สัญญาเลขที่ RDG59N0044
รายงานฉบับxxxxxxx
โครงการวิจัย
แนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่ม “สตรีชาวลาว” ในพื้นที่ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
โดย
xxxxxxxxx xxxxxxxx และxxxxxxx xxxxxxx หัวหน้าโครงการ
เมษายน 2561
สัญญาเลขที่ RDG59N0044
โครงการ “แนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่ม “สตรีชาวลาว” ในพื้นที่ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา”
ชื่อ – นามสกุล | บทบาทในทีม | บทบาทในชุมชน | |
1. | xxxxxxxxx xxxxxxxx | xxxxxxxxxxxxxxวิจัย | ครู กศน.ตําบล |
2. | xxxxxxx xxxxxxx | หัวหน้าโครงการวิจัย | สตรีชาวลาว |
3. | นายภูดิศ xxxxเรือน | นักวิจัย | ครู คศ.1 |
4. | xxxxxxxxx xxxxxxxx | xxxxxxxx | ครูอาสาฯ |
5. | xxxxxxxxx xxxxxxxx | นักวิจัย | ครูอาสาฯ |
6. | xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx | xxxxxxxx | xxx xxx.ตําบล |
7. | xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx | xxxxxxxx | xxx xxx.ตําบล |
8. | xxxxxxxxx xxxxx | xxxxxxxx | xxx xxx.ตําบล |
9. | น.ส.xxxxxxx xxxxxxx | xxxวิจัย | ครู ศรช. |
10. | น.ส.xxxxxxxxx ใชxxxxxx | นักวิจัย | เจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ |
11. | น.ส.xxxxxx สุxxxxxx | นักวิจัยชุมชน | สตรีชาวลาว |
12. | xxxxxx xxxxxxxxx | xxxxxxxxxxxxx | xxxxxxxxxx |
13. | xxxxxx xxxxx | xxxxxxxxxxxxx | xxxxxxxxxx |
14. | xxxxx xxxxxxx | xxxxxxxxxxxxx | xxxxxxxxxx |
15. | xxxxxx xxxxxxxx | นักวิจัยชุมชน | สตรีชาวลาว |
16. | xxxxxx xxxxxxxxxx | xxxxxxxxxxxxx | xxxxxxxxxx |
รายงานฉบับxxxxxxxตั้งแต่ xxxxxx 1 พฤษภาคม 2559 – 31 xxxxxx 2560 คณะผู้วิจัย
ที่ปรึกษา
1. | xxxxxxxxx xxxxxxxx | ปลัดอําเภอหัวหน้าฝ่ายบริหารงานxxxxxx |
งานวิจัยเพื่อxxxxxxxxเป็นxxxxxxxxxxxxคนในชุมชน ได้มาร่วมคิดทบทวนสถานการณ์ ตั้งคําถาม วางแผน หา ข้อมูล ทดลองทํา วิเคราะห์ สรุปผลการทํางานและหาคําตอบเพื่อปรับปรุงงานต่อไป” กล่าวคือ งานวิจัยเพื่อxxxxxxxx เป็นเครื่องมือหนึ่งที่เน้นการให้ “คน” ในชุมชนเข้ามาร่วมในกระบวนการวิจัย ตั้งแต่การxxxxxxxx xxxตั้งคําถาม การ วางแผน และค้นหาคําตอบอย่างเป็นระบบเป็นรูปธรรม โดยเรียนรู้จากการปฏิบัติการจริง (Action Research) อัน ทําให้ชุมชนได้เรียนรู้ xxxxxxxงาน มีความเก่งขึ้นในการแก้ปัญหาของตนเอง และxxxxxxใช้กระบวนการนี้ในการ แก้ไขปัญหาอื่นๆ ในxxxxxxxx โดยมีกระบวนการศึกษาเรียนรู้อย่างเป็นเหตุเป็นผล ดังนั้นจุดเน้นของงานวิจัยเพื่อ xxxxxxxx xxxอยู่ที่ “กระบวนการ” มากกว่า “ผลลัพธ์” เพื่อให้ชาวบ้านได้ประโยชน์จากงานวิจัยโดยตรง และให้ งานวิจัยมีส่วนในการแก้ปัญหาของชาวบ้าน รวมxxxxxxxxxxxเปลี่ยนแปลงขึ้นจริงในชุมชน ซึ่งจะต้องอาศัย “เวที” (การประชุม เสวนา พูดคุยถกเถียง) เป็นวิธีการเพื่อให้คนในชุมชน ทั้งชาวบ้าน ครู นักพัฒนา สมาชิกอบต. กรรมการ สหกรณ์ ข้าราชการ หรือกลุ่มคนอื่นๆ เข้ามาร่วมหา ร่วมใช้ “xxxxx” ในกระบวนการวิจัย
“กระบวนการวิจัยเพื่อxxxxxxxx” หมายxxx xxxทํางานอย่างเป็นขั้นตอน เพื่อตอบ “xxxถำม” หรือ “ควำมสงสัย” บางอย่าง ดังนั้นสิ่งสําคัญคือประเด็น “คําถาม” ต้องคมชัด โดยมีการxxxxxxประเด็นว่า ข้อสงสัย อยู่ตรงไหน มีการหา “ข้อมูล” ก่อนทํา มีการวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของข้อมูล มีการ “วำงแผน” การทํางานบน ฐานข้อมูลที่มีอยู่ และในระหว่างลงมือทํามีการ “บันทึก” มีการ “ทบทวน” ความxxxxxxxx “วิเครำะห์” ความสําเร็จและอุปสรรคอย่างสม่ําเสมอ เพื่อ “ถอด” กระบวนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นออกมาให้ชัดเจน ในที่สุดก็จะ xxxxxx “สรุปบทเรียน” ตอบคําถามที่ตั้งไว้แล้วอาจจะทําใหม่ให้ดีขึ้น ตลอดจนxxxxxxนําไปใช้เป็นบทเรียนสําหรับ เรื่องอื่นๆ หรือพื้นที่อื่นๆ ต่อไป ซึ่งทั้งหมดนี้กระทําโดย “ผู้ที่สงสัย” ซึ่งเป็นคนในxxxxxxxxxxxxxxx ดังนั้น
กระบวนการงานวิจัยเพื่อxxxxxxxxxxxเป็นงานวิจัยอีกแบบหนึ่งxxxxxxยึดติดกับxxxxxxxแบบแผนทางวิชาการมากนัก แต่ เป็นการสร้างความรู้ในตัวคนxxxxxxxx โดยคนxxxxxxxx เพื่อคนxxxxxxxx โดยมุ่งแก้ไขปัญหาด้วยการทดลองทําจริง และมี การบันทึกและวิเคราะห์อย่างเป็นxxxxxxx การวิจัยแบบนี้จึงไม่ใช่เครื่องมือทางวิชาการ ไม่ใช่ของxxxxxxxxxxxxxxxผูกขาด อยู่กับครูบาอาจารย์ แต่เป็นเครื่องมือธรรมดาที่ชาวบ้านก็ใช้เป็นประโยชน์ในชีวิตประจําxxxxxx
สกว.ฝ่ายวิจัยเพื่อxxxxxxxxxxxใช้วิธีการสนับสนุนงานวิจัยเพื่อxxxxxxxx ตามแนวคิดและหลักการดังกล่าวมาแล้ว ในระยะเวลาหนึ่ง พบว่า ชาวบ้านหรือทีมวิจัยส่วนใหญ่xxxxxxสะท้อนการดําเนินงานด้วยการบอกเล่าได้เป็นอย่างดี ในขณะเดียวกันก็พบว่า การเขียนรายงาน เป็นปัญหาที่สร้างความหนักใจให้แก่นักวิจัยเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นด้วยความ ตระหนักถึงสถานการณ์ปัญหาดังกล่าว สกว.ฝ่ายวิจัยเพื่อxxxxxxxx xxxได้ปรับรูปแบบการเขียนรายงานวิจัย ให้มีความ ยืดหยุ่น และมีความง่ายต่อการนําเสนองานออกมาในรูปแบบที่นักวิจัยxxxxโดยไม่ยึดติดในเรื่อง ของภาษาและ รูปแบบที่เป็นวิชาการมากเกินไปซึ่งเป้าหมายสําคัญของรายงานวิจัยยังxxมุ่งเน้นการนําเสนอให้เห็นภาพของ กระบวนการวิจัยมากกว่าผลลัพธ์xxxxxxจากการวิจัยโดยกลไกสําคัญที่จะช่วยให้นักวิจัย ให้มีความxxxxxxเขียนรายงาน ที่นําเสนอกระบวนการวิจัยได้ชัดเจนยิ่งขึ้น คือ ศูนย์xxxxxxงานวิจัย (Node) ในพื้นที่ ซึ่งทําหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง โครงการวิจัยมาตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งจบการทํางานวิจัย ดังนั้น Node จะรับรู้พัฒนาการของโครงการวิจัยมาโดย ตลอด บทบาทการวิเคราะห์เนื้อหาหรือกิจกรรมของโครงการจึงเป็นการทํางานร่วมกันระหว่าง Node และนักวิจัย ซึ่งความร่วมมือดังกล่าวได้นํามาซึ่งการถอดบทเรียนโครงการวิจัยสู่การเขียนมาเป็นรายงานวิจัยที่มีคุณค่าในที่สุด
อย่างไรก็ตามรายงานวิจัยเพื่อxxxxxxxxxxxไม่xxxxxxxแบบดังxxxxรายงานวิจัยเชิงวิชาการโดยทั่วไป หากแต่ได้ คําตอบและเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการวิจัย ซึ่งท่านxxxxxxเข้าไปค้นหา ศึกษาและเรียนรู้เพิ่มเติมได้ จากพื้นที่
สกว.ฝ่ายวิจัยเพื่อxxxxxxxx
คํานํา
โครงการแนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่ม“สตรีชาวลาว” ในพื้นที่ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัด พะเยา กศน.อําเภอภูซางได้ดําเนินการตาม นโยบายด้านการศึกษานอกระบบของสํานักงาน กศน. มีจุดเน้น การดําเนินงานด้านการxxxxxxxxการรู้หนังสือการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพมุ่งเน้นให้สถานศึกษา ดําเนินการจัดให้ผู้ไม่รู้หนังสือได้เรียนรู้จากหลักสูตรและสื่อที่เหมาะสมกับสภาพของกลุ่มเป้าหมายแต่ละกลุ่ม และจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพให้เพื่อพัฒนากลุ่มเป้าหมายให้เกิดทักษะ องค์ความรู้xxxxxxนําไปปรับใช้ใน ชีวิตประจําวันทั้งนี้โดยร่วมมือกับสถานศึกษา องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานเครือข่าย สอดคล้อง และเหมาะสมกับความต้องการของประชาชนในพื้นที่ให้เข้าถึงโอกาสของการศึกษาได้อย่างเท่าเทียม และลด ปัญหาความเหลื่อมล้ํา รวมถึงxxxxxxเป็นฐานของการนําไปสู่แนวทางของการแก้ไขปัญหาความมั่นคงในเขต พื้นที่ชายแดนได้
คณะผู้วิจัยxxxxxxxxอย่างยิ่งว่าผลจากการศึกษาโครงการแนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่ม“สตรีชาว ลาว” ในพื้นที่ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ให้กับชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทุกระดับ หรือบุคคลที่สนใจแนวคิดในการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาว เพื่อนําไปสู่การxxxxxxxxการรู้ หนังสือและการพัฒนาอาชีพให้กับประชาชนในพื้นที่เกิดxxxxxxxxxxอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้นต่อไป
คณะนักวิจัย 2561
สารบัญ | ||
หนา | ||
คํานําบอกเล่าเพื่อความเข้าใจร่วมกัน | ก | |
คํานํา | ค | |
สารบัญ | ง | |
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อภาษาไทย | จ ฉ |
บทที่ 1 บทนํา
1.1 ความเป็นมาและความสําคัญ 1
1.2 กรอบแนวคิดในการวิจัย 5
1.3 คําถามงานวิจัย 5
1.4 วัตถุประสงค์ 5
1.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 6
1.6 xxxxxxxxxx 6
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 7
2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 33
บทที่ 3 วิธีการดําเนินงาน
3.1 วิธีการดําเนินงาน 35
3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการดําเนินงาน 36
3.3 แผนการดําเนินงาน 37
บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน
4.1 ผลการดําเนินงานตามวัตถุประสงค์ 41
บทที่5 สรุปอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการดําเนินงาน 83
5.2 การอภิปรายผล 91
5.3 ข้อเสนอแนะ 94
บรรณานุกรม 100
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก. ภาพกิจกรรม 102
ภาคผนวก ข. การใช้ประโยชน์งานวิจัย 108
ภาคผนวก ค. xxxxxxxxxxxxxxx 114
กิตติกรรมประกาศ
การศึกษาวิจัยในหัวข้อ “แนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่ม“สตรีชาวลาว” ในพื้นที่ตําบลภูซาง อําเภอ ภูซาง จังหวัดพะเยา” ได้สําเร็จลุล่วงโดยได้รับการสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนxxxxการวิจัย ฝ่ายวิจัยเพื่อ xxxxxxxx xxxเป็นผู้สนับสนุนเงินทุนและเป็นพี่เลี้ยงให้คําปรึกษาแนะนํา
ขอขอบคุณ xx. xxxxx xxxxxxxxx ผศ.xx.xxxxxx xxxxxx และ xxxxxxxxxxxx xxxxxxx ผู้อํานวยการศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ที่เป็นผู้ให้คําแนะนํา และพัฒนา นักวิจัยให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ตลอดจนเป็นที่ปรึกษา และตรวจสอบคุณภาพ ของโครงการวิจัย ส่งผลให้ผู้วิจัยxxxxxxศึกษาวิจัยได้สําเร็จxxxxxx xxxขอขอบพระคุณมา ณ ที่นี้
ขอขอบคุณกลุ่มสตรีชาวลาว บ้านฮวกหมู่ที่ 3 หมู่ที่ 12 และบ้านห้วยส้าน หมู่ที่ 4 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ที่ให้ความร่วมมือในการร่วมกันถอดองค์ความรู้ การจัดกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้ นักวิจัยxxxxxxวิเคราะห์ข้อมูลบริบทชุมชน ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านการศึกษา ด้าน วัฒนธรรม ทําให้นักวิจัยxxxxxxนําข้อมูลxxxxxxมาอภิปรายผลและให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษา ค้นคว้าและนําไปประยุกต์ใช้ต่อไปได้
xxxxxxxx
บทคัดย่อ
โครงการวิจัยเรื่อง “แนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่ม “สตรีชาวลาว” ในพื้นที่ตําบลภูซาง อําเภอภู ซาง จังหวัดพะเยา เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR : Participatory Action Research) โดย มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อสืบค้น รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องร่วมกับกลุ่มสตรีชาวลาวในพื้นที่ เป้าหมาย 2. เพื่อกําหนดรูปแบบการพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของความรู้ ความxxxxxxของตนเองอย่างเต็มประสิทธิภาพ กระบวนการทํางานวิจัย เน้นการสืบค้นข้อมูลองค์ความรู้ที่ เกี่ยวข้องผ่านกระบวนการวิเคราะห์และxxxxxxผลเพื่อนําไปวางแผนพัฒนาและออกแบบกิจกรรม ไปพร้อมๆ กับการพัฒนาศักยภาพตามความต้องการของกลุ่มสตรีชาวลาวผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ใช้เครื่องมือ xxxxxxวิจัยเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการการแสดงความคิดเห็น กล้าแสดงออกสร้างให้xxxxxxxทํางานเป็นทีม ระหว่างนักวิจัยและชุมชนเพื่อxxxxxxxxxxxไปในทิศทางเดียวกัน โดยอาศัยข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มสตรีชาวลาว บริบทพื้นที่ตําบลภูซาง ผลจากการทดลองให้กลุ่มสะใภ้ลาวได้ทดลองฝึกทักษะตามข้อมูลที่วิเคราะห์xxx xxxx 4 ฐาน การศึกษา สังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมตอบโจทย์ตามวัตถุประสงค์ได้อย่างชัดเจนในทุกมิติ ทีมวิจัยจึง ข้อสรุปของแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาวออกมา 4 แนวทาง ดังนี้
1. การพัฒนาศักยภาพในฐานเศรษฐกิจ จะเน้นเรื่องการพัฒนาอาชีพที่ตอบxxxxความต้องการของ
กลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้องและเหมาะสมกับพื้นที่ชายแดนเพื่อรองกับการเปิดด้านxxxxและการเปลี่ยนแปลง ในxxxxx
2. การพัฒนาศักยภาพในฐานการศึกษา จะเน้นการบูรณาการการศึกษาในด้านการจัดการศึกษา
ต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม และชุมชน การศึกษาตามอัธยาศัย และในทุกกิจกรรมเพื่อตอบxxxxความต้องการของกลุ่มสตรีชาวลาวและให้ กลุ่มสตรีชาวลาวเข้าถึงมาที่สุด
3. การพัฒนาศักยภาพในฐานสังคม เน้นการยอมรับ การมีส่วนร่วมกับชุมชน การให้ความรู้เรื่องxxxxx ของตนเอง ตลาดชายแดน เพื่อให้กลุ่มมีความตระหนักในสถานะของตนเองและxxxxxxปรับตัวอยู่ในสังคมได้
อย่างภาคภูมิใจ
4. การพัฒนาศักยภาพบนฐานวิถีและวัฒนธรรมของสตรีชาวลาว จะเน้นเรื่องxxxxxxxxxxxxสืบทอด กันมาจากสมัยก่อน xxxxสมุนไพรพื้นบ้าน การแต่งxxx ภาษา ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีอัตลักษณ์ในตัวเอง
จากข้อมูลที่พบและสรุปเป็นองค์ความรู้xxxxxx ทําให้ได้แนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่ สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของความรู้ความxxxxxxของตนเองอย่างเต็มประสิทธิภาพ ทั้ง 5 กิจกรรม นอกจากจะxxxxxวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ยังได้ความภูมิใจ ทักษะกระบวนการ ประสบการณ์ในการทํางานวิจัย ดัง คํากล่าวที่ว่า “คนทําวิจัยเท่านั้นที่รู้ คนไม่รู้ คือคนxxxxxxทําวิจัย” ที่นักวิจัยได้มากกว่าองค์ความรู้คือ “กระบวนการและประสบการณ์” นักวิจัยกลุ่มสตรีชาวลาว ได้กระบวนการใช้ชีวิตภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม ถูกปลดปล่อยและมีตัวตนขึ้นมาอย่างxxxxxxxxxมีศักดิ์ศรี เกิดความภาคภูมิใจในตนเองนักวิจัย ครู กศน.อําเภอภู ซาง ได้แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาxxxxxxได้ถูกตีกรอบเพียง เรื่องของการเรียนหนังสือเท่านั้น ยังมีรูปแบบและ แนวทางอื่นๆ ในหลายๆ มิติ ที่มีความหลากหลาย น่าค้นหา น่าสนใจ และยังเกิดประสิทธิภาพxxxxxxxxxxสูง สูดในการจัดการศึกษา ในมุมมองนักจัดการศึกษามีความเห็นว่า “กระบวนงานวิจัยน่าจะเป็นทางเลือกในการ จัดการศึกษาสําหรับ กศน.เพื่อนําไปสู่การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของคนในชุมชนหรือกลุ่มxxxxxxxxxxx เกี่ยวข้อง” ในปัจจุบันและในxxxxx
บทนํำ
1.1 ควำมเป็นมำและควำมสํำคัญของปัญหำ
จุดเน้นการดําเนินงาน กศน. ตามxxxxxxxxxxกระทรวงศึกษาธิการ 6 xxxxxxxxxxประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2560 xxxxxxxxxx xxx 3 การผลิตและพัฒนากําลังคน รวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับ ความต้องการของการพัฒนาประเทศข้อ 3.2 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้ สอดคล้อง และ รองรับกับความต้องการของการพัฒนาตามบริบทของแต่ละพื้นที่ในเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ โดยมุ่งเน้นผลิตกําลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่ พร้อมทั้งสร้างทักษะ ทางวิชาชีพ โดยเน้นด้านการบริหารและการประกอบการ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับการพัฒนา ศักยภาพในแนวทางxxxxxขึ้นxxxxxxxxxxxxx 4. ขยายโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาและการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตข้อ 4.5 จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนทุกช่วงวัย “กศน. ช่วย ประชาชน”xxxx จัดการเรียนวิชาชีพระยะสั้น (โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน) ให้กับประชาชนที่ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน บริบทของพื้นที่ จัดการศึกษาเพื่อxxxxxxxxxxคุณภาพ ชีวิตให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ และการพัฒนาทักษะชีวิตในการเตรียมความพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ สังคม xxxxxxxxและสิ่งแวดล้อม และการเข้าสู่สังคมเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วย นวัตกรรม (Thailand 4.0)
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ทิศใต้ ติดต่อกับ | ตําบลตับเต่า ตําบลหงาว ตําบลป่าสัก ตําบลทุ่งกล้วย | อําเภอเทิง อําเภอเทิง อําเภอภูซาง อําเภอภูซาง | จังหวัดเชียงราย และ จังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยา และ จังหวัดพะเยา |
ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก | ติดต่อกับ ติดต่อกับ | เมืองคอบ แขวงxxxxxxx สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ตําบลxxxxxxxx อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา |
ตําบลภูซางเป็นชุมชนที่มีวัฒนธรรมเก่าแก่ มีประชากรอยู่xxxxxxx และเป็นเส้นทางเชื่อมเข้า สู่สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมาหลายชั่วอายุคน นอกจากนี้ยังมีแหล่งxxxxxxxxxxที่สําคัญ คือ อุทยานแห่งชาติภูซาง อยู่ชายแดนด้านทิศตะวันออกติดต่อสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว (สปป.ลาว)และเป็นเส้นทางผ่านขึ้นภูชี้ฟ้าที่เป็นแหล่งxxxxxxxxxxสําคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย ตําบลภูซาง อยู่ห่างจากที่ว่าการอําเภอภูซางไปทางด้านทิศตะวันออกxxxxxxxxxxประมาณ 6 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัดพะเยาประมาณ 105 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับตําบลต่างๆ ดังต่อไปนี้
ภำพที่ 1 แผนที่โดยสังเขปของอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
ตําบลภูซางxxxxxxชายแดนไทย-ลาว ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า ด่านปางมอญของสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) และเปิดเป็นด่านxxxxแล้ว ในส่วนของด่านฝั่งไทยกําลัง ดําเนินการที่จะยกระดับเป็นด่านxxxx ซึ่งล่าช้ากว่าด่านปางมอญเนื่องจากการขออนุมัติใช้พื้นที่ใน ส่วนของการดําเนินการก่อสร้างที่อยู่ในเขตป่าสงวน ล่าสุดสํานักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับ ประเทศเพื่อนบ้าน (สพพ.) ปรับปรุงและก่อสร้างถนนช่วงบ้านฮวก จังหวัดพะเยา-เมืองคอบ-เมือง xxxxxxxxx และเมืองคอบ-บ้านก้อนตื่น สปป.ลาว xxxxxxxxxxนั้น ถนนมีลักษณะเป็นทางลูกรัง ใช้สัญจร จากด่านบ้านฮวก-ด่านบ้านปางมอญ ถึงเมืองคอบ ไปบ้านปากคอบ บ้านก้อนตื่น และจากเมืองคอบ ไปเมืองxxxxxxxxx ซึ่งสภาพถนนจะเดินทางลําบากในหน้าฝน ตอนนี้กําลังพัฒนาปรับปรุงและก่อสร้าง เส้นทางดังกล่าว เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางด้านคมนาคมขนส่งระหว่างประเทศไทยกับ สปป. ลาว ซึ่งจะก่อให้xxxxxxxพัฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน การxxxxxxxxxx และยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ร่วมกัน จะทําให้การเดินทางจากภาคเหนือตอนบนของไทยไปยัง เมืองหลวงพระบางมีความรวดเร็วและประหยัดเวลาการเดินทางมากขึ้น และxxxxxxเดินทางต่อไปยัง ประเทศxxx (คุนหมิง) และประเทศเวียดนาม (เดียนเบียนฟู) ต่อไปได้โดยใช้ถนนหมายเลข 3 และ หมายเลข 4 สนับสนุนให้การค้าชายแดนของไทยที่บริเวณบ้านฮวก อ.ภูซาง จ.พะเยา และบ้านปาง มอญ สปป.ลาว มีการขยายตัวมากขึ้น รวมxxxxxxลงทุน และการxxxxxxxxxxในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง การเดินทางและขนส่งจากประเทศไทยเข้าถึงพื้นที่ต่างๆ ของ สปป.ลาว ได้สะดวกรวดเร็วขึ้น รวมถึงมี การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและสร้างความเข้าใจความxxxxxxxxxxxดีระหว่างสองประเทศ แต่การยกระดับ เป็นxxxxxxxxxxxส่งผลกระทบในด้านลบหลายๆxxxxxxxx ปัญหาการเข้ามาในประเทศโดยผิด กฎหมายxxxxxxxขึ้น ปัญหาแรงงาน การแข่งขันทางด้านสินค้าและบริการ ชีวิตความเป็นอยู่ของ ประชาชนในพื้นที่ การเข้าถึงการศึกษา ซึ่งสิ่งเหล่านี้ชุมชนจะต้องพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในxxxxx ตําบลภูซางเป็นสังคมแบบชนบท ผู้คนมีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย มีวัฒนธรรมที่หลากหลาย ที่ ผ่านมามีการอพยพย้ายxxxxxxxของกลุ่มxxxxxxxxxxโดยเฉพาะสตรีจาก สปป.ลาว เข้ามาในประเทศไทย และแต่งงานกับชายไทยตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ส่วนใหญ่เข้ามาอาศัยอยู่ในxxxxxxxxxxxxxxที่ 3, 4 และ 12 ของตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ด้วยเหตุที่สตรีชาวลาวเป็นบุคคลที่ไม่มี
สถานะถูกต้องทางทะเบียนราษฎร์ นอกจากนี้สตรีชาวลาวที่ย้ายxxxxxxxเข้ามามีครอบครัวในประเทศ ไทยนั้นจะสิ้นสุดxxxxxxxxเป็นพลเมืองของสปป.ลาว ลงไปด้วย ตลอดจนปัญหาการเดินทางที่ ยากลําบากและปัญหากฎหมายการข้ามxxxระหว่างไทย-ลาว xxxxxxxxxxและเปลี่ยนแปลงไปตาม นโยบายของรัฐบาลสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จึงส่งผลทําให้ความxxxxxxxxติดต่อระหว่าง xxxxxxxxxลดลง และxxxxxxxลืมเลือนวัฒนธรรม ภาษา และการดํารงวิถีชีวิตดั้งเดิมของตนเองลงไป
จากการพูดคุยกับกลุ่มสตรีชาวลาวเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในเบื้องต้นทําให้ทราบว่า สตรีชาว ลาวที่อพยพxxxxxxใหญ่xxxxxxกันอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 3, 4 และ 12 ซึ่งกลุ่มสตรีนี้ส่วนใหญ่เดินทางมา จากแขวงไชยะบุรี สปป.ลาว โดยผ่านทางจุดผ่อนปรนชายแดนไทย-ลาวบ้านฮวก (กิ่วหก) เป็นกลุ่ม สตรีชาวลาวที่เป็นxxxxxxxxxxลื้อและxxxxxxxxxxลาว สาเหตุที่อพยพเข้าxxxxxxใหญ่เพราะxxxxxxความ เป็นอยู่xxxxxxxxxxxxx และสภาพถิ่นที่อาศัยเดิมไม่เอื้ออํานวยต่อการสร้างรายได้ ดังนั้นจึงxxxxxxx ลักลอบหนีเข้ามาในประเทศไทยโดยระยะแรกได้เข้ามาอาศัยอยู่กับญาติพี่น้องที่มาทํางานในประเทศ ไทยก่อนหน้าแล้ว และส่งรายได้กลับไปxxxxxxxครอบครัวที่ยังxxอาศัยอยู่ใน สปป.ลาว เมื่อสตรีชาว ลาวกลุ่มนี้ได้อพยพเข้ามาอยู่จนพ้นเลยระยะเวลาที่กําหนดจึงถูกตัดสัญชาติลาวไปโดยอัตโนมัติ ทําให้ ไม่xxxxxxเดินทางกลับไป สปป.ลาว ได้อีก จึงส่งผลให้สตรีชาวลาวที่ถูกตัดสิทธิ์ ต้องดําเนินชีวิตอยู่ให้ ได้ในประเทศไทยและไม่xxxxxxกลับไปเยี่ยมญาติพี่น้องในฝั่งลาวได้อีกต่อไป อย่างไรก็ดีในปัจจุบั น จํานวนสตรีชาวลาวในตําบลภูซางไม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากเนื่องจากมีการxxxxxxxทางด้าน กฎหมาย
สถานการณ์ที่กลุ่มสตรีชาวลาวดังกล่าวที่อยู่ในฐานะบุคลต่างด้าวที่ไม่มีสัญชาติ จึงเป็นสาเหตุ ให้สตรีกลุ่มนี้xxxxxxxxxพักพิงเพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ตนเองด้วยการแต่งงานกับชายไทย ที่แม้ว่าจะมี การแต่งงานที่ถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทย แต่ไม่xxxxxxจดทะเบียนสมรสให้ถูกต้องตาม กฎหมาย ดังนั้นสถานะภาพของกลุ่มสตรีนี้จึงไม่xxxxxxประกอบอาชีพตามสถานะทางกฎหมายได้ใน ประเทศไทยต้องพึ่งพาสามีในการดํารงชีวิต ไม่มีบทบาทหรือแสดงสิทธิ์ในชุมชน และยังไม่เป็นที่ ยอมรับในสังคมชุมชนเท่าที่ควร ส่งผลให้กลุ่มสตรีชาวลาวนี้ไม่มีโอกาสใช้ความxxxxxxของตนเพื่อ ช่วยเหลือxxxxxxxครอบครัว ส่งผลให้สตรีชาวลาวไม่มีความมั่นใจในสถานะของตนเอง ต้องใช้ชีวิตที่ เรียบง่ายแบบคนไร้สัญชาติ และขาดโอกาสในการเข้าถึงxxxxxต่างๆที่ควรได้รับ xxxx xxxxxxxx รักษาพยาบาล การเดินทางนอกพื้นที่ การศึกษา การประกอบอาชีพในต่างถิ่น อย่างไรก็ตามกลุ่มสตรี กลุ่มนี้ก็ยังxxอัตลักษณ์ของความเป็นสตรีชาวลาวไว้ให้เห็นเชิงxxxxxxxx xxxx การแต่งxxxตามแบบ ของสตรีชาวลาวตามประเพณีสําคัญ (ประเพณีวันxxxxxxxx,ลอยกระทง,ขึ้นxxxxxxxx) วันสําคัญทาง ศาสนา (ออกพรรษา,เข้าพรรษา,วันวิสาขบูชา) และการใช้ภาษาในการสื่อสาร ความรู้xxxxxxxxx ความxxxxxxxxxxxxxx อดทน สิ่งนี้ยังxxแสดงตัวตนในเชิงสัญลักษณ์ของกลุ่มสตรีชาวลาว และเป็นสิ่งที่ ให้xxxxxถึงรากเหง้าของแหล่งที่มาของตนเองอยู่เสมอแม้จะอยู่ห่างไกลจากxxxxxxxxxxxxxxxxของ ตนเอง
ปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมการศึกษา มีการเปลี่ยนแปลง
ไปxxxxxxxxมาก และรวดเร็ว การทํามาหากิน การประกอบอาชีพ เป็นปัจจัยหลักในการดํารงชีวิต สตรี ชาวลาวที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 3, 4 และ 12 จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก พืชที่ ปลูกส่วนใหญ่ก็จะเป็น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วxxxx ข้าว ซึ่งราคาก็ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับพ่อค้าคนกล าง บ้างครั้งก็ขาดทุน เมื่อหมดจากฤดูxxxxxxxหลัก กลุ่มสตรีชาวลาวกลุ่มนี้ก็รับจ้างทั่วไปแต่งานก็xxxxxxมี ตลอดทําให้ขาดรายได้ ภาระหนักก็จะตกอยู่กับสามีซึ่งรับผิดชอบค่าใช้จ่ายภายในครอบครัวทั้งหมด การยอมรับในสังคมก็ถูกจํากัด การศึกษาขั้นพื้นฐานก็ไม่ต่อเนื่องเท่าที่ควร วัฒนธรรมสิ่งxxxxxxปฏิบัติ กันสืบต่อกันมานานเริ่มกลืนไปกับชุมชนเมือง
แม้ที่ผ่านมาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอภูซาง เคย ดําเนินงานวิจัยเรื่อง รูปแบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสมเพื่อxxxxxxxxการเรียนรู้สําหรับกลุ่มxxxx xxxxxx ในพื้นที่อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ในปี 2555 ที่มุ่งเน้นการค้นหารูปแบบในการจัดการศึกษา สําหรับผู้ไม่รู้หนังสือที่เป็นกลุ่มxxxxxxxxxx เน้นการเรียนเกี่ยวกับการอ่าน การเขียน ภาษาไทยได้ จนxxxx xxxรวมตัวเป็น “กลุ่มสตรีชาวลาว” ในพื้นที่อําเภอภูซาง แต่การแนวทางของการจัดการศึกษาใน กลุ่มพิเศษที่มีเฉพาะในพื้นที่ชายแดน จึงมีความจําเป็นอย่างยิ่งที่ต้องxxxxxxxxกับฐานการดําเนินชีวิต ของกลุ่มเป้าหมายด้วย เสียงสะท้อนผ่านการลงพื้นที่เพื่อค้นหาประเด็นวิจัยของครูกศน.ตําบลภูซาง ในกลุ่มสตรีชาวลาว ที่ระบุxxxxxxขาดโอกาสในการเข้าถึงความรู้และการดําเนินชีวิตในฐานะคนต่าง ด้าว xxxx “xxxxxxx xxxxxxx xxxxxxมีอาชีพทําไร่ทํานา ตามอาชีพของสามี จนกระทั่งมีเ👉ตุใ👉้ต้องมา สมัครเรียนกับศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอภูซาง เนื่องจากตนเองขาด ความรู้ความเข้าใจในภาษาไทยและไม่xxxxxxช่วยสอนการบ้านใ👉้ลูกได้” หรือ “xxxxxx xxxxxxx
👉นึ่งในกลุ่มสตรีชาวลาวกล่าวxxx xxxเข้าxxxxxxxกับศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอําเภอภูซาง เพราะเมื่อเราเข้ามาอยู่จุดนี้แล้วก็อยากจะเรียนรู้ อยากจะอ่านออกเขียนได้ เมื่อ ครูมาสอนเราก็จะตั้งใจและจะเรียนรู้ใ👉้ได้”
จากสถานการณ์ดังกล่าวทําให้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอ ภูซาง xxxxxxxบทบาทสําคัญในการจัดการศึกษาให้กับผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มxxxxxxxxxxในพื้นที่อําเภอภูซาง จึงปรับแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาให้กับกลุ่มผู้ไม่รู้หนังสือซึ่งกลุ่มสตรี ชาวลาวให้xxxxxxพัฒนาศักยภาพตนเองในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้าน วัฒนธรรม ด้านการศึกษาให้xxxxxxนําเอาองค์ความรู้xxxxxxรับไปพัฒนาxxxxxxในการดําเนินชีวิต ก็จะ ส่งผลให้กลุ่มสตรีชาวลาวกลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตxxxxxขึ้น เป็นที่ยอมรับจากชุมชน เกิดนักวิจัยชุมชนที่มี กระบวนการคิดแบบวิจัยเพื่อxxxxxxxx นําไปแก้ไขปัญหาของชุมชนตัวเองได้
ซึ่งในxxxxxบทเรียนของการจัดการเรียนรู้ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย อําเภอภูซางเรา xxxxxxพัฒนาต่อให้เกิดเป็นรูปแบบการจัดการศึกษาในพื้นที่ชายแดนที่ เหมาะสม และxxxxxxนําไปปรับใช้ในการจัดการศึกษากับพื้นที่อื่นๆได้ เป็นรูปแบบของการจัด การศึกษาให้กับประชาชนในพื้นที่เพื่อตอบสถานการณ์และการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ที่สอดคล้อง กับความต้องการของชุมชนมากที่สุด เมื่อชุมชนมีองค์ความรู้ มีกระบวนการคิด xxxxxxแก้ปัญหาของ ตนเองชุมชนได้ ความxxxxxxxxจากฐานรากของกลุ่มพื้นที่ชายแดนจะทําให้พื้นที่xxxxxxตั้งรับ ปรับตัว กับความเปลี่ยนแปลงภายใต้การจัดการศึกษาในพื้นที่พิเศษอย่างชายแดนไทย-ลาว และการปรับตัว ของ กศน.ต่อแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายต่อไป
1.2 กรอบแนวคิดในกำรวิจัย
การออกแบบกิจกรรมเพื่อ พัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีชาว ลาว
1.3 xxxถำมงำนวิจัย
สร้างการเรียนรู้และความตระหนัก ให้เห็นคุณค่าของกลุ่ม “สตรีชาว ลาว”เกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่และ การประกอบอาชีพในชุมชน
ข้อมูลพื้นฐานในศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาว ด้านต่างๆ
- มิติสังคม
- มิติเศรษฐกิจ
- มิติทางวัฒนธรรม
- มิติทางการศึกษา
แนวทำงกำรพัฒนำxxxxภำพกลุ่ม “สตรีชำวลำว” ในพื้นที่ ตํำบลภูซำง อํำเภอภูซำง จังหวัดพะเยำ
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพกลุ่ม “สตรีชาวลาว” ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของสตรีชาวลาว เป็นอย่างไร ?
1.4 วัตถุประสงค์
1. เพื่อสืบค้น รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องร่วมกับกลุ่มสตรีชาวลาวในพื้นที่ เป้าหมาย
2. เพื่อกําหนดรูปแบบการพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของ ความรู้ความxxxxxxของตนเองอย่างเต็มประสิทธิภาพ
1.5 ผลที่คำดว่ำจะได้รับ
ด้ำนงำนพัฒนำ
1. กลุ่มสตรีชาวลาวxxxxxxxxxxxxตนเองได้และมีคุณภาพชีวิตxxxxxขึ้น
2. xxxxxxลดความเลื่อมล้ําในชุมชน
3. มีโครงการที่จะxxxxxxxxสนับสนุนในแผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตําบล
4. ยกระดับคุณภาพการศึกษาในพื้นที่ชายแดน
5. เกิดนักวิจัยชุมชนที่xxxxxxนํากระบวนการงานวิจัยเพื่อxxxxxxxxไปแก้ปัญหาชุมชนของ
ตัวเองได้
6. ได้กลไกการจัดการในชุมชน/xxxxxxxx
ด้ำนงำนวิจัย
1.มีการจัดทําแผนการจัดการศึกษาขึ้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง ที่เหมาะสมกับ กลุ่มเป้าหมาย
2.ได้นวัตกรรมและเครื่องมือในการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลายและเหมาะสม กับกลุ่มเป้าหมาย
3. รูปแบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสมในพื้นที่ชายแดน
1.6 นิยำมศัพท์
“สตรีชำวลำว” หมายถึง สตรีจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ที่อพยพเข้ามาใน xxxxxxหมู่ที่ 3, 4 และ 12 ตําบล ภูซางอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา และแต่งงานกับชายไทยอย่าง ถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทยxxxxxxรับการยอมรับจากทั้ง 2 ฝ่าย แต่ไม่xxxxxxจดทะเบียน สมรสให้ถูกต้องตามกฎหมายไทย
“xxxxภำพของกลุ่มสตรีชำวลำว” หมายถึง ความxxxxxxของกลุ่ม “สตรีชาวลาว” ใน 4 ฐาน ประกอบด้วยฐานทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการศึกษา ที่ก่อให้xxxxxxxรวมกลุ่มxxx xxxxxxxxในการสร้างอาชีพมีรายได้ด้วยตนเอง มีคุณภาพชีวิตxxxxxและxxxxxxxxในชุมชนได้อย่างxxxxxxxxx
สังคมพหุวัฒนธรรม/กำรxxxxxxxxกัน หมายxxx xxxxxxxxxxxกันอย่างxxxxx xxxxxซึ่งกันละกัน ไม่แสดงวาจาดูหมิ่นผู้อื่น ช่วยเหลือxxxxxxxxกัน เคารพกฎเกณฑ์ กฎxxxxxxx และมีคุณธรรมจริยธรรม
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
จากการศึกษาวิจัยเรื่อง “แนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่ม “สตรีชาวลาว” ในพื้นที่ตําบลภูซาง อําเภอภ ซาง จังหวัดพะเยา” นักวิจัยได้ทําการศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยได้รวบรวมเพื่อใช้ ประกอบเป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยไว้ ประเด็นดังนี้
2.1 แนวคิดและทฤษฎี
แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย
1. นโยบายการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
2. แนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพ/แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพ
3. กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
4. สังคมพหุวัฒนธรรม
5. ทฤษฎีการมีส่วนร่วม
6. ทฤษฎีเกี่ยวกับการพึ่งตนเอง
7. แนวคิดเกี่ยวกับ SWOT
8. กระบวนการทางความคิด
9. ปรัชญาการคิดเป็น 10.กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
1. นโยบายการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
สํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (2559) ได้กําหนดนโยบายการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สถานศึกษานําหลัก ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดําเนินงานของสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและการบริหารจัดการสถานศึกษา เพื่อให้ เกิดผลในทางปฏิบัติในทุกระดับได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลเกิดการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการ ดําเนินชีวิตบนพื้นฐานวิสัยทัศน์ของสํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มุ่งพัฒนาคน ไทยทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย เข้าถึงโอกาสทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึ ง เท่าเทียม เป็นพลเมืองดี และมีศักยภาพสามารถอยู่ในสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุข รวมทั้งเป็น พลังในการพัฒนาประเทศอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลสู่การจัดกระบวนการเรียนการสอนและการ บริหารจัดการที่เหมาะสมกับบริบทของแต่ละสถานศึกษาได้ครบทุกแห่งทั่วประเทศ
สํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยยังได้กําหนดยุทธศาสตร์ที่หวังผลใน 1 ปี ดังนี้
1. การเร่งรัดการกระจายโอกาสทางการศึกษา ให้สามารถเข้าถึงประชาชนที่อยู่นอกระบบโรงเรียนอย่าง ทั่วถึงทุกกลุ่มอายุ ทุกกลุ่มเป้าหมาย ที่มีคุณลักษณะเฉพาะทางสังคมประชากรอย่างเสมอภาคและเป็นธรรมพร้อม ทั้งพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างเป็นองค์รวมทั้งระบบ โดย
1.1) การใช้แผนและการวิจัยเป็นเครื่องมือสําคัญในการดําเนินการ ทั้งการออกแบบกิจกรรม การ นิเทศ การติดตามผล การปรับปรุง การพัฒนา และการตัดสินใจทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติและสามารถ รายงานสรุปความก้าวหน้าเป็นรายไตรมาส และรองรับการเปลี่ยนแปลงทั้งในเชิงโครงสร้าง ระบบงานกฎหมาย ระบบการบริหารจัดการและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเป็นระบบ
1.2) การนําสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษาที่หลากหลายและมีคุณภาพมาใช้ในการจัดกระบวนการ เรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพในการจัดการศึกษาและขยายโอกาสในการเข้าถึงการจัดบริการการศึกษา และการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมายทั้งในประเทศ และต่างประเทศที่หวังผลได้อย่างแท้จริง
1.3) การส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษา และหน่วยจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย นําภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน หรือภูมิปัญญาพื้นบ้าน และแหล่งวิทยาการชุมชนทุกประเภท ในพื้นที่มาใช้ประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพ และมีการอนุรักษ์ สืบสาน ประยุกต์ใช้ ต่อยอด สร้างสรรค์และพัฒนา เพื่อความยั่งยืนและความเข้มแข็งของชุมชน และท้องถิ่นตลอดจนการพัฒนาประเทศอย่าง เป็นระบบรวมทั้งพัฒนากลุ่มเป้าหมายให้มีความคิดวิเคราะห์ มีเหตุมีผล และมีจิตวิทยาศาสตร์
1.4) การปรับรูปแบบกิจกรรมและวิธีดําเนินการจาก “บ้านหนังสืออัจฉริยะ” ไปสู่ “บ้านหนังสือ ชุมชน” และขยายการบริการให้กระจายครบทุกหมู่บ้าน/ชุมชนทั่วประเทศ โดยคํานึงถึงความต้องการทางการ ศึกษา/การเรียนรู้ของประชาชนในพื้นที่และบริบทเฉพาะของหมู่บ้าน/ชุมชนแต่ละพื้นที่ เพื่อส่งเสริมการรู้หนังสือ การเสริมสร้างนิสัยรักการอ่าน และการเข้าถึงข่าวสารข้อมูลและความรู้ของประชาชนอย่างทั่วถึง โดยเชื่อมโยงการ ทํางานเป็นเครือข่ายกับ กศน.ตําบล/ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนในพื้นที่เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
1.5) การพัฒนาศักยภาพและความพร้อมในการจัดบริการการศึกษา เพื่อการรู้หนังสือ การศึกษาขั้น พื้นฐาน และการศึกษาต่อเนื่อง สําหรับกลุ่มเป้าหมายทั้งในและต่างประเทศ พร้อมทั้งแสวงหาความร่วมมือจาก ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ
1.6) การวางระบบการนิเทศการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มุ่งเพื่อ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาและความคล่องตัวในการจัดบริการการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมาย โดยมีการเชื่อมโยง ข้อมูลและการดําเนินการนิเทศจากระดับนโยบายสู่ระดับภูมิภาค ระดับจังหวัด ระดับอําเภอ/ระดับสถานศึกษา และระดับหน่วยจัดบริการ อย่างเป็นระบบ
1.7) การกําหนดแนวทางและดําเนินการในข้อกฎหมายการศึกษาที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การศึกษา ทางเลือก เป็นการศึกษาอีกประเภทหนึ่งที่สามารถตอบสนองความต้องการทางการศึกษาและการเรียนรู้ของ ประชาชนผู้รับบริการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการมีส่วนร่วมในการจัดของภาคส่วนต่างๆ อย่างกว้างขวาง
1.9 จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนทุกช่วงวัย “กศน. ช่วยประชาชน”เช่น จัดการ เรียนวิชาชีพระยะสั้น (โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน) ให้กับประชาชนที่สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาดแรงงาน บริบทของพื้นที่ จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ และการพัฒนาทักษะ
ชีวิตในการเตรียมความพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการ เข้าสู่สังคมเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Thailand 4.0)
1.10 มุ่งเน้นการส่งเสริมให้เกิดชุมชนรักการอ่าน “นั่งที่ไหน อ่านที่นั่น” ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ห้องสมุดประชาชน บ้านหนังสือชุมชน ตู้หนังสือเคลื่อนที่ในตลาด และหนังสือพิมพ์ฝา ผนัง เป็นต้น
โดยสํานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้มีภารกิจต่อเนื่อง ด้านการจัดการศึกษา และการเรียนรู้ ด้านการศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ดังนี้
1. ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้
1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1. สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยดําเนินการให้ ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อตําราเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าเล่าเรียนอย่างทั่วถึงและ เพียงพอเพื่อเพิ่มโอกาสในการรับการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
2. จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาด โอกาสทางการศึกษา ทั้งระบบการให้บริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและประเมินผลการเรียน ผ่าน การเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจัดการศึกษาทางไกล
3. จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ที่มี ความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กําหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนต้องเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อดําเนินกิจกรรมเสริมสร้าง ความสามัคคี บําเพ็ญสาธารณะประโยชน์อย่างต่อเนื่อง และส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เช่น กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา การจัดตั้งชมรม/ ชุมนุม และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนํากิจกรรมการบําเพ็ญประโยชน์อื่น ๆ นอกหลักสูตร มาใช้เพิ่มชั่วโมงกิจกรรมให้ ผู้เรียนจบตามหลักสูตรได้
5. จัดตั้งศูนย์แนะแนวและประสานการศึกษาพิเศษอําเภอ/เขต ให้ครบทุกอําเภอทั่วประเทศ
1.2 การศึกษาต่อเนื่อง
1. จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอย่างยั่งยืน โดยให้ความสําคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อ การมีงานทําประเภทช่างพื้นฐาน/ช่างชนบท และอาชีพที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียนและศักยภาพของแต่ละ พื้นที่
2. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดกิจกรรมการศึกษาในรูปแบบ ต่างๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม การส่งเสริมความสามารถพิเศษต่าง ๆ ที่มุ่งเน้นให้ทุก กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มี คุณธรรมจริยธรรม รวมทั้งสามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว และชุมชน
3. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ บูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การเรียนทางไกล การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัด
กิจกรรมจิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพื้นที่ โดยเน้นการดําเนินตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การสร้างจิตสํานึกความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี การบําเพ็ญประโยชน์ การอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
4. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างจิตสํานึกและวินัยในชุมชน เช่น การส่งเสริมคุณธรรมและ จริยธรรมในชุมชน การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจําตําบล
1.3 การศึกษาตามอัธยาศัย
1. ส่งเสริมให้มีการขยายและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในระดับตําบล เพื่อการถ่ายทอดองค์ความรู้ และ จัดกิจกรรมเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ในชุมชนได้อย่างทั่วถึง
2. จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน และพัฒนาความสามารถในการอ่าน และศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้ได้ระดับอ่านคล่อง อ่านเข้าใจความเขียนคล่อง และอ่าน เชิงคิดวิเคราะห์พื้นฐาน และให้ประชาชนสามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและทันเหตุการณ์ เพื่อสามารถนํา ความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติจริง
3. ส่งเสริมให้มีการสร้างบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านให้เกิดขึ้นในสังคมไทย โดย สนับสนุนการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้ เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริม การอ่าน จัดหน่วยบริการเคลื่อนที่พร้อมอุปกรณ์เพื่อส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายออกให้บริการ ประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ อย่างทั่วถึง สม่ําเสมอ รวมทั้งเสริมสร้างความพร้อมในด้านสื่ออุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการ อ่านและการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลาย
4. จัดสร้าง และพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งการเรียนรู้เชิงวิชาการ และ แหล่งท่องเที่ยวประจําท้องถิ่น โดยพัฒนาและจัดทํานิทรรศการ มหกรรมวิทยาศาสตร์สัญจร และจัดกิจกรรมที่เน้น การเสริมสร้างทักษะ กระบวนการเรียนรู้ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ประชาชนนําความรู้และทักษะทาง วิทยาศาสตร์ ไปใช้พัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์บนฐานข้อมูลที่ถูกต้อง และสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา ชุมชนให้ผู้รับบริการสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิต การพัฒนาอาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม และการ ป้องกันภัยพิบัติจากธรรมชาติในพื้นที่
2. แนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพ ความหมายของศักยภาพ
ความหมายของคําว่า “ศักยภาพ” คําว่า “ศักยภาพ” ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Potential ตามความหมาย ของรูปศัพท์แปลว่า “ภาวะแฝงอํานาจหรือคุณสมบัติที่มีแฝงอยู่ในสิ่งต่าง ๆ อาจทําให้พัฒนาหรือทําให้ปรากฏเป็น สิ่งที่ประจักษ์ได้” (ราชบัณฑิตยสถาน,2538) และได้มีผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งนักวิชาการกล่าวถึงความหมายของ ศักยภาพไว้ในลักษณะที่สอดคล้องกัน อาทิ เช่น
มหาวิทยาลัยรามคําแหง (2552) ได้วิเคราะห์สาเหตุความล้มเหลวพื้นฐานสําคัญ 5 ประการ ในอดีตที่ผ่าน มา และสาเหตุนั้นมาเป็นบทเรียน เพื่อนํามาสู่การแก้ปัญหาไม่ให้เกิดขึ้นอีก โดยสาเหตุอดีตที่ผ่านมามีอยู่ 5 สาเหตุ ที่สําคัญ แบ่งเป็นขั้นตอนเรียงตามลาดับคือ
ขั้นที่ 1 การกําหนดนิยาม (define) สาเหตุจากการกําหนดปัญหา หรือประเด็นที่จะพัฒนา ร่วมกันไม่ชัดเจน หรือไม่ตรงกัน เป็นเหตุทําให้สมาชิกในทีมทางานไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ให้แก้ไขโดยกําหนด นิยาม ปัญหาหรือหัวข้อพัฒนาให้ชัดเจน เพื่อให้เข้าใจตรงกัน
ขั้นที่ 2 การกําหนดวิธีวัด (measure) สาเหตุเกิดจากวัดผลการดาเนินงานไม่ได้ จึงยากต่อการ สรุปผล ให้แก้ไขโดยกําหนดตัวชี้วัดและวิธีวัดให้ชัด ทั้งนี้เพื่อสามารถพิสูจน์ผลการดําเนินการให้ได้ มิฉะนั้นการ ดําเนินงานที่ผ่านมาจะไม่มีความหมาย
ขั้นที่ 3 วิเคราะห์หาสาเหตุ (analyze) สาเหตุเกิดจากไม่ทราบถึงปัจจัยหรือสาเหตุของปัญหา หรือประเด็นที่จะพัฒนา ให้แก้ไขโดยการแยกวิเคราะห์หาสาเหตุ หรือองค์ประกอบของปัญหาให้ได้
ขั้นที่ 4 การปรับปรุง (improve) หลังจากที่ทราบคํานิยาม ตัววัดสาเหตุหรือปัจจัยแล้วก็ยังไม่ สามารถนําไปสู่การปฏิบัติได้ ถ้าไม่สามารถบอกวิธีพัฒนาหรือวิธีปรับปรุงงาน ในกรณีเช่นนี้ ให้แก้ไขโดยการจัดทํา แผนพัฒนาหรือแผนปรับปรุง โดยการกําหนดกิจกรรมของแผนนั้น ต้องให้สอดคล้องกับ สาเหตุของปัญหาหรือ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการปรับปรุงพัฒนา
ขั้นที่ 5 การควบคุมกํากับ (control) เมื่อมีแผนแล้วไม่นาแผนไปสู่การปฏิบัติ และการดําเนินการ ต่างๆ ที่ได้พยายามทํามาตั้งแต่ต้นก็จะไม่บรรลุผลได้อย่างแน่แท้ ในกรณีนี้ให้แก้ไขโดยวิธีการกํากับและประเมินผล การปฏิบัติงาน
จากความหมายดังกล่าวสรุปได้ว่า “ศักยภาพ” หมายถึง ความสามารถ ความพร้อมหรือคุณสมบัติที่แฝง อยู่ในตัวบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เป็นได้ทั้งเครื่องชี้หรือสะท้อนศักยภาพในอดีต และเป็นเครื่องบ่งบอกศักยภาพใน อนาคตซึ่งสามารถทําให้ปรากฏหากได้รับการพัฒนา หรือกระตุ้นจากภายนอก ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอันจะ ส่งผลต่อความสําเร็จและความพึงพอใจสูงสุด
แนวคิด ทฤษฎีการพัฒนาศักยภาพ
พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน (2558) ได้ให้ความหมายว่า ศักยภาพ หมายถึง ภาวะแฝงอํานาจหรือ คุณสมบัติที่มีแฝงอยู่ในสิ่งต่าง ๆ อาจทําให้พัฒนาหรือให้ปรากฏเป็นสิ่งที่ประจักษ์ได้ เช่น เขามีศักยภาพในการ ทํางานสูง น้ําตกขนาดใหญ่มีศักยภาพในการให้พลังงานได้มาก
แนวคิดเกี่ยวกับศักยภาพเริ่มจากการนําเสนอบทความทางวิชาการของเดวิด แมคเคิลแลนด์ (David C. McClelland) นักจิตวิทยาแห่งมหาวิทยาลัยฮาววาร์ดเมื่อปี ค.ศ.1960 ซึ่งกล่าวถึง ความสัมพันธ์ระหว่าง
คุณลักษณะที่ดีของบุคคล (excellent performer) ในองค์การกับระดับทักษะความรู้ ความสามารถ โดยกล่าวว่า การวัด IQ และการทดสอบบุคลิกภาพ ยังไม่เหมาะสมในการทํานายความสามารถหรือสมรรถนะของบุคคลได้ เพราะไม่ได้สะท้อนความสามารถที่แท้จริง ออกมาได้ในปี ค.ศ.1970 US State Department ได้ติดต่อบริษัท McBer ซึ่งแมคเคิลแลนด์เป็นผู้บริหารอยู่ เพื่อให้หาเครื่องมือชนิดใหม่ที่สามารถทํานายผลการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่ได้อย่างแม่นยํา แทนแบบทดสอบเก่า ซึ่งไม่สัมพันธ์กับผลการปฏิบัติงาน เนื่องจากคนได้คะแนนดีแต่ ปฏิบัติงานไม่ประสบผลสําเร็จ จึงต้องเปลี่ยนแปลงวิธีการใหม่ แมคเคิลแลนด์ได้เขียนบทความ “Testing for competence rather than for intelligence” ในวารสาร American Psychologist เพื่อเผยแพร่แนวคิดและ สร้างแบบประเมินแบบใหม่ที่เรียกว่า Behavioral Event Interview (BEI) เป็นเครื่องมือประเมินที่ค้นหาผู้ที่มีผล การปฏิบัติงานดี ซึ่งแมคเคิลแลนด์ เรียกว่า สมรรถนะ (competency)ในปี ค.ศ.1982 ริชาร์ด โบยาตซิส (Richard Boyatzis) ได้เขียนหนังสือชื่อ The Competen Manager : A Model of Effective Performance และได้ นิยามคําว่า competencies เป็นความสามารถในงานหรือเป็นคุณลักษณะที่อยู่ภายในบุคคลที่นําไปสู่การ ปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพปี ค.ศ.1994 แกรีแฮเมลและซีเค.พราฮาราด (Gary Hamel และ C.K.Prahalad) ได้เขียนหนังสือชื่อ Competing for The Future ซึ่งได้นําเสนอแนวคิดที่สําคัญ คือ Core Competencies เป็น ความสามารถหลักของธุรกิจ ซึ่งถือว่าในการประกอบธุรกิจนั้นจะต้องมีเนื้อหาสาระหลัก เช่น พื้นฐานความรู้ ทักษะ และความสามารถในการทํางานอะไรได้บ้าง และอยู่ในระดับใด จึงทํางานได้มีประสิทธิภาพสูงสุด
มนุษย์เราเมื่อต้องการทํางานบางอย่าง จําเป็นต้องมีความรู้ในสิ่งนั้น ๆ มีความพยายามและมุ่งมั่นในการที่ จะทํางานให้ดีที่สุด แต่มนุษย์เรามักจะทํางานเพียงลําพัง เปรียบเสมือนการมองเหรียญด้านเดียว หากมนุษย์เราได้ มีการทํางานร่วมกับบุคคลอื่น ก็จะเกิดมุมมองที่ต่างกัน เมื่อได้ทํางานร่วมกันแล้วก็จะมีการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ งานที่ทําให้มากที่สุด ทําให้มีมุมมองที่กว้างกว่าเดิม มีการจัดทําข้อมูล จัดเรียงลําดับความสําคัญของข้อมูลอย่างมี ระบบ ผลสุดท้ายงานที่ทําก็จะเกิดประโยชน์อย่างสูงสุด การพัฒนาศักยภาพจึงมีความสําคัญอย่างยิ่งต่อการ ทํางานในยุคปัจจุบัน ศักยภาพจึงเป็นความสามารถที่ถูกซ่อนเร้นไว้ หากได้รับการพัฒนา คือ การนําเอา ความสามารถนั้นออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ สิ่งที่ตามมาก็คืองานทุกอย่างที่ทําก็จะประสบความสําเร็จอย่างงดงาม มนุษย์เราทุกคนมีความสามารถที่จะทํางานทุกสิ่งให้ลุล่วงสําเร็จได้ดังที่ตั้ง ความหวังไว้แต่ว่าใครจะประสบ ความสําเร็จดังที่มุ่งหวังไว้ก็ขึ้นอยู่กับว่าบุคคลนั้นมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องนั้น ๆ มากน้อยเพียงใด มีความ พยายาม มุ่งมั่นที่จะทําสิ่งนั้น ๆ มากน้อยเพียงใด และมีการนําเอาความสามารถที่ซ่อนเร้นภายในร่างกายออกมาใช้ ประโยชน์ได้มากเพียงใด ความสามารถที่ซ่อนเร้นนี้เราเรียกว่าศักยภาพ
โดยสรุป การพัฒนาศักยภาพ หมายถึง การดึงเอาความรู้ ความสามารถ ทักษะ ที่อยู่ภายในตนเอง
ออกมาเสริมจุดแข็ง หรือแก้ไขจุดด้อย อย่างเป็นระบบ มีลําดับขั้นตอนที่ชัดเจน
เพราะฉะนั้น “การพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาว” หมายถึง กระบวนการพัฒนาด้วยวิธี การศึกษา ฝึกอบรม จัดกระบวนการ ค้นคว้าถึงภูมิหลัง เรื่องราวของของกลุ่มสตรีชาวลาว หาข้อมูลเพื่อนํามาสรุป วิเคราะห์และสังเคราะห์ หาแนวทางการเสริมจุดเด่น แก้ไขจุดด้อย เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของกลุ่มสตรีชาวลาวให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ภายใต้ฐานสังคม การศึกษา เศรษฐกิจและวัฒนธรรม
3. กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประโยชน์จากความรู้ที่มีอยู่ เป็นกระบวนการที่ความรู้ฝังลึกถูก แปลงเป็นความรู้ชัดแจ้ง กล่าวคือความรู้ส่วนบุคคลถูกแปลงไปสู่ความรู้ที่เป็นทางการหรือความรู้ที่แสดงออกมาให้ เห็นภายในองค์กร การแลกเปลี่ยนเรียนรู้จึงเป็นกระบวนการสําคัญของการจัดการความรู้ หากคนในองค์กรขาด การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันแล้ว ความรู้ที่ฝังลึกอยู่ในตัวคนซึ่งการจัดการความรู้ต้องการให้เกิดการถ่ายทอดซึ่งกัน และกันให้มากที่สุดก็จะไม่มีความหมายใดๆ (ถวัลย์ มาศจรัส,2552) ส่วนใหญ่เป็นการที่กลุ่มคนที่มีความสนใจใน เรื่องใดเรื่องหนึ่งร่วมกัน มารวมตัวกันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยความสมัครใจ เพื่อร่วมสร้างความเข้าใจหรือ พัฒนาแนวปฏิบัติที่ดี(Best Practices) ในเรื่องนั้นๆ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้จึงเป็นกิจกรรมการถ่ายโอนหรือ เผยแพร่ความรู้จากบุคคล กลุ่มคน หรือ องค์การไปยังผู้อื่น มีการระบุความรู้เชิงกลยุทธ์ การเข้าถึงความรู้ที่มีอยู่ เพื่อที่จะถ่ายโอนความรู้และประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาและพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ส่วนเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นการจัดประชุมหรือดําเนินกิจกรรมเป็นการจัดการประชุมหรือดําเนิน กิจกรรมอย่างเป็นกิจจะลักษณะ สม่ําเสมอ เพื่อเป็นเวทีให้บุคลากรในองค์การมีโอกาสพบปะพูดคุยกัน สามารถ กระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันได้ ทําได้หลายลักษณะ ทั้งที่เป็นทางการ กึ่งทางการ และไม่เป็น ทางการ เช่น การสัมมนา การประชุมทางวิชาการที่จัดอย่างสม่ําเสมอ(พรทิพย์ อุดมสิน,2554)
สรุปได้ว่าการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือการแบ่งปันความรู้หมายถึงการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมของคนใน องค์การแห่งการเรียนรู้โดยการถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้ไปยังบุคคลอื่น และรับเอาความรู้จากบุคคลและแหล่ง ต่างๆทั้งที่เป็นความรู้ฝังลึกและความรู้ชัดแจ้ง ด้วยกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ เช่น การประชุม การเสวนา การจัดทําเอกสารวิธีปฏิบัติที่ดี เป็นต้น มาเพิ่มพูนความรู้ของตนเองเพื่อให้เกิดการพัฒนาตนและพัฒนา งาน
ความสําคัญของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีความสําคัญในด้านการพัฒนางาน การพัฒนาคน การสร้างองค์ความรู้ และการ สร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วม ดังนี้
1.ด้านการพัฒนางาน เป็นการพัฒนาประสิทธิภาพของงานที่ทําอยู่ให้ดียิ่งขึ้น รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการ โดยการพัฒนาความรู้ของบุคคลในองค์การให้เป็นความรู้ของกลุ่ม และเป็นความรู้ขององค์การ เพื่อให้ เกิดการพัฒนาองค์การและการสร้างสรรค์สังคมความรู้ในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสื่อสารภายในองค์การ การต่อ ยอดความรู้ และการสร้างความรู้ใหม่ โดยมุ่งสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ เช่นการบันทึกความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ ผู้ปฏิบัติงานที่เรียกว่าการสอนงานและการเรียนรู้ข้ามสายงาน เป็นการเรียนรู้ในสิ่งที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดี และการใช้ กลไกการสื่อสารและการยอมรับเพื่อเพิ่มคุณค่าให้แก่สมาชิกที่เผยแพร่ความรู้ และสมาชิกที่นํา ความรู้ไปใช้ เพื่อ สร้างความสามารถทางการแข่งขัน โดยศึกษาจากแนวปฏิบัติที่ดีขององค์การอื่นหรือส่วนงานอื่นเพื่อนํามาพัฒนา ประสิทธิภาพงานของตน
2.ด้านการพัฒนาคน โดยการสร้างเครือข่ายด้านความสัมพันธ์ของคน และเครือข่ายด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ทั้งนี้การสร้างเครือข่ายหมายถึง การทําให้มีการติดต่อ และสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และการร่วมมือกันด้วยความสมัครใจ การสร้างเครือข่ายควรสนับสนุนและอํานวยความสะดวกให้สมาชิกใน เครือข่ายมีความสัมพันธ์กันฉันท์เพื่อน ที่ต่างก็มีความเป็นอิสระมากกว่าสร้างการคบค้าสมาคมแบบพึ่งพิง นอกจากนี้การสร้างเครือข่ายต้องไม่ใช่การสร้างระบบติดต่อด้วยการเผยแพร่ข่าวสารแบบทางเดียว เช่นการส่ง
จดหมายข่าวไปให้สมาชิกตามรายชื่อ แต่จะต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกันด้วยเช่นเว็บไซต์ KM เป็นช่องทางการสื่อสารที่มีการนําเว็บบอร์ดมาอานวยความสะดวกให้กับกลุ่มคนที่เป็นสมาชิก KM ทั้งภายในและ ภายนอกองค์กรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในเรื่องต่างๆ นอกจากนี้องค์การควรมีการให้รางวัลแก่ผู้ที่อุทิศตน ให้กับการแลกเปลี่ยนความรู้กับบุคคลอื่น
3.ด้านการสร้างองค์ความรู้ เป็นวงจรความรู้ที่นําไปสู่การพัฒนาที่เรียกว่า นวัตกรรม นวัตกรรมมีทั้ง นวัตกรรมที่คิดขึ้นใหม่ทั้งหมดและนวัตกรรมส่วนเพิ่มเพื่อปรับปรุงกระบวนการหรือผลิตภัณฑ์ให้ดีกว่าเดิม ตัวอย่าง การพัฒนาองค์ความรู้ของศูนย์สุขภาพชุมชนเพื่อให้บริการประชาชนอย่างมีคุณภาพ เช่น ความรู้ในด้านการนํา องค์การ ความรู้ในด้านการบริหารทรัพยากรความรู้ในด้านการบริการประชาชน ความรู้ในด้านการดูแลสุขภาพ ภาคประชาชน ความรู้ในด้านการวางแผนงานและติดตามผล และความรู้ในด้านการบริหารและพัฒนาบุคลากร เป็นต้น
4.ด้านการสร้างวัฒนธรรมการมีส่วนร่วม เป็นการร่วมคิดร่วมทําที่นําไปสู่การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ การกระตุ้นให้คนในองค์กรเกิดความกระตือรือร้น เรียนรู้ความเสียสละ และดูแลซึ่งกันและกัน รู้จักปรับตัวและ ยืดหยุ่น และการที่บุคลากรสร้างกัลยาณมิตรที่ดีต่อกัน
วิธีการของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
Anumba, Egbu and Carrillo (2005)กล่าวถึงวิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มี 3 วิธี ได้แก่ การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ผ่านคน(human) ผ่านเอกสาร(paper) และผ่านซอฟต์แวร์(software) โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้(ประเภทความรู้ฝังลึก: tacit knowledge)ระหว่างบุคคลในลักษณะเผชิญหน้า (face to face interaction หรือ People to People) เป็นการสื่อสารระหว่างบุคคล ได้แก่ การสนทนา การ ประชุม การสัมมนา ระบบพี่เลี้ยง การสอนงาน การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม การพบปะอย่างไม่เป็นทางการ และการจัดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ประเภทความรู้ชัดแจ้ง :explicit knowledge)จากเอกสารที่เป็นสิ่งพิมพ์ใน รูปแบบต่างๆ (People to Paper) เป็นการสื่อสารผ่านเอกสาร บันทึกข้อความ คู่มือและเอกสารประกอบการ อบรม/สัมมนา หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ ในแหล่งความรู้ขององค์การ หรือห้องสมุด
3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้(ประเภทความรู้ชัดแจ้ง : explicit knowledge)จากฐานความรู้หรือการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านซอฟต์แวร์หรือเทคโนโลยี (knowledge base interaction หรือ People to Software) ได้แก่ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฐานข้อมูล เว็บไซต์ และสื่อโสตทัศน์
จะเห็นได้ว่า การแลกเปลี่ยนเรียนรู้สามารถนํามาใช้ในการสร้างองค์ความรู้ การพัฒนาคน การพัฒนางาน ได้ตามเป้าหมายที่องค์การต้องการ ดังภาพที่แสดงความเชื่อมโยงของการกําหนดความรู้ที่องค์การต้องการ การ สร้างองค์ความรู้ และการรวบรวมเพื่อจัดเก็บไว้ในระบบ
องค์ประกอบของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
องค์ประกอบสําคัญของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Sharing) โดยทั่วไปมี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ คน องค์ความรู้ สถานที่ และโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1.คน คนเป็นองค์ประกอบที่สําคัญที่สุดของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพราะคนเป็นทั้งผู้ถ่ายทอดความรู้และ ผู้สร้างองค์ความรู้ จึงเป็นแหล่งศูนย์รวมของความรู้ที่นําออกมาแบ่งปัน โดยเป็นคนที่มีความรู้จากการปฏิบัติจริง
หรือเป็นผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น และมาแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้นั้น ด้วยความเต็มใจ ทั้งโดยการสื่อสารด้วย วาจาและการสื่อสารผ่านสื่อหรือเทคโนโลยี ตัวอย่างเช่น สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) เรียก ผู้อํานวยความสะดวกในการจัดการความรู้ว่า “คุณอํานวย” และโนนากะ (Nonaka) เรียกผู้ทําหน้าที่ดังกล่าวว่า “ผู้เสริมพลังความรู้” (knowledge activist) โดย "คุณอํานวย" มีหน้าที่หลัก คือ ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และอํานวยความสะดวกต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทั้งในเชิงกิจกรรม เชิงระบบ และเชิงวัฒนธรรม "คุณ อํานวย" ตามแนวคิด knowledge activist หรือ "ผู้เสริมพลังความรู้ เป้าหมายของการเสริมพลังความรู้ (knowledge activism) ได้แก่ ริเริ่มการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และทาให้ตรงเป้าหมาย ลดเวลาและค่าใช้จ่ายใน กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยกระดับของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วทั้งองค์กร เพิ่มการยอมรับต่อพนักงานที่เข้าร่วม กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยทําให้กิจกรรมสอดคล้องกับเป้าหมายใหญ่ขององค์กร เตรียมพนักงานที่ร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เข้าสู่งานใหม่ที่ต้องการความรู้ ความสามารถที่พนักงานผู้นั้นมี เชื่อมโยงโลกทัศน์ของชุมชน แลกเปลี่ยนเรียนรู้เล็กๆ ภายในองค์กร เข้าสู่การปรึกษาหารือเพื่อการปรับเปลี่ยนองค์กรในภาพรวม (พรทิพย์ อุดม สิน, 2554)
2.องค์ความรู้ และการเรียนรู้ เนื่องจากความรู้และการเรียนรู้ เป็นพื้นฐานที่สําคัญในการผลักดันให้องค์กร ประสบความสําเร็จ ความสามารถในการเรียนรู้ ที่เกิดขึ้นภายในระบบงานและบุคลากร จะสร้างสรรค์การพัฒนา และผลสําเร็จแก่องค์กร การเรียนรู้ร่วมกันเกิดจากพื้นฐานของการสื่อสารภายใน ที่เรียกว่า สุนทรียสนทนา (dialogue) มีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจกันและการเรียนรู้จากกันและกัน หัวใจสําคัญคือ การฟังอย่าง ลุ่มลึกและพัฒนาพลังของการคิดร่วมกัน ให้ความสําคัญกับการไตร่ตรองความคิดเป็นการคิดที่ลุ่มลึกลงไปในระดับ ของจิตใจ อาจจะกล่าวได้ว่าเป็นการพัฒนากระบวนการคิด เพื่อความเข้าใจในระดับที่หยั่งลึก ( tacit level) สุนทรียสนทนา จึงเป็นจัดกลุ่มพูดคุยกันเพื่อเอาสิ่งดีๆที่แต่ละคนมีอยู่ในตัวเองหรือในการปฏิบัติออกมา มีเพียงการ กําหนดประเด็นกว้างๆในเรื่องที่จะสนทนากัน ไม่รู้คําตอบสุดท้ายว่าคืออะไร ไม่กําหนดเวลาสนทนาของแต่ละคน เปิดกว้างด้านเวลา สถานที่ บุคคลและเปิดกว้างทางใจของทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรมกัน บรรยากาศสบายๆ บรรยากาศเชิงบวก ทั้งนี้ลักษณะสําคัญของการเข้ากลุ่มสุนทรียสนทนาในการจัดการความรู้จึงมีลักษณะสําคัญ 4 ประการคือพูดอย่างจริงใจ ฟังอย่างตั้งใจ ถามอย่างซาบซึ้งใจและจดอย่างเข้าใจ
3.สถานที่ เป็นองค์ประกอบที่สําคัญอีกประการหนึ่งที่จะทาให้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีชีวิตชีวาและ น่าสนใจ เพราะสถานที่และบรรยากาศที่ดี มีความเหมาะสมกับแต่ละกลุ่มคน จะทําให้คนเหล่านั้นมาเจอกันพูดคุย ปรึกษา วิเคราะห์ปัญหา แบ่งปัน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันอย่างสบายใจ ตามเป้าหมายของการเรียนรู้ ซึ่งสถานที่สําหรับเวทีสําหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีทั้งเวทีจริงและเวทีเสมือน (พรทิพย์ อุดมสิน,2554) ดังนี้
3.1) เวทีจริง หมายถึง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่บุคคลมาพบกัน เช่น การนัดมาประชุมร่วมกันโดยมี เป้าประสงค์เพื่อการจัดการความรู้ที่เป็นหัวเรื่องหรือเป้าหมายเดียวกัน เวทีจริงมีหลายระดับ ได้แก่ ในองค์การทั้ง ทางการและไม่เป็นทางการ ทั้งในแผนกและระหว่างแผนก เช่น ประชุมกลุ่ม และเวทีสัมมนา เป็นต้น ระหว่าง องค์การ เช่น ศึกษาดูงาน และ ร่วมกิจกรรมเครือข่าย เป็นต้น และ กับชุมชน หรือ สถาบันภายนอก เช่น การศึกษาดูงาน การประชุมร่วมกับกลุ่มต่างๆ และการเรียนรู้จากหมู่บ้าน เป็นต้น
3.2) เวทีเสมือน หมายถึง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านสื่อ เช่น สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น เว็บ บอร์ด หรือ เว็บบล็อก เช่น GotoKnow.org เป็นต้น ซึ่งเป็นระบบที่ต้องการความรวดเร็วและต่อเนื่อง เวทีเสมือน
ได้แก่ในองค์การ เช่น เว็บไซต์ และอินทราเน็ต เป็นต้น และ นอกองค์การ ผ่านเว็บไซต์ เช่น kmi.or.thและ GotoKnow.org เป็นต้น
4. โครงสร้างพื้นฐานและเทคโนโลยีที่สนับสนุนการทํางานร่วมกันบนเครือข่าย ได้แก่ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร รวมถึงฐานความรู้บนเครือข่ายในรูปแบบต่างๆ เป็นองค์ประกอบสําคัญที่ช่วยให้การ แบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกิดขึ้นได้ง่ายและสะดวกขึ้น เช่น การใช้เทคโนโลยีสําหรับการสรุปและจัดเก็บ ความรู้รวมถึงการแบ่งปัน หรือการส่งต่อข้อมูลเพื่อการเผยแพร่ความรู้
ปัจจัยแห่งความสําเร็จของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ปัจจัยแห่งความสําเร็จของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้แก่ วัฒนธรรมองค์กรที่เป็นสังคมเปิด แรงจูงใจ ความไว้วางใจ และความกดดันจากภายนอก โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. ด้านวัฒนธรรมองค์การที่เป็นสังคมเปิด สังคมเปิดเป็นสังคมที่คนในองค์การมีอิสระในการแสดงความ คิดเห็น และมีช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เช่นการมีวัฒนธรรมองค์กรที่คนในองค์กรกําหนดวิธีการแบ่งปัน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้เหมาะกับวัฒนธรรมองค์กร มีโครงสร้างการทํางานในคณะทํางานที่ชัดเจน และมี กระบวนการจัดการความรู้ที่มีกลยุทธ์ความรู้และกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เนื้อหาที่เชื่อมโยงกับเป้าหมาย
2. ด้านแรงจูงใจ ความสําเร็จของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อยู่ที่ความสามารถในการมีปฏิสัมพันธ์ของคนใน การสร้างกระบวนการเรียนรู้ เริ่มจากความสัมพันธ์ส่วนบุคคล การมีภาวะผู้นําที่เข้มแข็ง เน้นกระบวนการมีส่วน ร่วมทั้งผู้บริหารและบุคลากร มีการสร้างแรงจูงใจที่สนับสนุนการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้ รวมถึงการสร้าง เครือข่ายของกลุ่มคน เช่น ของผู้มีความรู้จากการปฏิบัติ (Human Networks)
3. ด้านความไว้วางใจ ความไว้วางใจและความเชื่อใจบุคคลและผู้บริหารองค์การเป็นแรงผลกดันสําคัญที่ ทําให้คนในองค์การกล้าแสดงความคิดเห็น เพื่อเผยแพร่ความรู้ที่มีอยู่ในตัวของแต่ละบุคคลให้เป็นความรู้ของกลุ่ม และขององค์การ จะทําให้องค์การมีแนวปฏิบัติที่ดีแก่คนในรุ่นต่อไปได้เรียนรู้
4. ด้านความกดดันจากภายนอก จากสภาพขององค์การที่มีการแข่งขันสูงระหว่างหน่วยงานจําเป็นต้อง ได้รับความร่วมมือและมีความเชื่อมั่นต่อความพยายามในการสร้างนวัตกรรมให้องค์การโดยผู้บริหารมีความพร้อม ต่อการยอบรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการลองสิ่งใหม่ และการแสวงหาโอกาสในการสร้างสรรค์งานตามเวลาที่ เหมาะสม
5. ด้านความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่นการมีเครื่องมือที่ทันสมัยในการเข้าถึงข้อมูลเช่น การใช้อีเมลผ่านอินเทอร์เน็ตซึ่งเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือสําคัญในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เช่น การใช้เว็บ บล็อก เฟซบุ๊ค เว็บไซต์ ฐานข้อมูลในระบบอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต เป็นต้น มีการใช้ฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้น และการใช้เครือข่ายทางสังคมในการสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่นําไปใช้ในงานประจําวันได้
4. ทฤษฎีการมีส่วนร่วม
ประพันธ์พงศ์ ชิณพงษ์ (2551) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมไว้ว่า การมีส่วนร่วมเป็นผลมาจากการ เห็นพ้องต้องกันในเรื่องของความต้องการและทิศทางการเปลี่ยนแปลง ความเห็นพ้องต้องกันนั้นจะมีมากพอจนเกิด ความคิดริเริ่มโครงการเพื่อการปฏิบัติการ กล่าวคือ ต้องเป็นการเห็นพ้องต้องกันของคนส่วนใหญ่ที่จะเข้าร่วม ปฏิบัติการนั้น และเหตุผลที่คนมาร่วมปฏิบัติการได้จะต้องตระหนักว่าการปฏิบัติการทั้งหมดโดยกลุ่ม หรือในนาม ของกลุ่มหรือกระทําการผ่านองค์กร ดังนั้นองค์กรจะต้องเป็นเสมือนตัวที่ทําให้การปฏิบัติการบรรลุถึงความ
เปลี่ยนแปลงที่ต้องการแนวคิดทฤษฎีการมีส่วนร่วมในการบริหารงานของบุคลากรที่นํามาใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นทฤษฎีที่มีส่วนเกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับการมีส่วนร่วม (อดินันท์ บัวภักดี, 2552) ทฤษฎีสองปัจจัยของ เฮอร์ เบิร์ก(Hertzberg) เป็นทฤษฎีการจูงใจที่เกี่ยวข้องและสามารถโยงไปสู่กระบวนการมีส่วนร่วมได้ เป็นแนวคิด เกี่ยวกับการจูงใจให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความพึงพอใจ ทฤษฎีนี้เชื่อว่าผู้ปฏิบัติงานจะปฏิบัติงานได้ผลดีมีประสิทธิภาพ ย่อมขึ้น อยู่กับความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงาน เพราะเขาจะเพิ่มความสนใจในงานและมีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นที่จะทํางานซึ่งเป็นการเพิ่มผลผลิตของงานให้มากขึ้นในทางตรงกันข้ามหากผู้ปฏิบัติงานไม่พึงพอใจใน การทํางานก็จะเกิดความท้อถอยในการทํางานและทําให้ผลงานออกมาไม่มีประสิทธิภาพ ทฤษฎีดังกล่าวสอดคล้อง กับการเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของบุคลากรในองค์กร กล่าวคือ ถ้าบุคลากรได้เข้ามามีส่วนร่วมในการ ดําเนินงานได้ร่วมคิดตัดสินใจจะส่งผลให้บุคลากรในองค์กรเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของในกิจกรรมมากขึ้น ทําให้ ประสบผลสําเร็จในการพัฒนาได้ นอกจากนี้ทฤษฎีการสร้างผู้นําก็มีความสําคัญ คือ ผู้มีอํานาจที่ดี (Positive Leader) มักจะนําการเคลื่อนไหวในการทํางานอยู่เสมอ ในขณะที่ผู้มีอํานาจที่ไม่ดี(Negative Leader) จะไม่มี ผลงานที่สร้างสรรค์เลย การสร้างผู้มีอํานาจหรือผู้นําจะช่วยจูงใจให้บุคลากรเต็มใจที่จะทํางานเพื่อให้งานบรรลุ วัตถุประสงค์ร่วมกัน เนื่องจากผู้นําเป็นผู้ที่มีความสําคัญในการจูงใจและรวมกลุ่มคน ดังนั้นทฤษฎีสองปัจจัยนี้จึงมี ส่วนเกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์กร เพราะทําให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือร่วมมือร่วม แรงกันในการทํางานอย่างมีคุณภาพ แสดงให้เห็นถึงการมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของบุคลากรและผู้นําร่วมกัน ซึ่ง กระบวนการมีส่วนร่วมจะต้องมีผู้นําที่ดีอันจะนําไปสู่ความสําเร็จขององค์กรได้
ลักษณะของการมีส่วนร่วม
ประชุม สุวัตถี (2551) ได้กล่าวถึงลักษณะเงื่อนไขพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของบุคคล เกิดจากพื้นฐาน 4 ประการ คือ
1. เป็นบุคคลที่จะต้องมีความสามารถที่จะเข้าร่วม กล่าวคือ จะต้องเป็นผู้มีศักยภาพที่จะเข้าร่วมในการ ดําเนินกิจกรรมต่างๆ อาทิเช่น จะต้องมีความสามารถในการค้นหาความต้องการ วางแผนการบริหารจัดการ การ บริการองค์กรตลอดจนการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
2. เป็นบุคคลที่มีความพร้อมที่เข้ามามีส่วนร่วม กล่าวคือ ผู้นั้นจะต้องมีสภาพทางเศรษฐกิจวัฒนธรรม และ กายภาพทเปิดโอกาสให้เข้ามามีส่วนร่วมได้
3. เป็นบุคคลที่มีความประสงค์จะเข้าร่วม กล่าวคือ เป็นผู้ที่มีความเต็มใจสมัครใจที่จะเข้าร่วมเล็งเห็น ผลประโยชน์ของการเข้าร่วม จะต้องไม่เป็นการบังคับหรือผลักดันให้เข้าร่วม โดยที่ตนเองไม่ประสงค์จะเข้าร่วม
4. เป็นบุคคลที่ต้องมีความเป็นไปได้ที่จะเข้าร่วม กล่าวคือ เป็นผู้มีโอกาสที่จะเข้าร่วมซึ่งถือว่าเป็นการ กระจายอํานาจให้กับบุคคลในการตัดสินใจ และกําหนดกิจกรรมที่ตนเองต้องการในระดับที่เหมาะสม บุคคลจะต้อง มีโอกาสและมีความเป็นไปได้ที่จะจัดการด้วยตนเอง
สําหรับลักษณะการมีส่วนร่วมของบุคคลโดยทั่วไปแล้ว ยังมีปัจจัยอีกหลายอย่างที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วน ร่วม ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพครอบครัว ระดับการศึกษาสถานภาพทางสังคม อาชีพและรายได้ เป็นต้น
5. แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการพึ่งตนเอง
ทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์ (Maslow Hierarchy of Need Theory) (Maslow, 1970) ตาม แนวคิดของมาสโลว์ที่ได้ศึกษาค้นคว้าถึงความต้องการของมนุษย์ โดยมองเห็นว่ามนุษย์ทุกคนล้วนแต่มีความ ต้องการให้กับตนเองทั้งสิ้นซึ่งความต้องการนั้นมีมากมาย เขาจึงจัดเป็นลําดับขั้นโดยเรียงจากความต้องการขั้น ต่ําสุดไปหาความต้องการขั้นสูงสุด จากทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์ สรุปได้ว่าความต้องการขั้นต่ําสุดได้รับการ ตอบสนองจนเกิดความพึงพอใจแล้ว ความต้องการขั้นที่ 2 จะเกิดขึ้นและเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจที่จะหาทาง ตอบสนองความต้องการนั้นเมื่อความต้องการขั้นที่ 2 ได้รับการตอบสนองบรรลุเป้าหมายแล้วความต้องการขั้นที่ 3 จะถูกพัฒนาและกระตุ้นเป็นแรงจูงใจให้เกิดความต้องการในขั้นต่อไป
1. ความต้องการด้านร่างกาย (Physiological Needs) เป็นความต้องการเพื่อความอยู่รอดของชีวิตซึ่ง ได้แก่ ความต้องการอาหาร น้ําดื่ม อากาศ การพักผ่อนนอนหลับ การขับถ่าย ความต้องการทางเพศ ความต้องการ ความอบอุ่น ตลอดจนความต้องการที่จะถูกกระตุ้นอวัยวะรับสัมผัสแรงขับทางด้านร่างกายเหล่านี้ จะเกี่ยวข้อง โดยตรงกับการอยู่ร่วมกับการอยู่รอดของร่างกาย และอินทรีย์ ความพึงพอใจที่ได้รับในขั้นนี้จะถูกกระตุ้นให้เกิด ความต้องการในระดับสูงขึ้นต่อไป ในทางตรงกันข้ามบุคคลที่ไม่ได้รับความพึงพอใจ จากความต้องการพื้นฐาน ดังกล่าวก็จะไม่อยู่ในสภาพที่มีความพยายามที่จะแสวงหาความพึงพอใจในขั้นสูงสุด
2. ความต้องการความปลอดภัย (Security and Safety Needs) เมื่อความต้องการด้านร่างกายได้รับ ตอบสนองแล้วบุคคลก็มีความต้องการในขั้นต่อไป คือ ความต้องการความปลอดภัยซึ่งรวมถึงความต้องการผู้ให้ ความช่วยเหลือหรือผู้ปกป้องคุ้มครอง ความต้องการความอิสระจากความกลัวและความวิตกกังวล ความต้องการนี้ จะเห็นเด่นชัดในเด็กส่วนมากจะมีปฏิกิริยาตอบสนองอันแสดงถึงความรู้สึกไม่มั่นคงปลอดภัยแตกต่างกันไป เช่น ร้องไห้เสียงดัง ถ้าหากว่ามีการเรียนรู้เกี่ยวกับประสบการณ์บางอย่างที่คิดว่าอันตรายปรากฏนั้นเกิดขึ้นอย่างไร และ วิธีหลีกเลี่ยงอันตรายจากปรากฏการณ์ต่างๆ เหล่านั้นก็จะมีแนวโน้มที่จะไม่กลัวหรือรู้สึกเฉยๆต่อสิ่งเหล่านั้นใน ผู้ใหญ่ความมั่นคงปลอดภัยจะมีลักษณะที่แตกต่างไปจากเด็ก เช่น แสดงออกในการเลือกงานทําที่มีความมั่นคง สวัสดิการดี ฝากเงินไว้กับธนาคาร การทําประกันภัยต่างๆ เป็นต้นพฤติกรรมดังกล่าวนี้ เป็นพฤติกรรมที่แสดงถึง การแสวงหาความมั่นคงปลอดภัยทั้งสิ้น หรือในเรื่องความเชื่อด้านศาสนาหรือปรัชญา อาจตีความได้ว่าเป็น ความ มั่นคงปลอดภัยเช่นเดียวกัน กล่าวคือความเชื่อทางศาสนาและปรัชญาจะช่วยให้บุคคลรู้สึกมั่นคงปลอดภัย จะ แสดงออกเมื่อบุคคลอยู่ในภาวะคับขัน ในภาวะที่เกิดขึ้นบางอย่าง เช่น สงคราม อาชญากรรม อุทกภัย แผ่นดินไหว ฯลฯพฤติกรรมของบุคคลจะแสดงออกมาแตกต่างกันเพื่อแสวงหาความมั่นคงปลอดภัยให้กับตัวเอง เช่นหลบหนี รวมกลุ่ม คล้อยตามผู้นําเป็นต้น บางคนอาจแสดงออกมาทางด้านการเป็นโรคจิต โรคประสาทเช่น ย้ําคิดย้ําทํา
3. ความต้องการความรักและการเป็นส่วนหนึ่งของสังคม (Love and BelongingNeeds) ความต้องการ ในขั้นนี้จะเกิดเมื่อความต้องการด้านร่างกาย และความต้องการความมั่นคงปลอดภัยได้รับการตอบสนองแล้ว โดย ธรรมชาติของมนุษย์แล้วต้องการรวมกลุ่มและมีสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น เช่น ต้องการความรักจากทุกคนในครอบครัว ญาติ ผู้ร่วมงาน ต้องการเป็นที่รักและยอมรับของบุคคลอื่นบุคคลจะรู้สึกเงียบเหงาว้าเหว่เมื่อต้องอยู่คนเดียว ขาด ครอบครัวขาดเพื่อนหรือถูกตัดขาดจากสังคม ผู้ที่ขาดความต้องการนี้ยิ่งต้องชดเชย เช่น ผู้ขาดพ่อแม่ก็ยิ่งต้องการ ความรักจากผู้อื่นมาชดเชย ผู้ที่รู้สึกว่าตนไม่สามารถทําประโยชน์ได้อีกยิ่งต้องการชดเชยมากขึ้น บุคคลจึงพยายาม ทําทุกวิถีทางเพื่อให้ได้มาซึ่งความรักและการได้เป็นส่วนหนึ่งของสังคม เช่น เด็กวัยรุ่นยอมติดยาเสพติดตามคํา ชักชวนของเพื่อนทั้งๆ ที่รู้ว่าเป็นอันตรายต่อสุขภาพของตนเพียงให้เพื่อนยอมรับเห็นว่าพฤติกรรมของตนเหมือนกับ
คนในกลุ่มซึ่งจะทําให้เพื่อนในกลุ่มยอมรับตนเอง บุคคลที่เกิดความตื่นเต้นสับสนวิตกกังวลจะมีแนวโน้มเข้าหาผู้อื่น ให้เข้ามามีส่วนรวมรับรู้ในความรู้สึกของตน และคอยให้กําลังใจที่ต้องต่อสู้กับความรู้สึกดังกล่าว หากความต้องการ ดังกล่าวไม่ได้รับการตอบสนองอาจจะมีผลต่อสุขภาพจิต ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน หากครอบครัวใดมีความรักและ ความผูกพัน สมาชิกได้รับการยอมรับจากครอบครัว สมาชิกในครอบครัวจะมีสุขภาพจิตดี ในทางตรงกันข้าม ครอบครัวไม่มีความรักความผูกพัน สมาชิกจะมีความหงุดหงิด ฉุนเฉียว จิตใจแปรปรวน ว้าวุ่น วิตกกังวล จนอาจ เป็นโรคจิตในที่สุด
4. ความต้องการที่จะได้รับการยกย่องนับถือ (Self Esteem Needs) ความต้องการได้รับยกย่องนับถือมี อยู่ 2 ลักษณะ คือ ลักษณะแรกเป็นการยกย่องนับถือตนเอง (Self Respect) คือ ความต้องการมีอํานาจ มีความ เชื่อมั่นในตนเอง มีความสามารถ มีผลสัมฤทธิ์ไม่ต้องพึ่งพาผู้อื่นและ มีความเป็นอิสระ ทุกคนต้องการที่จะรู้สึกว่า ตนเองมีคุณค่าและมีความสามารถที่จะประสบความสําเร็จในภารกิจต่างๆ ลักษณะที่สองเป็นการยกย่องนับถือจาก ผู้อื่น (Esteem from Others)คือ ความต้องการมีเกียรติยศ การได้รับคํายกย่องชมเชยในสิ่งที่เขาได้กระทําให้รู้สึก ว่าตนเองมีคุณค่าที่ความสามารถของตนเองได้รับการยอมรับจากผู้อื่น เมื่อบุคคลได้รับความพอใจในขั้นนี้แล้วจะ ส่งผลให้บุคคลมีความรู้สึกและทัศนคติเกี่ยวกับการมีความเชื่อมั่นในตนเองมีความเข้มแข็งมีความสามารถ และมี ประโยชน์ต่อโลก ในทางตรงกันข้ามผู้ผิดหวังจะมีความรู้สึกและทัศนคติด้อยคุณค่า มีความไม่เหมาะสมมีความ อ่อนแอ รู้สึกว่าตนเองไร้ประโยชน์ซึ่งจะประเมินตนเองต่ํากว่าผู้อื่น
5. ความต้องการที่จะตระหนักนี้เป็นความสามารถของตนเองหรือรู้จักตนเอง (SelfActualization) ความ ต้องการนี้เป็นความต้องการขั้นสุดยอดของบุคคล หลังจากได้รับการตอบสนองความต้องการขั้นต่างๆ ดังกล่าว ขั้นต้น เป็นความเข้าใจและยอมรับตนเอง ต้องการทราบถึงความสามารถจุดเด่นและข้อบกพร่องของตนเองเพื่อจะ ได้ปรับปรุงตนเอง และต้องการทํางานจนสุดความสามารถได้รับความพึงพอใจสูงสุดและประสบความสําเร็จในงาน ที่ทํา มาสโลว์ได้ศึกษาลักษณะของบุคคลที่มุ่งไปสู่การตระหนักความเป็นจริงในตนเอง พบว่า มีลักษณะดังนี้ (Maslow, 1970)
1. รับรู้ความเป็นจริงเท่าที่เป็นจริง ตัดสินตนเอง และผู้อื่นได้อย่างถูกต้องไม่แปรปรวนตามความต้องการ ของตนเองหรือ ความกลัวตลอดจนความวิตกกังวล
2. ยอมรับผู้อื่นและตนเอง
3. มีความเป็นธรรมชาติอย่างง่ายๆไม่ขึ้นกับสิ่งเร้าภายนอก
4. ตระหนักถึงการดําเนินงานและเป้าหมายของชีวิต
5. มีความมุ่งมั่นและไม่ขึ้นกับบุคคลอื่น
6. เป็นตัวของตัวเอง รับผิดชอบต่อตนเอง
7. มีความชื่นชมต่อธรรมชาติ ศิลปะและเด็ก
8. ตระหนักถึงความเป็นมนุษย์ของตนเอง
9. เน้นเป้าหมายมากกว่าวิธีการ
10. มีความเป็นประชาธิปไตย
ทฤษฎี Psychosocial Stage ของ อีริคสัน (Erikson, 1950 อ้างถึงใน พงษ์สุดา รัตนมาศมงคล, 2533) ได้อธิบายพัฒนาการของบุคลิกภาพของบุคคลตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยสุดท้ายของชีวิต โดยแบ่งลําดับพัฒนาการเป็น
ขั้นๆ โดยพัฒนาการทางบุคลิกภาพของบุคคลเกิดจากการปรับตัวในลักษณะทางบวกในวัยต่างๆของบุคคลนั้น การ พัฒนาในทางที่ดีมาแต่ตอนต้นทําให้บุคคลมีบุคลิกภาพดี แต่ถ้าการพัฒนาในวัยหนึ่งล้มเหลวย่อมก่อให้เกิดการ พัฒนาบุคลิกภาพในทางลบ ซึ่งทําให้บุคคลมีความบกพร่องทางบุคลิกภาพและเกิดปัญหาในการปรับตัวให้เข้ากับ บุคคลอื่น เพราะฉะนั้นบุคคลที่จะพึ่งตนเองได้นั้น เป็นลักษณะที่เกิดขึ้นตั้งแต่เด็ก แล้วจะพัฒนาขึ้นจนถึงวัยผู้ใหญ่ ต้องเป็นผู้ที่เห็นคุณค่าของตนเอง มั่นใจในตนเองกล้าคิดกล้าแสดงออก รู้จักตนเองได้เป็นอย่างดีและสามารถที่จะ อยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยความเข้าใจในสังคมของตนเอง ไม่เป็นภาระให้แก่ผู้อื่นสามารถดํารงชีวิตได้อย่างมีความสุข (เพ็ญประภา ระนาท, 2552)
ประโยชน์ของการพึ่งตนเอง
เพ็ญประภา ระนาท (2552) กล่าวว่า การนําแนวคิดการพึ่งตนเองจะช่วยให้เกิดการพัฒนาทั้งในระดับ จุลภาคและในระดับมหภาค ดังนี้
1. ช่วยให้คนตระหนักในคุณค่าความสามารถและพลังศักยภาพของตนเอง
2. ช่วยให้คนสามารถคิดและตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องพึ่งพาจากภายนอกหรือบุคคล อื่น แต่มิได้หมายถึงการแยกตนออกจากผู้อื่น การพึ่งพาผู้อื่นเป็นไปอย่างรู้เท่าทัน และไม่แข่งขัน หรือมุ่งครอบงํา เหนือกว่า ทั้งไม่ยินยอมให้ผู้อื่นมาทํากับตนด้วย
3. บุคคลสามารถแก้ไขปัญหา วิเคราะห์ปัญหาได้ด้วยตนเอง รู้ข้อดี ข้อเสียข้อจํากัด และข้อบกพร่องของ ตนเอง สามารถใช้ทรัพยากรหรือสิ่งที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์
4. การพึ่งตนเองทําให้เกิดการเป็นตัวของตัวเองในทางความคิด เป็นตัวของตัวเองในทรรศนะการมอง ปัญหาต่างๆ
5. ช่วยให้ชุมชนหรือประชาชนอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข โดยไม่ต้องยึดหรือมุ่งพึ่งพาระบบภายนอก ถ้า มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจก็ทําในลักษณะเลี้ยงตัวได้ เป็นระบบที่ลดระดับการพึ่งพาจากภายนอกทําให้พออยู่ได้ และ ประชาชนส่วนใหญ่ได้ประโยชน์
6. การพึ่งตนเองจะทําให้ประชาชนตื่นตัว ในสิทธิและเสรีภาพของเขาเอง สนใจที่จะเข้ามามีส่วนร่วมใน กิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเองอย่างแท้จริง เพื่อประโยชน์สุขของสังคมส่วนรวมจากประโยชน์ของ แนวคิดการพึ่งตนเองสามารถสรุปได้ว่า การพึ่งตนเองจะช่วยให้บุคคลสามารถตัดสินใจในการกระทําใดๆด้วยความ เชื่อในความสามารถของตนเอง กล้าคิดกล้าตัดสินใจเห็นคุณค่าของตนเอง มีอิสระและเสรีภาพทางความคิด ไม่เป็น ภาระแก่ผู้อื่น ช่วยเหลือสังคมและสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
6.สังคมพหุวัฒนธรรม
รุจิราพร รามศิริ (2560)ได้กล่าวไว้ว่า “พหุวัฒนธรรม คือ การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับสังคม การเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา และประวัติศาสตร์โดยใช้โครงสร้างของ กลุ่มชน(ethnicity) เชื้อชาติ(race) สถานะของ ครอบครัว (socioeconomic status) เพศ(gender) ความสามารถพิเศษ(exceptionalities) ภาษา(language) ศาสนา(religion) บทบาททางเพศ(sexual orientation) และพื้นที่ทางภูมิศาสตร์(geographical area)” สอดคล้องกับ Mitchell and Salsbury (1999) ซึ่งอธิบายว่า “การจัดการศึกษาตามแนวทางพหุ วัฒนธรรม หมายถึง การศึกษาที่พยายามแนวความคิดค่านิยมเชิงบวกเกี่ยวกับการอยู่ร่วมกันของมนุษย์และนําไปสู่ การปรับปรุงความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนทุกคน” นอกจากนี้ Banks and Banks (2003) ได้อธิบาย เกี่ยวกับการจัดการศึกษาตามแนวทางพหุวัฒนธรรมไว้ว่า “คือแนวทางในการปฏิรูปที่ออกแบบมาเพื่อ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางการศึกษาในองค์รวมเพื่อนักเรียนที่มาจากความหลากหลายของ เชื้อชาติ กลุ่มชน เพศ ความสามารถพิเศษของนักเรียน และชนชั้นทางสังคม โดยจัดประสบการณ์ในเกิดความเท่าเทียมกันทาง การศึกษาทั้งในโรงเรียน วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย” จากที่กล่าวมาข้างต้น สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับการจัด
การศึกษาตามแนวทางพหุวัฒนธรรมได้ 3 ประเด็น คือ
1.การจัดการศึกษาตามแนวทางพหุวัฒนธรรม ไม่ใช่จํากัดเฉพาะ กลุ่มชน ภาษา ศาสนา เท่านั้น แต่ยัง รวมถึง ความแตกต่างทางชนชั้นของสังคม บทบาททางเพศ และความสามารถพิเศษ ของผู้เรียนอีกด้วย 2.การจัดการศึกษาตามแนวทางพหุวัฒนธรรม มุ่งให้เห็นคุณค่าในความแตกต่างอย่างมากของกลุ่มต่าง ๆ
ในระบบสังคมของสถานศึกษา 3.การจัดการศึกษาตามแนวทางพหุวัฒนธรรมมุ่งที่ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียนทุกคน
ผดุงศรี คมฮ้อย (2558) ได้กล่าวไว้ว่า พหุวัฒนธรรมไม่ใช่เรื่องใหม่สําหรับสังคมไทย ที่มีมีชุมชนชาว จีน เขมร เข้ามาตั้งรกรากตั้งแต่สมัยสุโขทัย หรือเหตุการณ์ปัจจุบันที่มีการต่อต้านของการกรณีชาวโรฮิงญาขอใช้ ประเทศไทยเป็นที่พํานักก่อนเดินทางต่อไปยังประเทศที่สาม เหตุการณ์นี้แสดงถึงทัศนคติของคนที่มีต่อคนอื่นที่มี ความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ สัญชาติ สีผิว ภาษา หรือเหตุการณ์ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ชาวชาติพันธุ์ ต่างๆ ที่อาศัยทั่วประเทศโดยเฉพาะภาคเหนือตอนบน การนําวัฒนธรรมหลักเพียงวัฒนธรรมเดียวเข้าไปกําหนด ทิศทางของการศึกษา โดยไม่คํานึงถึงความแตกต่าง ขัดแย้งกับหลักการของการศึกษา จําเป็นอย่างยิ่งที่นักการ ศึกษาควรมีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถจัดการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับ พหุวัฒนธรรมนําไปสู่ผู้เรียนได้ มิติของการศึกษาพหุวัฒนธรรม
Banks(1997) แบ่งมิติของการศึกษาพหุวัฒนธรรมออกเป็น 5 มิติดังต่อไปนี้
1. บูรณาการเนื้อหาความรู้ (Content Integration) หมายถึง การจัดการศึกษาที่มีการบูรณาการ เนื้อหาและข้อมูลต่างๆ ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม เป็นข้อมูลและเนื้อหาที่สะท้อนถึงกลุ่มคนทาง สังคม นอกจากนี้การบูรณการด้านความรู้นั้นควรเริ่มต้นที่การสร้างให้เกิดความเข้าใจพื้นฐานทางด้านประวัติ ศาสตร์ของชาติพันธุ์ต่างๆ ในสังคม
2. การสร้างความรู้ (Knowledge construction) หมายถึงกระบวนการที่อธิบายถึงการสร้างความรู้ ที่เชื่อมโยงกับมิติทางสังคมหรือวิทยาศาสตร์ เมื่อแนวคิดดังกล่าวถูกใช้ในการเรียนการสอน กระบวนการสร้าง
ความรู้จะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงที่มาที่ไปของความรู้ที่ถูกสร้างขึ้น รวมถึงการอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจถึงอิทธิพลของ กลุ่มคนที่มีเชื้อชาติสัญชาติ และชนชั้นทางสังคมว่ามีผลต่อการสร้างความรู้อย่างไร
3. การลดอคติ เป็นมิติและกระบวนการที่อธิบายถึงกลยุทธ์ในการเรียนการสอนที่ถูกใช้เพื่อเสริมสร้าง ทัศนคติเชิงบวก เพื่อให้ผู้เรียนมีแนวคิดประชาธิปไตย รวมถึงการสร้างให้เกิดคุณค่าต่างๆ ให้เกิดขึ้น ซึ่งได้แก่ แนวคิดเชิงบวกต่อเชื้อชาติที่แตกต่างกัน
4. การใช้วิธีสอนที่ส่งเสริมความเท่าเทียม หมายถึงใช้เทคนิค วิธีสอนที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนประสบ ความสําเร็จในการเรียนรู้ ไม่ว่าผู้เรียนนั้นจะมีความแตกต่างกันทางด้านเชื้อชาติ สัญชาติ หรือชนชั้นทาง สังคม ผู้เรียนกลุ่มต่างๆ เหล่านี้จะต้องได้รับการส่งเสริมใส่ใจอย่างเท่าเทียม ดังนั้นผู้สอนหรือผู้บริหารต้องสร้าง เครื่องมือเพื่อช่วยเหลือผู้เรียนที่มีความสามารถแตกต่างกันในการเรียนรู้ให้ประสบความสําเร็จหรือช่วยยกระดับ ความสําเร็จทางการเรียน
5. การให้ความสําคัญวัฒนธรรมโรงเรียน หมายถึง กระบวนการในการสร้างวัฒนธรรมและสร้าง องค์การให้มีความเข้มแข็งเพื่อให้ผู้เรียนที่มีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ ภาษาและกลุ่มชนชั้นทาง สังคมได้รับประสบการณ์ทางการศึกษาที่มีคุณภาพ
ประเภทของหลักสูตรการศึกษาพหุวัฒนธรรมและการประยุกต์ใช้
Banks แบ่งหลักสูตรการศึกษาพหุวัฒนธรรมแบ่งได้เป็น 4 รูปแบบ คือ
1. รูปแบบกระจายเนื้อหาโดยจะให้ความสําคัญกับลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรม ได้แก่ วีรบุรุษ วีร สตรี วันหยุดสําคัญ เรื่องเล่า อาหาร และเสื้อผ้าและเครื่องแต่งการ แนวคิดนี้จะให้ความสําคัญกับอัตลักษณ์ ดังกล่าวข้างต้นแต่จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรหลักการที่มีการใช้อยู่ ทั้งนี้รูปแบบดังกล่าวนี้ให้ความสําคัญกับ ความหลากหลายทางวัฒนธรรมเน้นการพยายามสร้างความเข้าใจกับวัฒนธรรมอื่นๆ แต่จะพยายามหลีกเลี่ยง ประเด็นที่เป็นความขัดแย้งที่แท้จริงทางวัฒนธรรม รวมถึงประเด็นเกี่ยวกับพลังอํานาจและความไม่ยุติธรรมที่มีอยู่ ในสังคม
2. แบบเพิ่มเติมเนื้อหา รูปแบบนี้จะเป็นการเปิดกว้างมากขึ้น โดยเป็นการเพิ่มเติมประเด็นเนื้อหาใน หลักสูตรหลัก เป็นการนําวัฒนธรรมรูปแบบหนึ่งไปเชื่อมโยงกับอีกวัฒนธรรมหนึ่ง ทั้งนี้วัฒนธรรมที่ถูกนํามา เชื่อมโยงจะเป็นวัฒนธรรมย่อยที่ต้องการนําเสนอให้เห็นถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรม ตัวอย่างเช่น การ นําเสนอวัฒนธรรมไทย-จีนเชื่อมโยงกับรายวิชาประวัติศาสตร์ไทย ถึงแม้จะเป็นการเปิดกว้างวัฒนธรรมอื่น แต่ มุมมองสําคัญยังคงให้ความสําคัญกับวัฒนธรรมหลัก
3. รูปแบบการเปลี่ยนแปลงเนื้อหา รูปแบบนี้เปิดกว้างมากกว่ารูปแบบที่สอง โดยมีการยอมรับ แนวคิดที่แตกต่างกันออกไปจากวัฒนธรรมหลัก มีการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาในหลักสูตรเพื่อให้เกิดการยอมรับและ เข้าใจความแตกต่าง เน้นการคิดวิเคราะห์และให้เข้าใจความหลากหลายทางวัฒนธรรม อย่างไรก็ตามรูปแบบนี้ ต้องอาศัยการปรับปรุงหลักสูตรย่อยไปสนับสนุนหลักสูตรที่มีอยู่แล้วรวมถึงการจัดการฝึกอบรมเพื่อให้เข้าใจ เนื้อหา รวมถึงการพัฒนาวัสดุอุปกรณ์การเรียนรู้ เทคโนโลยีและระบบที่เหมาะสม
4. รูปแบบการปฏิบัติทางสังคม รูปแบบนี้จะเชื่อมโยงกับรูปแบบที่สาม คือมีการส่งเสริมให้เกิด มุมมองที่หลากหลายและมีความตระหนักต่อวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน และมุ่งเน้นการลงมือปฏิบัติ โดนมุมมอง เหล่านี้ให้ความสําคัญกับการเรียนรู้และการสร้างความรู้โดยอิสระ เพื่อให้เห็นถึงความตระหนักและความสําคัญ
ของวัฒนธรรมที่แตกต่างกันอย่างแท้จริง เช่น ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นใน พื้นที่ใกล้เคียงและมอบหมายให้นักเรียนออกแบบกิจกรรมเพื่อรณรงค์ให้ความช่วยเหลือ บรรเทาทุกข์บุคคลที่ ได้รับความเดือดร้อนจากภัยธรรมชาติ เป็นต้น รูปแบบนี้จะเน้นการคิดวิเคราะห์และการตัดสินใจของตัวผู้เรียน เอง และรูปแบบดังกล่าวนี้ต้องมีการปรับปรุงเนื้อหาในหลักสูตรให้มีความเหมาะสม
ทิศทางใหม่การศึกษาพหุวัฒนธรรม
การจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม จะเข้าบทบาทในปัจจุบันเนื่องจากสภาพทางสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลง ประชาชนสามารถเคลื่อนย้ายไปยังส่วนต่างๆของโลกได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมากขึ้น แต่ ประชาชนเหล่านั้นยังคงวัฒนธรรมเดิมของตนเองไว้ท่ามกลางกระแสวัฒนธรรมหลัก ดังนั้นมีหลักสําคัญที่จะต้อง ศึกษาอย่างน้อย 3 ประการคือ
1) แนวคิดหรือมโนทัศน์ (Idea or concept) แนวคิดทางพหุวัฒนธรรมจะต้องเพื่อผู้เรียนทุกคน โดยไม่แบ่งแยก เพศ ชนชั้นทางสังคม กลุ่มชน เชื้อชาติ หรือลักษณะทางวัฒนธรรม จะต้องมีความเท่าเทียมกันใน
โอกาสที่จะได้รับการเรียนรู้ในสถานศึกษา และมุ่งให้ผู้เรียนได้รับการเปลี่ยนแปลงที่ดีที่สุดในสถานศึกษา
2) แนวทางการปฏิรูปทางการศึกษา(Educational reform movement) การจัดการศึกษาตาม แนวทางพหุวัฒนธรรมเป็นแนวทางในการปฏิรูปทางการศึกษา ซึ่งเป็นเรื่องยากมากในการที่จะเปลี่ยนแปลง สถาบันการศึกษาซึ่งมีผู้เรียนจํานวนมาก หลากหลายชนชั้น มีความแตกต่างทางเพศ เชื้อชาติ และวัฒนธรรม ให้มี โอกาสที่เท่าเทียมกันทางการศึกษา ดังนั้นการปฏิรูปการศึกษาตามแนวการศึกษาพหุวัฒนธรรมจะต้องเป็นการ เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางการศึกษาของสถานศึกษาในลักษณะองค์รวม ไม่ได้จํากัดเฉพาะการเปลี่ยนแปลง หลักสูตรเท่านั้น
3) กระบวนการทางการจัดการศึกษาตามแนวทางพหุวัฒนธรรม (process) มีเป้าหมายเกี่ยวกับ การจัดการศึกษาที่มีเสรีภาพและความยุติธรรม จะต้องมีการขจัดความคิดที่เป็นอคติและการแบ่งแยกของกลุ่มต่าง
ๆ ในผู้เรียนให้หมดไป โดยเป็นกระบวนการที่จะต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มความเท่าเทียมกันทางการศึกษา แก่ผู้เรียนทุกคน
การศึกษาพหุวัฒนธรรม (Multicultural Education) ได้รับความสนใจมากขึ้นจนเห็นได้ชัด ในช่วง พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศในยุโรปบางประเทศ สืบเนื่องจากการรับ ประชากรจํานวนมากจากประเทศอื่นให้สามารถย้ายถิ่นฐานอย่างถาวร ประชากรที่อพยพย้ายถิ่นดังกล่าวต้อง เรียนรู้ภาษา วัฒนธรรมและการดําเนินชีวิตภายใต้เงื่อนไขทางกฎหมาย และระเบียบปฏิบัติใหม่ แต่ประชากรกลุ่ม ดังกล่าวก็มิได้ทอดทิ้ง ภาษา วัฒนธรรม ความเชื่อ ศาสนาเดิม แม้ระยะแรก ๆ ประชากรเจ้าของประเทศ จะไม่ ยอมรับเชื้อชาติ และวัฒนธรรมอื่น แต่ต่อมาเมื่อมีการให้การศึกษาในเรื่องสิทธิของมนุษยชน ( Human Rights) ของแต่ละบุคคลมากขึ้น ประชากรผู้อพยพย้ายถิ่นก็ได้รับการยอมรับมากขึ้น ทําให้เรื่องของพหุวัฒนธรรมจึงเป็น เรื่องที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ไม่เพียงแต่ในประเทศสหรัฐอเมริกาและในทวีปยุโรปเท่านั้น แต่รวมไปถึงประเทศต่าง ๆ ทุกทวีปทั่วโลก อาจจะกล่าวได้ว่า แทบทุกประเทศในโลกจะประกอบด้วยชนที่อยู่ดั้งเดิม ชนกลุ่มน้อยและหรือ กลุ่มอพยพย้ายถิ่นที่มีภาษา วัฒนธรรม ความเชื่อ ศาสนา และความเป็นอยู่ต่างกัน ประกอบอาชีพ อยู่อาศัย และ เป็นพลเมืองของอีกประเทศหนึ่งเป็นการถาวร อยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข และถึงแม้จะอยู่ห่างไกลกันจากที่อยู่อาศัย เดิม แต่ก็ยังสามารถเดินทางไปเยี่ยมกันหรือส่งข่าวถึงกันโดยสะดวก
การศึกษาพหุวัฒนธรรม (Multicultural Education) จึงหมายถึงกระบวนการให้การศึกษาระดับขั้น พื้นฐานที่สถานศึกษาจะต้องช่วยให้เด็ก เยาวชน ประชาชนเข้าใจ ไม่รังเกียจ และยอมรับซึ่งความแตกต่างในเรื่อง ของความเป็นชนกลุ่มน้อย ด้านเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา ลัทธิความเชื่อ ความเป็นอยู่ เพศ(โดยเฉพาะสตรีในบาง ประเทศ) ที่อาจจะไม่ได้รับความเท่าเทียมกันในบางเรื่อง ทั้งนี้ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู อาจารย์ ผู้ปกครอง และ ชุมชน ต้องหาวิธีการให้เด็ก เยาวชน ประชาชนทั่วไป เข้าใจ และค่อย ๆ ซึมซับ ยอมรับความแตกต่างดังกล่าว สถานศึกษาส่วนใหญ่จะกําหนดการศึกษาพหุวัฒนธรรม ไว้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร และจัดกิจกรรมต่าง ๆ เสริมสร้างความเข้าใจดังกล่าวนั้น ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้เปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนของชนกลุ่มน้อยได้แสดงออก เพื่อให้เด็กกลุ่มใหญ่ได้เรียนรู้ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ความเชื่อที่มีหลากหลาย ถือเป็นการให้การศึกษาที่มี มุมมองกว้างขวาง แตกต่างไปจากเดิมที่เน้นวัฒนธรรมและความเป็นอยู่ของกลุ่มประชาชนกลุ่มใหญ่แต่เพียงอย่าง เดียว
การศึกษาพหุวัฒนธรรมที่จัดขึ้นในสถานศึกษาระดับพื้นฐานและรวมถึงในการศึกษาระดับอุดมศึกษา จะ บ่งบอกลักษณะเฉพาะ ดังนี้
1. ช่วยลดความรู้สึกเหยียดหยามเรื่องเชื้อชาติ หรือชนชาติและศาสนา
2. จําเป็นมากสําหรับการศึกษาพื้นฐานที่ควรต้องบรรจุไว้ในหลักสูตร
3. เป็นเรื่องที่เด็ก เยาวชน และประชาชนทุกคน ควรต้องให้ความสนใจ เข้าใจ และตระหนักความสําคัญ
4. เป็นการศึกษาที่ช่วยเสริมสร้างความเป็นธรรมในสังคม มองทุกคนในสถานภาพที่เท่าเทียมกัน ทั้งเรื่องสิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ ในการดําเนินชีวิตในสังคมนั้น
5. เป็นกระบวนการที่จะช่วยให้ทุกคนอยู่ร่วมกันในชุมชน ในสังคม ได้อย่างมีสันติสุข
6. ครู อาจารย์ที่จะสอนเรื่องนี้จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง และมีกระบวนการที่แยบยลที่จะสอน หรือให้ความรู้เรื่องนี้ หรือสอนแบบบูรณาการกับวิชาอื่น
7. ช่วยให้ทุกคนในสังคมเข้าใจซึ่งกันและกัน ไม่นําเรื่องความแตกต่างของวัฒนธรรม เชื้อชาติ ความเชื่อไปใช้ ในทางที่ผิด
ประเทศไทยมีกลุ่มประชากรที่อยู่อาศัยในพื้นที่ที่มีสถานะเชิงพหุวัฒนธรรม โดยเฉพาะจังหวัดที่มีชนกลุ่ม น้อยอยู่อาศัย หรือจังหวัดที่เป็นเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาค ตะวันออกและภาคใต้ รวมทั้งจังหวัดในเขตภาคกลาง นอกจากนั้นในพื้นที่เขตเมืองใหญ่ ที่เป็นแหล่งอุตสาหกรรมที่ เป็นแหล่งทุนหรือร่วมทุน จากบริษัทหรือกลุ่มบุคคลจากต่างประเทศ ก็จะมีประชากรกลุ่มหนึ่งเป็นชาวต่างประเทศ ที่มีภาษา วัฒนธรรม วิถีชีวิตความเป็นอยู่แตกต่างจากคนไทย พักอาศัยอยู่
ในพื้นที่ที่เป็นลักษณะพหุวัฒนธรรมดังกล่าว การจัดการศึกษาในสถานศึกษา ทั้งในระบบโรงเรียน นอก ระบบโรงเรียน รวมถึงการศึกษาตามอัธยาศัย จะต้องเป็นกระบวนการที่ผู้บริหาร ครู อาจารย์ ผู้ปกครอง และ ชุมชนเข้าใจ ยอมรับความแตกต่างของเด็กและเยาวชนต่างวัฒนธรรม เคารพสิทธิของแต่ละบุคคล กําหนด หลักสูตรและจัดการเรียนการสอน หรือจัดกิจกรรมสนับสนุนการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเสริมสร้างความเข้าใจที่ ดีต่อกันไม่กีดกันชนกลุ่มน้อย
กล่าวโดยสรุป สังคมพหุวัฒนธรรม เป็นสังคมที่มีหลากหลายทางวัฒนธรรม แต่สามารถอยู่ร่วมกันได้ โดย อาศัยการยอมรับ ซึ่งกันและกัน มีการผสมผสมจุดเหมือน และสงวนจุดต่างทางวัฒนธรรมได้อย่างกลมกลืน เหมาะสม โดยไม่ขัดแย้งกัน
การจัดการศึกษาในสังคมพหุวัฒนธรรม ครูผู้สอนหรือนักจัดกระบวนการการศึกษา ควรมี ความรู้ความ เข้าใจและมีความสามารถจัดการเรียนรู้ภายใต้ “สังคมพหุวัฒนธรรม” และสามารถบูรณการทั้งด้าน การศึกษา สังคม วัฒนธรรมและเศรษฐกิจ ในหลายๆมิติ เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้สู่ผู้เรียนได้จริง มุ่งให้เห็น คุณค่าใน ความแตกต่างอย่างมากของกลุ่มต่าง ๆ ลดความความแตกต่างทางชนชั้นของสังคม ให้เกิดความสมดุล
7. แนวคิดเกี่ยวกับ SWOT
ความหมายการวิเคราะห์ SWOT
หลักการสําคัญของ SWOT ก็คือการวิเคราะห์โดยการสํารวจจากสภาพการณ์ 2 ด้าน คือ สภาพการณ์ ภายในและสภาพการณ์ภายนอก ดังนั้นการวิเคราะห์ SWOT จึงเรียกได้ว่าเป็นการวิเคราะห์สภาพการณ์ (situation analysis) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน เพื่อให้รู้ตนเอง (รู้เรา) รู้จักสภาพแวดล้อม (รู้เขา) ชัดเจน และวิเคราะห์โอกาส-อุปสรรค การวิเคราะห์ปัจจัยต่าง ๆ ทั้งภายนอกและภายในองค์กร ซึ่งจะช่วยให้ ผู้บริหารขององค์กรทราบถึงการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายนอกองค์กร ทั้งสิ่งที่ได้เกิดขึ้นแล้วและแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงในอนาคต รวมทั้งผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ที่มีต่อองค์กรธุรกิจ และจุดแข็ง จุดอ่อน และความสามารถด้านต่าง ๆ ที่องค์กรมีอยู่ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการกําหนดวิสัยทัศน์ การกําหนดกลยุทธ์และการดําเนินตามกลยุทธ์ขององค์กรระดับองค์กรที่เหมาะสมต่อไป
Albert Humphrey (1960)(อ้างถึงใน วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2559) ได้ให้แนวคิด การวิเคราะห์สว๊อต (SWOT Analysis) หรือในชื่อไทยชื่ออื่น เช่น การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ หรือ การวิเคราะห์สภาวะ แวดล้อม ในงานสัมมนาที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดเป็นเครื่องมือในการประเมินสถานการณ์ สําหรับองค์กร หรือ โครงการ ซึ่งช่วยผู้บริหารกําหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายใน โอกาสและอุปสรรคจาก สภาพแวดล้อมภายนอก ตลอดจนผลกระทบที่มีศักยภาพจากปัจจัยเหล่านี้ต่อการทํางานขององค์กร
สายสวรรค์ วัฒนพานิช (2551) ได้กล่าวไว้ว่า การวิเคราะห์ SWOT คือ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายนอก คือ การพิจารณาโอกาสและอุปสรรค เครื่องมือที่ใช้ วิเคราะห์สภาพแวดล้อม 6 ด้าน ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม เทคโนโลยี ด้านกายภาพ การเมืองและกฎหมาย ด้านต่างประเทศ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายใน คือ การพิจาณาจุดอ่อนและจุดแข็งเครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ การวิเคราะห์ห่วงโซ่แห่งคุณค่า (Value Chain)
ฐิติพร จาตุรวงศ์(2551) ได้กล่าวไว้ว่า ทฤษฎี SWOT (SWOT Analysis หรือ การวิเคราะห์ SWOT คือ วิเคราะห์และประเมินว่าธุรกิจมีจุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunities) และอุปสรรค (Threats) เพื่อที่จะนําไปใช้ในการวางแผนและกําหนดกลยุทธ์
นอกจากนั้น SWOT คือ ชื่อของทฤษฎีหนึ่งที่ใช้สําวิเคราะห์สภาพโดยทั่วไปขององค์กร ไม่ว่าจะเป็นในด้าน จุดแข็ง จุดอ่อน สําหรับการวางแผนการดําเนินงานต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพในอนาคต โดยทฤษฎี SWOT ไม่ใช่ เป็น เพียงคํา เดียว หากแต่มันคือตัวย่อของคําหลายคํานํามาผสมรวมกันเป็น 1 ทฤษฎี ซึ่งย่อมากจาก 4 คํา ดังนี้
1. Strengths (S) คือ จุดแข็ง จุดเด่นขององค์กร 2. Weaknesses (W) คือ จุดอ่อน ข้อเสียเปรียบ ขององค์กร 3. Opportunities (O) คือ โอกาสในการดําเนินงานตามแผนงาน 4. Threats (T) คือ อุปสรรคที่อาจเป็นปัจจัยที่ สําคัญต่อการดําเนินงาน ประเด็นที่สําคัญของการวิเคราะห์องค์กรด้วย SWOT ถูกแบ่งเป็นสภาพแวดล้อมของ องค์กร 2 ด้าน คือ สภาพการณ์ภายในองค์กร และ สภาพการณ์ภายนอกขององค์กร หรือ อาจแบ่งตามลําดับ สภาพการณ์ได้ดังนี้ สภาพการณ์ภายในองค์กร ได้แก่ จุดแข็ง จุดอ่อนขององค์กร (Strengths) และ จุดอ่อน หรือ
ข้อเสียเปรียบขององค์กร (Weakesses) สภาพการณ์ภายนอกขององค์กร ได้แก่ โอกาสในการดําเนินงาน (Opportuniities) และ อุปสรรคที่อาจ เป็นปัจจัยที่สําคัญต่อการดําเนินงาน (Threats) ในการวิเคราะห์องค์กร ด้วย SWOT ถือเป็นหัวใจสําคัญขั้นแรกของการวางแผนดําเนินงาน เนื่องจาก ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมต่างๆ ในทฤษฎีนี้จะทําให้มองเห็นทั้งภาพรวม ข้อดีข้อเสียต่างๆ ขององค์กร ตลอดจน ทราบถึงโอกาสและอุปสรรคในการ ดําเนินงานตามแผนงาน ทําให้การกําหนดเป้าหมาย และวิธีการดําเนินงาน เป็นไปได้อย่างเหมาะสมที่สุด
8. กระบวนการทางความคิด ความหมายของการคิด
Gleitman(1992) ให้ความหมายไว้ว่า การคิดเกี่ยวข้องกับการให้เหตุผล การพินิจพิจารณา การตรึกตรอง หรือ การสะท้อนความรู้สึกของตนเองที่มีต่อเรื่องต่างๆ ออกมาให้ผู้อื่นรับรู้
Matlin (1992) ให้ความหมายไว้ว่า ความคิดเป็นกิจกรรมทางสมอง เป็นกระบวนการทางปัญญา ซึ่ง ประกอบด้วยการสัมผัส การรับรู้ การรวบรวม การจํา การรื้อฟื้นข้อมูลเก่าหรือประสบการณ์
การคิดเป็นกระบวนการทางสมอง มี 2 ลักษณะใหญ่ๆคือการคิดอย่างมีจุดมุ่งหมายกับการคิดไปเรื่อย ๆ อย่างไม่มีจุดมุ่งหมาย (ทิศนา แขมมณี และคณะ, 2540) การคิดอย่างมีจุดมุ่งหมายเป็นกระบวนการทางสมองที่ เกิดขึ้นเมื่อมีสิ่งเร้าที่เป็นปัญหา ความต้องการ หรือความสงสัย มากระตุ้น ทําให้จิตและสมองนําข้อมูลหรือความรู้ที่ มีอยู่มาหาวิธีการที่มีประสิทธิภาพเพื่อจะทําให้ปัญหาความต้องการ หรือความสงสัยนั้นลดน้อยลงไปหรือหมดไป การคิด เป็นกระบวนการทางสมองที่มีศักยภาพสูง เป็นความสามารถที่มีอยู่ใน ตัวมนุษย์ที่สามารถแสดงออกด้าน ภาษาพูด ภาษาสัญลักษณ์ และลักษณะท่าทางต่างๆ เพื่อสื่อสารให้บุคคลอื่น ได้รับรู้ความรู้สึกนึกคิดของตน
ต้นเหตุของการคิด ประกอบด้วย
สิ่งเร้าที่เป็นปัญหา เป็นสิ่งเร้าประเภทสถานการณ์ เหตุการณ์ หรือสภาวะที่มา กระทบแล้ว ต้อง กระทําสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่จะทําให้ปัญหานั้นลดลงไปหรือหมดไป แต่ไม่อาจทําได้ด้วยวิธีง่าย ๆ จึงทําให้อยู่ในสภาพ ตัดสินใจไม่ได้ ไม่มีทางเลือก ไม่มีวิธีการในการปฏิบัติ สภาพการณ์อยู่ในอันตราย หรือ สภาพการณ์สู่ทางไม่ดี เป็นต้น จึงจําเป็นต้องคิด (Have to think) เพื่อแก้ที่ปัญหานั้น
สิ่งเร้าที่เป็นความต้องการ เป็นความต้องการสิ่งที่ดีขึ้น ดีกว่าเดิม เช่น ทําได้ เร็วขึ้น ทําได้ง่ายขึ้น ลงทุน น้อยลง ผิดพลาดน้อยลง ปลอดภัยมากขึ้น เป็นต้น จึงต้องการการคิด (Want to think) มาเพื่อทําให้ความต้องการ หมดไป
สิ่งเร้าที่ชวนสงสัย เป็นสิ่งเร้าแปลก ๆ ใหม่ ๆ ที่มากระตุ้นให้สงสัย อยากรู้ หรืออาจเกิดจากบุคลิกภาพ
ประจําตัวที่เป็นผู้อยากรู้อยากเห็น ช่างคิดช่างสงสัย เมื่อกระทบสิ่งเร้าก็เกิดความสงสัย ทําให้ต้องการคําตอบ จึง ต้องการการคิดเพื่อตอบข้อสงสัย
รูปแบบของการคิด
ความแตกต่างระหว่างบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางความคิดของ มนุษย์ที่สําคัญนั้น นอกจาก ความเชื่อ และทัศนคติแล้ว ปัจจุบันนี้ในบริบทของ การจัดการศึกษา นักจิตวิทยา นักการศึกษา และนักวิจัยกําลัง ให้ความสนใจ และให้ความสําคัญมากขึ้นทุกที ต่อสิ่งที่เรียกว่า รูปแบบการคิด (cognitive style) และ รูปแบบการ เรียนรู้ (learning style) ในฐานะที่เป็นปัจจัยทางจิตวิทยาสําคัญ ที่จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ
และเพิ่มสัมฤทธิผลทางการเรียนของผู้เรียนได้ ทั้งในการจัดการศึกษาในระดับโรงเรียน ระดับอุดมศึกษา และใน การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาวิชาชีพขององค์กรต่างๆ
ความหมายของคําว่า "รูปแบบ (style)"
คําว่า "รูปแบบ (style)" ในทางจิตวิทยา หมายถึงลักษณะที่บุคคลมีอยู่หรือเป็นอยู่ หรือใช้ในตอบสนองต่อ สภาพแวดล้อม อย่างค่อนข้าง คงที่ ดังที่เรามักจะใช้ทับศัพท์ว่า "สไตล์" เช่น สไตล์การพูด สไตล์การทํางาน และ สไตล์การแต่งตัว เป็นต้น ซึ่งก็หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของเราเป็นอยู่ หรือเราทําอยู่เป็นประจํา หรือค่อนข้าง ประจํา
ความหมายของ รูปแบบการคิด(Cognitive style) และ รูปแบบการเรียนรู้(learning style) รูปแบบการคิด (cognitive style) หมายถึง หนทางหรือวิธีการที่บุคคลชอบใช้ในการรับรู้ เก็บรวบรวม
ประมวล ทําความเข้าใจ จดจําข่าวสารข้อมูลที่ได้รับ และใช้ในการแก้ปัญหา โดยรูปแบบการคิดของแต่ละบุคคลมี ลักษณะค่อนข้างคงที่
รูปแบบการเรียนรู้ (Learning style) หมายถึง ลักษณะทางกายภาพ ความคิด และความรู้สึก ที่บุคคลใช้ ในการรับรู้ ตอบสนอง และมีปฎิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมทางการเรียนอย่างค่อนข้างคงที่ Keefe (1979)(อ้างถึง ใน ณัฐพนธ์ อนุสรณ์ทรางกูร, 2555)
ดังนั้นรูปแบบการคิด และรูปแบบการเรียนรู้ จึงเป็นลักษณะของการคิด และลักษณะของการเรียนที่ บุคคลหนึ่งๆ ใช้หรือทําเป็นประจํา อย่างไรก็ตามรูปแบบการคิด และรูปแบบการเรียนรู้ไม่ได้หมายถึง ตัว ความสามารถโดยตรง แต่เป็นวิธีการที่บุคคล ใช้ความสามารถ ของตนที่มีอยู่ในการคิด และการเรียนรู้ ด้วย ลักษณะใดลักษณะหนึ่ง มากกว่าอีกลักษณะหนึ่งหรือลักษณะอื่นๆที่ตนมีอยู่
แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบการคิด (Cognitive Style) พัฒนามาจากความสนใจในความแตกต่างระหว่าง บุคคล ซึ่งในช่วงแรก ของการ ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบการคิดนักจิตวิทยาได้เน้นศึกษาเฉพาะความแตกต่างระหว่าง บุคคล ในแง่ของ การประมวลข่าวสารข้อมูล ยังไม่ได้ประยุกต์เข้ามาสู่การเรียนการสอนในชั้นเรียน ต่อมา นักจิตวิทยากลุ่มที่สนใจ การพัฒนาประสิทธิภาพ ของการเรียน การสอนในชั้นเรียน ได้นําแนวคิดของรูปแบบการ คิดมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์โดยเน้นสู่ บริบทของการเรียนรู้ในชั้นเรียน และพัฒนาเป็นแนวคิดใหม่ เรียกว่า รูปแบบการเรียนรู้ (learning style)
Riding &Rayner (1998) (อ้างถึงใน ณัฐพนธ์ อนุสรณ์ทรางกูร, 2555) กล่าวว่า รูปแบบการเรียนรู้ ประกอบด้วยรูปแบบการคิด (cognitive style) และกลยุทธ์การเรียนรู้ (learning strategy) ซึ่งหมายถึงวิธีการที่ ผู้เรียนใช้การจัดการหรือตอบสนองในการทํากิจกรรมการเรียน เพื่อให้เหมาะสม กับสถานการณ์ และงานใน ขณะนั้นๆ
ความสําคัญของรูปแบบการคิด และรูปแบบการเรียนรู้รูปแบบการคิด และ รูปแบบการเรียนรู้ ของผู้เรียน มีผลต่อความสําเร็จทางการเรียน โดยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรียน จะเพิ่มขึ้น และผู้เรียนจะสามารถจดจํา ข้อมูลที่ได้เรียนนานขึ้น เมื่อวิธีสอน วัสดุ/สื่อการสอน และ สภาพแวดล้อมของการเรียนรู้ มีความสอดคล้องกับ รูปแบบการคิด และรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียน (Davis, 1991; Jonassen& Grabowski, 1993; Caldwell &Ginthier ,1996 ; Dunn, et al.,1995 ) เช่น ผู้เรียนที่มีรูปแบบการคิดเป็นรูปภาพ จะเรียนรู้ได้ดี เมื่อผู้สอนใช้สื่อ การสอนที่มีภาพประกอบ หรือผู้เรียนที่มีรูปแบบการคิดแบบอิสระ จะเรียนรู้ได้ดี ในกิจกรรม การเรียนที่มีการ ค้นคว้าด้วยตนเอง หรือผู้เรียนที่มีรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ ก็จะเรียนรู้ได้ดีในกิจกรรมการเรียนที่มีส่วนร่วม มี
การร่วมมือกันทํางานเป็นกลุ่ม เป็นต้นกล่าวได้ว่าความรู้ความเข้าใจในเรื่องรูปแบบการคิด และรูปแบบการเรียนรู้ มีความสําคัญ ต่อการส่งเสริม ประสิทธิภาพ ของ การเรียนการสอน และพัฒนาผู้เรียนให้สามาร ถเรียนรู้ได้เต็ม ศักยภาพ และอาจช่วยลดปัญหาผลการเรียนต่ํา ปัญหาการหนีเรียน และไม่สนใจเรียนของผู้เรียนได้ด้วย (ณัฐพนธ์ อนุสรณ์ทรางกูร, 2555)
รูปแบบของการคิดที่มีขั้นตอนของการคิดเป็นลําดับขั้น ในแต่ละขั้นตอนของการคิดต้องใช้ทักษะการคิด หรือลักษณะการคิดหลาย ๆ แบบมาประกอบกัน การคิดที่เป็นกระบวนการคิดมีอยู่หลายรูปแบบ ที่สําคัญ ได้แก่
1. การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking)
3. การคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
4. การคิดเลียนแบบอริยสัจ
5. การคิดทางคณิตศาสตร์
1. การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative Thinking) เป็นกระบวนการคิดที่ให้ผลของการคิดที่เป็นสิ่งแปลก ใหม่ที่มีคุณค่า มีประโยชน์ เช่น สิ่งประดิษฐ์แบบใหม่ วิธีดําเนินการแบบใหม่ กระบวนการผลิตใหม่ แนวคิดใหม่ ทางเลือกใหม่ เป็นต้น
2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) เป็นกระบวนการคิดที่มีการพิจารณาไตร่ตรองและการ ใช้เหตุผล เพื่อประกอบในการตัดสินใจหรือในการเลือก เช่น เลือกกระทํา หรือไม่กระทํา ควรเชื่อหรือไม่เชื่อ เป็น ต้น
3. การคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นกระบวนการคิดที่ใช้ในการคิดแก้ปัญหา หรือแสวงหา ความรู้ มีกระบวนการหรือขั้นตอนตามลําดับคือ ขั้นปัญหา ขั้นตั้งสมมติฐาน ขั้นรวบรวมข้อมูล และขั้นสรุป ในแต่ ละขั้นตอนของกระบวนการ ต้องใช้ความคิดที่เป็นทักษะการคิด หรือลักษณะการคิดในหลาย ๆ แบบมาประกอบ กัน
4. การคิดเลียนแบบอริยสัจ เป็นการคิดที่เลียนแบบกระบวนการคิดของอริยสัจของพุทธศาสนาในอริยสัจ 4 ประกอบด้วย 2 ส่วน คือส่วนที่เป็นเนื้อหาซึ่งเป็นเรื่องที่เป็นความจริงที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของทุกคน กับส่วนที่เป็น วิธีการแห่งปัญญา ซึ่งเป็นระบบที่แก้ไขปัญหาด้วยเหตุผล เป็นระบบวิธีแบบอย่าง ซึ่งวิธีการแก้ปัญหาใด ๆ ก็ตามที่ จะมีคุณค่า และสมเหตุสมผลจะต้องดําเนินไปในแนวเดียวกันเช่นนี้ (พระราชวรมุนี, 2528)
5. การคิดทางคณิตศาสตร์ เป็นการคิดในเรื่องของนามธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เหตุผลและมีระบบ มี ลําดับขั้นตอนการคิด 4 ขั้นตอน คือ การระลึกได้ การคิดพื้นฐาน การคิดวิเคราะห์ และการคิดสร้างสรรค์ ปัจจัยพื้นฐานของการคิด
ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบที่สําคัญ คือ
8. คุณลักษณะของผู้คิดการที่มนุษย์เรามีสามารถ ในการคิดที่แตกต่างกัน ต้องอาศัยปัจจัย ที่เป็นพื้นฐานเริ่ม จากตัวผู้คิดเองจะต้อง มีคุณลักษณะ ที่เอื้อต่อการคิด ได้แก่ ความปกติของสมอง ความมีวุฒิภาวะทาง อารมณ์ และอาศัยข้อมูลที่มีอยู่ ประสบการณ์ต่างๆ ที่ผ่านมาแล้ว
9. สิ่งเร้า เป็นตัวกระตุ้นให้ผู้คิดเกิดความสนใจเอาใจใส่ สังเกต พิจารณาไตร่ตรอง เพื่อให้เกิดกระบวนการคิด การคิดจะเกิดขึ้น เมื่อประสาทรับรู้ได้รับ การกระตุ้นจากสิ่งเร้า ซึ่งสมองจะเลือกรับรู้สิ่งที่มากระตุ้นนั้น สิ่ง เร้าที่เกิดขึ้นอาจเป็น สภาพแวดล้อมต่างๆ ที่ได้จาก คน สัตว์ สิ่งของ ความต้องการ และเหตุการณ์
10. จินตนาการตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ ที่ช่วยสนับสนุนให้เกิดการคิดขึ้นมา เช่น รูปทรงของเรขาคณิต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เป็น การสนับสนุน ทางด้านที่ทําให้เกิดทักษะการคิดเป็นต้น
ในขณะที่คิด เครื่องมือที่ใช้ในการคิดของมนุษย์ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
1. ภาพพจน์ในการคิดเป็นสิ่งที่เกิดแทนวัตถุต่างๆ หรือแทน ประสบการณ์ของผู้คิดซึ่งอาจจะเกิดขึ้น ทางตาหรือทางหู
2. ภาษา เป็นสิ่งสําคัญของกระบวนการคิดการแก้ปัญหา เพราะภาษาเป็นสื่อกลางความคิดของ
มนุษย์
3. สัญลักษณ์ สิ่งที่ใช้เป็นเครื่องหมายหรือตัวแทนวัตถุเหตุการณ์ และการกระทําต่างๆ เช่น
สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ กริยาท่าทาง การพยักหน้า การสั่นหน้า
ประเภทของการคิด
การคิดแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. การคิดอย่างมีจุดมุ่งหมาย
2. การคิดอย่างไม่มีจุดมุ่งหมาย
1. การคิดอย่างมีจุดมุ่งหมาย เป็นการคิดที่หาเหตุผล สามารถนําไปใช้ในการแก้ปัญหาอยู่ในรูปของ กระบวนการ เป็นการคิดอย่างมีระบบ มีเหตุผล เป็นวิทยาศาสตร์
2. การคิดอย่างไม่มีจุดมุ่งหมาย คือการคิดเลื่อนลอย คิดเพ้อฝัน ไม่มีจุดหมาย ไม่มีขอบเขต เป็นการคิด แบบคล้อยตามสิ่งเร้า
ในโลกของสังคมมนุษย์ความคิดและการกระทําของบุคคล สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภทด้วยกัน คือ ประเภทที่ 1 คิดและทําบุคคลประเภทนี้จะเป็นนักคิด และลงมือปฏิบัติ คือ เป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ปัญหาเป็น มีหลักการ มีอุดมการณ์ และมีความเป็นนักวิชาการอยู่ในตนเอง ผู้ที่เป็นนักปฏิบัติคือ ผู้ที่มี ความพรอ้อมในการทํางานหรือลงมือกระทําตามความรับผิดชอบอย่างเต็มที่ และรับผิดชอบทุกขั้นตอนของการ
ทํางาน
ประเภทที่ 2 คิดแต่ไม่ทําบุคคลประเภทนี้ จะเป็นนักคิดแต่ไม่ลงมือปฏิบัติ เหตุผลของการไม่ปฏิบัติของแต่ ละบุคคล แตกต่างกันออกไป บางคนไม่กระทําเพราะไม่มีบทบาทหน้าที่ บางคนไม่กระทําเพราะไม่เห็นด้วยกับ แนวคิด บางคนไม่กระทําเพราะไม่มีกําลังใจ ท้อแท้ และไม่เห็นความสําคัญของงาน บางคนไม่ทําเพราะไม่มีโอกาส ที่จะกระทํา และบางคนไม่ทําเพราะเป็นค่านิยมส่วนบุคคลที่ชอบความสะดวกสบาย
ประเภทที่ 3 ทําแต่ไม่คิดทําแต่ไม่คิด บุคคลประเภทนี้ เป็นนักปฏิบัติที่กระทํา แต่ไม่มีโอกาสใน การมีส่วน ร่วมแสดงความคิดเห็นเสนอแนะ กําหนดนโยบาย และแนวทางการปฏิบัติงาน หรืออาจจะเป็นบุคคลที่ชอบทํางาน ตามกฎระเบียบข้อบังคับ หรืองานประจํา จนเกิดความเคยชิน และไม่เกิดความคิดสร้างสรรค์
ประเภทที่ 4 ไม่คิด ไม่ทําบุคคลประเภทนี้จะไม่เป็นทั้ง นักคิดและนักปฏิบัติ สาเหตุอาจเกิดจากค่านิยม ส่วนบุคคล หรืออาจเกิดจากบุคคลประเภทที่ 2 คือ คิดแต่ไม่ทํามาก่อน เมื่อเวลาผ่านไปนานๆ เข้า ความคิดเริ่ม ถดถอยหมดกําลังใจที่จะคิดต่อไปจนกลายสภาพมาเป็นบุคคลที่ไม่คิด ไม่ทํา
9.การคิดเป็น
ดร.โกวิท วรพิพัฒน์ (2513) คิดเป็น (khit pen) เป็นปรัชญาพื้นฐานของการศึกษานอกโรงเรียน เป็น กระบวนการคิดที่เกิดขึ้นจากหลักการและแนวคิดของนักการศึกษาไทยผู้ก่อตั้งทฤษฎีการคิดเป็นคือ ดร.โกวิท วรพิพัฒน์ ท่านผู้นี้เป็นผู้นําแนวคิดเรื่องการคิดเป็นและนํามาเผยแพร่จนได้รับการยอมรับทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ซึ่งครั้งแรกได้นํามาใช้ในวงการศึกษานอกโรงเรียนเมื่อราว พ.ศ. 2513 ดร.โกวิท วรพิพัฒน์และคณะ ได้ประยุกต์แนวความคิด คิดเป็น มาใช้ในการจัดการศึกษาผู้ใหญ่แบบเบ็ดเสร็จขั้นพื้นฐานระหว่างปี พ.ศ. 2518
– 2524 โครงการรณรงค์เพื่อการรู้หนังสือ เป็นต้น ซึ่งถือว่าแนวคิด คิดเป็น เป็นปรัชญาที่นํามาใช้กับการพัฒนา งานการศึกษาผู้ใหญ่ และต่อมาได้นํามากําหนดเป็นจุดมุ่งหมายที่สําคัญของการศึกษาไทยทุกระดับและใช้เรื่อยมา จนถึงปัจจุบัน ที่ว่า “การจัดการศึกษาต้องการสอนคนให้ คิดเป็น ทําเป็น แก้ปัญหาเป็น (อุ่นตา นพคุณ : 2519)
ปรัชญาคิดเป็นอยู่บนพื้นฐานความคิดที่ว่า ความต้องการของแต่ละบุคคลไม่เหมือนกัน แต่ทุกคนมีจุดรวม ของความต้องการที่เหมือนกัน คือ ทุกคนต้องการความสุข คนเราจะมีความสุขเมื่อเราและสังคมสิ่งแวดล้อม ประสมกลมกลืนกันได้โดยการปรับปรุงตัวเราให้เข้ากับสังคมหรือสิ่งแวดล้อม หรือโดยการปรับปรุงสังคมและ สิ่งแวดล้อมให้เข้ากับตัวเรา หรือปรับปรุงทั้งตัวเราและสังคมสิ่งแวดล้อมให้ประสมกลมกลืนกัน หรือเข้าไปอยู่ใน สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับตน คนที่สามารถทําได้เช่นนี้ เพื่อให้ตนเองมีความสุขนั้น จําเป็นต้องเป็นผู้มีความคิด สามารถคิดแก้ปัญหา รู้จักตนเองและธรรมชาติสิ่งแวดล้อม จึงจะเรียกได้ว่า ผู้นั้นเป็นคนคิดเป็น หรืออีกนัยหนึ่ง ปรัชญาคิดเป็น มาจากความเชื่อพื้นฐานตามแนวพุทธศาสนา ที่สอนให้บุคคลสามารถพ้นทุกข์ และพบความสุขได้ ด้วยการค้นหาสาเหตุของปัญหา สาเหตุของทุกข์ ซึ่งส่งผลให้บุคคลผู้นั้นสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
คิดเป็น เชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีพื้นฐานชีวิตแตกต่างกัน มีวิถีการดําเนินชีวิตที่แตกต่างกัน มีความ ต้องการที่แตกต่างกัน แต่ทุกคนล้วนมีความต้องการที่จะมีความสุขอย่างอัตภาพเหมือนกัน
ดร.โกวิท วรพิพัฒน์ (2545) คิดเป็น(KIDPEN) มีความเชื่อว่า มนุษย์ทุกคนต้องการความสุข แต่ความสุข ของแต่ละคนแตกต่างกัน เนื่องจากมนุษย์มีความแตกต่างกันในด้านต่างๆ เช่น เพศ วัย สภาพสังคมสิ่งแวดล้อม วิถี ชีวิต ซึ่งทําให้ความต้องการและความสุขของแต่ละคนไม่เหมือนกัน
หลักการของการคิดเป็น
1.คิดเป็น เชื่อว่า สังคมเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ก่อให้เกิดปัญหา ซึ่งปัญหานั้นสามารถแก้ไขได้
2. คนเราจะแก้ไขปัญหาต่างๆได้อย่างเหมาะสมที่สุด โดยใช้ข้อมูลมาประกอบการตัดสินใจอย่างน้อย 3 ประการ คือ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง สังคม และวิชาการ
3.เมื่อได้ตัดสินใจแก้ไขปัญหาด้วยการไตร่ตรองรอบคอบทั้ง 3 ด้านแล้ว ย่อมก่อให้เกิดความพอใจในการตัดสินใจ นั้นและควรรับผิดชอบต่อการตัดสินใจนั้น
4.แต่สังคมเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การคิดตัดสินใจอาจจะต้องเปลี่ยนแปลงปรับปรุงใหม่ให้เหมาะสมกับสภาพ และสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป
ลักษณะของคนคิดเป็น มี 8 ประการ
1.มีความเชื่อว่าปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งธรรมดา สามารถแก้ไขได้
2.การคิดที่ดีต้องให้ข้อมูลหลายๆด้าน (ตนเอง สังคม วิชาการ)
3.รู้ว่าข้อมูลเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
4.สนใจที่จะวิเคราะห์ข้อมูลอยู่เสมอ
5.รู้ว่าการกระทําของตนมีผลต่อสังคม
6.ทําแล้ว ตัดสินใจแล้ว สบายใจ และเต็มใจรับผิดชอบ
7.แก้ปัญหาชีวิตประจําวันอย่างมีระบบ
8.รู้จักชั่งน้ําหนักคุณค่า
สมรรถภาพของคนคิดเป็น
1. เผชิญปัญหาในชีวิตประจําวันอย่างมีระบบ 2.สามารถที่จะแสวงหาและใช้ข้อมูลหลายๆด้าน ในการคิดแก้ไขปัญหา
3.รู้จักชั่งน้ําหนัก คุณค่า และตัดสินใจหาทางเลือกให้สอดคล้องกับค่านิยม ความสามารถและสถานการณ์หรือ เงื่อนไขส่วนตัวและระดับความเป็นไปได้ของทางเลือกต่างๆ
กระบวนการแก้ปัญหาของการคิดเป็น
1. ขั้นสํารวจปัญหา เมื่อเกิดปัญหา ย่อมต้องเกิดกระบวนการคิดแก้ปัญหา
2. ขั้นหาสาเหตุของปัญหา เป็นการหาข้อมูลมาวิเคราะห์ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นนั้น เกิดขึ้นได้อย่างไร มีอะไร เป็นองค์ประกอบของปัญหาบ้าง - สาเหตุจากตนเอง พื้นฐานของชีวิต ครอบครัว อาชีพการปฏิบัติตน คุณธรรม ฯลฯ - สาเหตุจากสังคม บุคคลที่อยู่แวดล้อม ตลอดจนความเชื่อ ประเพณี ฯลฯ - สาเหตุจากการขาดวิชาการ ความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
3. ขั้นวิเคราะห์ปัญหา หาทางแก้ไขปัญหา เป็นการวิเคราะห์ทางเลือกในการแก้ปัญหา โดยใช้ข้อมูลด้าน ตนเอง สังคม วิชาการ มาประกอบในการวิเคราะห์
4. ขั้นตัดสินใจ เมื่อได้ทางเลือกแล้วจึงตัดสินใจเลือกแก้ปัญหาในทางที่มีข้อมูลต่าง ๆ
5. ขั้นตัดสินใจไปสู่การปฏิบัติ เมื่อตัดสินใจเลือกทางใดแล้ว ต้องยอมรับว่าเป็นทางเลือกที่ดี ที่สุดในข้อมูล เท่าที่มีขณะนั้น ในกาละนั้น และในเทศะนั้น
6. ขั้นปฏิบัติในการแก้ปัญหา ในขั้นนี้เป็นการประเมินผลพร้อมกันไปด้วย ถ้าผลที่ - พอใจ ก็ถือว่าพบ ความสุข เรียกว่า “คิดเป็น” - ไม่พอใจ หรือผลออกมาไม่ได้เป็นไปตามที่คิดไว้ หรือข้อมูลเปลี่ยนต้องเริ่มต้น กระบวน การคิดแก้ปัญหาใหม่
“คิดเป็น” เป็นการวิเคราะห์ปัญหาและแสวงหาคําตอบหรือทางเลือกเพื่อแก้ปัญหาและดับทุกข์ การคิด อย่างรอบคอบเพื่อการแก้ปัญหา โดยอาศัยข้อมูลตนเอง ข้อมูลสังคมสิ่งแวดล้อมและ ข้อมูลวิชาการ
สรุปความหมายของ“คิดเป็น”เมื่อทุกคนต้องการมีความสุขเหมือนกัน จึงต้องมีกระบวนการเพื่อให้เกิด ความสุขคือกระบวนการคิดเป็น โดยมีฐานข้อมูลทางวิชาการ ทางสังคมสิ่งแวดล้อม และข้อมูลของตนเองมาเป็น ตัวการในการช่วยตัดสินใจ เมื่อตัดสินใจได้แล้วจึงเลือกหนทางในการดําเนินชีวิต ก็จะเกิดความสุขจากการตัดสินใจ ถูกต้อง เมื่อดําเนินการแล้ว และยังเกิดปัญหาหรือยังไม่เกิดความสุขจึงกลับมาย้อนดูความผิดพลาดจากข้อมูลว่า วิเคราะห์ข้อมูลครบหรือยัง แล้วจึงตัดสินใจใหม่วนเป็นวัฎจักร "คิดเป็น" เพื่อการแก้ปัญหาที่ยังยืน แล้วเกิดสุข
อย่างอัตภาพเป้าหมายสุดท้ายของการเป็นคน“คิดเป็น”คือ ความสุขคนเราจะมีความสุขเมื่อตัวเราและสังคม สิ่งแวดล้อมประสมกลมกลืนกันอย่างราบรื่นทั้งทางด้านวัตถุ กายและใจ
10. กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี(2560)ได้ให้ความหมายการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ชุมชนเป็นฐานการ เรียนรู้ (อังกฤษ: Community Based Learning ย่อว่า CBL) ไว้ว่า เป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้จากการได้ปฏิบัติงานจากสถานการณ์จริงของชุมชน
ประเวศ วะสี (2555) การสร้างสังคมความรู้และสังคมภูมิปัญญา คือแนวทางสําคัญของแผนการศึกษา แห่งชาติ (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 2552) แต่สังคมภูมิปัญญาและสังคมความรู้ที่แท้จริงควรมาจาก ฐาน รากของสังคม และการพัฒนาอย่างบูรณาการต้องเอาพื้นที่เป็นตัวตั้ง เพราะชุมชนคือฐานรากของประเทศ ถ้า ชุมชนทั้งหมดเข้มแข็งทุกด้าน ทั้งเศรษฐกิจ จิตใจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม สุขภาพ การศึกษา ประชาธิปไตย ประเทศไทยก็จะมั่นคง
นฤตย์ เสกธีระ(2555) การจัดการศึกษาโดยใช้ฐานชุมชน (Community-based Education
Management = CBEM) หรือการจัดการศึกษาฐานชุมชน มีเป้าหมายและขอบเขตการเรียนรู้กว้างขวาง เป็นการ เรียนรู้การสร้างฐานรากของชีวิตให้มั่งคง เพิ่มพูนความรู้ รักษาความดี ยึดหลักทําเพื่อส่วนรวม หมั่นฝึกหัดฝึกฝน ไม่ทําร้ายตนเอง ไม่สร้างความเดือดร้อนให้ตนเองและผู้อื่น แม้ในช่วงชีวิตจะล้มลุกคลุกคลาน แต่หากรากฐาน มั่นคง การก่อร่างสร้างตัวคงมิใช่เรื่องเกินเอื้อม การจัดการศึกษาโดยใช้ฐานชุมชน หรือการศึกษาฐานรากแบบมี ส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน นับเป็นทางเลือกจุดเปลี่ยนประเทศไทย
จีรวิทย์ มั่นคงวัฒนะ (2560) การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (Community-based Learning Management = CBLM) เป็นแนวคิดหนึ่งซึ่งโรงเรียนแหลมราษฎร์บํารุงประยุกต์มาจาก แนวคิดการจัดการศึกษา ฐานชุมชน (Community-based Education Management = CBEM) คือ เป็นการศึกษาที่เอา “ชีวิตเป็นตัว ตั้ง” แทนการเอา “วิชาเป็นตัวตั้ง” โดยมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนได้รับทั้งความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม จริยธรรม รูปแบบการศึกษา เป็นการศึกษาระบบเปิด ที่บูรณาการทั้งการศึกษา ในระบบ นอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัย ที่ทุกคนมีสิทธิ เพื่อที่จะให้ความเห็น หรือเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา การจัดการ ศึกษาฐานชุมชน เป็นการเพิ่มความสําคัญของเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชนท้องถิ่น สถาบันศาสนา และสถาบันสังคมอื่นๆ โดยเฉพาะสถาบันครอบครัว ต้องหันมาให้ความสําคัญกับเยาวชนและบุตรหลาน โดย ร่วมกันปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม มารยาท ประเพณีและวัฒนธรรมภายในครอบครัวและชุมชน โดยรัฐและองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ความสําคัญกับการเสริมสร้างครอบครัวเข้มแข็ง เป็นฐานรากของสังคม
กล่าวโดยสรุป กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานหมายถึง กระบวนการจัดการเรียนรู้โดย ยึดชุมชนเป็นที่ตั้ง ในหลายๆมิติ ได้แก่ มิติสังคม การศึกษา เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม” โดยมี จุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนได้รับทั้งความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมจริยธรรม รูปแบบการศึกษา เป็นการศึกษาระบบ เปิด ที่บูรณาการทั้งการศึกษา ในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นการเรียนรู้การสร้างฐานราก ของชีวิตให้มั่งคง เพิ่มพูนความรู้ รักษาความดี ยึดหลักทําเพื่อส่วนรวม
2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
วิลาวัลย์ ไชยมงคล และคณะ (2556) ได้ทําการวิจัยเรื่อง รูปแบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสม เพื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้สําหรับกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการจัด การศึกษาที่เหมาะสมให้แก่กลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่อําเภอภูซางสามารถอ่านออก เขียนได้ เพื่อพัฒนากระบวนการ เรียนรู้ของผู้ไม่รู้หนังสือในพื้นที่อําเภอภูซางให้ได้รับการศึกษาได้อย่างสอดคล้องและเหมาะสมตามศักยภาพและ ความต้องการของผู้เรียน และเพื่อพัฒนากระบวนการสอนของครู กศน.ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับกับกลุ่มชาติ พันธุ์ในพื้นที่อําเภอภูซาง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ กลุ่มชาติพันธุ์ ในพื้นที่ บ้านฮวก หมู่ที่ 3 และ 12 และบ้าน ห้วยส้านหมู่ที่ 4 ตําบลภูซาง จํานวน 20 คน (กลุ่มชาติพันธุ์ที่มีสัญชาติลาว และสัญชาติไทยเชื้อสายม้ง) เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย คือ เครื่องมือที่ใช้ในการจัดเรียนการสอน ได้แก่ แบบเรียน แบบทดสอบ ใบงาน ใบความรู้ CD อาเซียน แผ่นพับ และเครื่องมือที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลร่วมกับชุมชน แผนที่ชุมชน ปฎิทินฤดูกาล timeline ปฏิทินอาชีพ สังเกต สัมภาษณ์ ถ่ายรูป เป็นต้น ผลการวิจัย ข้อค้นพบ กระบวนการของการจัดการเรียนการสอน 6 ขั้นตอน คือ 1) ค้นหาปัญหาผ่านเวทีประชาคมหมู่บ้านต่อแนวทางการจัดการเรียนการสอนกลุ่มชาติพันธุ์ที่ เหมาะสม 2) นําปัญหาที่ได้มาวางแผนร่วมกันในคณะทํางาน จัดทําข้อมูลและแบ่งประเภทของข้อมูลที่สอดคล้อง กับความต้องการของผู้เรียน 3) สํารวจข้อมูลเพิ่มเติมจากกลุ่มผู้เรียน เช่นประวัติส่วนตัว และการศึกษาภูมิเดิม เพื่อ แบ่งกลุ่มผู้เรียนตามระดับความรู้ที่เหมาะสม 4)กําหนดแผนการสอน แบ่งหน้าที่ครูผู้รับผิดชอบในการจัดการเรียน การสอนแต่ละเนื้อหาและกําหนดเป็นตารางสอน 5)ลงมือปฏิบัติการสอนตามตารางที่กําหนด 6) กําหนดตัวชี้วัด และประเมินผลตัวผู้เรียน
ชยันต์ วรรธนะภูติและคณะ(online) ได้ทําการวิจัยเรื่องPromoting Human Rights for Highland Minorities through Citizenship and Birth Registration พบว่า กลุ่มชาติพันธุ์โดยส่วนใหญ่ที่ไม่ได้รับสัญชาติ ไทยมักอ่านเขียนไม่ได้ ขาดโอกาสการเข้าถึง ข้อมูล และความรู้ที่เพียงพอเกี่ยวกับกฎระเบียบ กระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการพิสูจน์สัญชาติ รวมทั้งต้องเสีย ค่าใช้จ่ายการเดินทางที่สูงมาก ดังกรณีหมู่บ้านห้วยพลู ต้องเหมารถ รับจ้างเพื่อเดินทางมาติดต่อกับอําเภอทั้งที่ไม่มีรายได้ ซึ่งกว่าจะได้รับสัญชาติไทยต้องเดินทางเข้าออก หมู่บ้าน หลายครั้ง จึงทําให้ชาวกะเหรี่ยงบางคนท้อใจและล้มเลิกการขอสัญชาติไทยทั้งที่ตนเองมีสิทธิ์ ความสําเร็จและ ความรวดเร็วในการพิสูจน์สัญชาติจําเป็นที่จะต้องมีหน่วยงานภายนอก เข้ามา เช่น กรณีบ้านห้วยพลู ต.แม่ตื่น หรือ กรณี บ้านชิบาโบที่ผู้ใหญ่บ้าน ช่วยติดตาม นอกจากนี้ยังพบว่ากระบวนการ พิสูจน์สัญชาติมีขั้นตอนและต้องใช้ เวลานาน มากกว่านั้นคือ เจ้าหน้าที่ระดับอําเภอยังมีอคติว่า กลุ่มชาติพันธุ์เหล่านี้ ค้ายาเสพติด ตัดไม้ทําลายป่า นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ ฯ ยังเกรงว่าตนเองจะได้รับความผิดหากการตรวจสอบไม่ละเอียด และอนุมัติสัญชาติให้กับ บุคคล”สวมสิทธิ”แม้ว่าได้ผ่านการประชาคมแล้วก็ตาม
รสาพร หม้อศรีใจ (2558) ได้ทําการวิจัยเรื่อง การศึกษาแนวทางส่งเสริมการรู้หนังสือของสถานศึกษา กศน. ในเขตภาคเหนือ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพ ปัญหา ความต้องการการส่งเสริมการรู้หนังสือของ สถานศึกษา กศน. และ2) ศึกษาแนวทางส่งเสริมการรู้หนังสือของสถานศึกษา กศน. อําเภอที่เหมาะสมกับ กลุ่มเป้าหมายกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือผู้บริหาร กศน.อําเภอ ครูผู้สอน และผู้เรียน/ผู้รับบริการ ของ สถานศึกษาที่เป็นพื้นที่การวิจัยได้แก่ 1) กลุ่มศูนย์หล่ายดอย กศน.อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง 2) กลุ่มศูนย์อิง
ดอย อําเภอลอง จังหวัดแพร่3) กลุ่มศูนย์ห้าขุนศึก อําเภอบ้านด่านลานหอย จังหวัดสุโขทัย และ4)กลุ่มศูนย์อู่ข้าวอู่ น้ํา อําเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตรผลการศึกษา พบว่า
1. การส่งเสริมการรู้หนังสือของสถานศึกษา กศน.อําเภอ สถานศึกษาไม่มีหลักสูตรส่งเสริมการรู้หนังสือ ของสถานศึกษา มีเพียงสื่อการเรียนเพื่อการรู้หนังสือของสานักงาน กศน. และแบบเรียนส่งเสริมการรู้หนังสือไทย ศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ของสถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยภาคเหนือ ซึ่งแบบเรียนดังกล่าวมีเนื้อหามาก และเป็นเนื้อหาที่ไม่สอดคล้องกับสภาพความต้องการของ ผู้เรียน นอกจากนี้ ไม่มีคู่มือหรือแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สถานศึกษาจึงต้องการพัฒนาหลักสูตรการรู้หนังสือ จัดทําแบบเรียนส่งเสริมการรู้หนังสือ ที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับสภาพ บริบทของผู้ไม่รู้หนังสือในพื้นที่การวิจัย และ ต้องการจัดทําแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ
2. แนวทางในการส่งเสริมการรู้หนังสือจากข้อมูลสภาพและความต้องการที่กล่าวข้างต้น จึงสรุปและ กําหนดแนวทางในการส่งเสริมการรู้หนังสือ ประกอบด้วย
1) หลักสูตรส่งเสริมการรู้หนังสือไทย ที่มีเนื้อหามาจากสภาพบริบท ของชุมชน ผู้เรียนคําที่ต้องการ ใช้ในชีวิตประจําวัน มีคําหลัก จํานวน 100 คํา คําเสริมคําหลัก จํานวน 77 คํา
2) แบบเรียนส่งเสริมการรู้หนังสือไทย ที่มีแบบฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ที่ กําหนดเนื้อหาตามหลักสูตรกําหนด แบ่งเนื้อหา เป็น 9 สภาพ แบ่งเนื้อหาออกเป็น 2ส่วนคือ สภาพที่ 1 เป็น บทเรียนเตรียมความพร้อมสําหรับผู้เรียนที่อ่านไม่ออก และเขียนไม่ได้ แต่สื่อสารด้วยการฟังและพูดได้ แล้วจึง เรียนรู้ในสภาพที่ 2 ถึง สภาพที่ 9 ซึ่งเป็นบทเรียนที่ใช้สอนการฟัง พูด อ่านและเขียน
3) คู่มือการจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือไทย ที่ครูผู้สอนใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เป็นไป ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรได้อย่างครบถ้วน พร้อมทั้งมีเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
วิธีการดําเนินงาน
3.1 วิธีการดําเนินงาน
โครงการวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่ม“สตรีชาวลาว” ในพื้นที่ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAP : Participatory Action Research) มี วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสืบค้น รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องร่วมกับกลุ่มสตรีชาวลาวในพื้นที่เป้าหมาย 2.เพื่อกําหนดรูปแบบการพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของความรู้ ความสามารถของตนเองอย่างเต็มประสิทธิภาพโดยมีขอบเขตการศึกษาในพื้นที่ หมู่ที่ 3, 4 และ12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
ขอบเขตการวิจัย
ขอบเขตด้านเนื้อหา
สืบค้น รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องร่วมกับกลุ่มสตรีชาวลาวในพื้นที่เป้าหมายในมิติต่างๆ ซึ่งประกอบด้วย มิติสังคม มิติเศรษฐกิจ มิติทางวัฒนธรรม และ มิติทางการศึกษา เพื่อนําไปกําหนดรูปแบบ การพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของความรู้ความสามารถของตนเองอย่าง เต็มประสิทธิภาพ
ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร ประกอบด้วยสตรีชาวลาวในพื้นที่ หมู่ที่ 3, 4 และ12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัด
พะเยา
กลุ่มตัวอย่าง ทางผู้วิจัยใช้การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ประกอบด้วย
- กลุ่มสตรีชาวลาวที่ลงทะเบียนเรียนกับ กศน.ภูซาง จํานวน 25 คน
- กลุ่มผู้นําและแกนนําชุมชน, หน่วยงาน-ภาคี 3 คน
ขอบเขตพื้นที่
หมู่ที่ 3, 4 และ12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
ระยะเวลาในการดําเนินงาน
การดําเนินงาน 1 ปี 4 เดือน (16 เดือน) โดยกําหนดให้ระยะเวลาในการดําเนินการตั้งแต่วันที่ 1
พฤษภาคม 2559 ถึง 31 สิงหาคม 2560 และขยายเวลาตั้งแต่ วันที่ 1 กันยายน 2560 ถึง 31 ตุลาคม 2560
งบประมาณในการดําเนินงาน
ระยะที่ 1 จํานวน 91,940 บาท (-เก้าหมื่นหนึ่งพันเก้าร้อยสี่สิบบาทถ้วน-)
ระยะที่ 2 จํานวน 108,060 บาท (-หนึ่งแสนแปดหมื่นหกสิบบาทถ้วน-) รวมงบประมาณทั้งสิ้น 200,000 บาท (-สองแสนบาทถ้วน-)
ภายใต้บันทึกความร่วมมือสนับสนุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (MOU) ตามแนวทางของการ Co-funding สัดส่วน 70 : 30 ระหว่างสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยระดับอําเภอ (กศน.อําเภอภูซาง)
3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการดําเนินงาน
ในกระบวนการจัดกิจกรรมกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่ม ครู กศน.อําเภอภูซางได้ใช้เครื่องมือต่าง ๆในการดึง ข้อมูลจากชุมชนได้แก่
1. โอ่งชีวิต เป็นเครื่องมือใช้ดึงข้อมูลเกี่ยวกับรายรับ รายจ่าย วิธีแก้ปัญหา ของชุมชนเอง ชุมชนให้ ความสนใจเป็นอย่างมากเนื่องจากเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจําวัน ชุมชนมีการแลกเปลี่ยนแสดงความ
คิดเห็นกันอย่างมากมายในการทําโอ่งชีวิต จะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ รายรับ และจ่าย เพื่อจะระดมว่ากลุ่มสะใภ้ ลาวมีรายรับ-รายจ่ายอะไรบ้างที่เข้ามาในและนอกภาคการเกษตร ในตอนแรกจะใช้วิธีการระดมความคิดก่อน เมื่อเสร็จแล้วตอนท้ายจึงจะให้ลงคะแนนว่าภาพรวมของกลุ่มสะใภ้ลาวมีรายได้-รายจ่ายมากที่สุดส่วนไหน จากนั้นก็ลําดับความสัมพันธ์มากน้อยและช่วยกันวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างรายรับ-รายจ่าย ซึ่งจะทําให้ เกิดการคิดเรื่องการบริหารจัดการรายรับ-รายจ่ายในครัวเรือนและชุมชนว่าจะพัฒนาอย่างไร ส่วนใหญ่ข้อมูล มักจะออกมาที่เรื่องของการลดการใช้สารเคมีในการทําการเกษตร หรือบางทีก็เป็นเรื่องค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการ เล่นหวย ค่าเหล้า-บุหรี่ ซึ่งข้อมูลที่ได้มักจะสอดคล้องกับการทําบัญชีครัวเรือนหลังจากนั้นมีการออกมานําเสนอ ข้อมูลรายรับ-รายจ่ายให้กับสตรีชาวลาวคนอื่นๆได้เห็น และช่วยกันเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนที่ขาดหายไป
2. ปฏิทินฤดูกาล เป็นเครื่องมือที่สอบถามวิถีชีวิตปฏิทินการดําเนินชีวิตและประเพณีของกลุ่มสตรี ชาวลาว ข้อมูลเกี่ยวกับ อาชีพในแต่ละช่วงว่าชุมชนทําไรช่วงไหนการประกอบอาชีพในแต่ละเดือนว่ามี
อะไรบ้างทําให้ชุมชนเกิดการแลกเปลี่ยนและมีการแสดงความคิดเห็นที่เป็นเหตุเป็นผล ขั้นตอนการทําปฏิทิน ฤดูกาล โดยคณะครูมีการประชุมถึงขั้นตอนการนําปฏิทินฤดูกาลลงไปใช้กับชุมชนให้เข้าใจอย่างละเอียด จัด เวทีให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีการแลกเปลี่ยนและร่วมแสดงความคิดเห็น เช่นให้ชุมชนล้อมรอบ ครูอยู่ตรงกลางทุก คนสามารถมองเห็นปฏิทินได้ ครูคอยตั้งคําถามกระตุ้นให้สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ และรอให้กลุ่มสตรีชาวลาว แสดงความคิดเห็นและสรุปในแต่ละประเด็นหลังจากนั้นมีการออกมานําเสนอให้กับสตรีชาวลาวคนอื่นๆได้เห็น ว่าข้อมูลในแต่ละช่วงเวลาว่ามีกิจกรรมอะไรบ้าง มีการแสดงความคิดเห็นและเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนที่ขาด หายไป
3. แผนที่เดินดินรอบในเป็นแผนที่ทางกายภาพ แผนที่ทั่วไปหรือแผนที่นั่งโต๊ะเป็นแผนที่ ที่จัดทําขึ้น
เพื่อแสดงที่ตั้งและลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ทําให้ทราบ เส้นทาง ทิศที่ตั้ง ของพื้นที่หรือสถานที่นั้นๆ เช่น แหล่งน้ํา ภูเขา ทะเล ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่นแหล่งที่ตั้งวัด ร้านค้า สถานที่สําคัญ ต่างๆ ซึ่งผู้ศึกษาอาจไม่จําเป็นต้องไปเดินสํารวจด้วยตนเอง โดยอาศัยกลุ่มสตรีชาวลาวเป็นคนสํารวจและแสดง ความคิดเห็นแล้ววาดออกมาเป็นแผนที่
แผนที่เดินดิน เป็นแผนที่ที่เกิดจากการสํารวจลักษณะทางกายภาพและสิ่งแวดล้อมของกลุ่มสตรีชาว ลาว ที่เรียกว่าแผนที่เดินดินนั้น เพราะการการหาข้อมูลต้องกระทําโดยการลงไปเดินดู ไปสัมผัส ไปเห็น รูปลักษณะบ้านแต่ละหลังทุกหลังทั้งชุมชน ด้วยสายตาของตนเองเท่านั้น ซึ่งต่างจากแผนที่นั่งโต๊ะที่มักคัดลอก หรือหยิบยืมมาจากที่มีอยู่แล้ว การทําแผนที่เดินดินมีความสําคัญมาก และเป็นสิ่งแรกที่ต้องทําเสมอ เพราะ เป็นวิธีที่จะทําให้เราเห็นภาพรวมของชุมชน ได้ดีที่สุด เร็วที่สุด และได้ข้อมูลมากที่สุดในระยะเวลาที่สั้นที่สุด รู้จักชุมชนอย่างทั่วถึง ทําให้การศึกษาชุมชนมีความละเอียด และครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น ไม่จํากัดอยู่แต่ในส่วน พื้นที่ที่ครูเคยชิน หรือเข้าถึงได้ง่าย สิ่งที่เน้นมากก็คือ เราต้องเข้าไปให้ทั่วถึง
ในการทําแผนที่เดินดินนั้น ความสําคัญไม่ได้อยู่ที่การทําแผนที่ทางกายภาพให้สมบูรณ์ครบถ้วน แต่ สําคัญที่การมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรีชาวลาว ในการช่วยกันแสดงความคิดเห็นในพื้นที่บริบทของตัวเองว่าใน ชุมชนของตัวเองมีอะไรบ้าง แล้ววาดออกมาเป็นแผนที่โดยครูมีการสอดแทรกการเรียนการสอนภาษาไทยลงไป
ด้วย และคอยกระตุ้นให้กลุ่มสตรีชาวมีส่วนร่วมในเวทีทุกคน โดยจัดรูปแบบการนั่งเป็นรูปวงกลมซึ่งกลุ่มสตรี ชาวลาวทุกคนสามารถเห็นแผนที่ได้ทุกคน หลังจากนั้นมีการออกมานําเสนอให้กับสตรีชาวลาวคนอื่นๆได้เห็น บริบทของชุมชนตัวเอง มีการแสดงความคิดเห็นและเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนที่ขาดหายไป
4.SWOT Analysis เป็นเครื่องมือใช้ดึงข้อมูลจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค เราสามารถนําข้อมูล
SWOT Analysisมาวางแผนในการออกแบบกิจกรรมให้เหมาะสมสอดคล้องกับกลุ่มสตรีชาวลาวก่อนเริ่ม กระบวนการมีครูกล่าวทักทายชุมชนและชวนคุยเกี่ยวกับงานวิจัยที่เราเข้ามาทํากับชุมชน พร้อมทั้งทบทวนผล ลงเวทีครั้งที่ผ่านมาหลังจากนั้น แบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม เพื่อวิเคราะห์ SWOT (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค) กลุ่มที่ 1 ด้าน สังคมและการศึกษา โดยให้ครูคอยตั้งคําถามคอยกระตุ้นให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีการ แสดงความคิดเห็นในประเด็นต่างๆ มีครูอีก 1 คนคอยเขียนกระดานจับประเด็น เมื่อเสร็จแล้วมีการนําเสนอให้ กลุ่มสตรีชาวคนอื่นๆร่วมกันวิเคราะห์และเพิ่มเติมข้อมูล
5. Mind Map หรือ แผนที่ความคิด เป็นวิธีการบันทึกความคิดเพื่อให้เห็นภาพของความคิดที่ หลากหลายมุมมอง ที่กว้าง และที่ชัดเจน โดยยังไม่จัดระบบระเบียบความคิดใดๆ ทั้งสิ้น เป็นการเขียนตาม
ความคิด ที่เกิดขึ้นขณะนั้น การเขียนมีลักษณะเหมือนต้นไม้แตกกิ่งก้านสาขาออกไปเรื่อยๆ ทําให้สมองได้คิด ได้ทํางานตามธรรมชาติ และมีการจินตนาการกว้างไกล
เริ่มต้นจากครูมีการสอบถามข้อมูลทั่วไป เพื่อเป็นคลายความเครียดให้กับทีมวิจัยชุมชน หลังจากนั้น ให้ชม VTR กิจกรรมตั้งแต่เริ่มต้นว่าตั้งแต่แรกทีมวิจัยของเราทําอะไรบ้าง เป็นการทบทวนข้อมูลที่ผ่านมา หลังจากนั้นคณะครูเอาตัวอย่าง Mind Map ขึ้นและอธิบายขั้นตอนการทํา จากนั้นแบ่งกลุ่มทั้งทีมวิจัยครูและ ทีมวิจัยชุมชนออกเป็น 2 กลุ่ม และแต่ละกลุ่มมีครู 1 คนคอยตั้งคําถามกระตุ้นให้ชุมชนและครูร่วมกันแสดง ความคิดเห็น และวาด Mind Map ตามความเข้าใจของกลุ่มหลังจากนั้น ก็ให้แต่ละกลุ่มออกมานําเสนอ Mind Map ของแต่ละกลุ่มให้ทีมวิจัยคนอื่นได้ทราบ
3.3 แผนการดําเนินงาน
ระยะที่ 1 ระยะเวลาการดําเนินงาน ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2559 – 31 ธันวาคม 2559
กิจกรรม | วัตถุประสงค์ | กลุ่มเป้าหมาย | ระยะเวลา |
1.เวทีประชุมชี้แจง วัตถุประสงค์และ แนวทางในการ ดําเนินงานร่วมกับชุมชน และสร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับงานวิจัยให้ไปใน ทิศทางเดียวกัน | - เพื่อสร้างความเข้าใจ กับทีมวิจัย - เพื่อเตรียมความพร้อม ของทีมนักวิจัยในส่วน ของทีมครูกศน. - เพื่อวางแผน และ กําหนดบทบาทหน้าที่ ของนักวิจัยในการ ดําเนินงานวิจัย | ทีมวิจัยและผู้เกี่ยวข้อง | เดือนที่ 1 |
2.เวทีสืบค้นข้อมูล/องค์ ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ บริบทของกลุ่มเป้าหมาย บนฐานของความ | - เพื่อสืบค้นข้อมูล/องค์ ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ บริบทของกลุ่มเป้าหมาย ภายใต้การพัฒนา | ทีมวิจัยและผู้เกี่ยวข้อง | เดือนที่ 2- 3 |
หลากหลายภายใต้การ พัฒนาศักยภาพ4 ฐาน ประกอบด้วย ฐานสังคม ฐานวัฒนธรรม ฐานเศรษฐกิจ และฐาน การศึกษา(จํานวน 4 ครั้ง) | ศักยภาพ 4 ฐาน | ||
3 . เ ว ที วิ เ คราะห์ และ ประมวลข้อมูล/ อ ง ค์ ความรู้สําหรับนําไปวาง แผนการพัฒนาศักยภาพ ของสตรีชาวลาว | - เ พื่ อ วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ ประมวลข้อมูล/ อ ง ค์ ความรู้สําหรับนําไปวาง แผนการพัฒนาศักยภาพ ของกลุ่มสตรีชาวลาว - เ พื่ อ ป ร ะ เ มิ น สถานการณ์ในการพัฒนา ศักยภาพที่เหมาะสมกับ กลุ่มสตรีชาวลาว | ทีมวิจัยและผู้เกี่ยวข้อง | เดือนที่ 4 |
4.การออกแบบกิจกรรม การพัฒนาศักยภาพที่ เหมาะสมตาม ฐานการ พัฒนาศักยภาพ 4 ฐาน โดยการมีส่วนร่วมของ กลุ่มสตรีชาวลาวเช่น ฐานสังคมวัดจาก ฐานข้อมูลความสัมพันธ์ ฐานวัฒนธรรมการวัด จากแสดงออกถึงอัต ลักษณ์ของกลุ่มสตรีชาว ลาว การแต่งกาย ฐาน การศึกษาวัดจากการรู้ หนังสือ ฐานเศรษฐกิจวัด จากการรวมกลุ่มเพื่อ พัฒนากลุ่มอาชีพให้มี ความเข้มแข็ง สร้าง รายได้ให้กับตนเอง | - เพื่อออกแบบกิจกรรม การพัฒนาศักยภาพที่ เหมาะสมตาม ฐานการ พัฒนาศักยภาพ 4 ฐาน โดยการมีส่วนร่วมของ กลุ่ม สตรีชาวลาวอัน จะนําไปสู่การดําเนินการ ต่อในระยะที่ 2 | ทีมวิจัยและผู้เกี่ยวข้อง | เดือนที่ 5-6 |
5 . เ ว ที ส รุ ป ผ ล ก า ร ดําเนินงานและกิจกรรมใน ระยะที่ 1 และจั ด ทํ า รายงานความก้าวหน้า | - เพื่อสรุปข้อมูลที่ได้รับ จากการดําเนินการใน ระยะที่ 1 | ทีมวิจัยและผู้เกี่ยวข้อง | เดือนที่ 7 |
ระยะที่ 1 | |||
6. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ข อ ง โครงการ ร่วมกับ สกว. ฝ่ายวิจัยท้องถิ่น | - เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดําเนินงานและ นําเสนอรายงาน ความก้าวหน้าของ โครงการร่วมกับ สกว. ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น | ทีมวิจัยและผู้เกี่ยวข้อง | เดือนที่ 8 |
ระยะที่ 2 ระยะเวลาการดําเนินงาน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560– 31 สิงหาคม 2560
กิจกรรม | วัตถุประสงค์ | กลุ่มเป้าหมาย | ระยะเวลา |
1.เวทีทบทวนข้อมูลที่ได้ ในระยะที่ 1 และประชุม วางแผนการดําเนินงาน วิจัยกับทีมงานในระยะที่ 2 | - เพื่อทบทวนข้อมูลที่ได้จาก การดําเนินงานในระยะที่ 1 - เพื่อประชุมวางแผนการ ทํางานกับทีมในระยะที่ 2 | ทีมวิจัยและผู้เกี่ยวข้อง | เดือนที่ 1 |
2.เวทีการจัดกิจกรรมการ พั ฒนา ศั กยภาพตาม แนวทางที่ได้ในระยะที่ 1 โดยการมีส่วนร่วมของ สตรีชาวลาว | - เพื่อจัดกิจกรรมการพัฒนา ศักยภาพตามแนวทางที่ได้ใน ระยะที่ 1 โดยการมีส่วนร่วม ของสตรีชาวลาว - เพื่อส่งเสริมศักยภาพของ กลุ่มสตรีชาวลาวให้เกิดความ เข้มแข็ง | ทีมวิจัยและผู้เกี่ยวข้อง | เดือนที่ 2-4 |
3.วิเคราะห์ผลที่ได้จาก การดําเนินงานทั้งในเชิง เนื้อหา และกระบวนการ ในมุมของการพัฒนา ศักยภาพของกลุ่มสตรี ชาวลาวที่เกิดขึ้น มุมของ กศน.อําเภอภูซางว่าครู และบุคลากรมีการมีการ เปลี่ยนแปลงไปในทิศทาง ใด สามารถนํามาบูรณา การในการจัดการเรียน การสอนได้อย่างไร | - เพื่อนําผลที่ได้จากจัด กิจกรรมมาวิเคราะห์ และ กําหนดเป็นแนวทางในการ พัฒนาศักยภาพ การ ดําเนินชีวิต เพื่อขยายผลสู่ ชุมชน | ทีมวิจัยและผู้เกี่ยวข้อง | เดือนที่ 5-6 |
4.สังเคราะห์ผ่านเวที | - เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ | ทีมวิจัยและผู้เกี่ยวข้อง | เดือนที่ 7 |
เสวนาแลกเปลี่ยนองค์ ความรู้และขยายผลการ ดําเนินงานเพื่อต่อยอด แนวทางในการพัฒนา ศักยภาพของกลุ่มสตรี ชาวลาว (หมายถึงเวที แลกเปลี่ยนหน่วยงาน ปกครอง ชุมชน และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน มุมมองของผลการ ดําเนินงานที่ผ่านมาที่ ประสอบผลสําเร็จและ สามารถขยายผลให้กับ ชุมชน หรือ หมู่บ้านอื่นที่ มีบริบทคล้ายกัน ใน ลักษณะของชุมชนกับ ชุมชน เพื่อกําหนดเป็น แนวทางในการพัฒนา แบบยั่งยืน) | โดยผ่านเวทีเสวนา - เพื่อส่งเสริมการแสดง อัตลักษณ์ของกลุ่มเป้าหมายใน 4 ฐาน ประกอบด้วย ฐาน สังคม ฐานวัฒนธรรม ฐานเศรษฐกิจ และฐาน การศึกษา - เพื่อเผยแพร่อัตลักษณ์ของ กลุ่มเป้าหมายต่อชุมชน และ สังคม อันจะเป็นการสร้าง ความตระหนักและความ ภาคภูมิใจ | ||
5.เวทีสรุปบทเรียนการ ดําเนินงานระยะที่ 2 และ จั ด ทํ า ร า ย ง า น ฉ บั บ สมบูรณ์ | - เพื่อถอดบทเรียนของการจัด กิจกรรม และการดําเนินงาน ในระยะที่ 2 | ทีมวิจัยและผู้เกี่ยวข้อง | เดือนที่ 8 |
ผลการดําเนินงาน
โครงการวิจัย แนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่ม “สตรีชาวลาว”ในพื้นที่ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา มีวัตถุประสงค์หลักในการสืบค้น รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสตรีชาวลาว ในพื้นที่ บ้านฮวกหมู่ที่ 3 หมู่ที่ 12 และบ้านห้วยส้านหมู่ที่ 4 เพื่อนําข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นทั้งในมิติสังคม มิติ เศรษฐกิจ มิติทางวัฒนธรรม และ มิติทางการศึกษา มากําหนดแนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่ สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มประสิทธิภาพ ทั้งนี้คาดหวังให้กลุ่ ม สตรีชาวลาว มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เช่น การยอมรับจากคนในสังคม การเข้าถึงสิทธิที่ควรจะได้รับ การ ประกอบอาชีพ ฯลฯ ผ่านกระบวนการสร้างการเรียนรู้ผ่านงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น และการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ บูรณาการให้สอดคล้องกับการเรียนการสอนโดยใช้การสอดแทรกเนื้อหาการเรียนรู้ที่เป็นเรื่องใกล้ตัว เข้าใจ ง่าย และนําไปประยุกต์ใช้ได้จริง นักวิจัยที่เป็นสตรีชาวลาวเห็นถึงประโยชน์ในการใช้ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น และรวบรวมข้อมูลผ่านการกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายอย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม กล้าแสดงออก เสนอ ความคิดเห็นโดยเฉพาะบอกเล่าเรื่องของตนเองและรู้ถึงความต้องการของตนเองได้ ซึ่งเป็นที่ยืนยันได้ว่า “การทํางานวิจัยเพื่อท้องถิ่นเป็นกระบวนการติดอาวุธทางปัญญาเพื่อก่อใ👉้เกิดความคิดต่อยอดด้านการ พัฒนาคุณภาพชีวิตได้” และ นําไปสู่การก่อให้เกิดกระบวนการทางความคิดเพื่อนําเอาศักยภาพความเป็นสตรี ชาวลาวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ทั้งกับตนเองและกลุ่มได้
4.1 ผลการดําเนินงานตามวัตถุประสงค์
จากผลการดําเนินงานตามวัตถุประสงค์ที่ 1 เพื่อสืบค้น รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ กลุ่มสตรีชาวลาวในพื้นที่เป้าหมายทางทีมวิจัยได้ดําเนินการกําหนดกิจกรรมสําหรับตอบวัตถุประสงค์ไว้ 3 กิจกรรม ประกอบด้วย การชี้แจงวัตถุประสงค์ และแนวทางในการดําเนินงานร่วมกับชุมชนและสร้างความ เข้าใจเกี่ยวกับงานวิจัยให้ไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อออกแบบเวทีสืบค้นข้อมูล/องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ บริบทของกลุ่มเป้าหมายบนฐานของความหลากหลายภายใต้การพัฒนาศักยภาพ 4 ด้าน ประกอบด้วย มิติ สังคม มิติเศรษฐกิจ มิติทางวัฒนธรรม และ มิติทางการศึกษา และนําไปวิเคราะห์และประมวลผลองค์ความรู้ สําหรับนําไปวางแผนที่ได้จากการดําเนินงานทั้งในเชิงเนื้อหาและกระบวนการในมุมของการพัฒนาศักยภาพ ของกลุ่มสตรีชาวลาว
โดยกลุ่มเป้าหมายจะประกอบไปด้วย สตรีชาวลาวที่เป็นเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก ทีมวิจัย ครูกศน. ทีม กลไกพี่เลี้ยงพะเยา ทีมวิจัยได้ออกแบบกระบวนการโดยใช้เครื่องมือที่หลากหลาย โดยแต่ละกิจกรรมมี รายละเอียดดังนี้
กิจกรรมที่ 1 เวทีชี้แจงวัตถุประสงค์ และแนวทางในการดําเนินงานร่วมกับชุมชนและสร้างความ เข้าใจเกี่ยวกับงานวิจัยให้ไปในทิศทางเดียวกันจํานวนผู้เข้าร่วม 42 คน ประกอบไปด้วย นักวิจัย 19 คน ทีม
ที่ปรึกษา 1 คน ทีมสตรีชาวลาว 12 คน และทีมกลไกสนับสนุน 10 คน
ในวันที่ 24 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2559 ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านฮวกหมู่ที่ 12 ตําบลภูซาง อําเภอ ภูซาง จังหวัดพะเยา
ทีมวิจัยได้ดําเนินการจัดเวทีประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ในการสืบค้นข้อมูลและวิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหาของชุมชน เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับชุมชนเกี่ยวกับงานวิจัยและการกําหนดบทบาทหน้าที่ของทีมวิจัย ในการดําเนินงานวิจัยให้มีความพร้อมและเป็นไปในทิศทางเดียวกันผ่านกระบวนการซักถามและแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างทีมวิจัยกับชุมชน โดยมีผู้เข้าร่วมครั้งนี้คือนักวิจัย 19 คน ทีมที่ปรึกษา 1 คน ทีมสตรีชาวลาว 12 คน และทีมกลไกสนับสนุน 10 คนรวมทั้งหมดจํานวน 42 คน ได้มีการสรุปการดําเนินงาน โดยกิจกรรม กําหนดวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจกับทีมวิจัยและเตรียมความพร้อมของทีมนักวิจัยในส่วนของทีมครู กศน. สําหรับวางแผนและกําหนดบทบาทหน้าที่ของนักวิจัยในการดําเนินงานวิจัย
ทีมวิจัยได้ดําเนินการจัดเวทีประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์ในการสืบค้นข้อมูลและวิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหาของชุมชน เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับชุมชนเกี่ยวกับงานวิจัยและการกําหนดบทบาทหน้าที่ของทีมวิจัย ในการดําเนินงานวิจัยให้มีความพร้อมและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยได้กําหนดประเด็นประชุมชี้แจง วัตถุประสงค์ 3 ประเด็นคือ ประเด็นที่ 1.การสร้างความเข้าใจในการดําเนินงานวิจัยให้กับทีมวิจัย ประเด็นที่2. การเตรียมความพร้อมในการดําเนินงานวิจัยให้กับทีมวิจัยที่เป็นนักวิจัย 19 คน และ ประเด็นที่ 3. การวางแผน อัตรากําลังนักวิจัยเพื่อกําหนดบทบาทหน้าที่ของทีมวิจัยในการดําเนินงานวิจัยครั้งนี้
ในการดําเนินงานประชุมชี้แจงครั้งนี้ทีมวิจัยได้ดําเนินการจัดกระบวนการวิจัยตามการวางแผนงาน และขั้นตอน ดังนี้ 1) เริ่มต้นการเปิด VTR ภาพบรรยากาศของกิจกรรมที่ผ่านมาให้ชมเพื่อนําเข้าสู่กิจกรรม2) สอบถามประเด็นปัญหาในภาพรวมและกําหนดคําถามไว้ล่วงหน้ากับกลุ่มสตรีชาวลาวเพื่อแบ่งกลุ่มตาม ประเด็นปัญหา 3) แบ่งกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม ตามประเด็นปัญหา ดังนี้ 1) การเดินทางมาประเทศไทย 2) สาเหตุ การเข้ามาในประเทศไทยของกลุ่มสตรีชาวลาว 3) วิธีการและสาเหตุของเดินทาง ไป-กลับจากประเทศไทยไป สปป.ลาว 4) ความเสี่ยงหรือปัญหาที่เกิดขึ้น
จากการจัดเวทีประชุมชี้แจงและสอบถามข้อมูลกลุ่มสตรีชาวลาวทําให้ทราบสาเหตุการเข้ามาใน ประเทศไทยของกลุ่มสตรีชาวลาว พบว่าอยากมีฐานะที่ดีอยากมีงานที่ดีทําในประทศไทยเนื่องด้วยค่าแรงสูง (ประเทศไทยจ้างแรงงานในอัตราที่สูง) เพื่อนชักชวนให้เข้ามาและมาหาญาติ ในการสอบถามข้อมูลเบื้องต้น จึงทําให้ทีมวิจัยทราบถึงปัญหาดังกล่าว และทีมวิจัยได้สอบถามข้อมูลความต้องการกลับไป สปป.ลาวพบว่า กลุ่มสตรีชาวลาวยังอยากกลับไปภูมิลําเนาบ้านเกิดของตนเองและอยากพบกับญาติพี่น้องที่สปป.ลาวเพราะได้ รับทราบข้อมูลข่าวสารจากญาติพี่น้อง สปป.ลาว เกี่ยวกับด้านการพัฒนาประเทศที่มีความเจริญขึ้นมากกว่า ประเทศเพื่อนบ้านและส่งผลให้ประชาชน สปป.ลาวมีฐานะดีขึ้น อย่างไรก็ตามกลุ่มสตรีชาวลาวก็ยังอยากกลับ ภูมิลําเนาบ้านเกิดของตนเองอยู่แต่เนื่องจากการเดินทางเข้ามาพักอาศัยในประเทศไทยนานมากเกินไป และ ทาง สปป.ลาวยังได้ถอดถอนชื่อออกจากภูมิลําเนาบ้านเกิดเรียบร้อย จึงส่งผลให้เดินทางกลับเข้า สปป.ลาว ไม่ได้และอาจถูกจับกุม
สรุปการจัดกระบวนการครั้งนี้ทําให้ได้ประเด็นที่น่าสนใจและเป็นแนวทางการสืบค้นข้อมูลของทีมวิจัย ที่ใช้กระบวนการชวนคุยเพื่อให้ได้ข้อมูลอื่นๆ ดังนี้
1.ในการพูดคุยพบว่า ทีมวิจัยทราบถึงและเข้าใจในประเด็นปัญหา ดังนี้ 1) การเดินทางมาประเทศ ไทย 2) สาเหตุการเข้ามาในประเทศไทยของกลุ่มสตรีชาวลาว 3) วิธีการและสาเหตุของเดินทางไป-กลับจาก ประเทศไทยไป สปป.ลาว 4) ความเสี่ยงหรือปัญหาที่เกิดขึ้น มากขึ้นและสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา ของชุมชนออกมาเป็นประเด็นได้ พร้อมที่จะชี้แจงประเด็นปัญหาให้กับทีมวิจัยได้อย่างชัดเจนและครอบคลุม ทุกประเด็น
2. จากการจัดเวทีประชุมชี้แจงและสอบถามข้อมูลกลุ่มสตรีชาวลาวทําให้ทีมวิจัยทราบถึงประเด็น ปัญหาทั้ง 4 ประเด็น จึงได้กําหนดแนวทางการวางแผนงานและได้กําหนดบทบาทหน้าที่ของนักวิจัยในทีมวิจัย
ตามความสนใจ เพื่อความพร้อมและความต้องการที่ได้มาจากความสนใจของนักวิจัย โดยให้การดําเนินงาน เป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีคุณภาพ
3. สําหรับการวางแผนและกําหนดบทบาทหน้าที่ของนักวิจัยในทีมวิจัย เพื่อการดําเนินงานวิจัยที่ เป็นไปในทิศทางเดียวกันจากข้อมูลทั้ง 4 เรื่อง ครูกศน.ได้นําเนื้อหาที่ได้จากการพูดคุยมาวางแผนการ ดําเนินงานวิจัย โดยได้จัดประชุมทีมวิจัยในหัวข้อประเด็นปัญหา ดังนี้ 1) การเดินทางมาประเทศไทย 2) สาเหตุการเข้ามาในประเทศไทยของกลุ่มสตรีชาวลาว3) วิธีการและสาเหตุของเดินทาง ไป-กลับจากประเทศ ไทยไป สปป.ลาว 4) ความเสี่ยงหรือปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อกําหนดแผนการดําเนินงานวิจัยให้ครอบคลุมประเด็น ปัญหาและกําหนดเป็น Session plan ในการดําเนินงานลงพื้นที่สืบค้นข้อมูล โดยมีการระบุบทบาทหน้าที่ของ นักวิจัยในแต่ละ Session plan แตกต่างกันทุกครั้ง เพื่อการสลับบทบาทหน้าที่และนักวิจัยยังได้เรียนรู้บทบาท หน้าที่อื่นได้อย่างชัดเจน ส่งผลให้ในการดําเนินงานวิจัยเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง
จากผลการดําเนินงานสืบค้น รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสตรีชาวลาวในพื้นที่ เป้าหมาย ทางทีมวิจัยได้ดําเนินการกําหนดกิจกรรมสําหรับตอบประเด็นการประชุมไว้ 3 กิจกรรม ดังนี้ 1.การ สร้างความเข้าใจในการดําเนินงานวิจัยให้กับทีมวิจัย 2.การเตรียมความพร้อมในการดําเนินงานวิจัยให้กับ นักวิจัยในทีมวิจัย 3. การวางแผนอัตรากําลังนักวิจัยเพื่อกําหนดบทบาทหน้าที่ของทีมวิจัยในการดําเนินงาน วิจัย ในการดําเนินงานสืบค้นข้อมูล รวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ ทีมวิจัยได้นําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ตามประเด็น ปัญหา เพื่อตอบโจทย์ของประเด็นการประชุมที่ทีมวิจัยได้วางไว้ พบว่า ประเด็นปัญหาส่วนใหญ่สอดคล้องกับ ประเด็นการประชุมข้อที่ 2และข้อที่ 3 มากกว่า สําหรับประเด็นการประชุมข้อที่ 1.การสร้างความเข้าใจในการ ดําเนินงานวิจัยให้กับทีมวิจัย ในการสร้างความเข้าใจในการดําเนินงานวิจัยครั้งนี้ ทีมวิจัยยังขาดข้อมูลการวิจัย บางส่วน ทําให้นักวิจัยส่วนใหญ่ยังไม่สามารถรวบรวมข้อมูลที่ตอบโจทย์ประเด็นการประชุมได้จึงต้องมีการวาง แผนการดําเนินการสืบค้น รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสตรีชาวลาวในครั้งต่อไป ปัญหาและอุปสรรค
1. นักวิจัยชุมชนบางส่วนไม่มีความเชื่อมั่นในตนเองและยังขาดความกล้าแสดงออก 2.การที่นักวิจัยชุมชนนุ่งผ้าซิ่นสปป.ลาวเป็นอุปสรรคในการร่วมกิจกรรม
กิจกรรมที่จะทําต่อไป
1. ติดตามงานที่ทีมพี่เลี้ยงให้กลุ่มสตรีชาวลาวกลับไปทํา
2. แบ่งกลุ่มย่อยลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลเพิ่มเติม
จากนั้นทีมวิจัยได้กําหนดกิจกรรมที่ 2 เพื่อสืบค้นข้อมูล/องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับบริบทของ กลุ่มเป้าหมายบนฐานของความหลากหลายภายใต้การพัฒนาศักยภาพ 4 ฐาน ประกอบด้วย ฐานสังคม ฐาน วัฒนธรรม ฐานเศรษฐกิจ และฐานการศึกษาจํานวนผู้เข้าร่วม 42 คน ประกอบไปด้วย นักวิจัย 19 คน ทีม ที่ปรึกษา 1 คน ทีมสตรีชาวลาว 12 คน และทีมกลไกสนับสนุน 10 คนจํานวน 4 ครั้ง ซึ่งในแต่ละครั้งได้มี การกําหนดแนวทางของการจัดเก็บข้อมูลเพื่อให้สอดรับกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยมีรายละเอียดดังนี้
ครั้งที่ 1 วันที่ 21 มิถุนายน 2559 เวลา 09.00 น. – 12.00 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์ บ้านฮวก หมู่ที่ 12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา วัตถุประสงค์เพื่อนําเครื่องมือแผนที่เดินดินรอบนอก ลงไปใช้กับ กลุ่มสตรีชาวลาว เพื่อสํารวจสถานที่สําคัญ ร้านค้า หน่วยงานรัฐบาล สถานที่ท่องเที่ยว และแหล่งเรียนรู้ และ.
นําเครื่องมือปฏิทินฤดูกาลลงไปใช้กับกลุ่มสตรีชาวลาว เพื่อดึงข้อมูลการประกอบอาชีพในแต่ละฤดูกาล และ ประเพณีวัฒนธรรมในแต่ละเดือนในรอบปี
จากกิจกรรมดังกล่าว ทางทีมวิจัยได้จัดกระบวนการตามขั้นตอน ดังนี้ 1) ให้นักวิจัยตัวแทนกลุ่มที่เข้า ร่วมการอบรมที่วาสนาไร่หญ้ารีสอร์ท คือนางอุสา ไทยอุบล เล่าถึงประสบการณ์ที่ได้รับจากการเข้าอบรมการ ใช้เครื่องมือในการวิจัยเพื่อท้องถิ่น ณ วาสนาไร่หญ้า รีสอร์ท จังหวัดลําปาง ระหว่างวันที่ 9 – 10 มิถุนายน 2559 2) แบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม โดยแต่ละกลุ่มมีทั้งสตรีชาวลาวผู้สูงอายุ และวัยทํางาน เพื่อให้มีส่วน ร่วมกันทุกคน รวมทั้งทีมครูก็มีการแบ่งกลุ่มกันเข้าไปช่วยกระตุ้นกลุ่มสตรีชาวลาวให้มีส่วนร่วมในการทํา กิจกรรม 3)ให้ตัวแทนนักวิจัยชุมชนออกมานําเสนอ พร้อมกับแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
ผลที่ได้จากการประชุม กําหนดตามเป้าหมายคือ 1) การนําเครื่องมือแผนที่เดินดินรอบนอกไปใช้กับ กลุ่มสตรีชาวลาว เพื่อสํารวจสถานที่สําคัญ ร้านค้า หน่วยงานรัฐบาล สถานที่ท่องเที่ยว และแหล่งเรียนรู้ 2) การนําเครื่องมือปฏิทินฤดูกาลลงไปใช้กับกลุ่มสตรีชาวลาวในกิจกรรมนี้เพื่อดึงข้อมูลของการประกอบอาชีพใน แต่ละฤดูกาล และประเพณีวัฒนธรรมในแต่ละเดือนในรอบปี พบว่า
กลุ่มที่ 1 แผนที่เดินดิน เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสืบค้นลักษณะภูมิประเทศ และสถานที่สําคัญที่ เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวันของกลุ่มสตรีชาวลาว ตลอดจนร้านค้า หน่วยงานรัฐบาล สถานที่ท่องเที่ยว และ แหล่งเรียนรู้ โดยผ่านกระบวนการในลักษณะของการใช้สัญลักษณ์แทนสถานที่ และระบายสีตามสภาพ บริบท ให้ใกล้ความเป็นจริง เพื่อกระตุ้นให้กลุ่มสตรีชาวลาวได้เกิดการเรียนรู้ การพัฒนาตนเองในด้านภาษาไทยอีก ทางหนึ่งด้วย
จากการประมวลผลของการใช้แผนที่เดินดิน ได้มาซึ่งข้อมูลของลักษณะภูมิประเทศ ตลอดจนสถานที่ สําคัญที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวันของกลุ่มสตรีชาวลาว รวมไปถึงร้านค้า หน่วยงานรัฐบาล สถานที่ท่องเที่ยว และแหล่งเรียนรู้ สามารถประมวลได้ดังนี้
1. น้ําตกภูซาง เป็นสถานที่ที่กลุ่มสตรีชาวลาวได้นําครอบครัวทั้งในประเทศไทย และสปป. ลาวที่เข้ามาเยี่ยมเมื่อมีโอกาส
2. อุทยานแห่งชาติภูซาง กลุ่มสตรีชาวลาวได้ใช้พื้นทีนี้ในการหาของป่า เช่น หน่อไม้ เห็ด
3. โรงเรียนบ้านฮวก กลุ่มสตรีชาวลาวที่มีบุตรจะส่งเข้าศึกษาในสถานศึกษาแห่งนี้
4. ร้านป้าอุ่น เป็นร้านขายของชําที่กลุ่มสตรีชาวลาวจะมาซื้อสินค้าอุปโภค และบริโภค
5. วัดบ้านฮวก เป็นวัดที่กลุ่มสตรีชาวลาวได้เข้าไปทําบุญในวันสําคัญทางศาสนา
6. ร้านขายของชํา ของนางสาวหนูเจ้าของร้าน ที่เป็นสตรีชาวลาวที่มาเป็นสะใภ้ และมี ศักยภาพเปิดร้านขายของชํากับสามี และทําธุรกิจทางการเงินออนไลน์เช่น เติมเงินออนไลน์ โอนเงินออนไลน์
7. ร้านซ่อมรถ กลุ่มสตรีชาวลาวมักจะมาใช้บริการในร้านนี้ประจํา
8. ตลาดนัดบ้านฮวก กลุ่มสตรีชาวลาวจะนําสินค้าทางการเกษตรมาจําหน่ายในทุกวันที่ 10 และ 30 ของทุกเดือน
9. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลภูซาง กลุ่มสตรีชาวลาวจะเข้ารับการรักษาพยาบาล
กลุ่มที่ 2 ปฏิทินฤดูกาล เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสืบค้นเพื่อดึงข้อมูลการประกอบอาชีพในแต่ละ ฤดูกาล และประเพณีวัฒนธรรมในรอบปีของกลุ่มสตรีชาวลาว โดยการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็น และสามารถสืบค้นข้อมูลออกเป็นตารางดังนี้
ปฏิทินฤดูกาล
เดือน | ข้อมูลการทํางาน | ข้อมูลวัฒนธรรม ประเพณี |
มกราคม | ปลูกข้าวโพด เก็บดอกหญ้า | -ปีใหม่ ทําบุญตักบาตร ขึ้นบ้านใหม่ |
กุมภาพันธ์ | ปลูกข้าวโพด เก็บดอกหญ้า | |
มีนาคม | ปลูกข้าวโพด เก็บดอกหญ้า | |
เมษายน | ปลูกข้าวโพด เก็บดอกหญ้า | -ปีใหม่เมือง (สงกรานต์) |
พฤษภาคม | เก็บเกี่ยวข้าวโพด เริ่มกรีดยางพารา | |
มิถุนายน | ปลูกข้าวโพด หาของป่า ปลูกลูกเดือย | |
กรกฎาคม | ปลูกข้าวโพด เก็บลําไย ใส่ถั่ว | -เข้าพรรษา ไปวัด ทําบุญ ตักบาตร |
สิงหาคม | ปลูกข้าว เงาะ ลําไย | |
กันยายน | ปลูกข้าว ใส่ถั่ว | |
ตุลาคม | - | -ออกพรรษา ไปวัด ทําบุญ ตักบาตร |
พฤศจิกายน | เก็บเกี่ยวผลผลิต ข้าว ถั่ว | -ลอยกระทง |
ธันวาคม | - | -ตักบาตร 2 แผ่นดิน |
จากการสืบค้นข้อมูลวัฒนธรรม ประเพณีโดยใช้เครื่องมือในการจัดกิจกรรม คือ ปฏิทินฤดูกาล จะ เห็นว่าการประกอบอาชีพของกลุ่มสตรีชาวลาวเป็นอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยส่วนใหญ่แล้วจะมีความ คล้ายคลึงกับคนไทยพื้นเมืองในบ้านฮวก
ได้ข้อสังเกตว่า สิ่งที่จะมาหนุนเสริมแนว ทางการพัฒนาศักยภาพของสตรีชาวลาวได้คือ การมี ส่วนร่วมของกลุ่มสตรีให้มากกว่าเดิม ซึ่งที่ผ่านมา เมื่อทีมวิจัยลงไปทําเวทีกับชุมชนโดยไม่มีเครื่องมือ ส่วนใหญ่จึงไม่ได้ข้อมูลครบถ้วนและกลุ่มสตรีชาว ลาวไม่ค่อยให้ความร่วมมือเท่าที่ควร แต่หลังจากที่ ทีมวิจัยนําเครื่องมือลงไปใช้กับกลุ่มสตรีชาวลาว แล้วทําให้เราได้ข้อมูลที่ละเอียดขึ้น และกลุ่มสตรี
ชาวลาวมีส่วนร่วมมากยิ่งขึ้น จึงถือได้ว่าเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างทีมวิจัยและกลุ่มให้มีความสัมพันธ์ที่ ดี และคณะครูมีการสอดแทรกการจัดการเรียนการสอนไปกับการจัดกิจกรรมกลุ่มด้วย เช่น การเขียน ภาษาไทย ภูมิศาสตร์ คณิตศาสตร์ เป็นต้น
การค้นพบแนวทางการพัฒนาทั้งในรูปแบบของการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม ตลอดจนการได้มาซึ่ง ข้อมูลเชิงลึกนั้น จําเป็นที่ต้องอาศัยการแลกเปลี่ยนในลักษณะของการมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรีชาวลาว โดย สามารถนําไปใช้ในกิจกรรมครั้งต่อไปได้
ปัญหาและอุปสรรค
1.กลุ่มสตรีที่เข้าร่วมน้อยเกินไป จึงแบ่งกลุ่มได้เพียง 2 กลุ่ม ซึ่งตามแผนที่วางไว้กําหนดไว้เป็น 4 กลุ่ม เนื่องด้วยสตรีชาวลาวบางคนไม่กล้าเข้ามาร่วมกิจกรรม รวมทั้งการทําแผนที่เดินดินยังไม่ได้ข้อมูลที่ ครบถ้วน จึงต้องลงไปเก็บข้อมูลเพิ่มเติม
2. ข้อมูลยังได้ไม่ครบและต้องเก็บข้อมูลเพิ่มเติม
กิจกรรมที่จะทําต่อไป
นําปฏิทินอาชีพและแผนที่เดินดินรอบใน ลงพื้นที่ไปตรวจเช็คข้อมูลและเก็บข้อมูลเพิ่มเติม รวมทั้งนํา เครื่องมือโอ่งชีวิตลงไปเก็บข้อมูล
ครั้งที่ 2 วันที่ 12 กรกฎาคม 2559 เวลา 09.00 น. – 12.00 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์ บ้านฮวก หมู่ ที่ 12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา เพื่อทบทวนกระบวนการ และการใช้เครื่องมือปฏิทินอาชีพ เก็บ ข้อมูลเครื่องมือโอ่งชีวิต และแผนที่เดินดินรอบใน
จากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ เป็นการสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากกิจกรรมครั้งที่แล้ว โดยทางนักวิจัยได้ จัดกระบวนการไว้ดังนี้คือ 1)ตรวจสอบข้อมูลปฏิทินอาชีพ 2)กิจกรรมการนําเครื่องมือแผนที่เดินดินรอบในมา ใช้กับกลุ่มสตรีชาวลาวเพื่อให้ได้คําตอบที่ชัดเจน และถูกต้อง 3)นําเครื่องมือโอ่งชีวิต มาใช้ในการสืบค้นข้อมูล ในด้านรายรับ-รายจ่ายของกลุ่มสตรีชาวลาว 4) ให้ตัวแทนกลุ่มสตรีชาวลาวออกมานําเสนอ และแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น เพิ่มเติมในรายละเอียด
ผลจากการพูดคุยพบว่า ข้อมูลที่ได้ทําการสืบค้นเพิ่มเติมจากเครื่องมือปฏิทินอาชีพ เก็บข้อมูล เครื่องมือโอ่งชีวิต และแผนที่เดินดิน ประกอบไปด้วย
- เครื่องมือปฏิทินอาชีพทางทีมวิจัยได้รีเช็คข้อมูลกับชุมชน และทบทวนกระบวนการได้มาซึ่งข้อมูลให้ ชุมชนได้ทราบ และชุมชนได้สรุปข้อมูลเหมือนครั้งที่ 1
- เครื่องมือโอ่งชีวิตชุมชนให้ความสนใจเป็นอย่างมากเนื่องจากเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจําวัน ชุมชนมีการแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นกันอย่างมากมาย โดยจัดให้เป็นหมวดเพื่อง่ายต่อการเข้าใจและจะ ได้ประเด็นที่ชัดเจนประมวลผลได้ดังแผนภาพ
โอ่งชีวิต
รายรับ-รายจ่าย | รายการ |
รายรับ | การเกษตร = ขายข้าวโพด ขายยางพารา รับจ้าง = ปลูกนา นวด ค้าขาย = ขายผัก ขายอาหาร ขายของป่า |
รายจ่าย | ครอบครัว = ค่าอาหาร การเกษตร = ค่าแรงงาน ค่าปุ๋ย ยาฆ่าเชื้อ ค่าเมล็ดพันธ์พืช |
สื่อสาร = โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต ลูก = ค่านม ค่าขนม ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเทอม ค่าใช้จ่ายในหมู่บ้าน = งานศพ ขึ้นบ้านใหม่ งานแต่ง ขยะ ไฟฟ้า ประปา ส่วนตัว = ค่าเครื่องสําอาง เสื้อผ้า สุรา บุหรี่ ยาสีฟัน สบู่ ผงซักฟอง ฯลฯ |
- เครื่องมือแผนที่เดินดินรอบในเป็นการสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากเวทีครั้งก่อนซึ่งได้ข้อมูลเป็นวงกว้าง และไม่ละเอียด ครั้งนี้ คณะครูมีการกําหนดทิศก่อน และจํากัดกรอบภายในหมู่บ้านทําให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนและ ทราบถึงสถานที่สําคัญๆต่างๆได้อย่างชัดเจน เช่น ข้อมูลบ้านของกลุ่มสตรีชาวลาวส่วนใหญ่จะอยู่ใกล้เคียงกัน และรู้จักกันมาก่อน ชุมชนผลัดเปลี่ยนกันวาดเขียนแผนที่ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความอยากมีส่วนร่วมในกิจกรรม
จากข้อสังเกตภายใต้กระบวนการจะเห็นได้ว่ากลุ่มสตรีชาวลาวได้ฝึกทักษะการอ่านออกเขียนได้โดย เรียนรู้จากเรื่องของตนเองแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความรู้ประสบการณ์โดยผ่านกระบวนการ การจัดการ เรียนรู้และเป็นแนวทาง ให้กับ ครูกศน.อําเภอภูซาง ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่สอดแทรกให้ความรู้ ควบคู่ไปด้วย
ปัญหาและอุปสรรค
1. การฝึกให้นักวิจัยชุมชนได้เขียนยังไม่ประสบผลสําเร็จเท่าที่ควร เพราะนักวิจัยชุมชนส่วนใหญ่ยัง เขียนไม่คล่อง
กิจกรรมที่จะทําต่อไป
1. การทบทวน (Recheck) การใช้เครื่องมือแผนที่เดินดินรอบใน
2. การสลับเปลี่ยนบทบาทหน้าที่ในคณะวิจัย (ทีมครู)
ครั้งที่ 3 วันที่ 19 กรกฎาคม 2559 เวลา 09.00 น. – 12.00 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านฮวก หมู่ที่ 12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา วัตถุประสงค์เพื่อนําเครื่องมือโอ่งชีวิต และแผนที่เดินดินรอบใน เข้าไปใช้กับชุมชน สืบค้นข้อมูลเศรษฐกิจของชุมชน สร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชนและครู กศน.
จากกิกรรมดังกล่าวเริ่มจากจัดมีการรับชม VTR การเข้าร่วมกิจกรรมที่วาสนาไร่หญ้ารีสอร์ท จังหวัด ลําปาง โดยมีครูวสันต์ สุธรรมมาและครูสุภัทรา เกเย็น อธิบายเพิ่มเติมรายละเอียดในการรับชม หลังจากนั้นครู ภูดิษ เผ่าเรือน ได้เริ่มดําเนินการและชวนคุยถึงเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของงานที่ลงมาทํา หลังจากนั้นมี การสอบถามข้อมูลปฏิทินอาชีพเพื่อยืนยันความถูกต้อง ซึ่งจากผลการเตรียมแผนการประชุมและเตรียมคําถาม ที่ดีของครู จึงเกิดผลได้ชัดเจนว่า กลุ่มสตรีมีส่วนร่วมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันอย่างทั่วถึง หลังจากนั้นได้ แบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 โอ่งชีวิต เป็นกลุ่มที่จะสืบค้นด้านเศรษฐกิจเรื่องอาชีพ และรายรับรายจ่าย กลุ่มที่ 2 เป็นแผนที่เดินดิน ที่เรียนรู้ตําแหน่งสถานที่สําคัญต่างๆในชุมชน
ผลการดําเนินงานในกลุ่มที่ 1 โอ่งชีวิต พบว่า ชุมชุมให้ความสนใจเป็นอย่างมากเนื่องจากเป็นเรื่องที่ เกี่ยวข้องในชีวิตประจําวัน ชุมชนมีการแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นกันอย่างมากมาย โดยมีทีมวิจัยครูช่วย สรุปแบ่งหมวดรายจ่ายย่อยๆ เพื่อง่ายต่อการเข้าใจและจะได้ประเด็นที่ชัดเจน
โอ่งชีวิต
ร า ย รั บ - รายจ่าย | รายการ | รายการที่มากที่สุด |
รายรับ | การเกษตร = ขายข้าวโพด ขายยางพารา รับจ้าง = ปลูกนา นวด ค้าขาย = ขายผัก ขายอาหาร ขาย ของป่า | รับจ้าง ส่วนมากกลุ่มสตรีชาวลาวจะมีอาชีพ รับจ้างมากที่สุดเพราะไม่มีที่ทํากินเป็นของตัวเอง และส่วนมากจะออกไปรับจ้างตามที่ต่างๆที่มีการ จ้างงงาน |
รายจ่าย | ครอบครัว = ค่าอาหาร การเกษตร = ค่าแรงงาน ค่าปุ๋ย ยาฆ่า เชื้อ ค่าเมล็ดพันธ์พืช สื่อสาร = โทรศัพท์ อินเตอร์เน็ต ลูก = ค่านม ค่าขนม ค่าอุปกรณ์ การเรียน ค่าเทอม ค่าใช้จ่ายในหมู่บ้าน = งานศพ ขึ้นบ้าน ใหม่ งานแต่ง ขยะ ไฟฟ้า ประปา ส่วนตัว = ค่าเครื่องสําอาง เสื้อผ้า สุรา บุหรี่ ยาสีฟัน สบู่ ผงซักฟอง ฯลฯ | ค่าใช้จ่ายในหมู่บ้าน ซึ่งเป็นรายจ่ายค่อนที่มาก เนื่องด้วยรายจ่ายส่วนใหญ่เป็นเรื่องที่จําเป็นทั้งสิ้น |
บทสรุปการนําเครื่องมือโอ่งชีวิตมาใช้ ทําให้เกิดการเรียนรู้ของกลุ่มสตรีชาวลาวเกี่ยวกับ แหล่งที่มา ของรายรับและรายจ่ายในแต่ละวัน การคิดคํานวณและทําบัญชีครัวเรือน การบันทึกประจําวัน การลดละเลิก ในสิ่งที่ไม่จําเป็นและอุดรอยรั่วของรายจ่ายที่ไม่จําเป็น ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีความคิดแก้ปัญหารายจ่ายที่ไม่ จําเป็นได้ดีขึ้น
อาจกล่าวได้ว่าเครื่องมือโอ่งชีวิตนี้ ใช้เป็นแนวทางในการจัดกระบวนความคิด โดยการออกแบบ กิจกรรมสอดแทรกกับการเรียนการสอน ที่จะทําให้ได้คําตอบที่ชัดเจนในรายรับรายจ่ายในครัวเรือนได้ และจะ นําวิธีการดังกล่าวไปจัดการอบรมการทําบัญชีครัวเรือน และการฝึกปฏิบัติจริงจากรายรับรายจ่ายที่เกิดขึ้นใน แต่ละวันของกลุ่มสตรีชาวลาว อย่างไรก็ดีกลุ่มสตรีชาวลาวมีรายรับรายจ่ายที่แตกต่างกันออกไป จึงต้องมีการ
ออกแบบแนวทางปฏิบัติเพื่อกลุ่มสตรีชาวลาวได้เพิ่มศักยภาพทางความคิดและการจัดระบบตัวเองโดยการทํา บัญชีครัวเรือนทุกวัน ตลอดจนมีการนําข้อมูลมาส่งเพื่อประเมินผลกลุ่มสตรีชาวลาวว่ามีรายรับมากขึ้นหรือไ ม่ และมีรายจ่ายลดลงหรือไม่
กลุ่มที่ 2 แผนที่เดินดินจากข้อมูลการลงพื้นที่ที่ผ่านมาได้ข้อมูลที่ไม่ละเอียด ดังนั้นในการลงพื้นที่ครั้งนี้ คณะครูจึงได้กําหนดเส้นทางการเดินเก็บข้อมูลไว้ล่วงหน้า และจํากัดกรอบภายในหมู่บ้าน จึงทําให้ได้ข้อมูล ชัดเจนและทราบถึงสถานที่สําคัญต่างๆได้ชัดเจนยิ่งขึ้นเช่น ข้อมูลบ้านของกลุ่มสตรีชาวลาว ที่ส่วนใหญ่จะอยู่ ใกล้เคียงกัน และรู้จักกันมาก่อน ทั้งนี้กลุ่มสตรีชาวลาว ได้มีส่วนร่วมโดยผลัดเปลี่ยนกันวาดเขียนแผนที่ ที่ แสดงให้เห็นถึงความอยากมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้กลุ่มสตรีชาวลาวได้เรียนรู้การ เปรียบเทียบสีของกระดาษที่ใช้เป็นสื่อสัญญาลักษณ์ว่า มีความแตกต่างและมีความหมาย ทําให้ง่ายต่อการรับรู้ และชัดเจนกว่าที่จะเขียน เพราะกลุ่มสตรีชาวลาวยังเขียนหนังสือไม่คล่องแคล่ว
โดยภาพรวมการเรียนรู้ทางด้านเศรษฐกิจ การจัดกระบวนการเรียนรู้ระหว่างชุมชนและครูกศน. ได้ ดําเนินการอย่างต่อเนื่อง และชุมชนมีการตอบรับเป็นอย่างดี มีการถกเถียงแสดงความคิดเห็นระหว่างกลุ่ม สตรีชาวลาวเองและกลุ่มครูกับกลุ่มสตรีชาวลาว เพราะเรื่องของเศรษฐกิจถือว่ากลุ่มสตรีชาวลาวส่วนใหญ่ยังไม่ เข้าใจ แต่กระบวนต้องดําเนินต่อไปโดยครูต้องแก้ปัญหาระหว่างดําเนินกิจกรรมโดยปรับกระบวนการ ดึงชุมชน เข้ามาเพื่อสร้างความเข้าใจและเรียนรู้พร้อมๆกับอธิบายความหมายของคําว่าเศรษฐกิจ และเพื่อให้เข้าใจมาก ขึ้นจึงใช้คําว่าเศรษฐกิจชุมชน และยกตัวอย่างกองทุนต่างๆในชุมชนของกลุ่มสตรีชาวลาวขึ้นและเขียนให้ดูไป พร้อมกับกับอธิบายซ้ําก็สามารถดึงกลุ่มสตรีชาวลาวเข้ามาในกระบวน อีกครั้งและมีความรู้และเข้าใจอย่าง
พร้อมพียงกันครูจึงจัดกระบวนต่อโดยชวนคุยเพื่อได้มาซึ่งข้อมูลที่ต้อง การแต่ยังไม่ครบสมบูรณ์เพราะ เนื่องจากเวลามีจํากัด และการสร้างความเข้าใจต้องใช้เวลา
ปัญหาและอุปสรรค
-
กิจกรรมที่จะทําต่อไป
1. ให้กลุ่มสตรีชาวลาวฝึกทําแผนที่เขียนลงในสมุด
2. ครูต้องไปหาแผนที่ที่ถูกต้องชัดเจนแล้วปริ้นมาให้กับกลุ่มสตรีชาวลาวดูเป็นตัวอย่าง
3. แบ่งกลุ่มกลุ่มสตรีชาวลาวที่มาจากแขวงเดียวกันและให้เขียนลงในสมุด คือ
3.1 มีใครบ้างที่มาจากเมือง/แขวงเดียวกัน
3.2 เหตุผลการย้ายมาที่ประเทศไทย/เพราะอะไร?
3.3 เล่าของดีที่สปป.ลาว/แขวงที่อยู่ มามีอะไรบ้าง?
เหตุผล : ต้องการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ โดยเรียนรู้เรื่องของตัวเอง จะทําได้ดีกว่า และ เพื่อพัฒนากลุ่มสตรีชาวลาว ให้มีความรู้ มีศักดิ์ศรี สามารถอยู่ได้ในประเทศไทยอย่างมีคุณภาพ
ครั้งที่ 4 วันที่ 27 กรกฎาคม 2559 เวลา 09.00 น. – 12.00 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์ บ้านฮวก หมู่ที่ 12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา วัตถุประสงค์เพื่อใช้แผนที่ทางภูมิศาสตร์ไทย – ลาวเพื่อตรวจสอบ เส้นทางการอพยพย้ายถิ่นฐานการเข้ามาในประเทศไทยของกลุ่มสตรีชาวลาว
การประชุมครั้งนี้ได้กําหนดเป้าหมาย คือ การใช้แผนที่ทางภูมิศาสตร์ไทย – ลาว เพื่อตรวจสอบเส้นทาง การอพยพย้ายถิ่นฐานการเข้ามาในประเทศไทยของกลุ่มสตรีชาวลาว โดยการนําเครื่องมือแผนที่ทางภูมิศาสตร์ ไทย – ลาวมาใช้ในการหาเส้นทางการอพยพของกลุ่มสตรีลาวเป็นการสืบค้นหาข้อมูลถิ่นฐานของกลุ่มสตรีชาว ลาวเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลเชิงเนื้อหา โดยประมวลออกมาจากการใช้แผนที่ทางภูมิศาสตร์ ผ่านกระบวนการชัก ถามกระตุ้นชวนคุยหาเหตุผลอ้างอิง ระหว่างทีมวิจัยครูและทีมวิจัยสตรีชาวลาว เพื่อความถูกต้องของเส้นทาง การอพยพโดยใช้การระบุถิ่นฐานที่อยู่อาศัยของกลุ่มสตรีลาวแต่ละคนว่าอยู่ที่ใดใน สปป.ลาวอพยพมาจากส่วน ไหน และเข้ามาในประทศไทยได้อย่างไร มากับใคร เพื่ออะไร เครื่องมือที่ใช้ คือ แผนที่ที่วาดด้วยมือโดย อ้างอิงเส้นทางจาก Google Map เพื่อให้กลุ่มสตรีชาวลาว สามารถอธิบายเส้นทางการอพยพย้ายถิ่นฐานเข้า มาในประเทศไทยได้อย่างถูกต้อง และชัดเจน จากแผนที่ดังกล่าว พบว่า กลุ่มสตรีชาวลาวสามารถอธิบาย เส้นทางการอพยพเข้ามาในประเทศไทยได้ มีความกล้าแสดงออก ทั้งด้านความคิดเห็น การลงมือป ฏิบัติ (สามารถลุกขึ้นมาชี้ที่ตั้งที่ตนเองอาศัยอยู่บนแผนที่ได้) มีความกระตือรือร้นที่อยากจะบอกเล่าเรื่องราวของ ตนเองให้แก่ทีมวิจัยได้รับฟัง โดยผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ มีการโต้แย้งระหว่างกลุ่มสตรีชาวลาวด้วย กันเอง เกี่ยวกับแหล่งที่ตั้งที่ไม่ถูกต้องของแผนที่กับเส้นทางการเดินทางที่กลุ่มสตรีชาวลาวใช้เดินทางเพื่อเข้ามา ประเทศไทยอย่างที่ใช้อยู่เป็นประจํา นอกจากนั้นแล้ว ยังมีกระบวนการของการใช้สัญลักษณ์ ในการระบุตัวตน ของตนเองลงในแผนที่ ที่ตัวเองอาศัยอยู่ใน สปป.ลาว เพื่อให้เห็นถึง ถิ่นที่อยู่อาศัยของสตรีชาวลาวได้ชัดเจน มากยิ่งขึ้น และจากการติดสัญลักษณ์แสดงถิ่นที่อยู่อาศัยนี้ พบว่า สตรีชาวลาวส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในแขวงไชย บุรี สตรีชาวลาวสามารถอธิบายบริบทของถิ่นฐานของตัวเองได้อย่างชัดเจนมาก ยิ่งขึ้นซึ่งถือว่าได้ กระบวนการวิจัยที่นํามาใช้นั้น ช่วยสร้างให้เกิดกระบวนความคิดของกลุ่มที่แสดงให้เห็นออกมาได้อย่างชัดเจน เมื่อเทียบกับการจัดเวทีครั้งที่ผ่านมาทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีส่วนร่วมและตื่นตัวมากยิ่งขึ้นสามารถโต้ตอบกับ ผู้อื่นได้โดยไม่อาย และมีความมั่นใจในตัวเองในการแสดงออกในที่ประชุมมากขึ้น
ปัญหาและอุปสรรค
1. ควรมีการค้นหาทางแผนที่ทางภูมิศาสตร์ที่หลากหลาย ทั้งบนอินเทอร์เน็ต และจากกรมการ ปกครองที่ว่าการอําเภอภูซาง (ถ้ามี)ที่ถูกต้อง เพื่อนํามาเปรียบเทียบเส้นทางที่ถูกต้อง เพื่อใช้เป็นมาตรฐานของ แผนที่ทางภูมิศาสตร์ไทย – ลาว และเมื่อได้แผนที่ที่สมบูรณ์ ควรมีการนํามาให้กลุ่มสตรีชาวลาวดูอีกครั้งเพื่อ ความชัดเจนของข้อมูลและเพื่อให้กลุ่มสตรีชาวลาวได้มีส่วนร่วมในการหาถิ่นฐานการอพยพเข้ามาในประเทศ ไทยร่วมกันและสามารถบอกถึงถิ่นฐานที่มาของตัวเองได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
กิจกรรมที่จะทําต่อไป
วิเคราะห์และประมวลข้อมูลองค์ความรู้เพื่อนําไปวางแผนการพัฒนาศักยภาพของสตรีชาวลาว
จากการทบทวนข้อมูลพื้นฐานที่สัมพันธ์กับบริบทของชุมชน ทีมวิจัยกําหนดกิจกรรมที่ 3 เป็นเวที วิเคราะห์และประมวลผลองค์ความรู้สําหรับนําไปวางแผนที่ได้จากการดําเนินงานทั้งในเชิงเนื้อหาและออกแบบ กระบวนการในการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาวแต่ละบุคคลที่เกิดขึ้น มุมของ กศน.อําเภอภูซางว่าครู และบุคลากรมีการมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด สามารถนํามาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนได้ อย่างไร จํานวนผู้เข้าร่วม 42 คน ประกอบไปด้วย นักวิจัย 19 คน ทีมที่ปรึกษา 1 คน ทีมสตรีชาวลาว 12
คน และทีมกลไกสนับสนุน 10 คน วันที่ 25 สิงหาคม 2559 เวลา 09.00 น. – 12.00 น. ณ ศาลา อเนกประสงค์ บ้านฮวก หมู่ที่ 12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา เพื่อนํามาวิเคราะห์ศักยภาพของ
กลุ่มสตรีชาวลาว โดยใช้วธี SWOT (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค)
เวทีวิเคราะห์และประมวลผลองค์ความรู้สําหรับนําไปวางแผนที่ได้จากการดําเนินงานทั้งในเชิงเนื้อหา และกระบวนการ ของกลุ่มเป้าหมายเพื่อศึกษาการพัฒนาศักยภาพ 4 ฐาน ประกอบด้วย ฐานสังคม ฐาน วัฒนธรรม ฐานเศรษฐกิจและฐานการศึกษา โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ SWOT (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและ อุปสรรค) เพื่อวิเคราะห์ชุมชนแบบมีส่วนร่วม ทั้งในมุมมองของกลุ่มสตรีชาวลาว และมุมมองของ กศน.อําเภอ ภูซาง โดยใช้กระบวนการกลุ่มแล้วนําข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ SWOTแล้วนําเสนอเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประมวลเป็นองค์รู้ร่วมกันและนําองค์ความรู้ที่ได้จากการวิเคราะห์ SWOTมาบูรณาการในการจัดการเรียน การสอน ของ กศน.อําเภอภูซางในมุมของครูผู้สอน ในด้านการพัฒนาการด้านการพูด อ่าน ฟังและเขียนของ กลุ่มสตรีชาวลาวในส่วนของครู กศน.อําเภอภูซางให้สังเกตในการเข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละขั้นตอนเพื่อ เปรียบเทียบพัฒนาการการเรียนรู้ของกลุ่มสตรีชาวลาวแล้วนํามาถอดองค์ความรู้ร่วมกันระหว่าง ครู กศน. อําเภอภูซางซึ่งจะได้กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชนและครู กศน.อําเภอภูซาง
ในการวิเคราะห์และประมวลผลองค์ความรู้สําหรับนําไปวางแผนที่ได้จากการดําเนินงานทั้งในเชิงเนื้อหา และกระบวนการนั้น มีขั้นตอนที่ 1) พบปะพูดคุยและเริ่มกระบวนการโดยครูวสันต์ สุธรรมมา กล่าวทักทาย ชุมชนและชวนคุยเกี่ยวกับงานวิจัยที่เราเข้ามาทํากับชุมชน พร้อมทั้งทบทวนผลลงเวทีครั้งที่ผ่านมาหลังจากนั้น ให้ตัวแทนชุมชนออกมานําเสนองานที่ได้รับมอบหมาย คือ อธิบายแผนที่บ้านฮวกและบริเวณใกล้เคียงตาม ความเข้าใจของตนเอง โดยอธิบายว่า ตนเองมาจากเมืองอะไร แขวงอะไร สาเหตุที่อพยพมาเพราะอะไร และ ของดีแต่ละบ้านมีอะไรบ้างขั้นตอนที่ 2) แบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม เพื่อวิเคราะห์ SWOT (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค) กลุ่มที่ 1 ด้าน สังคมและการศึกษา และกลุ่มที่ 2 ด้านประเพณีและเศรษฐกิจ ขั้นตอนที่ 3) ประมวลและถอดองค์ความรู้ จากการวิเคราะห์ SWOT สรุปได้ ดังนี้
ด้านสังคม
จุดแข็ง | โอกาส |
1.สตรีชาวลาวส่วนใหญ่มีอุปนิสัยขยันหมั่นเพียรมีความ ซื่อสัตย์ มีน้ําใจ เป็นมิตรและมีอัธยาศัยดี 2.มีพื้นฐานความรู้และทักษะเรื่องการทําเกษตรกรรม เช่น ข้าวโพด ถั่วลิสง ทํานาและสวนยางพารา 3.สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทยได้ 4.ยังมีระบบเครือญาติทางฝั่ง สปป.ลาว โดยเข้าไปร่วม กิจกรรมประเพณีของหมู่บ้านอย่างสม่ําเสมอ | 1.มีความคุ้นเคยและอยู่ติดกับชายแดนที่จะ เป็นเขตเศรษฐกิจ การค้าขายระหว่างชายแดน และเส้นการคมนาคมข้ามประเทศที่เอื้อต่อการ ประกอบอาชีพ 2.มีต้นทุนทางภูมินิเวศน์ที่อุดมสมบูรณ์เช่น พื้นที่ดินและที่อยู่อาศัย ในการสร้างรายได้ด้าน เกษตรกรรมและอาชีพเสริม |
จุดอ่อน | อุปสรรค |
1.ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น ไม่กล้าแสดงออก 2.ไม่มั่นใจในสถานะความเป็นอยู่ของตัวเองในประเทศ ไทย | 1.รัฐบาลไทยไม่มีกฎหมายให้สิทธิ์กลุ่มไร้ สัญชาติด้านประกันสุขภาพ/การคุ้มครองทาง กฎหมาย 2.รัฐบาลลาวตัดสิทธิ์คนที่อพยพไปอยู่นอก ประเทศ |
การวิเคราะห์ SWOT กลุ่มสตรีชาวลาวและประมวลผลด้านสังคม พบว่าการประกอบอาชีพหลักของ กลุ่มสตรีชาวลาวส่วนใหญ่คือ อาชีพเกษตรกร เนื่องจากมีต้นทุนเรื่องความรู้พื้นฐานทางด้านการเกษตร อาทิ เช่น การปลูกข้าวโพด ถั่วลิสง การทํานาและสวนยางพารามีทรัพยากรดินและน้ําที่อุดมสมบูรณ์และจาก วิเคราะห์กลุ่มสตรีชาวลาวพบว่าอุปนิสัยของกลุ่มสตรีชาวลาวส่วนใหญ่มีความขยันหมั่นเพียรมีความซื่อสัตย์ มี น้ําใจและมีอัธยาศัยดี มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันผ่านระบบเครือญาติ และกลุ่มสตรีชาวลาวส่วนหนึ่ง ยึด อาชีพค้าขายเป็นอาชีพเสริม เนื่องจากพื้นที่บ้านฮวกเป็นพื้นที่เศรษฐกิจชายแดนที่มีแหล่งท่องเที่ยวและจุด ยุทธศาสตร์ที่เอื้อต่อการการประกอบอาชีพค้าขาย ซึ่งถือว่าเป็นจุดเด่นที่เป็นข้อได้เปรียบ แต่อย่างไรก็ตาม จุดอ่อนที่เป็นปัญหาและอุปสรรค ของกลุ่มสตรีชาวลาวส่วนใหญ่ คือ รัฐบาลไทยไม่ให้สิทธิ์กลุ่มคนไร้สัญชาติ ด้านประกันสุขภาพและการคุ้มครองทางกฎหมายรวมทั้งการจํากัดสิทธิการเดินทางนอกเขตพื้นที่ซึ่งได้รับ อนุญาต ทําให้เกิดปัญหาในการประกอบอาชีพ ขาดความมั่นใจในสถานะความเป็นอยู่ของตัวเองในประเทศ ไทยและทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวไม่กล้าออกหรือแสดงความคิดเห็น ขาดโอกาสในด้านต่างๆ ส่งผลรวมทั้งการ ยอมรับจากสังคมภายนอกด้วยเช่นกัน อีกทั้งรัฐบาลลาวตัดสิทธิ์คนที่อพยพไปอยู่นอกประเทศ ทําให้กลุ่มสตรี ชาวลาวที่อพยพและหลบหนีเข้ามาอยู่ประเทศไทยเป็นคนไร้สัญชาติในที่สุด
ด้านเศรษฐกิจ
จุดแข็ง | โอกาส |
1.มีความสามารถในการผลิตสินค้าเกษตรไว้เพื่อบริโภค และจําหน่ายตามฤดูกาล 2. รู้จักแหล่งผลิตและการตลาดของฝั่ง สปป.ลาว และ มีระบบเครือญาติที่อาจใช้เป็นฐานการตลาดของกลุ่มได้ | 1.นโยบายเปิดด่านถาวรบ้านฮวกให้เป็นแหล่ง การค้าขายตลาดชายแดนไทย-ลาว 2. มีแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลาย เช่นน้ําตกห้วย โป่งผา น้ําตกภูซาง ด่านชายแดนเป็นต้น 3. กศน. มี ห ลั ก สู ต ร การ ศึ กษา ต่ อ เ นื่ อ ง ที่ |
หลากหลายที่เป็นช่องทางการประกอบอาชีพ เช่น นวดแผนไทย การทําลูกประคบเป็นต้น | |
จุดอ่อน | อุปสรรค |
1.ขาดทักษะในการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปพื้นบ้าน ให้ เป็นที่ต้องการของตลาด 2.ไม่มีความรู้เรื่องการจัดการตลาด | 1.การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ของตลาดในด้าน ของอุปสงค์ – อุปทาน |
การวิเคราะห์ SWOT กลุ่มสตรีชาวลาวและประมวลผลด้านเศรษฐกิจ พบว่าพื้นที่บ้านฮวกซึ่งเป็นพื้นที่ เศรษฐกิจชายแดนที่มีแนวโน้ม การขยายตัวทางเศรษฐกิจสูง โดยจะเปิดเป็นด่านถาวรภายในปี พ.ศ.2561 ซึ่ง จะส่งผลด้านการค้าและการลงทุน อีกทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลาย อาทิเช่นน้ําตกห้วยโป่งผา น้ําตกภู ซาง ด่านชายแดน เป็นต้น ซึ่งจะเอื้อต่อการค้าขายและส่งผลถึงคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนในชุมชนบ้านฮวก และกลุ่มสตรีชาวลาวในอนาคต แต่ยังขาดปัจจัยอีกหลายๆอย่าง โดยเฉพาะด้านสินค้าทางการเกษตรที่มีความ คล้ายคลึงกัน กับ สปป.ลาว ทําให้ไม่สามารถการแข่งขันด้านราคา ได้ เนื่องจาก สปป.ลาว มีต้นทุนการผลิตที่ ราคาต่ํากว่าประเทศไทย อาทิเช่น แรงงาน ที่ดิน เป็นต้น นอกจากนี้ยังพบว่าสตรีชาวลาวยังขาดทักษะในการ พัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปสินค้าการเกษตร เพื่อเพิ่มมูลค่า ให้ตรงกับความต้องการของตลาดและนักท่องเที่ยว ทั้งจาก สปป.ลาวและในประเทศไทย แต่สําหรับประเทศไทยแล้วจะได้เปรียบในด้านของเทคโนโลยีการเกษตร ที่ทันสมัยและมีราคาถูกกว่า สปป.ลาว ซึ่งอาจทําให้สามารถเพิ่มผลผลิตที่มีคุณภาพสูงได้ นอกจากนี้แล้วกลุ่ม สตรีชาวลาวยังมีแหล่งเรียนรู้ราคาถูกซึ่งสามารถฝึกทักษะในการประกอบอาชีพได้เนื่องจาก กศน.อําเภอภูซาง มีหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่หลากหลายที่เป็นช่องทางการประกอบอาชีพเช่น นวดแผนไทย การทําลูก ประคบ เป็นต้น ซึ่งกลุ่มสตรีชาวลาวสามารถนําความรู้ที่ได้รับ มาประกอบเป็นอาชีพหลักและอาชีพเสริมได้ ต่อไป
ด้านการศึกษา
จุดแข็ง | โอกาส |
1.สามารถสื่อสารโดยพูดและฟังภาษาไทยได้เนื่องจาก ภาษาลาวมีพื้นฐานที่ใกล้เคียงกับภาษาไทย | 1.มีโอกาสได้รับการศึกษาและการส่งเสริมการรู้ หนังสือจากสถานศึกษา เช่น กศน.,อบต. , พัฒนาชุมชน |
จุดอ่อน | อุปสรรค |
1.ขาดทักษะทางด้านการเขียนและอ่านภาษาไทยที่ ถูกต้อง | 1. รู ปแบบการสอนที่ยังไม่เหมาะสมและ สอดคล้องกับความรู้พื้นฐานกลุ่มสตรีชาวลาว |
การวิเคราะห์ SWOT กลุ่มสตรีชาวลาวและประมวลผลด้านศึกษา พบว่ากลุ่มสตรีชาวลาวส่วนใหญ่ สามารถพูดและฟังภาษาไทยได้เนื่องจากภาษาลาวมีพื้นฐานที่ใกล้เคียงกับภาษาไทยแต่ยังขาดทักษะทางด้าน การอ่านเขียนภาษาไทยที่ถูกต้องเนื่องจากรูปแบบการสอนที่ยังไม่เหมาะสมและสอดคล้องกับความรู้พื้นฐาน กลุ่มสตรีชาวลาวบางคน แต่เนื่องจากกลุ่มสตรีชาวลาว บางส่วนมีโอกาสได้รับการศึกษาและการส่งเสริมการรู้ หนังสือจาก กศน.อําเภอภูซาง และสามารถเรียนต่อในจนจบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานขั้นสูงสุดได้ ซึ่ง “การศึกษาก็คือ การติดอาวุธทางปัญญาที่สําคัญที่สุด” อีกทั้งยังสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆ ที่ตนสนใจได้อย่าง เต็มศักยภาพส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต อาทิ ด้านอาชีพ เพื่อเป็นรายได้เสริมและสามารถยกระดับคุณภาพ ชีวิตของตนให้ดีขึ้นในอนาคต
ด้านวัฒนธรรม
จุดแข็ง | โอกาส |
1.ความสัมพันธ์ระหว่างเครือญาติที่เหนียวแน่นมีความ สามัคคีกัน 2. สต รี ชาวลาวยังคงรักษาอัตลักษณ์ในศิลปะ ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมประเพณี เช่น การแต่งกาย 3. มีการ ร่ว มแรงช่วยกันในการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เช่น การลงแขกเป็นต้น | 1.การส่งเสริมสนับสนุนในการอนุรักษ์วัฒนธรรม จากหน่วยงานราชการ |
จุดอ่อน | อุปสรรค |
1.รับวิถีชีวิตความเป็นอยู่แบบไทยที่ส่งผลให้ลืมเลือน วัฒนธรรมดั้งเดิมของตัวเอง | 1.สภาพสังคมไทยที่เปลี่ยนแปลงค่อนข้าง รวดเร็วและเป็นระบบทุนนิยม 2. ความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ |
การวิเคราะห์ SWOT กลุ่มสตรีชาวลาวและประมวลผลด้านวัฒนธรรม พบว่ากลุ่มสตรีชาวลาวส่วนใหญ่ มีอุปนิสัย คือ ความขยันหมั่นเพียรมีความซื่อสัตย์ มีน้ําใจ อัธยาศัยดี มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันโดยอาศัย ระบบเครือญาติ ทําให้ชุมชนบ้านฮวกยังหลงเหลือประเพณีลงแขก ที่เป็นเสน่ห์ดั้งเดิมของคนพื้นถิ่น นอกจากนี้ สตรีชาวลาวยังคงรักษาอัตลักษณ์ด้านการแต่งกาย ซึ่งในวันสําคัญในโอกาสต่างๆ จะพบเห็นสตรีชาวลาวนุ่งซิ่น และสวมเสื้อซึ่งเป็นเอกลักษณ์เฉพาะกลุ่มสตรีชาวลาว เช่น การไปวัด ประเพณีตักบาตรสองแผ่นดิน เป็นต้นแต่ วัฒนธรรมในการกินอยู่มีความคล้ายคลึงกับคนพื้นเมืองจึงทําให้ไม่เห็นความแตกต่างๆระหว่างเชื้อชาติ แต่ เนื่องจากกลุ่มสตรีชาวลาวมาอยู่ประเทศไทยเป็นระยะเวลานานซึ่งอาจทําให้วิถีชีวิตดั้งเดิมสูญหายไปกับ กาลเวลาอีกทั้งสังคมไทยในปัจจุบันที่มี การปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็วตามระบบทุนนิยม ซึ่งกลุ่มสตรีชาวลาวจึง มีความต้องการที่จะอนุรักษ์ ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาดั้งเดิมของตนไว้ ซึ่งเป็นโอกาสดีสําหรับกลุ่มสตรี ชาวลาวและคนในชุมชนบ้านฮวกที่หน่วยงานภาครัฐให้ความสําคัญ สนับสนุนและส่งเสริมด้านประเพณีและ วัฒนธรรม ที่เห็นได้เด่นชัดคือ ประเพณีตักบาตรสองแผ่นดินไทย-ลาว ที่จัดขึ้นทุกปี ณ บริเวณเขตรอยต่อ ชายแดนไทย-ลาว บ้านฮวก ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่อสืบสาน และส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีการทําบุญตักบาตรให้คงคู่พุทธศาสนาและสังคมไทย อีกทั้งเป็นการเชื่อม สัมพันธไมตรีกับเมืองคอบ แขวงไชยะบุลีสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ซึ่งส่วนใหญ่จะนับถือ ศาสนา พุทธเหมือนกันและมีขนมธรรมเนียมประเพณีที่ส่วนใหญ่มีความคล้ายคลึงกันแต่จะแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย ใน ด้านภาษาและการแต่งกายเท่านั้น
จากกิจกรรมเวทีวิเคราะห์และประมวลผลองค์ความรู้สําหรับนําไปวางแผนที่ได้จากการดําเนินงานทั้งใน เชิงเนื้อหาและกระบวนการพัฒนาการด้านการพูด อ่าน ฟัง และเขียนของนักวิจัยกลุ่มสตรีชาวลาวจากการ สังเกตพบว่า กลุ่มสตรีชาวลาว มีทักษะการฟังและพูดภาษาไทยได้ดีขึ้นตามลําดับ สามารถเขียน อ่าน คํายาก ได้เป็นบางคํา รู้ความหมายของศัพท์ สามารถใช้สัญลักษณ์ รูปภาพหรือเครื่องหมายแทนคําศัพท์ที่ยากๆ เพื่อ สื่อความหมาย ให้เกิดความเข้าใจระหว่างกลุ่มสตรีชาวลาวด้วยกันได้และนําเสนอผลงานของกลุ่มตามที่ได้รับ มอบหมายได้อย่างชัดเจนทั้งการพูดเล่าเรื่องและการวาดรูป การสื่อสารเชิงสัญลักษณ์
กิจกรรมเวทีวิเคราะห์และประมวลผลองค์ความรู้สําหรับนําไปวางแผนที่ได้จากการดําเนินงานทั้งในเชิง เนื้อหาและกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชนและ ครูกศน.อําเภอภูซาง พบว่า กลุ่มสตรีชาวลาวมีความสุข
ในร่วมกิจกรรมโดยสังเกตได้จากการตอบโต้ พูดจาซักถามหรือเล่าเรื่องของตนผ่านเครื่องมือการวิจัยได้ กลุ่ม สตรีชาวลาวกล้าแสดงออกและร่วมแสดงความคิดเห็นในกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีความกระตือรือร้นใน การเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิสัมพันธ์กันระหว่างกลุ่มสตรีชาวลาวและครู กศน.อําเภอภูซาง รู้เรื่องราวภูมิหลัง ของตนเองผ่านเครื่องมือการวิจัย จากเวทีกิจกรรมการสืบค้นในกิจกรรมที่ 2 แล้วนําข้อมูลพื้นฐานดังกล่าว มา วิเคราะห์ SWOT รวมกันได้ โดยสามารถนําเสนอ ประมวลเพื่อถอดองค์รู้ จุดเด่น โอกาส จุดอ่อน อุปสรรค เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพ ภายใต้กรอบ 4 ด้าน ได้แก่ มิติสังคม มิติเศรษฐกิจ มิติทาง วัฒนธรรม และ มิติทางการศึกษา นอกจากนี้ ครู กศน.อําเภอภูซาง ยังได้รูปแบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสม สอดคล้องกับความสนใจและความต้องการของผู้เรียน (กลุ่มสตรีชาวลาว) การเรียนรู้เรื่องใกล้ตัว วิถีชีวิต เรื่องราวภูมิหลังของตนเองโดยผ่านเครื่องมือการวิจัย โดยใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์ในการเล่าเรื่อง ซึ่งเป็นการ บูรณการ “งานวิจัยเพื่อท้องถิ่นสู่ การเรียนรู้ตลอดชีวิต” อย่างแท้จริง ทั้งในด้านขององค์ความรู้และเชิง กระบวนการ ที่กลุ่มสตรีชาวลาวและครู กศน.อําเภอภูซาง ได้เรียนรู้ร่วมกันและสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ โดยการ จัดการศึกษาในมิติต่างๆ ที่หลากหลาย อย่างได้ผล
ปัญหาและอุปสรรค
1. การแย่งกันถาม แย่งกันตอบภายในกลุ่มทั้งทีมวิจัยครูและทีมวิจัยชุมชน
2. ประเด็นคําถามของทีมวิจัยเป็นภาษาทางการมากเกินไป
กิจกรรมที่จะทําต่อไป
1. ออกแบบกิจกรรมเพื่อนําไปสู่การปฏิบัติในระยะที่ 2
บทสรุปตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 จากการวางแผนการจัดกิจกรรมเพื่อตอบวัตถุประสงค์ ในข้อที่1. เพื่อสืบค้น รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องร่วมกับกลุ่มสตรีชาวลาวในพื้นที่เป้าหมาย โดยออกแบบไว้ 3 กิจกรรม ซึ่งประกอบด้วย 1) กิจกรรมเวทีชี้แจงวัตถุประสงค์และแนวทางในการดําเนินงานร่วมกับชุมชน
และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับงานวิจัยให้ไปในทิศทางเดียวกัน 2) กิจกรรมเวทีสืบค้นข้อมูล/องค์ความรู้ที่
เกี่ยวข้องกับบริบทของกลุ่มเป้าหมายบนฐานของความหลากหลายภายใต้การพัฒนาศักยภาพ 4 ฐาน ประกอบด้วย ฐานสังคม ฐานวัฒนธรรม ฐานเศรษฐกิจ และฐานการศึกษา จํานวน 4 ครั้ง 3) กิจกรรมเวที วิเคราะห์และประมวลผลองค์ความรู้สําหรับนําไปวางแผนที่ได้จากการดําเนินงานทั้งในเชิงเนื้อหาและ กระบวนการ ทําให้ได้ข้อสรุปโดยแบ่งเป็นหัวข้อดังนี้
กระบวนการสืบค้นองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับบริบทกลุ่มเป้าหมายบนฐานของความหลากหลายภายใต้ การพัฒนาศักยภาพ 4 ฐาน ประกอบด้วย ฐานสังคม ฐานเศรษฐกิจ ฐานการศึกษาและฐานวัฒนธรรม เริ่มต้น จากการต้องการศึกษาข้อมูล ภูมิหลังของกลุ่มสตรีชาวลาว เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิเคราะห์และ ประมวลผล เพื่อวางแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาว รวมทั้งการประเมินสถานการณ์ใน การพัฒนาศักยภาพที่เหมาะสมกับกลุ่มสตรีชาวลาว โดยใช้เครื่องมือการวิจัยเพื่อเก็บข้อมูล ผ่านการจัด กิจกรรมกระบวนการที่เหมาะสม เช่น การซักถาม พูดคุย เล่าเรื่องราวของตนเอง มีเวทีให้เสนอหรือแสดง ความคิดเห็นผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่มศักยภาพในตนเองให้กับกลุ่มสตรีชาวลาว
อย่างไรก็ตาม จะเห็นได้ว่าแม้จะมีการวางแผนการดําเนินงานที่ชัดเจนในแต่ละกิจกรรม แต่ปัญหาและ อุปสรรคก็เกิดขึ้นระหว่างการจัดกิจกรรมได้เช่นกัน เช่น การจัดกิจกรรมแต่ละครั้งมีเวลาน้อยเกินไปทําให้ได้ ข้อมูลไม่ครบตามประเด็นการประชุมที่ตั้งไว้ จึงมีความจําเป็นต้องลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลเพิ่ม หรือในบางครั้ง กลุ่มเป้าหมายสตรีชาวลาวมาร่วมกิจกรรมน้อยเกินไปเนื่องจากมีภาระงานมากจึงทําให้ได้มูลที่ไม่ครบถ้วน ไม่
ครอบคลุม ต้องมีการปรับเปลี่ยนแผนการดําเนินงาน กิจกรรมให้มีความเหมาะสม เช่น ในกิจกรรมการสืบค้น ข้อมูล/องค์ความรู้ที่เกี่ยวกับบริบทของกลุ่มสตรีชาวลาว ต้องจัดกิจกรรม 4 ครั้งเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ครอบคลุมและสมบูรณ์ที่สุดทั้งการจัดเวทีกิจกรรมหรือการลงพื้นที่พบปะพูดคุยกับกลุ่มสตรีชาวลาวแบบเคาะ ประตูบ้านในช่วงเวลาที่กลุ่มสตรีชาวลาวอยู่บ้าน ช่วงเช้า-เย็น ก่อนและหลังกลับจากการไปทํางานนอกบ้าน
จากการใช้เครื่องมือการวิจัย อาทิเช่น โอ่งชีวิต ปฏิทินฤดูกาล/วัฒนธรรม แผนที่เดินดิน เป็นต้นเพื่อเก็บ ข้อมูลพื้นฐานแล้ว กลุ่มสตรีชาวลาวและครู กศน.อําเภอภูซาง ยังได้กระบวนการเรียนรู้และองค์ความรู้ใหม่ๆ ร่วมกัน เช่น ครู กศน.อําเภอภูซาง ได้รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายผ่านการใช้เครื่องมือการ วิจัย กลุ่มสตรีชาวลาวสามารถนําเสนอเรื่องราวของตนผ่านการบอกเล่า กล้าแสดงความคิดเห็นมากขึ้น
ข้อมูลที่ได้สืบค้นสืบค้นองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับบริบทกลุ่มเป้าหมายบนฐานของความหลากหลาย ภายใต้การพัฒนาศักยภาพ 4 ด้าน ดังนี้
1) มิติด้านเศรษฐกิจ กลุ่มสตรีชาวลาวส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก เนื่องจากส่วนใหญ่จะ ปลูกพืชเชิงเดี่ยวเพื่อการจําหน่าย เช่น ข้าวโพด ถั่วลิสง ทํานาและทําสวนยางพารา เป็นต้น จึงมีรายได้ที่ไม่ มั่นคง
2) มิติด้านสังคม กลุ่มสตรีชาวลาวมีความสัมพันธ์แบบเครือญาติ ทําให้มีความรักใคร่ ความปรองดอง และความสามัคคี นอกจากนี้กลุ่มสตรีชาวลาวยังมีบทบาทเป็นกลุ่มแม่บ้านในชุมชน ซึ่งทําหน้าที่ตามงาน ประเพณีและกิจกรรมสาธารณะประโยชน์และได้รับการยอมรับจากคนในชุมชนด้วย เนื่องจากมีอุปนิสัยขยัน รับผิดชอบ ซื่อสัตย์และเป็นคนมีน้ําใจ
3) มิติด้านการศึกษา พบว่า กลุ่มสตรีชาวลาวสามารถฟังพูดภาษาไทยได้ แต่อ่านเขียนไม่คล่อง และควร ได้รับการศึกษาต่อเนื่องเพื่อนําความรู้ไปต่อยอดและพัฒนาตนเอง ในด้านต่างๆ โดยกลุ่มสตรีชาวลาวส่วนใหญ่ ได้รับโอกาสทางการศึกษา จาก กศน.อําเภอภูซาง โดยเริ่มจากหลักสูตรการรู้หนังสือไทยเพื่อให้อ่านออกเขียน ได้ นอกจากนี้ยังมีกลุ่มสตรีชาวลาวบางส่วนที่ได้รับโอกาสในการพัฒนาอาชีพจนประสบความสําเร็จ มีรายได้ มี งานทํา
4) มิติด้านวัฒนธรรม พบว่า กลุ่มสตรีชาวลาวมีความตะหนักรักและหวงแหนประเพณีวัฒนธรรมที่ดีงาม ของตน ต้องการฟื้นฟู เผยแพร่ อนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมดังกล่าวไม่ให้สูญหาย อาทิเช่น การแต่งกาย ภูมิ ปัญญาเรื่องลูประคบสมุนไพร เป็นต้น
จากกระบวนการสืบค้นทําให้ทราบข้อมูล ผ่านเครื่องมือการวิจัยด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และ วัฒนธรรมข้อมูลดังกล่าวเมื่อผ่านการวิเคราะห์ ทําให้ได้ ชุดข้อมูลที่มีความหมาย ความชัดเจน ทําให้กลุ่ม สตรีชาวลาวที่ผ่านกระบวนการวิจัยร่วมกัน รู้ถึงตัวตน ความเป็นกลุ่มที่มีประวัติความเป็นมาและต้นกําเนิด เดียวกัน มาอยู่บนพื้นแผ่นดินไทยซึ่งไร้สิทธิ ถูกตัดขาดจากความเป็นพลเมือง สปป.ลาวความน้อยเนื้อต่ําใจใน ตนเอง ทุกอย่างต้องพึ่งพิงสามีชาวไทย อยู่ในสังคมคนไทยในชนบทที่มีการแข่งขันด้านวัตถุนิยมสูง ทําให้กลุ่ม สตรีชาวลาวต้องปรับตัวอย่างมากเมื่อมาอยู่บนผืนแผ่นดินไทยซึ่งเป็นพื้นที่ชายแดนภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม เกิดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม อย่างเห็นได้ชัด การแสดงออกถูกจํากัด ด้วยความไม่มั่นใจ ไม่มีเวทีในการแสดงความสามารถ แสดงความคิดเห็น ไม่มีใครรับฟัง ชุดข้อมูลนี้ จึงใช้เป็น ฐานในการกําหนดแนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของความรู้ ความสามารถของตนเองอย่างเต็มประสิทธิภาพ ในระยะที่ 2 ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานความจริง ความสนใจ และ ความต้องการของกลุ่มสตรีชาวลาวอย่างแท้จริง
จากผลการดําเนินงานในระยะที่ 1 กิจกรรมที่ได้กําหนดไว้นําไปเชื่อมโยงสู่การกําหนดวัตถุประสงค์
การดําเนินงานข้อที่ 2 โดยข้อมูลที่ได้ในการกําหนดรูปแบบการพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้อง กับวิถีชีวิตบนฐานของความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มประสิทธิภาพโดยกําหนดรูปแบบการพัฒนา ศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็ม ประสิทธิภาพโดยแต่ละกิจกรรมมีรายละเอียดดังนี้
กิจกรรมที่ 1 เวทีออกแบบและกําหนดรูปแบบกิจกรรมเพื่อให้สอดคล้องกับการดําเนินชีวิตของ กลุ่มเป้าหมายจํานวนผู้เข้าร่วม 42 คน ประกอบไปด้วย นักวิจัย 19 คน ทีมที่ปรึกษา 1 คน ทีมสตรีชาว ลาว 12 คน และทีมกลไกสนับสนุน 10 คนจํานวน 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 วันที่ 16 กันยายน 2559 เวลา 09.00 น. – 12.00 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านฮวก หมู่ที่ 12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา เพื่อหาข้อมูลการพัฒนาศักยภาพที่เหมาะสมตามฐานการพัฒนา ศักยภาพ 4 ด้าน ประกอบด้วย มิติสังคม มิติเศรษฐกิจ มิติทางวัฒนธรรม และ มิติทางการศึกษา
จากการจัดกิจกรรมดังกล่าว ทางทีมวิจัยได้จัดกระบวนการตามขั้นตอน ดังนี้ 1) เริ่มต้นด้วยการชวน คุยเรื่องใกล้ตัวเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรม 2) สรุปข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ SWOT ให้กับกลุ่มสตีชาวลาวฟัง เพื่อเป็นองค์ความรู้สําหรับนําไปวางแผนการพัฒนาศักยภาพของสตรีลาว 3) ให้ตัวแทนของสตีชาวลาวออกมา
เล่าถึงประสบการณ์ในเรื่องที่ตนเองประสบผลสําเร็จ 4) ให้กลุ่มสตรีชาวลาวแสดงความคิดเห็นในเรื่องที่สนใจ
โดยมีครูคอยตั้งคําถาม 5) สรุปข้อมูลที่กลุ่มสตรีชาวลาวให้ความสนใจ ผลของการพูดคุยแลกเปลี่ยนกับกลุ่มสตีชาวลาวพบว่ากลุ่มสตรีชาวลาวมีความสนใจในด้านต่างๆ
ดังต่อไปนี้
1) มิติด้านเศรษฐกิจ จากข้อมูล SWOT กลุ่มสตรีชาวลาวที่ประสบความสําเร็จในการเข้าไปฝึกอาชีพ เรื่องของการนวดแผนไทย การทําอาหารพื้นเมืองจําหน่าย การทอผ้าซิ่น สปป.ลาว และการปลูกผักกินเอง เพื่อลดรายจ่ายในครอบครัวถือได้ว่าเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมที่นํามาปฏิบัติใช้กับกลุ่มสตรีชาวลาวได้ ดังนั้น แนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาวที่เหมาะสมคือการพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิมที่มี องค์ความรู้อยู่แล้วและอาชีพเสริมที่สามาสร้างรายได้และเป็นความต้องการของกลุ่ม เช่น การทําเกษตรกรรม ควรมีการนําเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดําเนินชีวิตประจําวันเพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ให้กับครัวเรือน การทอผ้าสามารถพัฒนาคุณภาพของสินค้าให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น มีผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาก การนวดแผนไทยสามารถเป็นอาชีพเสริมที่สร้างรายได้ให้กับกลุ่มสตรีชาวลาวการตลาด เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่ ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีความรู้และสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้
2) มิติด้านสังคม พบว่า กลุ่มสตรีชาวลาวเข้ามาในประเทศโดยผิดกฎหมาย กลายเป็นผู้ไม่มีสถานะ ทางทะเบียนราษฎร์ ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวไม่มั่นใจในสถานะความเป็นอยู่ของตัวเองในประเทศไทย ดังนั้น แนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาวในระยะยาว คือการสร้างความตระหนักถึง ผลกระทบที่เกิดขึ้นในการเข้ามาโดยผิดกฎหมายว่ามีผลเสียยังไงบ้างเพื่อลดการเข้ามาแบบผิดกฎหมายของ กลุ่มสตรีชาวลาวและให้ความรู้ การศึกษา ในเรื่องสิทธิมนุษยชนแก่กลุ่มสตรีชาวชาวที่อยู่ในพื้นที่
3) มิติด้านการศึกษาพบว่ากลุ่มสตรีชาวลาวบางส่วนได้รับโอกาสการศึกษาจาก กศน.อําเภอภูซาง โดยมีจุดเริ่มต้นจากการศึกษาหลักสูตรการรู้หนังสือไทย นอกจากนี้ยังมีโอกาสได้ร่วมงานวิจัยชุมชน ในโจทย์ วิจัยชื่อโครงการวิจัยรูปแบบการจัดการศึกษาที่เหมาะสมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สําหรับกลุ่มชาติพันธุ์ ในพื้นที่ อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ที่ก่อให้เกิดผลในปัจจุบันที่ทําให้สามารถอ่าน ออก เขียนได้ และพัฒนาความรู้ ไปสู่การศึกษาระดับสูงขึ้นในระดับประถมศึกษา ดังนั้น กศน.อําเภอภูซางจึงได้เล็งเห็นความสําคัญในการ พัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาวโดยใช้การศึกษาเป็นฐาน มีแนวทางในการขยายการศึกษาให้ครอบคลุม
กลุ่มผู้ไม่รู้หนังสือในพื้นที่เป้าหมาย มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอนให้สอดคล้องกับบริบทชุมชนมากยิ่งขึ้น เน้น การมีส่วนร่วมของชุมชน ส่งผลให้กลุ่มสตรีชาวลาวเมื่อสําเร็จการศึกษาก็จะได้ประกาศ นียบัตรเป็นเอกสาร หลักฐานทางราชการและเป็นข้อมูลที่ทําให้ทราบถึงการเข้ามาอยู่ในประเทศไทย
4) มิติด้านวัฒนธรรม พบว่า กลุ่มสตรีชาวลาวมีการรับเอาวิถีชีวิตความเป็นอยู่แบบไทย ส่งผลให้ลืม เลือนวัฒนธรรมดั้งเดิมของตัวเอง เนื่องจากสภาพสังคมไทยที่เปลี่ยนแปลงไปค่อนข้างรวดเร็ว ดังนั้น แนวทาง ในการพัฒนาฐานวัฒนธรรมในระยะยาว ควรมีการการส่งเสริม สนับสนุนในการอนุรักษ์วัฒนธรรม จาก หน่วยงานราชการ สร้างความมั่นใจให้กับกลุ่มสตรีชาวลาวให้มีอัตลักษณ์ในตัวเอง
ผลจากการจัดกิจกรรมครั้งนี้สรุปได้ว่า การเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ทําให้เห็นโอกาสที่จะทําให้วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ดีขึ้นได้ ถ้ามีโอกาสได้ประกอบอาชีพเหล่านี้ และสามารถทําได้ทุกอาชีพ การจัดเวทีแบบนี้ช่วยให้ กลุ่มสตรีชาวลาวได้พูดคุยและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ที่สร้างความมั่นใจสามารถยืนอยู่ได้ด้วยตัวเองและช่วย ครอบครัวได้ มีอาชีพและมีรายได้จากการใช้ศักยภาพที่มีในตัวเอง และไม่เพิ่มภาระให้กับสังคมหรือสามีมาก เกินไป
จากนี้ทางทีมวิจัยจะทําการทบทวนข้อมูลและสร้างความเข้าใจเพื่ออกแบบกิจกรรมการพัฒนา ศักยภาพที่เหมาะสม (ครั้งที่ 2) ของสตรีชาวลาว
ครั้งที่ 2 วันที่ 14 ตุลาคม 2559 เวลา 09.00 น. – 12.00 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านฮวก หมู่ที่ 12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา เพื่อออกแบบกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพที่เหมาะสมตามฐานการ พัฒนาศักยภาพ 4 ฐาน โดยการมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรีชาวลาว เพื่อสร้างแผนการดําเนินการในระยะที่ 2 ของ โครงการวิจัย
จากการจัดกิจกรรมดังกล่าว ทางทีมวิจัยได้จัดกระบวนการตามขั้นตอน ดังนี้ 1) เริ่มต้นด้วยทบทวน ข้อมูลกิจกรรมเวทีที่ผ่านมาจากจากข้อมูล 4 ฐาน 2) ครูเป็นคนตั้งคําถามเพื่อให้กลุ่มสตรีชาวได้แสดงความ
คิดเห็นในการจัดกิจกรรมในแต่ละฐานการเรียนรู้ 3) สรุปแนวทางในการพัฒนาศักยภาพ 4 ด้าน คือ 1)
มิติด้านเศรษฐกิจ 2) มิติด้านสังคม 3) มิติด้านการศึกษา 4) มิติด้านวัฒนธรรม ผลของการพูดคุยแลกเปลี่ยนกับกลุ่มสตรีชาวลาวพบว่ากลุ่มสตรีชาวลาวมีความสนใจในด้านต่างๆและ
ต้องการประกอบอาชีพต่อไปนี้ 1.) การทําลูกประคบสมุนไพร/ถุงหอมสมุนไพร 2.) การนวดแผนไทย 3.) การเกษตรที่เน้นเศรษฐกิจพอเพียง และ 4.) การค้าขาย (การประกอบอาหารพื้นบ้านเพื่อจําหน่าย) 5) การ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาสําหรับผู้ไม่รู้หนังสือ ในส่วนของ กศน.นั้น กลุ่มสตรีชาวลาวส่วนใหญ่ เป็นกลุ่มผู้ไม่รู้หนังสือ และบางส่วนอยู่ในการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น)
วัน/เดือน/ปี | โครงการ/กิจกรรม | สถานที่ | เป้าหมาย/ วัตถุประสงค์ | ผู้รับผิดชอบ |
ม.ค. 2560 – เม.ย. 2560 | การนวดแผนไทย - ประวัติความเป็นมาของ การนวด - จริยธรรมของหมอนวด - มารยาทของหมอนวด - คุณสมบัติ 10 ประการ ของหมอนวด - หลักสูตรการเรียนการนวด | บ้านฮวก | -เพื่อพัฒนาอาชีพและ รองรับการเปิดด่าน ถาวรในอนาคต | ครูกชวรรณ ทัพพันดี ครูวรวลัญจ์ สิงห์สุวรรณ |
แผนไทย ( หลักสูตรการ นวด แบบเชลยศักดิ์) - ขั้นตอน วิธีการ การนวด แบบเชลยศักดิ์ ความรู้ที่จําเป็นสําหรับการ นวด - การคัดกรองผู้ป่วยก่อน การนวด - การทําลูกประคบ | ||||
การทําลูกประคบสมุนไพร/ถุง หอมสมุนไพร - ประวัติความเป็นมา - ภูปัญญาในการทําลูก ประคบสมุนไพร - วัสดุ, อุปกรณ์การทํา - ชนิดผ้า และลวดลายผ้า - การศึกษาดูงานฯ | พื้ น ที่ อํ า เ ภ อ ภู ซาง สปป.ลาว/ ต่างจังหวัด | -เพื่อเป็นการอนุรักษ์ วัฒนธรรมท้องถิ่นและ พัฒนาต่อยอดอาชีพ เดิมที่กลุ่มสตรีชาว ล า ว ส่ ว น ใ ห ญ่ มี พื้นฐานอยู่แล้ว | ครูวสันต์ สุธรรมมา ครูภูดิศ เผ่าเรือน ครูวิราภร การยศ | |
เศรษฐกิจพอเพียง - อบรมให้ความ รู้ / ใ ห้ ความรู้ - บัญชีครัวเรือน - การเลี้ยงกบและขยาย พันธ์กบ - การทําปุ๋ยหมัก/ปุ๋ยน้ํา - ปลูกผักปลอดภัย - การทําเกษตรทฤษฎีใหม่ | บ้านฮวก | -เ พื่ อ เ ป็ น ก า ร ล ด รายจ่ายเพิ่มรายได้ ให้กับกลุ่มสตีชาวลาว ใ ห้ มี วิ ถี ชี วิ ต ค ว า ม เป็นอยู่ดีขึ้น | ครูยงยุทธ กิ่งแก้ว ครูยงยุทธ ทรงยั่งยืนกุล | |
การตลาด - การค้าขายชายแดน - อบรมให้ความรู้ | บ้านฮวก | -เพื่อให้กลุ่มสตรีชาว ลาวมีความรู้ในการทํา การตลาดชายแดน | ครูเพชรรัตน์ ไชยสงคราม ครูบัณฑิตา แสวงงาม | |
การจัดการศึกษา - การศึกษาสําหรับผู้ไม่รู้ หนังสือ - การศึกษาขั้นพื้นฐาน - การศึกษาต่อเนื่อง | บ้านฮวก | - เพื่อลดความเหลือ ล้ําทางสังคมและให้ โอกาสทางการศึกษา เข้าถึงกลุ่มสตรีชาว ลาวมากยิ่งขึ้น - เพื่อใช้เป็นหลักฐาน | ครูยงยุทธ กิ่งแก้ว ครูกชวรรณ ทัพพันดี |
อ้างอิงในการเข้ามา อยู่ในประเทศไทย -สร้างความตระหนัก ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ในการเข้ามาโดยผิด กฎหมายว่ามีผลเสีย ยังไงบ้างเพื่อลดการ เ ข้ า ม า แ บ บ ผิ ด กฎหมายของกลุ่มสตรี ชาวลาว |
ข้อสรุปของข้อมูลการออกแบบกิจกรรมมุ่งเน้นให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีอาชีพที่สร้างรายได้ ภายใต้ สถานการณ์สังคมชายแดนและเป็นบุคคลที่ไม่ใช่คนไทยแต่สามารถอยู่ในประเทศไทยโดยปกติสุขและไม่เป็น ภาระของสังคมชายแดนบ้านฮวกและครอบครัว โครงร่างของกิจกรรมนั้นไม่ใช่เพียงแต่ให้อบรมให้ความรู้ เท่านั้น แต่มีการเพิ่มเติมประสบการณ์จาการไปเรียนรู้ผลสําเร็จในการทําอาชีพดังกล่าว รวมทั้งต้องลงปฏิบัติ จริง มีการทดสอบและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้าน การเกษตรมาใช้ ในการปลูกผักไว้กินเองเพื่อลดรายจ่ายและเหลือขายเป็นการเพิ่มรายได้ และเรียนรู้การน้อม นําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ จาก กศน.อําเภอภูซาง มีกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง หลักสูตรระยะสั้น หลักสูตรการเพาะเลี้ยงกบและหลักสูตรการปลูกผัก ที่เป็นเป็นแผนงานโครงการของ กศน. อําเภอภูซางที่ต้องการสร้างแหล่งเรียนรู้ และฝึกอบรมเพื่อขยายผลสู่ชุมชนอย่างแท้จริง จึงถือว่ามีต้นทุนการ อบรมในกิจกรรมนี้เพราะมีแหล่งเรียนรู้ และมีผู้รู้ที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับก ลุ่มสตรีชาวลาวได้ สําหรับข้อมูลที่ได้ยังกว้างเกินไป และจําเป็นต้องเจาะลงในรายละเอียดของเนื้องาน
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพตามแนวทางที่ได้ในระยะที่ 1 โดยการมีส่วนร่วมของสตรีชาวลาว จํานวน
ครั้งที่ 1 การจัดการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ หลักสูตรนวดแผนไทย จํานวนผู้เข้าร่วม 45 คน ประกอบไปด้วย นักวิจัย 18 คน ทีมที่ปรึกษา 1 คน ทีมสตรีชาวลาว 15 คน และทีมกลไกสนับสนุน 5
คนวิทยากร 1 คน
ในวันที่ 6 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ณ กศน.ตําบลภูซาง หมู่ที่ 12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ทีมวิจัยได้ดําเนินการจัดเวทีประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อพัฒนา ทักษะอาชีพ เปิดกลุ่มเพื่อสร้างความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรการนวดแผนไทย (จัดกิจกรรมการเรียนหลักสูตร นวดแผนไทยประกอบด้วย 1) หลักสูตรนวดแผนไทย (การนวดฝ่าเท้า) 2) การนําเสนอกิจกรรมนวดนวดแผน ไทย (การนวดฝ่าเท้า) เคลื่อนที่ในงาน “ข๋วงผญ๋า”และ 3) หลักสูตรนวดแผนไทย (การนวดตัว) ระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ ถึง เมษายน 2560
นักวิจัยกลุ่มสตรีชาวลาว จํานวน 15 คน ร่วมเป็นผู้เรียนหลักสูตรนวดแผนไทย (หลักสูตรนวดฝ่าเท้า 40 ชั่วโมง ) ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ของ กศน.อําเภอภูซาง โดยมีวิทยากร จํานวน 1 คน เป็นผู้ดําเนิน จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบชั้นเรียน และนําเสนอหลักสูตรนวดฝ่าเท้าเมื่อเรียนจบหลักสูตร ในรูปแบบการจัด นิทรรศการ “ข่วงผญ๋า” ณ เฮื้อนไทยลื้อ ตําบลภูซาง หมู่ที่ 5 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
ได้มีการสรุปการดําเนินงาน เพื่อให้กลุ่มสตรีชาวลาว มีความรู้ เกี่ยวกับหลักสูตรการนวดแผนไทย และศึกษา แนวทางพัฒนาศักยภาพที่เหมาะสมกับกลุ่มสตรีชาวลาว
ทีมวิจัยได้ดําเนินการจัดเวทีประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาทักษะ อาชีพ หลักสูตรนวดแผนไทยเพื่อสร้างความเข้าใจให้กับชุมชน
นักวิจัยกลุ่มสตรีชาวลาว จํานวน 15 คน ร่วมเป็นผู้เรียนหลักสูตรนวดแผนไทย (หลักสูตรนวดฝ่าเท้า 40 ชั่วโมง ) ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ของ กศน.อําเภอภูซาง โดยมีวิทยากร จํานวน 1 คน เป็นผู้ดําเนิน จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบชั้นเรียน และนําเสนอหลักสูตรนวดฝ่าเท้าเมื่อเรียนจบหลักสูตร ในรูปแบบการจัด นิทรรศการ “ข่วงผญ๋า” ณ เฮื้อนไทยลื้อ ตําบลภูซาง หมู่ที่ 5 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ได้มีการสรุปการดําเนินงาน ดังนี้
วิทยากรผู้สอน ชี้แจงทําความเข้าใจเกี่ยวกับความสําคัญและที่มาของหลักสูตรนวดแผนไทย (หลักสูตร นวดฝ่าเท้า 40 ชั่วโมง ) เพื่อให้กลุ่มสตรีชาวลาวเข้าใจเกี่ยวกับศาสตร์การนวด อีกทั้งยังต้องคํานึงถึงหลัก ปฏิบัติ ข้อห้าม จรรยาบรรณ การเป็นหมดนวดที่ดี วิทยากรดําเนินการจัดกระบวนการวิจัยตามการวางแผน งานและขั้นตอน ดังนี้ 1)ช่องทางการประกอบอาชีพการนวดฝ่าเท้า 2) ทักษะการประกอบอาชีพการนวดฝ่า เท้าเท้า 3) การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการนวดฝ่าเท้า 4)การบริหารจัดการตลาด 5) การจัดทํา โครงการประกอบอาชีพ
จากการเรียนหลักสูตรนวดแผนไทย ( หลักสูตรนวดฝ่าเท้า 40 ชั่วโมง ) ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาว มี ความรู้และทักษะเกี่ยวกับการนวดในระดับหนึ่ง โดยระหว่างการเรียนนวดก็มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มสตรีชาว ลาวที่มีความกลมกลืนแน่นแฟ้น สามัคคีเป็นน้ําหนึ่งอันเดียวกัน เกิดความภาคภูมิใจที่สังคมให้การยอมรับ มี อาชีพทางเลือกเพิ่มขึ้น (อาชีพเสริม)ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ กลับบ้านก็สามารถนวดผ่อนคลายเมื่อสามีกลับมา จากไร่นาหรือจากการทํางาน เกิดความสัมพันธ์ที่ดี ในครอบครัว ดังที่ นางวัน จันทะวงศ์ กล่าวว่า “เมื่อ กลับไปบ้านก็เอาสามีเป็นหุ่นฝึกนวด” ซึ่งทําให้เราเห็นภาพความสัมพันธ์ในครอบครัวชัดมากยิ่งขึ้น
แต่เมื่อจบหลักสูตรแล้ว กลุ่มสตรีชาวลาวได้มีโอกาสนําเสนอหลักสูตรนวดแผนไทย ( หลักสูตรนวดฝ่า เท้า 40 ชั่วโมง ) ในรูปแบบการจัดนิทรรศการ “ข่วงผญ๋า” ณ เฮื้อนไทยลื้อ ตําบลภูซาง หมู่ที่ 5 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยาซึ่งทําให้เกิดทักษะ ความชํานาญมากยิ่งขึ้นและเกิดการยอมรับในวงกว้างในพื้นที่ อําเภอภูซาง แต่กลับพบปัญหาว่า “การนวดฝ่าเท้าอย่างเดียว ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของ ประชาชนที่มารับบริการได้ทั้งหมด เนื่องจากมีประชาชนบางส่วนนิยมนวดแผนไทยแบบนวดตัว กลุ่มสตรี ชาวลาวจึงมีแนวความคิดว่าอยากเรียนหลักสูตรนวดแผนไทยแบบนวดตัวเพิ่มเติม”
กลุ่มสตรีชาวลาวได้เรียนหลักสูตรนวดแผนไทย ( หลักสูตรนวดตัว 40 ชั่วโมง ) โดยการสนับสนุนค่า จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ค่าจัดการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาอาชีพ เพื่อต่อยอดองค์ความรู้เดิม (หลักสูตร นวดฝ่าเท้า 40 ชั่วโมง )
จากการที่กลุ่มสตรีชาวลาวได้เรียนหลักสูตรนวดแผนไทย ( หลักสูตรนวดตัว 40 ชั่วโมง ) ทําให้เกิด ความรู้และทักษะด้านการนวดเพิ่มมากขึ้น เกิดความมั่นใจในการประกอบอาชีพ “หมอนวด” สามารถเปลี่ยน จากอาชีพเสริมมาเป็นอาชีพหลักได้ กรณีตัวอย่าง เช่น นางสุข จําปา ซึ่งเป็นแม่ลูกอ่อน ได้กล่าวไว้ว่า “ถ้า เวลาลูกหลับหรือตายายมาดูแลแทน ดิฉันก็สามารถมานวดฝ่าเท้าหรือนวดตัวได้ เพิ่มรายได้ให้กับ ครอบครัวอีกทาง”สามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นกว่าเดิม
สรุปการจัดกระบวนการครั้งนี้ทําให้ได้ประเด็นที่น่าสนใจและเป็นแนวทางการพัฒนาศักยภาพที่ เหมาะสมกับกลุ่มสตรีชาวลาวโดยใช้รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรระยะสั้น เพื่อพัฒนาและต่อยอดอาชีพ ผ่านกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น การเรียน การอบรม การแลกเปลี่ยนความรู้และ ประสบการณ์ การทดลองปฏิบัติ เพื่อให้ได้ข้อมูลอื่นๆ ดังนี้
1. การประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับชี้แจงทําความเข้าใจเกี่ยวกับความสําคัญและที่มาของ หลักสูตรนวดแผนไทย (หลักสูตรนวดฝ่าเท้า 40 ชั่วโมง ) เพื่อให้กลุ่มสตรีชาวลาวเข้าใจเกี่ยวกับศาสตร์การนวด อีกทั้งยังต้องคํานึงถึงหลักปฏิบัติ ข้อห้าม จรรยาบรรณ การเป็นหมดนวดที่ดีอีกทั้งยังทําให้ทราบทัศนคติของ กลุ่มสตรีชาวลาว เกี่ยวกับการนวดแผนไทย และร่วมกันสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาการนวดแผนไทย เพื่อให้การจัด กิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรระยะสั้นเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
2. จากการจัดเวทีประชุมชี้แจง และสอบถามข้อมูลกลุ่มสตรีชาวลาวทําให้ทีมวิจัยทราบถึงประเด็น ปัญหาทั้ง 3ประเด็น ดังนี้ 1) กลุ่มสตรีชาวลาวอ่าน-เขียนภาษาไทยได้คล่องไม่เท่ากัน 2) หลักสูตรการนวดแผน ไทย ( หลักสูตรนวดฝ่าเท้า 40 ชั่วโมง ) เป็นเอกสารตีพิมพ์ภาษาไทยทั้งหมดทําให้ยากต่อการทําความเข้าใจ3) เวลามาร่วมกิจกรรมหลักสูตรการนวดแผนไทย ( หลักสูตรนวดฝ่าเท้า 40 ชั่วโมง ) ใช้เวลาเรียนค่อนข้างนาน อาจทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวบางคนไม่สามารถมาเรียนครบตามหลักสูตรได้นักวิจัยจึงได้กําหนดแนวทางการ วางแผนงานและได้กําหนดบทบาทหน้าที่ของนักวิจัยในทีมวิจัยตามความความพร้อมและความต้องการที่ได้มา จากความสนใจของนักวิจัย โดยให้การดําเนินงานเป็นไปในทิศทางที่เหมาะสม
3. สําหรับการวางแผนและกําหนดบทบาทหน้าที่ของนักวิจัยในทีมวิจัย เพื่อการดําเนินงานวิจัยที่ เป็นไปในทิศทางที่เหมาะสม จากปัญหาทั้ง 3 ประเด็น ได้หาทางออกร่วมกันดังนี้ 1) กลุ่มสตรีชาวลาวอ่าน- เขียนภาษาไทยได้คล่องไม่เท่ากัน แนวทางการแก้ปัญหาให้ครูผู้สอนปรับพื้นฐานก่อนการเรียนหลักสูตร ระยะสั้น โดยนําคําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการนวดมาสอน คํายาก ๆ คําหลัก ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมาบูรณาการ การเรียนหนังสือสําหรับกลุ่มผู้ไม่รู้หนังสือ เช่น คําว่า นวดแผนไทยนวดฝ่าเท้า จรรยาบรรณ หมอนวด ลูก ประคบ เป็นต้น 2) หลักสูตรการนวดแผนไทย ( หลักสูตรนวดฝ่าเท้า 40 ชั่วโมง ) เป็นเอกสารตีพิมพ์ภาษาไทย ทั้งหมดทําให้ยากต่อการทําความเข้าใจ แนวทางการแก้ไข นําโปสเตอร์หรือเอกสารที่เน้นเป็นภาพมากกว่า ตัวหนังสือ เพื่อง่ายต่อการเข้าใจและวิทยากรผู้สอนสอนช้า ๆ กลุ่มสตรีชาวลาวคนใดที่เรียนรู้ช้าก็เน้นเป็น พิเศษ เช่น กรณีศึกษา นางหอม หน่อหล้า จะเรียนรู้ช้า วิทยากรสอนรวมทั้งหมดแล้วค่อยสอนเป็นรายบุคคล สําหรับ นางหอม หน่อหล้า เป็นพิเศษ ทําให้ นางหอม หน่อหล้า ไม่ท้อแท้และอยากจะมาเรียนให้จบ หลักสูตรเหมือนเพื่อนๆ ในกลุ่มสตรีชาวลาว 3) เวลามาร่วมกิจกรรมหลักสูตรการนวดแผนไทย ( หลักสูตร นวดฝ่าเท้า 40 ชั่วโมง ) ใช้เวลาเรียนค่อนข้างนานอาจทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวบางคนไม่สามารถมาเรียนครบ
ตามหลักสูตรได้ แนวทางแก้ไข ปรับเวลาการเรียนให้มีความยืดหยุ่น ตามความเหมาะสม กลุ่มสตรีชาวลาว บางส่วนมีการรวมกลุ่มเพื่อ ฝึกทักษะและทําให้เกิดความชํานาญเพิ่มขึ้น
จากผลการดําเนินงานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หลักสูตรการนวดแผนไทย ( หลักสูตรนวดฝ่าเท้า 40 ชั่วโมง ) เมื่อไปออกให้บริการนวดฝ่าเท้า ที่นิทรรศการ “ข่วงผญ๋า” ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาว ประสบปัญหา เนื่องจากกลุ่มประชาชนที่มารับบริการมีความนิยมการนวดแผนไทย (การนวดตัว) กลุ่มสตรีชาวลาวจึงอยาก เรียนหลักสูตรนวดแผนไทย (การนวดตัว) เพิ่มเติม
ผลการดําเนินงานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หลักสูตรการนวดแผนไทย (หลักสูตรนวดตัว 40 ชั่วโมง ) พบว่า กลุ่มสตรีชาวลาวมีการเรียนรู้ได้เร็วขึ้นเนื่องจากมีพื้นฐานการนวดฝ่าเท้ามาแล้ว อีกทั้งยังมีความตั้งใจ และสนใจในการเรียนมากขึ้น เนื่องจากต้องการนําความรู้และทักษะการนวดตัว ไปประกอบอาชีพ ทั้งอาชีพ หลักและอาชีพเสริม ก่อให้เกิดรายได้ แต่ก็มีกลุ่มสตรีชาวลาวบางส่วนที่มีปัญหาคือ การที่กลุ่มสตรีชาวลาว อุปนิสัยเป็นคนรักนวลสงวนตัว อาจมีปัญหาในการให้บริการผู้รับบริการนวดที่เป็นผู้ชาย แล้วเกิดความไม่ เข้าใจกันกับสามี นักวิจัยและกลุ่มสตรีชาวลาว หาทางออกร่วมกัน โดยกระบวนการสร้างความเข้าใจและการ ป้องกัน เช่น ไม่ไปนวดหรือให้บริการที่บ้าน หรือที่ลับตาคน หากผู้รับบริการเป็นชายก็จะให้มาใช้บริการที่ กศน.ตําบลภูซาง ซึ่งได้ปรับพื้นที่บางส่วนสําหรับบริการลูกค้าที่มานวด ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีความมั่นใจ และเป็นที่ยอมรับของคนในชุมชนและสังคมภายนอก และมีอาชีพติดตัวสามารถหาเลี้ยงตนเองได้และลดการ พึ่งพาสามีได้บ้าง
ปัญหาและอุปสรรค
1) กลุ่มสตรีชาวลาวอ่าน-เขียนภาษาไทยได้คล่องไม่เท่ากัน
2) หลักสูตรการนวดแผนไทย ( หลักสูตรนวดฝ่าเท้า 40 ชั่วโมง ) เป็นเอกสารตีพิมพ์ภาษาไทยทั้งหมด ทําให้ยากต่อการทําความเข้าใจ
3) เวลามาร่วมกิจกรรมหลักสูตรการนวดแผนไทย ( หลักสูตรนวดฝ่าเท้า 40 ชั่วโมง ) ใช้เวลาเรียน ค่อนข้างนานอาจทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวบางคนไม่สามารถมาเรียนครบตามหลักสูตรได้
4) การที่กลุ่มสตรีชาวลาวอุปนิสัยเป็นคนรักนวลสงวนตัว อาจมีปัญหาในการให้บริการผู้รับบริการ นวดที่เป็นผู้ชาย แล้วเกิดความไม่เข้าใจกันกับสามี
กิจกรรมที่จะทําต่อไป
1. ติดตามผลการนําความรู้และทักษะหลักสูตรนวดแผนไทย ไปใช้ในชีวิตประจําวันและไปต่อยอดเป็น อาชีพหลักและอาชีพเสริมต่อไป
2. บูรณการการจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้สําหรับกลุ่มผู้ไม่รู้หนังสือ เพื่อให้สอดคล้องกับกระบวน วิจัยและเหมาะสม สามารถนําไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้
ครั้งที่ 2 การจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาว เนื่องจากกลุ่มสตรีชาวลาว ขาดโอกาสทางการศึกษาไม่สามารถ อ่านออก เขียนได้ ทําให้ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ อีกทั้งการใช้ชีวิตใน สังคมค่อนข้างลําบาก เกิดการเหลื่อมล้ําทางสังคม ทาง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ได้ตระหนักและเห็นความสําคัญ จึงจัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้พื้นฐานควบคู่กับงาน อาชีพให้กับกลุ่มสตรีชาวลาว
การจัดการเรียนการสอนให้กับกลุ่มสตรีชาวลาว
ครั้งที่ 1 วันที่ 10 มกราคม 2560 เพื่อส่งเสริมความรู้ ตามสภาพชุมชนเข้มแข็ง
- การรวมกลุ่ม และการอยู่ร่วมกันในสังคม
- กฎ ระเบียบชุมชนและจิตสาธารณะ
- มีประชาธิปไตยและการปกครองส่วนท้องถิ่น
ครั้งที่ 2 วันที่ 20 มกราคม 2560เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องอาชีพนวดแผนไทย
- จรรยาบรรณและจริยธรรมสําหรับหมอนวด
- ภาคทฤษฎี คําหลัก คําใหม่ ตามหลักสูตร นวดฝ่าเท้า
ครั้งที่ 3 วันที่ 10กุมภาพันธ์ 2560 ส่งเสริมให้มีความรู้อาชีพนวดแผนไทย
- ภาคทฤษฎี คําหลัก คําใหม่ ตามหลักสูตร นําผลงานเสนอออกบริการสู่สาธารณะชน เกิดอาชีพ เสริม เพิ่มรายได้
- การเข้าสังคม การตลาด การบริการ
ครั้งที่ 4 วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องเศรษฐกิจชายแดน
- การตลาด การบริการ
- คําหลัก คําเสริมเรื่องเศรษฐกิจชายแดน
ครั้งที่ 5 วันที่ 10 มีนาคม 2560 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวัน
- คําศัพท์ทางคณิตศาสตร์ เช่น คืบ, ศอก, วา, หลา, นิ้ว, ฟุต ฯลฯ
- สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ เช่น =, ≠, +, -, ×, ÷, ›‹, ››, %
ครั้งที่ 6 วันที่ 20 มีนาคม 2560 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่อง การเพาะพันธุ์กบ
- โดยการสอนภาคทฤษฎี คําหลัก คําใหม่ และควบคู่กับการฝึกปฏิบัติ การฉีดฮอร์โมน การผสม เทียมกบ การเลี้ยงกบ
- โดยการสอนภาคทฤษฎี คําหลัก คําใหม่ ความรู้เรื่องสมุนไพรฝึกปฏิบัติการทําลูกประคบ การทํา ถุงหอม
ครั้งที่ 7 วันที่ 20 เดือนเมษายน 2560 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
- ภาคทฤษฎี คําหลัก คําใหม่ ตามหลักสูตร
- กิจกรรม อบรมร่วมกับชุมชน
ครั้งที่ 8 วันที่ 8-12 เดือนเมษายน 2560 เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องการเพาะและการขยายพันธุ์กบ
- คําหลัก คําเสริม เกี่ยวกับหลักสูตรการเพาะเลี้ยงและการขยายพันธุ์กบ
- เสริมความรู้การเลี้ยงกบตามวิถีพอเพียง แบบต้นทุนต่ํา
ครั้งที่ 9 วันที่ 10 เดือนพฤษภาคม 2560 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องเทคโนโลยีใกล้ตัว
- เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวันเครือข่ายสังคมออนไลน์
- เทคโนโลยีและภูมิปัญญาชาวบ้าน
- ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง สารเคมี สารพิษ
ครั้งที่ 10 วันที่ 20 เดือน พฤษภาคม 2560 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องคุณธรรมทําสันติสุข
- ความสุภาพ อ่อนน้อม ความซื่อสัตย์และความกตัญญู
- ความขยันและประหยัด ความสามัคคี มีน้ําใจ มีวินัย
ครั้งที่ 11 วันที่ 10 เดือนมิถุนายน 2560 เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องเปิดโลกเรียนรู้
- แหล่งเรียนรู้และการแสวงหาความรู้
- สถานที่สําคัญของชุมชน
- คิดเป็นการเรียนรู้
ครั้งที่ 12 วันที่ 20 เดือน มิถุนายน 2560 กฎหมายน่ารู้
- กฎหมายครอบครัว มรดก
- กฎหมายจราจร
- กฎหมายแรงงาน
วัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนเพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับให้กลุ่มสตรีชาวลาว มาก ยิ่งขึ้นและเพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางสังคมของกลุ่มสตรีชาวลาว
จากการจัดการเรียนการสอนเพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กลุ่มสตรีชาวลาว ในพื้นที่เป้าหมาย โดย บูรณาการงานตามภารกิจส่งเสริมการรู้หนังสือ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหลักสูตร จํานวน 12 เรื่อง ประกอบด้วย 1) เพื่อส่งเสริมความรู้ ตามสภาพชุมชนเข้มแข็ง 2) เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องอาชีพนวดแผน
ไทย 3) ส่งเสริมให้มีความรู้อาชีพนวดแผนไทย 4)เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องเศรษฐกิจชายแดน 5) เพื่อส่งเสริม ให้ความรู้เรื่องคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวัน 6)เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่อง การเพาะพันธุ์กบ 7) เพื่อ ส่งเสริมให้ความรู้ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ 8)เพื่อส่งเสริมความรู้เรื่องการเพาะและการ ขยายพันธุ์กบ 9)เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องเทคโนโลยีใกล้ตัว 10)เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องคุณธรรมทําสันติสุข
11) เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องเปิดโลกเรียนรู้และ 12)กฎหมายน่ารู้
จากกิจกรรมที่ดําเนินการจัดการเรียนการสอนที่ผ่านมา พบว่า กิจกรรมการเรียนการสอนที่กําหนด สามารถอธิบายวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ด้านการพัฒนาศักยภาพ กลุ่มสตรีชาวลาว ด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วม โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เนื่องจากกลุ่มสตรีชาวลาวมีวัฒนธรรมและสังคมที่แตกต่างจาก กลุ่มผู้ไม่รู้หนังสือกลุ่มอื่นๆ เพราะฉะนั้น หากจะจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครู กศน.อําเภอภูซาง ซึ่งเป็น นักวิจัย ต้องเอากลุ่มสตรีชาวลาวเป็นศูนย์กลางและจัดตามความสนใจและความต้องการของกลุ่ม จะทํา ให้กลุ่มสตรีชาวลาวเกิดความสนใจในการเรียนรู้และสามารถนําไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้ อย่าง แท้จริง ในทุกๆ กิจกรรมระหว่างการดําเนินงานวิจัย เนื่องจากทุกกิจกรรมต้องบูรณาการนํากระบวนการ จัดการเรียนรู้สําหรับผู้ไม่รู้หนังสือ ไปสอดแทรกเพื่อ ลดความเหลี่อมล้ําทางสังคมของกลุ่มสตรีชาวลาวที่ สอดคล้องกับวิธีชีวิตบนพื้นฐานของความรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้ง 12 สภาพ ของหลักสูตรการส่งเสริมกลุ่มไม่รู้หนังสือ เนื้อหาบางสภาพต้อง ปรับเปลี่ยนไปตามบริบทและสถานการณ์ในแต่ละพื้นที่ให้มีความเหมาะสมกับวิถีชีวิตและการนําไปปรับใช้จริง ในชีวิตประจําวัน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สําหรับกลุ่มผู้ไม่รู้หนังสือ กลุ่มสตรีชาวลาว นอกจากจะมุ่งเน้น ส่งเสริมการรู้หนังสือแล้ว ยังต้องปรับกระบวนการให้สอดคล้องกับ โจทย์ การทํางานวิจัยเพื่อท้องถิ่น เพื่อ มุ่งเน้นและหาแนวทางพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของความรู้ความสามารถ ของตนเองอย่างเต็มประสิทธิภาพ เพราะฉะนั้นกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สําหรับกลุ่มสตรีชาวลาว จึง ต้องมุ่งเน้นการพัฒนาและเพิ่มฐานความรู้เดิม ให้ทันกับยุคสมัย เหมาะสมกับยุคโซเชียลมิเดีย Thailand 4.0
จากการประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสตรีชาวลาว ใช้เทคโนโลยี เช่น line , Face Book ซึ่งช่องเป็นช่องทางใหม่ในการจัดการศึกษา และกลุ่มสตรีชาวลาวสามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ที่ตนอยาก สืบค้นได้ โดยการใช้ Application ต่างๆ เป็นภาษาไทย จึงทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวได้เรียนภาษาไทย ไปแบบไม่ รู้ตัว ทั้งสามารถอ่าน-พิมพ์ภาษาไทยได้ แต่ยังขาดทักษะ การเขียน ที่มีโอกาสใช้ในชีวิตประจําวันน้อยมาก นอกจากการมาเรียนหนังสือ ที่ กศน.ตําบล แต่การประเมินโดยรวมกลุ่มสตรีชาวลาว มีทักษะ การฟัง พูด อ่าน เขียน ดีขึ้นกว่าเดิม จนเห็นได้ชัด
ทักษะการฟัง เกิดจากการมีส่วนร่วมในกระบวนงานวิจัยในกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ทําให้ฟังเข้าใจ ได้ดีขึ้น และการพูดในที่สาธารณะอยู่บ่อย ๆ ทําให้ ทักษะการพูดก็ดีขึ้น เช่นกัน ส่วนการอ่านและเขียนก็มา จากการการใช้อินเตอร์เน็ต ในการสื่อสารในยุคโซเชียล เช่นกัน
ส่งผลให้กลุ่มสตรีชาวลาว เกิดความมั่นใจ มีความกล้าแสดงออก มีความกล้าที่จะเปิดเผยถึงปัญหา มี ความภาคภูมิใจในตนเอง ดังคํา นางออน กล่าวที่ว่า “ความฮู้สึกของขะเจ้าฮู้สึกมั่นจัยและภูมิใจที่ได้มาร่วม กิจกรรม” หลังจากที่กลุ่มสะใภ้ลาวมีโอกาสเข้ามาร่วมกิจกรรมตามกระบวนการงานวิจัย และมีโอกาสพบปะ พูดคุยตามงาน ต่างๆ เช่น จังหวัดเคลื่อนที่ หรืองาน “ข่วงผญ๋า” และสามารถดํารงชีวิตในสังคม ชุมชนได้ มี
อาชีพเสริมเพื่อช่วยลดภาระในครอบครัว เกิดความรัก ความผาสุข สะใภ้ลาวมีพื้นที่ให้เขาได้แสดงออกและมี ความภูมิใจในตัวเอง ลดความเหลี่อมล้ําทางสังคม ในการจัดกิจกรรมดังกล่าวยังพบว่าเวลาในการมาพบกลุ่มไม่ ต่อเนื่อง เพราะกลุ่มสตรีชาวลาวต้องประกอบอาชีพเพื่อการดํารงชีวิต
ครั้งที่ 3 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพตามแนวทางที่ได้ในระยะที่ 1 โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่วันที่ 28-29 มีนาคม2560 เวลา 09.00 น. – 12.00 น. ณ นิคมสหกรณ์การเกษตรตําบลเชียงแรง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
จากสภาพความเป็นอยู่ของกลุ่มสตรีชาวลาว การขาดที่ดินทํากินเกษตรกรและขาดความรู้ในการ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าในสถานการณ์ปัจจุบัน จึงได้น้อมนําพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล อดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เพื่อดําเนินการพัฒนาโดยการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดํารงชีวิต การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และการถ่ายทอดองค์ความรู้ซึ่งกันและกัน
การจัดกิจกรรมโดยนําแนวทางดังกล่าว มาเป็นหลักการพัฒนาคนให้มีคุณภาพสามารถพึ่งพาตนเองได้ เกิดความพอมีพอกิน พอมีพอใช้ มีความพอประมาณ คํานึงถึงความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตนเอง โดย อาศัยความรอบรู้ และระมัดระวังในการนําความรู้มาใช้ในการวางแผนดําเนินงาน มีสํานึกในคุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริตมีความขยันหมั่นเพียร มานะอดทน ใช้สติและปัญญาในการดําเนินชีวิตด้วยความรอบคอบ สามารถนํา ความรู้มาประยุกต์ให้เกิดผลในทางปฏิบัติ และดํารงชีวิตประจําวันทั้งต่อตนเอง ครอบครัวละชุมชน ได้อย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ร่วมคิด ร่วมทําและร่วมปฏิบัติ สามารถน้อมนําเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้อย่างสอดคล้องและ เหมาะสมจึงได้กําหนดแนวทางการวางแผนงานและบทบาทหน้าที่ของนักวิจัยในทีมวิจัยตามความสนใจ เพื่อ ความพร้อมและความต้องการที่ได้มาจากความสนใจของนักวิจัย โดยให้การดําเนินงานเป็นไปในทิศทาง เดียวกันอย่างมีคุณภาพ
โดยการออกแบบกิจกรรมสอดแทรกกับการเรียนการสอน ที่จะทําให้ได้คําตอบที่ชัดเจนในรายรับ รายจ่ายในครัวเรือนได้ และจะนําวิธีการดังกล่าวไปจัดการอบรมการทําบัญชีครัวเรือน และการฝึกปฏิบัติจริง จากรายรับรายจ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละวันของกลุ่มสตรีชาวลาว อย่างไรก็ดีกลุ่มสตรีชาวลาวมีรายรับรายจ่ายที่ แตกต่างกันออกไป จึงต้องมีการออกแบบแนวทางปฏิบัติเพื่อกลุ่มสตรีชาวลาวได้เพิ่มศักยภาพทางความคิดและ การจัดระบบตัวเองโดยการทําบัญชีครัวเรือนทุกวัน ตลอดจนมีการนําข้อมูลมาส่งเพื่อประเมินผลกลุ่มสตรีชาว ลาวว่ามีรายรับมากขึ้นหรือไม่
คิดเห็นหลังจากที่เข้ารับการอบรมแล้วมีการเปลี่ยนแปลงในชีวิตประจําวัน พอจะบรรยายมาเป็นข้อความได้
ดังนี้
นางอุษา ไทอุบล เป็นหนึ่งในกลุ่มสตรีชาวลาวที่ได้มีโอกาสเข้าร่วมอบรมในหัวข้อเรื่องการจัดทําบัญชี ครัวเรือนและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ได้กล่าวแสดงความรู้สึกและความ คิดเห็น ดังนี้
“ บัญชีครัวเรือน มองดูผิวเผินแล้วเมื่อก่อนคิดว่าไม่มีความสําคัญอะไร เป็นแค่ตัว👉นังสือแม้แต่ดิ้นยัง ไม่ได้ แต่พอได้ลองเอาเข้ามาจัดระเบียบในการใช้จ่ายเงินประจําวัน สิ่งที่ได้รับและมีค่ายิ่งกว่าเงินทอง คือ การรู้ถึงการจัดลําดับความสําคัญมากไป👉าน้อย จําเป็นมากน้อย👉รือไม่เพียงใด เ👉ล่านี้ทําใ👉้ตัวเองรู้แล้วว่า สิ่งไ👉นควรงด สิ่งไ👉นตัดทิ้งได้”
ครั้งที่ 4 อบรมการเพาะและขยายพันธุ์กบในวันที่ 28-29 มีนาคม2560 เวลา 09.00 น.–12.00 น. ณ บ้านฮวก หมู่ที่ 12 ตําบลภูซางอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
กิจกรรมที่ได้กําหนดไว้สามารถในรูปแบบของการพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่มีความสอดคล้องกับ วิถีชีวิตบนฐานของความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มประสิทธิภาพ ตลอดจนมีความเหมาะสม สามารถ นํามาพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิมที่มีองค์ความรู้อยู่แล้วและเกิดอาชีพเสริมที่สามาสร้างรายได้และเป็นความ ต้องการของกลุ่มโดยมุ่งเน้นการนําเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเพาะและขยายพันธุ์กบ เป็นกิจกรรมที่จัดอบรมในการให้องค์ความรู้การเพาะเลี้ยงกบอย่าง ละเอียดและเข้าใจง่าย เป็นไปตามบริบทของชุมชนที่กลุ่มสตรีชาวลาวอาศัยอยู่รวมไปถึงสอดคล้องกับความ ต้องการ สามารถต่อยอดองค์ความรู้เดิมที่มีอยู่แล้วให้มีความเข้าใจมากยิ่งขึ้น โดยการออกแบบกิจกรรมมุ่งเน้น ให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีอาชีพที่สร้างรายได้ ภายใต้สถานการณ์สังคมชายแดนและเป็นบุคคลที่ไม่ใช่คนไทยแต่ สามารถอยู่ในประเทศไทยโดยปกติสุขและไม่เป็นภาระของสังคมชายแดนบ้านฮวกและครอบครัว กิจกรรมนั้น ไม่ใช่เพียงแต่ให้อบรมให้ความรู้เท่านั้น แต่มีการเพิ่มเติมประสบการณ์จาการไปเรียนรู้ผลสําเร็จในการทําอาชีพ ดังกล่าว รวมทั้งต้องลงปฏิบัติจริง มีการทดสอบและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีการนําหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการเกษตรมาใช้ ในการปลูกผักไว้กินเองเพื่อลดรายจ่ายและเหลือขายเป็นการเพิ่ม รายได้ และเรียนรู้แนวทางการทําเกษตรทฤษฎีใหม่และฝึกอบรมเพื่อขยายผลสู่ชุมชนอย่างแท้จริง โดยอาศัย
ต้นทุนแหล่งเรียนรู้ในชุมชนและมีผู้รู้ที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับกลุ่มสตรีชาวลาวได้
นางสาวเจนจิรา ตัวแทนกลุ่มสตรีชาวลาวที่สะท้อนความคิดเห็นของตนเองผ่านกระบวนการอบรม เป็นข้อความที่น่าคิดไว้ว่า
“ ดิฉันเป็นกลุ่มสตรีชาวลาวเข้ามาเป็นสะใภ้ที่บ้านฮวก มีเพียงความรู้ทางด้านการเกษตร และ ความตั้งใจที่จะมุ่งมั่นทํางานให้พัฒนาชีวิตตนเองและครอบครัวให้ดีขึ้น การเพาะเลี้ยงกบเป็นกิจกรรมที่ ดิฉันภาคภูมิใจว่า การทําในสิ่งที่เราถนัด เราต้องการอยู่แล้ว มันจะสามารถเพิ่มพูนประสบการณ์ ความ ชํานาญให้กับตนเอง การลองผิดลองถูกตามกลไกของการวิจัย จนค้นพบสิ่งทีถูกต้องและเหมาะสมที่สุด”
“ทุกวันนี้ดิฉันและครอบครัว สามารถมีกบให้กินเอง แล้วยังเป็นอาชีพเสริมให้กับตัวเองโดยการ ชายลูกกบให้กับญาติพี่น้องที่อยู่ฝั่งลาวด้วย ดิฉันยังตั้งใจว่า หากมีโอกาสจะเข้าไปถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ให้กับพี่ๆ น้องที่อยู่ฝั่งโน้นให้เขาได้อยู่ดีกินดีขึ้นมาบ้าง”
ครั้งที่ 5 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพตามต่อยอดองค์ความรู้ ด้านสมุนไพรพื้นบ้านของกลุ่มสตรีชาวลาว วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 09.00 น. – 12.00 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์ บ้านฮวก หมู่ที่ 12 ครั้ง
ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยาจํานวนผู้เข้าร่วม 42 คน ประกอบไปด้วย นักวิจัย 19 คน ทีมที่ ปรึกษา 1 คน ทีมสตรีชาวลาว 12 คน และทีมกลไกสนับสนุน 10 คน เพื่อหาข้อมูลการพัฒนาศักยภาพและ การต่อยอดองค์ความรู้ของกลุ่มสตรีชาวลาว ด้านสมุนไพรพื้นบ้านของกลุ่มสตรีชาวลาว และค้นหาแนว ทางการพัฒนาศักยภาพที่เหมาะกับกลุ่มสตรีชาวลาว
จากการจัดกิจกรรมดังกล่าว ทางทีมวิจัยได้จัดกระบวนการตามขั้นตอน ดังนี้ 1) เริ่มต้นด้วยการชวน คุยเรื่องใกล้ตัวเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรม 2) แนะนําสมุนไพรที่มาทําลูกประคบ 3) แจ้งวัตถุประสงค์ในการทํา
สมุนไพรลูกประคบ 4) และการทําลูกประคบในรูปแบบถุงผ้าสี่เหลี่ยม 5) สาธิตการทําลูกประคบแบบถุงผ้า และแบบวงกลม
จากการสาธิตการทําลูกประคบด้วยสมุนไพรหลายๆชนิด พร้อมกับตั้งคําถามเพื่อให้สตรีชาวลาวได้ พูดคุยโต้ตอบ ชักถาม ในเรื่องของสมุนไพรใกล้ตัวที่สามารถปลูกเองได้ที่บ้านและนํามาตากแห้งเก็บใส่ถุงไว้เป็น ชนิดๆไปก็จะสามารถลดต้นทุนหรือการที่จะไปหาซื้อจากที่อื่น (ในกรณีทําจําหน่ายเป็นของที่ระลึก) และการ ทําลูกประคบที่มีรูปแบบที่แตกต่างกันและใช้ผ้าห่อลูกประคบที่มีสีสันผสมกับผ้าที่มีสีดําหรือสีขาวนั้นก็เป็น ทางเลือกหนึ่งของลูกค้าที่สามารถจะเลือกซื้อได้หลากหลายรูปแบบและมีสีสันสะดุดตา และสามารถทําแล้ว นําไปจําหน่ายหรือวางขายที่ร้านต่างๆใกล้บ้านก็ได้ โดยลักษณะฝากขายที่ร้านเสื้อผ้า ร้านกาแฟ หรือร้านที่ ขายของชําร่วยต่างๆ เพื่อเป็นการจําหน่ายและกระจายสินค้าในอีกรูปแบบหนึ่ง เมื่อได้อธิบายและพูดคุยชัก ถาม ก็เปิดโอกาสให้กลุ่มสตรีชาวลาวได้ชักถาม
ผลของการพูดคุยแลกเปลี่ยนกับกลุ่มสตีชาวลาวพบว่า กลุ่มสตรีชาวลาวมีความสนใจในด้านการทําลูก ประคบมากเพราะเล็งเห็นช่องทางการประกอบอาชีพที่สามารถทําและจําหน่ายได้โดยนําไปวางไว้ที่ กศน. ตําบลหรือร้านต่างๆหรือสถานที่นวดของกลุ่มสตรีชาวลาวเอง เพราะสมุนไพรที่นํามาทําไม่ได้หายากส่วนมากมี อยู่ในพื้นที่อยู่แล้ว กลุ่มสตรีชาวลาวสามารถปลูกได้ทุกชนิด และมีความรู้อยู่บ้างในเรื่องสมุนไพรต่างๆ เพราะ ครูกศน.อําเภอภูซางก็ได้อธิบายแนะนําสมุนไพรต่างๆอย่างละเอียดแล้ว และสมุนไพรที่นํามาสาธิตและเอามา ให้กลุ่มสตรีชาวลาวดูพร้อมการสาธิตนั้นล้วนแล้วเป็นพืชสมุนไพรที่รู้จักและสามารถหาได้ในพื้นที่ ใน กระบวนการสอนดังกล่าวกลุ่มสตรีชาวลาวได้รู้จักสมุนไพรแต่ละชนิด ว่ามีชื่ออะไร และรู้จักการนําสมุนไพร ทั้งหมดมาผสมอะไรบ้างถึงได้ลูกประคบแต่ละอย่างมา และทางครูผู้สอนก็สอดแทรกการเรียนรู้หนังสือเข้าไป กับการสอนทําลูกประคบหรือการสอนวิชาชีพ การสอดแทรกคําศัพท์ต่างๆเข้าไปโดยใช้กระบวนการคิดเป็น เช่น การวางสมุนไพรแต่ละชนิดไว้เรียงกันเป็นแถวๆ เพื่อให้กลุ่มสตรีชาวลาวได้เขียนชื่อสมุนไพรแต่ละชนิด นํามาติดไว้ที่ถุงพลาสติกใส เพื่อให้กลุ่มสตรีชาวลาวได้คิด อ่าน และเขียน พอติดเสร็จก็จะมาตรวจดูความ ถูกต้องของคําในภาษาไทยว่าเขียน สะกด และอ่านได้ถูกต้องหรือไม่ นี่คือการสอนวิชาชีพเพื่อให้ได้ชิ้นงานและ จัดกระบวนการเรียนการสอนเข้าไปด้วยเพื่อให้กลุ่มสตรีชาวลาวได้รับประโยชน์ทั้งการเรียนรู้ของคําใน ภาษาไทยและคิดเป็นในเชิงกระบวนการที่ครูผู้สอนต้องสอดแทรกให้ได้รับองค์วามรู้รวมถึงการคิดอย่าง สร้างสรรค์และเป็นระบบในการพัฒนาต่อยอดองค์วามรู้ด้านสมุนไพระท้นบ้านของกลุ่มสตรีชาวลาว และเป็น แนวทางหนึ่งของกระบวนคือไม่ให้กลุ่มสตรีชาวลาวหลงลืมหลากเง้าของชนชาติตัวเองว่าสมัยก่อนก็ใช้สมุนไพร แทบจะทุกตัวในการรักษาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นหรือสมุนไพรบางตัวสามารถนํามาประกอบอาหารได้ด้วย
ผลจากการจัดกิจกรรมครั้งนี้สรุปได้ว่า การเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ทําให้เห็นโอกาสที่จะทําให้วิถีชีวิตความ เป็นอยู่ดีขึ้นได้ ถ้ามีโอกาสได้ประกอบอาชีพเหล่านี้ และสามารถทําได้ทุกอาชีพ การจัดเวทีแบบการสาธิตให้ดู และให้กลุ่มสตรีชาวลาวลงมือปฏิบัติร่วมด้วยกับครูผู้สอนแบบนี้ช่วยให้กลุ่มสตรีชาวลาวได้พูดคุยและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน ที่สร้างความมั่นใจสามารถยืนอยู่ได้ด้วยตัวเองและช่วยครอบครัวได้ มีอาชีพและมีรายได้ จากการใช้ศักยภาพที่มีในตัวเอง และไม่เพิ่มภาระให้กับสังคมหรือสามีมากเกินไป
ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพโดยใช้ศักยภาพของตัวเองผสมกับการเพิ่ม ความรู้จากผู้รู้มาเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ และครูผู้สอนได้วัตกรรมใหม่โดยการนําเอาหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้สอนกับกลุ่มสตรีชาวลาวสามารถทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวนําปรับไปใช้ใน ชีวิตประจําวันได้ และกลุ่มสตรีชาวลาวอาจคิดได้อีกหลายรูปแบบให้สอดคล้องกับบริบทและกลุ่มนักท่องเที่ยว ถือเป็นการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ได้ดียิ่งขึ้นไปอีกระดับหนึ่งจากการต่อยอดการเรียนรู้ร่วมกับครูสอน สามารถลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ให้กับตัวเอง ครอบครัว ทําให้ดํารงชีวิตได้อย่างมีความสุข และยั่งยืน นอกจากนี้ ยังหลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมพบว่ารูปแบบของลูกประคบยังไม่สวยเท่าที่ควร การผูกปมเชือกลูกประคบ การ ติดสติกเกอร์ยังไม่เรียบร้อย แต่สามารถแก้ไขหรือการลงมือทําบ่อยๆเพื่อให้เกิดความชํานาญก็จะทําให้รูปแบบ การทําการพับผ้า การมัดปมผ้าสวยขึ้น การติดสติกเกอร์ก็ไม่เป็นปัญหาสามารถติดให้ดูสวยงามได้
ครั้งที่ 6 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพตามผ่านการอบรมเรื่อง ตลาดชายแดน และสิทธิมนุษยชน
ในวันที่ 16 พฤษภาคม 2560 เวลา 09.00 น. – 12.00 น. ณ หอประชุมบ้านฮวก หมู่ที่ 12 ตําบล ภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา จํานวนผู้เข้าร่วม 42 คน ประกอบไปด้วย นักวิจัย 19 คน ทีมที่ปรึกษา 1 คน ทีมสตรีชาวลาว 12 คน และทีมกลไกสนับสนุน 10 คน เพื่อให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีความรู้ ความเข้าใจใน
เรื่องเศรษฐกิจชายแดน มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสิทธิมนุษยชน และค้นหาแนวทางการพัฒนาศักยภาพที่ เหมาะกับกลุ่มสตรีชาวลาว
ในการจัดกิจกรรมนี้เป็นการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การตลาดชายแดน และสิทธิมนุษยชน โดย เชิญวิทยากรมาบรรยายให้ความรู้แก่กลุ่มสตรีชาวลาว จากผลการดําเนินกลุ่มสตรีชาวลาวให้ความสนใจเรื่องนี้ เป็นอยากมากเพราะเป็นเรื่องใกล้ตัวข้อมูลที่อบรมส่วนใหญ่จะเป็นการบรรยายเรื่องกิจการค้าชายแดนไทย – สปป.ลาว ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนไทย – สปป.ลาว จากจากข้อมูลพบว่าตามแนวชายแดน มีความ ต่อเนื่องกันมาช้านานเนื่องจากราษฎรทั้งสองฝ่ายมีความผูกพันกันตามสายเลือด เป็นญาติพี่น้องทําการค้าขาย ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคลและชุมชน จนกระทั่งรัฐบาลทั้งสองฝ่ายได้เจริญสัมพันธไมตรีต่อกัน เกิดการพัฒนา ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งในระดับท้องถิ่น และระดับประเทศ
จังหวัดพะเยา มีแนวเขตติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ตั้งแต่บริเวณ บ้านฮวก หมู่ที่ 3 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง ถึง บ้านต้นผึ้ง หมู่ที่ 16 ตําบลร่มเย็น อําเภอเชียงคํา เป็นระยะทาง ประมาณ 36 กิโลเมตร โดยมีช่องทางกิ่วหก (PB 502763) หมู่ที่ 12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา เป็นช่องทางที่ติดต่อxxxxxxxxxxxฮวก หมู่ที่ 12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา กับบ้านปางมอญเมือง คอบ แขวงไชยะบุรี สปป.ลาว เป็นที่ตั้งจุดผ่อนปรนชายแดนไทย - สปป.ลาว บ้านฮวก เป็นช่องทางที่ราษฎร ของทั้งสองประเทศ xxxxxxเดินทางติดต่อค้าขายกันได้ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 06.00 – 18.00 น. ของทุกวัน โดย ไม่มีการหยุดxxxxxxxxxและจัดตลาดนัด ทุกxxxxxx10 และ 30 ของทุกเดือน ณ บริเวณตลาด บ้านฮวก ทั้งนี้ การ ขออนุญาตเดินทาง เข้า - ออก ให้เป็นไปตามข้อตกลงxxxxxxxกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
จากการประชุมคณะกรรมการร่วมรักษาความเรียบร้อยตามแนวชายแดนไทย - สปป.ลาว และ สปป. ลาว ไทยเขตxxxxxxxxx – หงสา แขวงไชยะบุรี ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างจังหวัดพะเยา กับ แขวงไชยะบุรี ได้มี บันทึกการประชุมที่มีผลให้ทั้ง 2 ฝ่าย ต้องปฏิบัติตามหลาย ประเด็น ดังนี้
1.ให้ใช้จุดกิ่วหก เป็นช่องทางเข้า - ออก xxxxxxxxxxxฮวก หมู่ที่3 อําเภอภูซาง กับบ้านปางมอญ เมืองคอบ เวลา 08.00 -12.00 น. และ เวลา 13.00 – 17.00 น. (ปัจจุบันปรับเป็นเวลา 06.00 – 18.00 น. โดยไม่มีการหยุดxxxxxxxxx) กรณีเจ็บป่วยxxxxxxเข้า-ออกxxx xxxจํากัดเวลา แต่ต้องผ่านจุดตรวจคนเข้า - ออก ของเจ้าหน้าที่ทั้งสองฝ่าย และอนุญาตให้เฉพาะราษฎรของจังหวัดพะเยา กับราษฎรแขวงไชยะบุรี เท่านั้น ที่ ผ่านเข้าออกได้ กําหนดเวลาเข้าออกของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่เกิน 2 วัน ระยะทางหรือขอบเขตให้เข้าไป แต่ละ ฝ่ายได้ในเขตสุขาภิบาลเชียงคํา และเขตเทศบาลเมืองคอบ เท่านั้น
2. ประชาชนทั้งสองฝ่าย xxxxxxซื้อสินค้าเครื่องอุปโภคบริโภค ที่จําเป็นต่อการดํารงชีวิตในxxxxxxไม่ เกิน 30,000 กีบ หรือ 1,000 บาท ต่อหนึ่งคน ต่อหนึ่งเที่ยว โดยไม่ต้องเสียภาษี (หากซื้อเกินต้องชําระภาษี ตามกฎหมาย)
3. ทั้งสองฝ่ายจะร่วมกันในการสกัดกั้นและปราบปรามยาเสพติดบริเวณชายแดน
4. ทั้งสองฝ่ายจะให้ความร่วมมือในการรักษาหลักxxxxxxไทย – สปป.ลาว จังหวัดพะเยา – แขวงไช ยะบุรีให้อยู่ในสภาพเดิม ไม่ถูกทําลาย ให้ความรู้และดูแลประชาชนของตนให้เดินทางเข้า - ออก จุดผ่านxxx ให้ถูกต้อง
5. ทั้งสองฝ่ายเห็นชอบให้การร่วมมือและพัฒนาด้านกีฬา ศิลปวัฒนธรรม ระหว่างกัน รวมทั้งให้ความ ร่วมมือด้านสาธารณสุขมากขึ้น
6. ทั้งสองฝ่ายเห็นชอบให้ยกฐานะจุดผ่อนปรนบ้านฮวก เป็นจุดผ่านxxxxxxx และด่านประเพณีปาง มอญ เป็นxxxxxxxxxxxx โดยเห็นชอบนําเสนอรัฐบาลของแต่ละฝ่ายพิจารณา
สถานะด่านชายแดน
“จุดผ่อนปรน” เป็นจุดที่เปิดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ทางด้านมนุษยธรรม เพื่อการxxxxxxxxความxxxxxxxxในระดับ xxxxxxxx และอนุญาตให้ประชาชนทั้งสองประเทศสัญจรไปมาเพื่อซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าอุปโ ภคบริโภค ระหว่างกัน โดยกําหนดระเบียบการสัญจรไปมา ประเภทของสินค้า xxxxxxการค้า ระยะเวลาเปิดปิดจุดผ่อน ปรนมาตรกาควบคุมการเดินทางเป็นอํานาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ซึ่งเป็นไปตามข้อตกลงของทั้งสองประเทศ จุดผ่อนปรน ชายแดนไทย – สปป.ลาว บริเวณบ้านฮวก อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา เป็นจุดที่ตั้งขึ้น เพื่อ ควบคุมการเข้าออกของประชาชนทั้งสองประเทศ อยู่ในความดูแลของฝ่ายกิจการพิเศษ ที่ทําการxxxxxx อําเภอภูซางจังหวัดพะเยา ซึ่งมีนายอําเภอภูซาง เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ เพื่อให้xxxxxxxติดต่อค้าขายระหว่าง ประเทศ เป็นไปตามข้อตกลงของคณะกรรมการรักษาความสงบเรียบร้อยตามแนวชายแดนไทย-ลาว จังหวัด พะเยา, ลาว-ไทย แขวงไชยะบุรีโดยจุดผ่อนปรนแห่งนี้ ตั้งขึ้นเมื่อxxxxxx 25 มีนาคม 2536 โดยมีเจ้าหน้าที่ของ ศูนย์อํานวยการป้องกันการกระทําอันเป็นคอมมิวนิสต์ (ศอป.ปค.) อําเภอภูซาง ประจําอยู่ ณ จุดผ่อนปรน ดูแลการเข้าออกของประชาชนโดยอยู่ในการดูแลของฝ่ายกิจการพิเศษ ที่ทําการxxxxxxอําเภอภูซาง ซึ่งมี นายอําเภอภูซางเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบและเจ้าหน้าที่จากด่านศุลกากรเชียงของ จังหวัดเชียงราย ควบคุมดูแล การนําเข้าสินค้าผ่านเข้า-ออกบริเวณจุดผ่านxxx
ประโยชน์ที่จะได้รับ
การยกระดับจุดผ่อนปรนบ้านฮวกเป็นจุดผ่านxxxxxxx และด่านประเพณีบ้านปางมอน เมืองคอบ แขวงไชยะบุxxเป็นด่านxxxx จะทําให้xxxxxxxพัฒนาในด้านต่างๆ ร่วมกันระหว่างจังหวัดพะเยาและแขวงไชยะ บุรี สปป.ลาว ดังนี้
1. จะxxxxxxxขยายตัวด้านการค้า การลงทุน และการxxxxxxxxxx ผ่านจุดผ่านxxxดังกล่าวxxxxxxxขึ้น และ xxxxxxxเชื่อมโยงการค้า การลงทุน การขนส่ง การxxxxxxxxxxกับประเทศเพื่อนบ้านในอนุxxxxxxxลุ่มน้ําโขง ทั้ง สปป.ลาว xxxxxxxxx และเวียดนาม ซึ่งมีศักยภาพที่จะพัฒนาให้เป็นเส้นทางxxxxxxxxxxการxxxxxxxxxx การค้าการลงทุน การขนส่ง เพื่อรองรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในxxxxxอันใกล้ อีกทั้ง เป็นการ สนับสนุนโครงการจัดตั้งxxxxxเศรษฐกิจจังหวัดพะเยา – จังหวัดน่าน – แขวงไชยะบุรี– หลวงพระบาง – แขวงxxxxไชย
2. ประชาชนของทั้งสองประเทศ และxxxพาหนะxxxxxxสัญจรไปมาเพื่อการค้า การลงทุนxxxxxxxx การxxxxxxxxxx และอื่นๆ xxxxxสูงและสะดวกยิ่งขึ้น จะส่งผลก่อให้เกิดกิจกรรมการค้าชายแดนและการเปิดตลาด การค้าใหม่ๆ โดยเฉพาะสินค้าสิ่งทอ เครื่องอุปโภค บริโภค สินค้าการเกษตร และการบริการอื่นๆ ทําให้xxxxxx การค้าและการxxxxxxxxxxxxxxxมากขึ้น
3. พัฒนาตลาดชายแดนบ้านฮวกอําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา เป็นศูนย์กลางการค้าสินค้าและด่าน บ้านฮวกเป็น ประตูการค้า ประตูคมนาคมขนส่ง และประตูเชื่อมโยงการxxxxxxxxxxได้อย่างเป็นรูปธรรม
ในเรื่องxxxxxมนุษยชนทางกลุ่มสตรีชาวลาวได้องค์ความรู้เกี่ยวกับ บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนคือ ใคร ? ข้อมูลxxxxxxรับจากการอบรมพบว่าบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน ก็คือ บุคคลที่รัฐไทยรับฟังว่า ยัง พิสูจน์สถานะทางกฎหมายว่าด้วยxxxxxในสัญชาติxxxxxx หรือพิสูจน์ได้แล้วว่า เป็นคนต่างด้าวก็ยังส่งกลับประเทศ ต้นทางxxxxxxบัตรประเภทนี้จึงถูกออกให้บุคคลในสถานการณ์ดังกล่าวหลังจากการจัดทําทะเบียนประวัติตาม กฎหมายทะเบียนราษฎร เพื่อให้บุคคลดังกล่าวได้ใช้เป็นเอกสารรับรองตัวบุคคลในระหว่างรอการกําหนด สถานะบุคคลตามกฎหมายใหม่ หรือรอการส่งกลับออกนอกประเทศไทยสาเหตุที่รัฐไทยยอมรับออกเอกสาร รับรองตัวบุคคลให้บุคคลในสถานการณ์ข้างต้น ก็เพราะบุคคลดังกล่าวประสบปัญหาความไร้รัฐ หรือที่เรียกได้
เต็มๆ ว่า “ไร้รัฐเจ้าของตัวบุคคล (Personal State)” กล่าวคือ ไร้สถานะบุคคลตามกฎหมายสัญชาติ คนเข้า เมือง ตลอดจนการทะเบียนราษฎร
โดยกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐไทยหรือนานารัฐบนโลกจึงมีหน้าที่รับรองxxxxxในสถานะบุคคลตาม กฎหมาย (Recognition of Legal Personality) และโดยมาตรา 38 วรรค 2 แห่ง พ.ร.บ.การทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 ซึ่งแก้ไขและเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ.การทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 ซึ่งรองรับหลักกฎหมาย ระหว่างประเทศข้างต้น รัฐไทยจึงบันทึก “คนไร้รัฐ” ที่พบในประเทศไทยในทะเบียนประวัติตามกฎหมาย ทะเบียนราษฎรประเภท ท.ร.38 ก. ซึ่งทะเบียนประวัตินี้มีชื่อว่า “บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน” หรือหาก จะเรียกให้ครบถ้วนก็คือ “บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร” และผลต่อมา ก็คือ การได้รับบัตร ประจําตัวบุคคลตามกฎหมายทะเบียนราษฎรไทยที่มีชื่อว่า “บัตรบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร”
เอกสารที่รัฐxxxxxxออกในคนไร้รัฐ หรือ “บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน” xxxxxxรับการบันทึกใน ทะเบียนราษฎรของรัฐไทย ถูกกําหนดรูปแบบไว้ใน xxxxxxxสํานักทะเบียนกลางว่าด้วยการสํารวจและจัดทํา ทะเบียนสําหรับบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน พ.ศ. 2548 ดังนั้น ผู้ที่ถือบัตรนี้จึงไม่ไร้รัฐ และเป็นบุคคลที่มี สถานะทางทะเบียนราษฎรตามกฎหมายไทยที่เกี่ยวข้อง
บุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียนมีxxxxxอย่างใดในประเทศไทย
1. ในเรื่องxxxxxมนุษยชนขั้นพื้นฐานนั้นไม่มีปัญหา
- มีxxxxxในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ตามมาตรา 4 แห่งxxxxxxxxxxแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.
2550
- มีxxxxxทางการศึกษา เรียนได้ จบได้xxxxxxxศึกษา
- มีxxxxxxxxรับรักษาพยาบาลได้ แต่ยังxxxxxxหลักประกันสุขภาพแบบบังคับ แต่อาจใช
หลักประกันสุขภาพทางเลือก
- มีxxxxxทํามาหาxxxxxxxxxได้
- มีxxxxxเดินทางเพื่อการศึกษาและรักษาพยาบาล
2. xxxxxในการรับรองสถานะบุคคลตามกฎหมายที่เหมาะสม
- หากมีข้อเท็จจริงฟังว่า มีสัญชาติไทย ก็ร้องขอพิสูจน์สัญชาติไทยได้
- หากมีข้อเท็จจริงว่า เป็นคนต่างด้าวxxxxxxได้รับอนุญาตให้เข้าเมืองและอาศัยอยู่อย่างถูก กฎหมาย ก็ร้องขอxxxxxดังกล่าวได้
- ในระหว่างที่ยังมีสถานะบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน ก็ไม่มีสถานะของคนไร้รัฐแล้ว เพราะมีxxxxxในสถานะบุคคลตามกฎหมายการทะเบียนราษฎรไทยแล้ว เพียงแต่ในขณะรอการกําหนดxxxxxใน สถานะบุคคลที่เหมาะสมต่อไป ก็ยังมีสถานะเป็นคนที่เข้าเมืองผิดกฎหมาย แต่ได้รับการผ่อนผันให้xxxxxอาศัย ในประเทศไทยในพื้นที่xxxxxxรับการทําทะเบียนประวัติ ก็คือ พื้นที่ที่ระบุในบัตร โดยสรุป มีสถานะเป็นราษฎร ไทยประเภทxxxxxxชั่วคราว แม้จะยังไร้สัญชาติและไร้สถานะคนเข้าเมืองที่ชอบด้วยกฎหมาย
3. xxxxxในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
- มีxxxxxทํางาน แต่ต้องขออนุญาต และต้องไม่ทําอาชีพที่สงวนให้คนสัญชาติไทย
- มีxxxxxลงทุนประกอบธุรกิจ แต่ต้องขออนุญาต และต้องไม่ทําธุรกิจที่สงวนให้คนสัญชาติไทย
- xxxxxxxxxxxxxxxxxx จึงซื้อเช่าหรือทํานิติกรรมตามกฎหมายเอกชนเกี่ยวกับทรัพย์สินได้ แต่xxx xxxมีกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์
- ดังนั้น ซื้อบ้านได้ แต่ถือครองกรรมสิทธิ์ในบ้านxxxxxx
- ซื้อรถได้ และถือครองกรรมสิทธิ์ในรถได้ เพราะรถมิใช่อสังหาริมทรัพย์ แต่ในความเข้าใจ ของสภาความมั่นคงแห่งชาติและกรมการขนส่งทางบกยังมีปัญหาซึ่งในขณะนี้ มีข้อเรียกร้องของเอนจีโอให้มี การยกร่างกฎมายในระดับกฎหมายxxxxxxให้เป็นที่เข้าใจต่อสาธารณชน
- มีxxxxxในการเดินทางเพื่อประกอบอาชีพ แต่ต้องขออนุญาต
4. xxxxxในการเข้าร่วมทางการเมือง
- ไม่มีxxxxxเข้าร่วมทางการเมืองเลย
- ถ้าเข้าร่วม ก็จะมีโทษทางอาญา
5. xxxxxในการกระบวนการยุติธรรม
- มีxxxxxxxxxคดีทั้งแพ่ง พาณิชย์ อาญา xxxxxx
- มีโอกาสถูกฟ้องเป็นจําเลยทั้งในคดีแพ่ง พาณิชย์ และอาญา แต่ก็มีxxxxxในกระบวนการ ยุติธรรมอย่างxxxxxxx กล่าวคือ อาจร้องขอทนายความจากศาล ศาลต้องรับฟังคําให้การแก้ฟ้อง อย่างเท่าเทียมกับคนที่มีสัญชาติ
- จะถูกจําxxxเพราะไม่ชําระหนี้ทางสัญญาxxxxxx ในการจัดกิจกรรมตามแนวทางการวางแผนงานในการจัดอบรมเรื่องอบรมให้ความรู้เบื้องต้นการตลาด
ชายแดน กฎหมายใกล้ตัว และxxxxxมนุษยชนxxxxxxxxxรับของกลุ่มสตรีชาวลาว เห็นได้ว่าประเด็นเรื่องxxxxx มนุษยชนนั้นมีความสําคัญมากและประเด็นที่ควรมุ่งศึกษาทําความเข้าใจอย่างลึกซึงบนพื้นฐานของกฎหมาย และการxxxxxxxxกันในสังคมที่มุ่งไปสู่ประชาธิปไตยและพัฒนาสังคมให้มีความสงบสุขและเจริญต่อไป
นางบัวลอย พรมเวช แสดงออกทางมุมมองของประสบการณ์ในเวทีเสวนาถึงxxxxxมนุษยชนและการค้า ชายแดนที่เป็นพื้นฐานและความต้องการของกลุ่มสะใภ้ลาว ไว้ว่า
“👉นูเคยคิดว่า ในประเทศไทย👉นูxxไม่มีสิทธิ์ ไม่มีเสียง ในเรื่องใดๆทั้งสิ้น แต่xxxxxx👉นูรู้แล้วว่า👉นูยังมีค่า ของคําว่าxxxxxx xxxxxxxx👉นูควรมีมันติดตัวมาตั้งแต่👉นูเกิดแล้ว ไม่ว่าจะอยู่แ👉่ง👉นใด”
ตามสภาพเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว แต่ด้วยสภาพพื้นที่ของบ้านฮวกนับว่ามีความได้เปรียบxxxx xxxตั้งทางxxxxxxxxxx และตลอดจนคุณภาพของสินค้าก็ได้รับการยอมรับในประเทศเพื่อนบ้านด้วยxxxxกัน สิ่งที่ ต้องคํานึงถึงคือ ข้อจํากัดและอุปสรรคต่างๆ xxxxxxส่งผลกระทบต่อการค้าชายแดน ไม่ว่าจะเป็นปัญหา ความxxxxxxxxระหว่างประเทศและความไม่สงบตามแนวชายแดนซึ่งอาจนําไปสู่การปิดจุดผ่านxxxบ่อยครั้ง หรือแม้แต่xxxxxxxxxxเกิดจากกฎxxxxxxxและขั้นตอนการชําระเงิน ปัญหาด้านการขนส่งสินค้าและเกิดจากตาม การบริหารจัดการด่าน ซึ่งเหล่านี้ถือเป็นความเสี่ยงและความxxxxxxxxxต้องxxxxxและเตรียมพร้อมรับมือใน การตลาดชายแดน
กิจกรรมที่ 4 วิเคราะห์ผลxxxxxxจากการดําเนินงานทั้งในเชิงเนื้อหา และกระบวนการในมุมของการ พัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาวที่เกิดขึ้น มุมของ กศน.อําเภอภูซางว่าครูและบุคลากรมีการมีการ เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด xxxxxxนํามาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างไรจํานวน 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 วันที่ 25 พฤษภาคม 2560 พ.ศ.2560 เวลา 08.00 น. – 12.00 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์ บ้านฮวก หมู่ที่12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา จํานวนผู้เข้าร่วม 42 คน ประกอบไปด้วย นักวิจัย 19 คน ทีมที่ปรึกษา 1 คน ทีมสตรีชาวลาว 12 คน และทีมกลไกสนับสนุน 10 คน เพื่อนําผลที่ได้จากจัด กิจกรรมมาวิเคราะห์ และกําหนดเป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพการดําเนินชีวิต เพื่อขยายผลสู่กลุ่มสตรี ชาวลาว
ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ ทีมวิจัยได้จัดกระบวนการวิเคราะห์ผลที่ได้จากการดําเนินงานตามขั้นตอน ดังนี้ 1) จัดเวทีให้ตัวแทนกลุ่มสตรีชาวลาวได้เล่าถึงกิจกรรมที่ผ่านมาว่ามีกิจกรรมอะไรที่เราทําไปแล้วบ้างและ
ผลตอบรับเป็นอย่างไร 2) คณะครูแบ่งกลุ่มกลุ่มสตรีชาวลาวออกเป็น 2 กลุ่มเพื่อให้กลุ่มสตรีชาวลาววิเคราะห์ ข้อดีข้อเสียของกิจกรรมที่ผ่านมาภายใต้ 4 ฐาน ได้แก่ ฐานเศรษฐกิจ ฐานสังคม ฐานการศึกษา ฐานวัฒนธรรม ผ่านเครื่องมือ Mind Map หลังจากนั้นให้กลุ่มสตรีชาวลาวออกมานําเสนอ ข้อดีข้อเสียของกิจกรรมที่ตนได้รับ
ผลการการแลกเปลี่ยนพูดคุยพบว่า ในฐานเศรษฐกิจในเรื่องของการอบรมเศรษฐกิจพอเพียงกลุ่มสตรี ชาวลาวเริ่มมองต้นทุนที่ตัวเองมีอยู่มากขึ้นหลังจากที่ได้รับการอบรม สามารถนําความรู้มาประยุกต์ให้เกิดผล ในทางปฏิบัติ และดํารงชีวิตประจําวันทั้งต่อตนเอง ครอบครัวละกลุ่มสตรีชาวลาว ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผลสูงสุดให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ร่วมคิด ร่วมทําและร่วมปฏิบัติ สามารถน้อมนําเอา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้อย่างสอดคล้องและเหมาะสม ในส่วนของ ข้อเสียนั้นกลุ่มสตรีชาวลาวมองว่าการนําเอาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจําวันนั้นไม่ ก่อให้เกิดผลเสียใดๆแต่ว่าการที่จะนํามาปรับใช้ได้มากหรือน้อยนั้นก็แล้วแต่บุคคลว่าความพอเพียงของตนเอง นั้นเป็นอย่างไร ความพอเพียงของคนหนึ่งอาจจะไปพอเพียงสําหรับอีกคนหนึ่งก็เป็นได้ กิจกรรมการอบรมการ เพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์กบ กิจกรรมนี้กลุ่มสตรีชาวลาวได้องค์ความรู้เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงและการผสม พันธุ์ ตั้งแต่การเริ่มคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ที่จะนํามาผสม การอนุบาลลูกอ๊อด การอนุบาลลูกกบ และการจําหน่าย นางอุษา ไทยอุบล ซึ่งเป็นคนสะท้อนเรื่องนี้กล่าวว่า “เริ่มแรกก่อนที่จะทําไม่มีองค์ความรู้เกี่ยวกับการ เพาะเลี้ยงและการขยายพันธุ์กบเลย จนได้รับการอบรมคุณครูบอกว่า เราสามารถเรียนรู้ไปทําไปได้ ณ ตอนนี้ ดิฉันสามารถเพาะเลี้ยงลูกกบส่งขายใ👉้กับกลุ่มสตรีชาวลาวและประเทศเพื่อนบ้านได้ โดยการ เรียนรู้ไปทําไป แล้วมีปัญ👉าก็แก้ปัญ👉าโดยการสอบถามผู้รู้ ครู ทําใ👉้ดิฉันเกิดการเรียนรู้ไปโดยไม่รู้ตัว” ในส่วนของข้อเสียนั้น การเพาะเลี้ยงกบและการขยายพันธุ์กบต้องมีเวลาเอาใจใส่มากเพราะเป็นเรื่องละเอียดอ่อน บางคนไม่มีเวลาให้ อาจทําไห้ลูกกบไม่ได้ผลผลิตเท่าที่ควรหรือตายได้
กิจกรรมการนวดแผนไทย กลุ่มสตรีชาวลาวมีองค์ความรู้ในเรื่องของการนวดฝ่าเท้า นวดตัว มีทักษะสามารถ ประกอบอาชีพ ทําให้มีรายได้มาจุนเจือครอบครัว เกิดการยอมรับในชุมชน มีความภาคภูมิใจ นางวัน จันทะ วงศ์ หนึ่งในสมาชิกกลุ่มกล่าวว่า “👉ลังจากที่ได้ฝึกอบรมนวดดิฉันได้นําไปฝึกปฏิบัติที่บ้านโดยใ👉้สามีเป็น👉ุ่นใน การฝึก ทําใ👉้ดิฉันมีทักษะการนวดที่ดีขึ้นและอีกอย่างสามีดิฉันก็เวลาไปทํางาน👉นักๆมาชอบใ👉้ดิฉันนวดใ👉้ ทํา ใ👉้ความสัมพันธ์ของสถาบันครอบครัวแน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น” ส่วนของข้อเสียนั้นต้องใช้เวลานานในการฝึกทักษะ กว่าจะชํานาญได้ ต้องฝึกฝนอย่างสม่ําเสมอ ฐานการศึกษา การจัดการศึกษาสําหรับผู้ไม่รู้หนังสือ ทําให้กลุ่ม สตรีชาวลาวเข้าถึงการศึกษาลดโอกาสความเหลื่อมล้ําในสังคม มีทักษะการอ่าน การเขียน มากยิ่งขึ้น ข้อเสีย
เวลาที่จะมาพบกลุ่มไม่ค่อยตรงกันเนื่องจากต้องประกอบอาชีพ ฐานวัฒนธรรม การทําลูกประคบถุงหอม สมุนไพร ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวนําองค์ความรู้ภูมิปัญญา มาประยุกต์ให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ แต่ยังคงซึ่ง ภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาอย่างช้านาน สามารถสร้างรายได้เสริมให้กับกลุ่มข้อเสีย สมุนไพรบางตัวไม่มีทุ ก ฤดูกาล สินค้ายังไม่เป็นที่รู้จักเท่าที่ควร ฐานสังคม การอบรมการค้าชายแดน สิทธิมนุษยชน ทําให้ชุมชนมี สามารถเอาองค์ความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจําวันไม่ว่าจะเป็นทางด้านค้าขาย การเดินทาง ด้าน สาธารณสุข การประกอบอาชีพ สิทธิที่ตนเองได้รับและข้อควรระวังต่างๆ
จากผลการดําเนินงานทําให้เราได้ทราบว่าเราได้ทํากิจกรรมอะไรไปบ้าง และแต่ละกิจกรรมมีข้อดี ข้อเสียอย่างไร กิจกรรมไหนทําแล้วประสบผลสําเร็จและกิจกรรมไหนทําแล้วไม่ประสอบผลสําเร็จเท่าที่ควรทํา ให้กลุ่มสตรีชาวมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปด้วยกัน
ทีมวิจัยต้องร่วมกันกําหนดแนวทางในการพัฒนาศักยภาพเพื่อขยายผลสู่ชุมชนอื่นต่อไป
ครั้งที่ 2 วันที่ 15 มิถุนายน 2560 พ.ศ.2560 เวลา 08.00 น. – 12.00 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์ บ้านฮวก หมู่ที่12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา จํานวนผู้เข้าร่วม 42 คน ประกอบไปด้วย นักวิจัย
19 คน ทีมที่ปรึกษา 1 คน ทีมสตรีชาวลาว 12 คน และทีมกลไกสนับสนุน 10 คน เพื่อวิเคราะห์การ เปลี่ยนแปลงในมุมของ ครู กศน. สตรีชาวลาว และนําผลที่ได้จากจัดกิจกรรมมาวิเคราะห์ และกําหนดเป็น แนวทางในการพัฒนาศักยภาพการดําเนินชีวิต เพื่อขยายผลสู่กลุ่มสตรีชาวลาว
ในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ทีมวิจัยได้จัดกระบวนการดังนี้ 1) คณะครูได้ทบทวนกิจกรรมครั้งที่ผ่านมา ให้กับกลุ่มสตรีชาวลาวได้รับทราบ 2) จากนั้นให้แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อย 2 กลุ่ม คละกันระหว่างครู กศน.และ กลุ่มสตรีชาวลาว ช่วยกันอภิปรายในมุมมองของครู กศน. มุมมองของกลุ่มสตรีชาวลาว และแนวทางในการ พัฒนาศักยภาพ 3) ให้แต่ละกลุ่มออกมานําเสนอโดยมีคนประมวลภาพรวม 1 คน 4) หลังจากนั้นก็ให้คน ประมวลภาพรวมมาสรุปแนวทางในการพัฒนาศักยภาพให้ทุกคนรับทราบ
จากผลการจัดกิจกรรมพบว่า ในมุมมองของครู กศน. มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นทํา ให้ทุกครั้งที่ลงเวทีจัดกิจกรรมทุกคนต่างรู้หน้าที่ของตนเอง มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนให้หน้าที่ ทําให้ ครู กศน. ทําหน้าที่ในแต่ละเวทีต่างออกไป เพื่อเป็นการฝึกให้เข้าใจถึงกระบวนการการทํางานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ฝึกให้ครู กศน.มีความกล้าที่จะทําในสิ่งที่ไม่เคยทํามาก่อน สามารถนํากระบวนการเรียนรู้แบบงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นไป บูรณาการการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษาให้สูงขึ้น ครูยังได้กระบวนการเรียนการสอน (นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน) รูปแบบใหม่ เพื่อ ประยุกต์ใช้กับกลุ่มผู้ไม่รู้หนังสือ เช่น การใช้สัญลักษณ์ แทนการเขียนตัวหนังสือ โดยกระบวนการนี้ทําให้ นักวิจัยชุมชนมีส่วนร่วมในกระบวนการมากยิ่งขึ้น ครูมีทัศนคติที่ดีต่องานวิจัย มีเทคนิคในการจับประเด็นจาก การใช้เครื่องมือ เช่น การอัดเสียง และการถ่ายภาพเข้ามาช่วยในการเขียนบันทึกได้ดีขึ้น และเชื่อว่า การฟัง ข้อมูลที่ซ้ําๆสามารถได้มาซึ่งคําตอบที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ต้องบันทึกตามประเด็นที่ออกแบบไว้ ครูยังได้ความรู้ใน การเลือกใช้เครื่องมืองานวิจัยเพื่อท้องถิ่นเพื่อให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละพื้นที่ ครูสามารถเข้าใจและ เข้าถึงชุมชนได้อย่างแท้จริง
มุมมองของกลุ่มสตรีชาวลาวเกิดการเรียนรู้ในกระบวนการวิจัยมากยิ่งขึ้น รู้ว่าวิจัยคือ อะไร มี กระบวนการอย่างไร ทําเพื่ออะไร และในขั้นตอนการดําเนินงานนักวิจัยชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้ เกิด กระบวนการคิด มีการเปลี่ยนแปลงที่กล้าแสดงออกมากยิ่งขึ้น กล้าที่จะแสดงความคิดเห็น กล้าที่จะเสนอข้ อ โต้แย้งที่ตัวเองคิดว่าผิดหรือถูกมีความมั่นใจในตนเอง นอกจากนั้นนักวิจัยชุมชนยังได้เกิดกระบวนการเรียนรู้ใน รูปแบบใหม่ ไม่ใช่เพียงแค่การอ่านออกเขียนได้ แต่เป็นการเรียนรู้การใช้สัญลักษณ์แทนการเขียนหนังสือ กลุ่ม
สตรีชาวลาวตื่นตัวที่ได้รับการศึกษามากขึ้น และยังได้รับการแก้ไขปัญหาที่ตรงกับความต้องการของตนเอง เกิด นักวิจัยชุมชนที่มีทักษะ กระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหาที่เป็นขั้นตอน มีอาชีพที่มั่นคงสร้างรายได้ให้กับ ตนเองและครอบครัว มีความภาคภูมิใจในการมีตัวตนของตังเอง ได้รับการยอมรับจากชุมชน
มุมมองแนวทางการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาวของทั้ง 2 กลุ่มสรุปได้ 5 ประเด็น ดังนี้คือ
1. สืบค้น รวมรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของสตรีชาวลาวในพื้นที่เป้าหมาย คือการสืบค้นองค์ความรู้ ข้อมูลพื้นฐาน วิถีชีวิต การประกอบอาชีพ ประเพณี วัฒนธรรม การอพยพ ที่อยู่ อาศัย สาเหตุที่เข้ามาอยู่ในประเทศไทย ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมดเพื่อนํามาออกแบกิจกรรมพัฒนาศักยภาพ
2. การพัฒนาศักยภาพในฐานเศรษฐกิจ จะเน้นเรื่องการพัฒนาอาชีพที่ตอบสนองความต้องการของ กลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้องและเหมาะสมกับพื้นที่ชายแดนเพื่อรองกับการเปิดด่านถาวรและการเปลี่ยนแปลง ทางด้านพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษในอนาคต
3. การพัฒนาศักยภาพในฐานการศึกษาจะเน้นการบูรณาการการศึกษา การรู้หนังสือภาษาไทย กา อ่านออกเขียนได้ในทุกกิจกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มสตรีชาวลาวและให้กลุ่มสตรีชาวลาว เข้าใจและเข้าถึงได้ง่ายมากที่สุด
4. การพัฒนาศักยภาพในฐานสังคมเน้นการยอมรับ การมีส่วนร่วมกับชุมชน การให้ความรู้เรื่องสิทธิ ของตนเอง การตลาดชายแดน เพื่อให้กลุ่มมีความตระหนักในสถานะของตนเองและสามารถปรับตัวอยู่ใน สังคมได้อย่างภาคภูมิใจ
5. การพัฒนาศักยภาพในฐานวัฒนธรรม จะเน้นเรื่องภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาจากสมัยก่อน เช่น สมุนไพรพื้นบ้าน การแต่งกาย ภาษา ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีอัตลักษณ์ในตัวเอง
จากแนวทางการพัฒนาศักยภาพดังกล่าวทีมวิจัยจะนําไปสังเคราะห์ผ่านเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนองค์ ความรู้และขยายผลการดําเนินงานเพื่อต่อยอดแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาวต่อไป
กิจกรรมที่ 5 สังเคราะห์ผ่านเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และขยายผลการดําเนินงานเพื่อต่อยอด แนวทางในการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาว (หมายถึงเวทีแลกเปลี่ยนหน่วยงานปกครอง กลุ่มสตรีชาว ลาว และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในมุมมองของผลการดําเนินงานที่ผ่านมาที่ประสอบผลสําเร็จและสามารถขยาย ผลให้กับกลุ่มสตรีชาวลาว หรือ หมู่บ้านอื่นที่มีบริบทคล้ายกัน ในลักษณะของกลุ่มสตรีชาวลาวกับกลุ่มสตรีชาว ลาว เพื่อกําหนดเป็นแนวทางในการพัฒนาแบบยั่งยืน)
วันที่ 12 กรกฎาคม 2560 พ.ศ.2560 เวลา 08.00 น. – 12.00 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านฮวก หมู่ที่12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา จํานวนผู้เข้าร่วม 62 คน ประกอบไปด้วย นักวิจัย 19 คน ทีมที่ปรึกษา 1 คน ทีมสตรีชาวลาว 22 คน และทีมกลไกสนับสนุน 10 คน หน่วยงานในพื้นที่ 10 คน เพื่อ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้โดยผ่านเวทีเสวนา ส่งเสริมการแสดงอัตลักษณ์ของกลุ่มเป้าหมายใน 4 ฐาน ประกอบด้วย ฐานสังคม ฐานวัฒนธรรม ฐานเศรษฐกิจ และฐานการศึกษา และเผยแพร่อัตลักษณ์ของ กลุ่มเป้าหมายต่อกลุ่มสตรีชาวลาว และสังคม อันจะเป็นการสร้างความตระหนักและความภาคภูมิใจ
จากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ได้จัดกระบวนการในรูปแบบเวทีเสวนาโดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1) ให้ พิธีกรแนะนําเครือข่ายที่เข้าร่วมกิจกรรมว่ามีส่วนไหนเข้าร่วมบ้าง 2)รับชม VTR สรุปผลการดําเนินงานที่ผ่าน มา 3) จัดเวทีเสวนา โดยมีครู 1 คนดําเนินรายการและตัวแทนแต่ละภาคส่วนร่วมกันเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในประเด็นงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นเพื่อแก้ปัญหาของชุมชน
จากผลการดําเนินงานพบว่าคณะครู กศน.สามารถเล่าถึงกิจกรรมที่ผ่านมาให้กับตัวแทนแต่ละภาค ส่วนได้รับทราบถึงผลการดําเนินงานตั้งแต่เริ่มต้นโครงการว่ามีการการดําเนินการตั้งแต่การทําความเข้าใจกับ
กลุ่มสตรีชาวลาวเมื่อกลุ่มสตรีชาวลาวเห็นความสําคัญของการวิจัยและสนใจร่วมกระบวนการวิจัย ดังนั้นจึงเริ่ม การค้นหาโจทย์วิจัยที่มาจากปัญหาและความต้องการของกลุ่มสตรีชาวลาวจริงๆการค้นหาปัญหาชุมชนการ ระดมสมอง การค้นหาศักยภาพชุมชน มีการจัดลําดับความสําคัญของปัญหา เมื่อได้โจทย์วิจัยเป็นที่เรียบร้อย แล้ว ทีมวิจัยได้มีการสืบค้นองค์ความรู้และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบริบทของชุมชน ข้อมูลพื้นฐาน ในแต่ละครั้งที่ ทีมวิจัยลงไปสืบค้นข้อมูลก็จะมีเครื่องมือในการสืบค้น เครื่องมือนี้สามารถสอนให้ชุมชนรู้จักตนเองและเข้าถึง ข้อมูลมากยิ่งขึ้นในแต่ละครั้งคณะครูก็จะมีการสอดแทรกการเรียนการสอนผ่านเครื่องมืองานวิจัยเพื่อท้องถิ่น เข้าไปด้วยเช่น การสะกดคํา การใช้สัญลักษณ์แทนการเขียน การคํานวณตัวเลข เรื่องแผนที่ เป็นต้น หลังจากที่ ทีมวิจัยมีข้อมูลเสร็จแล้วทีมวิจัยก็นําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ผลและออกแบบเป็นกิจกรรมพัฒนาศักยภาพ 4 ด้าน ได้แก่ มิติทางสังคม มิติทางเศรษฐกิจ มิติทางการศึกษา มิติทางวัฒนธรรม จากนั้นเราก็ได้ดําเนินตาม กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพโดยบูรณาการแผนงานโครงการของ กศน.อําเภอภูซาง ไม่ว่าจะเป็นการนวดแผน ไทย การอบรมเศรษฐกิจพอเพียง การเพาะเลี้ยงกบ การทําลูกประคบสมุนไพร ถุงหอมสมุนไพร การอบรม การค้าชายแดน สิทธิมนุษย์ชน การจัดการศึกษาสําหรับผู้ไม่รู้หนังสือจากนั้นเรามีการติดตามประเมินผลเป็น ระยะทําให้เราได้แนวทางในการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาวโดยการมีส่วนร่วมของกลุ่ม กลุ่มสามารถ นําองค์ความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดในชีวิตประจําวันได้ มีการบวนการคิดเพิ่มมากขึ้น มีความกล้าแสดงออก มีความมันใจและภาคภูมิใจมากยิ่งขึ้น นางวัน จันททะวงศ์ ตัวแทนกลุ่มสตรีชาวลาว กล่าวว่า “จากที่ได้ร่วม เป็นทีมวิจัยร่วมกับครู กศน. ทําใ👉้ตัวเองพัฒนาขึ้นใน👉ลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา ที่ทําใ👉้ตัวเองอ่าน ออกเขียนได้ ตอนนี้สามาสอนการบ้านลูกได้ และในอนาคตก็จะสอนลูกใ👉้อ่านเขียนภาษาลาวด้วย ด้านอาชีพ ก็ได้นําเอา👉ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาดําเนินชีวิตไม่ว่าจะเป็นการปลูกผักไว้กินเอง การไม่ใช้จ่าย ฟุ่มเฟือย การเลี้ยงกบไว้เพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ในครัวเรือน การนวดที่สามารถทําเป็นอาชีพเสริม👉ลังจาก ทําการเกษตรซึ่งเป็นอาชี👉ลักอยู่แล้วทําใ👉้มีรายได้มาจุนเจือครอบครัวอีกทาง👉นึ่ง เป็นต้น นอกจากนั้น งานวิจัยยังสอนใ👉้เรายอมรับฟังความคิดเ👉็นของผู้อื่น การเป็นผู้นํา การแสดงถึงอัตลักษณ์อันดีงานไม่ใ👉้เลือน
👉ายไป ทําใ👉้คนในชุมชนยอมรับการมีตัวตนของเราค่ะ” ตัวแทนของภาคส่วนต่างๆร่วงแสดงความคิดเห็นว่า
ในปัจจุบันการที่เราจะแก้ไขปัญหาต่างๆได้อย่างยังยืนนั้นต้องเกิดจากคนในชุมชนเห็นว่านั้นคือปัญหาร่วมกัน และชุมชนจะต้องเป็นผู้แก้ปัญหานั้นด้วยตนเองภายใต้กระบวนการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบมันถึงจะยั่งยืน งานวิจัยเพื่อท้องถิ่นเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่สามารถทําให้ชุมชนเข้าถึงปัญหาอย่างแท้จริงและถูกจุด เป็น กระบวนการที่พัฒนาคนให้มีมีกระบวนการคิดที่เป็นระบบ สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคน องค์ หน่วยงานของรัฐให้เข้ามาทํางานร่วมกันภายใต้วัตถุประสงค์เดียวกันได้ นอกจากนี้ยังทําให้ชุมชนเกิดความ เข้มแข็งในตัวเองขึ้น ชุดข้อมูลหรือองค์ความรู้ที่ออกมาสามารถนําไปเป็นข้อมูลในการทําแผนพัฒนาในพื้นที่ ชายแดนให้สอดคล้องและเหมาะสมมากยิ่งขึ้น ข้อมูลบางส่วนเกี่ยวข้องกับความมั่นคงภายในประเทศอีกหน่อย ข้อมูลชุดนี้อาจจะนําไปสู่การแก้ไขปัญหาในพื้นที่ชายแดนที่มีความเหลื่อมล้ํา การลักลอบเข้าประเทศอย่างผิด กฎหมาย ยาเสพติด ฯลฯ เป็นต้น
งานวิจัยเพื่อท้องถ้าสามารถขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ จะเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็น ระบบและยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายเป็นการพัฒนาคนให้มีองค์ความรู้ กระบวนการคิด เป็นการ แก้ปัญหาที่ถูกจุดและตรงกับความต้องการของประชาชน ถ้าคนถูกพัฒนา หน่วยงาน องค์กร ก็จะพัฒนาตาม ไปด้วยเช่นกัน
กิจกรรมที่ 6 สรุปบทเรียนการดําเนินงานระยะที่ 2 และจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ์
ครั้งที่ 1 วันที่ 15 สิงหาคม 2560 เวลา 09.00 น. – 12.00 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์ บ้านฮวก หมู่ที่
12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา รวมทั้งหมด 30 คน ทีมวิจัย 19 คน ที่ปรึกษา 1 คน ทีมกลไก สนับสนุน 10 คน เพื่อสรุปบทเรียนของการจัดกิจกรรมผลดําเนินงานที่ผ่านมา
จากกิจกรรมดังกล่าวทีมวิจัยได้จัดกระบวนการดังนี้ 1) จัดเวทีให้ตัวแทนครูและชุมชนออกมาเล่าถึง
บทเรียนที่ได้รับระว่างทํางานวิจัยตั้งแต่ระยะที่ 1 ถึงระยะที่ 2 โดยมีครูหนึ่งคนเป็นผู้นําตั้งคําถามคอยกระตุ้น
2) ให้ครูหนึ่งคนคอยสรุปประเด็นสําคัญใส่กระดาษบรู๊ฟ 3) นําเสนอบทเรียนที่ได้รับให้กลุ่มสตรีชาวลาวได้ร่วม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ผลของการดําเนินงานพบว่า ครู กศน.ได้เล่าถึงกระบวนการการมีส่วนร่วมของชุมชน ปัญหาที่กลุ่ม สตรีชาวลาวเป็นผู้คนพบและสามารถแก้ปัญหานั้นได้ตัวศักยภาพของกลุ่มเองนั้นคืองานวิจัยเพื่อท้องถิ่น กระบวนการมีส่วนร่วมในการสืบค้นข้อมูล องค์ความรู้ แนวทางการแก้ไขปัญหา ทําให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างครู กศน.และกลุ่มสตรีชาวลาว บทเรียนที่ผ่านมาทําให้ครู กศน.เข้าถึงกลุ่มสตรีชาวลาวมาก ยิ่งขึ้น รับรู้และเข้าใจถึงปัญหาที่แท้จริง ครูมีการกลับมาทําการบ้านว่าทําอย่างไรที่จัดการศึกษาที่เหมาะสมให้ กลุ่มสตรีชาวลาวกลุ่มนี้ ได้เรียนรู้ไปควบคู่กับการประกอบอาชีพโดยไม่ส่งผลกระทบต่อการ ดําเนิน ชีวิตประจําวัน ข้อคนพบได้ที่คือในการจัดการศึกษาทุกครั้งไม่จําเป็นต้องมานั่งในห้องเรียนเพื่อพบกลุ่ม สถานที่ ใดก็ได้ที่จัดกิจกรรมเราสามารถสอดแทรกกระบวนการเรียนการสอนของเราเข้าไปโดยกลุ่มสตรีชาวลาวได้ เรียนรู้ไปโดยไม่รู้ตัว และมีความสุขกับการศึกษา เครื่องมือเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่เป็นตัวช่วยให้ กลุ่มสตรีชาลาว เข้าใจและสามารถถอดองค์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่ออกมาได้ง่ายขึ้น เป็นการฝึกทักษะกระบวนการคิด ที่สําคัญ เป็นตัวเชื่อความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคือทําให้กลุ่มมีความกระตือรือร้นที่จะช่วยกันทําเพื่อให้บรรลุตาม จุดมุ่งหมาย ครู กศน.ก็เกิดความสัมพันธ์ที่ดีทําให้การทํางานการประสานงาน การที่จะทําให้กลุ่มสตรีชาวลาว เข้าถึงการศึกษาก็ทําได้ง่ายขึ้น นายวสันต์ สุธรรมมา ครูกศน.ตําบล กล่าวว่า “การทํางานกับชุมชนถ้าเรายึด ชุมชนเป็นฐานแล้วบูรณาการงานของเราเข้ากับชุมชนผลลัพธ์ที่ออกมาชุมชนก็ได้รับงานของ กศน.ก็ได้รับ ผม คิดว่า งานของ กศน.ก็คืองานของชุมชนที่คลอบคุลมทุกด้านชุมชนอยู่ได้เราอยู่ได้เมื่อชุมชนเกิดกระบวนการคิด อย่างเป็นระบบและสามารถนําไปต่อยอดงาน👉รือพัฒนาชุมชนของตนเองได้นั้นคือความสําเร็จที่ครูอย่างผม ภาคภูมิใจที่ได้เป็นส่วน👉นึ่งในกลไกลที่ทําใ👉้ชุมชนแก้ปัญ👉าของตัวเองได้” นางวิลาวัลย์ ไชยมงคล ผู้อํานวยการ กศน.อําเภอภูซาง กล่าวว่า “งานวิจัยเพื่อท้องถิ่นไม่ได้นอกเ👉นือจากบทบท👉น้าที่ของครู กศน. เลย แต่แฝงอยู่กับทุกงานที่ กศน.เราทํา เมื่อครูเข้าถึงชุมชนและแก้ปัญ👉าได้ถูกจุดผลที่ตามมาก็คือการจัด การศึกษาที่มีคุณภาพซึ่งจะส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน กศน.ในทุกๆด้าน”
ในส่วนของกลุ่มสตรีชาวลาวสะท้อนว่าบทเรียนที่ผ่านมายอมรับว่าเรื่องปากท้อง การประกอบอาชีพ เป็นเรื่องที่สําคัญและต้องมาก่อน ทําให้เราละเลยบางสิ่งบางอย่างไปนั้นคือการศึกษา การที่มีงานวิจัยเพื่อ ท้องถิ่นเข้ามาให้กลุ่มสตรีชาวลาว ได้รู้ถึงตัวตนของตัวเอง ได้ตระหนักถึงเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ที่ตนเองมีอยู่ เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง เกิดการทํางานแบบมีส่วนร่วม เกิดองค์ความรู้ใหม่ๆขึ้นและสามารถนําองค์ ความรู้นั้นมาปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้ เช่น การเลี้ยงกบแต่ก่อนต้องไปซื้อลูกกบมาเลี้ยงอย่างเดียว ไม่ได้ใส่ใจ อะไรมาก แต่ปัจจุบันหลังจากที่ผ่านกระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นซึ่งกบเป็นหนึ่งในกิจกรรมพัฒนาศักยภาพ ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวกลุ่มนี้ได้ทราบถึงกระบวนการตั้งแต่เริ่มเพาะพันธุ์จนถึงการจําหน่าย เกิดองค์ความรู้และ สามารถนําไปปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้ นางวัน จันทะวงศ์ หนึ่งในกลุ่มสมาชิกสตรีชาวลาว กล่าวว่า “👉ลังจากที่ได้เข้าร่วมงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นและได้รับความรู้เรื่องการเกาะเลี้ยงและการขายพันธุ์กบ ทําใ👉้เ👉็น
ช่องทางในการตลาด ปี👉น้าจะนําองค์ความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ สร้างเป็นอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ใ👉้กับตนเอง และครอบครัว สามีก็เ👉็นชอบและจะลงมือทําด้วย” เป็นต้น
จะเห็นได้ว่าบทเรียนที่ได้รับ นอกเหนือจากชุดความรู้ที่เกิดขึ้นใหม่แล้วยังได้ความสัมพันธ์กับชุมชน การมีส่วนร่วม ก่อให้เกิดเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ กลุ่มสตรีชาวลาว มีความภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ ของตนเอง
ครั้งที่ 2 วันที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 09.00 น. – 12.00 น. ณ ศาลาอเนกประสงค์ บ้านฮวก หมู่ที่
12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา รวมทั้งหมด 30 คน ทีมวิจัย 19 คน ที่ปรึกษา 1 คน ทีมกลไก สนับสนุน 10 คน เพื่อจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ์
ในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้วิจัยได้ดําเนินการดังนี้ 1) ชี้แจ้งวัตถุประสงค์ในการเขียนรายงานฉบับ สมบูรณ์ 2) ทําความเข้าใจเครื่องมือที่ใช้ดึงข้อมูล 3)จัดทํารายงานฉบับสมบูรณ์
จากผลการดําเนินงานพบว่า ตัวแทนทีมวิจัยได้มีการชี้แจงวัตถุประสงค์การเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ ให้ทีมวิจัยได้รับทราบและมีการทบทวนการใช้เครื่องมืองานวิจัย แบบฟอร์มการเขียนรายงานวิจัยและ มอบหมายหน้าที่การเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ทีมวิจัยได้ปรับในส่วนของบทที่ 1 ให้เห็นภาพชัดเจนมา ยิ่งขึ้น สั้นกระชับ และตัดทอนบางส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องออกไป มีการเพิ่มเติมนิยามศัพท์ ในส่วนของบทที่ 2 ทีม วิจัยได้หาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เพิ่มเติมจากนั้น บทที่ 3 ได้ เพิ่มเติมข้อมูลในในส่วนของแผนการดําเนินงานในระยะที่ 2 ไป บทที่ 4 ทีมวิจัยได้ดึงข้อมูลจาก กิจกรรมราย เดือนหรือ Time line และบันทึกกิจกรรมที่ลงทุกครั้ง มาเขียนให้เห็นถึงเนื้อหารายละเอียด กระบวนการ ของ แต่ละกิจกรรม ว่ามีวิธีการดําเนินงาน ผลการดําเนินงานเป็นอย่างไร ในส่วนของบทที่ 5 ทีมวิจัยได้ดึงข้อมูลจาก ตารางที่ 3 ซึ่งเป็นตารางอธิบายวัตถุประสงค์ที่เชื่อมโยงผลที่เกิดขึ้น Outcome/Impact จากนั้นทีมวิจัยก็เขียน อธิบายให้เชื่อมโยงกับแนวคิดทฤษฎีในบทที่ 2 เครื่องมือบางตัวทีมวิจัยมีการสับสนบางเล็กน้อยในเรื่องของ OUTCOME และ IMPACT
จากนั้นทีมวิจัยจะนําเสนอรายงานฉบับสมบูรณ์ต่อผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อรับฟังข้อคิดเห็นและปรับปรุง รายงานการวิจัยให้สมบูรณ์มายิ่งขึ้น
บทสรุป จากการวางแผนกิจกรรมเพื่อตอบวัตถุประสงค์ในข้อที่ 2 เพื่อกําหนดรูปแบบการพัฒนา ศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็ม ประสิทธิภาพ โดยการนําเครื่องมือ SWOT เพื่อมาวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค ในฐาน 4 ด้าน ได้แก่ 1) มิติด้านเศรษฐกิจ 2) มิติทางสังคม 3) มิติทางการศึกษา 4) มิติทางวัฒนธรรม ทําให้ทีมวิจัยทราบ ถึงข้อมูลเชิงลึกในแต่ละด้าน และสามารถนํามาวางแผนเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรี ชาวลาวได้ มิติทางเศรษฐกิจ กลุ่มสตรีชาวลาวจะเน้นไปทาง การประกอบอาชีพเกษตรกรรม การค้าขาย และการทําเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย มิติทางสังคม กลุ่ม สตรีชาวลาวได้เน้นการสร้างความตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นในการเข้ามาโดยผิดกฎหมายว่ามีผลเสียยังไง บ้างเพื่อลดการเข้ามาในประเทศไทยแบบผิดกฎหมายของกลุ่มสตรีชาวลาวและให้ความรู้ การศึกษา ในเรื่อง สิทธิมนุษยชนแก่กลุ่มสตรีชาวชาวที่อยู่ในพื้นที่ มิติทางการศึกษา พบว่ากลุ่มสตรีชาวลาวบางคนได้ศึกษากับ กศน.อําเภอภูซาง การรู้หนังสือ การอ่านออกเขียนได้ และมีความต้องการที่จะใช้การศึกษาเพื่อลดความเลื่อม ล้ําทางสังคม มิติทางวัฒนธรรม พบว่า กลุ่มสตรีชาวลาวมีการรับเอาวิถีชีวิตความเป็นอยู่แบบไทย ส่งผลให้ลืม
เลือนวัฒนธรรมดั้งเดิมของตัวเอง ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีความต้องการที่จะอนุรักษ์ความเป็นอัตลักษณ์ใน ตนเองเอาไว้
ข้อมูลที่ได้จากการสรุปองค์ความรู้ภายใต้ 4 ด้าน กลุ่มสตรีชาวลาวได้ออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้อง กับความต้องการของกลุ่มคือ การนวดแผนไทยเพื่อพัฒนาอาชีพและรองรับการเปิดด่านถาวรที่เป็นพื้นที่ เศรษฐกิจพิเศษในอนาคต การทอผ้าเพื่อเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นและพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิมที่กลุ่ม สตรีชาวลาวส่วนใหญ่มีพื้นฐานอยู่แล้ว เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็นการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ให้กับกลุ่มสตรีชาว ลาวให้มีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น การตลาดเพื่อให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีความรู้ในการทําการตลาดชายแดน และ การศึกษาเพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางสังคมและให้โอกาสทางการศึกษาเข้าถึงกลุ่มสตรีชาวลาวมากยิ่งขึ้น
จากการออกแบบกระบวนการทํางานวิจัยเพื่อตอบวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 พบว่า กิจกรรมการนวดแผน ไทย เป็นกิจกรรมที่กลุ่มสตรีชาวลาวมีความสนใจและมีความต้องการที่จะศึกษาเรียนรู้เป็นอย่างมาก เนื่องจาก ลงทุนน้อย รายได้ดีและยังสามารถทํางานในหมู่บ้านได้ด้วย เนื่องจากกลุ่มสตรีชาวลาวถูกจํากัดเรื่องของอาชีพ และการเดินทางออกนอกพื้นที่ ทําให้อาชีพหมอนวดมีความน่าสนใจ อีกทั้งในปีงบประมาณ 2561 จะเปิดด่าน ถาวรอย่างเป็นทางการ ทําให้พื้นที่บ้านฮวกกลายเป็นจุดยุทธศาสตร์ด้านการขายสินค้าและบริการ
กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฏีใหม่เริ่มต้น กิจกรรมด้วยการฝึกอบรม ซึ่งประกอบไปด้วย การเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฏีใหม่ การทําปุ๋ยหมัก การปลูกผักปลอดภัย และการทําบัญชีครัวเรือน แล้วกลุ่มสตรีชาวลาวเห็นช่องทางในการ พัฒนาต่อยอดการประกอบอาชีพเลี้ยงกบ เนื่องจากต้นทุนต่ํา ตลาดมีความต้องการสูง ใช้เวลาดูแลช่วง เช้า-เย็นได้ สามารถใช้บริโภคภายในครัวเรือนเหลือขายเป็นรายได้เสริม ซึ่งตอบโจทย์เรื่องปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่กิจกรรมการเพาะเลี้ยงและการขยายพันธุ์กบ กลุ่มสตรีชาวลาว มี ความสนใจเพราะพื้นฐานเป็นเกษตรกรทําแล้วประสบความสําเร็จ รับองค์ความรู้มาแล้ว ยังสามารถเผยแพร่ องค์ความรู้และต่อยอด ขายทั้งในประเทศไทย
กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สําหรับกลุ่มผู้ไม่รู้หนังสือ เป็นหัวใจในการจัดการศึกษาสําหรับ กลุ่มชาติพันธุ์และเป็นภารกิจหลักของ กศน.อําเภอภูซาง เนื่องจากบุคคลใดที่จะทํางานใดสําเร็จ ต้องมีองค์ ความรู้ในเรื่องนั้นก่อน จึงจะสามารถนําความคิดรวบยอดมาต่อยอดเป็นอาชีพ หรือเห็นช่องทางในการดําเนิน ชีวิต ซึ่ง กศน. ก็มุ่งเน้น กระบวนการ “คิดเป็น” เพราะหากคิดเป็นแล้ว ปัญหาในชีวิตก็จะถูกคลี่คลายและ หาทางออกได้เสมอและมีความคิดที่เป็นระบบสามารถวางแผนการดําเนินชีวิตได้ดีและประสบความสําเร็จ ในที่สุด
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องเศรษฐกิจชายแดนและกฎหมาย ก็มีความสําคัญ เนื่องจากเป็นการเตรียม ความพร้อมและสร้างภูมิคุ้มกัน กับความเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรมและเศรษฐกิจในอนาคต
กิจกรรมการทําลูกประคบสมุนไพร กลุ่มสตรีชาวลาวมีความคาดหวังว่า จะนําองค์ความรู้ด้านสมุนไพร มาต่อยอดเป็นอาชีพเสริม อีกทั้งเป็นช่องทางในการรวมกลุ่มให้มีความรัก ความสามัคคีอย่างเหนียวแน่น มี โอกาสพบปะพุดคุย และทําเวลาว่างเว้นจากงานประจําซึ่งตอนนี้อาจจะมีปัญหาเรื่องบรรจุภัณฑ์และการตลาด แต่เชื่อว่า หากมีการเปิดด่านถาวรปีงบประมาณ 2561 ช่องทางการจําหน่ายก็จะสดใส อีกทั้งกลุ่มสะใภ้ลาว บางคน ยังมีความรู้เรื่องการขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต (ระบบออนไลน์) น่าจะประสบความสําเร็จไม่ยากใน อนาคต
กิจกรรมวิเคราะห์ผลการดําเนินงานวิจัยใน ระยะที่ 2 ตอบโจทย์ ทั้ง 4 ด้าน ทั้ง เศรษฐกิจ การศึกษา สังคม และวัฒนธรรมได้อย่างชัดเจนในทุกมิติ ทีมวิจัยจึงได้ค้นหาแนวทางออกมา 4 แนวทางในการพัฒนา ศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาวดังนี้
1. การพัฒนาศักยภาพในมิติเศรษฐกิจ จะเน้นเรื่องการพัฒนาอาชีพที่ตอบสนองความต้องการของ กลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้องและเหมาะสมกับพื้นที่ชายแดนเพื่อรองกับการเปิดด้านถาวรและการเปลี่ยนแปลง ในอนาคต จากเดิมที่งาน กศน.ก็สนับสนุนด้านอาชีพให้กับกลุ่มเป้าหมาย แต่เมื่อใช้กระบวนการวิจัยเพื่อ ท้องถิ่น รูปแบบการสนับสนุนอาชีพเปลี่ยนไป เช่น มีการใช้กระบวนการสืบค้นข้อมูลร่วมกันโดยใช้ความ ต้องการ และศักยภาพของสตรีชาวลาวเป็นที่ตั้ง วิเคราะห์ความเป็นไปได้ ความสําเร็จ ความยั่งยืน โดยกลุ่ม สตรีชาวลาวช่วยกันระดมความคิด มีการวิเคราะห์เพื่อตั้งรับกับพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษที่จะรุกคืบ เช่น มีการ ติดตั้งวิธีคิด การพัฒนาศักยภาพในด้านเศรษฐกิจ เพื่อให้กลุ่มสตรีชาวลาวกลุ่มนี้สามารถปรับตัวอยู่ในสังคมที่มี การเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาได้อย่างมีความสุขภายใต้ข้อจํากัดหลายๆอย่าง เป็นต้น
2. การพัฒนาศักยภาพในฐานการศึกษาจะเน้นการบูรณาการการศึกษาในทุกกิจกรรมเพื่อตอบสนอง ความต้องการของกลุ่มสตรีชาวลาวและให้กลุ่มสตรีชาวลาวเข้าถึงมากที่สุด เน้นการบูรณาการการรู้หนังสือ การอ่านออก-เขียนได้ในทุกกิจกรรมผ่านเครื่องมือที่สร้างความน่าสนใจ เช่น กิจกรรมการสืบค้นข้อมูลด้าน เศรษฐกิจ (โอ่งชีวิต) ด้านสังคม (แผนที่เดินดินรอบใน รอบนอก) ด้านวัฒนาธรรม (Time Line) รวมถึงเป็นการ สะท้อนการออกแบบการเรียนรู้ของครูกศน.ในลักษณะของ Active Learning ที่เน้นผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจน เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
3. การพัฒนาศักยภาพในฐานสังคมเน้นการยอมรับ การมีส่วนร่วมกับชุมชน การให้ความรู้เรื่องสิทธิ ของตนเอง ตลาดชายแดน เพื่อให้กลุ่มมีความตระหนักในสถานะของตนเองและสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมได้ อย่างภาคภูมิใจ เช่น การเข้าร่วมในกิจกรรมทางสังคม การช่วยเหลือหรือการเป็นอาสาสมัครงานในหมู่บ้าน เป็นต้น
4. การพัฒนาศักยภาพในฐานวัฒนธรรม จะเน้นเรื่องภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาจากสมัยก่อน การ แสดงอัตลักษณ์ที่มีในตนเอง เช่น นําองค์ความรู้เรื่องสมุนไพรพื้นบ้านมาประยุคและต่อยอดในการประกอบ อาชีพ มีการอนุรักษณ์การแต่งกายเมื่อมีกิจกรรมของหมู่บ้าน ตําบล อําเภอ หรือวันสําคัญทางศาสนา มีการ อนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น
กิจกรรมสังเคราะห์ผ่านเวทีเสวนาแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และขยายผลการดําเนินงานเพื่อต่อยอด แนวทางในการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาว เป็นกิจกรรมที่เน้นการพูดคุยแลกเปลี่ยนแนวความคิด จากหลายๆหน่วยงานเพื่อนํามาเป็นแนวทางในการพัฒนาต่อยอดงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นในพื้นที่ และยังเป็นการ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ให้กับหน่วยงานราชการ เอกชนและประชาชนผู้ที่สนใจได้รับทราบ ข้อมูล ถ้างานวิจัยเพื่อท้องถิ่นสามารถขยายผลลงสู่ชุมชนก็จะกลางเป็นเครื่องมือแก้ปัญญาได้ถูกจุดของชุมชน นั้นๆ
แต่นอกจากจะบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ยังได้ความภูมิใจ ทักษะกระบวนการ ประสบการณ์ในการ ทํางานวิจัย ดังคํากล่าวที่ว่า“คนทําวิจัยเท่านั้นที่รู้ คนไม่รู้ คือคนไม่ได้ทําวิจัย”ที่นักวิจัยได้มากกว่าองค์ ความรู้คือ “กระบวนการและประสบการณ์”
นักวิจัยกลุ่มสตรีชาวลาว ได้กระบวนการใช้ชีวิตภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม ถูกปลดปล่อยและมีตัวตน ขึ้นมาอย่างมีเกียรติมีศักดิ์ศรี เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง
นักวิจัย ครู กศน.อําเภอภูซาง ได้แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาที่ไม่ได้ถูกตีกรอบเพียง เรื่องของการเรียน หนังสือเท่านั้น ยังมีรูปแบบและแนวทางอื่นๆ ในหลายๆ มิติ ที่มีความหลากหลาย น่าค้นหา น่าสนใจ และยัง เกิดประสิทธิภาพประสิทธิผลสูงสูดในการจัดการศึกษา ในมุมมองนักจัดการศึกษามีความเห็นว่า “กระบวน งานวิจัยน่าจะเป็นทางเลือกในการจัดการศึกษาสําหรับ กศน.เพื่อนําไปสู่การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของ คนในชุมชนหรือกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง” ในปัจจุบันและในอนาคต
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
5.1. สรุปผลการดําเนินงาน
โครงการวิจัยเรื่อง “แนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่ม “สตรีชาวลาว” ในพื้นที่ตําบลภูซาง อําเภอภู ซาง จังหวัดพะเยา เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR : Participatory Action Research) โดย มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อสืบค้น รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องร่วมกับกลุ่มสตรีชาวลาวในพื้นที่ เป้าหมาย 2. เพื่อกําหนดรูปแบบการพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของความรู้ ความสามารถของตนเองอย่างเต็มประสิทธิภาพ ในการวิจัยครั้งนี้มีการใช้เครื่องมือในกระบวนการที่ หลากหลาย อาทิเช่น โอ่งชีวิตทําให้เกิดการเรียนรู้ของกลุ่มสตรีชาวลาวเกี่ยวกับ แหล่งที่มาของรายรับและ รายจ่ายในแต่ละวัน การคิดคํานวณและทําบัญชีครัวเรือน การบันทึกประจําวัน การลดละเลิกในสิ่งที่ไม่จําเป็น และอุดรอยรั่วของรายจ่ายที่ไม่จําเป็น ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีความคิดแก้ปัญหารายจ่ายที่ไม่จําเป็นได้ดีขึ้น แผนที่เดินดินรอบนอก แผนที่เดินดินรอบในเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสืบค้นลักษณะภูมิประเทศ และสถานที่ สําคัญที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวันของกลุ่มสตรีชาวลาว ตลอดจนร้านค้า หน่วยงานรัฐบาล สถานที่ท่องเที่ยว และแหล่งเรียนรู้ โดยผ่านกระบวนการในลักษณะของการใช้สัญลักษณ์แทนสถานที่ และระบายสีตามสภาพ บริบทให้ใกล้ความเป็นจริงปฏิทินฤดูกาลเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสืบค้นเพื่อดึงข้อมูลการประกอบอาชีพในแต่ ละฤดูกาล และประเพณีวัฒนธรรมในรอบปีของกลุ่มสตรีชาวลาว โดยการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็น SWOT เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ชุมชนแบบมีส่วนร่วม ทั้งในมุมมองของกลุ่มสตรีชาวลาว และ มุมมองของ กศน.อําเภอภูซาง โดยใช้กระบวนการกลุ่มแล้วนําข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ SWOT นําเสนอ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประมวลเป็นองค์รู้ร่วมกัน โดยมีกลุ่มเป้าหมาย เป็นกลุ่มสตีชาวลาวหมู่ที่ 3, 4 และ 12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
กระบวนการทํางานวิจัย เน้นการสืบค้นข้อมูลองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องผ่านกระบวนการวิเคราะห์และ ประมวลผลเพื่อนําไปวางแผนพัฒนาและออกแบบกิจกรรมไปพร้อมๆกับการพัฒนาศักยภาพตามความต้องการ ของกลุ่มสตรีชาวลาวผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ใช้เครื่องมืองานการวิจัยเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมใน การการแสดงความคิดเห็น กล้าแสดงออกสร้างให้เกิดการทํางานเป็นทีมระหว่างนักวิจัยและชุมชนเพื่อ เป้าหมายที่ไปในทิศทางเดียวกัน โดยอาศัยข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มสตรีชาวลาว บริบทพื้นที่ตําบลภูซาง และ แนวคิดงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เช่น ทฤษฎีการมีส่วนร่วม กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวคิดเกี่ยวกับกลุ่ม ชาติพันธุ์ เป็นต้น
สามารถสรุปผลการดําเนินงานตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อสืบค้น รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลที่
เกี่ยวข้องร่วมกับกลุ่มสตรีชาวลาวในพื้นที่เป้าหมาย โดยพบว่า ประกอบไปด้วยกิจกรรรม1) กิจกรรมเวที ชี้แจงวัตถุประสงค์และแนวทางในการดําเนินงานร่วมกับชุมชนและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับงานวิจัยให้ไปใน ทิศทางเดียวกัน 2) กิจกรรมเวทีสืบค้นข้อมูล/องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับบริบทของกลุ่มเป้าหมายบนฐานของ ความหลากหลายภายใต้การพัฒนาศักยภาพ 4 ด้าน ประกอบด้วย มิติด้านสังคม มิติด้านวัฒนธรรม มิติด้าน เศรษฐกิจ และมิติด้านการศึกษา จํานวน 4 ครั้ง 3) กิจกรรมเวทีวิเคราะห์และประมวลผลองค์ความรู้สําหรับ นําไปวางแผนที่ได้จากการดําเนินงานทั้งในเชิงเนื้อหาและกระบวนการ ทําให้ได้ข้อสรุปโดยแบ่งเป็นหัวข้อดังนี้
กระบวนการสืบค้นองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับบริบทกลุ่มเป้าหมายบนฐานของความหลากหลายภายใต้ การพัฒนาศักยภาพ 4 ด้าน ประกอบด้วย มิติด้านสังคม มิติด้านวัฒนธรรม มิติด้านเศรษฐกิจ และมิติด้าน การศึกษา เริ่มต้นจากการต้องการศึกษาข้อมูล ภูมิหลังของกลุ่มสตรีชาวลาว เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการ วิเคราะห์และประมวลผล เพื่อวางแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาว รวมทั้งการประเมิน สถานการณ์ในการพัฒนาศักยภาพที่เหมาะสมกับกลุ่มสตรีชาวลาว โดยใช้เครื่องมือการวิจัยเพื่อเก็บข้อมูล ผ่านการจัดกิจกรรมกระบวนการที่เหมาะสม เช่น การซักถาม พูดคุย เล่าเรื่องราวของตนเอง มีเวทีให้เสนอ หรือแสดงความคิดเห็นผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่มศักยภาพในตนเองให้กับกลุ่มสตรีชาวลาว อย่างไรก็ตาม จะเห็นได้ว่าแม้จะมีการวางแผนการดําเนินงานที่ชัดเจนในแต่ละกิจกรรม แต่ปัญหาและ อุปสรรคก็เกิดขึ้นระหว่างการจัดกิจกรรมได้เช่นกัน เช่น การจัดกิจกรรมแต่ละครั้งมีเวลาน้อยเกินไปทําให้ได้ ข้อมูลไม่ครบตามประเด็นการประชุมที่ตั้งไว้ จึงมีความจําเป็นต้องลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูลเพิ่ม หรือในบางครั้ง กลุ่มเป้าหมายสตรีชาวลาวมาร่วมกิจกรรมน้อยเกินไปเนื่องจากมีภาระงานมากจึงทําให้ได้มูลที่ไม่ครบถ้วน ไม่ ครอบคลุม ต้องมีการปรับเปลี่ยนแผนการดําเนินงาน กิจกรรมให้มีความเหมาะสม เช่น ในกิจกรรมการสืบค้น ข้อมูล/องค์ความรู้ที่เกี่ยวกับบริบทของกลุ่มสตรีชาวลาว ต้องจัดกิจกรรม 4 ครั้งเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ครอบคลุมและสมบูรณ์ที่สุดทั้งการจัดเวทีกิจกรรมหรือการลงพื้นที่พบปะพูดคุยกับกลุ่มสตรีชาวลาวแบบเคาะ
ประตูบ้านในช่วงเวลาที่กลุ่มสตรีชาวลาวอยู่บ้าน ช่วงเช้า-เย็น ก่อนและหลังกลับจากการไปทํางานนอกบ้าน จากการใช้เครื่องมือการวิจัย อาทิเช่น โอ่งชีวิต ปฏิทินฤดูกาล/วัฒนธรรม แผนที่เดินดิน เป็นต้นเพื่อ
เก็บข้อมูลพื้นฐานแล้ว กลุ่มสตรีชาวลาวและครู กศน.อําเภอภูซาง ยังได้กระบวนการเรียนรู้และองค์ความรู้ ใหม่ๆ ร่วมกัน เช่น ครู กศน.อําเภอภูซาง ได้รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายผ่านการใช้ เครื่องมือการวิจัย กลุ่มสตรีชาวลาวสามารถนําเสนอเรื่องราวของตนผ่านการบอกเล่า กล้าแสดงความคิดเห็น มากขึ้น
ข้อมูลที่ได้สืบค้นสืบค้นองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับบริบทกลุ่มเป้าหมายบนฐานของความหลากหลาย ภายใต้การพัฒนาศักยภาพ 4 ด้าน ดังนี้
1) มิติด้านเศรษฐกิจ กลุ่มสตรีชาวลาวส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก เนื่องจากส่วนใหญ่ จะปลูกพืชเชิงเดี่ยวเพื่อการจําหน่าย เช่น ข้าวโพด ถั่วลิสง ทํานาและทําสวนยางพารา เป็นต้น จึงมีรายได้ที่ไม่ มั่นคง
2) มิติด้านสังคม กลุ่มสตรีชาวลาวมีความสัมพันธ์แบบเครือญาติ ทําให้มีความรักใคร่ ความปรองดอง และความสามัคคี นอกจากนี้กลุ่มสตรีชาวลาวยังมีบทบาทเป็นกลุ่มแม่บ้านในชุมชน ซึ่งทําหน้าที่ตามงาน ประเพณีและกิจกรรมสาธารณะประโยชน์และได้รับการยอมรับจากคนในชุมชนด้วย เนื่องจากมีอุปนิสัยขยัน รับผิดชอบ ซื่อสัตย์และเป็นคนมีน้ําใจ
3) มิติด้านการศึกษา พบว่า กลุ่มสตรีชาวลาวสามารถฟังพูดภาษาไทยได้ แต่อ่านเขียนไม่คล่อง และ ควรได้รับการศึกษาต่อเนื่องเพื่อนําความรู้ไปต่อยอดและพัฒนาตนเอง ในด้านต่างๆ โดยกลุ่มสตรีชาวลาวส่วน ใหญ่ ได้รับโอกาสทางการศึกษา จาก กศน.อําเภอภูซาง โดยเริ่มจากหลักสูตรการรู้หนังสือไทยเพื่อให้อ่านออก เขียนได้ นอกจากนี้ยังมีกลุ่มสตรีชาวลาวบางส่วนที่ได้รับโอกาสในการพัฒนาอาชีพจนประสบความสําเร็จ มี รายได้ มีงานทํา
4) มิติด้านวัฒนธรรม พบว่า กลุ่มสตรีชาวลาวมีความตะหนักรักและหวงแหนประเพณีวัฒนธรรมที่ดี งามของตน ต้องการฟื้นฟู เผยแพร่ อนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมดังกล่าวไม่ให้สูญหาย อาทิเช่น การแต่งกายภูมิ ปัญญาเรื่องลูกประคบสมุนไพร เป็นต้น
นอกจากนี้ในวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อกําหนดรูปแบบการพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่ สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มประสิทธิภาพ พบว่า แนวทางที่ กําหนดขึ้นประกอบด้วยออกแบบและกําหนดรูปแบบกิจกรรมเพื่อให้สอดคล้องกับการดําเนินชีวิตของ กลุ่มเป้าหมาย ได้ข้อสรุปดังนี้
การนําเครื่องมือ SWOT เพื่อมาวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค ในฐาน 4 ด้าน ได้แก่ มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านการศึกษา มิติด้านสังคม และมิติด้านวัฒนธรรม ทําให้ทีมวิจัยทราบถึงข้อมูลเชิงลึกใน แต่ละด้าน และสามารถนํามาวางแผนเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาวได้ มิติ ด้านเศรษฐกิจ กลุ่มสตรีชาวลาวจะเน้นไปทาง การประกอบอาชีพเกษตรกรรม การค้าขาย และการทํา เศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย มิติด้านการศึกษา พบว่า กลุ่ม สตรีชาวลาวบางส่วนได้ศึกษากับ กศน.อําเภอภูซาง และมีความต้องการที่จะใช้การศึกษาเพื่อลดความเลื่อมล้ํา ทางสังคม มิติด้านสังคม กลุ่มสตรีชาวลาวได้เน้นการสร้างความตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นในการเข้ามา โดยผิดกฎหมายว่ามีผลเสียยังไงบ้างเพื่อลดการเข้ามาในประเทศไทยแบบผิดกฎหมายของกลุ่มสตรีชาวลาว และให้ความรู้ การศึกษา ในเรื่องสิทธิมนุษยชนแก่กลุ่มสตรีชาวชาวที่อยู่ในพื้นที่ และ มิติด้านวัฒนธรรม พบว่า กลุ่มสตรีชาวลาวมีการรับเอาวิถีชีวิตความเป็นอยู่แบบไทย ส่งผลให้ลืมเลือนวัฒนธรรมดั้งเดิมของตัวเอง ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีความต้องการที่จะอนุรักษ์ความเป็นอัตลักษณ์ในตนเองเอาไว้
ข้อมูลที่ได้จากการสรุปองค์ความรู้ภายใต้ 4 ด้าน กลุ่มสตรีชาวลาวได้ออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้อง กับความต้องการของกลุ่มคือ การนวดแผนไทยเพื่อพัฒนาอาชีพและรองรับการเปิดด่านถาวรในอนาคต ทําลูก ประคบสมุนไพร/ถุงหอมสมุนไพรเพื่อเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นและพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิมที่กลุ่มสตรี ชาวลาวส่วนใหญ่มีพื้นฐานอยู่แล้ว เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็นการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ให้กับกลุ่มสตรีชาวลาว ให้มีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น การตลาดเพื่อให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีความรู้ในการทําการ ตลาดชายแดน และ การศึกษาเพื่อลดความเหลือล้ําทางสังคมและให้โอกาสทางการศึกษาเข้าถึงกลุ่มสตรีชาวลาวมากยิ่งขึ้น
ดังนั้นจากการทดลองทํากิจกรรมเพื่อใช้เป็นแนวทางในการกําหนดรูปแบบการพัฒนาศักยภาพกลุ่ม สตรีชาวลาวที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มประสิทธิภาพใน วัตถุประสงค์ที่ 2 นั้นซึ่งอธิบายแยกตามศักยภาพ 4 ด้าน ดังนี้
มิติด้านเศรษฐกิจ โดยเน้นกิจกรรมการประกอบอาชีพเกษตรกรรม การค้าขาย และการทําเศรษฐกิจ พอเพียงเป็นหลัก ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรรมการนวดแผนไทย มีขั้นตอนในการปฏิบัติงานคือ
1) ต้องศึกษาข้อมูลความต้องการของกลุ่มว่ามีความต้องการฝึกหลักสูตรอะไรบ้าง 2) ออกแบบการฝึกอบรมให้ สอดคล้องและเหมาะสมกับแผนการดําเนินงานของ กศน.ตําบล หรือ กศน.อําเภอ 3) จัดกิจกรรมฝึกอบรมให้ สอดคล้องและเหมาะสมกับความต้องการของกลุ่ม 4) เปิดโอกาสให้กลุ่มได้ออกนวดในกิจกรรมของหมู่บ้าน ตําบลอําเภอ ฯลฯ เมื่อมีโอกาส เพื่อประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักและฝึกฝีมือของตัวเองด้วย 5) นิเทศติดตาม การดําเนินงานว่ามีปัญหาอุปสรรคอะไรบ้างและนํามาปรับปรุงการจัดกิจกรรม ปัญหาอุปสรรคที่พบในการทํา กิจกรรม เช่น การนวดแบบไหนที่เป็นที่นิยมผู้รับบริการชอบใช้บริการ การบริการนอกพื้นที่ลูกค้าชอบหรือไม่ ที่ผ่านมากลุ่มสตรีชาวลาวได้ฝึกนวดฝาเท้าและเมื่อออกงาน ลูกค้ามีความต้องการที่จะนวดตัว จึงทําให้กลุ่ม สตรีชาวลาวต้องมาฝึกอบรมการนวดตัวเพิ่มเติม เป็นต้น กิจกรรมการนวดแผนไทย เป็นกิจกรรมที่กลุ่มสตรี ชาวลาวมีความสนใจและมีความต้องการที่จะศึกษาเรียนรู้เป็นอย่างมาก เนื่องจากลงทุนน้อย รายได้ดีและยัง สามารถทํางานในหมู่บ้าน ได้ทักษะการนวด ได้อาชีพเสริม มีรายได้จุนเจือครอบครัว ความสัมพันธ์ภายในบ้าน ดีขึ้นกว่าเดิม ทําให้เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง กลุ่มสตรีชาวลาวมีข้อจํากัดเรื่องของอาชีพและการเดินทาง ออกนอกพื้นที่ ทําให้อาชีพหมอนวดมีความน่าสนใจ อีกทั้งในปีงบประมาณ 2561 จะเปิดด่านถาวรอย่างเป็น ทางการ ทําให้พื้นที่บ้านฮวกกลายเป็นจุดยุทธศาสตร์ด้านการขายสินค้าและบริการ ครู กศน.ได้กระบวนการ จัดการเรียนการสอนงานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพเข้าถึงชุมชนได้มากกว่าเดิม ทําให้การจัดการศึกษามี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ครูยังได้รูปแบบแนวทางในการจัดการศึกษาต่อเนื่องที่สามารถขยายผลไปสู่พื้นที่อื่นๆ ในอําเภอภูซาง อีกทั้งยังได้รับการยอมรับจากชุมชนมากขึ้นอีกด้วย
2) กิจกรรมการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ มีขั้นตอนในการ
ปฏิบัติงานคือ 1)วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานชุมชนว่าชุมชนมีปัญหาอุปสรรค และต้นทุนอะไรบ้าง โดยชุมชนและครู กศน.หารือร่วมกัน 2)ออกแบบกิจกรรมที่สอดคล้องและเหมาะสมกับความต้องการของกลุ่มและแผนการ ดําเนินงานของ กศน.ตําบล กศน.อําเภอ 3) จัดกิจกรรมฝึกอบรมให้กลุ่มเป้าหมาย 4)นิเทศติดตามผลการ ดําเนินงานให้คําแนะนําและแก้ปัญหาโดยการมีส่วนร่วมของกลุ่มสตรีชาวลาว ทั้งนี้ในเนื้อหาการอบรม
ประกอบไปด้วย การเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ การทําปุ๋ยหมัก การปลูกผัก ปลอดภัย และการทําบัญชีครัวเรือน แล้วกลุ่มสตรีชาวลาวเห็นช่องทางในการพัฒนาต่อยอดการประกอบอาชีพ เลี้ยงกบ เนื่องจากต้นทุนต่ํา ตลาดมีความต้องการสูง ใช้เวลาดูแลช่วงเช้า-เย็นได้ สามารถใช้บริโภคภายใน ครัวเรือนเหลือขายเป็นรายได้เสริม ซึ่งตอบโจทย์เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ กิจกรรมการเพาะเลี้ยงและการขยายพันธุ์กบ กลุ่มสตรีชาวลาว มีความสนใจเพราะพื้นฐานเป็นเกษตรกรทํา แล้วประสบความสําเร็จ รับองค์ความรู้มาแล้ว ยังสามารถเผยแพร่องค์ความรู้และต่อยอด ขาย ทั้งในประเทศ ไทย จากเดิมที่งาน กศน.ก็สนับสนุนด้านอาชีพให้กับกลุ่มเป้าหมาย แต่เมื่อใช้กระบวนการวิจัยเพื่อท้องถิ่น รูปแบบการสนับสนุนอาชีพเปลี่ยนไป เช่น มีการใช้กระบวนการสืบค้นข้อมูลร่วมกันโดยใช้ความต้องการ และ ศักยภาพของสตรีชาวลาวเป็นที่ตั้ง วิเคราะห์ความเป็นไปได้ ความสําเร็จ ความยั่งยืน โดยกลุ่มสตรีชาวลาว ช่วยกันระดมความคิด มีการวิเคราะห์เพื่อตั้งรับกับพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษที่จะรุกคืบ เช่น มีการติดตั้งวิธีคิด การ พัฒนาศักยภาพในด้านเศรษฐกิจ เพื่อให้กลุ่มสตรีชาวลาวกลุ่มนี้สามารถปรับตัวอยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อยู่ตลอดเวลาได้อย่างมีความสุขภายใต้ข้อจํากัดหลายๆอย่าง เป็นต้น
มิติด้านการศึกษา กลุ่มสตรีชาวลาวมีความต้องการที่จะใช้การศึกษาเพื่อลดความเลื่อมล้ําทางสังคม
ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้สํา👉รับกลุ่มผู้ไม่รู้👉นังสือ มีขั้นตอนในการปฏิบัติงานคือ 1)ศึกษาบริบทพื้นที่ช่วงเวลาใน การประกอบอาชีพความต้องการการรู้หนังสือ 2)ปรับหลักสูตรการรู้หนังสือให้สอดคล้องและเหมาะสมกับ กลุ่มเป้าหมาย 3)จัดกิจกรรมให้สอดคล้องและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายเน้นการบูรณาการกิจกรรม 4)นิเทศ ติดตามผลการดําเนินงานเพื่อพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงานต่อไป กิจกรรมการเรียนรู้สําหรับกลุ่มผู้ไม่รู้หนังสือ เป็นหัวใจในการจัดการศึกษาสําหรับกลุ่มชาติพันธุ์และเป็นภารกิจหลักของ กศน.อําเภอภูซาง เนื่องจากบุคคล ใดที่จะทํางานใดสําเร็จ ต้องมีองค์ความรู้ในเรื่องนั้นก่อน จึงจะสามารถนําความคิดรวบยอดมาต่อยอดเป็น อาชีพ หรือเห็นช่องทางในการดําเนินชีวิต คณะครูจึงต้องค้นหาเทคนิค กระบวนการทุกรูปแบบเพื่อจัดการ บวนการเรียนการสอนสําหรับผู้ไม่รู้หนังสือ ที่น่าสนใจ และเหมาะสมซึ่งไม่จําเป็นต้องมานั่งในห้องเรียนเสมอไป กระบวนการทางการวิจัยจึงตอบโจทย์รูปแบบการเรียนการสอนสําหรับผู้ไม่รู้หนังสือโดยการมีส่วนร่วมของกลุ่ม สตรีชาวลาว เมื่ออ่านออกเขียนได้แล้ว กลุ่มสตรีชาวก็จะเกิดกระบวนการ “คิดเป็น” เพราะหากคิดเป็นแล้ว ปัญหาในชีวิตก็จะถูกคลี่คลายและหาทางออกได้เสมอ ซึ่งกลุ่มสตรีชาวลาวหลังจากที่เข้ามาร่วมในการจัดการ เรียนการสอนแล้วผลคือกลุ่มสตรีชาวลาวมีทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ได้มากขึ้น เกิดการมีส่วนร่วมใน กระบวนการเรียนการสอน สามารถนําองค์ความรู้ที่ได้ไปรับใช้ในชีวิตประจําวัน เช่น การใช้สมาร์ทโฟนเพื่อ ติดต่อสื่อสาร ขายสินค้า เป็นต้น มีความมั่นใจในตนเองมาขึ้นในกรณีไปติดต่อสื่อสารกับคนอื่นหรือเดินทางไป ไหนมาไหนและมีความคิดที่เป็นระบบสามารถวางแผนการดําเนินชีวิตได้ดีและประสบความสําเร็จในที่สุด การ เรียนรูปแบบ Active Learning จึงเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการ ร่วมมือระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ในการนี้ ครูต้องลดบทบาทในการสอนและการให้ข้อความรู้แก่ผู้เรียนโดยตรงลง แต่ไปเพิ่มกระบวนการและกิจกรรมที่จะทําให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการจะทํากิจกรรมต่างๆ มากขึ้น และอย่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ โดยการพูด การเขียน การอภิปรายกลุ่ม
มิติด้านสังคม ได้เน้นการสร้างความตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นในการเข้ามาโดยผิดกฎหมายว่ามี
ผลเสียยังไงบ้างเพื่อลดการเข้ามาในประเทศไทยแบบผิดกฎหมายของกลุ่มสตรีชาวลาวและให้ความรู้ การศึกษา ในเรื่องสิทธิมนุษยชนแก่กลุ่มสตรีชาวชาวที่อยู่ในพื้นที่ ผ่านกิจกรรมอบรมใ👉้ความรู้เรื่องเศรษฐกิจ ชายแดนและกฎ👉มาย มีขั้นตอนในการปฏิบัติงานคือ 1)ศึกษาข้อมูลปัญหาความต้องการของกลุ่มสตรีชาวลาว
2) ออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มและแผนการดําเนินงานของ กศน.ตําบล กศน. อําเภอ 3) จัดกิจกรรมตามแผนงานที่ระบุไว้ 4)นิเทศติดตามผลการดําเนินงานให้ข้อเสนอและนํามาปรับปรุงใน
ครั้งต่อไป กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องเศรษฐกิจชายแดนและกฎหมาย ก็มีความสําคัญ เนื่องจากเป็นการ เตรียมความพร้อมและสร้างภูมิคุ้มกัน กับความเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรมและเศรษฐกิจในอนาคต ทํา ให้กลุ่มสตรีชาวลาวได้รับ ความรู้เบื้องต้นการตลาดชายแดน กฎหมายใกล้ตัว และสิทธิมนุษยชนที่พึงได้รับของ กลุ่มสตรีชาวลาว เห็นได้ว่าประเด็นเรื่องสิทธิมนุษยชนนั้นมีความสําคัญมากและประเด็นที่ควรมุ่งศึกษาทํา ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งบนพื้นฐานของกฎหมายและชีวิตความเป็นอยู่ในปัจจุบัน การอยู่ร่วมกันในสังคม ที่จะมุ่ง ไปสู่ประชาธิปไตยและการพัฒนาสังคมให้มีความสงบสุข มีบางประเด็นซึ่งเป็นปัญหาระยะยาว เช่น เรื่องการมี บัตรประจําประชาชน การรักษาพยาบาล ประเด็นเหล่านี้ยังคงต้องให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น อําเภอภูซาง สํานักงานแรงงานจังหวัดพะเยา เข้ามาร่วมรับทราบปัญหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาต่อไป
มิติด้านวัฒนธรรม จะเน้นเรื่องภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาจากสมัยก่อน เช่น สมุนไพรพื้นบ้าน การ
แต่งกาย ภาษา ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีอัตลักษณ์ในตัวเอง ผ่านกิจกรรมการทําลูกประคบสมุนไพร มีขั้นตอน ในการปฏิบัติงานคือ 1) สํารวจข้อมูลสมุนไพรในชุมชน 2) ออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของ กลุ่มและแผนการดําเนินงานของ กศน.ตําบล กศน.อําเภอ 3) จัดกิจกรรมตามแผนงานที่ระบุไว้ 4)นิเทศติดตาม ผลการดําเนินงานให้ข้อเสนอและนํามาปรับปรุงในครั้งต่อไป ซึ่งกลุ่มสตรีชาวลาวมีความคาดหวังว่า จะนําองค์ ความรู้ด้านสมุนไพรที่มีมาตั้งแต่เดิมมาต่อยอดเป็นอาชีพเสริม อีกทั้งเป็นช่องทางในการรวมกลุ่มให้มีความรัก ความสามัคคีอย่างเหนียวแน่น มีโอกาสพบปะพุดคุย และทําเวลาว่างเว้นจากงานประจํา ซึ่งตอนนี้อาจจะมี ปัญหาเรื่องบรรจุภัณฑ์และการตลาดแต่เชื่อว่า หากมีการเปิดด่านถาวรปีงบประมาณ 2561 ก็จะมีช่องทาง การจําหน่ายมากขึ้น อีกทั้งกลุ่มสตรีชาวลาวบางคน ยังมีความรู้เรื่องการขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต (ระบบ ออนไลน์) น่าจะประสบความสําเร็จไม่ยากในอนาคต
กล่าวโดยสรุป การดําเนินงานวิจัยทั้งระยะที่ 1-2 จากข้อมูลที่พบและสรุปเป็นองค์ความรู้ที่ได้ ตอบ วัตถุประสงค์ทั้ง 2 ข้อ โดยข้อมูลจาระยะที่ 1 เชื่อมโยงสู่ระยะที่ 2 ทําให้ได้แนวทางการพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรี
ชาวลาวที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มประสิทธิภาพ ทั้ง 4 แนวทาง นอกจากจะบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ยังได้ความภูมิใจ ทักษะกระบวนการ ประสบการณ์ในการ ทํางานวิจัย ดังคํากล่าวที่ว่า “คนทําวิจัยเท่านั้นที่รู้ คนไม่รู้ คือคนไม่ได้ทําวิจัย” ที่นักวิจัยได้มากกว่าองค์ ความรู้คือ “กระบวนการและประสบการณ์”
นักวิจัยกลุ่มสตรีชาวลาว ได้กระบวนการใช้ชีวิตภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม ถูกปลดปล่อยและมีตัวตน ขึ้นมาอย่างมีเกียรติมีศักดิ์ศรี เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง
นักวิจัย ครู กศน.อําเภอภูซาง ได้แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาที่ไม่ได้ถูกตีกรอบเพียง เรื่องของการเรียน หนังสือเท่านั้น ยังมีรูปแบบและแนวทางอื่นๆ ในหลายๆ มิติ ที่มีความหลากหลาย น่าค้นหา น่าสนใจ และยัง เกิดประสิทธิภาพประสิทธิผลสูงสูดในการจัดการศึกษา ในมุมมองนักจัดการศึกษามีความเห็นว่า “กระบวน งานวิจัยน่าจะเป็นทางเลือกในการจัดการศึกษาสําหรับ กศน.เพื่อนําไปสู่การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของ คนในชุมชนหรือกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง” ในปัจจุบันและในอนาคต
บทเรียนที่ได้รับ
นักวิจัยชุมชน
กลุ่มสตรีชาวลาว เกิดการเรียนรู้ในกระบวนการวิจัยมากยิ่งขึ้น รู้ว่าวิจัยคือ อะไร มีกระบวนการ อย่างไร ทําเพื่ออะไร และในขั้นตอนการดําเนินงานนักวิจัยชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้ เกิดกระบวนการคิด มีการเปลี่ยนแปลงที่กล้าแสดงออกมากยิ่งขึ้น กล้าที่จะแสดงความคิดเห็น กล้าที่จะเสนอข้อโต้แย้งที่ตัวเองคิด ว่าผิดหรือถูก นอกจากนั้นนักวิจัยชุมชนยังได้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ ไม่ใช่เพียงแค่การอ่านออก
เขียนได้ แต่เป็นการเรียนรู้การใช้สัญลักษณ์แทนการเขียนหนังสือ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่เพิ่มมากขึ้น รู้จักการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยตัวของนักวิจัยชุมชนเอง สามารถนําเอากระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น ไปปรับใช้กับกับชุมชนได้ สาเหตุที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงประเด็นแรกก็คือการวางแผนการทํางานอย่างเป็น ระบบในเรื่องของเวลา บุคลากร สถานที่ ทั้งในส่วนของ กศน.และกลุ่มสตรีชาวลาว ประเด็นที่ 2 การสื่อสาร ทีมวิจัยครู กศน.ใช้ภาษาที่เป็นกันเองเรียบง่าย ไม่ซับซ้อน ทําให้เกิดความเป็นกันเอง ลดช่องว่างระหว่าง ครูกศน.และกลุ่มสตรีชาวลาวทําให้การสะท้อนข้อมูลของกลุ่มออกมาจากองค์ความรู้ และความต้องการของ กลุ่มจริงๆ ประเด็นที่ 3 ความร่วมมือ ทีมวิจัยครูกศน. ให้ความสําคัญและยอมรับกลุ่มสตรีชาวลาว มีความเป็น กันเอง สร้างความเชื่อมั่นให้กับกลุ่มโดยการให้กําลังใจและคอยช่วยเหลือแก้ไขปัญหาต่าง ที่สําคัญคือความ จริงใจที่สื่อถึงกลุ่ม ประเด็นที่ 4 การบริหารโครงการ เป็นปัจจัยที่สําคัญในการขับเคลื่อนโครงการให้เป็นไป อย่างราบรื่นและประสบผลสําเร็จ เป้าหมายของโครงการคือ กลุ่มสตรีชาวลาว การบริหารโครงการอาศัย การบูรณาการทุกรูปแบบเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการมากที่สุดและตอบสนองความต้องการทั้ง ครูกศน.และกลุ่มสตรีชาวลาว ประเด็นที่ 5 ความมุ่งมั่นของกลุ่มสตรีชาวลาว ประเด็นความต้องการมาจาก กลุ่มสตรีชาวลาวทําให้กลุ่มมีความมุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหาของกลุ่มเอง ทีมวิจัยครู กศน.มีหน้าที่หนุนเสริมใ น ทุกๆ ด้าน ร่วมเรียนรู้และแก้ไขปัญหาไปพร้อมกับกลุ่มสตรีชาวลาว ที่สําคัญคือกําลังใจและการยอมรับ ให้ เกียรติซึ่งกันและกัน
ชุมชน
จากบทเรียนที่ผ่านมาการเข้าถึงชุมชนเป็นไปด้วยความลําบากเนื่องจากชุมชนไม่เห็นความสําคัญของ การจัดศึกษาเท่าที่ควรการจัดกิจกรรมต่างไม่มีส่วนร่วมเท่าที่ควร หลังจากที่นํางานวิจัยเพื่อท้องถิ่นมาทํากับ กลุ่มสตรีชาวลาวทําให้ชุมชนมองเห็นถึงความสําคัญของการจัดการศึกษา การประสานงานความร่วมมือมีมาก ขึ้น กลุ่มสตรีชาวลาวได้รับการยอมรับจากชุมชน เช่นการ จัดกิจกรรมต่างๆในชุมชนกลุ่มสตรีชาวลาวจะมี บทบาทมายิ่งขึ้น ครู กศน.เข้าไปมีบทบาทในชุมชนไม่ว่าจะเป็น วิทยากรให้ความรู้ในด้านอาชีพ การประชุม ประชาคมต่างๆภายในชุมชน การเข้าถึงข้อมูลชุมชนง่ายขึ้นจากเดิมชุมชนไม่ค่อยให้ความร่วมมือเท่าที่ควร
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงของ ครู กศน.
ครู กศน.มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นทําให้ทุกครั้งที่ลงเวทีจัดกิจกรรมทุกคนต่างรู้ หน้าที่ของตนเอง มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนให้หน้าที่ ทําให้ ครู กศน.ทําหน้าที่ในแต่ละเวทีต่างออกไป เพื่อเป็น การฝึกให้เข้าใจถึงกระบวนการการทํางานวิจัยเพื่อท้องถิ่น และฝึกให้ครู กศน.มีความกล้าที่จะทําในสิ่งที่ไม่เคย ทํามาก่อน และครูได้กระบวนการเรียนการสอน (นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน) รูปแบบใหม่ เข้าใจการ จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองและประยุกต์ใช้กับกลุ่มผู้ไม่รู้ หนังสือ เช่น การใช้สัญลักษณ์ แทนการเขียนตัวหนังสือ การจัดอาชีพที่เน้นการทบทวนข้อมูลชุมชน ต้นทุน บริบท และวิเคราะห์ความเป็นไปได้ อีกทั้งมีกระบวนการที่กระตุ้นให้ชุมชนอยากแก้ปัญหาด้วยตนเอง มีการ ลองผิดลองถูก ออกแบบกิจกรรมด้วยตัวของชุมชนเอง หาข้อสรุปร่วมกันโดยยึดเสียงส่วนใหญ่เป็นหลัก โดย กระบวนการนี้ทําให้นักวิจัยชุมชนมีส่วนร่วมในกระบวนการมากยิ่งขึ้นครูมีทัศนคติที่ดีต่องานวิจัย มีเทคนิคใน การจับประเด็นจากการใช้เครื่องมือ เช่น การอัดเสียง และการถ่ายภาพเข้ามาช่วยในการเขียนบันทึกได้ดีขึ้น และเชื่อว่า การฟังข้อมูลที่ซ้ําๆสามารถได้มาซึ่งคําตอบที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ต้องบันทึกตามประเด็นที่ออกแบบไว้ ครูสามารถเข้าใจและเข้าถึงชุมชนได้อย่างแท้จริง เกิดการยอมรับฟังความคิดเห็นของเพื่อร่วมงานมากยิ่งขึ้น ครูเข้าใจถึงกระบวนการทํางานวิจัยเพื่อท้องถิ่นและสามารถนํารูปแบบไปปรับใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นพื้นฐานเพื่อให้เกิดการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ครู กศน.อําเภอภูซาง ยังได้ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ผ่านกระบวนการทํางานวิจัย ซึ่งมาจากการกิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันในแต่ละเวที ระหว่างผู้เรียนกับครูผู้สอนทําให้ “งานวิจัยถูกประสานเป็นงานเนื้อเดียวกัน กับ กรอบงาน ของ กศน.” เพราะฉะนั้น งานวิจัยเพื่อท้องถิ่นที่เคยถูกมองว่าเป็นภาระงานเพิ่มขึ้นของ กศน.จึง หมดไป เหลือแต่ร่องรอยที่เห็นได้ชัดว่า กระบวนการทํางานวิจัย สามารถพัฒนา ครู กศน.อําเภอภูซาง ได้ อย่างแท้จริง ทําให้ครูทํางานเชิงรุก เข้าถึงชุมชน รู้จักชุมชนในหลายๆ มิติ สามารถวางแผนการดําเนินงาน ได้ อย่างเป็นระบบ ส่งเสริมกระบวนการ “คิดเป็น” สําหรับครู กศน.อําเภอภูซาง ซึ่งจะเป็นแม่แบบ ถ่ายทอดและ ส่งเสริมกระบวนการ “คิดเป็น” สู่ผู้เรียนต่อไป
การเปลี่ยนแปลงของชุมชน
ชุมชนทราบถึงข้อมูลทั้ง 4 ด้านของตนเอง ได้แก่ เศรษฐกิจ การศึกษา สังคม และวัฒนธรรมเพื่อ นํามาใช้ในการวางแผนการดําเนินชีวิต ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจําวัน ทําให้เกิดกระบวนการคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น รับทราบถึงสภาพแวดล้อมและศักยภาพของตนเอง เพื่อนํามาประยุกต์ใช้ในการวางแผนการดําเนินชีวิต ชุมชน มีส่วนร่วมที่เกิดจากแรงกระตุ้นของชุมชนเอง ชุมชนเกิดการเรียนรู้ในกระบวนการวิจัยมากยิ่งขึ้น รู้ว่าวิจัยคือ อะไร มีกระบวนการอย่างไร ทําเพื่ออะไร และในขั้นตอนการดําเนินงานนักวิจัยชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้ เกิดกระบวนการคิด มีการเปลี่ยนแปลงที่กล้าแสดงออกมากยิ่งขึ้น ตื่นตัวที่ได้รับการศึกษาและยังได้รับการ แก้ไขปัญหาที่ตรงกับความต้องการของตนเอง เกิดนักวิจัยชุมชนที่มีทักษะ กระบวนการคิด กระบวนการ แก้ปัญหาที่เป็นขั้นตอน มีอาชีพที่มั่นคงสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว มีความภาคภูมิใจในการมีตัวตน ของตังเอง ได้รับการยอมรับจากชุมชนข้างเคียงและในพื้นที่อําเภอภูซางเป็นวงกว้าง
การเปลี่ยนแปลงของ กศน.อําเภอ/ผู้บริหาร
ในสถานศึกษาเองก็ใช่ว่าบุคลากรทุกคนจะเต็มใจและเห็นด้วยกับการที่ใช้กระบวนการวิจัยเพื่อท้องถิ่น บูรณาการไปกับกิจกรรม กศน.ในพื้นที่ แต่นานไปผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของคนในชุมชน ปัญหาของ ชาวบ้านที่จริงก็คือผู้เรียน ผู้รับบริการของ กศน. ได้รับการแก้ไขได้ตรงจุด ด้วยตัวของเขาเอง ผ่านกระบวน งานวิจัยเพื่อท้องถิ่น แม้ว่าครูเต็มใจ หรือไม่เต็มใจที่ต้องเข้าพื้นที่ให้บ่อยครั้งขึ้น แต่พอเห็นความสําเร็จของ กิจกรรมแต่ละครั้งของการลงพื้นที่ ทําให้หายเหนื่อย มีกําลังใจงานเกิดการพัฒนาก้าวหน้ามาอย่างต่อเนื่อง นักวิจัยเก่า ใหม่ ทํางานร่วมกัน พากันลงพื้นที่แก้ไขปัญหาร่วมกัน กับชาวบ้านที่เป็นนักวิจัยชุมชน ผลปรากฏ ว่าชุมชนพึงพอใจ ไว้วางใจครู เกิดการแบ่งปัน ให้ความร่วมมืออย่างเห็นได้ชัดเจน เกิดการยอมรับซึ่งกันและ กันภายในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา แต่นั่นไม่ได้หมายถึงว่ากลุ่มผู้บริหารสถานศึกษาจะยอมรับและ เห็นด้วยทั้งหมด ตราบใดที่ยังไม่ได้ลงมือทําด้วยตัวเอง แต่ที่เห็นได้ชัดเจนก็คือ งานวิจัยท้องถิ่น เมื่อผู้บริหาร สถานศึกษาเปิดรับ ยอมพัฒนานําพาบุคลากรในสถานศึกษา ใช้กระบวนการวิจัยเพื่อท้องถิ่นเป็นตัวขับเคลื่อน กิจกรรม กศน. ถึงจะเห็นการเปลี่ยนแปลงจริง ด้วยประสบการณ์ของบุคลากรในสถานศึกษาเอง โดยที่เราไม่ ต้องพูดโน้มน้าวหรือเชิญชวนอีกต่อไป แต่ก็ต้องใช้เวลาเช่นกัน
5.2 การอภิปลายผล
ผลที่ได้จากการวิจัยสามารถอภิปลายผลดังนี้
1. การสืบค้น รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องร่วมกับกลุ่มสตรีชาวลาวในพื้นที่หมู่ที่ 3, 4 และ 12 ตําบลภูซาง อําเภอภูซาง จังหวัดพะเยา
หลังจากที่ทีมวิจัยได้ทําความเข้าใจเกี่ยวกับการทํางานวิจัยเพื่อท้องถิ่นแล้วทําให้นักวิจัยครูและนักวิจัย ชุมชนปรับเปลี่ยนทัศนคติเกี่ยวกับงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นไปไหนทิศทางที่ดีขึ้นจากเดิมนักวิจัยรุ่นเก่ากับนักวิจัยรุ่น ใหม่นักวิจัยชุมชน จะมีทัศนคติที่แตกต่างกัน กระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นเป็นเครื่องมือในการทําให้ทุก ฝ่ายมีความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน และมีเป้าหมายที่จะทําร่วมกัน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดเกี่ยวกับ ทัศนคติของ Newcomb (1954) (อ้างถึงใน อุทุมพร ไพลิน, 2540) ให้ความหมายของทัศนคติว่า การ แสดงออกในลักษณะของความพึงพอใจ เห็นด้วยหรือชอบทัศนคติเช่นนี้ทําให้คนอยากปฏิบัติ อยากได้ อยาก เข้าใกล้สิ่งนั้น ลักษณะเช่นนี้เราเรียกว่า ทัศนคติทางบวก (Positive Attitude) กระบวนการสืบค้นองค์ความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับบริบทกลุ่มเป้าหมายบนฐานของความหลากหลายภายใต้การพัฒนาศักยภาพ 4 ฐาน ประกอบด้วย ฐานสังคม ฐานเศรษฐกิจ ฐานการศึกษาและฐานวัฒนธรรม เริ่มต้นจากการต้องการศึกษาข้อมูล ภูมิหลังของกลุ่มสตรีชาวลาว เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิเคราะห์และประมวลผล เพื่อวางแนวทางในการ พัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาว รวมทั้งการประเมินสถานการณ์ในการพัฒนาศักยภาพที่เหมาะสมกับ กลุ่มสตรีชาวลาว โดยใช้เครื่องมือการวิจัยเพื่อเก็บข้อมูล ผ่านการจัดกิจกรรมกระบวนการที่เหมาะสม เช่น ใน กิจกรรมการสืบค้นข้อมูล/องค์ความรู้ที่เกี่ยวกับบริบทของกลุ่มสตรีชาวลาว ทีมวิจัยใช้เครื่องมือการวิจัย อาทิ เช่น โอ่งชีวิต ปฏิทินฤดูกาล/วัฒนธรรม แผนที่เดินดิน เป็นต้นเพื่อเก็บข้อมูลพื้นฐานแล้ว กลุ่มสตรีชาวลาวและ ครู กศน.อําเภอภูซาง ยังได้กระบวนการเรียนรู้และองค์ความรู้ใหม่ๆ ร่วมกัน ได้พบปะพูดคุย ได้นําเสนอ เรื่องราวของตนผ่านการบอกเล่า ซึ่งสอดคล้องกับ ถวัลย์ มาศจรัส (2552) กล่าวว่า การแลกเปลี่ยนเรียนรู้จึง เป็นกิจกรรมการถ่ายโอนหรือเผยแพร่ความรู้จากบุคคล กลุ่มคน หรือ องค์การไปยังผู้อื่น มีการระบุความรู้ เชิงกลยุทธ์ การเข้าถึงความรู้ที่มีอยู่ เพื่อที่จะถ่ายโอนความรู้และประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาและพัฒนา งานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในกระบวนการจัดกิจกรรมทีมวิจัยครู กศน.และทีมวิจัยชุมชนช่วยกันแสดงความ คิดเห็นและสะท้อนข้อมูลที่ตนเองมีองค์ความรู้ให้ผู้อื่นได้รับทราบและรับฟังความคิดเห็นของทีมวิจัยด้วยกัน เอง ทุกคนมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการ ประพันธ์พงศ์ ชิณพงษ์ (2551) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมไว้ ว่าต้องเป็นการเห็นพ้องต้องกันของคนส่วนใหญ่ที่จะเข้าร่วมปฏิบัติการนั้น และเหตุผลที่คนมาร่วมปฏิบัติการได้ จะต้องตระหนักว่าการปฏิบัติการทั้งหมดโดยกลุ่ม หรือในนามของกลุ่มหรือกระทําการผ่านองค์กร
ข้อมูลที่ได้สืบค้นสืบค้นองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับบริบทกลุ่มเป้าหมายบนฐานของความหลากหลาย
ภายใต้การพัฒนาศักยภาพ 4 ด้าน ดังนี้1) มิติด้านเศรษฐกิจ2) มิติด้านสังคม 3) มิติด้านการศึกษา 4) มิติด้าน วัฒนธรรม ข้อมูลส่วนใหญ่จะเป็นข้อมูลพื้นฐาน เช่นบริบทชุมชน วัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิต การประกอบ อาชีพ ภาษาเป็นต้น ซึ่งสอดคล้องกับความรู้เกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์ ของมิตร คลของพระเจ้า (2554) ให้ ความหมายของ ชาติพันธุ์ หมายถึง กลุ่มคนที่มีวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษาพูดตระกูลเดียวกัน และสืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษกลุ่มเดียวกัน เช่น ไทย พม่า กะเหรี่ยง จีน ลาว เป็นต้น จากข้อมูลพัฒนา ศักยภาพ 4 ฐานทีมวิจัยได้นํากระบวนการวิเคราะห์ SWOT มาใช้ในกระบวนการถอดองค์ความรู้ วิเคราะห์ จุด แข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค เพื่อแก้ไขปัญหาภายในและภายนอกของกลุ่มทําให้กลุ่มมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับAlbert Humphrey (1960)(อ้างถึงใน วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2559) ได้ให้แนวคิด
การวิเคราะห์ SWOT Analysis การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายใน โอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอก ตลอดจนผลกระทบที่มีศักยภาพจากปัจจัยเหล่านี้ต่อการ ทํางานขององค์กร การสืบค้นข้อมูลในด้านต่างๆทีมวิจัยได้นําเครื่องมืออาทิเช่น โอ่งชีวิต ปฏิทินฤดูกาล/ วัฒนธรรม แผนที่เดินดิน เป็นต้นเพื่อเก็บข้อมูลพื้นฐาน ในกระบวนการที่นําเครื่องมือลงไปใช้ทีมวิจัยสามารถ ดึงข้อมูลได้ง่ายขึ้น การเข้าถึงข้อมูลสะดวกรวดเร็ว กลุ่มสตรีชาวลาวได้ฝึกกระบวนการคิดไปด้วยซึ่งสอดคล้อง กับMatlin (1992) ให้ความหมายไว้ว่า ความคิดเป็นกิจกรรมทางสมอง เป็นกระบวนการทางปัญญา ซึ่ง ประกอบด้วยการสัมผัส การรับรู้ การรวบรวม การจํา การรื้อฟื้นข้อมูลเก่าหรือประสบการณ์
2.การกําหนดรูปแบบการพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตบนฐานของ ความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มประสิทธิภาพ
ระยะที่ 1 ทําให้ทีมวิจัยทราบถึงข้อมูลเชิงลึกในแต่ละด้าน และสามารถนํามาวางแผนเพื่อใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาวได้ ฐานเศรษฐกิจ กลุ่มสตรีชาวลาวจะเน้นไปทาง การ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม การค้าขาย และการทําเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหลักซึ่งสอดคล้องกับความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย ฐานสังคม กลุ่มสตรีชาวลาวได้เน้นการสร้างความตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นในการเข้า มาโดยผิดกฎหมายว่ามีผลเสียยังไงบ้างเพื่อลดการเข้ามาในประเทศไทยแบบผิดกฎหมายของกลุ่มสตรีชาวลาว และให้ความรู้ การศึกษา ในเรื่องสิทธิมนุษยชนแก่กลุ่มสตรีชาวชาวที่อยู่ในพื้นที่ ฐานการศึกษาพบว่ากลุ่มสตรี ชาวลาวบางส่วนได้ศึกษากับ กศน.อําเภอภูซาง และมีความต้องการที่จะใช้การศึกษาเพื่อลดความเลื่อมล้ําทาง สังคม ฐานวัฒนธรรม พบว่า กลุ่มสตรีชาวลาวมีการรับเอาวิถีชีวิตความเป็นอยู่แบบไทย ส่งผลให้ลืมเลือน วัฒนธรรมดั้งเดิมของตัวเอง ทําให้กลุ่มสตรีชาวลาวมีความต้องการที่จะอนุรักษ์ความเป็นอัตลักษณ์ในตนเอง เอาไว้ซึ่งสอดคล้องกับ แกรีแฮเมลและซีเค.พราฮาราด(1994) (Gary Hamel และ C.K.Prahalad) ได้เขียน หนังสือชื่อ Competing for The Future ซึ่งได้นําเสนอแนวคิดที่สําคัญ คือ Core Competencies การพัฒนาศักยภาพจึงมีความสําคัญอย่างยิ่งต่อการทํางานในยุคปัจจุบัน ศักยภาพจึงเป็นความสามารถที่ถูก ซ่อนเร้นไว้ หากได้รับการพัฒนา คือ การนําเอาความสามารถนั้นออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ สิ่งที่ตามมาก็คือ งานทุกอย่างที่ทําก็จะประสบความสําเร็จอย่างงดงาม
ในระยะที่ 2 ทีมวิจัยได้นํากิจกรรมที่จะจากการวิเคราะห์ข้อมูลในระยะที่ 1 มาดําเนินการจัดกิจกรรม และวิเคราะห์ผลการดําเนินงานวิจัยใน ระยะที่ 2 ตอบโจทย์ ทั้ง 4 ฐาน การศึกษา สังคม เศรษฐกิจและ วัฒนธรรมตอบโจทย์ตามวัตถุประสงค์ได้อย่างชัดเจนในทุกมิติ ทีมวิจัยจึงได้แนวทางออกมา 4 แนวทางในการ พัฒนาศักยภาพของกลุ่มสตรีชาวลาวดังนี้
แนวทางที่ 1 การพัฒนาศักยภาพในฐานเศรษฐกิจ จะเน้นเรื่องการพัฒนาอาชีพที่ตอบสนองความ
ต้องการของกลุ่มสตรีชาวลาวที่สอดคล้องและเหมาะสมกับพื้นที่ชายแดนเพื่อรองกับการเปิดด้านถาวรและการ เปลี่ยนแปลงในอนาคต สอดคล้องกับ นโยบายการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประจําปี งบประมาณ พ.ศ. 2560 4.5 จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนทุกช่วงวัย “กศน. ช่วยประชาชน” เช่น จัดการเรียนวิชาชีพระยะสั้น (โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน) ให้กับประชาชนที่สอดคล้องกับความต้องการ ของตลาดแรงงาน บริบทของพื้นที่ จัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ และการพัฒนา ทักษะชีวิตในการเตรียมความพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการเข้าสู่สังคมเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Thailand 4.0)
แนวทางที่ 2 การพัฒนาศักยภาพในฐานการศึกษา จะเน้นการบูรณาการการศึกษาในทุกกิจกรรมเพื่อ
ตอบสนองความต้องการของกลุ่มสตรีชาวลาวและให้กลุ่มสตรีชาวลาวเข้าถึงมาที่สุดทีมวิจัยครู กศน.ได้บูรณา การการจัดกิจกรรมเข้ากับการเรียนการสอนสําหรับผู้ไม่รู้หนังสือกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดย