต้องดูจากเนื้อหาสาระของ ข้อพิพาทประกอบกัน xxxxถ้าประเด็นในศาลสหรัฐอเมริกาซึ่งพิจารณาอยู่ก่อนเป็นเรื่องความ xxxxxxxของสัญญาอนุญาโตตุลาการ (Validity of Arbitration clause or contract) แต่ประเด็นในศาล ต่างประเทศระหว่างคู่ความเดียวกันนั้นเป็นเรื่องข้อพิพาทที่เกิดขึ้นxxxxxxมอบให้อนุญาโตตุลาการ เป็นผู้ระงับข้อพิพาทได้หรือไม่ (Xxxxxxxxxxxxx) ดังนี้ แม้ว่าถ้อยค าx xxxxที่ปรากฏจะต่างประเด็นกัน
5 Quaak v Klynveld Peat Marvick Goerdeler Bedrijfsrevisoren 361 at 20; and Storm LLC v Telenor Mobile Communications AS No.06 Civ 666 (JSR), 2003 WL 56998, at *2.
6 China Trade and Development Corp v M.V. Xxxxxx Xxxx 837 F.2d 33 at 36.
7 Canon Latin America v Lantech (CR) SA 508 F.3d 597 at 602 (11th Cir. 2007) ซึ่งศาล สหรัฐxxxxxxxxxออก Anti-suit Injunction ให้แก่ผู้ร้องเพราะไม่สามมารถพิสูจน์เงื่อนไขตาม หลักเกณฑ์ในคดี China Trade and Dev Corp v M.V. Xxxxxx Xxxx.
8 American Home Assurance Corp. v Insurance Corp. of Ireland Ltd., 603 X.Xxxx. 636,643 (S.D.N.Y. 1984).
แต่ก็xxxxxxจะถือได้ว่ามีผลเกี่ยวเนื่องxxxxxxxxxxจะขอให้มีการออก Anti-suit Injunction ได้เพราะเป็น เรื่องที่จะขอให้ศาลสั่งให้ไปใช้การอนุญาโตตุลาการเหมือนกัน
ในทางปฏิบัติของศาลสหรัฐอเมริกา หลักการห้ามคนในบังคับ (สัญชาติ/xxxxอาณา) ตนเอง (Personam Jurisdiction) ไปด าเนินคดีในศาลต่างประเทศเป็นที่ยอมรับมาเป็นเวลานานแล้ว กระนั้น ก็ดี แม้การออกบรรดา Injunction xxxxxxxxxxxจะมีผลบังคับกับตัวเอกชนเอง โดยไม่xxxxxxไปบังคับ ศาลของประเทศอื่นได้ ท าให้แม้ว่าศาลสหรัฐอเมริกาจะxxxxxxพิสูจน์ได้ตามเงื่อนไขสองข้อ ดังกล่าวแล้วก็ตาม แต่การออก Injunction ก็ยังต้องเป็นไปโดยเคารพหลักมิตรไมตรีระหว่างประเทศ (International Comity) ด้วย9 ซึ่งน่าจะมาจากเหตุผลที่ว่า อย่างไรเสียแม้ศาลสหรัฐอเมริกาจะxxxxxxx ออกหมายเพื่อสั่งหรือบังคับศาลของประเทศอื่นให้ต้องปฏิบัติตามความใน Injunction นั้น แต่ผล ของ Anti-suit Injunction ก็จะเป็นการลิดรอนxxxxxของเอกชนในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมใน ต่างประเทศนั้นหรือไปจ ากัดการใช้อ านาจของศาลต่างประเทศนั้นอยู่ดี ดังนั้นหลักที่ผู้พิพากษาใน ศาลสหรัฐอเมริกาต้องค านึงถึงเมื่อจะมีการออกและใช้ Injunction ก็คือต้องออกและใช้ Injunction ให้น้อยที่สุดและมีข้อจ ากัดการใช้ให้มากเท่าที่จ าเป็น (… used sparingly…[granted] only with case and grate restraint)10 หลักในเรื่องมิตรไมตรีระหว่างประเทศนี้ยังxxยึดถือโดยศาลสหรัฐเพื่อใช้ ประกอบการพิจารณาในการที่ศาลจะออกหรือไม่ออก Anti-suit Injunction แม้ว่าจะมีข้อ วิพากษ์วิจารณ์จากผู้ใช้กฎหมายอยู่เนื่องๆ11
อย่างไรก็ดีเราจะพบว่าแม้มีการพิจารณาการออก Anti-suit Injunction โดยหลักเกณฑ์และ เงื่อนไขในระดับที่แตกต่างกัน แต่ในที่สุดศาลของxxxxxxxมักจะออก Anti-suit Injunction ให้กับ คู่ความxxxxxxxร้องขอเป็นส่วนใหญ่12
Anti-suit Injunction สหภาพยุโรป – สหราชอาณาจักร
9 Xxxx v Jenness, 48 U.S. 612, 625 (1849) ได้วางหลักเรื่อง International Comity in Judicial Relation ไว้ในระบบกฎหมายของสหรัฐอเมริกา
10 Canadian Filters (Harwich) v Lear-Siegler, 412 F.2d 577, 578 (1st Cir. 1969).
11 Xxxx Xxxxxxxx, “COMMENT: COMITY BE DAMNED: THE USE OF ANTISUIT INJUNCTIONS AGAINST THE COURTS OF A FOREIGN NATION,” 147 University of
Pennsylvania Law Review (1998): 409; and Xxxx Xxxxxxxx, “NOTE: GRANTING COMITY ITS DUE: A PROPOSAL TO REVIVE THE COMITY-BASED APPROACH TO TRANSNATIONAL ANTISUIT INJUNCTIONS,” 68 St. Xxxx's Law Review (1994): 961.
12 Xxxx Xxx, et. al., “ANTI-SUIT INJUNCTIONS IN SUPPORT OF INTERNATIONAL ARBITRATION IN THE UNITED STATES AND THE UNITED KINGDOM,” 2 International
Arbitration Law Review (2008): 12-19.
เมื่อกล่าวถึงสหภาพยุโรปโดยภาพรวมจะประกอบด้วยประเทศที่ใช้ระบบกฎหมายลาย ลักษณ์xxxxxเป็นหลัก แต่ก็ยังมีบางประเทศในสหภาพยุโรปที่ใช้ระบบกฎหมายxxxxxxxxxxxx xxxx ประเทศอังกฤษ นอกจากนั้นสหภาพยุโรปเองยังมีรัฐสภาร่วมกันซึ่งxxxxxxออกxxxxxxxใช้ร่วมกัน ในบรรดาประเทศสมาชิกโดยที่แต่ละประเทศถูกผูกมัดต้องบังคับใช้อย่างกฎหมายภายในที่ออกโดย รัฐสภาหรือองค์กรนิติบัญญัติของตัวเองโดยxxxxxxตั้งเป็นข้อสงวนและไม่จ าต้องน าไปให้สัตยาบัน อีกครั้งอย่างการท า “xxxxxxxxx”13ตามกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป ในที่นี้จะพูดถึงเรื่อง Anti- suit Injunction จากแง่มุมของประเทศอังกฤษเพราะนอกจากจะเป็นประเทศในระบบ Common Law xxxx xคัญในสหภาพยุโรปแล้วยังเป็นประเทศxxxxxxรับความxxxxxxxได้รับเลือกให้เป็น Seat of Arbitration หรือ เลือกกฎหมายเป็น lex arbitri มากที่สุดประเทศหนึ่ง
ในประเทศอังกฤษ อ านาจทั่วไปที่ศาลยุติธรรมจะออก Anti-suit Injunction และหมายอื่นๆ เป็นไปตามSection 37 แห่ง Supreme Court Act 198114 ส่วนในเฉพาะเรื่องอนุญาโตตุลาการ เป็นไป ตาม Section 44 Arbitration Act 199615 ของประเทศอังกฤษซึ่งมีลักษณะและเหตุในการออกจ ากัด
13 ค าว่า “xxxxxxxxx” ในที่นี้หมายถึง xxxxxxxxxตามบทนิยามใน Vienna Convention on the Law of Treaty 1969.
14 Supreme Court Act 1981 Section 37 Powers of High Court with respect to injunctions and receivers
“(1)The High Court may by order (whether interlocutory or final) grant an injunction or appoint a receiver in all cases in which it appears to the court to be just and convenient to do so.
…
(3)The power of the High Court under subsection (1) to grant an interlocutory injunction restraining a party to any proceedings from removing from the jurisdiction of the High Court, or otherwise dealing with, assets located within that jurisdiction shall be exercisable in cases where that party is, as well as in cases where he is not, domiciled, resident or present within that jurisdiction.
…
15 English Arbitration Act 1996 Section 44 Court powers exercisable in support of arbitral proceedings
(1) Unless otherwise agreed by the parties, the court has for the purposes of and in relation to arbitral proceedings the same power of making orders about the matters listed below as it has for the purposes of and in relation to legal proceedings.
(2) Those matters are—
มากกว่า Section 37 ของ Supreme Court Act 1981 โดยก าหนดให้ศาลมีอ านาจออกหมายคุ้มครอง ชั่วคราวเท่าที่เกี่ยวกับกระบวนการอนุญาโตตุลาการในลักษณะเดียวกับที่ออกหมายหรือค าสั่งใน กระบวนการพิจารณาคดีตามxxxxของศาลได้ โดยหลักเกณฑ์การพิจารณาว่าจะออก Injunction หรือไม่นั้นได้แก่ ก) ศาลอังกฤษจะพิจารณาว่าตัวเองมีเขตอ านาจเหนือประเด็นข้อพิพาทที่อยู่ในศาล ต่างประเทศ และxxxxxxออกหมายตามที่ผู้ที่ยื่นค าร้องต่อศาลร้องขอมาหรือไม่ และ ข) มีเหตุอัน xxxxxxxxศาลอังกฤษจะออก Anti-suit Injunction ได้หรือxxx
xxxxxxxxxxxข้อแตกต่างxxxx xคัญระหว่างหลักเกณฑ์การที่ศาลจะพิจารณาเพื่อจะออก Anti- suit Injunction เพื่อประโยชน์ของการอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศของประเทศอังกฤษที่ แตกต่างจากหลักเกณฑ์ของศาลสหรัฐอเมริกาก็คือ ศาลอังกฤษต้องดูว่าประเทศปลายทางที่จะมีการ ใช้ Anti-suit Injunction โดยผู้ร้องนั้นเป็นประเทศสมาชิกในสหภาพยุโรปหรือไม่ กล่าวคือ ถ้าผู้ได้ ประโยชน์จาก Anti-suit Injunction จะใช้ Anti-suit Injunction ในต่างประเทศที่ ไม่ใช่ประเทศ สมาชิกในสหภาพยุโรป ศาลอังกฤษจะพิจารณาเพียงว่าข้อสัญญาอนุญาโตตุลาการมีความxxxxxxx หรือมีเหตุขัดข้องในการใช้การอนุญาโตตุลาการอย่างใดหรือไม่ หากไม่ปรากฏพบเหตุขัดข้องแล้ว โดยทั่วไปศาลอังกฤษก็จะออก Anti-suit Injunction ให้ตามที่มีการร้องขอ แต่หากผู้ที่จะได้ ประโยชน์จาก Anti-suit Injunction ใช้ Injunction นั้นในประเทศปลายทางที่ เป็นประเทศสมาชิกใน สหภาพยุโรป ศาลอังกฤษก็ย่อมตกอยู่ภายใต้บังคับของระบอบบรัสเซล (Brussels Regime) ว่าด้วย เรื่องการเลือกเขตศาลดังที่จะกล่าวต่อไป
กรณีที่ประเทศปลายทางที่ไม่ใช่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป
ในกรณีนี้ศาลอังกฤษย่อมจะใช้หลักเกณฑ์ที่ปรากฏอยู่ในค าพิพากษาซึ้งวางหลัก กฎหมายตามนิติวิธีxxxxของประเทศคือ Case Law ในระบบ Common Law ซึ่ง ผู้พิพากษา Aitkens วางเงื่อนไขในการออก Anti-suit Injunction ไว้ว่า ก) ผู้ร้องต้องแสดงให้ศาลเห็นว่ามีข้อตกลง xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้บังคับได้ระหว่างคู่กรณี และ ข) ไม่มีเหตุการณ์พิเศษอื่นใดที่ท าให้ศาลไม่ xxxxxออก Anti-suit Injunction ให้16 โดยทั่วศาลอังกฤษจะพิจารณาเป็นรายกรณีไปว่ามีเหตุ xxxxxจะออก Anti-suit Injunction ให้หรือไม่ บางครั้งศาลก็ออกหมายให้เพราะไม่เห็นเหตุที่ศาล ของต่างประเทศจะไม่ยอมรับหมายที่ออกโดยศาลอังกฤษ17 แต่หากการด าเนินคดีในต่างประเทศไม่
…
(e) the granting of an interim injunction or the appointment of a receiver.”
16 Navigation Maritime Bulgare v Xxxxxx Trading Ltd (the Xxxx Xxxxxxxxxx) Xxxx Xxxxxxxxxx, (2002) 1 Lloyd’s Rep. 106 at 113-114.
17 Ibid., p.118.
เป็นประโยชน์18หรือมีเหตุที่ศาลคาดหมายล่วงหน้าว่า Anti-suit Injunction จะเป็นการxxxxxxxxศาล ต่างประเทศมากเกินxxxxx19 ศาลก็มีอ านาจที่จะสั่งไม่ออกหมายดังกล่าวได้
กรณีที่ประเทศปลายทางที่เป็นประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป
ในอดีต ศาลอังกฤษใช้ Case Law ในการก าหนดท่าทีและหลักเกณฑ์การออก Anti-suit Injunction แต่ในปัจจุบัน ศาลอังกฤษต้องปฏิบัติตามกรอบของระบอบบรัสเซล (Brussels Regime) ในเรื่องความตกลงในเรื่องการจัดสรรเขตอ านาจของข้อพิพาททางแพ่งหรือทางพาณิชย์ที่มีลักษณะ ระหว่างประเทศเกี่ยวกับบุคคลxxxxxxxx xเนาอยู่ในสหภาพยุโรป โดยมีกฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องอยู่สาม ฉบับ ได้แก่:-
- Brussels Convention: อนุสัญญาลงxxxxxx 27 กันยายน 1968 ว่าด้วยเรื่องเขตอ านาจ และการบังคับตามค าพิพากษาในคดีแพ่งและพาณิชย์
- Lugano Convention: อนุสัญญาลงxxxxxx 16 กันยายน 1988 ว่าด้วยเรื่องเขตอ านาจ และการบังคับตามค าพิพากษาในคดีแพ่งและพาณิชย์
- Brussels I Regulation: มีสถานะเป็น Council Regulation (EC) No 44/2001 ลง xxxxxx 22 ธันวาคม 2000 ว่าด้วยเรื่องเขตอ านาจและการบังคับตามค าพิพากษาในคดีแพ่งและพาณิชย์
มีผลบังคับใช้ 1 มีนาคม 2002
กฎหมายทั้งสามฉบับมีเนื้อหาxxxxxxxxเหมือนกันเป็นส่วนใหญ่ ต่างพูดxxxxxxบริหาร คดีของของศาลของประเทศสมาชิก EU ในกรณีที่ข้อพิพาทอันใดอันหนึ่งที่คู่กรณีxxxxxxน าเข้าสู่ กระบวนพิจารณาของศาลภายในในประเทศสมาชิกมากว่าหนึ่งประเทศ เหตุเพราะมีจุดเกาะเกี่ยวกับ หลายประเทศในสหภาพ ท าให้แต่เดิมมีปัญหาจากการxxxxxxxxxxxเริ่มคดีที่มีประเด็นข้อพิพาทเป็น อย่างเดียวกันหรือเกี่ยวข้องกันในศาลภายในหลายๆแห่งและประเทศสมาชิกยังขาดหลักเกณฑ์ มาตรฐานกลางว่าข้อพิพาทใดxxxxxจะด าเนินคดีในศาลของประเทศสมาชิกใดมากที่สุด ท าให้เกิด ปัญหาที่บางครั้งศาลภายในของประเทศสมาชิกมีค าพิพากษาเสร็จเด็ดขาดโดยล าดับไม่พร้อมxxx xxxครั้งค าพิพากษาของศาลภายในต่างประเทศสมาชิกขัดแย้งกัน และหลายครั้งน าไปสู่ปัญหาการ บังคับคดีข้ามประเทศจนเป็นข้อขัดข้องและสร้างความไม่มั่นใจให้แก่ผู้ประกอบการธุรกิจ เพราะ EU เน้นความเป็นxxxxxx เน้นการไหลเวียนของสินค้า เงินทุน การบริการ และบุคคล ตลอดจนการ ประกอบธุรกิจอย่างมีข้อจ ากัดน้อยที่สุด (Four Freedoms of EU)
18 Socialty Nationale Industrielle Aerospatiale v Xxx Xxx Jak 3 W.L.R. 59 at 72.
19 Xxxxxx Xxxxxxxxx Securities and Futures Ltd v. Bamberger, [1996] CLC 1757.
ตราของศาลยุติธรรมของสหภาพยุโรป
สาระส าคัญที่ Brussels Regime เกี่ยวข้องกับประเด็นในเรื่องของ Anti-suit Injunction ก็คือ แต่เดิมในสหภาพยุโรปการออก Anti-suit Injunction ขึ้นอยู่กับกฎหมายภายในและการปฏิบัติต่อกัน ของแต่ละประเทศสมาชิก แต่ตาม Council Regulation (EC) No 44/2001 Article 27 วรรคหนึ่ง ก าหนดว่า หากมีการด าเนินกระบวนพิจารณาใด ๆ ในศาลของประเทศสมาชิกประเทศหนึ่งโดยที่มี เหตุแห่งคดีอย่างเดียวกันและเกิดขึ้นระหว่างคู่กรณีเดียวกัน ศาลอื่นๆนอกจากศาลแรกที่รับค า พิจารณาค าฟ้องคดีนั้นไว้จะต้องจ าหน่ายคดีชั่วคราวจนกว่าศาลแรกที่รับค าพิจารณาค าฟ้องจะมีการ รับคดีนั้นไว้พิจารณา และความในวรรคสองก าหนดให้ศาลอื่นต้องจ าหน่ายคดีออกจากสาระบบ ความเมื่อศาลแรกที่รับค าพิจารณาค าxxxxxxxรับคดีนั้นไว้พิจารณาแล้ว
จากการประกาศใช้ Council Regulation (EC) No 44/2001 ปัญหาจึงมีว่า ในกรอบของ EU หากมีxxxx xคดีขึ้นสู่ศาลประเทศหนึ่ง ในขณะที่ข้อพิพาทนั้นอยู่ในกระบวนการอนุญาโตตุลาการ ในอีกประเทศหนึ่งหรือเป็นข้อพิพาทที่มีสัญญาว่าต้องระงับข้อพิพาทการอนุญาโตตุลาการเสียก่อน จะxxxxxxอ้างประโยชน์จาก Council Regulation (EC) No 44/2001 ได้หรือไม่
เหตุล่าสุดคือเมื่อxxxxxx 10 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา (2553/2010) ศาลยุติธรรมแห่งยุโรปหรือ European Court of Justice (ECJ) ได้ตัดสินไปในทางเดียวกับ Advocate General ของ ECJ ว่า เรื่อง การอนุญาโตตุลาการไม่อยู่ในข่ายที่จะได้รับประโยชน์จาก Council Regulation (EC) No 44/2001 ลงxxxxxx 22 ธันวาคม 2000 กล่าวคือxxxxxxถือเอาประโยชน์จากการที่จะขอให้ศาลภายในของ ประเทศในกลุ่ม EU ประเทศใดประเทศหนึ่งออก Anti-suit Injunction เพื่อสั่งให้ระงับยับยั้งการ ด าเนินกระบวนพิจารณาในศาลภายในของประเทศในกลุ่ม EU ประเทศอื่นได้บนพื้นฐานxxxxxxx xxxว่าคู่กรณีนั้นมีสัญญาxxxxxxxxxxxxxxxxxจะรับข้อพิพาทกันก่อนแต่อีกฝ่ายกลับx xxxxมาฟ้องสู่ศาล
การที่ผลค าตัดสินของ ECJ ออกมาในรูปxxxxนี้ก็ไม่เป็นxxxxxxแปลกใจ เพราะเมื่อพิเคราะห์ดู ตัวบทของ Council Regulation (EC) No 44/2001 แล้วจะเห็นว่าใน Article 1 ของ Council Regulation
(EC) ฉบับดังกล่าว20 ได้ก าหนดกรอบของตัวเองเอาไว้อย่างชัดแจ้งว่าไม่บทบัญญัตินี้มิให้ใช้รวมถึง ข้อพิพาทเกี่ยวกับกฎหมายครอบครัว เรื่องเกี่ยวกับการล้มละลาย การประกันสังคม และการ อนุญาโตตุลาการ อีกxxxxxxxใช้บังคับกับประเทศเดนมาร์ก
ที่มาของการที่ ECJ ต้องมีค าวินิจฉัยออกมาก็คือ House of Lords ของประเทศองxxxxxxท า ความเห็นตั้งประเด็นข้อสงสัยและในที่สุดได้มีมติให้ส่งประเด็นในคดี West Tanker21 ให้กับ ECJ ตัดสินในกรอบของ EU เพราะตามข้อตกลงจัดตั้งสหภาพยุโรปที่แก้ไขเพิ่มเติมและใช้มาจนถึง ปัจจุบันก าหนดให้เป็นอ านาจของ ECJ ที่จะตัดสิน ตีความและวางหลักเกี่ยวกับการใช้ การตีความ หรือขอบเขตของกฎหมายแห่งสหภาพยุโรปเพื่อให้เป็นxxxxxxและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน
ในคดีนี้ เรือของเจ้าของเรือ (West Tankers) ชนเข้ากับท่าจอดเรือของผู้เช่าเรือ (Charterer) ในสัญญาเช่าเหมาเรือตกลงเรื่อง Choice of Law ให้ใช้กฎหมายอังกฤษและให้ระงับข้อพิพาทด้วย xxxxxxxxxxxxxxxxxกรุงลอนดอน ผู้เช่าเรือเรียกร้องค่าเสียหายส่วนหนึ่งเอาจากผู้รับประกันภัย (Allianz) โดยการxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx Charterparty และส่วนที่ยังขาดก็เรียกร้องเอากับ เจ้าของเรือ เมื่อผู้รับประกันภัยจ่ายค่าเสียหายให้กับผู้เช่าเรือแล้วจึงสวมxxxxxเรียกค่าเสียหายจาก เจ้าของเรืออีกทอดหนึ่ง คดีความเกี่ยวกับการxxxxxxxxxxxxxxxxxxเรียกร้องจากเจ้าของเรือในส่วนนี้ผู้รับ ประกันภัยเริ่มด าเนินกระบวนพิจารณาโดยการฟ้องเป็นคดีในศาลอิตาลี เจ้าของเรือจึงยื่นค าร้องต่อ
20 Council Regulation (EC) No 44/2001 of 22 December 2000 on Jurisdiction and the Recognition and Enforcement of Judgments in Civil and Commercial Matters. (Official Journal L 012 , 16/01/2001) Article 1 SCOPE
“1. This Regulation shall apply in civil and commercial matters whatever the nature of the court or tribunal. It shall not extend, in particular, to revenue, customs or administrative matters.
2. The Regulation shall not apply to:
(a) the status or legal capacity of natural persons, rights in property arising out of a matrimonial relationship, wills and succession;
(b) bankruptcy, proceedings relating to the winding-up of insolvent companies or other legal persons, judicial arrangements, compositions and analogous proceedings;
(c) social security;
(d) arbitration.
3. In this Regulation, the term "Member State" shall mean Member States with the exception of Denmark.”
21 West Tankers v RAS Riunione Adriatica di Sicurta SpA [2005] EWHC 454 (Comm); [2007] UKHL 4; Allianz SpA v West Tankers Inc. [2009] EUECJ C-185/07.
ศาลอังกฤษขอให้ออก Anti-suit Injunction เพื่อห้ามผู้รับประกันภัยด าเนินคดีในศาลอิตาลีแต่ให้มา ท าการxxxxxxxxxxxxxxxxxกรุงxxxxxxxxxxxxxxอนุญาโตตุลาการเสียก่อน เมื่อคดีนี้ขึ้นมาสู่ House of Lords ของอังกฤษจึงได้มีการร้องขอให้ ECJ วินิจฉัยข้างต้น
ECJ ชี้ชัดในค าตัดสินว่าเรื่องเกี่ยวกับการอนุญาโตตุลาการไม่อยู่ในxxxxxxของ Council Regulation (EC) No 44/2001 of 22 December 2000 on Jurisdiction and the Recognition and Enforcement of Judgments in Civil and Commercial Matters (Council Regulation (EC) No 44/2001 ใช้บังคับแก่กรณีนี้ แต่ติดข้อยกเว้นว่าเป็นเรื่องxxxxxxxxxxxxxxxxxไม่อยู่ในxxxxxxในที่สุด)
xxxxxxxxแน่ชัดว่าการที่มีความxxxxxxให้ ECJ ตีความในเรื่องดังกล่าวนี้ หากมีการตัดสิน ว่าใช้กับการอนุญาโตตุลาการxxxxxจะxxxxxxxxxxมีกฎหมายของสหภาพยุโรปที่มิใช่ในรูปแบบของ Convention (ที่ต้องเจรจา ลงนามให้สัตยาบัน หรืออาจตั้งข้อสงวนได้) เท่านั้น แต่จะเป็นกฎหมาย ในระดับ Regulation ซึ่งออกโดยรัฐสภาของ EU เอง มีผลใช้บังคับกับทุกประเทศสมาชิกทันทีโดย ไม่มีเงื่อนไข (ยกเว้นอาจมีบางกรณีที่เฉพาะจริงๆ xxxxxxxxxxxxใช้บังคับในบางประเทศxxxxxxx ประเทศเดนมาร์ก) อันจะท าให้ภาพลักษณ์ของการอนุญาโตตุลาการในภาคพื้นยุโรป โดยเฉพาะใน ประเทศอังกฤษxxxxxxรับความxxxxมากอยู่แล้วให้มีจุดขายมากขึ้นไปอีก ดังนั้นการที่ ECJ ตัดสิน ออกมาในรูปนี้มีxxxxxxxxxxจะท าให้มีผลในทางจิตวิทยา (และอาจรวมถึงผลในทาง cost-effective analysis ในเรื่องการเลือกวิธีระงับข้อพิพาท) ให้ผู้ใช้บริการอนุญาโตตุลาการอาจย้ายฐานการท า อนุญาโตตุลาการไปยังแหล่งอื่นๆ นอกจากยุโรปและอังกฤษ xxxx สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง หรือ สิงคโปร์
ในข้อที่โต้เถียงกันใน House of Lords มีอย่างกว้างขวางในหลายประเด็น22 มีxxxxxxxxxxxเห็น ว่าศาลอังกฤษน่าจะxxxxxxออก Anti-suit Injunction ได้เพราะเป็นการขอให้ศาลออกหมายตาม xxxxxอันเกิดจากสัญญาอนุญาโตตุลาการ (Contractual rights) มิใช่เป็นการขอในเรื่องเนื้อหาของการ อนุญาโตตุลาการเองแต่อย่างใดไม่23 หรือข้อที่ว่าเพื่อประโยชน์ทางการค้าพาณิชย์ที่จะดึงดูดการ อนุญาโตตุลาการมาในxxxxxxx24 ก็ได้มีการถกแถลงกัน
ในประเด็นประโยชน์ทางการค้าพาณิชย์นั้น Advocate General Kokott ได้ตอบใน ความเห็น (AG Opinion) อย่างชัดเจนว่า “วัตถุประสงค์ทางเศรษฐกิจแต่เพียงอย่างเดียวxxxxxxมี
22 Opinions of the Lords of Appeal for Judgement in the Cause West Tankers Inc (Respondents) v RAS Riunione Adriatica di Sicurta SpA and others (Appellants), at xxxx://xxx. xxxxxxxxxxxx.xxxxxxxxxx.xx/xx/xx000000/xxxxxxxx/xx000000/xxxxx-0.xxx, (last visited January 30, 2010).
23 Ibid., paragraph 14 (Xxxx Xxxxxxx).
24 Ibid., paragraph 21 (Xxxx Xxxxxxx).
เหตุผลเพียงพอจะรองรับการล่วงละเมิดกฎหมายร่วมกันของประชาคมได้”25 และ “การด าเนิน กระบวนพิจารณาในศาลอื่นนอกจาก ‘ศาลที่มีเขตอ านาจเหนือสถานที่ที่ท าการอนุญาโตตุลาการ’ จะมีผลใช้บังคับxxxxxx (อยู่ในxxxxxxของ Council Regulation (EC) No 44/2001) ก็ต่อเมื่อคู่กรณี พิพาทกันในประเด็นที่ว่าข้อสัญญาอนุญาโตตุลาการมีxxxxxxxxxและใช้บังคับได้จริงกับข้อพิพาท ที่พิพาทกันอยู่หรือไม่ ในกรณีนี้คือการมีข้อxxxxxxชัดแจ้งว่ามีความตกลงระหว่างxxxxxxxxxxจะมอบข้อ พิพาทให้อนุญาโตตุลาการจริงหรือxxxxxxxxxx”26
แม้ว่า Advocate General จะมีหน้าที่เพียงแค่ท าความเห็นเสนอ ECJ โดยไม่มีผลเป็นการ ผูกมัดให้ ECJ ต้องตัดสินตามความเห็นดังกล่าว แต่เมื่อดูจากความเห็นของ Advocate General และ ค าxxxxxxxxxผ่านๆ มาของ ECJ จะเห็นได้ว่าความเห็นของ Advocate General มีผลต่อค าตัดสินอยู่ไม่น้อย
ในที่สุด ค าตัดสินของ ECJ ในคดี West Tankers นี้ ก็เป็นไปในแนวเดียวทางเดียวกันกับ ความเห็นของ Advocate General27 โดยวางล าดับการพิจารณาว่า กรณีนี้เข้า Council Regulation (EC) No 44/2001 ก็xxxxxxxx แต่xxxxxxได้ประโยชน์จาก Council Regulation เพราะติดข้อห้ามใน Article 1(2)(d) (กรอบของ Council Regulation (EC) No 44/2001 คุ้มครองเรื่อง “การด าเนิน กระบวนพิจารณาในศาลxxxxx xซ้อนกันในศาลของประเทศสามชิก EUเท่านั้น)28 และ ECJ ยังวินิจฉัย ต่อไปอีกว่าประเด็นว่าคดีที่ขึ้นสู่ศาลอิตาลีควรจะมาท าการอนุญาโตตุลาการก่อนหรือไม่ ศาลอิตาลี เองควรเป็นผู้มีอ านาจในการวินิจฉัยปัญหาข้อนี้ และค าตัดสินของ ECJ ก็สอดรับกับ New York Convention 1958 Article II(3)29 ที่ให้ศาลที่มีการเริ่มด าเนินกระบวนพิจารณาxxxxxxวินิจฉัยความ xxxxxxxของสัญญาอนุญาโตตุลาการได้เองxxxxxxxxเป็นศาลแห่งถิ่นที่การอนุญาโตตุลาการได้ท าขึ้น
25Martin Xxxxxx, “The AG Opinion in West Tankers,” at xxxx://xxxxxxxxxxxxxx. net/2008/the-ag-opinion-in-west-tankers/, (last visited January 30, 2010).
26 Ibid.
27 xxxx://xxx-xxx.xxxxxx.xx/XxxXxxXxxx/XxxXxxXxxx.xx?xxxxXX:X:0000:000:0000: 0004: EN:PDF; xxxx://xxxxx.xxxxxx.xx/xxxx/xxxx/Xx0_0000/, (last visited January 30, 2010).
28Council Regulation (EC) No 44/2001 recital (Whereas) (8) and (15)
29CONVENTION ON THE RECOGNITION AND ENFORCEMENT OF FOREIGN ARBITRAL AWARDS Article II
…
“3. The court of a Contracting State, when seized of an action in a matter in respect of which the parties have made an agreement within the meaning of this article, at the request of one of the parties, refer the parties to arbitration, unless it finds that the said agreement is null and void, inoperative or incapable of being performed.”
ผลจากค าวินิจฉัยของ ECJ นี้ที่เกี่ยวข้องกับการอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศคือ เป็น การลดอ านาจศาลภายในของประเทศสมาชิกในสหภาพยุโรปในการออกหมายเพื่อที่จะให้ความ ช่วยเหลืออ านวยความสะดวกแก่การอนุญาโตตุลาการ โดยที่คู่กรณีต้องหันไปพึ่งศาลแห่งถิ่นที่มี xxxx xคดีขึ้นสู่ศาลโดยขัดต่อสัญญาxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxวิ่งไปพึ่งค าสั่งหรือหมายของศาลที่มี เขตอ านาจเหนือการนั่งพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ (Court of locus arbitri) เพราะศาลใน EU xxx xxxออกหมายห้ามการด าเนินคดีในศาลภายในของประเทศสมาชิกอื่นได้อีกต่อไป (ศาลใน EU ไม่มี อ านาจจะออก Anti-suit Injunction เพื่อให้xxxxxxxxxxมีสัญญาอนุญาโตตุลาการแต่กลับx xxxxขึ้นสู่ศาล ในประเทศ EU ประเทศอื่นให้มาท าการอนุญาโตตุลาการก่อนได้) ผลของค าวินิจฉัยนี้ท าให้ เครื่องมือในการสร้างความมั่นใจให้แก่กระบวรการอนุญาโตตุลาการในยุโรป โดยเฉพาะที่อังกฤษ หายไปชิ้นหนึ่งเท่านั้น เพราะอย่างไรเสียศาลของประเทศอังกฤษเองยังมีกรอบของ New York Convention 1958 ซึ่งยังให้ความคุ้มครองอยู่อีกค ารบหนึ่ง โดยที่ศาลของประเทศอังกฤษ (หรือ ประเทศภาคีสมาชิกของอนุสัญญาดังกล่าว) ยังต้องปฏิบัติตาม Article II(3) อยู่ดี (New York Convention 1958 Article II(3) วางหลักว่า หากมีการฟ้องคดีโดยละเมิดข้อสัญญาอนุญาโตตุลาการ ศาลต้องสั่งจ าหน่ายคดีออกจากสารบบความ) ส่วนประเด็นที่ว่าxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้บริการที่กรุง ลอนดอนจะได้รับความxxxxน้อยลงเพราะค าวินิจฉัยของ ECJ นั้น ไม่น่าจะxxxxxxxxกระทบมากนัก เพราะการอนุญาโตตุลาการในประเทศอังกฤษxxxxxxถูกเลือกเพียงเพราะxxxxxxขอออก Anti-suit Injunction และบังคับใน EU ได้เป็นประการหลักประการเดียว แต่เป็นเพียงหนึ่งในหลายๆ องค์ประกอบในการพิจารณาเลือก Seat of Arbitration เท่านั้น xxxxxxxxxxมีสัญญาxxxxxxxxxxxxxxxxx ควรรีบด าเนินการอนุญาโตตุลาการเสียแต่เนินๆ และด าเนินการด้วยความระมัดระวัง หากมีการxxx xxxxxxxxฝ่ายหนึ่งชิงน าข้อพิพาทฟ้องเป็นคดีขึ้นสู่ศาลเสียก่อน อีกฝ่ายก็ควรxxxxxxxxxxxxxxจะเสนอ พยานหลักฐานทั้งปวงอันเกี่ยวกับเกี่ยวกับสัญญาอนุญาโตตุลาการเพื่อพิสูจน์ถึงความxxxxxxxและ การมีผลบังคับใช้ได้ของสัญญาอนุญาโตตุลาการโดยxxxxxxxxxต่อศาลของประเทศที่มีพันธกรณีตาม New York Convention 1958 หรือตามกฎหมายภายในที่เกี่ยวข้องและมีลักษณะเดียวกันกับ New York Convention 1958 Article II(3)
ในเอเชียมีการใช้ Anti-suit Injunction xxxxxxxxน้อย โดยเฉพาะในประเทศที่มีกฎหมายลาย ลักษณ์xxxxxเรื่องอนุญาโตตุลาการอยู่แล้วแทบไม่มีความจ าเป็นที่ต้องมีการร้องขอดังกล่าว เพียงแต่ ใช้มาตราที่ให้อ านาจศาลที่มีเขตอ านาจเหนือสถานที่ที่ท าการอนุญาโตตุลาการ (Court of locus arbitri) กรณีที่มีการใช้ล่าสุดxxเป็นกรณีคดี Regalindo Resources Pte Ltd v Seatrek Trans Pte
Ltd30 ของประเทศสิงคโปร์ที่ตัดสินตามแนวของค าพิพากษาศาลอังกฤษ แต่ได้xxxxxหลักการออก หมายเป็นหลักย่อยๆ ห้าประการ คือ 1) ศาลสิงคโปร์จะใช้อ านาจออกหมายนี้เพื่อประโยชน์แห่ง ความยุติธรรม 2) เมื่อศาลสิงคโปร์จะออกหมายยับยั้งกระบวนพิจารณาในศาลต่างประเทศ ค าสั่ง xxxxว่านั้นิมได้ใช้บังคับแก่ศาลต่างประเทศ หากแต่ใช้บังคับกับคุ่กรณีxxxxxxxx xxxxด าเนินกระบวน พิจารณาหรืออ้างว่าx xxxxจะเริ่มด าเนินกระบวนพิจารณา 3) หมายนี้ใช้กับผู้อยู่ในดุลอาณาของศาล สิงคโปร์ที่ต้องการการเยียวยาจากหมายนี้ 4) เนื่องจากค าสั่งนี้มีผลต่อศาลต่างประเทศ ศาลสิงคโปร์ ต้องกระท าด้วยความระมัดระวัง และ 5) ศาลสิงคโปร์อาจมีค าสั่งให้ออกหมายได้โดยชอบเพื่อที่จะ ยับยั้งกระบวนพิจารณาในศาลต่างประเทศที่มีผลในทางลบหรือไม่เป็นประโยชน์ (oppressive or vexatious)31 อย่างชัดแจ้ง โดยในคดีนี้ Regalindo ร้องขอต่อศาลสิงคโปร์ให้ออกหมายห้าม Seatrek มิให้ไปด าเนินกระบวนพิจารณาในศาลนิวยอร์ค แต่ให้มาด าเนินการอนุญาโตตุลาการเสียก่อน Seatrek ต่อสู้ว่า Regalindo ได้จดทะเบียนบริษัทใหม่ขึ้นสามบริษัทและมีหลักฐานว่ามีการโอนxxxx ธุรกิจไปยังบริษัทใหม่โดยที่กรรมการไม่มีตัวอยู่ใน Regalindo อีกแล้วท าให้มีความเสี่ยงที่ Regalindo จะไม่xxxxxxปฏิบัติตามค าชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการในสิงคโปร์ได้หากมีการ อนุญาโตตุลาการในสิงคโปร์ได้เกิดขึ้นจริง
ศาลสิงคโปร์พิจารณาแล้วเห็นxxxxxxxเพียงเพราะการxxxxxxxxxxจะได้จากผลของด าเนิน กระบวนพิจารณาในศาลxxxxxxxxxxxอาจได้รับโดยการเยียวยาในสิงคโปร์ยังไม่เป็น เหตุผลที่ xxxxxxxxxxศาลสิงคโปร์จะออก Anti-suit Injunction ในทันทีได้ แต่คู่กรณียังต้องพิสูจน์ให้ศาลเห็น ถึงเหตุผลและความจ าเป็นและศาลต้องชั่งน้ าหนักระหว่างความยากx xxxxในการสู้คดีของผู้ร้องใน ต่างประเทศนั้นกับความจ าเป็นของxxxxxxxเริ่มต้นคดีในศาลต่างประเทศ ส่วนข้อเท็จจริงที่ว่าสิงคโปร์ เป็นประเทศที่xxxxxเป็นที่ด าเนินคดีอย่างแท้จริง (natural and proper forum) ก็ยังไม่เป็นเหตุผลที่ xxxxxxxxxxศาลสิงคโปร์จะออก Anti-suit Injunction ให้ในทันทีxxxxxxxกัน ผู้พิพากษาในคดีนี้เห็นว่า แม้การตั้งบริษัททั้งสามบริษัทxxxxx xให้เกิดข้อสงสัยในเรื่องxxxxxของ Regalindo ในการที่จะ ปฏิบัติตามค าชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการในประเทศสิงค์โปร์ แต่ถ้าผู้ร้องอ้างเรื่องปัญหาหรือ สถานะการการเงินxxxxxxน่าไว้วางใจผลของค าสั่งอาจจะแตกต่างออกไป
ส าหรับประเทศไทย หากเป็นกรณีที่มีการท าอนุญาโตตุลาการในต่างประเทศแล้วหรือมีข้อ สัญญาว่าจะท าการอนุญาโตตุลาการในต่างประเทศและสัญญานั้นมีผลใช้บังคับได้ระหว่างคู่ความ
30 Regalindo Resources Pte Ltd v Seatrek Trans Pte Ltd [2008] SGHC 74, at http:// xxx.xxxx.xxx/xxxx-xxx.xxxx;xxxx://xxx.xxxxxx-xxxxxxxxxx.xxx/xx-xxxxxxx/xxxxxxx/0000/00/ Regalindo.pdf ., (last visited January 24, 2010).
31 ใช้ค าเดียวกับ Bowen LJ ในคดี Socialty Nationale Industrielle Aerospatiale v Xxx Xxx
ของศาลอังกฤษ
แต่คู่ความฝ่ายหนึ่งxxxxxxฟ้องคดีในประเด็นข้อพิพาทเดียวกันดังกล่าวในศาลไทย xxxxxxxไม่xxxx x xxxมาxxxxxxอาจยื่นค าร้องต่อศาลไทยที่มีเขตอ านาจและรับฟ้องคดีนั้นไว้พิจารณาเพื่อขอให้ศาลมี ค าสั่งจ าหน่ายคดีเพื่อให้ไปด าเนินการทางอนุญาโตตุลาการเสียก่อน โดยการยื่นนั้นควรต้องท า เสียก่อนวันยื่นค าให้การเป็นอย่างช้าตามมาตรา 14 แห่ง พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 โดยไม่ต้องใช้ Anti-suit Injunction จากศาลต่างประเทศแต่อย่างใด แต่ถ้าหากมีการxxxxxxความ xxxxxxxไม่xxxx xxxxมาฟ้องต่อศาลไทยได้ขอ Anti-suit Injunction ซึ่งออกโดยศาลต่างประเทศแล้วจะ xxxxxxมีผลใช้บังคับในประเทศไทยได้หรือไม่ ใช้กับศาลไทยได้หรือไม่ ขอให้ศาลไทยบังคับหรือ ออกค าบังคับตาม Injunction นั้นได้หรือไม่ หรือจะxxxxxxใช้บังคับกับบุคคลที่อยู่ในดุลอาณาของ ประเทศไทย (amenable to Thai jurisdiction) ได้แค่ไหนเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับความตกลงในเรื่อง ความร่วมมือระหว่างศาลเป็นส าคัญ ซึ่งในปัจจุบันความร่วมมือในเรื่องกระบวนการยุติธรรม ระหว่างศาลไทยและศาลต่างประเทศนั้นมีด้วยกันสองลักษณะคือ ความร่วมมือระหว่างประเทศ ในทางแพ่ง และความร่วมมือระหว่างประเทศในทางอาญา
ในทางแพ่ง ประเทศไทยมี “ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางศาล” แบ่งเป็น ความ ร่วมมือในทางศาลระหว่างศาลฎีกากับประเทศรัสเซีย ความร่วมมือในทั่วไปในทางศาล (กับ ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม และประเทศเกาหลี) ความร่วมมือในคดีแพ่งและคดีพาณิชย์ (กับประเทศสเปน) ความร่วมมือในคดีแพ่ง คดีพาณิชย์และการอนุญาโตตุลาการ (กับประเทศxxx ประเทศออสเตรเลีย และประเทศสิงคโปร์) ส่วนในทางอาญา ประเทศไทยมีความร่วมมือกับหลาย ประเทศ ทั้งกฎหมายภายในประเทศ32และความตกลงทวิภาคีกับประเทศต่างๆ33 อย่างไรก็ดีการจะ ขอให้ศาลไทยบังคับหมายของศาลที่ออกโดยศาลต่างประเทศนั้นจะท าได้มากxxxxxxxxxใดต้องดู ความตกลงเป็นรายฉบับไปว่าในความตกลงฉบับนั้นๆ ได้xxxxxxxครอบคลุมในประเด็นดังกล่าวไว้ แค่ไหนเพียงใด เพราะบางฉบับก็เป็นเพียงความร่วมมือทั่วๆ ไปเพื่อกรอบการเจรจาต่อไปใน xxxxx บางฉบับก็เป็นความร่วมมือในการส่งประเด็นไปสืบในศาลอื่นหรือขั้นตอนเฉพาะขั้นตอน ใดขั้นตอนหนึ่งของกระบวนพิจารณาเท่านั้นมิได้พูดxxxxxxยอมรับและบังคับตาม หมาย ค าสั่ง หรือ ค าพิพากษาของศาลต่างประเทศแต่อย่างใด
32 พระราชบัญญัติการปฏิบัติเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศในการด าเนินการตามค า
พิพากษาคดีอาญา พ.ศ. 2527, พระราชบัญญัติความร่วมมือระหว่างประเทศในเรื่องทางอาญา พ.ศ. 2535 และกฎกระทรวง.
33 xxxxxxxxxกับประเทศสหรัฐอเมริกา (2529) ประเทศแคนาดา (2537) สหราชอาณาจักร
(2537) ประเทศฝรั่งเศส (2540) ประเทศนอร์เวย์ (2542) ประเทศxxx (2546) ประเทศเกาหลี (2546)
ประเทศอินเดีย (2547) ประเทศโปแลนด์ (2547).
กล่าวโดยสรุป หากเป็นกรณีที่มีการท าอนุญาโตตุลาการในประเทศไทยแล้วคู่ความฝ่าย หนึ่งฟ้องคดีในศาลต่างประเทศยังไม่เคยมีปรากฏว่ามีการขอให้ศาลไทยออก Anti-suit Injunction ไปยังศาลหรือคู่ความที่เริ่มคดีในต่างประเทศแต่อย่างใด วิธีการแก้ไขขั้นก็ขึ้นอยู่กับว่าประเทศที่ คู่กรณีอีกxxxxxxxไปเริ่มฟ้องคดีนั้นมีหลักกฎหมายในลักษณะเดียวกับมาตรา 14 พระราชบัญญัติ อนุญาโตตุลาการฉบับปัจจุบันของไทยหรือไม่ โดยดูว่าอยู่ในรูปแบบพระราชบัญญัติ รัฐxxxxxxx แนวค าพิพากษาในคดีที่ผ่านๆ มา (Case Law) หรือ รูปแบบอื่นๆ ตามระบบกฎหมายของประเทศนั้นๆ แต่ถ้ากรณีไม่มีหลักกฎหมายxxxxว่านั้นในประเทศดังกล่าว ก็ต้องดูว่าประเทศนั้นเป็นภาคีสมาชิก ของ New York Convention 1958 หรือไม่ เพื่อจะได้ให้ศาลภายในของประเทศนั้นถือปฏิบัติตาม พันธกรณีใน New York Convention 1958 Article II(3) โดยเคร่งครัด