แนวปฏิบัติทางกฎหมายในการให้ความคุ้มครองคู่สัญญาในเกษตรพันธสัญญา เพื่ออนุวัติ การให้เป็นไปตามความตกลงของสถาบันระหว่างประเทศ UNIDROIT
แนวปฏิบัติทางกฎหมายในการให้ความคุ้มครองคู่สัญญาในเกษตรพันธสัญญา เพื่อxxxxxxx การให้เป็นไปตามความตกลงของสถาบันระหว่างประเทศ UNIDROIT
ว่าด้วยการท˚าเกษตรพันธสัญญา
รดาxxx xxxxxxโชติ1 รองศาสตราจารย์ xx. xxxxxx xxxxxxxxx2
บทคัดย่อ
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาความไม่ธรรมในระบบเกษตรพันธ
สัญญาโดยศึกษาแนวปฏิบัติของสถาบันUNIDROITภายใต้กรอบแนวทางขององค์การสหประชาชาติ และข้อตกลงขององค์การ ช˚านัญพิเศษในการสร้างความเป็นธรรมให้แก่ระบบเกษตรพันธสัญญา ซึ่งประกอบด้วยการจัดท˚าสัญญามาตรฐาน ชี้แจง ข้อบกพร่องและแนะแนวทางในการปรับปรุงบทบัญญัติทางกฎหมายให้เป็นไปตามกรอบแนวทางขององค์การสหประชาชาติ ตลอดจนศึกษากฎหมายของต่างประเทศที่ให้ความคุ้มครองคู่สัญญาในระบบเกษตรพันธสัญญา ได้แก่ประเทศอินเดีย ประเทศ ฝรั่งเศส และประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นแบบอย่างกฎหมายxxxxx เพื่อน˚ามาเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงพระราชบัญญัติ ของประเทศไทยเพื่อสร้างระบบเกษตรพันธสัญญาที่เป็นธรรม ทั้งนี้ จากการศึกษาพบว่า พระราชบัญญัติxxxxxxxxและพัฒนา ระบบเกษตรพันธสัญญาพ.ศ.2560ยังxxมีข้อบกพร่องเนื่องจากไม่มีบทบัญญัติกฎหมายที่ควบคุมขอบเขตและแนวทางการร่าง สัญญาxxxxxxxxxเป็นมาตรฐาน ซึ่งอาจท˚าให้เกิดสัญญาการผลิตที่มีลักษณะหลากหลายและxxxxxxx และการที่กฎหมายxxxxxx ค˚านึงถึงความรู้ด้านกฎหมายของเกษตรกรแล้วก˚าหนดให้เกษตรกรเป็นผู้ตรวจสอบสัญญาการผลิตด้วยตนเอง ก็อาจท˚าให้ เกษตรกรถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบธุรกิจทางการเกษตรได้ รวมxxxxxxที่ไม่มีxxxxxxxxxxxxก˚าหนดให้ข้อตกลงรักษา ความลับระหว่างคู่สัญญาไม่มีผลใช้บังคับ ผู้ประกอบธุรกิจทางการเกษตรก็xxxxxxxxxใช้ช่องว่างทางกฎหมายห้ามไม่ให้ เกษตรกรน˚าสัญญาการผลิตไปขอค˚าปรึกษาจากบุคคลภายนอกอาทิxxxxผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายหรือเจ้าหน้าที่รัฐได้ อีกทั้งการ ที่พระราชบัญญัติดังกล่าวxxxxxxxให้การก˚าหนดราคาผลผลิตxxxxxxอ้างอิงจากราคาตลาดณเวลาใดก็ได้ ก็อาจเป็นการเปิดช่อง
1 นักศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx มหาxxxxxธุรกิจบัณฑิตย์
1
2 ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
ให้ผู้ประกอบธุรกิจทางการเกษตรน˚าราคาตลาดต่˚าสุดมาอ้างอิงเป็นราคาของผลผลิตในสัญญาได้ โดยก˚าหนดเป็นราคาxxxxx ในขณะที่ราคาของปัจจัยการผลิตxxxxxที่ ท˚าให้เห็นว่าไม่เป็นธรรมแก่เกษตรกร ดังนั้น จึงเห็นว่าxxxxxให้มีการปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติxxxxxxxxและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา พ.ศ. 2560โดยxxxxxxxให้มีแนวทางการร่างสัญญาxxx xxxxxxและเป็นมาตรฐาน และก˚าหนดให้มีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการxxxxxxxxและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญาและ ส˚านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นผู้ตรวจสอบสัญญาการผลิตในระบบเกษตรพันธสัญญา รวมถึงxxxxxบทบัญญัติ ให้ข้อสัญญารักษาความลับไม่มีผลใช้บังคับเพื่อเปิดโอกาสให้แก่เกษตรกรน˚าสัญญาการผลิตไปปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือ เจ้าหน้าที่รัฐ อีกทั้งให้อ˚านาจหน้าที่แก่คณะกรรมxxxxxxxxและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญาในการก˚าหนดราคาผลผลิตใน ระบบเกษตรพันธสัญญาและให้อ˚านาจแก่เจ้าหน้าที่รัฐสังกัดคณะกรรมการฯตรวจสอบการรับมอบผลผลิตและการค˚านวณราคา ผลผลิตของคู่สัญญาในระบบเกษตรพันธสัญญา
Abstract
2
This thesis aims to define a solution for preventing unfair practices in contract farming. Using the UNIDROIT principles under observance of United Nations guidance and international conventions to build the good faith and fair deal in contract farming. This includes drafting the model contract for agricultural production, elucidating legal issues, and conducting special law to conform United Nations method. Along with investigating legal frameworks from other countries, namely India, France, and United States, who providing protection for partners of agricultural contract. By doing this, it would introduce a good model for improving Thai law to cover the parties and establish fair practices in contract farming. The research focus on Thai law, named the Contract Farming Promoting and Development Act of 2017 and found that it is still imperfect. Despite there is no standard formulation to limits and regulates contractual outline, the act would basically cause diversity and complexity in agricultural production contracts. While, the law has obligated agriculturists to review the agricultural production contract by themselves, though it does not respect to legal knowledge of those farmers. This would lead agricultural entrepreneurs to take advantage of those growers by exploiting farmers weaknesses. Furthermore, the act does not prevent parties from suspicious confidentiality, and agribusiness firms may use this advantage to force agriculturists for not disclosing their contract information to others, even to consult with legal advisor or government officer is also prohibited. Moreover, the act enforces both parties to determine their produce price by using its market price, whichever the parties agreed, despite the fixed price term. This allows agricultural entrepreneurs to claim the lowest market price as the
price of produce, whilst input price is not unstable, and farmers would be the only party bearing the risks. Thus, the Contract Farming Promoting and Development Act of 2017 must be improved to adjust all above drawbacks. First, recommend the standard contract outline concisely. Second, assign subcommittees and Office of the Permanent Secretary to verify agricultural production contract for farmers. Third, force disabling effects of the suspicious confidentiality in the contract. Therefore, farmers would allow to display their contract information to legal consultants or government officers for contract review. Besides, the law must empower the Contract Farming Promoting and Development Committees to markup produce price in contract farming and authorize subordinated officers to observe produce delivery meeting and calculates produce price for both parties.
1.บทน˚า
ปัจจุบัน การท˚าเกษตรพันธสัญญาได้เข้ามาเป็นส่วนส˚าคัญของภาคเศรษฐกิจระดับนานาชาติ แต่การท˚าสัญญา
ท˚าให้เกิดอ˚านาจต่อรองที่xxxxxxxxxxxxกันระหว่างคู่สัญญา ท˚าให้คู่สัญญาฝ่ายเกษตรกรต้องxxxxxxxxxx อันน˚าไปสู่ความไม่ เป็นธรรมในระบบเกษตรพันธสัญญา ซึ่งxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวและได้ร่วมมือจากสถาบัน ระหว่างประเทศเพื่อสร้างxxxxxxให้แก่กฎหมายเอกชน (International Institute for the Unification of Private Law; UNIDROIT) ในการศึกษาและค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวร่วมกับองค์การช˚านัญพิเศษในสังกัดขององค์การ สหประชาชาติ ภายใต้xxxxxxxxxxเพื่อสร้างระบบเกษตรพันธสัญญาที่เป็นธรรมและยั่งยืน พร้อมทั้งยกร่างแนวปฏิบัติขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการก˚ากับดูแลการท˚าเกษตรพันธสัญญาxxxxxต่อโลก3 ส˚าหรับประเทศไทยมีการใช้พระราชบัญญัติ xxxxxxxxและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา พ.ศ 2560 ในการก˚ากับดูแลการท˚าเกษตรพันธสัญญาภายในประเทศไทย4 อย่างไรก็ตาม พระราชบัญญัติดังกล่าวมีข้อxxxxxxxxxxต้องปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมและเป็นธรรมแก่ทั้งสองฝ่าย ดังนั้น ในxxxxxxxxxxxxxให้มีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย กฎเกณฑ์ xxxxxxxของไทยในเรื่องนี้ให้สอดคล้องกับแนวปฏิบัติxxxxx ขององค์การระหว่างประเทศและกฎหมายของต่างประเทศ
3 UNIDROIT, “Preparation of a Legal Guide on Contract Farming: A preliminary outline of issues,” papers presented at UNIDROIT WorkingGroupforthePreparationofa Legal GuideonContract FarmingUNIDROITRome, 2012:pp.5-7.
3
2.ความหมาย แนวคิด และหลักทฤษฎี การท˚าเกษตรพันธสัญญาตามบริบทโลก
เพื่อศึกษาระบบเกษตรพันธสัญญาในบริบทโลกให้เข้าใจได้อย่างถ่องแท้ และทราบถึงเจตนารมณ์ของการจัดท˚า แนวปฏิบัติของสถาบันXXXXXXXX xxxจ˚าเป็นต้องศึกษาความหมายแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับระบบเกษตรพันธสัญญาควบคู่ กับแนวทางการให้ความคุ้มครองคู่สัญญาในระบบเกษตรพันธสัญญาขององค์การสหประชาชาติและองค์การช˚านัญพิเศษ
2.1ความหมายของเกษตรพันธสัญญา
เกษตรพันธสัญญาหมายxxxxxxท˚าสัญญารับซื้อผลผลิตทางการเกษตรระหว่างเกษตรกรและบริษัทซึ่งได้ตกลงกัน ไว้ล่วงหน้า ไม่ว่าจะโดยวาจา หรือท˚าเป็นลายลักษณ์xxxxxระหว่างคู่สัญญา5 ทั้งนี้ บริษัทผู้รับซื้อxxxxxxxxxจะเป็นผู้ก˚าหนด เงื่อนไขต่างๆ ที่เกี่ยวกับการผลิต ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยการผลิต (xxxx xxxxxxxxx หรือพันธุ์สัตว์ อาหารเสริม ยา เป็นต้น) ปริมาณ ผลผลิตคุณภาพของxxxxxxxxxผ่านเกณฑ์มาตรฐานราคารับซื้อผลผลิตเหล่านี้ เพื่อที่บริษัทจะxxxxxxควบคุมขั้นตอนการผลิต ให้ได้xxxxxxxxxมีคุณภาพตามมาตรฐานการผลิตของบริษัท6
2.2ลักษณะของเกษตรพันธสัญญา
องค์การอาหารและการเกษตรแห่งองค์การสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations : FAO) ได้ก˚าหนดลักษณะของการท˚าเกษตรพันธสัญญาไว้ว่า เป็นการท˚าสัญญาการผลิตที่มีองค์ประกอบ 3 อย่าง กล่าวคือ(1) ข้อก˚าหนดด้านการตลาดซึ่งเป็นข้อตกลงเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าทางการเกษตรล่วงหน้า (2) ข้อก˚าหนดด้านการ สนับสนุนปัจจัยการผลิต ซึ่งเป็นข้อตกลงเกี่ยวกับการจัดหาปัจจัยการผลิตในการท˚าเกษตรกรรม และ (3) ข้อก˚าหนดด้านการ บริหารการผลิตซึ่งเป็นข้อตกลงเกี่ยวกับมาตรฐานการผลิตที่ผู้ประกอบธุรกิจทางการเกษตรจะก˚าหนดให้เกษตรกรปฏิบัติตาม ตลอดระยะเวลาของสัญญา7
2.3 การท˚าเกษตรพันธสัญญาภายใต้กรอบองค์การสหประชาชาติ
เพื่อแก้ไขปัญหาความไม่เป็นธรรมในระบบเกษตรพันธสัญญาที่เกิดขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก xxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างมาตรฐานแก่การท˚าเกษตรพันธสัญญาที่เป็นธรรมกับคู่สัญญาทุกฝ่าย โดยขอ ความร่วมมือจากสถาบันUNIDROITในการศึกษาและหาแนวทางแก้ไขและสร้างมาตรฐานในการท˚าเกษตรพันธสัญญาให้อยู่ใน
5 Eaton C. and Xxxxxxxx A. Contract farming: partnerships for growth (Rome: FAO, 2001), p.44.
6 Xxxxxx Xxxxxx, Contract farming in developing countries: a review, (Paris : Agence Française de Développement, 2012), p.9.
4
7 Eaton, X. and Xxxxxxxx, X., supra note 7, p.2.
การก˚ากับดูแลขององค์การช˚านัญพิเศษ ซึ่งอยู่ภายใต้การก˚ากับดูแลขององค์การสหประชาชาติ ดังต่อไปนี้ (1) ก˚าหนดให้ มาตรฐานการผลิตภายในระบบเกษตรพันธสัญญาอยู่ภายใต้การก˚ากับดูแลของFAO(2)ก˚าหนดให้ความช่วยเหลือxxxxxxxxxxxxx ภายในระบบเกษตรพันธสัญญาเป็นของสถาบันกองทุนระหว่างประเทศเพื่อพัฒนาเกษตรกรรม (International Fund for Agricultural Development; IFAD) (3) ก˚าหนดให้องค์การเกษตรกรโลกเป็นศูนย์รับเรื่องร้องเรียนการถูกเอารัดเอาเปรียบใน ระบบเกษตรพันธสัญญา (4)ก˚าหนดให้องค์การการค้าโลกเป็นผู้ก˚าหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรพร้อมทั้งให้ความคุ้มครองด้าน
ทรัพย์สินทางxxxxxในระบบเกษตรพันธสัญญา (5) ก˚าหนดให้องค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศท˚าหน้าที่ดูแลด้าน สุขอนามัยของสัตว์ในระบบเกษตรพันธสัญญา(6)ก˚าหนดให้ องค์การสหภาพเพื่อการคุ้มครองxxxxxxxxxให้ความคุ้มครองxxxxxx xxxแก่นักปรับปรุงxxxxxxxxxใหม่ในระบบเกษตรพันธสัญญา8
2.4แนวปฏิบัติในการท˚าเกษตรพันธสัญญาของสถาบันUNIDROIT
เพื่อให้การท˚าเกษตรพันธสัญญาในประเทศต่างๆเป็นไปอย่างเป็นธรรมจ˚าเป็นต้องสร้างอ˚านาจต่อรองxxxxxxxxxxxx กันระหว่างคู่สัญญา ต้องมีมาตรการก˚าหนดวิธีการระงับข้อพิพาทxxxxxและเหมาะสม รวมถึงก˚าหนดมาตรการเกี่ยวกับวิธีการ เยียวยาความเสียหายxxxxxxเกิดขึ้นระหว่างคู่สัญญาสถาบันXXXXXXXXxxxร่วมกับองค์การช˚านัญพิเศษภายใต้การก˚ากับดูแลของ องค์การสหประชาชาติท˚าการยกร่างแนวปฏิบัติxxxxxในการท˚าเกษตรพันธสัญญา9 แล้วจัดท˚าเป็นเอกสารคู่มือการออกกฎหมาย เกษตรพัฒนาสัญญา10 ที่มีเนื้อหาเข้าใจง่ายภายใต้ความร่วมมือระหว่าง FAO และ IFAD โดยxxxxxxสรุปใจความส˚าคัญได้ ดังต่อไปนี้
2.4.1จัดท˚าแบบสัญญามาตรฐานในรูปแบบที่เข้าใจได้โดยง่าย มีความโปร่งใส และxxxxxxตรวจสอบได้ ซึ่งมี องค์ประกอบดังนี้ (1) ใบปะหน้า ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับ ข้อเสนอ การรับข้อเสนอ11 ความxxxxxxของคู่สัญญา และข้อมูล ความเสี่ยง12 (2)วัตถุประสงค์การท˚าสัญญา(3)ลักษณะของสถานที่ท˚าการผลิต(4)xxxxxและหน้าที่ของคู่สัญญา(5)ผลตอบแทน
8 FAO, Guiding principles for responsible contract farming operations, (Rome : FAO, 2012), pp. 1-3.
9 UNIDROIT, “Good Corporate Practice in Contract Farming,” papers presented at Consultation Workshop on the UNIDROIT/FAO Legal Guide on Contract Farming organized by UNIDROIT in Rome, (10 October 2014), p.2.
10UNIDROIT, FAO, and IFAD, UNIDROIT/FAO/IFAD Legal Guide on Contract Farming, (Rome: International Institute for the Unification of Private Law, 2015), p.15.
11 Ibid., p.58.
5
12 Ibid., p.62.
จากการด˚าเนินงานและเงื่อนไขในการช˚าระเงิน (6) รายxxxxxxxxxxจัดหาปัจจัยการผลิต (7) ก˚าหนดราคาของปัจจัยการผลิต(8)
ข้อยกเว้นความรับผิด(9)การเยียวยาความเสียหายจากการไม่ปฏิบัติxxxxxxxx(10)ระยะเวลาของสัญญา(11)การต่ออายุสัญญา
(12) การสิ้นสุดของสัญญา (13) วิธีระงับข้อพิพาท(14) ผลจากการไม่ปฏิบัติxxxxxxxx และ(15) การลงนามในสัญญา13
2.4.2 การxxxxxxxการกฎหมายภายในประเทศให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติของสถาบัน UNIDROITโดยค˚านึงxxxxxx สร้างความชัดเจนของกฎหมายการก˚าหนดมาตรการเยียวยาความเสียหายในระบบเกษตรพันธสัญญาการก˚าหนดมาตรการระงับ ข้อพิพาทระหว่างคู่สัญญาการก˚าหนดอ˚านาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐและการปิดช่องว่างทางกฎหมายด้วยแนวทางขององค์การ สหประชาชาติ14
3.แนวปฏิบัติของการท˚าเกษตรพันธสัญญาตามกฎหมายต่างประเทศ
จากการรายงานการประชุมเชิงวิชาการของสถาบันUNIDROIT ได้มีการกล่าวถึงนโยบายทางกฎหมายที่ใช้ในการ ก˚ากับดูแลการท˚าสัญญาการผลิตของประเทศอินเดีย ประเทศฝรั่งเศส และประเทศสหรัฐอเมริกา เนื่องจากทั้งสามประเทศเป็น กลุ่มประเทศตัวอย่างที่ประสบความส˚าเร็จในการก˚ากับดูแลการท˚าเกษตรพันธสัญญาที่เป็นธรรมท˚าให้ สถาบันUNIDROITได้ น˚าเอากรณีศึกษาซึ่งเป็นแบบอย่างxxxxxดังกล่าวมายกร่างเป็นแนวปฏิบัติxxxxxในการก˚ากับดูแลการท˚าเกษตรพันธสัญญา15 ซึ่ง มาตรการทางกฎหมายของทั้งสามประเทศมีรายละเอียดโดยสังเขป ดังนี้
3.1 พระราชบัญญัติการตลาดเกษตรกรรม ค.ศ. 2007
พระราชบัญญัติการตลาดเกษตรกรรม ค.ศ. 2007(Agricultural Produce Marketing Committee Act 2007: APMCAct 2007)เป็นกฎหมายพิเศษหรือกฎหมายเฉพาะที่ใช้ในการก˚ากับดูแลการท˚าเกษตรพันธสัญญาในประเทศอินเดียโดย ปรับปรุงมาจากพระราชบัญญัติการตลาดเกษตรกรรมค.ศ2003 (Agricultural Produce Marketing Committees Act 2003: APMC Act 2003) ซึ่งพระราชบัญญัติการตลาดเกษตรกรรม ค.ศ 2003 เป็นกฎหมายที่ยกร่างโดยมีเจตนารมณ์เพื่อจัดตั้ง คณะกรรมการตลาดซึ่งเป็นตัวแทนของเกษตรกรและผู้ประกอบธุรกิจทางการเกษตรในการยกร่างและตรวจสอบสัญญาการผลิต
13 Ibid., pp.70-74.
14 Ibid., pp.17-18.
6
15 UNIDROIT, “Report on First Meeting of the UNIDROIT Working Group for the preparation of a Legal Guide on Contract Farming,” papers presented at UNIDROIT Working Group for the preparation of a Legal Guide on Contract Farming UNIDROIT Rome, (28 – 13 January 2013), pp.2-4.
ท˚าหน้าที่เป็นคนกลางผู้ไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาทอันเกี่ยวกับการท˚าเกษตรพันธสัญญา16 รวมถึงให้อ˚านาจเจ้าหน้าที่รัฐในการ อุทธรณ์ค˚าพิพากษาแทนxxxxxxxxxxxxxxxได้รับความเสียหายจากการท˚าเกษตรพันธสัญญา (APMC Act 2003, Article 38 (2))แต่ เนื่องจากไม่มีบทบัญญัติกฎหมายให้เจ้าหน้าที่รัฐแทรกแซงการตัดสินใจของคู่สัญญาxxx xxxท˚าให้xxxxxxxแก้ไขปรับปรุง พระราชบัญญัติการตลาดเกษตรกรรมค.ศ 2007 ขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยการก˚าหนดให้การท˚าสัญญาการผลิตต้องใช้ แบบฟอร์มสัญญามาตรฐานที่ยกร่างโดยรัฐ (APMCAct 2007, Article 40) และห้ามมิให้มีการแก้ไขแบบฟอร์มสัญญามาตรฐาน ดังกล่าวหากหลีกเลี่ยงหรือฝ่าฝืนบทบัญญัติในพระราชบัญญัติการตลาดเกษตรกรรมค.ศ2007ผู้ฝ่าฝืนจะถูกด˚าเนินคดี(APMC Act 2007, Article 38) นอกจากนี้ แบบฟอร์มของสัญญามาตรฐานดังกล่าวก˚าหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจทางการเกษตรต้องระบุ
เงื่อนไขรายละเอียดในการรับซื้อผลผลิตอย่างละเอียด(APMCAct 2007, Article 45) รวมทั้งก˚าหนดให้สัญญาการผลิตจะต้องระบุ
ระยะเวลาของสัญญาเป็นอย่างน้อยหนึ่งฤดูกาลxxxxxxxx (APMCAct2007, Article 46)
3.2 กฎหมายชนบท
กฎหมายชนบท(RuralCode)หมวดกฎหมายชนบทและการประมง(Coderuraletdelapêchemaritime:RuralCode)เป็น กฎหมายพิเศษหรือกฎหมายเฉพาะที่ใช้ในการก˚ากับดูแลการท˚าเกษตรพันธสัญญาในประเทศฝรั่งเศสให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของ สหภาพยุโรปที่ก˚าหนดให้การท˚าเกษตรพันธสัญญาใดๆ ต้องใช้สัญญามาตรฐานเดียวกัน เรียกว่า “แบบสัญญาบูรณาการ” (IntegrationContract)เพื่อสร้างxxxxxในกระบวนการต่อรองระหว่างเกษตรกรผู้ประกอบธุรกิจทางการเกษตรและผู้จัดหาปัจจัยการ ผลิต(ArticleL326-1)โดยกฎหมายดังกล่าวได้ก˚าหนดให้การท˚าสัญญาบูรณาการจะต้องมีการระบุวิธีการค˚านวณราคาของผลผลิต และค่าบริการของเกษตรกรผู้ผลิตและผู้ให้บริการให้ชัดเจนลงในสัญญา(ArticleL326-3)พร้อมทั้งระบุรายละเอียดเกี่ยวกับความ เสี่ยงในการผลิตxxxxเหตุปัจจัยที่ท˚าให้ผลผลิตเสื่อมคุณภาพเหตุปัจจัยที่ท˚าให้ราคาของxxxxxxxxxxxxxเปลี่ยนแปลง(ArticleL326- 6) รวมถึงก˚าหนดให้มีการระบุรายละเอียดของปัจจัยการผลิตให้ชัดเจน (Article R326-1(2)) ทั้งนี้ สัญญาบูรณาการที่จัดท˚าขึ้น ระหว่างคู่สัญญาต้องน˚าส่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรเสมอ (Article L326-9) แต่หากคู่สัญญาxxxxxxxจะแก้ไขเพิ่มเติม ข้อก˚าหนดในสัญญาให้นอกเหนือจากแบบของสัญญาบูรณาการจะต้องน˚าส่งสัญญาบูรณาการฉบับดังกล่าวแก่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงเกษตรเพื่อพิจารณาและต้องผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมาธxxxxxxxแห่งกระทรวงอาหารเกษตรและป่าไม้ ก่อนจึงจะมี ผลใช้บังคับระหว่างคู่สัญญา(ArticleL326-5)
7
3.3 กฎหมายคุ้มครองผู้ผลิต ค.ศ. 2000
กฎหมายคุ้มครองผู้ผลิตค.ศ.2000(ProducerProtectionAct2000)เป็นการกฎหมายที่ยกร่างขึ้นโดยมลรัฐxxxxxxxxxxน˚า ต้นแบบการยกร่างมาจากกฎหมายประจ˚าxxxxxxxxเนสโซต้าและมลรัฐข้างเคียง17 ซึ่งมีเจตนารมณ์เพื่อคุ้มครองเกษตรกรผู้ผลิตจาก สัญญาการผลิตxxxxxxเป็นธรรมในระบบเกษตรพันธสัญญา18 ด้วยวิธีการก˚าหนดเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่˚าของการท˚าสัญญาการผลิต กล่าวคือสัญญาการผลิตที่จัดท˚าขึ้นต้องใช้ภาษาที่เกษตรกรxxxxxxเข้าใจได้โดยง่าย (Section 4) ซึ่งคู่สัญญาจะต้องก˚าหนด ข้อตกลงและรายละเอียดในสัญญาด้วยความโปร่งใสและxxxxxx(Section3)และโดยเฉพาะผู้ประกอบธุรกิจทางการเกษตรมีหน้าที่ ต้องเปิดเผยข้อมูลความเสี่ยงจากการเข้าท˚าสัญญาการผลิตให้แก่เกษตรกรผู้ผลิตทราบพร้อมทั้งระบุรายละเอียดสาระส˚าคัญโดย สรุปเกี่ยวกับข้อตกลงของการเข้าท˚าสัญญาการผลิตไว้บนใบปะหน้าของสัญญา (Section 4 (B)) รวมถึงจะต้องส่งมอบสัญญาการ ผลิตฉบับxxxxxxxให้แก่หน่วยงานxxxxxxxxภายใต้การดูแลของกระทรวงเกษตรกรรมเพื่อตรวจสอบรายละเอียดของสัญญาและให้ การรับรองสัญญาเพื่อให้มีผลบังคับใช้ทางกฎหมาย(Section4(C))นอกจากนี้ กฎหมายยังให้xxxxxแก่เกษตรกรในการน˚าสัญญาการ ผลิตที่ร่างใหม่ไปขอค˚าปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญเพื่อประกอบการตัดสินใจก่อนเข้าท˚าสัญญาxxx xxxxxxxxxxxxหากเกษตรกรได้ลง นามในสัญญาไปแล้วเกษตรกรจะมีxxxxxขอยกเลิกสัญญาภายใน3วันนับแต่วันลงนามในสัญญา(Section5)
4. บทวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายในการคุ้มครองxxxxxเกษตรกรในระบบเกษตรพันธสัญญาของประเทศไทย และแนวทางแก้ไขปัญหาของต่างประเทศ
จากการศึกษาพระราชบัญญัติxxxxxxxxและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา พ.ศ. 2560 พบว่า พระราชบัญญัติ ดังกล่าวมีxxxxxxxxxxxxจะสร้างอ˚านาจต่อรองxxxxxxxxxxxxกันระหว่างคู่สัญญาในระบบเกษตรพันธสัญญา เพื่อให้การท˚าเกษตร พันธสัญญาในประเทศไทยเป็นไปตามมาตรฐานระดับxxxxxxxxxxxxxxxxพระราชบัญญัติดังกล่าวยังxxมีข้อบกพร่องเนื่องจาก ไม่มีxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxให้ความคุ้มครองเกษตรกรจากการถูกเอารัดเอาเปรียบในระบบเกษตรพันธสัญญา กล่าวคือ กฎหมายxxxxxxxxxxxxxแนวทางการร่างสัญญาxxxxxxxxxเป็นมาตรฐาน ซึ่งอาจท˚าให้เกิดสัญญาการผลิตที่มีลักษณะหลากหลาย และxxxxxxxและการก˚าหนดให้เกษตรกรเป็นผู้ตรวจสอบสัญญาการผลิตด้วยตนเอง (มาตรา22)โดยxxxxxxค˚านึงถึงความรู้ด้าน กฎหมายของเกษตรกร ก็อาจท˚าให้เกษตรกรที่xxxxxxxxxxxถึงลักษณะข้อสัญญาxxxxxxเป็นธรรมแล้วถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้
17 UNIDROIT, supra note 3, p.12.
8
18 Xxxxxx Xxxx, “State Regulation of Production Contracts,” A National Agricultural Law Center Research Publication, pp.4 (2006).
ประกอบธุรกิจทางการเกษตรได้ รวมxxxxxxไม่xxxxxxxให้การก˚าหนดข้อตกลงรักษาความลับในสัญญาไม่มีผลใช้บังคับ(มาตรา 26)ผู้ประกอบธุรกิจทางการเกษตรก็อาจจะใช้ช่องว่างทางกฎหมายห้ามไม่ให้เกษตรกรน˚าสัญญาการผลิตไปขอค˚าปรึกษาจาก บุคคลภายนอก อาทิxxxx ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายหรือเจ้าหน้าที่รัฐได้ อีกทั้งการที่พระราชบัญญัติดังกล่าวxxxxxxxให้การ ก˚าหนดราคาผลผลิตxxxxxxอ้างอิงจากราคาตลาดณเวลาใดก็ได้ (มาตรา21(6))ก็อาจเป็นการเปิดช่องให้ผู้ประกอบธุรกิจทางการ เกษตรฉวยโอกาสน˚าราคาตลาดต่˚าสุดมาอ้างอิงเป็นราคาของผลผลิตในสัญญาได้ โดยก˚าหนดเป็นราคาxxxxxตลอดอายุของสัญญา การผลิตในขณะที่ราคาของปัจจัยการผลิตxxxxxที่ ท˚าให้ไม่เป็นธรรมแก่เกษตรกร ทั้งนี้ เมื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายของ ต่างประเทศกลับพบว่าข้อxxxxxxxxxxกล่าวในข้างต้น xxxxxxแก้ไขและป้องกันได้ โดยการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ระบบเกษตรพันธสัญญาเสียใหม่ให้มีมาตรการคุ้มครองเกษตรกรที่เหมาะสมตามประเด็นปัญหาดังต่อไปนี้
4.1 ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับข้อก˚าหนดขั้นต่˚าและการไม่มีสัญญามาตรฐานในระบบเกษตรพันธสัญญา
จากการศึกษาพบว่าพระราชบัญญัติxxxxxxxxและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา พ.ศ. 2560xxxxxxxxxxxxxแนว ทางการร่างสัญญาxxxxxxxxxเป็นมาตรฐานกลางซึ่งอาจท˚าให้เกิดสัญญาการผลิตที่มีลักษณะหลากหลายxxxxxxxและยุ่งยากต่อการ
ตรวจสอบในขณะที่เมื่อศึกษากฎหมายคุ้มครองผู้ผลตค.ศ.2000ของประเทศสหรัฐอเมริกากลับพบว่ามีมาตรการทางกฎหมายที่ให้
ความส˚าคัญแก่เกษตรกรผู้ผลิตเป็นอย่างมากโดยกฎหมายได้xxxxxxxลักษณะของสัญญาการผลิตที่เป็นธรรมแก่เกษตรกร(Section 3)และก˚าหนดให้การร่างสัญญาการผลิตที่ใช้ในระบบเกษตรพันธสัญญาจะต้องมีรายละเอียดข้อก˚าหนดตามที่กฎหมายได้ก˚าหนด ไว้ (Section 4) อีกทั้งเมื่อศึกษากฎหมายชนบทของประเทศฝรั่งเศสและและกฎหมายการตลาดเกษตรกรรมค.ศ.2003ของประเทศ อินเดีย ก็พบว่าทั้งสองประเทศต่างมีแบบสัญญามาตรฐานบังคับใช้ในระบบเกษตรพันธสัญญา กล่าวคือสัญญาแม่แบบและ สัญญาบูรณาการ เพื่อไม่ให้สัญญาการผลิตมีความxxxxxxxและยากต่อการท˚าความเข้าใจแก่เกษตรกร รวมถึงควบคุมการร่าง สัญญาไม่ให้มีข้อสัญญาxxxxxxxxxxxxxxxxxxเกษตรกรเกิดขึ้น ทั้งนี้ การมีสัญญามาตรฐานยังช่วยให้หน่วยงานผู้รับผิดชอบ ตรวจสอบสัญญาxxxxxxตรวจสอบเนื้อหาของสัญญาได้อย่างรวดเร็วและแม่นย˚ามากขึ้นอีกด้วยเนื่องจากสัญญามีเพียงลักษณะ เดียวซึ่งข้อก˚าหนดส่วนใหญ่ได้ถูกก˚าหนดขึ้นเป็นมาตรฐานโดยรัฐและส˚าหรับส่วนที่ไม่มีข้อก˚าหนดมาตรฐานก็จะถูกควบคุม โดยกฎหมายซึ่งได้ก˚าหนดหลักเกณฑ์การร่างสัญญาที่เป็นธรรมไว้แล้ว
4.2 ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับกระบวนการตรวจสอบสัญญาการผลิตให้เป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย
9
จากการศึกษาพบว่าพระราชบัญญติxxxxxxxxและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญาพ.ศ. 2560ยังxxไม่มีการให้อ˚านาจ แก่หน่วยงานใดเป็นผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบสัญญาให้แก่คู่สัญญาในระบบเกษตรพันธสัญญา ซึ่งแม้ว่ากฎหมายจะ ก˚าหนดให้ส˚านักปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นผู้รวบรวมส˚าเนาสัญญาการผลิต (มาตรา 20)แต่ส˚าเนาสัญญาการผลิต
ดังกล่าวจะถูกใช้เพียงเพื่อเป็นหลักฐานในกรณีที่เกิดข้อพิพาทระหว่างคู่สัญญาเท่านั้น(มาตรา29วรรคท้าย)ซึ่งเกษตรกรจ˚าต้อง เป็นผู้ตรวจสอบสัญญาการผลิตด้วยตนเอง โดยมีเวลาตรวจสอบหลังการลงนามสัญญา 30วันเมื่อพ้นช่วงเวลาดังกล่าวกฎหมาย ให้xxxxxxสัญญามีผลใช้บังคับ(มาตรา22)แม้ว่าสัญญาอาจมีเงื่อนไขxxxxxxเป็นธรรรมแก่เกษตรกรก็ตามทั้งนี้ หากเกษตรกรไม่xxx xxxxxxxxถึงความไม่เป็นธรรมของสัญญา เกษตรกรก็อาจถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบธุรกิจทางการเกษตรได้
แต่เมื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายของต่างประเทศ กลับพบว่ามาตรการทางกฎหมายของต่างประเทศ ก˚าหนดให้หน่วยงานรัฐเป็นผู้ตรวจสอบสัญญาการผลิตแก่คู่สัญญา (APMC Act 2003, Article 38 (2); Rural Code, Article L326-9; Minnesota Statutes, Section 17.91 (2)) ซึ่งประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศฝรั่งเศสได้มีบทบัญญัติเพิ่มเติมว่า หากการตรวจสอบของเจ้าหน้าที่รัฐพบว่าสัญญาการผลิตมีข้อตกลงที่มีลักษณะไม่xxxxxxx xxxxxxxxx หรือไม่เป็นธรรม แก่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง สัญญาฉบับนั้นจะถูกปฏิเสธการรับรองและไม่มีผลใช้บังคับโดยปริยาย (Rural Code , Article L326-4; Minnesota Statutes, Section 17.94) ทั้งนี้ ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศฝรั่งเศสได้ให้อ˚านาจนี้แก่กระทรวง เกษตรกรรม และประเทศอินเดียได้มอบหน้าที่นี้ให้แก่คณะกรรมการตลาด ประเทศเหล่านี้มีบทบัญญัติของกฎหมายใน เรื่องนี้xxxxxxประเทศไทย จึงท˚าให้มีข้อxxxxxxxxxxxxใดประเทศไทยจึงไม่น˚าบทบัญญัติดังกล่าวมาใช้บ้าง
4.3 ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับข้อสัญญาที่ไม่มีผลบังคับใช้
พระราชบัญญัติxxxxxxxxและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา พ.ศ. 2560ของประเทศไทย ยังxxxxxxให้การคุ้มครอง เกษตรเพียงพอเนื่องจากเกษตรกรอาจถูกข้อก˚าหนดเกี่ยวกับการรักษาความลับปิดกั้นไม่ให้เกษตรกรxxxxxxน˚าสัญญาการผลิต ไปปรึกษาผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายหรือเจ้าหน้าที่รัฐได้19
ในขณะที่กฎหมายคุ้มครองผู้ผลิต ค.ศ. 2000 ของประเทศสหรัฐอเมริกา กลับให้เกษตรกรxxxxxxน˚าสัญญา การผลิตไปปรึกษาผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมาย เจ้าหน้าที่รัฐ และสหกรณ์การเกษตร หรือหารือกับเกษตรกรรายอื่นได้โดย xxxxxxxซึ่งเป็นxxxxxxxxxxxxxxxxxxxขึ้นครั้งแรกโดยมลรัฐแคนซัส (Kansas Statutes, Annotated Chapter 16-1701(b)(5)) ส˚าหรับประเทศอินเดีย กฎหมายการตลาดเกษตรกรรม ค.ศ. 2003 ได้ให้xxxxxแก่เกษตรกรในการน˚าสัญญาการผลิตไป ปรึกษาสหกรณ์การเกษตรและกลุ่มเกษตรกรได้ โดยข้อสัญญารักษาความลับจะไม่มีผลบังคับใช้ในกรณีดังกล่าวและ ส˚าหรับประเทศฝรั่งเศส กฎหมายชนบทได้xxxxxxxให้หน่วยงานบริหารการท˚าเกษตรพันธสัญญาส่วนภูมิภาค สังกัด กระทรวงเกษตร เป็นผู้ให้ค˚าปรึกษาแก่เกษตรกรเกี่ยวกับการท˚าสัญญา ซึ่งหมายรวมxxxxxxตรวจสอบสัญญาให้เกษตรกร
10
19 xxxxxxxxx xxxxx, xxxxxxxx xxxxxxxxxx, xxxxx xxxxนานันท์, “กลยุทธ์การต่อรองของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่เนื้อภายใต้ระบบเกษตร พันธสัญญา: กรณีศึกษาxxxxxxxxxxxxx จังหวัดลพบุรี,” 38 วารสารวิจัยสังคม 183, 205-206 (2558).
รับทราบและเข้าใจ โดยข้อสัญญารักษาความลับจะไม่มีผลใช้บังคับกับเกษตรกรที่เปิดเผยเนื้อหาของสัญญากับเจ้าหน้าที่ รัฐ (Rural Code, Article 326-8)
4.4 ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับมาตรการก˚าหนดราคาผลผลิต
เมื่อศึกษาพระราชบัญญัติxxxxxxxxและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา พ.ศ. 2560 ของประเทศไทย จะเห็นว่า กฎหมายได้xxxxxxxให้การก˚าหนดราคาผลผลิตxxxxxxอ้างอิงมาจากราคาตลาด ณ เวลาใดก็ได้ (มาตรา 21(6)) ซึ่งเป็นการ เปิดช่องให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจทางการเกษตรxxxxxxน˚าราคาผลผลิตในตลาด ณ xxxxxxราคาตลาดต่˚าสุดมาอ้างอิงเป็นราคา ของxxxxxxxxxใช้ในสัญญาได้โดยxxxxxxx ท˚าให้เกษตรกรxxxxxxได้ใช้ความระมัดระวังอย่างxxxxxxxxxxเข้าท˚าสัญญา โดยที่จะxxxxxxรับค่าตอบแทนที่เป็นธรรมและเหมาะสม นอกจากนั้น การที่กฎหมายก˚าหนดให้ราคาผลผลิตในสัญญา จะต้องเป็นราคาxxxxx xxxส่งผลเสียในxxxxxให้แก่เกษตรกรxxxxกัน เนื่องจากเกษตรกรยังต้องแบกรับความเสี่ยงจากการ รับซื้อปัจจัยการผลิตที่ราคาxxxxxที่และมีxxxxxxxxxxจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบอีกว่าปัจจุบันมีผู้ ประกอบธุรกิจทางการเกษตรที่ใช้ข้อตกลงหรือเงื่อนไขในสัญญาในการก˚าหนดให้เกษตรกรต้องจ˚ายอมต่อเกณฑ์วัด คุณภาพxxxxxxเป็นไปตามมาตรฐานxxxx xxxx ก˚าหนดให้เกษตรกรต้องชั่งน้˚าหนักผลผลิตผ่านเครื่องชั่งน้˚าหนักที่ผู้ ประกอบธุรกิจทางการเกษตรเป็นผู้จัดเตรียมมาในวันรับมอบผลผลิตเท่านั้น20 เป็นต้น
ส˚าหรับประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศฝรั่งเศสต่างมีกฎหมายที่ใช้ควบคุมการก˚าหนดราคาซื้อขายผลผลิตทาง การเกษตรซึ่งรับหลักการมาจากอนุสัญญาว่าด้วยกฎหมายรูปแบบของการก่อให้เกิดสัญญาส˚าหรับการซื้อขายระหว่างประเทศที่ xxxxxxxโดยสหประชาชาติ (United Nations Convention on Contracts for the International Sale of Goods : CISG 1980)โดย ก˚าหนดให้ราคาผลผลิตในสัญญาซื้อขายผลผลิตทางการเกษตรจะต้องอ้างอิงมาจากราคาตลาด ณ xxxxxxท˚าสัญญาและต้องเป็น ราคาที่สูงกว่าราคาตลาดณวันดังกล่าว(Article55)นอกจากนี้ ราคาปัจจัยการผลิตก็ต้องอ้างอิงมาจากราคาปัจจัยการผลิตในตลาด ณxxxxxxท˚าสัญญาxxxxกันโดยราคาทั้งสองอย่างจะเป็นราคาxxxxx (Fixed Price) เพื่อให้xxxxxxxxxxxxสองฝ่ายรับความเสี่ยงอย่างเท่า เทียมกัน ถึงกระนั้นประเทศสหรัฐอเมริกากลับไม่มีมาตรการควบคุมการก˚าหนดข้อตกลงเกี่ยวกับอายุของสัญญาส่งผลให้ xxxxxxxxxxxท˚าสัญญาระยะยาว อาจxxxxxxxxกระทบจากความxxxxxxของราคาตลาดจนสูญเสียโอกาสและรายได้ ท˚าให้การ ก˚าหนดราคารับซื้อแบบxxxxxตามแนวทางของประเทศสหรัฐอเมริกาอาจไม่เหมาะสมแก่บริบทของประเทศไทย ในทางตรงข้าม
11
กฎหมายชนบทของประเทศฝรั่งเศสก˚าหนดให้สัญญาการผลิตมีอายุไม่เกิน 1 ปีเท่านั้น (Article L326-7)เพื่อป้องกันไม่ให้ คู่สัญญาต้องรับความเสี่ยงจากความxxxxxxของราคาตลาดมากเกินxxxxxxx ราคาตลาดมีแนวโน้มสูงขึ้นในขณะที่ราคาผลผลิต และราคาปัจจัยการผลิตในระบบเกษตรพันธสัญญายังxxอยู่ที่ราคาเดิม เป็นต้น อย่างไรก็ตาม เนื่องจากความxxxxxxของราคา ตลาดในประเทศไทยมีอัตราxxxxxxรายxxxxxxรุนแรงและระยะเวลาเพียง1ปีอาจส่งผลให้ทั้งราคาผลผลิตและราคาปัจจัยการผลิต เปลี่ยนแปลงไปเป็นเท่าตัวท˚าให้การเลือกxxxxxxxการกฎหมายให้เป็นไปตามอนุสัญญา CISG อาจยังไม่เหมาะสมกับบริบทของ ประเทศไทย
ทั้งนี้ เมื่อศึกษาพระราชบัญญัติการตลาดเกษตรกรรม ค.ศ. 2003 (APMC Act 2003)ของประเทศอินเดียก็พบว่า รัฐบาลอินเดียมีมาตรการก˚ากับดูแลการก˚าหนดราคาผลผลิตทางการเกษตรที่แตกต่างออกไป โดยรัฐบาลเข้าควบคุมการก˚าหนด ราคาผลผลิตและปัจจัยการผลิตโดยเบ็ดเสร็จกล่าวคือกฎหมายได้ให้อ˚านาจแก่คณะกรรมการตลาดในการเป็นผู้ก˚าหนดราคาขั้น ต่˚าของผลผลิตทางการเกษตรในระบบตลาดปิดหรือระบบเกษตรพันธสัญญาเพื่อให้การซื้อขายผลผลิตทางการเกษตรเป็น มาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ (Article 27)ซึ่งผู้ประกอบธุรกิจทางการเกษตรจะไม่มีxxxxxในการตั้งเงื่อนไขในสัญญาการผลิต เพื่อให้ราคาผลผลิตทางการเกษตรต่˚ากว่าที่รัฐก˚าหนด (Article 42(2)) รวมถึงจะต้องช˚าระราคาผลผลิตตามเกณฑ์ราคาที่ คณะกรรมการตลาดก˚าหนดไว้ในวันรับมอบผลผลิตอีกด้วย (Article 41(2))ทั้งนี้ ผู้ประกอบธุรกิจทางการเกษตรหรือเกษตรกร จะต้องxxxxxxxเวลาและสถานที่ส่งมอบผลผลิตให้คณะกรรมการทราบเพื่อให้คณะกรรมการจัดส่งตัวแทนหรือxxxxxxxxxxxxxxxxxxx เข้าตรวจสอบ และชั่งน้˚าหนักผลผลิตให้แก่คู่สัญญา (Article 33(1))โดยน้˚าหนักของผลผลิตจะต้องวัดจากเครื่องชั่งน้˚าหนักของ คณะกรรมการตลาดที่ตัวแทนหรือxxxxxxxxxxxxxxxxxxxเป็นผู้น˚ามาเท่านั้น (Article 33(2)) หากมีการฝ่าฝืนหรือแอบอ้างหรือ ปรับเปลี่ยนมาตรชั่งของเครื่องชั่งน้˚าหนักให้ไม่ตรงตามมาตรฐานที่กฎหมายก˚าหนดเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลเครื่องชั่งน้˚าหนักดังกล่าว หรือตัวแทนจะมีโทษทั้งจ˚าxxxและปรับตามที่กฎหมายก˚าหนด(Article 33(6))
5. ข้อเสนอแนะ
ทั้งนี้ เพื่อปรับปรุงพระราชบัญญัติxxxxxxxxและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา พ.ศ. 2560 ให้มี มาตรการคุ้มครองเกษตรกรที่เหมาะสม จึงxxxxxปรับปรุงกฎหมายต่อไปในxxxxxดังต่อไปนี้
12
(1) xxxxxบังคับใช้แบบสัญญามาตรฐานในระบบเกษตรพันธสัญญา ซึ่งรัฐบาลต้องเป็นผู้ก˚าหนด เนื้อหาส่วนใหญ่ของสัญญาเพื่อxxxxxxความเสี่ยงของคู่สัญญาอย่างเท่าเทียม โดยแบบสัญญามาตรฐานxxxxxควร
จะต้องมีองค์ประกอบตามที่สถาบัน UNIDROIT ได้เสนอไว้ ซึ่งจะต้องมีการระบุค˚าอธิบายเบื้องต้นไว้อย่าง ชัดเจนและเข้าใจง่ายด้วย
(2) xxxxxมีการจัดตั้งหน่วยงานรัฐขึ้นมาเพื่อรับผิดชอบตรวจสอบและรับรองสัญญาการผลิตให้แก่ เกษตรกร โดยก˚าหนดให้เป็นหน่วยงานภายใต้สังกัดของคณะกรรมการxxxxxxxxและพัฒนาระบบเกษตรพันธ สัญญา และส˚านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวคือ จัดตั้งหน่วยงานส่วนภูมิภาคเป็นผู้ตรวจสอบ สัญญาการผลิตที่จดแจ้งเพื่อการท˚าเกษตรพันธสัญญา พร้อมทั้งประทับตรารับรองความถูกต้อง โปร่งใส และ เป็นธรรมในสัญญา ให้แก่สัญญาที่มีความถูกต้อง โปร่งใส และเป็นธรรมแก่คู่สัญญา
(3) xxxxxxxxxxxxให้ข้อสัญญารักษาความลับไม่มีผลใช้บังคับในกรณีที่เกษตรกรน˚าสัญญาการผลิต ไปปรึกษาผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายหรือเจ้าหน้าที่รัฐ
(4) xxxxxxxxxxxxมาตรการก˚าหนดราคาผลผลิตของประเทศอินเดียมาไว้เป็นหมวดหนึ่งของ พระราชบัญญัติxxxxxxxxและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา พ.ศ. 2560 โดยให้ชื่อว่า “การก˚าหนดราคาผลผลิต”
บรรณานุกรม
xxxxx ศุภxxxxxxxxx. “อาหารไทยก˚าลังวิกฤต 5 บรรษัทผูกขาด ท˚าสัญญาส˚าเร็จรูปบีบเกษตรกรให้ ผลิ ตระดมสร้ างเครื อข่ ายรื้ อระบบxxx xxx เป็ นธรรม .” xxxx://xxxxxxxx.xxx/xxxxxxxxxxxx/xxxx
.php?ids=671, 20 พฤศจิกายน 2557.
xxxxxxxxx xxxxx. xxxxxxxx xxxxxxxxxx. xxxxx xxxxนานันท์. “กลยุทธ์การต่อรองของเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ เนื้อภายใต้ระบบเกษตรพันธสัญญา: กรณีศึกษาชุมชนท้ายตลาด จังหวัดลพบุรี.” 38 วารสาร วิจัยสังคม183, 205-206 (2558).
xxxx xxxxxxx. การส˚ารวจองค์ความรู้เพื่อการxxxxxxประเทศไทย: เกษตรพันธสัญญา ภาพรวมและบท ส˚ารวจประเด็นปัญหาในประเทศไทย. นนทบุรี : สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556.
13
xxxxxxxx xxxxxxxxx, xxxxxxx xxxxxxxxxxx และ พรสิริ xxxxxxxxxxxx . “ผลกระทบต่อเกษตรกรราย ย่อย ความเชื่อมโยงต่อนโยบายสาธารณะ.” ความเสี่ยงในการเกษตรระบบพันธะสัญญาใน จังหวัดเชียงใหม่และล˚าพูน, (2554) : 2-14.
ส˚ านั กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. “พระราชxxxxx xx คุ้ มครองxx xxxx xx x พ.ศ. 2542.” xxxxx xxx
-นุเบกษา เล่ม 116. ตอนที่ 118. (14 พฤศจิกายน 2542).
ส˚านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. “พระราชบัญญัติxxxxxxxxและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญา พ.ศ.
2560.” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134. ตอนที่ 56 ก (26 พฤษภาคม 2560).
xxx x อั ศวานั น ท์ . “ พ . ร . บ . เ กษตร พั นธสั ญญา ความx xx xสู่ การ พั ฒนาระบบที่ เ ป็ นxxxx. ” xxxx://xxx.xxxxxxxx.xx. th/news386366, 2xxxxxx 2560.
Xxxxxx Xxxx. “State Regulation of Production Contracts.” A National Agricultural Law Center Research Publication. 4 (2006) : 4-20.
Xxxxxxx Xxxxx and Xxxxxx Xxxxxxxx. Contract farming: Partnerships for growth. Rome : FAO, 2001.
Food and Agriculture Organization of the United Nations. Guiding principles for responsiblecontract farming operations. Rome : FAO, 2012.
Food and Agriculture Organization of the United Nations. International Treaty on Plant Genetic Resources for Food and Agriculture. Rome : Food and Agriculture Organization of the United Nations, 2009.
International Institute for the Unification of Private Law, Food and Agriculture Organization of the United Nations, and International Fund for Agricultural Development, UNIDROIT/FAO/IFAD Legal Guide on Contract Farming, Rome: UNIDROIT, 2015.
International Institute for the Unification of Private Law. “Good Corporate Practice in Contract Farming.” Papers presented at Consultation Workshop on the UNIDROIT/FAO Legal Guide on Contract Farming in Rome, (2014).
International Institute for the Unification of Private Law. “Preparation of a Legal Guide on Contract Farming: A preliminary outline of issues.” Papers presented at UNIDROIT Working Group for the Preparation of a Legal Guide on Contract Farming in Rome, 2012.
14
International Institute for the Unification of Private Law. “Report on First Meeting of the UNIDROIT Working Group for the preparation of a Legal Guide on Contract Farming.” Papers presented at UNIDROIT Working Group for the preparation of a Legal Guide on Contract Farming in Rome, 2013.
Jain R.C.A. “Regulation and Dispute Settlement in Contract Farming in India.” xxxx://xxx.xxxx.xxx.xx/ contract_%20farming/Resources/16.1%20RCAJain.pdf, 22 February 2012.
Martin Prowse. Contract farming in developing countries: a review. Paris : Agence Française de Développement, 2012.
15
Xxxxxx Xxx Xxxxxx. “Agricultural Producer Protection Act of 2000.” xxxxx://xxx.xxxxxxxx.xx/xxxxxxxx/xxxx s/106/s3243/text,20 January 2015.