นายหน้า ( brokerage / courtier) เป็นสัญญาประเภทสัญญามีชื่อ ซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่งตกลงจะให้ค่าบําเหน็จ (commission) แก่บุคคลอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งเรียกว่า "นายหน้า" (broker) เพื่อตอบแทนการที่นายหน้าได้ชี้ช่องหรือ จัดการให้เขาได้เข้าทําสัญญากับบุคคลอีกฝ่าย...
สัญญานายหน้า
บทที่ 7 ตัวแทน นายหน้า
นายหน้า ( brokerage / courtier) เป็นสัญญาประเภทสัญญามีชื่อ ซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่งตกลงจะให้ค่าบําเหน็จ (commission) แก่บุคคลอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งเรียกว่า "นายหน้า" (broker) เพื่อตอบแทนการที่นายหน้าได้ชี้ช่องหรือ จัดการให้เขาได้เข้าทําสัญญากับบุคคลอีกฝ่าย สัญญานายหน้ากับสัญญาตั้งตัวแทน (agency) มีความคล้ายคลึงกัน ซึ่งหากไม่ทําความเข้าใจให้xxxxxสลับสับสนกันได้ ภาษาปากในภาษาไทยมักเรียกนายหน้าโดยทับศัพท์จากคํา "broker" ในภาษาอังกฤษ ว่า "โบรเกอร์" หรือ "โบรก" เฉย ๆ
บทบัญญัติของกฎหมาย ตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ไทย บรรพ 3 เอกเทศสัญญา, ลักษณะ 16 นายหน้า
"ม.845 บุคคลผู้ใดตกลงจะให้ค่าบําเหน็จแก่นายหน้าเพื่อที่ชี้ช่องให้ได้เข้าทําสัญญาก็ดี จัดการให้ได้ทําสัญญากันก็ดี ท่านว่าบุคคลผู้นั้นจะต้องรับผิดใช้ค่าบําเหน็จก็ต่อเมื่อสัญญานั้นได้ทํากันสําเร็จเนื่องแต่ผลแห่งการที่นายหน้าได้xxx xxxxหรือจัดการนั้น ถ้าสัญญาxxxxxxทํากันไว้นั้นมีเงื่อนไขเป็นเงื่อนบังคับก่อนxxxx ท่านว่าจะเรียกร้องบําเหน็จค่า นายหน้ายังหาxxxxxxจนกว่าเงื่อนไขนั้นสําเร็จแล้ว นายหน้ามีxxxxxจะได้รับชดได้ค่าใช้จ่ายที่ได้เสียไปก็ต่อเมื่อได้ตกลง กันไว้xxxxนั้น ความข้อนี้ท่านให้ใช้บังคับแม้ถึงว่าสัญญาจะมิได้ทํากันสําเร็จ" ตามxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เยอรมนี (Buergerliches Gesetzbuch)
บรรพ 2 หนี้, ภาค 8 หนี้เฉพาะบางอย่าง, ลักษณะ 10 สัญญานายหน้า
อนุลักษณะ 1 บททั่วไป
"ม.652 (การเกิดxxxxxเรียกร้องค่าบําเหน็จ)
(1) บุคคลผู้ใดตกลงจะให้ค่าบําเหน็จแก่นายหน้าเพื่อที่ชี้ช่องให้ได้เข้าทําสัญญาก็ดี หรือจัดการให้ได้ทําสัญญากันก็ดี บุคคลผู้นั้นจะต้องรับผิดใช้ค่าบําเหน็จก็ต่อเมื่อสัญญานั้นได้ทํากันสําเร็จเนื่องแต่ผลแห่งการที่นายหน้าได้ชี้ช่องหรือ จัดการนั้น ถ้าสัญญาxxxxxxทํากันไว้นั้นมีxxxxxxxxxxxxxxxxxx ค่าบําเหน็จยังเรียกร้องกันมิได้จนกว่าเงื่อนไขนั้นสําเร็จแล้ว
(2) นายหน้ามีxxxxxจะได้รับการชดเชยค่าใช้จ่ายที่ได้เสียไปก็ต่อเมื่อได้ตกลงกันไว้xxxxนั้น ความข้อนี้ให้ใช้บังคับแม้ถึง ว่าสัญญาจะมิได้ทํากันสําเร็จ"
อนุลักษณะ 2 สัญญานายหน้ากู้ยืมระหว่างวิสาหกรและผู้บริโภค "ม.655ก (สัญญานายหน้ากู้ยืม)
สัญญาซึ่งวิสาหกรตกลงจะให้ค่าบําเหน็จแก่ผู้เป็นนายหน้าในสัญญากู้ยืมของผู้บริโภค หรือตกลงจะชี้ช่องแก่ผู้บริโภค ให้ได้เข้าทําสัญญากู้ยืมของผู้บริโภค ย่อมใช้บังคับได้ตามบทบัญญัติต่อไปข้างหน้านี้ ภายในบังคับแห่งxxxxxxถัดมา. ความข้อนี้มิให้ใช้บังคับแก่การตาม ม.491 (2)."
อนุลักษณะ 3 : นายหน้าจัดหาคู่ "ม.656 (นายหน้าจัดหาคู่)
(1) บุคคลย่อมxxxxxxxxxเพราะตกลงจะให้ค่าบําเหน็จแก่นายหน้าที่ชี้ช่องให้ได้เข้าทําสัญญาสมรสก็ดี หรือเพราะเป็น นายหน้าจัดแจงการสมรสก็ดี สิ่งใดที่จ่ายไปตามคํามั่นxxxxว่าจะเรียกร้องเอาคืนมิได้เพราะผู้จ่ายจะผูกพันให้จ่ายก็หา ไม่
(2) บทบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับแก่ความตกลงซึ่งบุคคลฝ่ายอื่นได้เข้าผูกพันกับนายหน้าเพื่อปฏิบัติตามคํามั่น รวมxxxxxx รับสภาพหนี้ด้วย"
เหตุผล
xxxxxx xxxxxxxxx ศาสตราจารย์คณะxxxxxxxxxx มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อธิบายถึงเหตุที่บุคคลต้องจัดหา นายหน้า ว่า
"การที่บุคคลหนึ่งต้องอาศัยนายหน้าเข้าทําการชี้ช่องให้มีการทําสัญญากัน xxxxxxxxเข้าทําสัญญากับบุคคลใด ๆ โดยตรงนั้น ก็อาจเป็นเพราะว่าบุคคลดังกล่าวไม่ทราบหรือไม่xxxxxxจะติดต่อบุคคลอื่นใดให้เข้ามาทําสัญญากับตน ได้ เพราะถ้าบุคคลนี้ทราบก็คงไม่ต้องอาศัยนายหน้าเข้ามาชี้ช่องให้ นายหน้าจึงเปรียบเสมือนxxxxxxxxxทําให้บุคคล ทั้งสองxxxxxxxต้องการทําสัญญากันมาพบ มารู้จัก และมาทําสัญญาในระหว่างกัน...
ส่วนทางด้านตัวนายหน้าเอง จะทําการเป็นนายหน้าก็เพื่อเป็นการช่วยเหลือบุคคลผู้ที่ต้องการจะทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ xxxxxxทําการตามxxxxxxxxxx ไม่ว่านายหน้าจะxxxxบําเหน็จนายหน้าเป็นการตอบแทนหรือไม่ เพราะอาจจะเป็น เพื่อนหรือเป็นญาติก็ได้ แต่ส่วนใหญ่แล้ว นายหน้ามักทําการด้วยxxxxxxxxxxจะได้รับค่าบําเหน็จ โดยเฉพาะนายหน้า ในการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ นายหน้าจัดหางาน หรือนายหน้าเกี่ยวกับการเช่าอสังหาริมทรัพย์"
องค์ประกอบ คู่สัญญา
xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 845 "บุคคลผู้ใดตกลงจะให้ค่าบําเหน็จแก่นายหน้าเพื่อที่ชี้ช่องให้ได้เข้าทําสัญญาก็ดี จัดการให้ได้ทําสัญญากันก็ดี ท่านว่า บุคคลผู้นั้นจะต้องรับผิดใช้ค่าบําเหน็จก็ต่อเมื่อสัญญานั้นได้ทํากันสําเร็จเนื่องแต่ผลแห่งการที่นายหน้าได้ชี้ช่องหรือ จัดการนั้น ถ้าสัญญาxxxxxxทํากันไว้นั้นมีเงื่อนไขเป็นเงื่อนบังคับก่อนxxxx ท่านว่าจะเรียกร้องบําเหน็จค่านายหน้ายังหา
xxxxxxจนกว่าเงื่อนไขนั้นสําเร็จ แล้วนายหน้ามีxxxxxจะได้รับชดได้ค่าใช้จ่ายที่ได้เสียไปก็ต่อเมื่อได้ตกลงกันไว้xxxxนั้น ความข้อนี้ท่านให้ใช้บังคับแม้ถึงว่าสัญญาจะมิได้ทํากันสําเร็จ"
กฎหมายไทย โดย ป.พ.พ. ม.845 บ่งบอกว่าคู่สัญญานายหน้ามีสองฝ่าย ฝ่ายแรก คือ ผู้ตกลงจะให้บําเหน็จแก่ นายหน้าเพื่อตอบแทนการที่นายหน้าได้ชี้ช่องให้เขาได้เข้าทําสัญญากับบุคลอื่น และxxxxxxxสอง คือ นายหน้าเอง อัน ทําหน้าที่ประหนึ่งคนกลางระหว่างสัญญาอีกฉบับหนึ่งซึ่งปรกติแล้ว บุคคลผู้เป็นนายหน้ามักเป็นบุคคลธรรมดา แต่ หากนิติบุคคลจะเป็นนายหน้าบ้างก็ทําได้โดยผ่านผู้แทนของนิติบุคคลนั้น ๆ ตามหลักทั่วไป กฎหมายไทยxxxxxxกําหนดว่าผู้เป็นนายหน้าได้ต้องมีความxxxxxxทํานิติกรรม นักกฎหมายไทยจึงเห็นต่างกันเป็น สองกลุ่ม กลุ่มแรกว่า นายหน้าจะมีความxxxxxxทํานิติกรรม หรือไม่มี หรือมีแต่xxxxxxx xxxx เป็นผู้เยาว์ คนไร้ ความสามารถ xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx คนวิกลจริต หรือคนล้มละลาย ก็ได้ เพราะปรกติแล้วนายหน้าไม่จําต้องรับ ผิดเป็นการส่วนตัวในสัญญาที่ตนเป็นสื่อให้เกิดขึ้น
กลุ่มที่สองซึ่งเป็นเสียงxxxxxxxx ว่านายหน้าเป็นสัญญาประเภทหนึ่ง จึงต้องบังคับตามหลักทั่วไปเกี่ยวกับสัญญาด้วย ดังนั้น ในเมื่อไม่มีกฎหมายยกเว้นเป็นพิเศษ จึงต้องนําหลักทั่วไปเรื่องความxxxxxxทํานิติกรรมมาใช้บังคับด้วย โดย ถ้านายหน้ามีความxxxxxxดังกล่าวบกพร่อง สัญญานายหน้าจะเป็นโมฆียะ
วัตถุประสงค์แห่งสัญญา
"โจทก์จําเลยตกลงแบ่งเงินค่านายหน้าขายที่ดินคนละครึ่ง, บัดนี้ขายที่ดินได้แล้ว xxxxxxxxฟ้องแบ่งค่านายหน้า ครึ่งหนึ่งในส่วนที่จําเลยยังไม่แบ่งให้. ฝ่ายจําเลยต่อสู้ว่า จําเลยเป็นผู้รับซื้อที่ดินเอง และนําสืบว่าจําเลยซื้อเองโดย เอาเงินของ อ. มาซื้อ, ชั้นแรกจะใส่ชื่อจําเลยเป็นผู้ซื้อแล้วทําจํานอง อ., แต่เห็นว่าเสียค่าธรรมเนียมมาก จึงลงนาม อ. เป็นผู้ซื้อ, แลได้ทําสัญญาไว้ว่า อ.จะขายให้จําเลยตามราคาที่ซื้อไว้ แต่จําเลยต้องส่งดอกเบี้ยให้ x. xxxxละ 8, ถ้า จําเลยชําระราคาที่ดินเสร็จ อ. จะโอนที่ให้, ถ้าจําเลยงดส่งดอกเบี้ย 3 เดือนหรือไม่ชําระราคาที่ดิน สัญญาเป็นอัน ยกเลิก.
ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า หากจําเลยเป็นผู้ซื้อเอง ก็เห็นได้ว่า เป็นนายหน้าให้แก่ตัวเอง ซึ่งย่อมเป็นไปxxxxxx, ในสัญญาซื้อ ขายแลสัญญาระหว่างจําเลยกับ อ. ก็แสดงอยู่ในตัวชัดเจนว่าจําเลยมิได้เป็นผู้ซื้อ. ส่วนข้อxxxxว่าฟ้องของโจทก์ เคลือบคลุม จําเลยมิได้ยกขึ้นคัดค้านแต่ชั้นศาลล่าง, จึงไม่รับวินิจฉัย. จึงพิพากษายืนตามศาลล่างซึ่งพิพากษาให้ จําเลยแบ่งค่านายหน้าให้โจทก์ตามฟ้อง."
คําพิพากษาศาลฎีกา 337/2478
กฎหมายไทย โดย xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 845 บ่งบอกว่า สัญญานายหน้ามีวัตถุประสงค์xxxx xxxxxxนายหน้าชี้ช่องให้ผู้วานนายหน้าได้เข้าทํากับบุคคลอื่น ซึ่งเป็นจุดต่างกับสัญญาตั้งตัวแทนที่ตัวแทนจะเข้าทํา สัญญากับบุคคลอื่นแทนตัวการเลย
การเป็นนายหน้าให้ตนเองย่อมทําxxxxxx บุคคลต้องเป็นนายหน้าให้ผู้อื่นเท่านั้นและสัญญาที่นายหน้าจะชี้ช่องให้ผู้วาน นายหน้านั้นจะเป็นอะไรก็ได้ ไม่มีจํากัดเป็นสัญญาจะซื้อจะขายก็ได้
วัตถุแห่งสัญญา
วัตถุแห่งสัญญานายหน้า คือ ค่าบําเหน็จ (commission) ที่ผู้วานนายหน้าตกลงจะให้แก่นายหน้า หากxxxxxxตกลงxxx xxxxxxนี้ จะเรียกค่าบําเหน็จกันมิได้เลย
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยาม "บําเหน็จ" ว่า "รางวัล, ค่าเหนื่อย"ส่วน xxxชันxxxx.คอม นิยามคําภาษาอังกฤษ "commission" ว่า "เงินรวมหรืออัตราส่วนที่ให้แก่ตัวแทน ผู้แทน ฯลฯ เพื่อตอบแทนการ บริการของเขา"
ถ้ามิได้ตกลงค่าบําเหน็จกันไว้ แต่ปรกติแล้วกิจการที่นายหน้ารับทํานั้นย่อมเป็นที่คาดหมายว่าเขาxxxxเอาค่าบําเหน็จ ก็ให้ถือโดยปริยายว่าตกลงเรื่องค่าบําเหน็จกันแล้ว ดัง xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 846 วรรค1 ว่า "ถ้ากิจการอันได้มอบหมายแก่นายหน้านั้น โดยพฤติการณ์เป็นที่คาดหมายได้ว่าย่อมทําให้แต่เพื่อจะเอาค่าบําเหน็จ xxxxท่าน ให้xxxxxxxxxตกลงกันโดยปริยายว่ามีค่าบําเหน็จนายหน้า"
ค่าบําเหน็จนี้ จะกําหนดเป็นจํานวนxxxxxx xxxx หนึ่งแสนแปดหมื่นบาท หรือกําหนดเป็นร้อยละ xxxx ให้ได้รับค่า บําเหน็จร้อยละสามสิบจากเงินที่ผู้วานนายหน้าได้รับในการทําสัญญากับบุคคลอื่น ก็ได้ ถ้าxxxxxxตกลงกําหนดจํานวน กันไว้ก็ให้ถือ "จํานวนตามธรรมเนียม" (usual remuneration) อันหมายความว่า จํานวนตามxxxxxxให้กัน หรือ ตามที่ผู้คนทั่วไปให้กันโดยปรกติดังที่ xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 846 วรรค2 ว่า "ค่าบําเหน็จนั้นถ้า มิได้กําหนดจํานวนกันไว้ ท่านให้xxxxxxxxxตกลงกันเป็นจํานวนตามธรรมเนียม"
อนึ่ง นักกฎหมายบางคนเห็นว่า สัญญานายหน้าต้องมีค่าบําเหน็จเสมอไป หากตกลงกันว่าไม่มีค่าบําเหน็จ สัญญาที่ เกิดขึ้นย่อมไม่ใช่สัญญานายหน้า
แบบ
กฎหมายไทยมิได้กําหนด "แบบ" ( form) สําหรับสัญญานายหน้าเอาไว้ ดังนั้น สัญญานายหน้าเมื่อตกลงกันxxxxx เกิดขึ้นxxxxxxxxทันทีตามข้อตกลงนั้น แม้เป็นเพียงการตกลงด้วยวาจา มิได้ทําเป็นหนังสือก็ตาม
ผล ความรับผิดของนายหน้าเกี่ยวกับสัญญาที่ตนเป็นสื่อ
"ตัวนายหน้าไม่ต้องรับผิดไปxxxxxxชําระหนี้xxxxxxxxซึ่งได้ทําต่อกันเพราะตนเป็นสื่อ เว้นแต่จะมิได้บอกชื่อของฝ่าย หนึ่งให้รู้ถึงอีกฝ่ายหนึ่ง"
xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 848
ตามกฎหมายไทย โดย xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 848 แล้ว นายหน้าไม่ต้องรับผิดในสัญญาที่ตน เป็นสื่อให้เกิดขึ้น เพราะนายหน้ามิได้เกี่ยวข้องกับสัญญานั้นโดยตรง เว้นแต่คู่สัญญาดังกล่าวไม่ทราบนามของ คู่สัญญาอีกฝ่าย เพราะนายหน้าไม่ยอมบอก อันทําให้คู่สัญญาฝ่ายนั้นไม่ทราบจะไปบังคับชําระหนี้กับใคร และเพื่อ ป้องกันนายหน้าทุจริตด้วยโดยนายหน้าต้องรับผิดในสัญญาที่ตนเป็นสื่อให้เกิดขึ้นนั้นแทน แต่มิใช่รับผิดในสัญญา นายหน้า
"ชื่อ" ในถ้อยคํา "...มิได้บอกชื่อของฝ่ายหนึ่งให้รู้ถึงอีกฝ่ายหนึ่ง" (...has not communicated the name of a party to the other party.") หมายถึง ชื่อและxxxxxxxxของคู่สัญญาแต่ละฝ่ายตามที่ปรากฏในทะเบียนของทาง ราชการ xxxx ทะเบียนบ้าน ทะเบียนสํามะโนครัว บัตรประจําตัวประชาชน ฯลฯเพราะการฟ้องร้องบังคับคดีกันต้อง ใช้ชื่อตามทะเบียนxxxxนี้
xxxxxx xxxxxxxxx ศาสตราจารย์คณะxxxxxxxxxx มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวถึงเหตุผลที่กฎหมายxxxxxxxเรื่อง นายหน้าไม่เปิดเผยชื่อคู่สัญญาแต่ละฝ่ายให้กันทราบ ว่า "...xxxxxxxxว่าเป็นเรื่องแปลกที่นายหน้าทําxxxxxเปิดเผยชื่อ ให้อีกฝ่ายรู้ จะปิดเงียบ ๆ ทําไม ในเรื่องนี้คิดไปได้ว่า นายหน้าอาจจะกลัวว่าหากเปิดเผยชื่อให้แต่ละฝ่ายทราบ นายหน้าอาจจะxxxxxxรับบําเหน็จนายหน้า โดยถ้าหากคู่สัญญาจะแอบไปทําสัญญากันเอง"
xxxxxของนายหน้าเกี่ยวกับสัญญาที่ตนเป็นสื่อ ในสัญญาที่นายหน้าเป็นสื่อให้เกิดขึ้นระหว่างผู้วานนายหน้ากับบุคคลอื่น หากต้องมีการรับเงินหรือชําระหนี้ กฎหมายไทยให้ "สันนิษฐานไว้ก่อน" ว่านายหน้าไม่มีอํานาจทําการxxxxนั้นแทนผู้วานนายหน้าซึ่งเป็นคู่สัญญา ดัง xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 848 ว่า "การรับเงินหรือรับชําระหนี้อันจะพึงชําระxxxxxxxxนั้น ท่านให้ สันนิษฐานไว้ก่อนว่านายหน้าย่อมไม่มีอํานาจที่จะรับแทนผู้เป็นคู่สัญญา" ทั้งนี้ เนื่องจากนายหน้ามีหน้าที่เพียงเป็น สื่อให้ผู้วานนายหน้าได้ทําสัญญากับบุคคลอื่น และนายหน้าที่ก็มิใช่ตัวแทนของผู้วานนายหน้าด้วย นายหน้าจึงไม่ควร สอดเรื่องอันมิใช่กงการของตน
คําว่า "สันนิษฐานไว้ก่อน" หมายความว่า xxxxxxพิสูจน์xxxxxxxxxx xxxx นายหน้าอาจนําสืบว่าผู้วานนายหน้า มอบหมายให้ตนทําหน้าที่รับชําระหนี้แทนเขาก็ได้
xxxxxของนายหน้าxxxxxxxxนายหน้า "บุคคลผู้ใดตกลงจะให้ค่าบําเหน็จแก่นายหน้าเพื่อที่ชี้ช่องให้ได้เข้าทําสัญญาก็ดี จัดการให้ได้ทําสัญญากันก็ดี ท่านว่า บุคคลผู้นั้นจะต้องรับผิดใช้ค่าบําเหน็จก็ต่อเมื่อสัญญานั้นได้ทํากัน สําเร็จเนื่องแต่ผลแห่งการที่นายหน้าได้ชี้ช่องหรือ จัดการนั้น ถ้าสัญญาxxxxxxทํากันไว้นั้นมีเงื่อนไขเป็นเงื่อนบังคับก่อนxxxx ท่านว่าจะเรียกร้องบําเหน็จค่านายหน้ายังหา xxxxxxจนกว่าเงื่อนไขนั้นสําเร็จแล้ว
นายหน้ามีxxxxxจะได้รับชดได้ค่าใช้จ่ายที่ได้เสียไปก็ต่อเมื่อได้ตกลงกันไว้ xxxxนั้นความข้อนี้ท่านให้ใช้บังคับแม้ถึงว่า สัญญาจะมิได้ทํากันสําเร็จ"
xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 845
"ถ้านายหน้าทําการให้แก่บุคคลภายนอกด้วยก็ดี หรือได้รับคํามั่นแต่บุคคลภายนอกxxxxนั้นว่าจะให้ค่าบําเหน็จอันไม่ ควรแก่นายหน้าผู้กระทําการโดยxxxxxxxxxx เป็นการฝ่าฝืนต่อการที่ตนเข้ารับทําหน้าที่xxxx ท่านว่านายหน้าหามีxxxxx จะได้รับค่าบําเหน็จหรือรับชดใช้ค่าใช้จ่ายที่ได้ เสียไปไม่"
xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 847 xxxxxxxxรับค่าบําเหน็จ
ด้วยบทบัญญัติ xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 845 วรรค 1 ผู้วานนายหน้าต้องจ่ายค่าบําเหน็จตาม จํานวนที่ตกลงไว้ให้แก่นายหน้าเมื่อนายหน้าทําxxxxxxxxนายหน้าจนสําเร็จ กล่าวคือ เมื่อนายหน้าเป็นสื่อให้ผู้วาน นายหน้าได้เข้าทําสัญญากับบุคคลอื่นจนสําเร็จแล้ว
ที่ว่า "จนสําเร็จ" มิได้หมายความxxxxxxxxxxสัญญาระห่างผู้วานนายหน้ากับบุคคลอื่นจะเรียบร้อยxxxxxxxxเต็มขั้น เป็น แต่ทั้งสองตกลงxxxxxxxxxxxxxเป็นสัญญา แม้รายละเอียดปลีกย่อยบางเรื่องยังมิได้ตกลงหรือทํากัน ก็xxxxxxนายหน้า xxxxxหน้าที่ของตนแล้ว เรียกค่าบําเหน็จได้ แม้ต่อมาภายหลังคนทั้งสองนั้นจะไม่มาทําสัญญากัน หรือต่างผิดสัญญา กันก็ตาม
เมื่อนายหน้าทําหน้าที่จนเกิดสัญญาตามที่ตนชี้ช่องแล้ว และสัญญานั้นมีกําหนดxxxxxxxxxxxxxxxxxx (condition precedent) นายหน้ายังเรียกเอาค่าบําเหน็จxxxxxxจนกว่าเงื่อนไขนั้นจะxxxxxแล้ว xxxx สัญญาซื้อขายที่ ก กับ ข ทํา ด้วยเพราะเหตุที่ ค นายหน้าของ ก เป็นสื่อให้ มีเงื่อนไขว่ากรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขายจะยังไม่โอนไปจนกว่าบุตร ของ ก จะสอบไล่xxxxxxหนึ่ง xxxxนี้แล้ว จนกว่าบุตรของ ก จะสอบไล่xxxxxxหนึ่ง ค ก็ยังเรียกค่าบําเหน็จมิได้
หากในการเป็นสื่อกลางของนายหน้า ผู้วานนายหน้ากับบุคคลอื่นตกลงกันxxxxxx หรือxxxxxxxxxxxxผูกxxxxxxxxxxxxกันก็ดี หรือเมื่อนายหน้าเป็นสื่อกลางเรียบร้อยด้วยดีแล้ว แต่สุดท้ายผู้วานนายหน้ากับบุคคลอื่นไม่ทําสัญญากันก็ดี หรือ นายหน้าทําหน้าที่ไม่เสร็จภายในกําหนดเวลาxxxxxxxxนายหน้าในกรณีที่มีกําหนดไว้ก็ดี นายหน้าไม่มีxxxxxเรียกค่า บําเหน็จ เว้นแต่ผู้วานนายหน้ากับนายหน้าจะตกลงกันว่า แม้งานไม่สําเร็จ แต่ก็ให้นายหน้าได้รับบําเหน็จเต็มจํานวน หรือเป็นจํานวนเท่านี้เท่านั้น
ในบางกรณีมีสัญญาเกิดขึ้นโดยอ้อมจากการชี้ช่องของนายหน้า xxxx ก เป็นนายหน้าให้ ข กับ ค ทําสัญญากัน เจรจา กันเสร็จแล้ว ข ไม่เห็นชอบด้วยจึงไม่ทําสัญญากับ ค xxxxxว่า ง มาได้ยินเข้าจึงเข้าทําสัญญากับ ค แทน xxxxนี้แล้ว เมื่อมีคดีขึ้นสู่ศาลไทย ศาลมักพิพากษาให้ ง ต้องจ่ายค่าบําเหน็จให้แก่ ก ในฐานะเป็นนายหน้า เพราะจัดว่า ง ได้ xxxxxxxxxxxทําสัญญามาจาก ก
xxxxxxxxรับคืนxxxxxxxใช้จ่าย
ด้วยบทบัญญัติ xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 845 วรรค 2 ค่าใช้จ่ายที่นายหน้าเสียไปในการทําหน้าที่ จะเรียกจากผู้วานนายหน้าxxxxxต่อเมื่อตกลงกันไว้เท่านั้นซึ่งหากตกลงกันไว้ นายหน้าก็เรียกค่าใช้จ่ายได้แม้ว่าสัญญา ที่นายหน้าเป็นสื่อให้จะยังทํากันไม่สําเร็จ (ต้นร่างภาษาอังกฤษของ xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่า "even if a contract is not concluded" แปลว่า "แม้สัญญายังมิได้ตกลงกัน" ส่วนเบอร์แกร์ลิชส์เกเซทซ์บุคของเยอรมันว่า "even if a contract does not come about"แปลว่า "แม้สัญญาจะยังไม่อุบัติ")
ค่าใช้จ่ายข้างต้น xxxx "...ค่าพาหนะ ค่าโทรศัพท์ เพื่อให้มีการติดต่อระหว่างคู่สัญญา ค่าอํานวยความสะดวกต่าง ๆ ค่าเลี้ยงดู..." โดยหากนายหน้าทําหน้าที่ไม่สําเร็จ เขาต้องแบกรับค่าใช้จ่ายเหล่านี้เอง
กรณีหมดxxxxxxxxรับบําเหน็จและค่าใช้จ่าย "จําเลยตกลงขายที่ดินของตนให้แก่กระทรวงการคลังตามที่โจทก์ผู้เป็นนายหน้าของจําเลยติดต่อให้ xxxxxxxจําเลยวาง มัดจําทําสัญญาไว้กับ ค ว่าจะซื้อขายที่ดินผืนนั้นด้วยกัน แต่xxxxxxxxxxx xxxปรากฏว่าโจทก์ได้รับบําเหน็จจาก ค หรือ โจทก์กระทําการไม่xxxxxxแต่อย่างใด ถือมิได้ว่าโจทก์ไม่ปฏิบัติให้สําเร็จหรือได้ทําหน้าที่ให้แก่บุคคลภายนอกอันเป็น การฝ่าฝืนหน้าที่ของโจทก์ในฐานะเป็นนายหน้าให้จําเลยแต่อย่างใด"
คําพิพากษาศาลฎีกา 326-328/2518
xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 847 ว่า "ถ้านายหน้าทําการให้แก่บุคคลภายนอกด้วยก็ดี หรือได้รับคํามั่น แต่บุคคลภายนอกxxxxนั้นว่าจะให้ค่าบําเหน็จอันไม่ควรแก่นายหน้าผู้กระทําการโดยxxxxxxxxxx เป็นการฝ่าฝืนต่อการที่ ตนเข้ารับทําหน้าที่xxxx ท่านว่านายหน้าหามีxxxxxจะได้รับค่าบําเหน็จหรือรับชดใช้ค่าใช้จ่ายที่ได้เสียไปไม่" ("A
xxxxxx is not entitled to remuneration or to reimbursement of his expenses if, contrary to his engagement, he has acted also for the third party or has been promised by such third party a remuneration which is not consistent with the broker acting in good faith.")
หมายความว่า ในเหตุการณ์นี้มีบุคคลสามฝ่าย ฝ่าย 1 เป็นนายหน้าชี้ช่องให้ฝ่าย 2 ได้ทําสัญญากับฝ่าย 3 และ
กลับกัน ฝ่าย 1 นั้นยังเป็นนายหน้าชี้ช่องให้ฝ่าย 3 ได้ทําสัญญากับฝ่าย 2 ด้วย เพื่อฝ่าย 1 ซึ่งเป็นนายหน้าจะได้รับ
ค่าบําเหน็จจากทั้งฝ่าย 2 และฝ่าย 3 หากสมประโยชน์แก่ทั้งฝ่าย 2 และ 3แต่หากการรับงานซ้ําซ้อนกันxxxxนี้ส่งผล ให้ฝ่าย 2 หรือ 3 ต้องเสียหาย อันกล่าวได้ว่า นายหน้ารับค่าบําเหน็จซึ่งปรกติแล้วนายหน้าผู้xxxxxxจะไม่รับกัน จัดเป็นการฝ่าฝืนต่อหน้าที่นายหน้า xxxxนี้แล้ว นายหน้าจะหมดxxxxxxxxรับค่าบําเหน็จและค่าใช้จ่ายจากxxxxxxx เสียหายนั้น
xxxx ก ต้องการขายพระเครื่อง จึงติดต่อ ข ให้ช่วยหาคนมาซื้อพระเครื่องตนสักหน่อย,จังหวะเดียวกัน ข ทราบว่า ค กําลังอยากได้พระเครื่องอยู่xxxx xxxเสนอกับ ค ว่าตนจะช่วยหาคนมาขายพระเครื่องให้, และ ข ก็ชี้ช่องให้ ก กับ ค มาทําสัญญาซื้อขายกัน โดยตกลงกันว่า ก จะจ่ายค่าบําเหน็จให้ ข หนึ่งแสนบาท และ ค จะจ่ายค่าบําเหน็จให้ ข เก้า หมื่นบาท, xxxxนี้แล้ว เห็นได้ว่า การที่ ข เป็นนายหน้าควบระหว่าง ก กับ ค ไม่ทําให้ประโยชน์ของ ก และ ค เสียไป กับxxxxxxxฝ่าฝืนหน้าที่อันพึงกระทําดังนายหน้าผู้xxxxxxด้วย, ข จึงมีxxxxxxxxรับบําเหน็จจากทั้ง ก และ ค นั้น, ก หรือ ค จะปฏิเสธว่า ข เป็นนายหน้าควบ ไม่จ่ายค่าบําเหน็จให้มิได้
ความระงับสิ้นลง
กฎหมายไทยมิได้กําหนดอาการที่สัญญานายหน้าจะระงับสิ้นลงไว้โดยเฉพาะ xxxxนี้ จึงเป็นไปตามบทบัญญัติทั่วไป อันว่าด้วยความระงับแห่งสัญญา โดยสัญญานายหน้าย่อมสิ้นลงเพราะวัตถุประสงค์แห่งสัญญาได้xxxxxแล้ว กล่าวคือ เมื่อนายหน้าได้ทําหน้าที่ของตนจนลุล่วงเรียบร้อย
อาจสิ้นลงเพราะในสัญญากําหนดไว้ xxxx ให้สิ้นลงเมื่อพ้นกําหนดสิบเดือนนับแต่วันทําสัญญา หรือให้สิ้นลงเมื่อ นายหน้าทําหน้าที่ไม่สําเร็จภายในกําหนดสิบเดือนนับแต่วันทําสัญญา นอกจากนี้ สัญญานายหน้ายังอาจสิ้นลงหาก ถูกบอกเลิกโดยxxxxxxxxxxxมีxxxxx หรือxxxxxxxxxxxxสองฝ่ายตกลงเลิกสัญญากันก็ได้
อายุความ
เมื่อนายหน้าทําหน้าที่จนลุล่วงแล้ว ย่อมมีxxxxxxxxรับค่าบําเหน็จนายหน้าและค่าใช้จ่ายที่ตนเสียไปตามที่ตกลงกับผู้ วานนายหน้าไว้ หากผู้วานนายหน้าxxxxxxxxxxxจ่ายให้ นายหน้ามีทางแก้ไขทางเดียวคือฟ้องเป็นคดีต่อศาล และ
กฎหมายไทยxxxxxxกําหนดอายุความสําหรับการฟ้องคดีxxxxนี้ไว้เป็นพิเศษ จึงต้องใช้อายุความทั่วไปxxxxxกําหนดสิบปี ตาม xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 193/30 ซึ่งว่า "อายุความนั้น ถ้าประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมาย อื่นมิได้xxxxxxxไว้โดยเฉพาะ ให้มีกําหนดสิบปี"
คําพิพากษาศาลฎีกา138/2502 จําเลยทําสัญญากับโจทก์ ให้โจทก์เป็นนายหน้าชี้ช่องจัดการให้จําเลยทําสัญญาเปิด เครดิตเงินปอนด์กับธนาคาร โดยจําเลยสัญญาจะจ่ายค่านายหน้าในอัตราปอนด์ละ 15 บาท โจทก์ได้ปฏิบัติxxx xxxxxแล้ว แต่จําเลยไม่ยอมจ่ายค่านายหน้าให้xxxxxxxx ศาลล่างทั้งสองพิพากษาให้จําเลยชําระเงินให้แก่โจทก์ 108,300 บาท และดอกเบี้ยร้อยละ 7 ครึ่งต่อปี จําเลยxxxxว่า คดีโจทก์ขาดอายุความสองปีตาม ประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (7) [ปัจจุบันคือ xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 193/34 (7) ซึ่งxxxxxxxว่า ผู้ประกอบธุรกิจจะเรียกสินจ้างให้ฟ้องเป็นคดีภายในสองปี] ศาลฎีกาเห็นว่า โจทก์ใช้เวลาว่างจากการงานประจํามา หารายxxxxxxxครั้งชั่วคราวด้วยการเป็นนายหน้า ไม่ใช่ประกอบธุรกิจเป็นนายหน้าเป็นxxxxx xxxศาลล่างทั้งสองวินิจฉัย ว่า คดีโจทก์ไม่อยู่ในกําหนดอายุความสองปีตาม xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 165 (7) แต่มีอายุความ ทั่วไป คือ สิบปีนั้น ชอบแล้ว เมื่อฟ้องโจทก์ยังไม่พ้นอายุความสิบปี คดีโจทก์ไม่ขาดอายุความ ศาลฎีกาพิพากษายืน xxxxxx xxxxxxxxx ศาสตราจารย์คณะxxxxxxxxxx มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวถึงปัญหาการฟ้องร้องเรื่อง นายหน้าในประเทศไทย ว่า
"เรื่องที่เป็นปัญหามากที่สุดที่เกิดขึ้นในทางปฏิบัติกันเสมอจนมีการฟ้องร้องกันอยู่xxxxx x xxคือ เมื่อนายหน้าได้ชี้ช่อง ให้xxxxxxxxxxxพบได้ทําสัญญากัน นายหน้ามักจะถูกxxxxxxxxxxxxxxxxไม่ยอมชําระบําเหน็จนายหน้า โดยไปแบทํา สัญญากันลับ ๆ ไม่ให้นายหน้าทราบ เพื่อหลีกเลี่ยงการชําระค่านายหน้า และจะได้เอาเงินส่วนที่เป็นบําเหน็จ นายหน้าไปเป็นส่วนลดของราคาซื้อขายเพื่อเป็นการประหยัด [ในกรณีที่สัญญาอันนายหน้าเป็นสื่อให้เกิดขึ้นนั้นเป็น สัญญาซื้อขาย] เพราะเห็นว่านายหน้าxxxxxxทําอะไรเลย เพียงชี้ช่องเล็ก ๆ น้อย ๆ โดยลืมไปว่าถ้าไม่มีนายหน้าแล้ว สัญญานั้น ๆ ก็xxxxxxxเกิดขึ้น..."