สารบัญ 1. ชื่อหลักสูตร หน้า2 2. ชื่อวุฒิบัตร 2 3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ 2 4. พันธกิจของการฝึกอบรม/หลักสูตร 2 5. ผลลัพธ์ของการฝึกอบรม/หลักสูตร 3 6. แผนการฝึกอบรม/หลักสูตร 4 6.1. วิธีการให้การฝึกอบรม6.2. เนื้อหาของการฝึกอบรม6.3. จํานวนปีของการฝึกอบรม6.4....
หลักสูตรและเกณฑ์การฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านxxxxxx เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา)
พ.ศ. 2563
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สารบัญ 1. ชื่อหลักสูตร | หน้า 2 |
2. ชื่อวุฒิบัตร | 2 |
3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ | 2 |
4. พันธกิจของการฝึกอบรม/หลักสูตร | 2 |
5. ผลลัพธ์ของการฝึกอบรม/หลักสูตร | 3 |
6. แผนการฝึกอบรม/หลักสูตร | 4 |
6.1. วิธีการให้การฝึกอบรม 6.2. เนื้อหาของการฝึกอบรม 6.3. จํานวนปีของการฝึกอบรม 6.4. การบริหารจัดการการฝึกอบรม 6.5. สภาวะการปฏิบัติงาน 6.6. การวัดและประเมินผล 7. การรับและคัดเลือกแพทย์ประจําบ้านxxxxxx 8. อาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม 9. ทรัพยากรทางการศึกษา 10. การประเมินแผนการฝึกอบรม / หลักสูตร 11. การทบทวน / พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม 12. xxxxxxxxxxและการบริหารจัดการ 13. การประกันคุณภาพการฝึกอบรม ภาคxxxxxxx 1 รายนามคณะกรรมการหลักสูตรฯ ภาคxxxxxxx 2 การเปิดหลักสูตร ทรัพยากรของหลักสูตร ภาคxxxxxxx 3 เนื้อหาสังเขปของการฝึกอบรม ภาคxxxxxxx 4 Clinical Skills In Pain Medicine ภาคxxxxxxx 5 Entrustable professional activity (EPA) ภาคxxxxxxx 6 Direct observe procedural skills (DOP) ภาคxxxxxxx 7 การประเมินการปฏิบัติงาน ภาคxxxxxxx 8 แบบคําร้องขอตรวจสอบผลการสอบ / ประเมินผลแพทย์ประจําบ้านxxxxxx ภาคxxxxxxx 9 การรับแพทย์ประจําบ้านxxxxxx ภาคxxxxxxx 10 การสอบเพื่อวุฒิบัตรฯ และหนังสืออนุมัติฯ | 4 9 14 14 14 14 16 17 18 19 19 20 20 21 23 28 35 39 52 56 57 58 60 |
เกณฑ์หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านxxxxxx เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา)
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2563
1. ชื่อหลักสูตร
(ภาษาไทย) หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านxxxxxxเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความ ชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญี วิทยา)
(ภาษาอังกฤษ) Fellowship Training in Pain Medicine (Anesthesiology)
2. ชื่อวุฒิบัตร
ชื่อเต็ม
(ภาษาไทย) วุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา)
(ภาษาอังกฤษ) Diploma of the Thai Board of Pain Medicine (Anesthesiology)
ชื่อย่อ
(ภาษาไทย) วว. อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) (ภาษาอังกฤษ) Dip, Thai Board of Pain Medicine (Anesthesiology) คําแสดงxxxxxxxฝึกอบรมท้ายชื่อ
(ภาษาไทย) วว. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx (วิสัญญีวิทยา)
(ภาษาอังกฤษ) Diplomate, Thai Board of Pain Medicine (Anesthesiology)
3. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. พันธกิจของการฝึกอบรม/หลักสูตร “ผลิตวิสัญญีแพทย์เฉพาะทางด้านการระงับปวดแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ให้การรักษาตามมาตรฐาน
ทางการแพทย์xxxxxxxxxx เป็นผู้นําทางวิชาการ สร้างงานวิจัยเพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการระดับชาติและ นานาชาติ xxxxด้วยคุณธรรมxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx”
ความปวดเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดที่ทําให้ผู้ปุวยมารับการรักษาในโรงพยาบาล การบําบัดความปวดมี บทบาทสําคัญในการดูแลรักษาผู้ปุวยทุกสาขา องค์การอนามัยโลกได้กําหนดให้ความปวดเป็นสัญญาณชีพที่ 5 และเป็นxxxxxพื้นฐานของผู้ปุวยที่จะได้รับการบําบัดความปวดอย่างเหมาะสม การจัดการกับความปวดxxxxxx เหมาะสมนําไปสู่ภาวะแทรกซ้อนหรือโรคเรื้อรังxxxxxxxxxx ซึ่งอาจส่งผลให้ผู้ปุวยอยู่โรงพยาบาลนานขึ้น ส่งผล กระทบต่อชีวิตผู้ปุวย ครอบครัวและสังคมรอบด้าน วิวัฒนาการทางการแพทย์ในปัจจุบันทําให้ผู้ปุวยรอดชีวิต xxxxxขึ้นหรือมีอาการปวดซ้ํา xxxx โรคมะเร็ง ความปวดเรื้อรังหลังการผ่าตัด (post-surgical pain syndrome) อาการปวดจากภาวะแทรกซ้อนจากเคมีบําบัดและรังสีรักษา เป็นต้น นอกจากนี้ อุบัติการณ์ของโรคที่เกิดจากการ ทํางานหรือภาวะเสื่อมถอยของร่างกายxxxxxขึ้น xxxx อาการปวดหลัง ปวดคอ หรือปวดข้อเรื้อรัง (chronic musculoskeletal pain) หรือความปวดเนื่องจากพยาธิสภาพของระบบxxxxxx (neuropathic pain)
การบําบัดความปวดที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดความทุกข์ทรมานและxxxxxคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้ปุวย จําเป็นต้อง อาศัยแพทย์ที่มีความรู้ความชํานาญและประสบการณ์ในด้านการระงับปวด การฝึกอบรมเฉพาะทางอนุสาขา
“เวชศาสตร์ความปวด” (Pain Medicine) มีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกอบรมxxxxxxและพัฒนาศักยภาพวิสัญญีแพทย์ ให้มีความรู้ ความชํานาญและทักษะด้านการระงับปวด เพื่อประโยชน์ต่อผู้ปุวยที่มารับการรักษาอย่างสูงสุด โดย xxxxxxxxxxxxxxxมีคุณภาพของหลักสูตรมีคุณลักษณะxxxxxxที่พึงxxxxxxxของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้
1. เป็นxxxxxxxxxxxxxxxมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกายวิภาค สรีรวิทยา ชีวเคมี และเภสัชวิทยาของความปวด และการให้ยาระงับปวด มีความxxxxxxวิเคราะห์แยกโรค วินิจฉัยสาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความ ปวด วางแผนการรักษาร่วมกับทีมแพทย์สหสาขา (multi-disciplinary approach) รวมทั้งประเมิน ผลการรักษา
2. เป็นxxxxxxxxxxxxxxxมีความรู้ ความxxxxxx และทักษะทางคลินิกในการให้การระงับปวดด้วยวิธีการ ต่าง ๆ แก่ผู้ปุวยที่มีความปวดเฉียบพลันและเรื้อรัง ได้แก่ การใช้ยาระงับปวด การระงับปวดด้วยวิธีไม่ใช้ ยา (non-pharmacological pain management) การทําxxxxxxxระงับปวด (interventional pain management) และการแนะนําดูแลด้านจิตใจ xxxxxx สังคมที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับผู้ปุวยและครอบครัว รวมทั้งการดูแลรักษาผู้ปุวยในระยะสุดท้ายของชีวิต
3. เป็นxxxxxxxxxxxxxxxมีทักษะทางการสื่อสาร ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น วิเคราะห์ ติดตามความxxxxxxxxทางวิชาการและงานวิจัยเกี่ยวกับวิสัญญีวิทยาทั่วไปและเวชศาสตร์ความปวด รวมทั้งทักษะการบริหารจัดการและการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
4. เป็นxxxxxxxxxxxxxxxมีความxxxxxxสร้างงานวิจัย การสร้างองค์ความรู้ใหม่ พัฒนาทักษะในการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับสถิติทางการแพทย์
5. มีความเป็นผู้นํา มีความรับผิดชอบ xxxxxxถ่ายทอดความรู้และทักษะทางเวชศาสตร์ความปวดให้กับ วิสัญญีแพทย์หรือแพทย์สาขาอื่นที่เกี่ยวข้องได้
6. มีการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์การทํางานร่วมกับบุคลากรอื่น ๆ การทํางานเป็นกลุ่ม การบริหารจัดการ มี ความรู้ความเข้าใจในระบบสุขภาพ กระบวนการคุณภาพ และความปลอดภัย การบริหารความเสี่ยง เพื่อให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
7. มีคุณธรรมและจริยธรรมทางวิชาชีพ มีทัศนคติและเจตคติxxxxxต่อผู้ปุวย ผู้ร่วมงานและองค์กร รวมทั้งมี จิตสํานึกต่อส่วนรวมและองค์กรที่ทํางาน
5. ผลลัพธ์ของการฝึกอบรม/หลักสูตร
แพทย์ที่จบการฝึกอบรมเป็นแพทย์เฉพาะทางอนุสาขาวิสัญญีวิทยา สาขาเวชศาสตร์ความปวด ต้องมี คุณสมบัติและความรู้ความxxxxxxขั้นต่ําตามสมรรถนะหลัก (competency) ทั้ง 6 ด้าน ดังนี้
5.1. การดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีอาการปวด (Patient care)
5.1.1. มีทักษะในการดูแลผู้ปุวยที่มีอาการปวดแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ตั้งแต่การประเมินผู้ปุวย การ วิเคราะห์ความปวด การวินิจฉัย การรักษาความปวดแบบองค์รวม และการดูแลต่อเนื่อง
5.1.2. มีทักษะและการตัดสินใจวิธีให้การระงับปวดให้เหมาะสมกับผู้ปุวยแต่ละคน
5.2. ความรู้ ความxxxxxxxxx และความxxxxxxในการนําไปใช้แก้ปัญหาของผู้ป่วยที่มีอาการปวดทุกวัยและ สังคมรอบด้าน (Medical knowledge and skills)
5.2.1. มีความรู้พื้นฐานในการบําบัดความปวดทุกวิธี
5.2.2. มีทักษะด้านวิสัญญีในการระงับปวด
5.3. การเรียนรู้จากการปฏิบัติ และการพัฒนาตนเอง
5.3.1. ดําเนินการวิจัยทางการแพทย์และสาธารณสุขได้
5.3.2. วิพากษ์บทความและงานวิจัยทางการแพทย์
5.3.3. เรียนรู้และxxxxxประสบการณ์ได้ด้วยตนเองจากการปฏิบัติ
5.4. ทักษะปฏิสัมพันธ์ และการสื่อสาร (Interpersonal and communication skills)
5.4.1. นําเสนอข้อมูลผู้ปุวยที่มีอาการปวด และอภิปรายปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ
5.4.2. ถ่ายทอดความรู้และทักษะให้แพทย์ นิสิตแพทย์ พยาบาล และบุคลากรทางการแพทย์
5.4.3. สื่อสารให้ข้อมูลแก่ญาติ ผู้ดูแลและผู้ปุวย ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมแก่วัยและมีประสิทธิภาพด้วย xxxxx xxxxxการตัดสินใจและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
5.4.4. มีxxxxxxxxxxxxxxxxดี ทํางานกับผู้ร่วมงานทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ
5.4.5. เป็นที่ปรึกษาและให้คําแนะนําแก่แพทย์และบุคคลากรอื่น โดยเฉพาะทางอนุสาขาวิสัญญีวิทยาเวช ศาสตร์ความปวด
5.5. ความเป็นมืออาชีพ (Professionalism)
5.5.1. xxxxxxxxx xxxxxxxx และxxxxxxxxxxxต่อผู้ปุวย ญาติ ผู้ร่วมงาน เพื่อนร่วมวิชาชีพและชุมชน
5.5.2. มีทักษะxxxxxxxไม่ใช่เทคนิค (anesthesia non-technical skills) และxxxxxxบริหารจัดการ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องได้เหมาะสม
5.5.3. มีความสนใจxxxรู้ และxxxxxxพัฒนาไปสู่ความเป็นผู้เรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต ( continuous professional development)
5.5.4. มีความรับผิดชอบต่องานxxxxxxรับมอบหมาย
5.5.5. คํานึงถึงxxxxxxxxxxส่วนรวม
5.6. การปฏิบัติงานให้เข้ากับระบบ (System-based practice)
5.6.1. มีความรู้เกี่ยวกับระบบสุขภาพของประเทศ
5.6.2. มีความรู้และมีส่วนร่วมในระบบพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ปุวยที่มีอาการปวดอย่างต่อเนื่อง
5.6.3. มีความตระหนักรู้ในการใช้ทรัพยากรสุขภาพอย่างเหมาะสม (cost consciousness medicine) และxxxxxxปรับเปลี่ยนการดูแลรักษาผู้ปุวยให้เข้ากับบริบทของการบริการสาธารณสุขได้ตาม มาตรฐานวิชาชีพ
6. แผนการฝึกอบรม/หลักสูตร
6.1. วิธีการให้การฝึกอบรม
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวช กรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็น หลักสูตรที่ฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านxxxxxxโดยมีการสอนความรู้xxxxxxxxxxxไปกับการฝึกปฏิบัติงาน โดย จะxxxxxความยากและxxxxxxxของผู้ปุวยให้มากขึ้นตามปีการฝึกอบรม
6.1.1. สมรรถนะการดูแลรักษาผู้ป่วย (patient care)
หลักสูตรจัดตารางการฝึกอบรมให้แพทย์ประจําบ้านxxxxxxหมุนเวียนไปปฏิบัติงานในความดูแลของ อาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม โดยมีผู้ปุวย สถานที่ และทรัพยากรการฝึกอบรมxxxxxxxxxx (ภาคxxxxxxx 2) เพื่อให้มีประสบการณ์ด้านการดูแลผู้ปุวยครบตามหลักสูตร โดยมีตารางการฝึกอบรมตามชั้นปี (ตาราง ที่ 1) ดังต่อไปนี้
6.1.1.1. แพทย์ประจําบ้านxxxxxxปีที่ 1 เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการอาการปวดในระดับxxxxxxxxxx ดังนี้
- ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ประเมินและวินิจฉัยความปวดแบบองค์รวม โดยยึดผู้ปุวยเป็น ศูนย์กลางได้อย่างถูกต้องทั้งความปวดเฉียบพลัน ปวดเรื้อรัง และปวดจากโรคมะเร็ง
- ใช้ความรู้ ความชํานาญ ประสบการณ์ ความxxxxxxในการตัดสินใจในการรักษา และทํา xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
- xxxxxxทํางาน ดูแลผู้ปุวยแบบสหสาขา คัดกรองผู้ปุวย และส่งปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ตามปัญหาของผู้ปุวย
6.1.1.2. แพทย์ประจําบ้านxxxxxxปีที่ 2 เพิ่มพูนประสบการณ์ตามข้อ 6.1.1.1 และเรียนรู้เกี่ยวกับการ จัดการความปวดในระดับxxxxxxx
6.1.1.3. ใช้ความรู้ ความชํานาญ ประสบการณ์ ความxxxxxxในการตัดสินใจในการรักษา และ ปฏิบัติงานในสาขาการบําบัดความปวดในหอผู้ปุวยในและผู้ปุวยนอก รวมทั้งให้คําปรึกษาที่ ห้องฉุกเฉิน
6.1.1.4. แพทย์ประจําบ้านxxxxxxทุกชั้นปี เรียนและปฏิบัติงานในสาขาวิชาเฉพาะทางต่าง ๆ ได้แก่ การระงับปวดเฉียบพลัน ห้องผ่าตัดศัลยกรรมออโธปิดิกส์ การระงับปวดเรื้อรังจากมะเร็งและ ไม่ใช่มะเร็ง
6.1.1.5. แพทย์ประจําบ้านxxxxxxทุกชั้นปี ได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับxxxxxxxและเครื่องมือที่ใช้ใน การบําบัดความปวด ได้แก่ เครื่องฉายภาพรังสี เครื่องอัลตราซาวน์ เครื่องกําเนิดคลื่นวิทยุเพื่อ การบําบัดความปวด และเครื่องตรวจ quantitative sensory testing (QST) รวมxxxxxxxรับ การฝึกอบรมการทําxxxxxxxบําบัดความปวดระดับพื้นฐานและxxxxxxx
ตารางที่ 1 ตารางหมุนเวียนปฏิบัติงานของแต่ละปีการฝึกอบรม
ชั้นปี | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. |
1 | Chronic pain | Chronic pain | Chronic pain | Research | APS/ RA | Rehab* | Chronic pain | APS/ RA | Psychi*/ Xxxxxxxx | APS/ RA | Chronic pain | Chronic pain |
2 | Chronic pain | Palliative* | Chronic pain | Chronic pain | Chronic pain | Chronic pain | Chronic pain | APS | Research | APS | Chronic pain | Elective |
6.1.2. ความรู้ ความxxxxxxxxx และความxxxxxxทางการแพทย์ (medical knowledge and skills) ในการนําไปใช้แก้ปัญหาของผู้ป่วย แพทย์ประจําบ้านxxxxxxฝึกอบรมโดยเรียนxxxxxxxxxxxกับการ ฝึกปฏิบัติ (ภาคxxxxxxx 3, 4, 5 และ 6)
6.1.2.1. แพทย์ประจําบ้านxxxxxxทุกชั้นปี เรียนวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐานประยุกต์ด้านเวช ศาสตร์ความปวด (Correlated basic medical pain medicine) ร่วมกับแพทย์ประจําบ้าน วิสัญญีวิทยาในรายวิชาหลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก คือ Pain Therapy
6.1.2.2. แพทย์ประจําบ้านปีที่ 1 เพิ่มพูนความรู้ ความxxxxxxxxx และทักษะทางคลินิกในสาขาอื่นที่ เกี่ยวข้องกับเวชศาสตร์ความปวด ได้แก่ เวชศาสตร์ฟื้นฟู จิตเวชศาสตร์ อายุรกรรมระบบ xxxxxx (ตารางที่ 1)
6.1.2.3. แพทย์ประจําบ้านปีที่ 2 เพิ่มพูนความรู้ ความxxxxxxxxx และทักษะทางคลินิกในสาขาอื่นที่ เกี่ยวข้องกับเวชศาสตร์ความปวด ได้แก่ การดูแลผู้ปุวยระยะสุดท้าย (palliative care) (ตารางที่ 1)
6.1.2.4. แพทย์ประจําบ้านxxxxxxทุกชั้นปี ได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับxxxxxxxบําบัดความปวด การ ทํา peripheral nerve block/catheter และการฝึกอบรมทางวิสัญญีวิทยา (ตารางที่ 2)
6.1.2.5. แพทย์ประจําบ้านxxxxxxทุกชั้นปี เข้าร่วมในกิจกรรมทางวิชาการ xxxx interesting case, pain topic review, pain intervention review, journal club, interhospital pain conference และ acute pain conference เป็นต้น (ตารางที่ 3)
ตารางที่ 2 workshop สําหรับแพทย์ประจําบ้านxxxxxx
Ultrasound-guided peripheral nerve block |
Ultrasound-guided pain interventions |
Fluoroscopic-guided pain interventions |
ACLS training |
ตารางที่ 3 กิจกรรมวิชาการรายสัปดาห์
วัน/เวลา | 7.30-8.30 | 12.00-13.00 | 13.00-14.00 | 15.00-16.00 |
วันxxxxxx | Pain topic review | |||
xxxxxx | Interhospital acute pain conference | Case conference/ MM conference/ Ethic conference | ||
วันพฤหัสบดี | Anesthesia Journal club | |||
วันศุกร์ | Acute pain conference (เดือน เมย-กค) | สัปดาห์ที่ 1: Pain intervention review สัปดาห์ที่ 2: Interesting case/research club สัปดาห์ที่ 3: Advanced pain topic review สัปดาห์ที่ 4: Pain Journal club สัปดาห์ที่ 5: Pain MM conference |
6.1.3. การพัฒนาตนเองและการเรียนรู้จากการปฏิบัติ (practice-based learning and improvement) แพทย์ประจําบ้านxxxxxxทุกชั้นปีควร (ตารางที่ 4)
6.1.3.1. มีประสบการณ์การเรียนรู้ในการดูแลผู้ปุวยแบบองค์รวมและสหวิชาชีพ
6.1.3.2. ปฏิบัติงานสอนแพทย์ประจําบ้านวิสัญญีวิทยาหรือแพทย์ประจําบ้านxxxxxxได้
6.1.3.3. บันทึกข้อมูลในเวชระเบียนผู้ปุวยได้อย่างถูกต้องxxxxxxx
6.1.3.4. เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง xxxx การทบทวนและสืบค้นวารสารทางวิชาการผ่าน เครือข่ายสารสนเทศ การนําเสนอผลงานผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (xxxx Zoom)
6.1.3.5. ได้รับการฝึกอบรมทางด้านระบาดxxxxxพื้นฐานและxxxxxxทํางานวิจัยโดยเป็นผู้วิจัยหลัก หรือร่วม ให้เสร็จxxxxxxxอย่างน้อยหนึ่งเรื่อง
ตารางที่ 4 แผนการสอนการพัฒนาตนเองและการเรียนรู้จากการปฏิบัติ
แพทย์ประจําบ้านxxxxxxปีที่ 1-2 | แผนการสอน |
การเรียนรู้ในการดูแลผู้ปุวยแบบองค์รวมและสหวิชาชีพ | - การปฏิบัติงานดูแลผู้ปุวยที่มีความปวดเฉียบพลัน และเรื้อรัง ทั้งแบบผู้ปุวยในและผู้ปุวยนอก - การปฏิบัติงานอยู่ภายใต้การดูแลของอาจารย์ |
ปฏิบัติงานสอนแพทย์ประจําบ้านหรือแพทย์ประจําบ้าน xxxxxx | - การนําเสนอกิจกรรมวิชาการ - การสอนข้างxxxxxระหว่างการปฏิบัติงาน |
บันทึกข้อมูลในเวชระเบียนผู้ปุวยได้อย่างถูกต้องxxxxxxx | - การอบรมการบันทึกใบบันทึกเวชระเบียน การสั่งยา และการทํานัด ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic medical records, EMR) - การตรวจสอบใบบันทึกเวชระเบียนโดยอาจารย์ |
เรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง | - มีห้องสมุด หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และสื่อการสอน - นําเสนอผลงานผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
ได้รับการฝึกอบรมทางด้านระบาดxxxxxพื้นฐานและ xxxxxxทํางานวิจัยโดยเป็นผู้วิจัยหลักหรือร่วม | - จัดอบรมพนฐานงานวิจัยทุกรูปแบบและจริยธรรม การทําวิจัย (Good Clinical Practice (GCP) training) - การนําเสนอโครงร่างงานวิจัย - การขออนุมัติจริยธรรมการวิจัย - การเก็บข้อมูล วิเคราะห์ผล สรุปและเขียนรายงาน การวิจัย - การเขียนขอทุนวิจัย - นําเสนองานวิจัย |
6.1.4. ทักษะปฏิสัมพันธ์ และการสื่อสาร (interpersonal and communication skills) แพทย์ประจํา บ้านxxxxxxทุกชั้นปีต้อง (ตารางที่ 5)
6.1.4.1. เรียนรู้เกี่ยวกับทักษะปฏิสัมพันธ์ และการสื่อสาร
6.1.4.2. ปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์ประจําบ้านxxxxxxxxxxxxxxxปฏิบัติงานในหน่วยระงับปวด แพทย์ ประจําบ้านสาขาอื่นและบุคลากรอื่นที่เกี่ยวข้องระหว่างการปฏิบัติงาน
6.1.4.3. นําเสนอข้อมูลผู้ปุวยและอภิปรายปัญหา ระหว่างการสอนข้างxxxxxและในกิจกรรมวิชาการ xxx xxxx case conference เป็นต้น
ตารางที่ 5 แผนการสอนทักษะปฏิสัมพันธ์ และการสื่อสาร
แพทย์ประจําบ้านxxxxxxปีที่ 1-2 | แผนการสอน |
การเรียนรู้เกี่ยวกับทักษะปฏิสัมพันธ์ และการสื่อสาร | - สังเกตพฤติกรรม และสอนทักษะปฏิสัมพันธ์ และการ สื่อสารระหว่างการปฏิบัติงาน - เข้าร่วม counseling และกิจกรรม anesthesia non- technical skill (ANTS) workshop - เข้าร่วม family meeting เรียนรู้และพัฒนาทักษะการ สื่อสารระหว่างทีมแพทย์ ผู้ปุวยและครอบครัว |
แพทย์ประจําบ้านxxxxxxปีที่ 1-2 | แผนการสอน |
สอนแพทย์ประจําบ้านและบุคลากรอื่นระหว่างการ ปฏิบัติxxx | xxxสอนแพทย์ประจําบ้าน ระหว่างการปฏิบัติxxx |
xxxนําเสนอกิจกรรมวิชาการ | - Case conference/interhospital conference นําเสนอข้อมูลผู้ปุวย และอภิปรายปัญหา - Journal club - Topic discussion |
6.1.5. ความเป็นมืออาชีพ (professionalism) แพทย์ประจําบ้านxxxxxxทุกชั้นปีต้อง (ตารางที่ 6)
6.1.5.1. เข้าร่วมกิจกรรมการให้ความรู้ทางด้านบูรณาการทางการแพทย์
6.1.5.2. มีความสนใจxxxรู้ และxxxxxxพัฒนาไปสู่ความเป็นผู้เรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต (continuous professional development)
6.1.5.3. พัฒนาตนเองให้มีเจตคติxxxxxระหว่างการปฏิบัติงานดูแลผู้ปุวยโดยเข้าอบรม counseling และ non-technical skills
6.1.5.4. xxxxxxxxx จริยธรรมทางการแพทย์ (medical ethics) และเจตคติxxxxxต่อผู้ปุวยและ ครอบครัว ผู้ร่วมงาน เพื่อนร่วมวิชาชีพและคํานึงถึงxxxxxxxxxxส่วนรวม
ตารางที่ 6 แผนการสอนความเป็นมืออาชีพ
แพทย์ประจําบ้านxxxxxxปีที่ 1-2 | แผนการสอน |
กิจกรรมการให้ความรู้ทางด้านบูรณาการทางการแพทย์ | - Case conference / ethics conference / MM conference - Family meeting - Palliative care conference |
มีความสนใจxxxรู้ และxxxxxxพัฒนาไปสู่ความเป็นผู้เรียนรู้ ต่อเนื่องตลอดชีวิต | - การทํากิจกรรมวิชาการ (journal club, pain intervention review, topic review) - การเข้าร่วมประชุมกิจกรรมวิชาการอย่างสม่ําเสมอ |
พัฒนาตนเองให้มีเจตคติxxxxxระหว่างการปฏิบัติงาน | - Counseling / ANTS workshop |
มีคุณธรรม จริยธรรมทางการแพทย์ ความรับผิดชอบ และ คํานึงถึงxxxxxxxxxxส่วนรวม | - การอบรมจริยธรรมทางการแพทย์ - การเข้าร่วมประชุม ethic conference - การสอนระหว่างการดูแลผู้ปุวย |
6.1.6. การปฏิบัติงานให้เข้ากับระบบ (system-based practice)
แพทย์ประจําบ้านxxxxxxทุกชั้นปีจะต้องมีประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับระบบคุณภาพของ โรงพยาบาล, patient safety, crisis and resource management, กระบวนการคุณภาพและความ ปลอดภัยของผู้ปุวย รวมทั้งระบบสุขภาพของชาติ
ตารางที่ 7 แผนการสอนการปฏิบัติงานให้เข้ากับระบบ
แพทย์ประจําบ้านxxxxxxปีที่ 1-2 | แผนการสอน |
การเรียนรู้เกี่ยวกับระบบคุณภาพของโรงพยาบาล, patient safety, crisis resource management, กระบวนการคุณภาพและความปลอดภัยของผู้ปุวย รวมทั้งระบบประกันสุขภาพของชาติ | - การปฐมนิเทศแพทย์ประจําบ้านของโรงพยาบาล - การปฐมนิเทศแพทย์ประจําบ้านxxxxxxของหน่วย ระงับปวด - Case conference / morbidity and mortality conference |
ในกระบวนการเรียนรู้ 6.1.1-6.1.6 หลักสูตรฯ กําหนดให้
- ต้องมีอาจารย์กํากับดูแล (supervision)
- อาจารย์มีการประเมินค่า (appraisal) และการให้ข้อมูลปูอนกลับ (feedback) แก่แพทย์ประจําบ้านxxxxxx
- แพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องแสดงความรับผิดชอบต่อกระบวนการเรียนรู้ของตนเองและมีกระบวนการสะท้อน การเรียนรู้ (self-reflection)
ข้อตกลงของการปฏิบัติงาน พฤติกรรมที่พึงxxxxxxxของแพทย์ประจําบ้านxxxxxx คือ
- มีความรับผิดชอบตามงานxxxxxxรับมอบหมาย
- ปฏิบัติกับผู้ปุวยและบุคลากรที่เกี่ยวข้องด้วยคุณธรรม xxxxxxแห่งวิชาชีพ เคารพxxxxxผู้ปุวย แนวปฏิบัติของ สถาบัน และเรื่องความxxxxxxx
- ปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรม xxxxxxxxxxxxถูกต้อง
- ไม่เสพสารเสพติด
หากแพทย์ประจําบ้านxxxxxxไม่ปฏิบัติตามข้อตกลง คณะกรรมการหลักสูตรจะพิจารณาลงโทษตามความรุนแรงของ ความผิดตั้งแต่การว่ากล่าวxxxxxxxx ภาคทัณฑ์ จนถึงการยุติการฝึกอบรม
6.2. เนื้อหาของการฝึกอบรม/หลักสูตร
6.2.1. ความรู้พื้นฐานของการบําบัดความปวด และระบบที่เกี่ยวข้อง (ภาคxxxxxxx 2)
6.2.2. โรคหรือภาวะของผู้ป่วย แบ่งเป็น
ระดับที่ 1 กลุ่มอาการปวดที่พบบ่อย และ/หรือ มีความสําคัญ ซึ่งแพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องดูแล รักษาได้ด้วยตนเอง
ระดับที่ 2 กลุ่มอาการปวดที่พบบ่อย และ/หรือ มีความสําคัญ ที่พบน้อยกว่าระดับ 1 และมี
ความสําคัญ ซึ่งแพทย์ประจําบ้านxxxxxx ควรดูแลรักษาได้ ภายใต้การควบคุมของ อาจารย์
ระดับที่ 3 กลุ่มอาการปวดที่พบบ่อย และ/หรือ มีความสําคัญ ที่พบน้อยกว่าระดับ 1 และมี ความสําคัญซึ่งแพทย์ประจําบ้านxxxxxx อาจดูแลรักษาได้หรือxxxxxxเรียนรู้โดย
การศึกษาด้วยตนเองหรือฟังบรรยาย และสถาบันฝึกอบรมควรจัดให้มีการเรียนรู้โรคใน กลุ่มนี้อย่างพอเพียง
ตามที่กําหนดใน clinical skills ด้านต่าง ๆ ในภาคxxxxxxx 3
6.2.3. xxxxxxxทางวิสัญญีวิทยาในการบําบัดปวด แบ่งเป็น
ระดับที่ 1 xxxxxxxxxxแพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องทําได้ด้วยตนเอง
ระดับที่ 2 xxxxxxxxxxแพทย์ประจําบ้านxxxxxxควรทําได้ (ทําภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ) ระดับที่ 3 xxxxxxxxxxแพทย์ประจําบ้านxxxxxxอาจทําได้ (ช่วยทําหรือได้เห็น) ตามที่กําหนดใน procedural skills ด้านต่าง ๆ ในภาคxxxxxxx 4
6.2.4. การดูแลผู้ป่วยตามสมรรถนะของวิสัญญีแพทย์เวชศาสตร์ความปวด (Entrustable profess- sional activity; EPA)
1. การซักประวัติและตรวจร่างกายผู้ปุวยเพื่อแยกสาเหตุ และxxxxxxผลนําไปสู่การวินิจฉัยสาเหตุ ของความปวด (history taking and physical examination)
2. การประเมินความปวดและผลของความปวดต่อการดํารงชีวิตอย่างรอบด้าน และพิจารณาส่ง ปรึกษาแพทย์เฉพาะทางสาขาอื่น ๆ ได้อย่างเหมาะสม (multidimensional pain assessment and measurement)
3. การประเมินความปวดจากโรคมะเร็ง วินิจฉัยแยกสาเหตุ วางแผนการรักษา ให้การรักษา และ ติดตามการรักษา รวมทั้งอธิบายให้คําแนะนําแก่ผู้ปุวยและครอบครัวได้ (cancer pain management)
4. การประเมินความปวดที่ไม่ใช่มะเร็ง วินิจฉัยแยกสาเหตุ วางแผนการรักษา ให้การรักษา และ ติดตามการรักษา รวมทั้งอธิบายให้คําแนะนําแก่ผู้ปุวยและครอบครัวได้ (non-cancer pain management)
5. การประเมินความปวดแบบเฉียบพลัน วินิจฉัยแยกสาเหตุ วางแผนการรักษา ให้การรักษา และ ติดตามการรักษา รวมทั้งอธิบายให้คําแนะนําแก่ทีมแพทย์ที่เกี่ยวข้อง แพทย์ประจําบ้าน พยาบาล ผู้ปุวยและครอบครัวได้ (acute pain management)
6. การประเมินความปวดที่เกิดจากเส้นxxxxxx (neuropathic pain) วินิจฉัยแยกสาเหตุ วาง แผนการรักษา ให้การรักษา และติดตามการรักษา รวมทั้งอธิบายให้คําแนะนําแก่ทีมแพทย์ที่ เกี่ยวข้อง แพทย์ประจําบ้าน พยาบาล ผู้ปุวยและครอบครัวได้ (acute pain management)
7. การจัดการความปวดในผู้ปุวยระยะสุดท้ายxxxxxxรับการดูแลแบบประคับประคองโดยใช้แนวทางสห สาขาวิชาชีพ (palliative care)
8. การให้การรักษาความปวดโดยไม่ใช้ยา xxxxxxอธิบายและเลือกใช้ modality ได้อย่างเหมาะสม (non-pharmacological pain management)
9. การให้การรักษาความปวดกระดูกสันหลังด้วยการทําxxxxxxxบําบัดความปวด (spine intervention) xxxxxxเลือกผู้ปุวยที่เหมาะสม ข้อบ่งชี้และข้อห้ามของxxxxxxx วิธีการทํา xxxxxxxอย่างปลอดภัย การบันทึกเวชระเบียน ติดตามผลการรักษา และการเฝูาระวัง ภาวะแทรกซ้อน
10. การให้การรักษาความปวดด้วยการทําxxxxxxxบําบัดความปวด (somatic/sympathetic block) xxxxxxเลือกผู้ปุวยที่เหมาะสม ข้อบ่งชี้และข้อห้ามของxxxxxxx วิธีการทําxxxxxxxอย่างปลอดภัย การบันทึกเวชระเบียน ติดตามผลการรักษา และการเฝูาระวังภาวะแทรกซ้อน
ตามที่กําหนดใน assessment of EPA ด้านต่าง ๆ ตามกําหนดเวลาที่xxxxxจะทําได้ (milestone) ในภาคxxxxxxx 5
ตารางที่ 8 แสดงความxxxxxxxxระหว่าง EPA และ competency ด้านต่าง ๆ
Competency | EPA1 | EPA2 | EPA3 | EPA4 | EPA5 | EPA6 | EPA7 | EPA8 | EPA9 | EPA10 |
Patient care | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ |
Medical knowledge | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ |
Practice based learning & improvement | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ |
Interpersonal & Communication skills | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ |
Professionalism | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ |
System based practice | ⚫ | ⚫ | ⚫ | ⚫ |
6.2.5. การทําวิจัย
ขั้นตอนการทํางานวิจัย เพื่อวุฒิบัตร อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา)
6.2.5.1. การทํางานวิจัย
แพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องทํางานวิจัย xxxx งานวิจัยแบบ retrospective, prospective หรือ cross sectional อย่างน้อย 1 เรื่อง หรือทํา systematic review หรือ meta-analysis 1 เรื่อง ใน ระหว่างการปฏิบัติงาน 2 ปี โดยเป็นผู้วิจัยหลัก/ร่วม งานวิจัยดังกล่าวต้องประกอบด้วยหัวข้อหลัก ดังนี้
- xxxxxxxxxxของการวิจัย
- วิธีการวิจัย
- ผลการวิจัย
- xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
- บทคัดย่อ
6.2.5.2. ขอบเขตความรับผิดชอบ
เนื่องจากความxxxxxxในการทําวิจัยด้วยตนเองเป็นสมรรถนะหนึ่งที่แพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้อง xxxxxตามหลักสูตรฯฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2558 และผลงานวิจัยฉบับxxxxxxxเป็นองค์ประกอบหนึ่งของการ ประเมินคุณสมบัติผู้ที่จะได้รับวุฒิบัตรฯ เมื่อสิ้นสุดการฝึกอบรม ดังนั้นสถาบันฝึกอบรมรับผิดชอบการ เตรียมความพร้อมให้กับแพทย์ประจําบ้านxxxxxxในการเตรียมโครงร่างการวิจัย ไปจนสิ้นสุดการทํางาน วิจัย และจัดทํารายงานวิจัยฉบับxxxxxxxเพื่อนําส่งราชวิทยาลัยฯ ทั้งนี้สถาบันฝึกอบรมจะต้องรายงานชื่อ งานวิจัย xxxxxxxxxxปรึกษา และความคืบหน้าของงานวิจัย ตามกรอบเวลาที่กําหนดไปยังราชวิทยาลัยฯ เพื่อให้มีการกํากับดูแลอย่างทั่วถึง
6.2.5.3. คุณลักษณะของงานวิจัย
6.2.5.3.1. เป็นผลงานที่ริเริ่มใหม่ หรือเป็นงานวิจัยที่ใช้xxxxxxxxxมีการศึกษาxxxxxxทั้งในและ ต่างประเทศ แต่นํามาดัดแปลงหรือทําซ้ําในบริบทของสถาบัน
6.2.5.3.2. แพทย์ประจําบ้านxxxxxxและอาจารย์ผู้ดําเนินงานวิจัยทุกxx xxxผ่านการอบรมด้าน จริยธรรมการวิจัยในคน และ good clinical practice (GCP)
6.2.5.3.3. งานวิจัยทุกเรื่องต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยฯของสถาบัน
6.2.5.3.4. งานวิจัยทุกเรื่อง ควรดําเนินภายใต้ข้อกําหนดของ GCP หรือxxxxxxxวิจัยที่ถูกต้องและ เหมาะสมกับคําถามวิจัย
6.2.5.3.5. ควรใช้ภาษาอังกฤษในการนําเสนอผลงานวิจัยฉบับxxxxxxxโดยเฉพาะในบทคัดย่อ
6.2.5.4. สิ่งที่ต้องปฏิบัติสําหรับการดําเนินการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย
6.2.5.4.1. เมื่อได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยแล้ว ต้องดําเนินการทําวิจัย ตามข้อตกลงโดยเคร่งครัด
6.2.5.4.2. เมื่อมีการลงนามในเอกสารชี้แจงผู้ปุวยหรือผู้แทนเพื่อให้ยินยอมเข้าร่วมวิจัย ต้องให้ สําเนาแก่ผู้ปุวยหรือผู้แทนxxxxxxx 1 ชุด
6.2.5.4.3. ให้ระบุในเวชระเบียนผู้ปุวยนอกหรือผู้ปุวยในถึงสถานการณ์เข้าร่วมงานวิจัยของผู้ปุวย
6.2.5.4.4. การตรวจหรือรักษาเพิ่มเติมจากโครงการวิจัยที่ผ่านการอนุมัติแล้ว โดยการกระทํา ดังกล่าวxxxxxxเป็นส่วนหนึ่งของการดูแลรักษาผู้ปุวยตามxxxx xxxxxxxxxทําxxxxxxว่า กรณีใด ๆ ทั้งสิ้น ยกเว้นได้มีการระบุและอนุมัติในโครงการวิจัยแล้ว และผู้วิจัยหรือ คณะผู้วิจัยต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งทางตรงและทางอ้อมที่เกิดขึ้นกับผู้ปุวยและ ผู้ดูแลผู้ปุวย
6.2.5.4.5. กรณีที่โครงการวิจัยกําหนดให้ทําการตรวจหรือรักษาที่เพิ่มเติมจากการดูแลรักษาผู้ปุวย ตามxxxx หากมีผลลัพธ์xxxxxxส่งผลต่อประโยชน์ให้การดูรักษาผู้ปุวย ให้ดําเนินการแจ้ง คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยเพื่อวางแผนแจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบต่อไป
6.2.5.4.6. หากเกิดกรณีอื่นนอกเหนือการคาดการณ์ ให้รีบปรึกษาxxxxxxxxxxปรึกษาโครงการวิจัย หรือคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย กรณีxxxxxxxxxxxxปรึกษาได้ ให้ย้อนกลับไปใช้ หลักพื้นฐาน ๓ ข้อ ของจริยธรรมทางการแพทย์ในการตัดสินใจ คือ
6.2.5.4.6.1. การถือประโยชน์สุขของผู้ปุวยเป็นหลัก และการไม่ก่อให้เกิดความทุกข์ทรมานกับ ผู้ปุวย
6.2.5.4.6.2. การเคารพxxxxxของผู้ปุวย
6.2.5.4.6.3. การยึดมั่นในหลักความxxxxxxxของทุกคนในสังคมที่จะได้รับบริการทาง การแพทย์ตามมาตรฐาน
6.2.5.5. กรอบการดําเนินงานวิจัย ในเวลา 2 ปี (24 เดือนของการฝึกอบรม) ระยะเวลาประมาณการมีดังนี้
เดือนที่ ประเภทกิจกรรม
6 | จัดเตรียมคําถามวิจัยและติดต่อxxxxxxxxxxปรึกษาและจัดทําโครงร่างงานวิจัย |
9 | สอบโครงร่างงานวิจัยและขออนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ขอทุนสนับสนุนงานวิจัยจากแหล่งทุนทั้งภายในและนอกสถาบัน (ถ้าต้องการ) |
9 – 12 | เริ่มเก็บข้อมูลและนําเสนอความคืบหน้างานวิจัย |
12 – 18 | วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลงานวิจัย |
18 | จัดทํารายงานวิจัยฉบับร่างให้xxxxxxxxxxปรึกษาปรับแก้ไข |
24 | ส่งรายงานวิจัยฉบับxxxxxxxต่อสถาบัน เพื่อส่งต่อไปยังราชวิทยาลัยฯให้ทํา การประเมินผล สําหรับประกอบคุณสมบัติการเข้าสอบเพื่อวุฒิบัตรฯ ภาคปฏิบัติขั้นสุดท้าย |
6.2.6. การเรียนรู้ทางด้านบูรณาการ
6.2.6.1. ทักษะปฏิสัมพันธ์ และการสื่อสาร (interpersonal and communication skills)
- การสื่อสารและการสร้างความxxxxxxxxxxxดีระหว่างแพทย์ ผู้ร่วมงาน ผู้ปุวยและญาติ
- การบอกข่าวร้าย
- ปัจจัยที่xxxxxxxxความxxxxxxxxxxxดีระหว่างแพทย์และผู้ปุวย
- การบริหารจัดการรายที่มีปัญหาหรือจัดการได้ยาก
- การตระหนักรู้พื้นฐานความเชื่อทางสุขภาพที่ต่างกัน
6.2.6.2. ความเป็นมืออาชีพ
6.2.6.2.1. การบริบาลโดยมีผู้ปุวยเป็นศูนย์กลาง (patient-centered care)
- การยึดถือประโยชน์ของผู้ปุวยเป็นหลัก
- การรักษาความน่าเชื่อถือแก่ผู้ปุวยและสังคม โดยการรักษามาตรฐานการดูแลรักษา ผู้ปุวยให้ดีที่สุด
- การให้เกียรติและยอมรับเพื่อนร่วมวิชาชีพ เพื่อนร่วมงาน ผู้ปุวย และญาติ
- ความxxxxxxปรับตนเองให้เข้ากับสภาวะหรือเหตุการณ์xxxxxxคาดคิดไว้ก่อน
6.2.6.2.2. พฤตินิสัย
- ความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์ และมีxxxxx
- การแต่งxxxเหมาะสมกับกาลเทศะ
6.2.6.2.3. จริยธรรมการแพทย์
- การหลีกเลี่ยงการxxxxxประโยชน์ส่วนตัวในทุกกรณี การนับถือให้เกียรติ xxxxx และรับฟัง ความเห็นของผู้ปุวย ในกรณีผู้ปุวยไม่เห็นด้วยกับการรักษาหรือปฏิเสธการรักษา กรณี ญาติและผู้ปุวยร้องขอตามxxxxxผู้ปุวย
- การขอความยินยอมจากผู้ปุวยและผู้xxxxxxในการดูแลรักษาและxxxxxxx
- การปฏิบัติในกรณีที่ผู้xxxxxxร้องขอการรักษาที่ไม่มีประโยชน์หรือมีอันตราย
- การรักษาความลับและการเปิดเผยข้อมูลผู้ปุวย
- การประเมินขีดความxxxxxx และยอมรับข้อผิดพลาดของตนเอง
6.2.6.2.4. การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
- การกําหนดความต้องการในการเรียนรู้ของตนเอง
- การค้นคว้าความรู้ และประเมินความน่าเชื่อถือได้ด้วยตนเอง
- การประยุกต์ความรู้ที่ค้นคว้ากับปัญหาของผู้ปุวยได้อย่างเหมาะสม
- การวิเคราะห์และวิจารณ์บทความทางวิชาการ
- การเข้าร่วมกิจกรรมวิชาการอย่างสม่ําเสมอ
- การใช้ electronic databases และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเรียนรู้
- การถ่ายทอดความรู้แก่แพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ ผู้ปุวย ผู้xxxxxxและญาติ
6.2.6.3. การปฏิบัติงานให้เข้ากับระบบ
- ความรู้เกี่ยวกับระบบสุขภาพและการพัฒนาสาธารณสุขของชาติ
- ความรู้เกี่ยวกับระบบประกันสุขภาพ xxxx ระบบประกันสุขภาพ ระบบประกันสังคม ระบบสวัสดิการการรักษาพยาบาลของข้าราชการ ผู้พิการ ผู้ใช้แรงงาน เป็นต้น ความรู้ เกี่ยวกับการประกันคุณภาพ และกระบวนการ hospital accreditation การประเมิน ประสิทธิภาพและxxxxxxxxxxของการดูแลรักษา
- ความรู้เกี่ยวกับ cost consciousness medicine xxxx นโยบายการใช้ยาระดับชาติ บัญชียาหลักแห่งชาติ การใช้ยาอย่างสมเหตุผล เป็นต้น
- ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทางการแพทย์
6.2.6.4. การพัฒนาตนเองและการเรียนรู้จากการปฏิบัติ
- ทักษะและจริยธรรมในการวิจัย
- การดูแลรักษาผู้ปุวยแบบทีมสหวิชาชีพ
- การใช้ยาและทรัพยากรอย่างสมเหตุผล
- การบันทึกเวชระเบียนครบถ้วนถูกต้อง
- การประเมินความxxxxของผู้ปุวย
- การมีส่วนร่วมในองค์กรxxxx ภาควิชา/แผนก/กลุ่มงาน โรงพยาบาล/สถาบัน ราช วิทยาลัย เป็นต้น
6.3. จํานวนปีของการฝึกอบรม 2 ปี
6.4. การบริหารการจัดการฝึกอบรม
ภาควิชาฯ แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตร (ภาคxxxxxxx 1) ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบและอํานาจ ในการจัดการ การxxxxxxxxx xxxบริหาร และการประเมินผล สําหรับแต่ละขั้นตอนของการฝึกอบรม รวมxxxxxxให้แพทย์ประจําบ้านxxxxxxมีส่วนร่วมในการวางแผนการฝึกอบรม โดยประธานหลักสูตรต้องมี ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในอนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) มาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี และ ได้รับการรับรองจากราชวิทยาลัยฯ ที่กํากับดูแล
6.5. สภาวะการปฏิบัติงาน
หลักสูตรกําหนดสภาวะการปฏิบัติงานดังต่อไปนี้
- การเข้าร่วมกิจกรรมวิชาการ (รวมxxxxxxปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ) ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกอบรม แพทย์ ประจําบ้านxxxxxxต้องเข้าร่วมกิจกรรมวิชาการอย่างน้อยร้อยละ 80 ของกิจกรรมตลอดปีการศึกษา และ รับผิดชอบกิจกรรมวิชาการตามxxxxxxรับมอบหมาย
- กฎเกณฑ์เรื่องเงื่อนไขงานบริการและความรับผิดชอบของผู้เข้ารับการฝึกอบรม
▪ การปฏิบัติงานในเวลาราชการ ตั้งแต่เวลา 8.00-16.00 น. และนอกเวลาราชการในช่วงเวลา 16.00-8.00 น. แพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องปฏิบัติงานตามที่กําหนดในคู่มือแพทย์ประจําบ้าน xxxxxx
▪ มีเวลาฝึกอบรมในแต่ละช่วงหมุนเวียนอย่างน้อยร้อยละ 80
- การกําหนดการฝึกอบรมxxxxxในกรณีที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีการxxxxx xxxx การลาคลอดบุตร การ เจ็บปุวย การเกณฑ์ทหาร การถูกเรียกฝึกกําลังสํารอง การศึกษาดูงานนอกแผนการฝึกอบรม/หลักสูตร เป็นต้น ให้ครบตามกําหนดเวลา
- โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์จัดให้มีค่าตอบแทนแก่แพทย์ประจําบ้านxxxxxxอย่างเหมาะสม คือ ค่าตอบแทน การxxxxxxxเดือนละ 10,000 บาท
6.6. การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลผู้เข้ารับการฝึกอบรม ประกอบด้วย 6.6.1.การวัดและประเมินผลระหว่างการฝึกอบรมและการเลื่อนชั้นปี
การประเมินระหว่างการฝึกอบรม
สถาบันฝึกอบรมจะต้องจัดให้มีการประเมินผู้เข้ารับการฝึกอบรมระหว่างการฝึกอบรม ครอบคลุมทั้ง ด้านความรู้ ทักษะ เจตคติ และกิจกรรมทางการแพทย์ ในมิติต่าง ๆ ดังนี้
มิติที่ 1 ประเมินสมรรถนะ EPA ตามที่ อฝส.กําหนดโดยอาจารย์ (ภาคxxxxxxx 5) มิติที่ 2 การรายงานผลการสอบจัดโดยสถาบัน (ผ่าน/ไม่ผ่าน)
มิติที่ 3 การรายงานประสบการณ์เรียนรู้จากผู้ปุวย xxxx portfolio มิติที่ 4 การรายงานความxxxxxxxxงานวิจัย
มิติที่ 5 การร่วมกิจกรรมประชุมวิชาการ Pain medicine
มิติที่ 6 การประเมินสมรรถนะด้าน professionalism และ interpersonal and communication skills โดยอาจารย์และผู้ร่วมงาน (ภาคxxxxxxx 7)
ผลการประเมินนําไปใช้ในกรณี ต่อไปนี้
1. เพื่อเลื่อนระดับชั้นปี ในการพิจารณาเพื่อตัดสินผ่านเกณฑ์ได้/ตก เพื่อเลื่อนชั้นปี แพทย์ประจําบ้านxxxxxxจะต้องผ่าน
การประเมินทั้งด้านความรู้ ทักษะ เจตคติ โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้
- ด้านความรู้ คิดเป็นร้อยละ 40
MCQ สอบปลายปี คิดเป็น ร้อยละ 20 SAQ สอบปลายปี คิดเป็น ร้อยละ 20
- ด้านทักษะ คิดเป็นร้อยละ 50 แพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องผ่านทักษะทาง คลินิก xxxxxxx การสื่อสารและการนําเสนอ โดยพิจารณาจาก
EPA แพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องผ่านการประเมิน EPA แต่ละชนิดตาม ระดับ และจํานวนครั้งตามเกณฑ์ ภาคผนวก 4
DOP แพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องผ่านการประเมิน DOP แต่ละชนิด ตามระดับ และจํานวนครั้งตามเกณฑ์ ภาคผนวก 4
- เจตคติ คิดเป็นร้อยละ 10 โดยประเมินจาก Portfolio และการประเมินจาก ผู้ร่วมงาน
2. เพื่อใช้พิจารณาคุณสมบัติผู้มีสิทธิ์เข้าสอบเพื่อวุฒิบัตรฯ การประเมินระหว่างการฝึกอบรมโดยสม่ําเสมอและแจ้งผลให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรับทราบ จะช่วยให้xxxxxxxพัฒนาสมรรถนะหลักด้านต่าง ๆ ของแพทย์ประจําบ้านxxxxxxได้xxxxxxx ขึ้น
6.6.2.การวัดและประเมินผลเพื่อวุฒิบัตรฯ การสอบเพื่อวุฒิบัตรฯ
6.6.2.1. คุณสมบัติผู้มีสิทธิ์เข้าสอบ
- ผ่านการฝึกอบรมครบตามหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของระยะเวลาการฝึกอบรม
- สถาบันฝึกอบรมเห็นxxxxxให้เข้าสอบ
6.6.2.2. เอกสารประกอบ
- เอกสารรับรองประสบการณ์ภาคปฏิบัติจากสถาบันฝึกอบรมตามที่กําหนด
- บทความงานวิจัยพร้อมส่งตีพิมพ์ (manuscript) และใบรับรองจากคณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
- เอกสารรับรองการปฏิบัติงานตามแฟูมสะสมผลงาน
6.6.2.3. วิธีการประเมินประกอบด้วย
- การสอบ ต้องได้คะแนนมากกว่าร้อยละ 60 ประกอบด้วย
1. ปรนัย (multiple choice question; MCQ) (น้ําหนักคะแนนร้อยละ 50)
2. อัตนัย (modified essay question; MEQ, essay, short answer question; SAQ) (น้ําหนักคะแนนร้อยละ 30)
3. การสอบxxxxxxxxxx xxxx long case (น้ําหนักคะแนนร้อยละ 20)
- การสอบปากเปล่าและประเมินผลงานวิจัย (เกณฑ์ผ่าน/ไม่ผ่าน) เกณฑ์การพิจารณาตัดสินผลการประเมิน ต้องผ่านเกณฑ์ทั้ง 2 ส่วน
• ถ้าสอบxxxxxxxxxxxผ่าน โดยกรรมการประจําห้องสอบมีมติเกินสองในสาม ให้สอบใหม่ ทั้งหมดในปีการศึกษาหน้า
• ถ้าสอบปากเปล่าผ่าน แต่คะแนนรวมไม่เกินร้อยละ 60 ให้สอบข้อเขียนใหม่ได้ 1 ครั้ง ถ้า คะแนนรวมยังไม่เกินร้อยละ 60 ให้สอบใหม่ทั้งหมดในปีถัดไป
6.6.3 แจ้งกระบวนการวัดและการประเมินผลให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทราบ พร้อมตรวจสอบ และมี กระบวนการของการอุทธรณ์
มีการแจกหลักสูตรเกณฑ์การฝึกอบรมฯ และคู่มือแพทย์ประจําบ้านxxxxxxให้ตั้งแต่เริ่มการฝึกอบรม หากแพทย์ประจําบ้านxxxxxxมีข้อสงสัยในผลการสอบหรือผลการประเมิน xxxxxxยื่นอุทธรณ์xxxxxx ประธานคณะกรรมการควบคุมดูแลการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านxxxxxx หรือ รองประธานคณะกรรมการฯ โดยมีกระบวนการในการตรวจสอบผลการสอบดังแผนภูมิด้านล่าง ทั้งนี้แพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องทําการ
อุทธรณ์ผลการตัดสินภายใน 7 วัน นับจากวันประกาศผลการสอบ (ภาคxxxxxxx 8)
แนวทางในการดําเนินการตรวจสอบผลการสอบ
ไม่มีข้อสงสัย
ประธาน/รองประธานหลักสูตร ฯ ซักถามถึงเหตผุ ลของการอุทธรณ์ และส่วนของข้อสอบที่ขอตรวจสอบ
แพทย์ประจําบ้านxxxxxxขอตรวจสอบผลการสอบ ภายใน 7 วันนับจากประกาศผลการสอบ โดยxxxxxxแจ้งโดยตรงกับประธาน/รองประธานหลักสูตร ฯ
สรุปผลการตรวจสอบ และแจ้งให้แพทย์ประจําบ้านxxxxxxทราบ
ประธาน/รองประธานหลักสูตร ฯ xxxxxxงานกับนักวิชาการการศึกษาตรวจสอบผลการสอบให้กับแพทย์ประจําบ้านxxxxxx
xxxxxxงานกับอาจารย์ผู้ออกข้อสอบที่มีปัญหาเพื่อตรวจสอบผลการสอบให้กับแพทย์ประจําบ้านxxxxxx
xxxxxxงานกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบข้อสอบในส่วนที่มีปัญหาเพื่อตรวจสอบ ผลการสอบให้กับแพทย์ประจําบ้านxxxxxx
ไม่มีข้อสงสัย
มีข้อสงสัย
มีข้อสงสัย
7. การรับและคัดเลือกผู้เข้ารับการฝึกอบรม
7.1. คุณสมบัติของผู้เข้ารับการฝึกอบรม
7.1.1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
7.1.1.1. ได้รับหนังสือวุฒิบัตรหรืออนุมัติบัตรฯหรือหนังสือรับรองจากแพทยสภาแสดงความรู้ความ ชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา
7.1.1.2. ได้รับวุฒิบัตรหรือประกาศนียบัตรจากสถาบันต่างประเทศ ที่เทียบเท่าคุณสมบัติในข้อ
7.1.1.1 โดยการรับรองของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย
7.1.1.3. เป็นแพทย์ประจําบ้านปีสุดท้ายในสาขาวิสัญญีวิทยา
7.1.1.4. เป็นผู้มีxxxxxสอบเพื่อหนังสืออนุมัติบัตรหรือวุฒิบัตรฯสาขาวิชาวิสัญญีวิทยาในปีการศึกษานั้น
7.1.1.5. กรณีที่สอบวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขา วิสัญญีวิทยาxxxxxx ให้xxxxxxxxxผ่านการคัดเลือก
7.1.2. มีคุณสมบัติครบถ้วนตามเกณฑ์แพทยสภาในการเข้ารับการฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทาง
7.2. คณะกรรมการคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรมและเกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรม เป็นไปตามการแต่งตั้ง และหลักเกณฑ์ของภาควิชาวิสัญญีวิทยา โดยยึดหลักความxxxxxxx xxxxxxxxx มีจริยธรรม และตรวจสอบได้ (ภาคxxxxxxx 9)
7.3. จํานวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย กําหนดให้สถาบันฝึกอบรมรับผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ใน สัดส่วนปีละ 1 คน ต่ออาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม 2 คน รวมทั้งต้องมีงานบริการต่อจํานวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม 1 คน ตามที่กําหนดตามตารางต่อไปนี้ (ตารางที่ 9)
ตารางที่ 9 จํานวนแพทย์ประจําบ้านxxxxxxแต่ละชั้นปีต่อจํานวนอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรมและจํานวนผู้ปุวยที่ ให้บริการระงับปวด
จํานวนผู้รับการฝึกอบรมต่อชั้นปี (คน) | 1 | 2 | 3 | 4 |
จํานวนอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรมต่อชั้นปี (คน) | 2 | 4 | 6 | 8 |
จํานวนผู้ปุวยนอกxxxxxxรับบริการระงับปวด (รายต่อปี) | 000 | 000 | 000 | 400 |
จํานวนผู้ป่วยในที่รับปรึกษาการบริการระงับปวด | ||||
ผู้ปุวยที่มีอาการปวดเฉียบพลัน (รายต่อปี) | 000 | 000 | 000 | 400 |
ผู้ปุวยที่มีอาการปวดเรื้อรังที่ไม่ใช่มะเร็ง (รายต่อปี) | 50 | 100 | 150 | 200 |
ผู้ปุวยที่มีอาการปวดจากมะเร็ง | 50 | 100 | 150 | 200 |
8. อาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม
8.1. คุณสมบัติของประธานการฝึกอบรม
ต้องเป็นแพทย์ซึ่งได้รับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติเพื่อแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา และปฏิบัติงานด้านการบําบัดความปวด อย่างน้อย 5 ปี ภายหลังได้รับวุฒิบัตรหรือ หนังสืออนุมัติ ฯ
8.2. คุณสมบัติและจํานวนของอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม
8.2.1. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม
ต้องเป็นแพทย์ซึ่งได้รับวุฒิบัตร หรือหนังสืออนุมัติเพื่อแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบ วิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา และปฏิบัติงานด้านการบําบัดความปวด อย่างน้อย 2 ปี ภายหลัง ได้รับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติ ฯ
8.2.2. จํานวนอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม
ต้องมีจํานวนอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรมปฏิบัติงานเต็มเวลาอย่างน้อย 2 คน ต่อจํานวนผู้เข้ารับการ อบรม 1 คน หากมีจํานวนอาจารย์ ให้ฝึกอบรมเต็มเวลาไม่พอ อาจให้มีอาจารย์แบบไม่เต็มเวลาได้ โดยมีข้อกําหนดดังนี้
8.2.2.1. จํานวนอาจารย์แบบไม่เต็มเวลาต้องไม่มากกว่าร้อยละ ๕๐ ของจํานวนอาจารย์เต็มเวลา
8.2.2.2. ภาระงานของอาจารย์แบบไม่เต็มเวลาแต่ละคนต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ของภาระงาน อาจารย์เต็มเวลา
8.2.3. กําหนดและนโยบายการสรรหาและคัดเลือกอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม
ภาควิชาฯ มีการกําหนดและดําเนินนโยบายการสรรหาและคัดเลือกอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรมให้ สอดคล้องกับพันธกิจของหลักสูตร โดยระบุคุณสมบัติของอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรมxxxxxxxxx โดย ครอบคลุมความชํานาญที่ต้องการ ได้แก่
- คุณสมบัติเชิงวิชาการ
- ความชํานาญทางคลินิก
- ความxxxxxxด้านการสอน และเจตคติความเป็นอาจารย์
- ความรู้ความxxxxxxเชิงวิจัย
- การทํางานร่วมกับผู้อื่น
- ความรับผิดชอบต่อส่วนรวม
8.2.4. ระบุหน้าที่ความรับผิดชอบ ภาระงานของอาจารย์
หลักสูตรฯ มีการระบุหน้าที่ความรับผิดชอบ ภาระงานของอาจารย์ในหลักสูตรฯ 2 ด้านคือ
- การเป็นกรรมการหลักสูตรฯ (ภาคxxxxxxx 1)
- การเป็นอาจารย์ของหลักสูตรฯ มีการระบุหน้าที่รับผิดชอบให้มีความxxxxxระหว่างงานด้าน การศึกษา การวิจัย และการบริการ xxxxxxxxxxสังกัดคณะแพทยศาสตร์มีการกําหนดภาระงานโดยใช้ แบบฟอร์ม HR2 และประเมินผลการปฏิบัติงานโดยใช้แบบฟอร์ม HR3 xxxxxxxxxxสังกัดสภากาชาดไทย มีการกําหนดภาระงานโดยใช้แบบฟอร์มการบริหารผลการปฏิบัติงานบุคลากร สภากาชาดไทย
หลักสูตรฯ มีจํานวนอาจารย์ต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นไปตามเกณฑ์ที่แพทยสภากําหนด โดย อาจารย์มีเวลาเพียงพอสําหรับการให้การฝึกอบรม ให้คําปรึกษา และกํากับดูแล
8.2.5. ระบบพัฒนาอาจารย์
ภาควิชาฯ และหลักสูตรฯ มีระบบพัฒนาอาจารย์อย่างเป็นระบบ
- ด้านการแพทย์ ภาควิชาฯ และหลักสูตรสนับสนุนให้อาจารย์ศึกษาต่อต่างประเทศในสาขาวิสัญญี วิทยา อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์
- ด้านแพทยศาสตรศึกษา อาจารย์ได้รับการxxxxxxxxให้เข้าอบรมสัมมนาด้านแพทยศาสตร์ศึกษาตามที่ คณะxxxxxxxxxxxจัดการอบรม โดยกําหนดให้อาจารย์ในหลักสูตรเข้าร่วมอบรมทุกปี xxxxxxxxxxสังกัด คณะแพทยศาสตร์ต้องผ่านการสัมมนาอาจารย์ใหม่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และxxxxxxxxxxสังกัด สภากาชาดไทยต้องผ่านการสัมมนาอาจารย์ใหม่ของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ซึ่งการสัมมนาของทั้ง 2 หน่วยงานมีการสอนเกี่ยวกับแพทยศาสตร์ศึกษา
- การพัฒนาต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ ภาควิชาฯ และหลักสูตรสนับสนุนให้อาจารย์เข้าร่วมประชุมเชิง วิชาการทั้งxxxxxxxxและปฏิบัติการ ทั้งในและนอกประเทศ
- มีการประเมินอาจารย์เป็นระยะ โดยผู้บังคับบัญชา แพทย์ประจําบ้าน และผู้ร่วมงาน
8.2.6. การxxสัดส่วนของอาจารย์ต่อแพทย์ประจําบ้านxxxxxx
ในกรณีที่สัดส่วนของอาจารย์ต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรมลดลงกว่าxxxxxxรับอนุมัติไว้ สถาบันควรพิจารณา ลดจํานวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมลงตามความเหมาะสมเพื่อxxคุณภาพการฝึกอบรมไว้
9. ทรัพยากรทางการศึกษา (ภาคxxxxxxx 2)
หลักสูตรฯ กําหนดและดําเนินนโยบายเกี่ยวกับทรัพยากรการศึกษา เพื่อรองรับการฝึกอบรมแพทย์ประจํา บ้านxxxxxx อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) ครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้
9.1. สถานที่และโอกาสในการเรียนรู้ทั้งxxxxxxxxและภาคปฏิบัติ การเข้าถึงแหล่งข้อมูลทางวิชาการxxxxxxxxxx xxxxxxใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้อย่างเพียงพอ มีอุปกรณ์สําหรับฝึกอบรมภาคปฏิบัติ และมีสิ่งแวดล้อมทางการศึกษาที่ปลอดภัย
9.2. มีจํานวนผู้ปุวยเพียงพอและชนิดของผู้ปุวยหลากหลายสอดคล้องกับผลลัพธ์ของการเรียนรู้ที่คาดxxxx xxxx ผู้ปุวยนอกและในหอผู้ปุวย ผู้ปุวยนอกเวลาราชการและผู้ปุวยวิกฤต การเข้าถึงสิ่งอํานวยความสะดวกทาง คลินิกและการเรียนxxxxxxxxxxxxxพอเพียงสําหรับสนับสนุนการเรียนรู้
9.3. สื่ออิเล็กทรอนิกส์สําหรับการเรียนรู้ที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมxxxxxxเข้าถึงได้ มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารให้เป็นส่วนหนึ่งของการฝึกอบรมอย่างมีประสิทธิภาพและถูกหลักจริยธรรม
9.4. การจัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานเป็นทีมร่วมกับผู้ร่วมงานและบุคลากรวิชาชีพอื่น
9.5. ความรู้และการประยุกต์ความรู้พื้นฐานและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในสาขาวิชาที่ฝึกอบรม มีการ บูรณาการ และxxxxxระหว่างการฝึกอบรมกับการวิจัยอย่างเพียงพอ
9.6. การนําความxxxxxxxxxทางแพทยศาสตรศึกษามาใช้ในการจัดทําแผนการฝึกอบรม การดําเนินการฝึกอบรม การประเมินการฝึกอบรม
9.7. มีการฝึกอบรมในสถาบันอื่น ทั้งในและนอกประเทศตามที่ระบุไว้ในหลักสูตร
10. การประเมินแผนการฝึกอบรม/หลักสูตร
ภาควิชาฯ กํากับดูแลการฝึกอบรมให้เป็นไปตามแผนการฝึกอบรม/หลักสูตรเป็นประจํา มีกลไกสําหรับการ ประเมินหลักสูตรและนําไปใช้จริง การประเมินแผนการฝึกอบรม/หลักสูตร ต้องครอบคลุม
10.1. พันธกิจของแผนการฝึกอบรม/หลักสูตร
10.2. ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่พึงxxxxxxx
10.3. แผนการฝึกอบรม
10.4. ขั้นตอนการดําเนินงานของแผนการฝึกอบรม
10.5. การวัดและประเมินผล
10.6. พัฒนาการของผู้รับการฝึกอบรม
10.7. ทรัพยากรทางการศึกษา
10.8. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม
10.9. ความxxxxxxxxระหว่างนโยบายการรับสมัครผู้รับการฝึกอบรมและความต้องการของระบบสุขภาพ
10.10. สถาบันฯร่วม
10.11. ข้อควรปรับปรุง
หลักสูตรฯ แสวงหาข้อมูลปูอนกลับเกี่ยวกับการฝึกอบรม/หลักสูตร จากผู้ให้การฝึกอบรม ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม นายจ้างหรือผู้ใช้xxxxxx และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก รวมxxxxxxใช้ข้อมูลปูอนกลับเกี่ยวกับ ความxxxxxxในการปฏิบัติงานของแพทย์ผู้สําเร็จการฝึกอบรม ในการประเมินการฝึกอบรม/หลักสูตร
11. การทบทวน/พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจัดให้มีการทบทวนและพัฒนาคุณภาพของหลักสูตรฝึกอบรมเป็นระยะหรือ อย่างน้อยทุก 5 ปี มีการกําหนดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและส่วนร่วมในการฝึกอบรมให้สามารเข้าร่วมทบทวนและ พัฒนาหลักสูตรได้ มีการปรับปรุงกระบวนการ โครงสร้าง เนื้อหา ผลลัพธ์ และสมรรถนะของผู้สําเร็จการ ฝึกอบรม รวมxxxxxxวัดและการประเมินผล และสภาพแวดล้อมในการฝึกอบรมให้ทันสมัยอยู่เสมอ ปรับปรุงแก้ ข้อxxxxxxxxxxตรวจพบ มีข้อมูลอ้างอิง และแจ้งผลการทบทวน และพัฒนาให้แพทยสภารับทราบ
ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย เป็นผู้รับผิดชอบดูแลการฝึกอบรม และทบทวน / พัฒนาหลักสูตร การฝึกอบรมเป็นระยะ หรืออย่างน้อยทุก 5 ปี และแจ้งผลการทบทวน / พัฒนาให้แพทยสภารับทราบ
12. xxxxxxxxxxและการบริหารจัดการ
12.1. หลักสูตรฯ บริหารจัดการหลักสูตรให้สอดคล้องกับกฎxxxxxxxxxxกําหนดไว้ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การรับ สมัครผู้เข้ารับการฝึกอบรม (เกณฑ์การคัดเลือกและจํานวนที่รับ) กระบวนการฝึกอบรม การวัดและ ประเมินผล และผลลัพธ์ของการฝึกอบรมที่พึงxxxxxxx การออกเอกสารที่แสดงxxxxxxสําเร็จการฝึกอบรม ในแต่ละระดับ หรือหลักฐานอย่างเป็นทางการอื่น ๆ ที่xxxxxxใช้เป็นหลักฐานแสดงการผ่านการฝึกอบรม ในระดับนั้นxxxxxxxในประเทศและต่างประเทศ
12.2. หลักสูตรฯ กําหนดหน้าที่รับผิดชอบและอํานาจในการบริหารจัดการงบประมาณของแผนการฝึกอบรม/ หลักสูตรให้สอดคล้องกับความจําเป็นด้านการฝึกอบรม
12.3. หลักสูตรฯ ต้องมีบุคลากรที่ปฏิบัติงานและมีความxxxxxxxxxxxxเหมาะสม เพื่อสนับสนุนการดําเนินการของ การฝึกอบรมและกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง การบริหารจัดการxxxxxและใช้ทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม
12.4. หลักสูตรฯ ต้องจัดให้มีให้มีจํานวนสาขาความxxxxxxxxxทางการแพทย์และหน่วยงานสนับสนุนด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องครบถ้วน สอดคล้องกับข้อบังคับและประกาศของแพทยสภาในการเปิดการฝึกอบรม
13. การประกันคุณภาพการฝึกอบรม
ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทยกําหนดให้สถาบันฝึกอบรมที่จะได้รับการอนุมัติให้จัดการฝึกอบรม จะต้องผ่านการประเมินความพร้อมในการเป็นสถาบันฝึกอบรม และสถาบันฝึกอบรมจะต้องจัดให้มีการประกัน คุณภาพการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องดังนี้
13.1. การประกันคุณภาพการฝึกอบรมภายใน หลักสูตรฯ จัดให้มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการ ฝึกอบรมภายในจากคณะกรรมการภายในxxxxxxรับการแต่งตั้งเป็นผู้ตรวจประเมินหลักของแพทยสภา ประเมินคุณภาพของหลักสูตร อย่างน้อยทุก 2 ปี
13.2. การประกันคุณภาพการฝึกอบรมภายนอก หลักสูตรฯ ได้รับการประเมินคุณภาพจากคณะอนุกรรมการ ฝึกอบรมฯ อย่างน้อยทุก 5 ปี
♦♦♦♦♦
ภาคxxxxxxx 1 รายนามคณะกรรมการหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านxxxxxx เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญใน
การประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2563
1. รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงคุณxxxxx สมบูรณ์วิบูลย์ ที่ปรึกษาหลักสูตร
2. รองศาสตร์จารย์แพทย์หญิงอรนุช เกี่ยวข้อง ที่ปรึกษาหลักสูตร
3. รองศาสตราจารย์xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxติชัย ประธานหลักสูตร
4. ศาสตราจารย์แพทย์หญิงxxxxxxx นิรุตติศาสน์ กรรมการ
5. ศาสตราจารย์xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxนันท์ กรรมการ
6. อาจารย์นายแพทย์xxxxxxx เทพโสพรรณ กรรมการ
7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์(พิเศษ)แพทย์หญิงxxxxxx เฉลิมxxxxxxxxย์ กรรมการ
8. อาจารย์นายแพทย์ปัตย์ xxxxxxxxxxxxxx กรรมการและเลขานุการ
9. ตัวแทนแพทย์ประจําบ้านxxxxxx กรรรมการ
หน้าที่ความรับผิดชอบและภาระงาน
1. รองศาสตราจารย์xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxติชัย ประธานหลักสูตร
- ดูแลการดําเนินการของหลักสูตรให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์หลักสูตรวิสัญญีวิทยา อนุสาขาเวชศาสตร์ความ ปวด (วิสัญญีวิทยา) ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย
- ดูแลการประเมินหลักสูตร
- ดูแลการประกันคุณภาพหลักสูตร
- วางแผนพัฒนาหลักสูตร
- จัดสรรงบประมาณหลักสูตร
- เป็นxxxxxxxxxxปรึกษาและดูแลงานวิจัยของแพทย์ประจําบ้านxxxxxxให้เป็นไปตามกําหนดเวลา
2. ศาสตราจารย์แพทย์หญิงxxxxxxx นิรุตติศาสน์ กรรมการหลักสูตร
- วางแผนพัฒนาหลักสูตร
- ดูแลการประเมินแพทย์ประจําบ้านxxxxxx
- เป็นxxxxxxxxxxปรึกษาและดูแลงานวิจัยของแพทย์ประจําบ้านxxxxxxให้เป็นไปตามกําหนดเวลา
3. ศาสตราจารย์xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxนันท์ กรรมการหลักสูตร
- วางแผนพัฒนาหลักสูตร
- เป็นxxxxxxxxxxปรึกษาและดูแลงานวิจัยของแพทย์ประจําบ้านxxxxxxให้เป็นไปตามกําหนดเวลา
4. อาจารย์นายแพทย์xxxxxxx เทพโสพรรณ กรรมการหลักสูตร
- ดูแลการจัดประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการต่าง ๆ
- ดูแลระบบสนับสนุนแพทย์ประจําบ้านxxxxxx (ทุนวิจัย ทุนการประชุมวิชาการ สวัสดิการต่าง ๆ)
- เป็นxxxxxxxxxxปรึกษาและดูแลงานวิจัยของแพทย์ประจําบ้านxxxxxxให้เป็นไปตามกําหนดเวลา
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์(พิเศษ)แพทย์หญิงxxxxxx เฉลิมxxxxxxxxย์ กรรมการหลักสูตร
- จัดตารางหมุนเวียนการปฏิบัติงานของแพทย์ประจําบ้านxxxxxx
- ตรวจสอบให้การประเมิน EPA/DOP ของแพทย์ประจําบ้านxxxxxxให้เป็นไปตามกําหนดเวลา
- ดูแลการบันทึก portfolio ของแพทย์ประจําบ้านxxxxxx
- เป็นxxxxxxxxxxปรึกษาและดูแลงานวิจัยของแพทย์ประจําบ้านxxxxxxให้เป็นไปตามกําหนดเวลา
- ดูแลการลาของแพทย์ประจําบ้านxxxxxx
6. อาจารย์นายแพทย์ปัตย์ xxxxxxxxxxxxxx กรรมการและเลขานุการหลักสูตร
- จัดตารางกิจกรรมวิชาการและให้คําปรึกษาเกี่ยวกับกิจกรรมวิชาการ
- ดูแลและรวบรวมข้อสอบ
- รวบรวมและสรุปผลการประเมินแพทย์ประจําบ้านxxxxxx
- ดูแลและสรุปผลการประเมินหลักสูตร
- เป็นxxxxxxxxxxปรึกษาและดูแลงานวิจัยของแพทย์ประจําบ้านxxxxxxให้เป็นไปตามกําหนดเวลา
7. ตัวแทนแพทย์ประจําบ้านxxxxxx กรรมการหลักสูตร
- มีส่วนร่วมในการกําหนดพันธกิจของหลักสูตร
- รวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะ เรื่องการเรียนการสอนและการทํางาน เพื่อมาปรับให้เหมาะสม
- รวบรวมความเห็นและปัญหาในการรับแพทย์ประจําบ้านxxxxxx เพื่อมากําหนดแนวทางการรับแพทย์ประจํา บ้านxxxxxxในปีการศึกษาถัดไป
ภาคxxxxxxx 2
การเปิดสถาบันฝึกอบรม และทรัพยากรสําหรับการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านxxxxxx อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1. การเปิดสถาบัน หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านxxxxxxเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวช กรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ทั่วไปที่ระบุไว้ในข้อบังคับของแพทยสภา ว่าด้วยการเสนอขอเปิดการฝึกอบรม เป็นผู้มีความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาและอนุสาขาต่าง ๆ พ.ศ.2560 และเกณฑ์การ เปิดหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านxxxxxxเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) ของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย ได้รับการ รับรองจากราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย xxxxxxที่ เครื่องมือ อุปกรณ์ จํานวน และการxxxxxx ผู้ปุวยตามมาตรฐานการให้บริการ และผู้ให้การฝึกอบรมเป็นไปตามเกณฑ์ที่คณะอนุกรรมการฝึกอบรมและสอบฯ อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) กําหนด โดยความเห็นชอบของราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่ง ประเทศไทย และแพทยสภา ในปี พ.ศ.2556 และ พ.ศ.2561
2. ทรัพยากรสําหรับการฝึกอบรมคือ ผู้ให้การฝึกอบรมที่เหมาะสม จํานวนงานบริการด้านการระงับปวด รวมทั้ง สถานที่และเครื่องมืออุปกรณ์xxxxxxxxxxสําหรับงานบริการและการฝึกอบรม
2.1 มีจํานวนและคุณวุฒิของแพทย์ผู้ให้การฝึกอบรมที่เหมาะสม
หลักสูตรมีอาจารย์แพทย์แบบเต็มเวลาซึ่งได้รับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติเพื่อแสดงความรู้ความชํานาญในการ ประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา และปฏิบัติงานด้านการบําบัดความปวด อย่างน้อย 2 ปี ภายหลังได้รับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติ ฯ จํานวน 5 คน และมีอาจารย์แพทย์แบบไม่เต็มเวลาโดยมีภาระงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ของภาระงานอาจารย์เต็มเวลา จํานวน 1 คน โดยประธานหลักสูตรเป็นแพทย์ซึ่งได้รับ หนังสืออนุมัติเพื่อแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาวิสัญญีวิทยา และ ปฏิบัติงานด้านการบําบัดความปวด อย่างน้อย 5 ปี จึงมีศักยภาพรับแพทย์ประจําบ้านxxxxxx 3 ตําแหน่ง
2.1.1 คุณวุฒิของแพทย์ผู้ให้การฝึกอบรม
ลําดับ | ชื่อ-นามสกุล | ตําแหน่งทางวิชาการ | คุณวุฒิ | สาขาวิชา |
1. | xx.xxxx xxxxxxxxxติชัย | รองศาสตราจารย์ | พ.บ. (2535) วุฒิบัตรฯ (2538) Certificate (2541) วทม. (2546) อนุมัติบัตรฯ (2552) | แพทยศาสตร์ วิสัญญีวิทยา Fellowship in Pain Management (USA) การพัฒนาสุขภาพ การระงับปวด |
2. | xx.xxxxxxx xxxxxxxxxxxx | xxxxxxxxxxx | xx.x. (2523) พ.บ. (2525) วุฒิบัตรฯ (2529) | วิทยาศาสตร์สุขภาพ แพทยศาสตร์ วิสัญญีวิทยา |
ลําดับ | ชื่อ-นามสกุล | ตําแหน่งทางวิชาการ | คุณวุฒิ | สาขาวิชา |
Certificate (2546) อนุมัติบัตรฯ (2552) Certificate (2561) | Hospice and Palliative care (UK) การระงับปวด QST laboratory (Germany) | |||
3. | นพ.xxxตน์ xxxxxxxxxxนันท์ | ศาสตราจารย์ | พ.บ. (2527) วุฒิบัตรฯ (2533) วท.ม. (2542) อนุมัติบัตรฯ (2552) | แพทยศาสตร์ วิสัญญีวิทยา การพัฒนาสุขภาพ การระงับปวด |
4. | xx.xxxxxxx xxxxxxxxx | xxxxxxx | x.x. (2547) วุฒิบัตรฯ (2552) Certificate (2559) อนุมัติบัตรฯ (2561) | แพทยศาสตร์ วิสัญญีวิทยา Fellowship in Pain Management (Singapore) การระงับปวด |
5. | พญ.xxxxxx เฉลิมxxxxxxxxย์ | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (พิเศษ) | พ.บ. (2547) MSc. (2551) วุฒิบัตรฯ (2555) Certificate (2558) อนุมัติบัตรฯ (2560) | แพทยศาสตร์ Pain Sciences and Society (UK) วิสัญญีวิทยา Fellowship in Pain Management (Canada) การระงับปวด |
6. | นพ.ปัตย์ xxxxxxxxxxxxxx | อาจารย์ | พ.บ. (2552) วุฒิบัตรฯ (2556) Certificate (2559) อนุมัติบัตรฯ (2561) | แพทยศาสตร์ วิสัญญีวิทยา Fellowship in Pain Management (Singapore) การระงับปวด |
ประธานการฝึกอบรมมีคุณสมบัติตามเกณฑ์การเปิดหลักสูตรคือ
1. มีประสบการณ์ด้านเวชศาสตร์ความปวด มากกว่า 5 ปี
2. ยังปฏิบัติงานในสาขาเวชศาสตร์ความปวด
3. มีผลงาน/กิจกรรมทางวิชาการที่เป็นที่ยอมรับในช่วงเวลาอย่างน้อย 10 ปี xxxx ผลงานตีพิมพ์ การ เขียนหลักสูตรการฝึกอบรม มีการอุทิศตนสําหรับการเรียนการสอนด้านการระงับปวด การเป็น วิทยากร และการทํางานวิจัย
2.1.2 ระบบพัฒนาอาจารย์
อาจารย์ | การฝึกอบรม (สถานที่) | ปี พ.ศ. |
xx.xxxxxxx xxxxxxxxx | - ด้านแพทยศาสตร์ศึกษา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - ประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ International Symposium on Spine and Paravertebral Sonography for Anesthesia and Pain Medicine (Hong Kong) - ประชุมวิชาการ American Society of Anesthesia Annual Meeting (Chicago, USA) - ประชุมวิชาการ Post Graduate Assembly Annual Meeting (New York, USA) - ประชุมวิชาการ Euroanesthesia Annual Meeting (Stockholm, Sweden) - ประชุมวิชาการ The 6th Association of South-East Asian Pain Societies Congress (Manila, Philippines) - ประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ International Symposium on Regional Analgesia, Musculoskeletal and Interventional Pain Medicine (Dubai, UAE) - ศึกษาต่อต่างประเทศ ด้านการระงับปวด (ประเทศสิงคโปร์) | ส.ค. 2552 2553 2554 2557 2557 2558 2558 มี.ค.-ธ.ค. 2559 |
พญ.xxxxxx เฉลิมxxxxxxxxย์ | - ด้านแพทยศาสตร์ศึกษา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - Academic Teacher Training course (Ho Chi Minh, Vietnam) - ประชุมวิชาการ American Society of Regional Anesthesia and Pain Medicine (San Francisco, USA) - ศึกษาต่อต่างประเทศ ด้านการระงับปวด (ประเทศแคนาดา) - ประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ American Academy of Pain Medicine Ultrasonography International Congress (Florida, USA) - xxxxxxxxxxxxxxxxxปฏิบัติการ International Symposium on Spine and Paravertebral Sonography for Anaesthesia and Pain Medicine (Hong Kong) - ประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ Multidisciplinary Musculoskeletal Ultrasound Congress on Pain (Hong Kong) - ประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ International Pain Forum and Cadaveric workshop (Bangkok, Thailand) | ส.ค. 2555 ก.พ. 2556 2557 ก.ค.57- มิ.ย.58 2558 2558 2560 2562 |
นพ.ปัตย์ xxxxxxxxxxxxxx | - ประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ QST training - ด้านแพทยศาสตร์ศึกษา (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) | 2561 ก.พ. 2562 |
2.2 ทรัพยากรทางการศึกษา มีจํานวนผู้ป่วยเพียงพอและชนิดของผู้ป่วยหลากหลาย
เพื่อให้สอดคล้องกับผลลัพธ์ของการเรียนรู้ที่คาดxxxx xxxxผู้ปุวยนอกและในหอผู้ปุวย ผู้ปุวยนอกเวลาราชการ และผู้ปุวยวิกฤต ตามที่กําหนดในเกณฑ์การเปิดหลักสูตรฯ ดังนี้
งานบริการ (ราย/ปี) | จํานวนแพทย์ประจําบ้านxxxxxxชั้นปีละ ต่อ จํานวนอาจารย์ผู้ให้การฝึกอบรม (ราย/ปี) | ||
3 : 6 ตามเกณฑ์การเปิดหลักสูตร | จํานวนผู้ปุวยของหลักสูตร | ||
ผู้ปุวยใหม่ | ผู้ปุวยสะสม | ||
จํานวนผู้ปุวยนอกxxxxxxรับบริการระงับปวด | 300 | 974 | 5,470 |
จํานวนผู้ปุวยในที่มีอาการปวดเฉียบพลัน | 300 | 1,985 | 2,045 |
จํานวนผู้ปุวยในที่มีอาการปวดเรื้อรังที่ไม่ใช่มะเร็ง | 150 | 162 | 307 |
จํานวนผู้ปุวยในที่มีอาการปวดจากมะเร็ง | 150 | 458 | 596 |
จํานวนผู้ปุวยได้รับxxxxxxxบําบัดความปวด | N/A | 315 | 444 |
2.3 xxxxxxที่และเครื่องมืออุปกรณ์สําหรับฝึกอบรมxxxxxxxxและภาคปฏิบัติพอเพียง สําหรับสนับสนุนการเรียนรู้ และมีสิ่งแวดล้อมทางการศึกษาที่ปลอดภัย โดยมีระบบ access ด้วยบัตร ประจําตัวเจ้าหน้าที่
2.3.1 สถานที่
ห้องผ่าตัดหรืองานบริการด้านการระงับปวด | ตึก / อาคาร | เปิดบริการแล้ว (จํานวนห้อง/xxxxx) | ความxxxxxxเปิด ให้บริการ (จํานวนห้อง/xxxxx) |
ห้องตรวจผู้ปุวยนอก | ภปร. ชั้น 17 | 5 | 5 |
ห้องทําxxxxxxxบําบัดความปวด | ภปร. ชั้น 17 | 1 | 1 |
ห้องให้การรักษา infusion for chronic pain | ภปร. ชั้น 17 | 3 | 3 |
หอผู้ปุวยใน สําหรับการระงับปวด | ภูมิสริxxxxxxนุสรณ์ ชั้น 27 | 1 | 1 |
ห้องทําxxxxxxxบําบัดความปวด | ภูมิสริxxxxxxนุสรณ์ ชั้น 6 | 2 | 2 |
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx | xxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxx 6 | 4 | 4 |
ห้องผสมยาและควบคุมเครื่อง PCA | ภูมิสริxxxxxxนุสรณ์ ชั้น 5 | 1 | 1 |
ห้องพักฟื้น หลังทําxxxxxxxบําบัดความปวด | ภูมิสริxxxxxxนุสรณ์ ชั้น 5 | 6 | 6 |
ห้องxxxแพทย์ประจําบ้านxxxxxx | ภูมิสริxxxxxxนุสรณ์ ชั้น 15 | 1 | 1 |
หอผู้ปุวยใน | ภูมิสริxxxxxxนุสรณ์ ชั้น 15-28 | 1,250 | 1,450 |
หอผู้ปุวยในรังสรักษา | ว่องวานิช ชั้น 5-7 | 63 | 63 |
2.3.2 เครื่องมือและอุปกรณ์
เครื่องมือและอุปกรณ์ | จํานวน |
1. เครื่องอัลตราซาวด์ สําหรบงานระงับปวด | 3 |
2. เครื่องอัลตราซาวด์ สําหรบั งานวิสัญญีวิทยา ในหอผ่าตัด | 5 |
3. เครื่องกําเนิดคลื่นวิทยุและอุปกรณ์เสริม สําหรับงานระงับปวด | 1 |
4. เครื่อง Quantitative Sensory Testing (QST) และอุปกรณเสริม | 1 |
5. เครื่อง Transcutaneous Electrical Nerve Stimulator (TENS) | 4 |
6. เครื่องฉายภาพรังสี แบบ C-arm | 1 |
7. เครื่องฉายภาพรังสี ชนิด 3D C-arm (หอผ่าตัด hybrid) | 1 |
8. xxxxxทําxxxxxxx แบบรังสีผ่านได้ | 2 |
9. xxxxxทําxxxxxxx stretcher | 4 |
10. เสื้อตะกั่วปูองกันรังสี | 20 |
11. เครื่องให้ยาดมสลบ สําหรับงานระงับปวด | 1 |
12. เครื่องให้สารน้ํา ชนิด infusion pump สําหรับผู้ปุวยนอก | 2 |
13. เครื่องให้สารน้ํา ชนิด syringe pump สําหรับผู้ปุวยนอก | 2 |
14. เครื่อง patient controlled analgesia ชนิด portable สําหรับ home health care | 3 |
15. เครื่อง patient controlled analgesia สําหรับผู้ปุวยใน | 75 |
16. เครื่อง defibrillator | 1 |
17. เครื่อง monitor (วัดความดันโลหิตแบบ non-invasive, คลื่นไฟฟูาหัวใจ, ความอิ่มตัวของออกซิเจน ในxxxxxxxx และอุณหภูมิxxx) สาหรับผู้ปุวยนอก | 3 |
18. เครื่อง monitor (วัดความดันโลหิตแบบ non-invasive และ invasive, คลื่นไฟฟูาหัวใจ, ความอิ่มตัว ของออกซิเจนในxxxxxxxx ความดันก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในลมหายใจออก และอุณหภูมิxxx) สําหรับผู้ปุวยใน | 1 |
19. เครื่อง air force warmer สําหรบงานระงับปวด | 1 |
20. xxxxxxxxxxxค่าอณุ หภูมิสําหรับแช่ยา | 1 |
2.3.3 ห้องปฏิบัติการ/หน่วยงานสนับสนุน
หลักสูตรมีหน่วยปฏิบัติการวิจัยด้านการระงับปวด (Pain Management Research Unit) ที่ให้การ สนับสนุนการขอจริยธรรมวิจัย ทุนวิจัย และการทําวิจัย ซึ่งมีบุคลากรเฉพาะทางจํานวน 2 คน และฝุายวิจัย ของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมีอาจารย์ด้านระบาดxxxxx จํานวน 4 คน
2.4 มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้อย่างเพียงพอ
มีห้องสมุด หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และเว็ปไซด์ห้องสมุดของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ xxxxxxเข้าถึงแหล่งข้อมูลทางวิชาการxxxxxxxxxx และมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารให้เป็น ส่วนหนึ่งของการฝึกอบรมอย่างมีประสิทธิภาพและถูกหลักจริยธรรม
2.5 กิจกรรมวิชาการ
หลักสูตรจัดให้มีกิจกรรมวิชาการสม่ําเสมอ ได้แก่
- การประชุมวิชาการด้านการระงับปวด สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ประกอบด้วย pain journal club, topic review, pain intervention review, interesting case, research club และ morbidity/mortality conference
- การประชุมวิชาการระหว่างสถาบัน เดือนละ 1 ครั้ง ได้แก่ interhospital acute pain conference
- xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx สัปดาห์ละ 3 ครั้ง xxxx anesthesia collective review, journal club, ethic conference, morbidity/mortality conference
- สนับสนุนให้แพทย์ผู้เข้าฝึกอบรมไปร่วมประชุมวิชาการด้านการระงับปวดนอกสถานที่ตามโอกาสอันxxx xxxx การประชุมวิชาการของราชวิทยาลัยวิสัญญีฯ และสมาคมการศึกษาเรื่องความปวดแห่งประเทศไทย
ภาคxxxxxxx 3 เนื้อหาสังเขปของหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านxxxxxx เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการ ประกอบวิชาชีพเวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา)
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านxxxxxxเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา) จะต้องครอบคลุมเนื้อหาดังต่อไปนี้ พร้อมทั้งแสดงระดับ ความสําคัญที่แพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องทราบ โดยแบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่
ระดับที่ 1 มีความสําคัญ ซึ่งแพทย์ประจําบ้านxxxxxx ต้องทราบและให้การดูแลรักษาได้ด้วยตนเอง
ระดับที่ 2 มีความสําคัญน้อยกว่าระดับ 1 ซึ่งแพทย์ประจําบ้านxxxxxx ควรทราบและดูแลรักษาได้ ภายใต้ การควบคุมของอาจารย์
ระดับที่ 3 มีความสําคัญน้อยกว่าระดับ 1 ซึ่งแพทย์ประจําบ้านxxxxxx อาจทราบและดูแลรักษาได้ หรือ xxxxxxเรียนรู้โดยการศึกษาด้วยตนเอง หรือฟังบรรยาย และสถาบันฝึกอบรมควรจัดให้มีการเรียนรู้
โรคในกลุ่มนี้อย่างพอเพียง หลักสูตร ครอบคลุมเนื้อหาดังต่อไปนี้
1. Foundational knowledge of pain medicine
1.1. Describe the anatomy and neurophysiology of nociception (1)
1.2. Describe the pathophysiology of acute pain including mechanisms, modulation and associated physiologic consequences (1)
1.3. Define the disorder of chronic pain utilizing the International Association for the Study of Pain (IASP) Classification of Chronic Pain (1)
1.4. Describe the pathophysiology of chronic pain including origins, mechanisms, modulation and associated physiologic consequences (1)
1.5. Describe current concepts of the placebo response and their implications for assessment and therapy (1)
1.6. Describe known genetic influences on pain and pharmacotherapy for pain as well as the role of genomic techniques in investigating pain physiology (1)
1.7. Summarize the mechanism of action, pharmacology, side effects and monitoring of the following drugs or drug classes: (1)
1.7.1.Opioid receptor agonists and antagonists 1.7.2.Serotonin/norepinephrine re-uptake inhibitors 1.7.3.Calcium channel blockers
1.7.4.Sodium channel blockers 1.7.5.Prostaglandin inhibitors
1.7.6.N- Methyl d- Aspartic acid (NMDA) receptor antagonists 1.7.7.Cannabinoids
1.7.8.Acetaminophen
1.8. Explain the administration, scoring, interpretation, limitations, and clinical utility of at least one validated outcome measure in each of the following domains:
1.8.1.Pain (1)
1.8.2.Mood (1)
1.8.3.Function (1)
1.8.4.Sleep (1)
1.8.5.Quality of life and health care utilization (1)
2. Psychiatry
2.1. Describe how psychiatric illness, relevant to pain medicine, may be modulated through predisposing, precipitating, perpetuating, and protecting factors (1)
2.2. List important psychological mechanisms involved in pain and suffering (1)
2.3. Describe how neurobiological predisposition, childhood and early life experiences, cultural and societal environments may impact pain perception and experience using a bio- psycho-social model (1)
2.4. Identify characteristics of patients with pain who would most benefit from a formal psychological assessment (1)
2.5. Outline indications, contraindications, benefits (efficacy) and risks (safety) and summarize the evidence that supports the following clinical treatments (1)
2.5.1.Biofeedback
2.5.2.Cognitive Behavioral Therapy (CBT) 2.5.3.Hypnosis
2.5.4.Goal setting 2.5.5.Imagery training
2.5.6.Mindfulness Based Cognitive Therapy (MBCT) 2.5.7.Mindfulness Based Stress Reduction (MBSR) 2.5.8.Patient education programs
2.5.9.Patient self-management techniques
2.6. Define catastrophizing and kinesophobia as predictors of chronic pain treatment outcomes; describe common assessment tools for detecting each and outline interventions that can be used to reduce the severity of each condition (1)
2.7. List diagnostic criteria, describe appropriate screening questionnaires, outline the fundamentals of treatment strategies (and contraindications for other treatments), and state the indications for psychiatric or psychological assessment for the following psychiatric disorders
2.7.1.Major depressive disorder (1) 2.7.2.Bipolar mood disorders (1)
2.7.3.Post-traumatic stress disorder, panic disorder, social anxiety disorder, generalized anxiety disorder (1)
2.7.4.Substance use disorders (1) 2.7.5.Attention deficit disorders (2) 2.7.6.Somatoform disorders (1)
2.7.7.Personality disorders (1)
2.8. Explain the potential effect of pain treatments on psychiatric comorbidities
3. Neurology
3.1. Describe the epidemiology, pathophysiology, natural history, diagnosis, treatments, and prognosis of common conditions causing neuropathic pain (1)
3.2. Describe the features of neuropathic pain including peripheral and central sensitization; list the common symptoms and signs of each and explain their role in the persistence of pain (1)
3.3. Demonstrate knowledge of diagnosis, appropriate investigations, and management of common painful peripheral nervous system disorders, including but not limited to 3.3.1.Compression and entrapment syndromes
3.3.2.Ischemic nerve injuries
3.3.3.Infectious lesions including herpes zoster 3.3.4.Post-herpetic neuralgia
3.3.5.Painful diabetic neuropathy
3.4. Demonstrate knowledge of diagnosis, appropriate investigations and management of common painful central nervous system disorders including post-stroke pain, spinal cord injury, and multiple sclerosis (1)
3.5. Explain the appropriate use of clinical tests used to diagnose neuropathic pain (1)
3.6. Describe the indications for and limitations of imaging, nerve conduction studies, electromyography, and quantitative sensory testing in the diagnosis of neuropathic pain (1)
3.7. Describe common validated tools that have been developed to assess neuropathic pain; identify their purpose, scoring, interpretation, and limitations (1)
3.8. Describe the classification, mechanisms, assessment and management of chronic headache, and facial and oro-dental pain syndromes (1)
3.9. Identify the critical factors for assessing life-threatening headache including but not limited to early morning nausea and vomiting and focal neurological signs and symptoms (1)
3.10. Formulate a stepwise approach to pharmacotherapeutics and pain interventions for a patient with neuropathic pain, applying published consensus guidelines, and taking into consideration the patient’s individual medical complexity (1)
4. Cancer pain management (1)
4.1. Describe the epidemiology, pathophysiology, natural history, treatment, and prognosis of common cancers
4.2. Outline common pain management problems that are unique to cancers or to their treatment
4.3. Describe the pain-related complications of chemotherapy, radiotherapy, pharmacotherapy, and surgery
4.4. Explain how cancer cycles of recurrence and remission might affect pain assessment and treatment
4.5. Describe the psychological, social, cultural and spiritual effects of a life-threatening disease on pain assessment and treatment
4.6. Utilize guidelines for the pharmacologic management of cancer pain; identify the differences with regards to utilizing opiates and co-analgesics in a variety of administration routes
4.7. Outline the management of pain-related complications of chemotherapy, pharmaco- therapy, radiation, and surgery
4.8. Identify acute and life-threatening complications of cancer including, but not limited to, raised intracranial pressure, spinal cord compression, and hypercalcemia
4.9. Describe the indications, contraindications, risks, and benefits of anesthetic and neurosurgical procedures to control cancer related pain, including but not limited to local anesthetic and neurolytic blocks, and neuraxial drug delivery systems
4.10. Describe the elements of both an outpatient and inpatient cancer pain service
4.11. Identify characteristics of patients who would most benefit from psychosocial intervention, home care, and palliative care
5. Musculoskeletal system and rehabilitation (2)
5.1. Describe the epidemiology, pathophysiology, natural history, diagnosis, treatments, and prognosis of common painful musculoskeletal diseases, including but not limited to inflammatory and degenerative joint disease, soft tissue rheumatism and diffuse body pain
5.2. Demonstrate knowledge of diagnosis, appropriate investigations and management of common rheumatic conditions including but not limited to rheumatoid arthritis, connective tissue diseases, seronegative arthritis, polymyalgia rheumatica, inflammatory myopathy and soft tissue pain disorders such as myofascial pain and fibromyalgia
5.3. Describe specific pain syndromes that may occur following spinal cord injury, post-stroke and after limb amputation
5.4. Demonstrate knowledge of the diagnosis and management of common xxxxxxxxxxx of the spine that may cause pain, including but not limited to mechanical back pain, intervertebral disc herniation with radiculopathy, spinal stenosis and whiplash associated disorders (1)
5.5. Demonstrate knowledge of diagnosis and management of emergent conditions of the spine, including but not limited to tumor, fracture, myelopathy, and infection (1)
5.6. Describe the indications for the various modalities of diagnostic imaging specific to MSK assessment; identify expected imaging abnormalities for common pain diagnoses; explain the relationship between imaging findings and pain (1)
5.7. Formulate an appropriate treatment plan for managing musculoskeletal pain (2)
5.8. Outline injection formulations and techniques that may be used to treat painful soft tissue and joint disorders (1)
5.9. Describe the principles, indications and limitations of physical treatments, including but not limited to exercise-based treatment, passive physical therapies such as ultrasound, transcutaneous electrical nerve stimulation (TENS), manual therapies, manipulation and massage in the management of musculoskeletal pain (1)
5.10. Describe the principles, indications, and limitations of occupational therapy management (pacing, ergonomics and work/daily activity modification) in the management of musculoskeletal pain (2)
5.11. Cite current evidence for the potential role of complementary and alternative medicine commonly used in managing musculoskeletal pain (1)
5.12. Identify functional domains as outcome measures for pain (2)
5.12.1. Summarize the principles of functional restoration in individuals with pain, and specify the evidence supporting different types of chronic pain activation programs
5.13. Describe the medico legal concepts of impairment, disability, and handicap and how these apply to individuals with pain (2)
6. Acute pain management (1)
6.1. List common acute pain conditions, their epidemiology, pathophysiology, natural history, treatment, and prognosis
6.2. Describe the elements of an acute pain assessment; explain how it may differ from a chronic pain assessment
6.3. Identify specific assessment techniques for acute pain
6.4. Describe how specific patient characteristics such as culture, age, cognitive impairment, language barrier, level of consciousness might affect acute pain assessment
6.5. Describe the adverse physiological and psychological effects, both immediate and long term, of inadequate pain management in the acute care setting
6.6. Identify patients whose injury, disease, or surgery, in combination with their psychological characteristics may put them at risk of developing chronic pain
6.6.1.Describe treatments which might decrease that risk
6.7. Describe the indications, contraindications, delivery routes, side effects, and complications of specific pharmacological interventions used for acute pain management including medications from the following classes: (1)
6.7.1.Opioid receptor agonists 6.7.2.Serotonin/norepinephrine re-uptake inhibitors 6.7.3.Calcium channel blockers
6.7.4.Sodium channel blockers 6.7.5.Prostaglandin inhibitors 6.7.6.NMDA receptor antagonists
6.8. Describe current methods of interventional techniques in acute pain management including their indications, contraindications, side effects, and complications including the following: (1)
6.8.1.Neuraxial block technique 6.8.2.Peripheral nerve and plexus block 6.8.3.Neuromodulation procedures
6.9. Describe the evidence for non-pharmacological techniques used for acute pain relief and describe how they can be successfully utilized in acute pain management (1)
6.10. Identify factors that complicate treatment of a patient with acute pain including previous chronic pain condition, opioid tolerance, substance abuse and psycho-social factors (1)
7. Pediatrics
7.1. Explain the common acute and chronic pain syndromes unique to pediatric patients, their epidemiology, pathophysiology, natural history, symptoms, signs, treatment, and prognosis (1)
7.2. Describe how developmental, psychosocial, family, and cultural factors affect the assessment of pain in pediatric patients and use this knowledge when formulating a treatment plan (1)
7.3. Use common validated tools to measure pain in neonates, children, and adolescents, including children with cognitive impairment. Identify their purpose and explain their administration, scoring, interpretation, and limitations, and define clinical utility (1)
7.4. Describe the differences between adults and children with regards to common analgesic pharmacotherapy and use this knowledge when formulating a treatment plan (1)
7.5. Describe approved strategies for safe prescribing and monitoring of off-label pain therapies in pediatric patients (1)
7.6. Describe non-pharmacologic approaches used in pediatrics to reduce procedural pain and to treat pain (2)
7.7. Outline the evidence regarding adverse physiological and psychological effects of inadequate pain management in neonates and infants (1)
7.8. Describe the assessment and management of a child or youth who experiences pain sensitization following repeated or prolonged exposure to acute pain episodes, for example in pediatric rheumatologic, oncologic or neurologic conditions (1)
8. Addiction Medicine
8.1. Define addiction, tolerance, and physical dependence (1)
8.2. Describe the heterogeneity of opioid users in the population (abuse, misuse, diversion in pain and non-pain patients) and identify the health consequences of both untreated pain and opioid misuse or abuse (1)
8.3. Describe the core clinical features and treatment of patients with pain and addiction (1)
8.4. Stratify patients into low, moderate, or high-risk categories and identify patients who should be referred for addiction consultation prior to or during opioid therapy (1)
8.5. Describe the concept of "universal precautions" as it applies to treatment with opioids (1)
8.6. Employ validated risk assessment tools, and interviewing techniques to perform an appropriate risk assessment for a patient in whom opioids, benzodiazepines or cannabinoids are being considered (2)
8.7. Identify patients with co-morbid psychiatric and coping difficulties and select appropriate therapeutic strategies for pain management (1)
8.8. List aberrant drug-taking behaviors in patients prescribed opioids, identify which are predictive factors of abuse, misuse or diversion and describe differential diagnoses for these behaviors (1)
8.9. Describe a range of treatment strategies for pain management in patients with addiction either active or in remission (1)
8.10. Identify strategies to reduce opioid diversion, including but not limited to health provider education, patient education regarding safe storage, improved treatment resources for patient with pain, government collaboration regarding surveillance and regulations, and abuse resistant formulations (1)
8.11. Outline appropriate withdrawal schedules and strategies for managing withdrawal symptoms for opioids and benzodiazepines (1)
9. Sleep Medicine (2)
9.1. Describe how sleep disorders may affect patients with acute and chronic pain and may be modulated through predisposing, precipitating, perpetuating, and protecting factors
9.2. Describe the interaction between pain, sleep, medications, nonprescribed substances, anxiety, and mood disorders
9.3. Identify the characteristics of patients who would most benefit from referral to a sleep clinic
9.4. Outline non pharmacologic and pharmacologic treatment options for the common sleep problems that occur in association with chronic pain disorders
ภาคxxxxxxx 4
Clinical skills in Pain Medicine
เมื่อสิ้นสุดการฝึกอบรม แพทย์ประจําบ้านxxxxxxควรมีความxxxxxxในการดูแลรักษา และทําxxxxxxxต่อไปนี้
1. Pain assessment
ระดับที่ 1 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องทําได้ด้วยตนเอง
ระดับที่ 2 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจําบ้านxxxxxxควรทําได้ (ทําภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ)
ระดับที่ 3 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจําบ้านxxxxxxอาจทําได้ (ช่วยทําหรือได้เห็น)
Pain assessment | ระดับ 1 | ระดับ 2 | ระดับ 3 |
History and physical examination | 🗸 | ||
Multidimensional pain assessment and measurement | 🗸 | ||
Assessment in special population | 🗸 |
2. ภาวะปวด
แพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องรู้ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม และภาวะแทรกซ้อนของการจัดการความปวดต่าง ๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ ตามที่สถาบันฝึกอบรมควรจัดการเรียนรู้ ดังนี้
ระดับที่ 1 กลุ่มอาการปวดที่พบบ่อย และ/หรือ มีความสําคัญ ซึ่งแพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องดูแล รักษาได้ด้วยตนเอง
ระดับที่ 2 กลุ่มอาการปวดที่พบบ่อย และ/หรือ มีความสําคัญ ที่พบน้อยกว่าระดับ 1 และมี ความสําคัญ ซึ่งแพทย์ประจําบ้านxxxxxx ควร ดูแลรักษาได้ ภายใต้การควบคุมของอาจารย์
ระดับที่ 3 กลุ่มอาการปวดที่พบบ่อย และ/หรือ มีความสําคัญ ที่พบน้อยกว่าระดับ 1 และมี ความสําคัญซึ่งแพทย์ประจําบ้านxxxxxx อาจ ดูแลรักษาได้ หรือ xxxxxxเรียนรู้โดย การศึกษาด้วยตนเอง หรือฟังบรรยาย และสถาบันฝึกอบรมควรจัดให้มีการเรียนรู้โรคใน
กลุ่มนี้อย่างพอเพียง
โรคหรือภาวะ | ระดับ 1 | ระดับ 2 | ระดับ 3 |
Postoperative pain | 🗸 | ||
Posttraumatic pain | 🗸 | ||
Painful medical conditions | 🗸 | ||
Cancer pain | 🗸 | ||
Central Neuropathic pain | 🗸 | ||
Peripheral Neuropathic pain | 🗸 | ||
Musculoskeletal pain | 🗸 | ||
Visceral pain | 🗸 | ||
Ischemic pain | 🗸 | ||
Headache | 🗸 | ||
Pain in special population (Elderly, Infant, Pregnancy) | 🗸 | ||
Other (OIH, Tolerance, Addiction) | 🗸 |
3. ทักษะทางคลินิกในการบําบัดความปวด
แพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องรู้ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม และภาวะแทรกซ้อนของการจัดการความปวดต่าง ๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ ตามที่สถาบันฝึกอบรมควรจัดการเรียนรู้ ดังนี้
ระดับที่ 1 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องทําได้ด้วยตนเอง
ระดับที่ 2 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจําบ้านxxxxxxควรทําได้ (ทําภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ)
ระดับที่ 3 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจําบ้านxxxxxxอาจทําได้ (ช่วยทําหรือได้เห็น)
ทักษะทางคลินิก | ระดับ 1 | ระดับ 2 | ระดับ 3 |
การส่งตรวจทางคลินิกตามข้อบ่งชี้ ข้อห้าม และ ภาวะแทรกซ้อนxxx xxxจะเกิดขึ้น | 🗸 | ||
การแปลผลทางคลินิก | 🗸 | ||
การบําบัดปวดด้วยการใช้ยา | 🗸 | ||
Diagnostic nerve blocks | 🗸 | ||
Somatic blocks | 🗸 | ||
• Peripheral block | 🗸 | ||
• Plexus block | 🗸 | ||
Sympathetic blocks | |||
• Celiac plexus block | 🗸 | ||
• Stellate ganglion block | 🗸 | ||
• Sphenopalatine ganglion block | 🗸 | ||
• Lumbar sympathetic block | 🗸 | ||
• Superior hypogastric block | 🗸 | ||
• Ganglion impar block | 🗸 | ||
Spinal analgesia | 🗸 | ||
Epidural analgesia | 🗸 | ||
Patient controlled analgesia | 🗸 | ||
Intravenous lidocaine infusion | 🗸 | ||
Intravenous ketamine infusion | 🗸 | ||
Spine intervention | |||
• Epidural steroid injection | 🗸 | ||
• Facet joint injection/ Medial branch block | 🗸 | ||
• Selective nerve root injection | 🗸 | ||
• Sacroiliac joint injection | 🗸 | ||
Utilizing of Imaging for nerve blocks (Fluoroscopy, ultrasound) | 🗸 | ||
Neurolysis | |||
• Chemical | 🗸 | 🗸 | |
• Cryotherapy | |||
• Radiofrequency | 🗸 |
ทักษะทางคลินิก | ระดับ 1 | ระดับ 2 | ระดับ 3 |
Peripheral injection | |||
• Hip/ shoulder/ knee injection | 🗸 | ||
• Piriformis injection | 🗸 | ||
การบําบัดด้วยการไม่ใช้ยา | |||
• Acupuncture | 🗸 | ||
• Transcutaneous electrical nerve stimulation | 🗸 | ||
• Dry needling/ Trigger point injection | 🗸 |
4. การประเมินหรือดูแลรักษา
ระดับที่ 1 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจําบ้านxxxxxxต้องทําได้ด้วยตนเอง
ระดับที่ 2 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจําบ้านxxxxxxควรทําได้ (ทําภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ)
ระดับที่ 3 ทักษะทางคลินิกที่แพทย์ประจําบ้านxxxxxxอาจทําได้ (ช่วยทําหรือได้เห็น)
การประเมินหรือดูแลรักษา | ระดับ 1 | ระดับ 2 | ระดับ 3 |
ซักประวัติผู้ปุวยที่มีความปวด | 🗸 | ||
ประเมินความปวดด้านคุณภาพและปริมาณ | 🗸 | ||
ประเมินผลการระงับปวด | 🗸 | ||
xxxxxxxรักษาโดยใช้ยาที่ใช้บ่อย | 🗸 | ||
พิจารณาส่งต่อการรักษาได้ถูกต้อง | 🗸 | ||
ให้ความรู้แก่ผู้ปุวยและญาติ | 🗸 | ||
xxxxxxงานและปรึกษากับผู้ร่วมการรักษาสาขา อื่นได้เหมาะสม | 🗸 | ||
เขียนแบบฟอร์มส่งปรึกษาได้ถูกต้อง | 🗸 | ||
แสดงพฤติกรรมและความรับผิดชอบในการดูแล ผู้ปุวยอย่างต่อเนื่องและมีคุณธรรม | 🗸 |
ภาคxxxxxxx 5
Procedural skills in Pain Medicine
3 เดือน | 6 เดือน | 12 เดือน | 18 เดือน | 24 เดือน | |||
Entrustable professional activity (EPA) | EPA1 | History and physical examination | Level 3 | Level 4 | Level 5 | ||
EPA2 | Multidimensional pain assessment and measurement | Level 4 | Level 5 | Level 5 | |||
EPA3 | Cancer pain management | Level 3 | Level 4 | Level 5 | |||
EPA4 | Non-cancer pain management | Level 3 | Level 4 | Level 5 | |||
EPA5 | Acute pain management | Level 4 | Level 5 | ||||
EPA6 | Neuropathic pain management | Level 3 | Level 4 | Level 5 | |||
EPA7 | Palliative care | Level 3 | Level 4 | Level 5 | |||
EPA8 | Non-pharmacological pain management | Level 3 | Level 4 | Level 5 | |||
EPA9 | Spine intervention | Level 3 | Level 4 | Level 5 | |||
EPA10 | Somatic/Sympathetic block | Level 3 | Level 4 | Level 5 | |||
Direct observe procedural skill (DOP) | DOP1 | Pain intervention under fluoroscopic guidance | Level 3 | Level 4 | Level 5 | ||
DOP2 | Pain intervention under ultrasound guidance | Level 3 | Level 4 | Level 5 |
Entrustable Professional Activities
EPA1 History taking and physical examination
เมื่อสิ้นสุด 3 เดือน ต้องได้ผลประเมินอย่างน้อยระดับ 3 : 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 6 เดือน ต้องได้ผลประเมินอย่างน้อยระดับ 4 : 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องได้ผลประเมินอย่างน้อยระดับ 5 : 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจําบ้านxxxxxx......................................................................... xxxxxx....................................
หัวข้อการประเมิน | ไม่ทํา / ทําไม่ถูก | ทําxxxxxx ครบถ้วน | ทําได้ถูกต้อง ครบถ้วน |
1. xxxxxxซักประวัติ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความปวด จากผู้ปุวย/ญาติ/ผู้ดูแล ได้ อย่างเหมาะสม | |||
2. xxxxxxซักประวัติเพื่อแยกสาเหตุของความปวด | |||
3. xxxxxxสร้างความxxxxxxxxxxxดีต่อผู้ปุวย (ครอบครัว/ผู้ดูแล) สื่อสารกับผู้ปุวยและญาติด้วยวาจาและxxxxxxxxxเหมาะสม | |||
4. ประเมินผู้ปุวยในสถานที่ สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ที่เหมาะสม และเคารพใน xxxxxผู้ปุวย | |||
5. xxxxxxตรวจร่างกายทั่วไปในระบบต่าง ๆ ได้ถูกต้อง | |||
6. มีทักษะในการตรวจร่างกายเฉพาะ ในระบบที่เกี่ยวข้องกับความปวดของผู้ปุวย | |||
7. xxxxxxxxxxxxผลจากการซักประวัติ และตรวจร่างกาย เพื่อนําไปสู่การ วินิจฉัยแยกโรคที่พบxxxxxxx |
เกณฑ์ผ่าน : ทําได้ถูกต้องครบถ้วนทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน .............................................(ลายเซ็น) (ตัวxxxxx)
ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
EPA 2 Multidimensional pain assessment and measurement
เมื่อสิ้นสุด 6 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 4 : 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 5 : 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 5 : 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจําบ้าน............................................................................. xxxxxx........................................
หัวข้อการประเมิน | ไม่ทํา / ทําไม่ถูก | ทําxxxxxx ครบถ้วน | ทําได้ ถูกต้อง ครบถ้วน |
1. ประเมินความปวดด้านภาวะxxxxxx (affective domain of pain) xxxx xxxxxxวินิจฉัย ภาวะซึมxxxxxxxxต้องการการรักษากับจิตแพทย์อย่างเร่งด่วนได้ | |||
2. ประเมินผลของความปวดต่อการทําxxx xxxนอน การเข้าสังคมxxxxxxxทํางานและที่บ้าน (pain interference) | |||
3. ประเมินความปวดด้านการรับรู้ความปวด (cognitive domain of pain) และการจัดการ ความปวด (coping mechanism) โดยxxxxxxวินิจฉัย coping mechanism ที่ผิดxxxx xxxx xxxxxxxยา (dependency) หลีกเลี่ยง (avoidance) เพื่อประเมินข้อบ่งxxxxxxผู้ปุวยควร ได้รับ coping-skill assessment & training จากจิตแพทย์หรือไม่ | |||
4. ส่งปรึกษาจิตแพทย์ แพทย์ทางเวชศาสตร์ฟื้นฟู เมื่อมีข้อบ่งxxx xxxx สงสัยว่าผู้ปุวยอาจมีภาวะ ซึมเศร้า หรือผู้ปุวยไม่ยอมเดินเพราะปวด | |||
5. ส่งปรึกษาแพทย์สาขาอื่น ๆ ทีเกี่ยวข้องในการรักษาต้นเหตุของความปวด xxxx แพทย์มะเร็ง xxxxx xxxxxศัลยกรรมกระดูก | |||
6. อธิบายแบบประเมินความปวดแบบหลายxxxxxxxมีใช้ในประเทศไทยและข้อบ่งxxx xxxx BPI (Brief pain inventory; ประเมิน pain intensity and pain interference), ODI (Oswestry disability index; ประเมิน low back pain intensity and function), Hospital Anxiety and Depression Scale (HADS; ประเมินความวิตกกังวลและซึมเศร้า) เป็นต้น |
เกณฑ์ผ่าน : ทําได้ถูกต้องทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน...........................................(ลายเซ็น). (ตัวxxxxx)
ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
EPA 3 Cancer pain management
เมื่อสิ้นสุด 6 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจําบ้านxxxxxx ..................................................................xxxxxx....................................................
หัวข้อการประเมิน | ไม่ทํา / ทําไม่ถูก | ทําxxxxxx ครบถ้วน | ทําได้ ถูกต้อง ครบถ้วน |
1. การประเมินผู้ปุวยโดยการซักประวัติ ตรวจร่างกาย การส่งตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ รวมxxxxxxประเมินภาวะทางจิตใจ สังคม จิตวิญญาณ และ คุณภาพชีวิต | |||
2. การเลือกใช้เครื่องมือในการประเมินอาการปวดในผู้ปุวยที่สูญเสียการรับรู้ | |||
3. การวินิจฉัยแยกสาเหตุของอาการปวดจากมะเร็ง โดยอธิบายจากพยาธิสรีรวิทยา ของความปวดได้ | |||
4. การวางแผนการรักษา (ครอบคลุมข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ประวัติการ รักษาเดิม จากการปรึกษาทีมดูแลประคับประคองและมะเร็งxxxxx) | |||
5. การรักษาอาการปวดจากมะเร็ง การเลือกใช้ยา และวิธีการบริหารยา (แสดงให้ เห็นได้ว่ามีการใช้หลักฐานเชิงxxxxxxxxในการเลือกแนวทางการรักษา) โดยการนํา หลักการทางเภสัชวิทยา มาใช้ประกอบการให้ยาระงับปวดแก่ผู้ปุวย | |||
6. การรักษาผลข้างเคียงของยาระงับปวดที่พบบ่อย | |||
7. ใช้แนวทางสหสาขาวิชาชีพในการจัดการอาการปวดจากมะเร็ง (การปรึกษา xxxxxxงานกับนักจิตวิทยา/xxxxxxxx xxxxxxxxxx อายุรแพทย์ ศัลยแพทย์ ฯลฯ หรือการประคับประคองด้านจิตวิญญาณได้อย่างเหมาะสม) | |||
8. การใช้ทักษะในการจัดการสภาวะทางxxxxxxxxมีผลต่ออาการปวดในผู้ปุวยมะเร็ง ระยะลุกลาม (xxxxxxระบุอาการทางxxxxxxxxเกิดเนื่องจากภาวะที่คุกคามต่อชีวิต xxxx โกรธ กลัว ซึมเศร้า หรือ วิตกกังวล) | |||
9. การอธิบายเกี่ยวกับxxxxxxxระงับปวด เมื่อมีข้อบ่งชี้ | |||
10.การสื่อสารและให้คําแนะนํากับผู้ปุวยและ/หรือครอบครัว (ทั้งการพูดและการ เขียน) | |||
11.การบริหารจัดการด้านการดูแลผู้ปุวยภายใต้ข้อจํากัดต่าง ๆ xxxx xxxxxxxxxxxxx xxxเดินทางลําบาก | |||
12.การพัฒนาตนเองด้านวิชาการที่เกี่ยวกับการดูแลผู้ปุวยปวดจากมะเร็ง เพื่อนําลงสู่ การปฏิบัติ | |||
13.ความรับผิดชอบ: งานxxxxxxรับมอบหมาย ความตรงต่อเวลา | |||
14.การประเมินโดยรวมของการจัดการอาการปวดจากมะเร็ง |
เกณฑ์ผ่าน : ทําได้ถูกต้องครบถ้วนทุกข้อ
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน .............................................(ลายเซ็น) (ตัวxxxxx)
ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
EPA 4 Non-cancer pain management
เมื่อสิ้นสุด 6 เดือน ต้องได้ผลประเมินอย่างน้อยระดับ 3 : 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องได้ผลประเมินอย่างน้อยระดับ 4 : 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องได้ผลประเมินอย่างน้อยระดับ 5 : 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจําบ้านxxxxxx......................................................... xxxxxx..........................................................
หัวข้อการประเมิน | ไม่ทํา / ทําไม่ถูก | ทําxxxxxx ครบถ้วน | ทําได้ถูกต้อง ครบถ้วน |
1. ซักประวัติอาการปวดและประเมินอาการปวดเบื้องต้นได้ | |||
2. ตรวจร่างกายเพื่อประเมินอาการปวดเบื้องต้นได้ | |||
3. ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการได้อย่างเหมาะสม | |||
4. จําแนกชนิดของอาการปวดเบื้องต้นได้ | |||
5. เลือกใช้ยาในการระงับปวดได้อย่างเหมาะสม | |||
6. ทราบภาวะไม่พึงxxxxxxxxxxเกิดจากยาและxxxxxxให้การรักษา เบื้องต้นได้ | |||
7. เลือกใช้การระงับปวดxxxxxxใช้ยาได้อย่างเหมาะสม | |||
8. xxxxxxวางแผนการรักษา ติดตามอาการปวดของผู้ปุวยได้ | |||
9. xxxxxxให้คําแนะนําผู้ปุวยและญาติเกี่ยวกับการใช้ยาและภาวะไม่ พึงxxxxxxxxxxอาจเกิดขึ้นได้ | |||
10. สื่อสารกับผู้ปุวยและญาติด้วยวาจาและxxxxxxxxxเหมาะสม |
เกณฑ์ผ่าน : ทําได้ถูกต้องครบถ้วนทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน.................……………..…..……..(ลายเซ็น) (ตัวxxxxx)
ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
EPA 5 Acute pain management
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจําบ้าน……………………………………………………… xxxxxx……………………………………….
หัวข้อการประเมิน | ไม่ทํา / ทําไม่ถูก | ทําxxxxxx ครบถ้วน | ทําได้ ถูกต้อง ครบถ้วน |
1. ซักประวัติ ตรวจร่างกาย และประเมินผู้ปุวยที่มี Acute pain ได้ | |||
2. วางแผนแนวทางการรักษาและxxxxxxประยุกต์ใช้ guidelines รวมทั้งผู้ปุวยที่มีโรคทางxxxxxxxxxxxxxxxxอย่างเหมาะสม | |||
3. เลือกวิธีการรักษา ทั้งการใช้ยาและไม่ใช้ยาที่เหมาะสมกับผู้ปุวย | |||
4. วางแผนการรักษาร่วมกับผู้ปุวยและญาติได้ | |||
5. การให้ความรู้ อธิบายพยาธิxxxx xxxพยากรณ์โรค แนวทางและ ขั้นตอนการรักษาด้วยยาและxxxxxxxแก่ผู้ปุวยและญาติ | |||
6. ประเมินและติดตามผลการรักษา ให้การบําบัดผลข้างเคียงได้อย่าง เหมาะสม | |||
7. xxxxxxสอนแพทย์ประจําบ้าน / นักศึกษาแพทย์ / พยาบาล ได้อย่าง ถูกต้อง | |||
8. ลงบันทึกข้อมูลในเวชระเบียนได้อย่างถูกต้องครบถ้วน |
เกณฑ์ผ่าน : ทําได้ถูกต้องครบถ้วนทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน .............................................(ลายเซ็น) (ตัวxxxxx)
ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
EPA 6 Neuropathic pain management
เมื่อสิ้นสุด 6 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจําบ้าน……………………………………………………… xxxxxx……………………………………….
หัวข้อการประเมิน | ไม่ทํา / ทําไม่ถูก | ทําxxxxxx ครบถ้วน | ทําได้ ถูกต้อง ครบถ้วน |
1. ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ให้การวินิจฉัยแยกโรคภาวะที่ทําให้เกิด neuropathic pain xxxxxxx | |||
2. อธิบายเครื่องมือที่มีความแม่นxxxxxxใช้บ่อยเพื่อประเมิน neuropathic pain ใน แง่ของวัตถุประสงค์ของเครื่องมือ การให้คะแนน การแปลผล และข้อจํากัด | |||
3. อธิบายลักษณะทางคลินิก อาการ/อาการแสดงที่พบxxxxxxx และ clinical tests ของ neuropathic pain รวมทั้ง peripheral และ central sensitization | |||
4. เลือกส่งตรวจเพิ่มเติมและแปลผลการส่งตรวจทางรังสวินิจฉัย nerve conduction studies, electromyography และ quantitative sensory testing เพื่อการวินิจฉัย neuropathic pain ได้ | |||
5. วางแผนแนวทางการรักษาและxxxxxxประยุกต์ใช้ guidelines รวมทั้งผู้ปุวยที่ มีโรคทางxxxxxxxxxxxxxxxxอย่างเหมาะสม | |||
6. วางแผนการรักษาร่วมกับผู้ปุวยและญาติได้ | |||
7. การให้ความรู้ อธิบายพยาธิxxxx xxxพยากรณ์โรค แนวทางและขั้นตอนการ รักษาด้วยยาและxxxxxxxแก่ผู้ปุวยและญาติ | |||
8. ประเมินและติดตามผลการรักษา ให้การบําบัดผลข้างเคียงได้อย่างเหมาะสม |
เกณฑ์ผ่าน : ทําได้ถูกต้องครบถ้วนทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน .............................................(ลายเซ็น) (ตัวxxxxx)
ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
EPA 7 Palliative care
เมื่อสิ้นสุด 6 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องได้ผลประเมินศักยภาพโดยรวมอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจําบ้านxxxxxx ..................................................................xxxxxx....................................................
หัวข้อการประเมิน | ไม่ทํา / ทําไม่ถูก | ทําxxxxxx ครบถ้วน | ทําได้ ถูกต้อง ครบถ้วน |
1. การประเมินผู้ปุวยที่ดูแลแบบประคับประคองโดยองค์รวม (ครอบคลุมการ ซักประวัติที่เกี่ยวข้อง การตรวจร่างกาย การส่งตรวจ รวมxxxxxxประเมิน ภาวะทางจิตใจ สังคม จิตวิญญาณ และการทํางาน) | |||
2. การใช้แนวทางสหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้ปุวยแบบประคับประคอง (การปรึกษานักจิตวิทยา/จิตแพทย์ หรือการประคับประคองด้านจิต วิญญาณได้อย่างเหมาะสม) | |||
3. การอธิบายสาเหตุและพยาธิสรีรวิทยาในกลไกการเกิดอาการไม่สุขสบาย ทางxxxต่าง ๆ ในผู้ปุวยที่ดูแลแบบประคับประคอง | |||
4. การจัดการอาการปวดในผู้ปุวยที่ดูแลแบบประคับประคอง | |||
5. การจัดการอาการไม่สุขสบายทางxxxต่าง ๆ ในผู้ปุวยที่ดูแลแบบ ประคับประคอง รวมxxxxxxดูแลในช่วงระยะท้ายของชีวิต | |||
6. การใช้ทักษะในการจัดการสภาวะทางxxxxxxxxมีในผู้ปุวยที่ดูแลแบบ ประคับประคอง (xxxxxxระบุอาการทางxxxxxxxxเกิดเนื่องจากภาวะที่ คุกคามต่อชีวิต xxxx โกรธ กลัว วิตกกังวล หรือซึมเศร้า) | |||
7. การใช้หลักการทางจริยธรรมทางการแพทย์ในการดูแลผู้ปุวยแบบ ประคับประคอง (patient confidentiality, autonomy, medical futility) | |||
8. ทักษะการสื่อสารกับผู้ปุวย (และ/หรือครอบครัว) ในการบอกความจริง (บอกข่าวร้าย) และการวางเปูาหมายการรักษา โดยxxxxxxวางแผนการ ระงับปวดและอาการต่าง ๆ ในผู้ปุวยระยะท้าย (แนะนําวิธีการใช้ยาและ วิธีต่าง ๆ xxxxxxใช้ยา) | |||
9. ทักษะการสื่อสารและxxxxxxงานกับทีมสหสาขาวิชาชีพในเปูาหมายการ ดูแลผู้ปุวย (ทั้งการพูด การเขียน การบันทึก การส่งปรึกษา และการส่งต่อ ผู้ปุวย) | |||
10. ทักษะการพัฒนาตนเองด้านวิชาชีพและวิชาการ โดยxxxxxxนํามา ประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ปุวยแบบประคับประคอง (การใช้หลักฐานเชิง xxxxxxxxในการเลือกแนวทางการรักษา) |
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน .............................................(ลายเซ็น) (ตัวxxxxx)
ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
EPA 8 Non-pharmacological Pain Management
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 18 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจําบ้านxxxxxx ..................................................................xxxxxx....................................................
หัวข้อการประเมิน | ไม่ทํา / ทําไม่ถูก | ทําxxxxxx ครบถ้วน | ทําได้ ถูกต้อง ครบถ้วน |
1. พิจารณาและอธิบายการระงับปวดโดยวิธีxxxxxxใช้ยาตามความเหมาะสม xxxx การฝังเข็ม การกระตุ้นด้วยไฟฟูา แม่เหล็กหรือแสงเลเซอร์ การทํา nerve blocks ต่าง ๆ การ รักษาทางจิตใจ การฟื้นฟูสมรรถภาพ กายภาพบําบัด และการทําผ่าตัด เป็นต้น | |||
3. ทราบข้อบ่งชี้ ข้อห้าม และข้อควรระวัง ของวิธีต่าง ๆ ที่เลือกให้ผู้ปุวย | |||
4. วางแผนการรักษา (ครอบคลุมข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง xxxx อธิบายผู้ปุวยและญาติให้ เข้าใจ วางวัตถุประสงค์ในการรักษาร่วมกัน และปรึกษาผู้เชี่ยวชาญสาขานั้น ๆ ) | |||
5. ให้การรักษาที่ถูกต้อง หรือส่งปรึกษาและxxxxxxงานติดตามดูแลร่วมกับผู้เชี่ยวชาญ นั้น ๆอย่างสม่ําเสมอ | |||
6. ประเมินผลการรักษาและxxxxxxจัดการกับภาวะแทรกซ้อนจากวิธีเหล่านั้น อธิบาย และดูแลรักษาได้ รวมทั้งxxxxxxวางแผนการรักษาต่อได้ | |||
7. ให้ความสําคัญด้านxxxxxx สังคม และจิตใจ รวมทั้งคุณภาพชีวิตของผู้ปุวยและผู้ดูแล หรือญาติ | |||
8. ใช้ multimodality ในการดูแลรักษาความปวดอย่างสม่ําเสมอ | |||
9. แสดงให้เห็นว่ามีการศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ |
เกณฑ์ผ่าน : ทําได้ถูกต้องครบถ้วนทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน .............................................(ลายเซ็น) (ตัวxxxxx)
ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
EPA 9 Spine intervention
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 18 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจําบ้านxxxxxx....................................................... xxxxxx....................................................
หัวข้อการประเมิน | ไม่ทํา / ทําไม่ถูก | ทําxxxxxx ครบถ้วน | ทําได้ ถูกต้อง ครบถ้วน | |
3 | xxxxxxซักประวัติ ตรวจร่างกายและให้การวินิจฉัยแยกโรคได้ | |||
4 | xxxxxxอ่าน plain film, MRI spine ได้ | |||
5 | xxxxxxเลือกผู้ปุวยที่เหมาะสมกับxxxxxxxxxxจะทําได้ | |||
6 | อธิบายข้อดี ข้อเสีย และภาวะแทรกซ้อนของการทําxxxxxxxได้ | |||
7 | อธิบายขั้นตอนการเตรียมตัวตั้งแต่ ก่อน ระหว่าง และหลังการทําxxxxxxx ให้แก่ผู้ปุวยได้ | |||
8 | xxxxxxประเมินและเตรียมผู้ปุวยก่อนทําxxxxxxxได้ | |||
9 | ทําxxxxxxxได้ (ใช้เครื่องมือและยาถูกต้อง มี sterile technique xxxxx ไม่ ทําให้ผู้ปุวยxxxxxxxทรมานขณะทําxxxxxxx) | |||
10 รู้จักปูองกันอันตรายจากรังสีแก่ตนเอง ผู้ปุวยและผู้ร่วมงาน | ||||
11 xxxxxxxรักษาและดูแลผู้ปุวยหลังทําxxxxxxx | ||||
12 การลงบันทึกในเวชระเบียนและ informed consent | ||||
13 สื่อสารกับผู้ปุวยและญาติด้วยวาจาและxxxxxxxxxเหมาะสม |
เกณฑ์ผ่าน : ทําได้ถูกต้องครบถ้วนทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน.............................................(ลายเซ็น). (ตัวxxxxx)
ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
EPA 10 Somatic / Sympathetic block
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 18 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจําบ้าน........................................... xxxxxx....................................................
หัวข้อการประเมิน | ไม่ทํา / ทําไม่ถูก | ทําxxxxxx ครบถ้วน | ทําได้ ถูกต้อง ครบถ้วน |
1. ประเมินผู้ปุวยทั้งประวัติ ตรวจร่างกายและผล investigation ก่อนได้รับ xxxxxxxระงับปวด พร้อมสรุปผลประเมินให้ผู้ปุวยและญาติเข้าใจ | |||
2. อธิบายสาเหตุปวดที่เป็นไปได้และแนวทางการรักษาโดยภาพรวม รวมทั้ง อธิบายบทบาทและวัตถุประสงค์ของxxxxxxx | |||
3. อธิบายข้อบ่งชี้และข้อห้ามในการทําxxxxxxxxxxจะทําได้ | |||
4. อธิบายขั้นตอนการทําxxxxxxxให้ผู้ปุวยและญาติเข้าใจ | |||
5. ชี้แจงข้อดี xxxx ประสิทธิภาพของxxxxxxx และข้อเสียของxxxxxxx รวมทั้ง ภาวะแทรกซ้อนxxxxxxเกิดขึ้นได้และวิธีการแก้ไขภาวะแทรกซ้อน ให้ผู้ปุวย และญาติจนเข้าใจพร้อมกับเซ็นยินยอมเข้ารับxxxxxxx | |||
6. เลือกใช้ยาฉีดและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม พร้อมอธิบายเหตุผล | |||
7. วินิจฉัยภาวะแทรกซ้อนจากxxxxxxxและxxxxxxให้การรักษาเบื้องต้นได้ | |||
8. ติดตามและประเมินอาการปวดของผู้ปุวยหลังได้รับxxxxxxx รวมทั้งประเมิน ความพร้อมของผู้ปุวยก่อนให้ผู้ปุวยกลับบ้าน | |||
9. แนะนําผู้ปุวยและญาติเกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติหลังได้รับxxxxxxxและภาวะไม่ พึงxxxxxxxxxxอาจเกิดขึ้นได้ | |||
10.สื่อสารกับผู้ปุวยและญาติด้วยวาจาและxxxxxxxxxเหมาะสม |
เกณฑ์ผ่าน : ทําได้ถูกต้องทุกข้อ
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า ชื่ออาจารย์ผู้ประเมิน...........................................(ลายเซ็น). (ตัวxxxxx)
ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ภาคxxxxxxx 6
Direct Observation of Procedural Skills
DOPS 1 Intervention under fluoroscopic guidance
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 18 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจําบ้านxxxxxx........................................................... xxxxxx.......................................................
Intervention under fluoroscopic guidance | ไม่ถูกต้อง / ไม่ปฏิบัติ | ถูกต้อง บางส่วน / ไม่xxxxxxx | ถูกต้อง xxxxxxx แก้ปัญหาได้ (ถ้ามี) |
1. การเตรียมอุปกรณ์ | |||
1.1 ยาและอุปกรณ์ทางxxxxxxxที่จําเป็น | |||
1.2 sterile set, needles, syringes, น้ํายาทําความสะอาด | |||
1.3 ยา: ยาชา, สารทึบรังสี, steroid, neurolytic agent | |||
1.4 สวมอุปกรณ์ปูองกันรังสี: ชุดตะกั่ว, thyroid shield, แว่นกัน รังสี | |||
2. การเตรียมผู้ปุวย | |||
2.1 xxxxxxx XX access/ IV fluid ได้อย่างเหมาะสม | |||
2.2 อธิบายผู้ปุวยให้เข้าใจขั้นตอนและให้ความร่วมมือในการทํา xxxxxxx | |||
2.3 Monitoring | |||
2.4 Position | |||
3. เทคนิคการทําxxxxxxx | |||
3.1 Sterile technique | |||
3.2 การปรับxxxxxและ C-arm | |||
3.3 การบังคับเข็ม | |||
3.4 การแปลผลภาพถ่ายทางรังสี | |||
3.5 การสื่อสารกับผู้ปุวยในระหว่างทําxxxxxxx | |||
4. การติดตามหลังทําxxxxxxx | |||
4.1 การลงบันทึกใน procedural note | |||
4.2 ประเมินผล diagnostic block / therapeutic procedure | |||
4.3 ให้คําแนะนําการปฏิบัติตนภายหลังการทําxxxxxxx | |||
4.4 บอก complications ได้, รู้วธิ ีการแก้ไข, วิธีปูองกันและรักษา |
บันทึกคําแนะนําเพิ่มเติม ………………………………......…...…….................................................……………………………………………………………… …………………………………......…...…….................................................………………………………………………………………............. ............................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................... ......................................... ............................................................................................................ | ||||
ผลการประเมินทักษะการทําxxxxxxx | ผ่าน* | ไม่ผ่าน |
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า อาจารย์ผู้ประเมิน................................................(ลายเซ็น) (ตัวxxxxx)
ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
DOPS 2 US guided intervention for pain management
เมื่อสิ้นสุด 12 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 3: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 18 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 4: 1 ครั้ง
เมื่อสิ้นสุด 24 เดือน ต้องxxxxxxxxประเมินอย่างน้อยระดับ 5: 1 ครั้ง
ชื่อแพทย์ประจําบ้านxxxxxx ....................................................... xxxxxx.......................................................
Spinal block | ไม่ถูกต้อง / ไม่ปฏิบัติ | ถูกต้อง บางส่วน / ไม่xxxxxxx | ถูกต้อง xxxxxxx แก้ปัญหาได้ (ถ้ามี) |
1. การเตรียมอุปกรณ์ | |||
1.1 เตรียมอุปกรณ์ช่วยหายใจ, US probe (linear or curved) and cover | |||
1.2 Dressing set, needle, syringe, chlorhexidine | |||
1.3 ยา: ยาชา, type of steroid, vasopressor(for caudal or neuraxial block) | |||
2. การเตรียมผู้ปุวย | |||
2.1 IV catheter for high-risk block (sympathetic block, cervical spine) | |||
2.2 อธิบายผู้ปุวยให้เข้าใจและให้ความร่วมมือในการทําxxxxxxx | |||
2.3 Monitoring | |||
2.4 Position | |||
4. เทคนิคการ block | |||
3.1 Sterile technique | |||
3.2 ขั้นตอนถูกต้อง needle visualization especially tip of the needle | |||
3.3 Scaning technique | |||
5. ทราบ complications | |||
4.1 บอก complication ได้ รู้วิธีการแก้ไข วิธีปูxxxxxและรักษา |
ผลการประเมินทักษะการทําxxxxxxx | ผ่าน* | ไม่ผ่าน |
การประเมินระดับศักยภาพโดยรวม
□ Level 1 = ให้เป็นผู้xxxxxxxxxxxเท่านั้น
□ Level 2 = xxxxxxปฏิบัติงานได้ภายใต้การควบคุมของอาจารย์อย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน
□ Level 3 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง ภายใต้การชี้แนะของอาจารย์
□ Level 4 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง โดยมีอาจารย์ให้ความช่วยเหลือเมื่อต้องการ
□ Level 5 = xxxxxxปฏิบัติงานได้เอง และควบคุมผู้ที่มีประสบการณ์น้อยกว่า อาจารย์ผู้ประเมิน................................................(ลายเซ็น) (ตัวxxxxx)
ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
การประเมินการปฏิบัติงานของแพทย์ประจําบ้านxxxxxx
หัวข้อการประเมิน | คะแนนxxxxxxรับ |
1. ความรู้ (Knowledge) (20 คะแนน) | |
มีความรู้ทางทฤษฎีอย่างกว้างขวางและลึกซึ้ง | |
ไฝุรู้ และศึกษาต่อเนื่องอยู่เสมอ | |
2. ทักษะ (Skill) (10 คะแนน) | |
xxxxxxทําxxxxxxxบําบัดความปวดxxxxx | |
3. ความxxxxxx (Abilities) (20 คะแนน) | |
xxxxxxคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และจัดการกับความปวดได้ถูกต้องและเหมาะสม | |
xxxxxxควบคุมสถานการณ์ฉุกเฉิน และตัดสินใจแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าxxxxx | |
ดูแลรักษาความปวดแบบสหสาขา และทํางานอย่างเป็นระบบ | |
4. จริยธรรม (20 คะแนน) | |
มีความซื่อสัตย์ | |
รักษาความลับผู้ปุวยและเคารพในxxxxxผู้ปุวย | |
เอื้อประโยชน์ต่อผู้ปุวย ปฏิบัติต่อผู้ปุวยด้วยความเห็นใจ | |
5. ความรับผิดชอบ (10 คะแนน) | |
มีความตรงต่อเวลา xxxx ออกตรวจผู้ปุวยนอกตรงเวลา เข้า activity ตรงเวลา | |
มีความรับผิดชอบระหว่างการปฏิบัติงานประจําวัน และเวลาxxxxxxx | |
ทํางานxxxxxxรับมอบหมาย โดยที่อาจารย์ไม่ต้องคอยติดตาม | |
6. ความเสียสละ (10 คะแนน) | |
xxxxxช่วยเหลือกิจกรรมของหน่วยระงับปวดและภาควิชาฯ xxxx งานเกษียณ งานปีใหม่ | |
xxxxxxxxจะอยู่ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ในกรณีxxxxxxxxxxxxxxxx | |
7. มนุษยสัมพันธ์ (5 คะแนน) | |
มีการสื่อสารกับผู้ร่วมงานได้เหมาะสม | |
xxxxxxเข้ากับแพทย์ประจําบ้านวิสัญญีและแพทย์ประจําบ้านxxxxxxด้วยกันได้เป็น อย่างดี | |
ปฏิบัติงานร่วมกับบุคลากรอื่น โดยให้เกียรติ และยอมรับว่าเป็นผู้ร่วมงาน | |
8. การแสดงออก (5 คะแนน) | |
แสดงออกเหมาะสม ถูกกาลเทศะ | |
กล้าแสดงความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนความรู้ในกิจกรรมวิชาการ | |
คะแนนรวม (100 คะแนน) |
แบบคําร้องขอตรวจสอบผลการสอบ/ประเมินผลแพทย์ประจําบ้านxxxxxx
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เรียน ประธานคณะกรรมการการหลักสูตรฯ
เขียนที่..........................................................
xxxxxx......... เดือน....................... พ.ศ..............
ด้วยข้าพเจ้า นพ./พญ. ......................................................................................................................................
มีความxxxxxxxขอตรวจสอบผลสอบ ………….…………………..……………….……………………………………..............................
ภาควิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เมื่อxxxxxx..........เดือน...................พ.ศ.................. เนื่องด้วยเหตุผล..................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.................................................................
(................................................................)
ผู้ยื่นคําร้อง
การตรวจสอบผลพบว่า
🞎 ยืนยันผลการตัดสนิ
🞎 เปลี่ยนแปลงผลการตัดสนิ โดย
......................................................................................................................
......................................................................................................................
ขอรับรองว่าดําเนินการตามขั้นตอน
.............................................................................
(.............................................................................)
ประธานหลักสตร
ภาคxxxxxxx 9 การรับแพทย์ประจําบ้านxxxxxx
9.1 เกณฑ์การรับแพทย์ประจําบ้านxxxxxx
ผู้สมัคร คนที่ 1 | ผู้สมัคร คนที่ 2 | ผู้สมัคร คนที่ 3 | |
คุณวุฒิ (30 คะแนน) - ต้นสังกัด (20 คะแนน) - คะแนนภาษาอังกฤษ - คะแนนสะสมเฉลี่ย - คะแนนวิชาวิสัญญีวิทยา | |||
ทัศนคติต่อวิชาชีพ (20 คะแนน) - เหตุผลในการเรียน - การใช้ทุนครบ - การทํางานเพื่อส่วนรวม | |||
อุปนิสัย และบุคลิกภาพ (30 คะแนน) - จากการสัมภาษณ์ xxxx xxxxxxxxxxxxxในการ ตอบปัญหา การแต่งxxx - จดหมายรับรอง - ความเห็นของบุคคลอื่นxxxxxxปฏิบัติงานด้วย | |||
ความตั้งใจจริง (10 คะแนน) - การมาติดต่อกับภาควิชา การมาสมัครหลายครั้ง - ความครบถ้วนของเอกสาร - การเคยมา elective | |||
ความxxxxxxพิเศษอื่น ๆ (10 คะแนน) xxxx คอมพิวเตอร์, HA, xxxxx ความxxxxxxในการ พัฒนา ฯลฯ | |||
รวม (100 คะแนน) |
9.2 เอกสารสําแดงสําหรับกรรมการสอบสัมภาษณ์รับแพทย์ประจําบ้านxxxxxx ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ข้าพเจ้า
1. รองศาสตราจารย์xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxติชัย ประธานหลักสูตร
2. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxx
3. ศาสตราจารย์xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxนันท์ กรรมการ
4. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxx xxxxxxx
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์(พิเศษ)แพทย์หญิงxxxxxx เฉลิมxxxxxxxxย์ กรรมการ
6. xxxxxxxxxxxxxxxปัตย์ xxxxxxxxxxxxxx กรรมการและเลขานุการ
อาจารย์ประจําภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอทําคํารับรองเป็น เอกสารเพื่อยืนยันว่าข้าพเจ้าไม่อยู่ในฐานะเป็นผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้เข้ารับการสัมภาษณ์ อันอาจทําให้การสอบ สัมภาษณ์รับแพทย์ประจําบ้าน/แพทย์ประจําบ้านxxxxxx ครั้งนี้xxxxxxxxxxx
ข้าพเจ้ารับทราบว่า หากมีกรณีที่พบว่าข้าพเจ้ามีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้เข้ารับการสัมภาษณ์ ข้าพเจ้าxxxxxยุติการ ปฏิบัติหน้าที่ทันทีxxxxxxรับการร้องขอ โดยคณะกรรมการการสอบสัมภาษณ์เป็นผู้พิจารณาและจะถือเป็นข้อยุติ
จึงขอเรียนยืนยันและรับรองมา
ลงชื่อ
1. รองศาสตราจารย์xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxติชัย (. )
2. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx (. )
3. ศาสตราจารย์xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxนันท์ (. )
4. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxx (. )
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์(พิเศษ)แพทย์หญิงxxxxxx เฉลิมกิจพานิชย์ (. )
6. อาจารย์นายแพทย์ปัตย์ ปั้นเหน่งเพ็ชร (. )
วันที่…………. เดือน…………………… พ.ศ. ............
ภาคผนวกที่ 10 การประเมินเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
อนุสาขาเวชศาสตร์ความปวด (วิสัญญีวิทยา)
การประเมินเพื่อวุฒิบัตรฯ
1. คุณสมบัติผู้มีสิทธิ์เข้าสอบ
- ผ่านการฝึกอบรมครบตามหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของระยะเวลาการฝึกอบรม
- มีประสบการณ์การปฏิบัติงานที่มีประเภทและจํานวนผู้ปุวยอย่างน้อยตามที่คณะกรรมการการฝึกอบรมและ สอบฯ กําหนด
- สถาบันฝึกอบรมเห็นสมควรให้เข้าสอบโดยผ่านเกณฑ์การเลื่อนชั้นปีตามที่หลักสูตรกําหนด
- มีบทความงานวิจัยพร้อมส่งตีพิมพ์ (manuscript) และใบรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยใน มนุษย์
2. เอกสารประกอบ
- เอกสารรับรองประสบการณ์ภาคปฏิบัติจากสถาบันฝึกอบรมตามที่กําหนด และสถาบันฝึกอบรมเห็นสมควร ให้เข้าสอบ
- บทความงานวิจัยพร้อมส่งตีพิมพ์ (manuscript) และใบรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
- เอกสารรายงานการปฏิบัติงานที่มีประเภทและจํานวนผู้ปุวยอย่างน้อยตามที่คณะกรรมการการฝึกอบรมและ สอบฯ กําหนด ดังต่อไปนี้
▪ ตรวจรักษาผู้ปุวยนอก (รายใหม่) จํานวน 100 ราย
▪ ตรวจรักษาผู้ปุวยในที่มีความปวดเฉียบพลัน จํานวน 100 ราย
▪ ตรวจรักษาผู้ปุวยในที่มีความปวดเรื้อรังที่ไม่ใช่มะเร็ง จํานวน 50 ราย
▪ ตรวจรักษาผู้ปุวยในที่มีความปวดมะเร็ง จํานวน 100 ราย
▪ เอกสารผ่านการประเมิน EPA 1-10 และ DOP 1-2
3. วิธีการประเมิน ประกอบด้วย
- การสอบ ต้องได้คะแนนมากกว่าร้อยละ 60 ประกอบด้วย
▪ ปรนัย (multiple choice question; MCQ) (น้ําหนักคะแนนร้อยละ 50)
▪ อัตนัย (modified essay question; MEQ, essay, short answer question; SAQ) (น้ําหนัก คะแนนร้อยละ 30)
▪ การสอบภาคปฏิบัติ เช่น long case (น้ําหนักคะแนนร้อยละ 20)
- การสอบปากเปล่าและประเมินผลงานวิจัย (เกณฑ์ผ่าน/ไม่ผ่าน) เกณฑ์การพิจารณาตัดสินผลการประเมิน ต้องผ่านเกณฑ์ทั้ง 2 ส่วน
▪ ถ้าสอบปากเปล่าไม่ผ่าน โดยกรรมการประจําห้องสอบมีมติเกินสองในสาม ให้สอบใหม่ทั้งหมดในปี การศึกษาหน้า
▪ ถ้าสอบปากเปล่าผ่าน แต่คะแนนรวมไม่เกินร้อยละ 60 ให้สอบข้อเขียนใหม่ได้ 1 ครั้ง ถ้าคะแนนรวม ยังไม่เกินร้อยละ 60 ให้สอบใหม่ทั้งหมดในปีถัดไป