สัญญาเลขที่ RDG6240052
สัญญาเลขที่ RDG6240052
รายงานฉบับxxxxxxx xxxวิเคราะห์ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์และวิธีการแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย
โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย พฤษภาคม 2564
สัญญาเลขที่ RDG6240052
รายงานฉบับxxxxxxx
xxxวิเคราะห์ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์และวิธีการแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย
คณะผู้วิจัย
xx.xxxxx xxxxxxx xxxxxxxxxxxxxx
xxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxx
xxxxxx xxxxxxxxxxx xxxxxxxx
xxxx เลิศxxxxxxx นักวิจัย
xxxx xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx
xx xxxxx ผู้ช่วยวิจัย
สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการxxxxxxxxวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (ความเห็นในรายงานนี้เป็นของผู้วิจัย สกสว. ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป)
บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary)
ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอยู่ในระดับที่สูง สะท้อนได้จากสถิติ อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุเดียวกันพันคน ซึ่งเป็นฐานข้อมูลสถิติทางการที่ มีการเก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ โดยกระทรวงสาธารณสุข แม้ว่าอุบัติการณ์ดังกล่าวจะมีแนวโน้มลดลงตั้งแต่ ปี 2556 โดยลดจาก 53.4 ต่อพันคนในปี 2555 เหลือ 29.1 ต่อพันคนในปี 2563 ทั้งนี้มีหลักฐานที่แสดง ชัดเจนว่าการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นก่อให้เกิดความเสี่ยงมากกว่าการตั้งครรภ์ของหญิงที่เป็นผู้ใหญ่มากมายหลาย xxxx xxxx ความเสี่ยงทางร่างกาย จิตใจ สังคมและเศรษฐกิจ ต้นทุนทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น xxxxxxวิเคราะห์ได้ในระดับบุคคล ระดับครัวเรือนและระดับชาติ ต้นทุนอาจอยู่ในรูปของการสูญเสียทาง เศรษฐกิจในxxxxxจากการออกจากโรงเรียน หรือค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ xxxx ค่าใช้จ่ายในการดูแล ครรภ์ ค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของทารกแรกเกิด และอาจมีค่าใช้จ่ายทางอ้อมอื่นๆ xxxx การสูญเสียผลิต ภาพทั้งในระดับบุคคลและระดับครัวเรือน การศึกษานี้จะมุ่งเน้นเฉพาะต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจที่เป็น ผลจากการออกจากโรงเรียน (school dropout) เนื่องจากการตั้งครรภ์ไม่ว่าจะเกิดโดยตั้งใจหรือxxxxxxxxx ซึ่ง แม่วัยรุ่นกลุ่มนี้หากต้องการเข้าสู่ตลาดแรงงานหลังคลอดบุตร โอกาสในการทำงานและค่าxxxxxxxได้รับจะขึ้นอยู่ กับ ก. ระดับการศึกษา และ ข. เวลาที่ต้องใช้ในการดูแลเด็กเล็ก
นอกจากนี้ มาตรการต่างๆ ที่ถูกนำมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในช่วงที่ผ่านxx xxxไม่ เคยมีการศึกษาอย่างชัดเจนว่ามาตรการไหนให้xxxxxxxxxxอย่างไร การศึกษานี้จึงสำรวจและวิเคราะห์มาตรการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย ที่ส่งผลต่อการxxxxxxปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ในประเทศไทย
การวิเคราะห์ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทยครั้งนี้ เป็นการประเมิน ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจโดยรวมของการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นจากการลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิต โดยจำแนกกลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (Adolescent Pregnancy; AP) และประเมินรายได้ตลอดชีวิตของแต่ละ กลุ่มเทียบกับกลุ่มควบคุมซึ่งเป็นกลุ่มที่มีอายุ มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมที่คล้ายคลึงกัน แต่xxxxxxตั้งครรภ์ และเรียนต่อจนจบระดับการศึกษาตามที่วางแผนไว้ โดยใช้วิธี Propensity Score Matching (PSM)
เมื่อเข้ากระบวนการ Propensity Score Matching (PSM) เพื่อหาความแตกต่างของรายได้ ระหว่าง กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (treatment group) เทียบกับกลุ่มควบคุม คือหญิงที่มีอายุ มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจและ สังคมที่คล้ายคลึงกัน แต่xxxxxxตั้งครรภ์และเรียนต่อจนจบระดับการศึกษาตามที่วางแผนไว้ หรือเรียกว่า “กลุ่มที่ มีลักษณะxxxxกับกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น” แต่xxxxxxตั้งครรภ์ พบว่า กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมีรายได้ต่ำกว่ากลุ่มที่มี ลักษณะxxxxอยู่ 2,811 บาทต่อคนต่อเดือน เมื่อทดสอบด้วยแบบxxxxx PSM เพิ่มเติมในกลุ่มที่ออกจาก โรงเรียนโดยxxxxจากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พบว่า ส่งผลให้มีการลดลงของรายได้ (4,582 บาทต่อคนต่อเดือน) สูงกว่ากลุ่มที่กลับเข้าเรียน (3,936 บาทต่อคนต่อเดือน)
เมื่อนำความแตกต่างของรายได้ดังกล่าว มาประเมินการลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิต ซึ่งคำนวณ จากจำนวนปีที่มีการทำงานของแต่ละคนที่ผ่านมาตั้งแต่ในอดีตเมื่อครั้งอายุ 20 ปี จนถึงปัจจุบันและต่อเนื่องไป ถึงxxxxxเมื่ออายุครบ 60 ปี จึงได้ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากการ ลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิต อยู่ที่ประมาณ 8.3 xxxxxxxบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 5.1 ของ GDP
โดยหากคิดเป็นการลดลงของรายxxx x ปีปัจจุบัน (ในการคำนวณคือปี 2561) เพียงปีเดียว พบว่าอยู่ที่ประมาณ
2 หมื่นล้านบาท
ผลจากการศึกษายังพบอีกว่า ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากการ ลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิตนี้จะxxxxxมากขึ้นในประชากรรุ่นต่อไปหากไม่มีการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น เนื่องจากความแตกต่างของรายได้จะxxxxxมากขึ้นในกลุ่มคนรุ่นต่อๆ ไป ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากระดับ การศึกษาที่สูงขึ้น สมมติให้ความแตกต่างของรายได้ของกลุ่มคนรุ่นถัดไปxxxxxขึ้นเป็น 2 เท่า ต้นทุนค่าเสีย โอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากการลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิต จะxxxxxขึ้นไปถึงประมาณ
1.2 ล้านล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.2 ของ GDP
ผลในส่วนนี้แสดงถึงนัยทางนโยบายที่ต้องให้ความสำคัญกับการลดจำนวนแม่วัยรุ่น และxxxxxxให้ วัยรุ่นอยู่ในระบบการศึกษาและได้เรียนจนจบในระดับการศึกษาตามxxxxxxตั้งไจไว้ โดยเฉพาะกลุ่มตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น ควรต้องได้กลับเข้าเรียนในระบบการศึกษาโดยไม่มีอุปสรรคในการกลับเข้าเรียนในโรงเรียนเดิมจนจบใน ระดับการศึกษาตามxxxxxxตั้งไจไว้ เพื่อให้xxxxxxทำงานและมีรายxxxxxxเหมาะสมกับความรู้ความxxxxxx
ในกรณีxxxxxxพร้อมที่จะกลับเข้าเรียนในระบบ ซึ่งมีแม่วัยรุ่นจำนวนxxxxxxxxxxกลับเข้าเรียนในระบบ แต่ เลือกที่จะเข้าเรียนในการศึกษานอกระบบหรือการศึกษานอกโรงเรียนแทน การพัฒนาคุณภาพของการศึกษา นอกระบบให้เท่าเทียมกับการศึกษาในระบบจึงเป็นสิ่งจำเป็น เนื่องจากเป็นปัจจัยกำหนดสำคัญที่จะช่วยให้ กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นดังกล่าวxxxxxxมีความรู้และทักษะเพื่อการหารายได้ในระดับxxxxxxxxxxxใกล้เคียงกับกลุ่ม ที่เรียนอยู่ในระบบ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวม
ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่ประเมินจากการลดลงของรายได้ตลอด ช่วงชีวิตของกลุ่มผู้หญิงอายุ 15-19 ปี ที่เป็นผลมาจากการมีบุตรเร็วนี้ เป็นการประเมินต้นทุนทางตรงจากการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ซึ่งเป็นต้นทุนขั้นต่ำ ยังมีต้นทุนทางอ้อมในส่วนอื่นๆ ที่xxxxxxศึกษาเพิ่มเติมในงานศึกษา ลำดับต่อๆ ไป อาทิ การสูญเสียรายได้ทางภาษี การลงทุนด้านการศึกษาที่เสียไป ค่าใช้จ่ายด้านการดูแลสุขภาพ และช่วยเหลือสังคมของรัฐบาลสำหรับแม่วัยรุ่นและทารกแรกเกิดที่xxxxxขึ้น เป็นต้น
การวิเคราะห์มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นในประเทศไทยที่ส่งผลต่อการ xxxxxxปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทยในการศึกษานี้ ได้รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลใน 3 ด้านคือ
(1) ข้อมูลทุติยภูมิเกี่ยวกับมาตรการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา นำมาเปรียบเทยบ วิเคราะห์ความเชื่อมโยงกับการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่เปลี่ยนแปลงไป และวิเคราะห์มาตรการที่เป็นรูปธรรมส่งผล ชัดเจนต่อการลดลงของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (2) สัมภาษณ์ผู้กำหนดนโยบายหลักและผู้สนับสนุนเกี่ยวกับ ประโยชน์ของมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และ (3) ศึกษาการตั้งครรภ์ของวัยรุ่น โดยสนทนากลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นวัยรุ่นเกี่ยวกับพฤติกรรม ทัศนคติ การแก้ปัญหา ผลจากสภาพแวดล้อมและ คนใกล้ชิด และการรับรู้และใช้ประโยชน์จากมาตรการของรัฐที่ส่งผลต่อพวกเขา ผลการศึกษา พบว่า xxxxxxxxxxและมาตรการที่เกี่ยวข้องได้เริ่มมีการจัดทำอย่างเป็นทางการนับตั้งแต่ปี 2553 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ อัตราการการคลอดในวัยรุ่นสูงที่ในช่วงสามxxxxxx
การเกิดขึ้นของxxxxxxxxxxป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชนตั้งครรภ์ไม่พร้อม (พ .ศ.2553 - พ.ศ.2557) และการจัดทำxxxxxxxxxxการพัฒนาอนามัยxxxxxxxxxxxแห่งชาติ ฉบับที่ 1 ซึ่งเกิดจากความร่วมมือ ของหลายภาคส่วนในสังคมในการขับเคลื่อนป้องกันและแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนั้นการ ประกาศใช้พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 ยังเป็นกฎหมายสำคัญ
ที่ระบุหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละหน่วยงานในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดย ประกอบด้วย สถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุข สถานประกอบกิจการ หน่วยงานสวัสดิการสังคมและส่วน ราชการxxxxxxxx
มาตรการที่เกิดขึ้นจากแผนการxxxxxxงานที่เป็นรูปธรรมนับตั้งแต่ พ.ศ.2553 และมีส่วนสำคัญในการ ลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นในช่วงxxxxxxxxxผ่านมา xxxxxxจำแนกเป็น 6 กลุ่ม ประกอบด้วย การประกาศใช้ พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 มาตรการที่เกี่ยวข้องกับการใช้ ถุงยางอนามัย การxxxxxxงานของเครือข่ายให้คำปรึกษาและการยุติการตั้งครรภ์ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ ซ้ำในวัยรุ่น การผลักดันการใช้ยายุติการตั้งครรภ์ ( เมดาบอน) และการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรของ กระทรวงศึกษาธิการ โดยมาตรการข้างต้นมีวัตถุประสงค์และวิธีการxxxxxxงานที่แตกต่างกันโดยครอบคลุม ตั้งแต่ระยะการป้องกันxxxxxxจัดการหลังการตั้งครรภ์ ทั้งนี้การxxxxxxมาตรการจากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมี ความจำเป็นต้องบูรณาการให้สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันเพื่อให้มาตรการเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
Thailand is one of the countries facing high adolescent pregnancy rates, although the incidence has somewhat reduced from 53.4 per 1,000 adolescent girls in 2012 to 29.1 per 1000 adolescent girls in 2020. Economic costs of adolescent pregnancies can be analyzed at individual, household, and national level. This study focused on economic opportunity cost or productivity loss resulting from school drop-out following intentional and unintentional adolescent pregnancy. If a pregnant girl is to drops out from school and wants to enter job market after giving birth, her job opportunity and expected wage received will depend on (a) her education background and (b) the fact that she has to take care of her newborn.
Another shortcoming that hinders more effective planning to control adolescent pregnancies is the lack of understanding the plausible interventions. As such, what intervention has actually contributed to the decline in the problem is not yet fully understood. Moreover, there might be other interventions not yet attempted but have good potential. Thus, this study explored and analyzed the interventions for adolescent pregnancies in Thailand.
To estimate total economic cost of adolescent pregnancies in Thailand, the study identified types of adolescent pregnancy and estimated differences of lifetime income of the adolescent pregnancy groups (treatment groups) compared with the control groups by using Propensity Score Matching (PSM). The study found that total economic cost of adolescent pregnancies in Thailand was approximately 830 billion baht or 5.1% of GDP. And if considered the cost just for one year, it is found to be approximately 20 billion baht as of year 2018.
This study also found that this cost would increase in the next generation if adolescent pregnancy was not addressed. This is because income differences would be increased among the next generation because of the higher education levels. Assuming that the difference in income for the next generation would be doubled in the cost of adolescent pregnancy, total economic cost of adolescent pregnancies in Thailand from a decrease in income over a lifetime would increase to approximately 1.2 trillion baht, or 7.2% of GDP.
These results indicated the need for policy implications to reduce the number of adolescent mothers by try to keep the teenagers in the education system to complete their studies. Especially, the teen pregnancy group should be able to continue their education in the same school until graduated so as to be able to work and earn appropriate income.
The economic opportunity cost of adolescent pregnancy assessed by the decline in lifetime income among women aged 15-19 resulting from early childbearing is an estimate of the direct costs of adolescent pregnancy which is the minimum cost. There are also other indirect costs that can be further studied, such as the loss of national tax income, wasted education investment, rising government health and social care costs for adolescents and newborns.
To explore and analyze interventions for adolescent pregnancies in Thailand, the study collected data in three dimensions. First, secondary data were collected on the use and cost of interventions in the past 30 years. Second, key policymakers and advocates were interviewed about their subjective views on the benefit of selected interventions. Third, adolescent pregnancies were voluntary gathered in focus group discussion about behaviors, attitude, problem solving, influence of environments and people close to them, as well as the perception and benefits obtained from the government measures. The study found that the strategies and related measures were initiated in 2010 when the rate of childbirth had been at high level in the last three decades.
The establishment of strategies to prevent and solve problems of teenage pregnancies (2010-2014) and also the first National Strategy for the Development of Reproductive Health in 2010 had created collaboration among many stakeholders in the societies. In addition, the Prevention and Solution of the Adolescent Pregnancy Problem Act A.D. 2016 is a relevant law that specifies the responsibilities of each sector in preventing and resolving adolescent pregnancy problems, which includes educational institutions, public health facilities, workplaces, social welfare agencies, and local governments.
The effective strategies and measures for the reduction of adolescent birth rates in the last decades could be divided into six groups: (1) legislation of the Prevention and Solution of the Adolescent Pregnancy Problem Act, B.E. 2559 (2016), (2) condom promotion, (3) networking of services for counselling and termination of pregnancy, (4) program to prevent repeated pregnancy, (5) provision of drugs for medical abortion, and (6) development of online training and teaching curriculum by the Ministry of Education. These measures had different objectives and methods of actions ranging from pregnancy prevention to management of teenage pregnancy. In this regard, the implementation should be integrated and have common direction in order to achieve high effectiveness of the measures.
บทคัดย่อ (Abstract)
ต้นทุนทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นxxxxxxวิเคราะห์ได้ในระดับบุคคล ระดับครัวเรือนและ ระดับชาติ ต้นทุนอาจอยู่ในรูปของการสูญเสียทางเศรษฐกิจในxxxxxจากการออกจากโรงเรียน หรือค่าใช้จ่าย ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ xxxx ค่าใช้จ่ายในการดูแลครรภ์ ค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของทารกแรกเกิด และอาจ มีค่าใช้จ่ายทางอ้อมอื่นๆ xxxx การสูญเสียผลิตภาพทั้งในระดับบุคคลและระดับครัวเรือน การศึกษานี้จะมุ่งเน้น เฉพาะต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจหรือการสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เป็นผลจากการออกจากโรงเรียน (school dropout) เนื่องจากการตั้งครรภ์ไม่ว่าจะเกิดโดยตั้งใจหรือxxxxxxxxx ซึ่งแม่วัยรุ่นกลุ่มนี้หากต้องการเข้า สู่ตลาดแรงงานหลังคลอดบุตร โอกาสในการทำงานและค่าxxxxxxxได้รับจะขึ้นอยู่กับ ก. ระดับการศึกษา และ ข. เวลาที่ต้องใช้ในการดูแลเด็กเล็ก
นอกจากนี้ มาตรการต่างๆ ที่ถูกนำมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในช่วงที่ผ่านxx xxxไม่ เคยมีการศึกษาอย่างชัดเจนว่ามาตรการไหนให้xxxxxxxxxxอย่างไร การศึกษานี้จึงสำรวจและวิเคราะห์มาตรการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย ที่ส่งผลต่อการxxxxxxปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ในประเทศไทย
การวิเคราะห์ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทยในการศึกษานี้ เป็นการ ประเมินความแตกต่างของรายได้ตลอดช่วงชีวิตของแต่ละกลุ่มเทียบกับกลุ่มควบคุมซึ่งเป็นกลุ่มที่มีอายุ มี พื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมที่คล้ายคลึงกัน แต่xxxxxxตั้งครรภ์และเรียนต่อจนจบระดับการศึกษาตามที่ วางแผนไว้ โดยใช้วิธี Propensity Score Matching (PSM) ได้ผลต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อยู่ที่ประมาณ 8.3 xxxxxxxบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 5.1 ของ GDP
ต้นทุนนี้จะxxxxxมากขึ้นในประชากรรุ่นต่อไปหากไม่มีการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เนื่องจาก ความแตกต่างของรายได้จะxxxxxมากขึ้นในกลุ่มคนรุ่นต่อๆ ไป ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากระดับการศึกษาที่สูงขึ้น ประเมินว่าด้วยเหตุนี้ สมมติให้ความแตกต่างของรายได้ของกลุ่มคนรุ่นถัดไปxxxxxขึ้นเป็น 2 เท่า ต้นทุนค่าเสีย โอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจากการลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิต จะxxxxxขึ้นไปถึงประมาณ
1.2 ล้านล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.2 ของ GDP
ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจที่จะxxxxxขึ้นในรุ่นต่อๆไป แสดงถึงนัยทางนโยบายที่ต้องให้ ความสำคัญกับการลดจำนวนแม่วัยรุ่น และxxxxxxให้วัยรุ่นอยู่ในระบบการศึกษาและได้เรียนจนจบในระดับ การศึกษาตามxxxxxxตั้งไจไว้ โดยเฉพาะกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ควรต้องได้กลับเข้าเรียนในระบบการศึกษาโดยไม่มี อุปสรรคในการกลับเข้าเรียนในโรงเรียนเดิมจนจบในระดับการศึกษาตามxxxxxxตั้งไจไว้ เพื่อให้xxxxxxทำงาน และมีรายxxxxxxเหมาะสมกับความรู้ความxxxxxx
ในกรณีxxxxxxพร้อมที่จะกลับเข้าเรียนในระบบ ซึ่งมีแม่วัยรุ่นจำนวนxxxxxxxxxxกลับเข้าเรียนในระบบ แต่ เลือกที่จะเข้าเรียนในการศึกษานอกระบบหรือการศึกษานอกโรงเรียนแทน การพัฒนาคุณภาพของการศึกษา นอกระบบให้เท่าเทียมกับการศึกษาในระบบจึงเป็นสิ่งจำเป็น เนื่องจากเป็นปัจจัยกำหนดสำคัญที่จะช่วยให้ กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นดังกล่าวxxxxxxมีความรู้และทักษะเพื่อการหารายได้ในระดับxxxxxxxxxxxใกล้เคียงกับกลุ่ม ที่เรียนอยู่ในระบบ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวม
ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นนี้ เป็นต้นทุนขั้นต่ำเท่านั้น เนื่องจากเป็น การประเมินต้นทุนทางตรงจากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ยังมีต้นทุนทางอ้อมในส่วนอื่นๆ ที่xxxxxxศึกษาเพิ่มเติม ในงานศึกษาลำดับต่อๆ ไป อาทิ การสูญเสียรายได้ทางภาษี การลงทุนด้านการศึกษาที่เสียไป ค่าใช้จ่ายด้าน การดูแลสุขภาพและช่วยเหลือสังคมของรัฐบาลสำหรับแม่วัยรุ่นและทารกแรกเกิดที่xxxxxขึ้น เป็นต้น
การวิเคราะห์มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นในประเทศไทยที่ส่งผลต่อการ xxxxxxปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทยในการศึกษานี้ พบว่า มาตรการที่เกิดขึ้นจากแผนการ xxxxxxงานที่เป็นรูปธรรมนับตั้งแต่ พ.ศ.2553 และมีส่วนสำคัญในการลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นในช่วง xxxxxxxxxผ่านมา xxxxxxจำแนกเป็น 6 กลุ่ม ประกอบด้วย การประกาศใช้พระราชบัญญัติการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 มาตรการที่เกี่ยวข้องกับการใช้ถุงยางอนามัย การxxxxxxงานของ เครือข่ายให้คำปรึกษาและการยุติการตั้งครรภ์ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น การผลักดันการ ใช้ยา ยุติการตั้งครรภ์ (เมดาบอน) และการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ โดยมาตรการข้างต้นมี วัตถุประสงค์และวิธีการxxxxxxงานที่แตกต่างกันโดยครอบคลุมตั้งแต่ระยะการป้องกันxxxxxxจัดการหลังการ ตั้งครรภ์ ทั้งนี้การxxxxxxมาตรการจากทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีความจำเป็นต้องบูรณาการให้สอดคล้องและ เป็นไปในทิศทางเดียวกันเพื่อให้มาตรการเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
Economic costs of adolescent pregnancies can be analyzed at individual, household, and national level. This study focused on economic opportunity cost or productivity loss resulting from school drop-out following intentional and unintentional adolescent pregnancy. If a pregnant girl is to drops out from school and wants to enter job market after giving birth, her job opportunity and expected wage received will depend on (a) her education background and (b) the fact that she has to take care of her newborn. Another shortcoming that hinders more effective planning to control adolescent pregnancies is the lack of understanding the plausible interventions. As such, what intervention has actually contributed to the decline in the problem is not yet fully understood. Moreover, there might be other interventions not yet attempted but have good potential. Thus, this study explored and analyzed interventions for adolescent pregnancies in Thailand.
To Estimate total economic cost of adolescent pregnancies in Thailand, the study identified types of adolescent pregnancy and estimated differences of lifetime income of the adolescent pregnancy groups (treatment groups) compared with the control groups by using Propensity Score Matching (PSM). The study found that total economic cost of adolescent pregnancies in Thailand was approximately 830 billion baht or 5.1% of GDP.
The results of the study also found that this cost will increase in the next generation if adolescent pregnancy is not addressed. This is because income differences will increase among the next generation, because of higher education levels. Assuming that the difference in income for the next generation is doubled in the cost of adolescent pregnancy, total
economic cost of adolescent pregnancies in Thailand from a decrease in income over a lifetime will increase to approximately 1.2 trillion baht, or 7.2 % of GDP.
These results confirm policy implications for reducing the number of adolescent mothers by try to keep the teenagers in the education system to complete their studies at the educational level as set out. Especially, the teen pregnancy group should be reinstated into the education system without limitation in returning to the same school until the completion of the educational level as set forth and to be able to work and earn appropriate income.
The economic opportunity cost of adolescent pregnancy assessed by the decline in lifetime income among women aged 15-19 resulting from early childbearing is an estimate of the direct costs of adolescent pregnancy which is the minimum cost. There are also other indirect costs that can be further studied, such as the loss of tax income, wasted education investment, rising government health and social care costs for adolescents and newborns.
The related measures that have implemented from the strategies and should have a significant role in reducing birth rates in the last three decades can be divided into six groups:
(1) The announcement of Prevention and Solution of the Adolescent Pregnancy Problem Act,
B.E. 2559 (2016), (2) Measures relating to the use of condoms, (3) The operation of the network consulting and termination of pregnancy, (4) Adolescent pregnancy prevention program, (5) Induced Abortion process and (6) The response of the Ministry of Education. These measures have different objectives and methods of action, covering the phases of prevention to management after pregnancy. In this regard, the implementation is necessary to be integrate and in the same direction for the measures to effective.
สารบัญ
หน้า
บทสรุปผู้บริหาร (EXECUTIVE SUMMARY) I
1.1 ที่มาและความสำคัญ/หลักการและเหตุผล 1
1.7 การxxxxxxงาน และผลxxxxxxรับ 5
บทที่ 2 สถานการณ์แม่วัยรุ่นในประเทศไทย 7
2.1 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของกลุ่มวัยรุ่น 7
2.2 สถานการณ์แม่วัยรุ่นในช่วงปี 2535-2563 8
บทที่ 3 การประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจโดยรวมของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 11
3.1 แนวคิดในการประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจ 11
3.2 นิยามการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและขั้นตอนการประเมินต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ ของการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นในประเทศไทย 16
3.3 ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจ 18
3.4 ผลการประเมินต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 24
บทที่ 4 มาตรการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย 45
4.1 การศึกษามาตรการแก้ไขปัญหาแม่วัยรุ่นในต่างประเทศ 46
4.2 รายละเอียดมาตรการแบ่งตามช่วงเวลา 51
4.3 ผลการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 69
4.4 ความคิดเห็นของแม่วัยรุ่นและกลุ่มเสี่ยง: ผลจากการสนทนากลุ่ม 73
4.5 สรุปมาตรการxxxxxxผลในการป้องกันและแก้ปัญหาแม่วัยรุ่น 75
บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ 81
5.1 ต้นทุนทางเศรษฐกิจของปัญหาแม่วัยรุ่น 81
5.2 มาตรการxxxxxxผลในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 82
เอกสารอ้างอิง 87
ภาคผนวก ก ผลจากแบบxxxxx PSM 95
ภาคผนวก ข ลักษณะทางประชากรของกลุ่มเป้าหมาย 99
ภาคผนวก ค บทความสำหรับการเผยแพร่ 101
สารบัญตาราง
ตารางที่ 3.1 แหล่งข้อมูลสำหรับคำนวณต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
หน้า
ตารางที่ 3.2 ข้อเสนอแนะในการแก้ไขและเพิ่มเติมคำถาม MICS และ SES 23
ตารางที่ 3.3 การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจำแนกตามกลุ่มการตั้งครรภ์และอายุตอนมีบุตรคนแรก
ตารางที่ 3.4 การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจำแนกตามกลุ่มการตั้งครรภ์และอายุตอนมีบุตรคนแรก
ตารางที่ 3.5 การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจำแนกตามกลุ่มการตั้งครรภ์และอายุตอนมีบุตรคนแรก
จากข้อมูล SES ที่เลือกเฉพาะแม่วัยรุ่นที่มีอายุปัจจุบันระหว่าง 15-30 ปี (ร้อยละ) 25
ตารางที่ 3.6 การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจำแนกตามกลุ่มการตั้งครรภ์และอายุตอนมีบุตรคนแรก
จากข้อมูล SES ที่เลือกเฉพาะแม่วัยรุ่นที่มีอายุปัจจุบันระหว่าง 31-45 ปี (ร้อยละ) 26
ตารางที่ 3.7 การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจำแนกตามกลุ่มการตั้งครรภ์และอายุตอนมีบุตรคนแรก
จากข้อมูล SES ที่เลือกเฉพาะแม่วัยรุ่นที่มีอายุปัจจุบันระหว่าง 46-60 ปี (ร้อยละ) 26
ตารางที่ 3.8 เปรียบเทียบอัตราการคลอดในวัยรุ่น ณ ปี 2560 จากข้อมูล SES และกรมอนามัย 27
ตารางที่ 3.9 สัดส่วนการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น จากข้อมูล MICS (ร้อยละ) 27
ตารางที่ 3.10 สัดส่วนการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น จากข้อมูล SES (ร้อยละ) 27
ตารางที่ 3.11 สัดส่วนของจำนวนบุตรในกลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากข้อมูล MICS (ร้อยละ) 28
ตารางที่ 3.12 สัดส่วนของจำนวนบุตรในกลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากข้อมูล SES (ร้อยละ) 28
ตารางที่ 3.13 สัดส่วนระดับการศึกษาสูงสุดของกลุ่มที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจากข้อมูล MICS (ร้อยละ) 28
ตารางที่ 3.14 สัดส่วนระดับการศึกษาสูงสุดของกลุ่มที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจากข้อมูล SES (ร้อยละ) 29
ตารางที่ 3.15 สัดส่วนระดับการศึกษาสูงสุดของกลุ่มที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เลือกเฉพาะหญิงที่มี อายุปัจจุบันระหว่าง 15-30 ปี จากข้อมูล SES (ร้อยละ) 29
ตารางที่ 3.16 สัดส่วนชั้นทางเศรษฐกิจของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากข้อมูล SES (ร้อยละ) 30
ตารางที่ 3.17 รายได้เฉลี่ยต่อปีตามช่วงอายุของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (บาทต่อปี) 30
ตารางที่ 3.18 ผลจากแบบxxxxx PSM ในกลุ่มหญิง อายุ 15-30 ปี เมื่อ CONTROL ลักษณะบุคคล และครัวเรือน 32
ตารางที่ 3.19 ความแตกต่างของรายได้จากแบบxxxxx PSM ในกลุ่มช่วงอายุต่างๆ เมื่อควบคุม ตัวแปรลักษณะบุคคล และครัวเรือน 32
ตารางที่ 3.20 ความแตกต่างของรายได้จากแบบxxxxx PSM ในกลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นต่างๆ เมื่อควบคุมตัวแปรลักษณะบุคคล และครัวเรือน 33
ตารางที่ 3.21 จำนวนประชากรจากการทะเบียนจำแนกตามกลุ่มอายุ และเพศ ปี 2561 34
ตารางที่ 3.22 การคำนวณหาค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจากการลดลงของ
ตารางที่ 3.23 การคำนวณหาค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจากการลดลงของ รายได้ตลอดช่วงชีวิต กรณีอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นไม่ลดลง 38
ตารางที่ 3.24 การคำนวณหาค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจากการลดลงของ รายได้ตลอดช่วงชีวิต กรณีความแตกต่างของรายได้xxxxxขึ้นในกลุ่มคนxxxxxxxx 40
ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงการวัดผลผ่านตัวแปรเชิงจิตวิทยา 47
ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงการข้อมูลการวัดสำหรับตัวแปรทางจิตวิทยา (PSYCHOSOCIAL VARIABLES) 48
ตารางที่ 4.3 การคุมกำเนิดของหญิงอายุ 15-19 ปี ที่ปัจจุบันสมรสหรืออยู่กินกับผู้ชาย 67
ตารางที่ ข.1 ตารางแสดงลักษณะทางประชากรของกลุ่มเป้าหมาย 99
สารบัญรูป
หน้า
รูปที่ 2.1 แนวโน้มของอัตราเจริญพันธุรวมในประเทศไทยระหว่างปี 2503–2558 8
รูปที่ 2.2 อัตราเจริญพันธุรวมและจำนวนการจดทะเบียนเกิดในประเทศไทยปี 2503–2563 8
รูปที่ 2.3 อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน 9
รูปที่ 2.4 อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี โดยแบ่งตามช่วงปีที่ทำการศึกษา 10
รูปที่ 3.1 แนวคิดในการวิเคราะห์ต้นทุนทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 12
รูปที่ 3.2 การวิเคราะห์ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในการศึกษานี้ 13
รูปที่ 3.3 จำนวนบุตรเฉลี่ย จำแนกตามช่วงอายุของการมีบุตรคนแรก 13
รูปที่ 3.4 รายได้ตามช่วงอายุ ของแรงงานหญิงในประเทศสหรัฐอเมริกา 16
รูปที่ 3.5 LOGARITHMIC TREND ของข้อมูลความแตกต่างของรายได้ในกลุ่มอายุต่างๆ 37
รูปที่ 3.6 LOGARITHMIC TREND ของข้อมูลความแตกต่างของรายได้ในกลุ่มอายุต่างๆ กรณีสมมติให้ความแตกต่างของรายได้xxxxxขึ้นในกลุ่มคนxxxxxxxx 41
รูปที่ 3.7 ค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจากการลดลงของรายได้
ตลอดช่วงชีวิตที่คำนวณในกรณีต่างๆ 42
รูปที่ 4.1 อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน 45
รูปที่ 4.2 ภาพรวมมาตรการและสถานการณ์แม่วัยรุ่น ปี 2535-2561 51
รูปที่ 4.3 สรุปนโยบายและโครงการที่ผ่านมาตั้งแต่ พ.ศ.2535 - พ.ศ.2559 52
รูปที่ 4.4 มาตรการและสถานการณ์แม่วัยรุ่น ปี 2535-2544 52
รูปที่ 4.5 มาตรการและสถานการณ์แม่วัยรุ่น ปี 2545-2555 55
รูปที่ 4.6 มาตรการและสถานการณ์แม่วัยรุ่น หลังปี 2556 60
รูปที่ 4.7 สัดส่วนของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์
มาตรฐานฯ (ผลงานสะสม ปี 2556-2561) 65
รูปที่ 4.8 จำนวนและสัดส่วนการให้บริการคุมกำเนิดแบบกึ่งxxxx ต่อจำนวนหญิงตั้งครรภ์
รูปที่ 4.9 สัดส่วนการใช้ถุงยางครั้งแรกเปรียบเทียบกับอัตราการคุมกำเนิดครั้งล่าสุดของ
นักเรียนชั้น ม.5 และ ปวช.ปี2 (ปี 2541–2560) 77
รูปที่ 4.10 จำนวนและสัดส่วนการให้บริการคุมกำเนิดกึ่งxxxxต่อจำนวนหญิงตั้งครรภ์
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ที่มาและความสำคัญ/หลักการและเหตุผล
การศึกษาเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทยที่ผ่านxx xxxxใหญ่เป็นการศึกษาในมุมมองด้าน สุขภาพและสังคม ยังไม่พบงานวิจัยที่ศึกษาวิเคราะห์ถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจและประมาณการต้นทุนทาง เศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ดังนั้น หากมีการประมาณการต้นทุนทางเศรษฐกิจโดยรวมของการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทยxxxxxxเชื่อถือ และแสดงถึงต้นทุนทางเศรษฐกิจของปัญหานี้ ก็น่าจะมีส่วนช่วย สร้างความตระหนักให้กับทุกภาคส่วนในสังคม xxxxxxxรับรู้ร่วมกันและมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนให้xxxxxxx ระดมทรัพยากรในทุกๆ ด้าน เพื่อหามาตรการในการลดปัญหานี้ให้เหลือน้อยที่สุด การวิเคราะห์ต้นทุนทาง เศรษฐศาสตร์ในการศึกษานี้มุ่งเน้นศึกษาการสูญเสียทางเศรษฐกิจ หรือต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจที่เป็น ผลจากการออกจากโรงเรียน (school dropout) เนื่องจากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น นอกจากนี้ ยังศึกษามาตรการ ต่างๆ ที่ถูกนำมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในช่วง 5-6 ปีที่ผ่านมา ซึ่งยังไม่เคยมีการศึกษาอย่าง ชัดเจนว่ามาตรการไหนมีต้นทุนและxxxxxxxxxxหรือให้xxxxxxxxxxอย่างไร
1.2 คำถามในการวิจัย
1. ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย
2. มาตรการเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมาตรการใดที่มีxxxxxxxxxxในการxxxxxx ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย
1.3 วัตถุประสงค์
1. ประเมินต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจโดยรวมของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย
2. สำรวจมาตรการป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย ที่ส่งผลต่อการxxxxxx ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย
1.4 นิยามศัพท์ปฏิบัติการ
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ในการศึกษานี้ หมายxxx xxxตั้งครรภ์ของหญิงอายุ 15-19 ปี
ต้นทุนทางเศรษฐกิจ หมายถึง ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นในการทำกิจกรรม ทั้งค่าใช้จ่ายทางตรงจาก การใช้จ่ายในปัจจัยการผลิต รวมทั้งต้นทุนค่าเสียโอกาสจากการเลือกทำกิจกรรมอย่างหนึ่งทำให้สูญเสียxxxxxx ของผลตอบแทนจากกิจกรรมที่สูญเสียโอกาสไป
การประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจ หมายxxx xxxคำนวณxxxxxxค่าใช้จ่ายจากการใช้จ่ายในปัจจัยการ ผลิต และxxxxxxต้นทุนค่าเสียโอกาสที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรมหนึ่ง
การสูญเสียทางเศรษฐกิจ หรือ ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ (opportunity cost) หมายถึง จำนวนเงินที่ควรจะเกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจแต่สูญเสียไป xxxx ภาครัฐสูญเสียเงินภาษีเนื่องจากมีการเลี่ยงภาษี ประชากรสูญเสียโอกาสในการสร้างรายได้ เนื่องจากตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
มาตรการลดป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หมายถึง นโยบาย กฎ xxxxxxx ตลอดจน กิจกรรม ที่ภาครัฐจัดให้มี เพื่อลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
1.5 กรอบแนวคิดในการวิจัย
อาศัยแนวคิดในการวิเคราะห์ต้นทุนทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ซึ่งต้นทุนทางเศรษฐกิจ ของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นxxxxxxวิเคราะห์ได้ในระดับบุคคล ระดับครัวเรือนและระดับชาติ ต้นทุนอาจอยู่ใ น รูปของการสูญเสียหรือค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจในxxxxxจากการออกจากโรงเรียน หรือค่าใช้จ่ายที่ เกี่ยวข้องกับสุขภาพ xxxx ค่าใช้จ่ายในการดูแลครรภ์ ค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของทารกแรกเกิด และอาจมี ค่าใช้จ่ายทางอ้อมอื่นๆ xxxx การสูญเสียผลิตภาพทั้งในระดับบุคคลและระดับครัวเรือน ที่การดูแลเด็กเล็กเป็น ค่าใช้จ่ายทางเศรษฐกิจของครอบครัว เนื่องจากต้องมีสมาชิกบางคนต้องดูแลเด็กเต็มเวลา หรือครอบครัวต้อง จ่ายเงินเพื่อเป็นค่าดูแลเด็กเล็ก
เมื่อพิจารณาผลxxxxxxxxxของการออกจากโรงเรียน ต้นทุนทางตรง ซึ่งเป็นต้นทุนทางเศรษฐกิจหลัก คือ ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ที่ประเมินจากรายได้ในxxxxxxxxลดลงหากวัยรุ่น ที่ตั้งครรภ์ต้องออกจากโรงเรียนโดยไม่สมัครใจ (school dropout) ระดับการศึกษาที่ต่ำส่งผลต่อการได้รับ ค่าxxxxในระดับต่ำ นอกจากนี้การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังอาจส่งผลกระทบทางลบได้ตลอดช่วงชีวิตในด้านรายxxxxxx ลดลง (individual loss of income in the future) มีการศึกษาที่แสดงให้เห็นว่า ผู้หญิงที่มีบุตรเมื่ออายุxxxx xxxxxxxxxxxxจะว่างงาน ต้องทำงานนอกระบบหรือต้องทำงานที่xxxxxxxxตอบแทนต่ำกว่าผู้หญิงที่อยู่ในกลุ่ม เศรษฐกิจและสังคมเดียวกันแต่xxxxxxออกจากโรงเรียน สถานการณ์ที่ต้องเข้าสู่ตลาดแรงงานเร็วเกินไปอาจส่งผล ทางลบเนื่องจากบางคนติดกับงานที่มีค่าแรงต่ำนานเกินไป และส่งผลกระทบทางอ้อมทวีคูณต่อเศรษฐกิจ โดยรวม กล่าวคือ การแข่งขันต่ำ รัฐบาลสูญเสียรายได้จากภาษี ซึ่งหมายถึงสูญเสียผลตอบแทนจากการลงทุน ด้านการศึกษา และมีค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นเพื่อรองรับปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ดังนั้นในการศึกษานี้จึงมุ่งเน้นประเมินต้นทุนทางตรงซึ่งเป็นต้นทุนทางเศรษฐกิจหลัก คือต้นทุนค่าเสีย โอกาสทางเศรษฐกิจจากการลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิตที่เป็นผลจากการออกจากโรงเรียน (school dropout) เนื่องจากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นไม่ว่าจะเกิดโดยตั้งใจหรือxxxxxxxxx
1.6 xxxxxxxวิธีวิจัย
1. ประเมินต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย
1.1 จำแนกประเภทการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (Adolescent Pregnancy: AP) (กลุ่ม) เป็นดังนี้
1) กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในขณะเรียน (APS) กลุ่มนี้xxxxxxตั้งครรภ์โดยxxxxxxxxx โดยแบ่งเป็น ก) กลุ่มที่เมื่อตั้งครรภ์แล้วออกจากโรงเรียนxxxx (APS_D) และ ข) xxxxxxเรียน (APS_R) เทียบกับกลุ่มควบคุม คือหญิงที่มีอายุ มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมที่คล้ายคลึงกัน และเรียนต่อจนจบอย่างที่วางแผนไว้ (APSc)
2) กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่ออกจากโรงเรียนก่อนที่จะมีการตั้งครรภ์ (APO) โดยแบ่งเป็น ก) กลุ่มที่ ตั้งครรภ์โดยตั้งใจ (APO_I) และ ข) กลุ่มที่ตั้งครรภ์โดยxxxxxxxxx (APO_U) เทียบกับกลุ่มควบคุม คือหญิงที่มีอายุ มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมที่คล้ายคลึงกัน และมีระดับการศึกษาเดียวกัน (APOc)
1.2 รวบรวมข้อมูล ใช้ข้อมูลทุติยภูมิจาก 2 ส่วนคือ
1) การสำรวจระดับประเทศ (National Survey) โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ เป็นข้อมูลการ ตั้งครรภ์และการคลอดบุตร คือ การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรี ในประเทศไทย ( MICS), การสำรวจ อนามัยและสวัสดิการ (Health and Welfare Survey: HWS) และข้อมูลด้านการทำงานและการเปลี่ยนแปลง ประชากร คือ การสำรวจภาวการณ์ทำงานของประชากร (Labor Force Surveys: LFS), การสำรวจภาวะ เศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (Socio-Economic Surveys: SES) และการสำรวจการเปลี่ยนแปลงของ ประชากร (Surveys of Population Change: SPC)
2) ข้อมูลจากการบริหารงาน/งานทะเบียน (administrative data) ที่จัดเก็บโดยหน่วยงาน ภาครัฐ คือ ข้อมูลการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จาก สถิติการคลอดของแม่วัยรุ่นประเทศไทย และรายงานเฝ้าระวังการ ตั้งครรภ์แม่วัยรุ่น โดยสำนักอนามัยการxxxxxxxxxxx กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข อัตราการเข้าเรียนและ ออกกลางคัน และงบประมาณด้านการศึกษา โดยกระทรวงศึกษาธิการ การช่วยเหลือจากรัฐสำหรับวัยรุ่นที่ ตั้งครรภ์และแม่วัยรุ่น โดยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รวมทั้งข้อมูลแม่วัยรุ่นใน ประเทศไทย: การบูรณาการวิเคราะห์ข้อมูลจากหลายฐานข้อมูลในระดับประเทศและระดับพื้นที่ โดยความ ร่วมมือของกรมอนามัย ร่วมกับกองxxxxxxxxxxและแผนงาน สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวง สาธารณสุข สํานักบริหารการทะเบียน กระทรวงมหาดไทย สํานักงานสถิติแห่งชาติ สถาบันวิจัยประชากรและ สังคม มหาวิทยาลัยxxxxx และ UNFPA (กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ ประจําประเทศไทย) เป็นต้น
1.3 ประเมินรายได้ตลอดชีวิตของแต่ละกลุ่มและกลุ่มควบคุม ตามxxxxxxจำแนกไว้ในข้อ 1 ดังรูป
แล้วจึงนำมาคำนวณต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ดังสมการ
2. สำรวจมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย (เลือกบาง มาตรการ)
2.1 xxxxxxการศึกษาสถานการณ์การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นของประเทศไทย ผ่านข้อมูลอัตราการคลอดของ หญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน ที่xxxxxxการจัดเก็บตั้งแต่ พ.ศ.2535 โดยสำนัก อนามัยxxxxxxxxxxx กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จากนั้นจึงทำการแบ่งช่วงระยะตามทิศทางการ เปลี่ยนแปลงของอัตราการคลอดในกลุ่มเป้าหมาย โดยxxxxxxแบ่งเป็น ระยะที่ 1 ในช่วง พ.ศ.2535 – 2544 ระยะที่ 2 ในช่วง พ.ศ.2545 – 2554 และระยะที่ 3 ในช่วง พ.ศ.2554 จนถึงปัจจุบัน
2.2 สำรวจมาตรการที่xxxxxxส่งผลต่อการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ทั้งมาตรการทางตรงและมาตรการที่ ส่งผลทางอ้อม นอกจากนั้นยังให้ความสำคัญกับบริบททางสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาที่ทำการศึกษา ทั้งสามช่วง ผ่านการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิและเปรียบเทียบวิเคราะห์ความเชื่อมโยงกับการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่ เปลี่ยนแปลงไป จากนั้นจึงเลือกบางมาตรการที่เป็นรูปธรรมส่งผลชัดเจนต่อการลดลงของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ในแต่ละช่วงเวลา โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของอัตราการคลอดในระยะที่ 3 ทั้งนี้กระบวนการได้มาของ ข้อมูลทุติยภูมิที่ระบุนี้ อาศัยการศึกษากรอบกฎหมาย xxxxxxxxxx พ.ร.บ. ที่มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลา ดังกล่าว พร้อมทั้งพิจารณานโยบายของรัฐและการxxxxxxกิจกรรมของเอกชน ที่ส่งผลต่อกลุ่มเป้าหมายใน การศึกษา โดยให้ความสำคัญกับแนวคิดการxxxxxxนโยบายหรือโครงการ ประกาศที่เกี่ยวข้อง คู่มือการ xxxxxxงาน พร้อมxxxxxxxxxxxการxxxxxxงานตามรายงานของหน่วยงานที่มีการเผยแพร่
2.3 xxxxxxการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่มีส่วนเกี่ยวข้องและประสบการณ์ในด้านการป้องกันและแก้ไข ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ซึ่งมาจากทั้งในส่วนของหน่วยงานรัฐที่มีบทบาทในการกำหนดและxxxxxxนโยบาย องค์กรxxxxx มูลนิธิที่xxxxxxกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้แทนที่มาจากxxxxxxศึกษา ทั้งนี้กระบวนการ สัมภาษณ์เกี่ยวกับประโยชน์ของมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์xxxxxxจากการศึกษาในข้อ 2.2 และเป็นการสอบถามความคิดเห็นต่อมาตรการที่มีผลในมุมมองความxxxxxxxxxแต่ละท่าน
2.4 xxxxxxการสัมภาษณ์กลุ่มxxxxxxxxxxxมีการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเกี่ยวกับสาเหตุของการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น การรับรู้และการเข้าถึงบริการต่างๆ xxxxxxxxxxxxครรภ์ ระหว่างตั้งครรภ์ และหลังการคลอดบุตร รวมทั้ง ความช่วยเหลือหรือบริการที่ต้องการได้รับเพิ่มเติม โดยกระบวนการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายจัดทำขึ้นใน ลักษณะการสนทนากลุ่ม (focus group discussion)
2.5 นำกลุ่มมาตรการที่คาดว่าจะส่งผลต่อการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นxxxxxxจากกระบวนการศึกษาข้อที่ 2.1 ถึงข้อที่ 2.4 มาสรุปเป็นกลุ่มมาตรการที่สำคัญ โดยxxxxxถึงแต่ละช่วงเวลาของปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และ กลุ่มxxxxxxxxxxxมีความต้องการที่หลากหลายขึ้นกับเงื่อนไขสถานการณ์ที่แตกต่างกัน
1.7 การxxxxxxงาน และผลxxxxxxรับ
กิจกรรม (activities) | ผลxxxxxxรับ (outputs) |
• จำแนกประเภทการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (กลุ่ม) • รวบรวมข้อมูล • ประเมินรายได้ตลอดชีวิตของแต่ละกลุ่มและกลุ่มควบคุม | ผลการประเมินต้นทุนค่าเสียโอกาสทาง เศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น |
• รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิเกี่ยวกับมาตรการแก้ไขปัญหาการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น • สัมภาษณ์ผู้กำหนดนโยบายหลักและผู้สนับสนุนเกี่ยวกับ ประโยชน์ของมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการ ตั้งครรภ์ที่เลือก • จัดประชุม Focus group เพื่อร่วมกันวิเคราะห์หาข้อสรุป ของมาตรการที่มีผลต่อการxxxxxxปัญหาการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่นในประเทศไทย | ผลสำรวจและวิเคราะห์มาตรการป้องกัน และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นใน ประเทศไทย และนำเสนอมาตรการที่มีผล ต่อการลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศ ไทย |
บทที่ 2 สถานการณ์แม่วัยรุ่นในประเทศไทย
2.1 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของกลุ่มวัยรุ่น
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์แม่วัยรุ่นในประเทศไทยตลอดช่วงเวลากว่าสองxxxxxx จำเป็นต้องxxxxxxxxxxxเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างประชากรหรือภาวะxxxxxxxxxxx 1 เนื่องจาก ประเทศไทยช่วงเวลาที่ผ่านมาอยู่ในช่วงการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมสูงอายุ ภาวะxxxxxxxxxxxxxxสั้นและมีการ ลดลงของภาวะxxxxxxxxxxxxxxรวดเร็วที่สุดในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกxxxxxxxx (กองทุนประชากรแห่ง สหประชาชาติ, 2554, หน้า 19-21)
การเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับภาวะxxxxxxxxxxxของประเทศไทยxxxxxxแบ่งเป็น 4 ระยะที่สำคัญ โดยมี ทิศทางลดลงอย่างต่อเนื่อง (รูปที่ 2.1) ซึ่งประกอบด้วย (1) ก่อนปี 2513 ซึ่งเป็นระยะที่ภาวะxxxxxxxxxxxxxx
(2) ปี 2513-2533 เป็นช่วงภาวะxxxxxxxxxxxลดลง (3) ปี 2534-2539 ระยะภาวะxxxxxxxxxxxต่ำ และ (4) ระยะ ปัจจุบัน ปี 2540 เป็นต้นมา ซึ่งเป็นช่วงภาวะxxxxxxxxxxxต่ำกว่าระดับxxxxx โดยจากการศึกษาข้อมูลของ สำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าอัตราxxxxxxxxxxxรวมของประเทศไทยในปี 2547-2549 อยู่ที่ 1.47 เท่านั้น (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2549) ทั้งนี้ภาวะxxxxxxxxxxxโดยxxxxxxxxจะอยู่ระหว่าง 6.3-6.6 (Guest, 1995) อย่างไรก็ตามภาวะxxxxxxxxxxxโดยxxxxxxxxเป็นอัตราการเกิดของคนที่ไม่มีการคุมกำเนิด ดังนั้น จึงมีสัดส่วนที่ สูงกว่าภาวะxxxxxxxxxxxในปัจจุบัน
นอกจากการพิจารณาภาวะxxxxxxxxxxxตามข้างต้นแล้ว รายงานผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทาง ประชากรในประเทศไทย (2554) ยังได้ให้ความสำคัญของการพิจารณาจำนวนการเกิดควบคู่กันไปด้วย เนื่องจากภาวะxxxxxxxxxxxไม่xxxxxxบ่งชี้ถึงจำนวนการเกิดที่แท้จริง และพบว่าในช่วงก่อนปี 2495 มีเด็กได้รับ การจดทะเบียนเกิดประมาณ 4-6 แสนคนต่อปี ต่อมาสถิติการจดทะเบียนเกิดได้xxxxxขึ้นอย่างเร็วจนมากกว่า 1
ล้านคนในปี 2506 และยังxxxxxxxมากขึ้นอย่างต่อเนื่องมาอีกสองxxxxxxจนถึงปี 2526 จากนั้นจึงมีการจด
ทะเบียนเกิดเริ่มลดลงตั้งแต่ปี 2527 (รูปที่ 2.2)
ข้อมูลดังกล่าวสอดคล้องกับภาวะxxxxxxxxxxxxxxลดลงตั้งแต่ปี 2513 แต่จำนวนการเกิดกลับยังไม่ลดลง ในทันที ปรากฏการณ์ดังกล่าวเป็นผลจากแรงเหวี่ยงประชากร (Population Momentum) ซึ่งเกิดจากการที่ xxxxxxxxxxxxxxxพันธุอยู่ในสัดสวนที่สูงมากจึงชวยใหเกิดxxxxxของประชากรโดยไม่ส่งผลให้จำนวนการเกิด ของประชากรลดลงมากนัก (กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ, 2554)
การเปลี่ยนแปลงทางประชากรมีความสำคัญต่อการพิจารณาอัตราการคลอดในวัยรุ่นในช่วงเวลา การศึกษา เนื่องจากจำนวนประชากรวัยรุ่นที่ลดลงย่อมส่งผลต่ออัตราการคลอดของวัยรุ่นอย่างหลีกเลี่ยงไมxx xx xxxxxxxxxxxx ประเด็นการศึกษาความxxxxxxxxระหว่างการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและอัตราการ คลอดของวัยรุ่นหญิงยังxxมีความจำเป็นต้องมีการศึกษาอย่างละเอียดต่อไปในxxxxx
1 ภาวะxxxxxxxxxxx (Fertility) หมายถึง xxxxxxxสืบทอดพันธุ์ของประชากรกลมใดๆ โดยxxxxxxจากการเกิดxxxxxในประชากร กลุ่มนั้นๆ หรือชุมชนที่กำหนด Invalid source specified.
รูปที่ 2.1 แนวโน้มของอัตราเจริญพันธุรวมในประเทศไทยระหว่างปี 2503–2558
หมายเหตุ: SPC = การสำรวจการเปลี่ยนแปลงประชากร (Survey of Population Change) LS = การศึกษาในระยะยาว (Longitudinal Survey)
SOFT = การสำรวจภาวะเจรญพันธุในประเทศไทย (Survey of Fertility in Thailand) NS = การสำรวจทั่วประเทศ (National Survey)
CPS = การสำรวจความชุกของการคุมกำเนิด (Contraceptive Prevalence Survey)
CUPS = รูปแบบของการคุมกำเนิดในประเทศไทย (Contraceptive Use Patterns in Thailand)
ทะเบียนชีพ = เป็นการคำนวณจากการจดทะเบียนเกิดในป พ.ศ. 2552
ที่มา: กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ 2554 หน้า 20
รูปที่ 2.2 อัตราเจริญพันธุรวมและจำนวนการจดทะเบียนเกิดในประเทศไทยปี 2503–2563
ที่มา: กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ 2554 หน้า 20
2.2 สถานการณ์แม่วัยรุ่นในช่วงปี 2535-2563
ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอยู่ในระดับที่สูง (รูปที่ 2.3) สะท้อนได้ จากสถิติอัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุเดียวกันพันคน ซึ่งเป็นฐานข้อมูลสถิติ ทางการที่มีการเก็บรวบรวมอย่างเป็นระบบ โดยกระทรวงสาธารณสุข แม้ว่าอุบัติการณ์ดังกล่าวจะมีแนวโน้ม ลดลงตั้งแต่ปี 2556 โดยลดจาก 53.4 ต่อพันคนในปี 2555 เหลือ 29.1 ต่อพันคนในปี 2563 ทั้งนี้มีหลักฐาน
ที่แสดงชัดเจนว่าการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นก่อให้เกิดความเสี่ยงมากกว่าการตั้งครรภ์ของหญิงที่เป็นผู้ใหญ่มากมาย หลายxxxx xxxx ความเสี่ยงทางร่างกาย จิตใจ สังคมและเศรษฐกิจ (Sriyasak, 2016) เป็นต้น
ดังนั้นอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นของประเทศไทยซึ่งอยู่ในระดับที่สูงxxxxนี้ จึงเป็นสิ่งที่สังคมควรให้ ความสนใจแก้ไขปัญหานี้อย่างจริงจัง เพราะการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจะนำไปสู่ปัญหาอื่นๆ ตามมาอีกหลาย ประการ ไม่ว่าจะเป็นการต้องออกจากโรงเรียนกลางคัน และเมื่อต้องเข้าสู่ตลาดแรงงานก็เป็นแรงงานที่มี ประสิทธิภาพต่ำ ตลอดจนมีโอกาสที่ทารกที่เกิดจากแม่วัยรุ่นจะมีสุขภาพxxxxx นำไปสู่ภาวะxxxxxxxทางการเงิน ของครอบครัวมากขึ้น (Aherrera xx.xx, 2015)
60.0
50.0
40.0
30.0
20.0
10.0
0.0
ต่อ 1,000 คน
40.7
40.2
42.8
41.2
39.7
36.0
39.1
32.6
31.1
33.7
37.9
39.2
47.3
49.3
48.9
49.7
50.1
50.1
50.1
53.4
53.4
51.1
47.9
44.8
42.5
39.6
35.0
31.3
29.1
รูปที่ 2.3 อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน
2535
2536
2537
2538
2539
2540
2541
2542
2543
2544
2545
2546
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
2561
2562
2563
ที่มา: สำนักอนามัยการเจรญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
การศึกษาในเอลซัลวาดอร์ (UNFPA, 2017, หน้าที่ 5) ยืนยันว่าการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นส่งผลกระทบต่อ หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวของพวกเขาและส่งผลกระทบต่อผลตอบแทนของการลงทุนในเด็กของรัฐบาล ผลกระทบดังกล่าวได้รับการบันทึกไว้รวมถึง (1) ปัญหาสุขภาพของแม่และเด็ก (2) ความไม่ต่อเนื่องในการ ได้รับการศึกษา โดยเฉพาะอย่างxxxxxxที่เกิดจากการถูกตัดสินจากกระแสสังคม (3) ข้อจำกัดในการได้รับการ xxxxงานในระบบ (formal sector) (4) ในกลุ่มคนยากจน สถานการณ์นี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของวงจรการ ส่งผ่านความยากจนข้ามรุ่น และ (5) ถูกผู้xxxxxxบังคับให้แต่งงาน
ผลการศึกษาในฟิลิปปินส์ (Herrin, 2016) พบว่า (1) โครงสร้างอัตราค่าxxxxของกลุ่มที่สำเร็จ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาจะสูงกว่าคนxxxxxxจบระดับมัธยมศึกษา (2) การมีลูกเมื่ออายุยังxxxxxxผลให้ โครงสร้างอัตราค่าxxxxลดลงถึงแม้จะจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา และ (3) การลดลงของรายได้ตลอดช่วง ชีวิตของกลุ่มผู้หญิงอายุ 18-19 ปี ซึ่งเป็นผลมาจากการมีบุตรเร็ว อยู่ระหว่าง 24-42 พันล้านเปโซ (ค่าเฉลี่ย 33 พันล้านเปโซ) คิดเป็นร้อยละ 0.8-1.4 ของxxxxxxผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (คิดเป็นค่าเฉลี่ยประมาณ ร้อยละ 1.1) ซึ่งหมายxxxxxxสูญเสียทางเศรษฐกิจจำนวนมากภายใต้กลุ่มวัยรุ่นกลุ่มอายุเดียว
ทั้งนี้เมื่อพิจารณาสถานการณ์แม่วัยรุ่นของไทยในช่วงปี 2535-2563 โดยอาศัยข้อมูลอัตราการคลอด
ของผู้หญิงอายุ 15-19 ปี พบว่าxxxxxxแบ่งช่วงการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์แม่วัยรุ่นในประเทศไทยได้เป็น 3 ช่วงเวลา (รูปที่ 2.4) ได้แก่ ช่วงที่ 1 ปี 2535-2544 เป็นช่วงเวลาที่อัตราการคลอดของวัยรุ่นxxxxxxxxxxที่ อยู่ที่ ประมาณ 40 คนต่อวัยรุ่นพันคน และอัตราการคลอดเริ่มลดลงตั้งแต่ปี 2540 เป็นต้นมา ช่วงที่ 2 ปี 2545-
2555 อัตราการคลอดในวัยรุ่นมีแนวโน้มxxxxxขึ้นอย่างชัดเจน โดยปี 2554 และปี 2555 เป็นปีที่มีอัตราการ คลอดสูงถึง 53.4 คนต่อวัยรุ่นพันคน และช่วงที่ 3 ตั้งแต่ ปี 2556 อัตราการคลอดในวัยรุ่นเริ่มลดลง และลด เหลือ 29.1 คนต่อวัยรุ่นพันคน ในปี 2563 ตามลำดับ
รูปที่ 2.4 อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี โดยแบ่งตามช่วงปีที่ทำการศึกษา
ที่มา: สำนักอนามัยการเจรญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
การแบ่งสถานการณ์ออกเป็น 3 ช่วงเวลาทำให้การพิจารณานโยบายและโครงการที่มีความเกี่ยวข้อง กับการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นxxxxxxxxxxxง่ายและมีความชัดเจนมากขึ้น ทั้งนี้ในแต่ละช่วงเวลจะมีบริบททาง เศรษฐกิจและสังคม พระราชบัญญัติ นโยบายหรือโครงการของรัฐ รวมทั้งการxxxxxxงานของภาคxxxxxสังคม ที่แตกต่างกัน โดยปัจจัยข้างต้นจะมีการนำเสนอในรายละเอียดต่อไปในบทที่ 4 ซึ่งเกี่ยวข้องกับมาตรการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย
บทที่ 3 การประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจโดยรวมของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
3.1 แนวคิดในการประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจ
ต้นทุนทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นxxxxxxวิเคราะห์ได้ในระดับบุคคล ระดับครัวเรือนและ ระดับชาติ ต้นทุนอาจอยู่ในรูปของการสูญเสียทางเศรษฐกิจในxxxxxจากการออกจากโรงเรียน หรือค่าใช้จ่าย ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ xxxx ค่าใช้จ่ายในการดูแลครรภ์ ค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของทารกแรกเกิด และอาจ มีค่าใช้จ่ายทางอ้อมอื่นๆ xxxx การสูญเสียผลิตภาพทั้งในระดับบุคคลและระดับครัวเรื อน (รูปที่ 3.1) เมื่อ พิจารณาผลxxxxxxxxxของการออกจากโรงเรียน ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นคือ รายได้ในxxxxxxxxลดลงหากวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ต้องออกจากโรงเรียนโดยไม่สมัครใจ (school dropout) ระดับ การศึกษาที่ต่ำส่งผลต่อการได้รับค่าxxxxในระดับต่ำ นอกจากนี้การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังอาจส่งผลกระทบทางลบ ได้ตลอดช่วงชีวิตในด้านรายxxxxxxลดลง (individual loss of income in the future) มีการศึกษาที่แสดงให้ เห็นว่า ผู้หญิงที่มีบุตรเมื่ออายุxxxxxxxxxxxxxxxxจะว่างงาน ต้องทำงานนอกระบบหรือต้องทำงานที่xxxxxx xxตอบแทนต่ำกว่าผู้หญิงที่อยู่ในกลุ่มเศรษฐกิจและสังคมเดียวกันแต่xxxxxxออกจากโรงเรียน สถานการณ์ที่ต้อง เข้าสู่ตลาดแรงงานเร็วเกินไปอาจส่งผลทางลบเนื่องจากบางคนติดกับงานที่มีค่าแรงต่ำนานเกินไป นอกจากนี้ยัง มีผลกระทบทวีคูณ (spillover effect) กล่าวคือ กลุ่มxxxxxxรับค่าแรงต่ำ มีความxxxxxxในทำงานต่ำจะอยู่ใน กลุ่มผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น รวมถึงคู่ครอง หรือสมาชิกในครอบครัวด้วย ส่งผลต่อเศรษฐกิจโดยรวม ความxxxxxxในการแข่งขันของประเทศต่ำลง รัฐบาลสูญเสียรายได้จากภาษี ซึ่งหมายถึงสูญเสียผลตอบแทน จากการลงทุนด้านการศึกษา (no return of education investment) และมีค่าใช้จ่ายภาครัฐที่สูงขึ้นเพื่อ รองรับปัญหาการตั้งครรภ์ของวัยรุ่น
เมื่อxxxxxxxxxxxทางด้านสุขภาพ ต้นทุนจากการตั้งครรภ์วัยรุ่น เกิดขึ้นจากค่าใช้จ่ายในการดูแลครรภ์ และค่าใช้จ่ายสำหรับทารกแรกเกิด ทั้งในระดับบุคคล ระดับครัวเรือน และสังคม และผลิตภาพที่ลดลงxxxxxxxxx จากสุขภาวะที่แย่ลง การดูแลเด็กเล็กเป็นค่าใช้จ่ายทางเศรษฐกิจของครอบครัว เนื่องจากต้องมีสมาชิกบางคน ต้องดูแลเด็กเต็มเวลา หรือครอบครัวต้องจ่ายเงินเพื่อเป็นค่าดูแลเด็กเล็ก
ตัวอย่างการศึกษาต้นทุนการตั้งครรภ์ในวันรุ่นยังมีการศึกษาไม่มากนักแม้ในต่างประเทศ ในงานศึกษา สถานการณ์การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย 2556 ภายใต้โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้าน สุขภาพ (HITAP) ได้อ้างxxxxxxศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกาที่มีการศึกษาต้นทุนของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นใน ภาพรวมระดับประเทศ ซึ่งเป็นต้นทุนต่อรัฐบาลกลาง รัฐบาลของรัฐต่างๆ และรัฐบาลxxxxxxxxรวมกัน คิดเป็น กว่า 9.1 พันล้านเหรียญสหรัฐ ในปี ค.ศ. 2004 หรือคิดเป็นxxxxxx 1,430 เหรียญสหรัฐ ต่อทารกที่เกิดจากแม่ วัยรุ่นหนึ่งราย (Hoffman, 2006) และเมื่อนำมาคิดเป็นต้นทุนอย่างคร่าวของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นของไทยในปี 2554 จะคิดเป็นประมาณ 3,088 ล้านบาท และในงานศึกษานี้ยังได้อ้างถึงงานศึกษาของประเทศอังกฤษที่
ศึกษาเฉพาะxxxxxxxxxเกิดขึ้นกับระบบประกันสุขภาพซึ่งคิดเป็นxxxxxxประมาณ 69 ล้านปอนด์ ในปี ค.ศ. 2008
(Frances, 2008) และยังระบุว่าการลงทุนป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า
กล่าวคือทุก 1 ปอนด์ที่ใช้ลงทุนป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นxxxxxxxxxxxxxตอบแทนxxxxxxได้ถึง 4 ปอนด์ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา (Sonfield, Kost, Gold, & Fixxx, 2011) ที่ระบุ
ว่างบประมาณที่ลงไปกว่า 2 พันล้านเหรียญสำหรับศูนย์วางแผนครอบครัวทั่วประเทศ xxxxxxxxxxx xxตอบแทนxxxxxxได้ถึง 7 พันล้านเหรียญ อันเนื่องมาจากการป้องกันไม่ให้xxxxxxxตั้งครรภ์xxxxxxพึงxxxxxxx
รูปที่ 3.1 แนวคิดในการวิเคราะห์ต้นทุนทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ที่มา: UNFPA and Nossal Institute for Global Health (undated) (ไมระบุปี)
การศึกษานี้จะมุ่งเน้นเฉพาะต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจที่เป็นผลจากการออกจากโรงเรียน (school dropout) เนื่องจากการตั้งครรภ์ไม่ว่าจะเกิดโดยตั้งใจหรือxxxxxxxxx ซึ่งแม่วัยรุ่นกลุ่มนี้หากต้องการ เข้าสู่ตลาดแรงงานหลังคลอดบุตร โอกาสในการทำงานและค่าxxxxxxxได้รับจะขึ้นอยู่กับ (ก) ระดับการศึกษา และ (ข) เวลาที่ต้องใช้ในการดูแลเด็กเล็ก (รูปที่ 3.2) โดยเปรียบเทียบกับผู้หญิงที่อายุเท่ากันและมีพื้นฐานทาง เศรษฐกิจและสังคมที่คล้ายคลึงกัน (กลุ่มควบคุม) ความแตกต่างในระดับการศึกษา และการต้องดูแลเด็กแรก เกิดจะทำให้รายได้ตลอดชีวิตของแม่วัยรุ่นน้อยกว่าเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม นอกจากนี้การมีลูกคนแรกเร็ว (ช่วงต้นชีวิต) อาจส่งผลให้มีลูกมากขึ้นในxxxxxด้วย ชี้ให้เห็นจากข้อมูลการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรี ในประเทศไทย (MICS) (รูปที่ 3.3) ส่วนต้นทุนทางด้านสุขภาพที่เป็นค่าใช้จ่ายดูแลสุขภาพ (health care) จะ ถือเป็นต้นทุนทางอ้อม xxxxเดียวกับต้นทุนด้านภาษี และการช่วยเหลือจากรัฐ เนื่องจากการตั้งครรภ์ครั้งแรกใน วัย 15 ปีขึ้นไป ไม่xxxxxxxxxxแตกต่างไปจากการตั้งครรภ์ครั้งแรกในอายุ 20 จนเป็นต้นทุนหลักจากการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น
รูปที่ 3.2 การวิเคราะห์ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในการศึกษาx
xxxมา: รวบรวมโดยผู้วิจัย
รูปที่ 3.3 จำนวนบุตรเฉลี่ย จำแนกตามช่วงอายุของการมีบุตรคนแรก
3.0
2.5
2.0
1.5
1.0
0.5
0.0
2.7
2.6
2.3
2.0
1.3
1.2
00-00 00-00' 36+
cohort 45+ cohort 30-45
ที่มา: การคำนวณโดยผู้วิจัย โดยใช้ข้อมูลการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรี ในประเทศไทย (MICS 5)
ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า ความแตกต่างของรายได้ตลอดชีวิต (Lifetime income) ของหญิงกลุ่มที่ตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น และหญิงกลุ่มควบคุมที่มีอายุและมีพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมที่คล้ายคลึงกัน จะขึ้นกับระดับ การศึกษาสูงสุด การตั้งครรภ์และช่วงอายุที่ตั้งครรภ์ และจำนวนxxxxxxxมีตลอดช่วงชีวิต หรือที่เรียกว่า “lifetime childbearing profile” ซึ่งxxxxxxเขียนเป็นสมการของรายได้ตลอดชีวิต และต้นทุนค่าเสียโอกาส ทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (Economic loss of adolescent pregnancy) ได้ดังนี้
รายได้ตลอดชีวิต = f (ระดับการศึกษาสูงสุด, จำนวนxxxxxxxมีตลอดช่วงชีวิต, ปัจจัยอื่นๆ xxxx ลักษณะงาน อาชีพ ที่ตั้งที่ทำงาน เป็นต้น)
ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น = รายได้ตลอดชีวิต (ของกลุ่มควบคุม)
– รายได้ตลอดชีวิต (ของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น)
ทั้งนี้ การนำสมการ lifetime income มาใช้คำนวณรายได้ตลอดชีวิตและต้นทุนค่าเสียโอกาสทาง เศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่ออกจากโรงเรียนก่อนการตั้งครรภ์ทั้งโดยตั้งใจ (intentional) และxxxxxxxxx (unintentional) หมายความว่าระดับการศึกษาจะไม่ใช่ปัจจัยที่ส่งผลกระทบ แต่จะเป็นจำนวนการมีบุตร
ตลอดช่วงชีวิต เปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมที่มีระดับการศึกษาสูงสุด และมีลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม ใกล้เคียงกัน
ดังนั้นจึงต้องมีการจำแนกกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และกลุ่มควบคุมเป็นลำดับแรก แล้วจึงประเมินรายได้ ตลอดชีวิตของทั้งสองกลุ่ม
โดยกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในขณะเรียน (APS) xxxxxxตั้งครรภ์โดยxxxxxxxxx โดยแบ่งเป็น ก) กลุ่มที่เมื่อ ตั้งครรภ์แล้วออกจากโรงเรียนxxxx (APS_D) และ ข) xxxxxxเรียน (APS_R) ส่วนกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่ออก จากโรงเรียนก่อนที่จะมีการตั้งครรภ์ (APO) แบ่งเป็น ก) กลุ่มที่ตั้งครรภ์โดยตั้งใจ (APO_I) และ ข) กลุ่มที่ ตั้งครรภ์โดยxxxxxxxxx (APO_U)
ตัวอย่างการประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจโดยรวมของการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นในต่างประเทศ
ดังกล่าวข้างต้นแล้วว่า การประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจโดยรวมของการตั้งครรภ์ของวัยรุ่น คือ ผลรวมของความแตกต่างในรายได้ตลอดชีวิตของของหญิงกลุ่มที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (APS_D, APS_R, APO_I and APO_U) และหญิงกลุ่มควบคุมที่มีอายุและมีพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งเป็นงานไม่ ง่ายและมีความxxxxxxx บางการศึกษาจึงxxxxxxทำให้การประเมินต้นทุนนี้ทำได้ง่ายขึ้น อาทิ การศึกษาของ UNFPA (2017) ซึ่งเป็นการศึกษาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นของประเทศxxxxxxxxxxxx ทำการคำนวณรายได้ตลอด ชีวิตเพียงเฉพาะในช่วงอายุ 20-24 ปี โดยมีสมมติฐานว่า หญิงตั้งครรภ์ในวัยรุ่น มีสัดส่วนและรายได้ เท่ากับ ประชากรหญิงทั่วไปที่มีงานทำ ‘economically active population’ (EAP) ในช่วงอายุและการศึกษา เดียวกันที่ตั้งครรภ์และไม่ตั้งครรภ์ และดูความแตกต่างของรายได้ในช่วงอายุ 20-24 ปี หากมีการตั้งครรภ์ เทียบกับการxxxxxxตั้งครรภ์ เป็นรายxxxxxxสูญเสียไปและเป็นต้นทุนทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การ จำกัดการคำนวณรายได้เฉพาะในช่วงอายุ 20-24 จะทำให้ได้ผลที่ต่ำกว่าที่ควรจะเป็น เนื่องจากผลของการ ออกจากโรงเรียนเนื่องจากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นรวมทั้งการหารายได้จะมีผลต่อเนื่องไปมากก xxxxxxอายุ 24 ปี ส่วนการตั้งสมมติฐานให้ต้นทุนทางเศรษฐกิจจากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เท่ากับรายได้ของกลุ่มประชากรหญิง ทั่วไปในช่วงอายุและการศึกษาเดียวกัน เป็นการประเมินมากเกินความเป็นจริง เนื่องจากจะหมายถึงว่ากลุ่ม ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจะไม่มีงานทำและขาดรายได้ไปเลย และการใช้ประชากรหญิงทั่วไปเป็นกลุ่มควบคุม หรือ control group ก็จะขาดการxxxxxปัจจัยร่วมทางเศรษฐกิจและสังคมอื่นๆ ที่จะมีโอกาสทำให้xxxxxxxตั้งครรภ์ ในวัยรุ่นด้วย ส่วนการ เทียบการศึกษาในขณะที่ตั้งครรภ์กับการศึกษาของกลุ่มควบคุมเพื่อหารายxxxxxxควรจะ เป็นหากไม่ตั้งครรภ์ หรือ ‘expected income if not pregnant’ ทำให้ขาดการxxxxxถึงเรื่องการกลับเข้า เรียนต่อ (reentry) ของกลุ่มแม่วัยรุ่นไป
อย่างไรก็ดี จากตัวอย่างการศึกษาของ UNFPA (2017) ในกรณีของประเทศไทยมีข้อมูลการสำรวจ ระดับประเทศที่xxxxxxวิเคราะห์เปรียบเทียบรายได้จากการทำงาน จำแนกตามอายุ เพศ และระดับการศึกษา ได้ คือ การสำรวจภาวการณ์ทำงานของประชากร (Labor Force Survey: LFS) สำรวจเฉพาะข้อมูลรายได้ จากค่าxxxx ของกำลังแรงงานโดยทั่วไป ส่วนการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ( Socio- Economic Surveys: SES) ให้ภาพรายxxxxxxxxxxxxxกว่า โดยสำรวจรายได้จากการทำงานทั้งหมด (earn income: wage and non-wage) และxxxxxxจำแนกเป็นกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นได้
การศึกษาของ Herrin (2016) ให้กรอบการประเมินต้นทุนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นxxxxxxxxxขึ้น และจะใช้ เป็นกรอบวิธีการประเมินต้นทุนในการศึกษานี้ โดยมีขั้นตอนการประเมิน คือ
ขั้นตอนที่ 1 ประเมินระดับการศึกษาสูงสุดของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่กำลังเรียนนั้น (กลุ่ม APS)
หากxxxxxxตั้งครรภ์
แบบxxxxxxxxใช้วิธี propensity score matching (PSM) ในการหากลุ่มควบคุม หรือ control group โดยแบบxxxxxจะกำหนดให้การตั้งครรภ์เป็น ‘treatment’ และระดับการศึกษาเป็น ‘outcome’. โดยชุดข้อมูลจะประกอบด้วยกลุ่มผู้หญิงช่วงอายุ 20-23 ปี และ 20-25 ปี และแบ่งเป็นกลุ่มที่ตั้งครรภ์ในช่วง วัยรุ่น (อายุ 15-19 ปี) ในขณะเรียน กับกลุ่มxxxxxxได้ตั้งครรภ์ในช่วงนั้น PSM จะเลือก “กลุ่มควบคุม” โดยเป็น กลุ่มxxxxxxได้ตั้งครรภ์ แต่มีxxxxxxxxxxจะตั้งครรภ์เหมือนกับกลุ่มที่ตั้งครรภ์ ความแตกต่างของระดับการศึกษา (จำนวนปีในการศึกษา) ระหว่างกลุ่มที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และกลุ่มควบคุมxxxxxxได้ตั้งครรภ์ในช่วงดังกล่าว (ซึ่ง เป็น subset ของกลุ่มxxxxxxได้ตั้งครรภ์ ไม่ใช่กลุ่มxxxxxxได้ตั้งครรภ์ทั้งหมด ซึ่งตรงนี้จะต่างจากการศึกษาของ UNFPA (2017)) จะถูกทดสอบโดยแบบxxxxx PSM หากมีนัยสำคัญทางสถิติ การต้องออกจากการเรียน กลางคันนั้นจะเชื่อได้ว่าเป็นผลมาจากการตั้งครรภ์ การเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่ม ผู้หญิงช่วงอายุ 20-23 ปี เพื่อให้มีการศึกษาสูงสุดได้ถึงxxxxxxตรี และ 20-25 ปีเพื่อให้มีการศึกษาสูงสุดได้ถึงxxxxxxโท การจัดทำ แบบxxxxx PSM ในการศึกษานี้จะใชข้อมูล การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย ( Multiple Indicator Cluster Survey: MICS) และการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (Socio-Economic Surveys: SES) ซึ่งxxxxxxแยกแบบxxxxxเป็นแบบxxxxxสำหรับกลุ่ม APS ที่ต้องออกจากการเรียนอย่าxxxx (APS_D) และกลุ่ม APS ที่ต้องออกจากการเรียนแต่กลับเข้าxxxxxxxใหม่ (APS_R) ได้
ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลกระทบต่อรายได้ตลอดชีวิตของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ดังที่กล่าวแล้วในส่วนของกรอบแนวคิดการประเมินต้นทุนของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ที่รายได้ตลอด ชีวิตของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จะขึ้นอยู่กับระดับการศึกษาสูงสุดที่เรียนจบ (complete education) จำนวน การมีบุตรตลอดช่วงชีวิต (lifetime childbearing) และปัจจัยอื่นๆ xxxx อาชีพ สถานะภาพการทำงาน ซึ่งต้อง อาศัยชุดข้อมูลรายได้ครัวเรือนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างซ้ำ (panel data) เพื่อประเมินรายได้ในกลุ่มช่วงอายุต่างๆ สำหรับประเทศไทยมีการสำรวจข้อมูลดังกล่าวแต่ไม่ต่อเนื่อง มีการศึกษาของต่างประเทศที่แนะนำวิธีการ ประเมินรายได้ตลอดชีวิตด้วยข้อมูลที่มีจำกัด โดยประมาณการจากแบบxxxxxxxการ age-earning profile ดังตัวอย่างการศึกษาของประเทศสหรัฐเมริกา Bosworth xx.xx (1999) ที่ใช้ข้อมูลประกันสังคมของแรงงาน หญิงช่วงอายุต่างๆ ในรูปที่ 3.4 ซึ่งเป็นวิธีการประเมินรายได้ตลอดชีวิตนี้ กล่าวได้ว่าเป็นวิธีการที่ขยายจาก การศึกษาของ UNFPA (2017) และxxxxxxนำมาใช้กับการศึกษานี้ โดยxxxxxxนำระดับการศึกษาสูงสุดxxxxxx จากขั้นตอนที่ 1 มาหาความแตกต่างของรายได้ตลอดชีวิตของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นหรือแม่วัยรุ่น และกลุ่ม ควบคุมหรือกลุ่มที่ไม่ใช่แม่วัยรุ่น
รูปที่ 3.4 รายได้ตามช่วงอายุ ของแรงงานหญิงในประเทศสหรัฐอเมริกา
ที่มา: Xxxxxxxx xx.xx (1999)
การศึกษาที่ประเมินรายได้ตลอดชีวิตโดยใช้ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างซ้ำใน 2 ช่วงเวลา xxxx งานศึกษา ของ Dearden xx.xx (2006) ส่วนการหาความแตกต่างของรายได้ตลอดชีวิตของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นหรือแม่ วัยรุ่น และกลุ่มควบคุมหรือกลุ่มที่ไม่ใช่แม่วัยรุ่น ซึ่งเป็นผลมาจากความแตกต่างของจำนวนการมีบุตรตลอด ช่วงชีวิต มีตัวอย่างจากการศึกษาของ Wilde et. al (2010) พบว่ามีความแตกต่างทางรายได้สูงระหว่างกลุ่ม ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและxxxxxxตั้งครรภ์ โดยเฉพาะในหญิงที่ทำงานในระดับทักษะสูง
3.2 นิยามการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและขั้นตอนการประเมินต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ ของการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นในประเทศไทย
1) นิยามการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (Adolescent Pregnancy: AP)
การนิยามกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ในที่นี้คือกลุ่มที่คลอดบุตรในช่วงอายุ 15-19 ปี อ้างอิงข้อมูลที่ใช้ แสดงสถานการณ์แม่วัยรุ่นในระดับประเทศ ส่วนการใช้ช่วงอายุ 15-19 ปี เนื่องจากเป็นกลุ่มหลักในเรื่องการ คลอดแม่วัยรุ่น และการสำรวจข้อมูลทางด้านรายได้ซึ่งเป็นข้อมูลหลักสำหรับการคำนวณต้นทุนมีการสำรวจ เฉพาะในผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป
การจำแนกกลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (Adolescent Pregnancy: AP) ในการศึกษานี้ มีหลักการดังนี้
1.1) กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในขณะเรียน (APS) กลุ่มนี้xxxxxxตั้งครรภ์โดยxxxxxxxxx โดยแบ่งเป็น ก) กลุ่มที่เมื่อตั้งครรภ์แล้วออกจากโรงเรียนxxxx (APS_D) และ ข) xxxxxxเรียน (APS_R) เทียบกับกลุ่ม ควบคุม (APSc) คือหญิงที่มีอายุ มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมที่คล้ายคลึงกัน และเรียนต่อจนจบระดับ การศึกษาตามที่วางแผนไว้ ความต่างระหว่าง APS และกลุ่มควบคุม จะเป็นระดับการศึกษาที่จบ และจำนวน การมีบุตรตลอดช่วงชีวิต
1.2) กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่ออกจากโรงเรียนก่อนที่จะมีการตั้งครรภ์ (APO) เทียบกับกลุ่ม ควบคุม (APOc) คือหญิงที่มีอายุ มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมที่คล้ายคลึงกัน และมีระดับการศึกษา เดียวกันเมื่อออกจากโรงเรียน ความแตกต่างระหว่าง APO และกลุ่มควบคุม จะเป็นเพียงจำนวนการมีบุตร ตลอดช่วงชีวิต โดยไม่มีความแตกต่างในระดับการศึกษา ทั้งนี้จากการศึกษาข้อมูลเพื่อนำมาใช้ในการจำแนก กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่ออกจากโรงเรียนก่อนที่จะมีการตั้งครรภ์ (APO) พบว่ามีข้อจำกัดจึงไม่xxxxxxจำแนก การคำนวณต้นทุนเป็นกลุ่มที่ตั้งครรภ์โดยตั้งใจ (APO_I) และ กลุ่มที่ตั้งครรภ์โดยxxxxxxxxx (APO_U) ได้
ดังนั้น กลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (Adolescent Pregnancy: AP) ในการศึกษานี้จึงจำแนกดังนี้
กลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น | อายุ | ||||
15 | 16 | 17 | 18 | 19 | |
การตั้งครรภ์ในขณะเรียน APS (in school) (ตั้งครรภ์โดยxxxxxxxxx) | |||||
ออกจากโรงเรียนxxxx APS_D (dropout permanently) | |||||
ออกจากโรงเรียนแล้วกลับเข้าเรยน APS_R (return to school) | |||||
ออกจากโรงเรียนแล้วจึงตั้งครรภ์ APO (outside school) |
2) การประเมินรายได้ตลอดชีวิตของแต่ละกลุ่มและกลุ่มควบคุม ตามxxxxxxจำแนกไว้ในข้อ (1) ดังรูป
แล้วจึงนำมาคำนวณต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ดังสมการ
โดยขั้นตอนการคำนวณxxxxxxต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของแม่วัยรุ่น ประกอบด้วย
ขั้นที่ 1 หาระดับการศึกษาสูงสุดที่กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (AP) จะจบถ้าไม่ท้อง ด้วยวิธี Propensity Score Matching (PSM) โดยใช้ข้อมูล MICS ร่วมกับข้อมูล SES เพื่อหาปัจจัยร่วมที่จะเป็น APS ด้วย xxxx ลักษณะของครอบครัว ชั้นรายได้ของครอบครัว ระดับการศึกษาของรุ่นพ่อแม่ มีแม่เป็นแม่วัยรุ่น ซึ่งเป็นปัจจัย xxxxxxxxจากการทบทวนวรรณกรรม และศึกษาข้อมูลจากรายงานเฝ้าระวังการตั้งครรภ์แม่วัยรุ่น
ขั้นที่ 2 หารายได้ตลอดชีวิต (Lifetime Income) ของ AP: single equation of age-earning profile ขึ้นกับระดับการศึกษา (ได้จากขั้นที่ 1) และช่วงอายุที่ตั้งครรภ์ จำนวนการมีบุตร และปัจจัยอื่นๆ xxxx ประเภทงาน อาชีพ โดยใช้ข้อมูล SES
เมื่อxxxxxxประมาณความแตกต่างของรายได้ในกลุ่มตั้งครรภ์และxxxxxxตั้งครรภ์อันเป็นผลมา จาก ระดับการศึกษาและจำนวนการมีxxxxxxxแตกต่างกันแล้ว จึงxxxxxxนำมาคำนวณหาxxxxxxปัจจุบันของรายได้ ตลอดชีวิตในการมีบุตรคนแรกในช่วงxxxxxxต่างกัน และต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ คือผลรวมของความ แตกต่างในxxxxxxปัจจุบันของรายได้ตลอดชีวิตของทั้งสองกลุ่มทั้งหมดรวมกัน
3.3 ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจ
3.3.1 ต้นทุนทางตรง
ข้อมูลสองประเภทที่นำมาพิจารณาความเหมาะสมในการนำมาใช้เพื่อการประเมินต้นทุนค่าเสียโอกาส ทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น คือ
1) การสำรวจระดับประเทศ (National Survey) โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ เป็นข้อมูลการตั้งครรภ์ และการคลอดบุตร คือ การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรี ในประเทศไทย (Multiple Indicator Cluster Survey: MICS), การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ (Health and Welfare Survey: HWS) และข้อมูลด้านการ ทำงานและการเปลี่ยนแปลงประชากร คือ การสำรวจภาวการณ์ทำงานของประชากร (Labor Force Surveys: LFS), การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (Socio-Economic Surveys: SES) และ การสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร (Surveys of Population Change: SPC)
2) ข้อมูลจากการบริหารงาน/งานทะเบียน (administrative data) ที่จัดเก็บโดยหน่วยงานภาครัฐ คือ สถิติการคลอดของแม่วัยรุ่นประเทศไทย โดยสำนักอนามัยการxxxxxxxxxxx กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ประกอบกับข้อมูลอัตราการคลอดในวัยรุ่นตามจังหวัดที่แม่ คลอดบุตร จากฐานทะเบียนเกิด ของ กระทรวงมหาดไทย และข้อมูลประชากรจากฐานทะเบียนราษฎร์2 อัตราการเข้าเรียนและออกกลางคัน และ งบประมาณด้านการศึกษา โดยกระทรวงศึกษาธิการ การช่วยเหลือจากรัฐสำหรับวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์และแม่วัยรุ่น โดยกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ข้อมูลภาษี โดยกระทรวงการคลัง
ข้อมูลการสำรวจระดับประเทศในข้อ (1) เป็นข้อมูลส่วนที่ใช้ในการวิเคราะห์อุบัติการณ์ของการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การหาระดับการศึกษาสูงสุดที่จะจบของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในขณะเรียน (APS) และการ หารายได้ตลอดชีวิต (Lifetime Income) ของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (AP) เพื่อประเมินต้นทุนทางตรงทาง เศรษฐกิจของการเป็นแม่วัยรุ่น ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ ส่วนข้อมูลการบริหารงานในข้อ 2) นอกเหนือจากสถิติการคลอดของแม่วัยรุ่น จะเป็นข้อมูลประกอบในการคำนวณต้นทุนทางอ้อมทางเศรษฐกิจ ของการเป็นแม่วัยรุ่น xxxx การสูญเสียรายได้ทางภาษี การสูญเสียจากการลงทุนทางการศึกษา ต้นทุนด้าน สุขภาพและการช่วยเหลือทางสังคม ซึ่งการศึกษานี้xxxxxxประเมินต้นทุนในส่วนนี้
xxxxxxxxxจะสร้างได้จากแหล่งข้อมูลแต่ละแหล่งสำหรับการคำนวณต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ ของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (ตารางที่ 3.1) รวมทั้งข้อคิดเห็นและการอภิปรายเกี่ยวกับข้อจำกัดของตัวแปร สรุป ได้ดังนี้
แหล่งข้อมูล | ตัวแปรการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น |
1. การสำรวจระดับประเทศ (National surveys) | |
1.1 การสำรวจสถานการณ์เด็กใน ประเทศไทย (Multiple Indicator Cluster Survey, MICS 2017) ถามการตั้งครรภ์ครั้งแรก | - อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (ตั้งครรภ์อายุ 15-19 ปี): underestimated |
- อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จำแนกตามพื้นที่: underestimated | |
- อัตราการออกจากโรงเรียนของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (ตั้งครรภ์อายุ 15-19 ปี): estimates |
2 เพื่อปรับที่อยู่ในการจดทะเบียนการxxxให้เป็นไปตามที่อยู่ตามทะเบียนบ้านของผู้เป็นแม่ (xxxxxxx และ xxxxxxx, 2562)
แหล่งข้อมูล | ตัวแปรการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น |
- สินทรัพย์ครัวเรือนของหญิงอายุ 15-19 ปี | |
1.2 การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและ สังคมของครัวเรือน (Socio-Economic Surveys: SES) จากคำถามxxxxxxคำนวณอายุของแม่ เมื่อมีบุตรคนแรกได้ | - อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (ตั้งครรภ์อายุ 15-19 ปี): underestimated |
- อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จำแนกตามพื้นที่: underestimated | |
- อัตราการออกจากโรงเรียนของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (ตั้งครรภ์อายุ 15-19 ปี): estimates | |
- สถานะการทำงาน และรายได้ของหญิงอายุ 15-19 ปี | |
1.3 การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ (Health and Welfare Survey, HWS 2017) ถามการคลอดบุตรล่าสุด | - อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (ตั้งครรภ์อายุ 15-19 ปี): underestimated |
- อัตราการคลอดบุตรในวัยรุ่น จำแนกตามพื้นที่: underestimated | |
1.4 การสำรวจการเปลี่ยนแปลง ประชากร (Survey of Population Change, SPC 2016) ถามการตั้งครรภ์ในปีที่สำรวจ | - อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (ตั้งครรภ์อายุ 15-19 ปี): underestimated |
- อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จำแนกตามพื้นที่: underestimated | |
- อัตราการออกจากโรงเรียนของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (ตั้งครรภ์อายุ 15-19 ปี): estimates | |
- สถานะการทำงานของแม่วัยรุ่นอายุ 15-19 ปี | |
- รายได้ครัวเรือนของแม่วัยรุ่นอายุ 15-19 ปี: crude estimates | |
2. ข้อมูลจากการบริหารงาน/งานทะเบียน (Administrative data) | |
2.1 Adolescent pregnancy rate situation รายปี: สถิติสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 2.2 Enrolment rate, drop-out rate and budget expenditure by education level: กระทรวงศึกษาธิการ 2.3 Government supports for early Pregnancy and motherhood: กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ |
หมายแหตุ: underestimated คือ ข้อมูลxxxxxxต่ำกว่าความเป็นจริง, estimates คือ คำนวณจากข้อมูลที่มีการสำรวจ, crude estimates คือ คำนวณได้คราวๆ จากข้อมูลที่มีการสำรวจ
ที่มา: รวบรวมและวิเคราะห์โดยผวิจัย
จำนวนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 👉รือจำนวนแม่วัยรนุ่ (Adolescent Pregnancy: AP)
จำนวนแม่วัยรุ่นxxxxxxคำนวณได้จาก 4 แหล่งข้อมูลคือ การสำรวจสถานการณ์เด็กในประเทศไทย (MICS) การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (SES) การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ (HWS) การสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร (SPC) และข้อมูลการบริหารจัดการจากกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุข
• MICS เป็นการถามอายุและช่วงเวลาของการตั้งครรภ์ครั้งแรก ดังนั้น จึงบอกถึงอุบัติการณ์การ ตั้งครรภ์ของแม่วัยรุ่นทั้งในปีที่สำรวจ และการท้องในอดีตที่ผ่านมาด้วย อย่างไรก็ตาม MICS xxxxxxถามช่วงเวลาของการตั้งครรภ์ครั้งอื่น ๆ xxxxxxเกิดขึ้นในช่วงวัยรุ่น การxxxxxxxxxxxxได้รับ จึงอาจต่ำกว่าความเป็นจริงได้ นั่นคือ อัตราการคลอดของวัยรุ่นที่รายงานใน MICS จึงอาจต่ำกว่า อัตราที่รายงานโดยกรมอนามัยที่เก็บข้อมูลตามการจดทะเบียนเกิด
• SES เป็นการถามอายุของสมาชิกในครัวเรือนและความxxxxxxxxกับหัวหน้าครัวเรือน จึงxxxxxx หาช่วงอายุของการตั้งครรภ์ได้ เนื่องจากมีอายุแม่ และอายุลูกทุกคนในครัวเรือน ดังนั้น จึงบอก ถึงอุบัติการณ์การตั้งครรภ์ของแม่วัยรุ่นทั้งในปีที่สำรวจ และการท้องในอดีตที่ผ่านมา โดยขึ้นอยู่ กับการตั้งสมมติฐาน โดยหากหัวหน้าครัวเรือนเป็นผู้หญิง และเป็นแม่ของลูกที่อยู่ในครัวเรือนนี้ xxxxxxเป็นแม่-ลูกกันจริง แต่ถ้าหากหัวหน้าครัวเรือนเป็นเพศชาย และมีภรรยา ลูกของภารxxxใน
ครัวเรือนนี้อาจจะเป็นลูกที่เกิดจากภรรยาคนนี้หรือไม่xxxxx xxxต้องตั้งสมมติฐานว่าภรรยาที่อยู่ใน ครัวเรือนเป็นแม่จริงไม่ใช่แม่เลี้ยง ซึ่งการตั้งxxxxxxxxxxx การxxxxxxxxxxxxได้รับจึงอาจสูงกว่า ความเป็นจริงได้ นอกจากนี้ รุ่นลูกของลูกหัวหน้าครัวเรือน หรือรุ่นหลานใน SES ไม่มีข้อมูลที่ xxxxxxบอกได้ว่า หลานนั้นเป็นลูกของลูกของหัวหน้าครัวเรือนคนไหน จึงไม่xxxxxxบอก อุบัติการณ์การตั้งครรภ์ของแม่วัยรุ่นในรุ่นลูกของหัวหน้าครัวเรือนได้
• การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ (HWS) มีข้อมูลเกี่ยวกับอายุและการตั้งครรภ์ 2 xxxxxx xxxxxxแรก มาจากคำถามที่ถามว่า “บริการทางการแพทย์ล่าสุดในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา” ซึ่งรวมถึงคำตอบ “การดูแลก่อนคลอด” อยู่ด้วย เนื่องจากหญิงตั้งครรภ์อาจใช้บริการทางการแพทย์อื่น ๆ ในการใช้ บริการครั้งสุดท้าย ซึ่งผู้หญิงเหล่านี้จะไม่ถูกนับว่าเป็นหญิงตั้งครรภ์ใน HWS ทำให้อุบัติการณ์การ ตั้งครรภ์จะต่ำกว่าความเป็นจริง ส่วนxxxxxxxxจากคำถามเกี่ยวกับบริการทางการแพทย์xxxxxxรับซึ่ง รวมถึงกรณีที่เป็นผู้ป่วยในเนื่องจากการคลอด ซึ่งคำถามนี้มีความxxxxxxมากขึ้นเนื่องจากการ คลอดบุตรจะต้องอยู่โรงพยาบาลในฐานะผู้ป่วยใน อย่างไรก็ตาม เนื่องจากวัยรุ่นอาจมีลูกได้ มากกว่าหนึ่งคน HWS การประเมินจำนวนแม่วัยรุ่นจึงอาจต่ำเกินไป
• การสำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร (SPC) ถามอายุและการตั้งครรภ์ในปัจจุบัน ดังนั้น ข้อมูลจึงเป็นแม่วัยรุ่นในปีสำรวจ ไม่xxxxxxระบุถึงปีก่อนการสำรวจได้ ทำให้การประมาณการ จำนวนแม่วัยรุ่นต่ำกว่าความเป็นจริงxxxxกัน
• กรมอนามัยใช้ข้อมูลจากการลงทะเบียนประชากรของกระทรวงมหาดไทย และฐานข้อมูล 43 ไฟล์ของกระทรวงสาธารณสุขซึ่งเป็นฐานข้อมูลการบันทึกสุขภาพจากโรงพยาบาลของรัฐ แหล่งที่มาทั้งสองแห่งเก็บข้อมูลทุกปีดังนั้น กรมอนามัยจึงเป็นแหล่งข้อมูลเดียวของแม่วัยรุ่นที่ เก็บข้อมูลเป็นประจำทุกปี
จากแหล่งข้อมูลดังกล่าวข้างต้น MICS มีข้อมูลxxxxxxxxxxที่สุดในแง่การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เพราะมีข้อมูล ช่วงเวลาของการคลอดครั้งแรกและxxxxxxคำนวณการท้องของแม่วัยรุ่นได้ แม้จะมีปัญหาการประเมินค่าที่ต่ำ เกินไป ส่วนข้อมูล SES มีความxxxxxxxxxxรับได้ในแง่การเชื่อมข้อมูลของแม่-ลูก (mother-children relation) ในครัวเรือน xxxxxxคำนวณหาช่วงอายุของการมีบุตรแต่ละคนได้ ถึงแม้ต้องมีการตั้งสมมติฐาน และมีรายได้ ของทุกคนในครัวเรือน ที่จะนำมาใช้ในการประมาณรายได้ตลอดชีวิตได้ ทั้งนี้ ค่าของตัวแปรด้านการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่นจากแหล่งข้อมูลแต่ละแหล่งxxxxxxนำมาใช้ในการตรวจสอบกันได้ ในขณะที่ความxxxxxxของข้อมูล xxxxxxประเมินด้วยคุณสมบัติทางสถิติของแต่ละชุดข้อมูล
จำนวน👉ญิงวัยรุ่นที่กำลังตั้งครรภ์ขณะอยู่ในโรงเรียน (APS)
ข้อมูล MICS ข้อมูล SES การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ (HWS) และการสำรวจการเปลี่ยนแปลง ของประชากร (SPC) ไม่มีการถามคำถามเฉพาะที่เกี่ยวกับการออกจากโรงเรียนเนื่องจากการตั้งครรภ์ รวมทั้ง xxxxxxถามว่าผู้ตอบแบบสอบถามเพศหญิงกำลังเรียนอยู่หรือไม่ มีเพียงคำถามxxxxxxศึกษาขั้นสูงสุดของผู้ตอบ เพศหญิง ในขณะที่ MICS มีการถามถึงอายุของผู้หญิงเมื่อมีการคลอดครั้งแรก และ SES xxxxxxคำนวณหา อายุที่ตั้งครรภ์บุตรแต่ละคนได้ ดังนั้นจึงxxxxxxคำนวณ APS จากข้อมูล MICS และ SES ได้ ภายใต้ข้อ สมมติฐานบางประการ โดยการเปรียบเทียบอายุที่ตั้งครรภ์ครั้งแรกกับระดับการศึกษาที่สำเร็จสูงสุด ตัวอย่างxxxx หากผู้ตอบแบบสอบถามรายงานการศึกษาสูงสุดในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 อายุในช่วงเวลาที่สำเร็จ คือระหว่าง 15 = 17 ปีขึ้นอยู่กับช่วงเวลาที่เริ่มเรียน และหากอายุเมื่อตั้งครรภ์ครั้งแรกประมาณ 15-17 ปีหรือ
ต่ำกว่า จึงมีโอกาสที่จะตั้งครรภ์ขณะที่ยังเรียนอยู่ ทั้งนี้ เป็นเพียงการประมาณการ โดยยินยอมรับความ ผิดพลาดในระดับหนึ่ง การแยก APS ออกไปสู่ APS_D (ผู้ที่ออกจากโรงเรียนอย่างxxxxเนื่องจากการตั้งครรภ์) และ APS_R (ผู้xxxxxxxxxศึกษาต่อหลังคลอด) เป็นเรื่องยากมากขึ้น ทั้งนี้ ผู้ที่รายงานการศึกษาที่สำเร็จสูงสุด ในช่วงอายุที่สูงกว่าอายุเมื่อตั้งครรภ์ครั้งแรก xxxxxxเป็นกลุ่ม APS_R
จำนวน👉ญิงวัยรุ่นที่กำลังตั้งครรภ์ขณะxxxxxxอยู่ในโรงเรียน (APO)
xxxxเดียวกับ APS การประเมินอุบัติการณ์ของ APO xxxxxxxxxxxโดยการเปรียบเทียบอายุของหญิง ขณะตั้งครรภ์และระดับการศึกษาสูงสุดที่สำเร็จ โดยอายุขณะตั้งครรภ์จะต้องสูงกว่าอายุที่ควรจะเป็นในระดับ การศึกษาสูงสุดที่สำเร็จ ตัวอย่างxxxx ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุ 18 ปีและสำเร็จการศึกษาในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น จึงอาจตั้งครรภ์หลังจากที่ออกจากโรงเรียนแล้ว (ข้อมูลจาก MICS และ SES มีทั้งระดับ การศึกษาและปีที่สำเร็จการศึกษาสูงสุด) แต่มีเฉพาะขอ้มูล MICS เท่านั้น ที่xxxxxxนำมาใช้แยก APO เป็น APO_I (ผู้ที่ตั้งครรภ์โดยตั้งใจ) และ APO_U (ผู้ที่มีการตั้งครรภ์โดยxxxxxxxxx) โดยดูจากการคลอดครั้งสุดท้าย
การประเมินรายได้ตลอดชีวิต
การประเมินรายได้ตลอดชีวิตจะใช้ข้อมูล SES เนื่องจากมีข้อมูลรายxxxxxxxรายได้ของบุคคลและ ครัวเรือน ความยากของการใช้ข้อมูลนี้คือ การเชื่อมข้อมูลของแม่-ลูก (mother-children relation) ใน ครัวเรือน แล้วจึงนำมาประเมินรายได้ คือ
• ครัวเรือนแบบแรก หากหัวหน้าครัวเรือนเป็นผู้หญิง แม่และลูกที่อยู่ในครัวเรือนนี้ xxxxxxเป็นแม่-
ลูกกันจริง
• ครัวเรือนแบบที่สอง หากหัวหน้าครัวเรือนเป็นเพศชาย และมีภรรยา ลูกในครัวเรือนนี้อาจจะเป็น ลูกที่เกิดจากภรรยาคนนี้หรือไม่xxxxx xxxต้องตั้งสมมติฐานว่าเป็นลูกของภรรยาที่อยู่ในครัวเรือนจริง
• เลือกครัวเรือนที่xxxxxxเชื่อมโยงแม่-ลูกxxxxxxxสองแบบ ออกมาจากครัวเรือนใน SES ทั้งหมด แล้วจึงนำมาเข้าสมการถดถอยหาความxxxxxxxxระหว่างรายได้ของกลุ่มตั้งครรภ์ และ จำนวนการ มีบุตร อายุที่ตั้งครรภ์ครั้งแรก ระดับการศึกษา อายุปัจจุบัน และปัจจัยอื่นที่ช่วยอธิบายผลกระทบ ของการมีบุตรต่อรายได้ และประมาณการรายได้ตลอดชีวิตจากสมการความxxxxxxxxxxxได้
3.3.2 ต้นทุนทางอ้อม
นอกจากการประเมินต้นทุนทางตรงจากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดยการประมาณรายได้ตลอดชีวิต ดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีต้นทุนทางอ้อม ซึ่งxxxxxxประเมินได้จาก (ก) การสูญเสียรายได้ทางภาษี (ข) การ ลงทุนด้านการศึกษาที่เสียไป (ค) ค่าใช้จ่ายด้านการดูแลสุขภาพและช่วยเหลือสังคมของรัฐบาลสำหรับแม่วัยรุ่น และทารกแรกเกิด
(ก) การสูญเสียรายได้ทางภาษี
การสูญเสียรายได้ทางภาษีเป็นผลกระทบที่สองของรายได้ตลอดชีวิตที่หายไป เนื่องจากเป็นส่วนหนึ่ง ของรายได้ตลอดชีวิตที่สูญหายที่แม่วัยรุ่นควรจะจ่ายให้กับรัฐบาล การประมาณการสูญเสียรายได้ทางภาษีเงิน ได้บุคคลธรรมดาxxxxxxxxxxxโดยการเทียบอัตราการเสียภาษีตามกลุ่มระดับรายได้ของแม่วัยรุ่นกับอัตราของ กลุ่มควบคุมที่มีต้นทุนทางสังคมเท่ากัน ความแตกต่างของสองกลุ่มคือ ความสูญเสียรายได้ทางภาษีจากการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ในส่วนภาษีอื่นๆ วิธีคำนวณการสูญเสียรายได้ทางภาษีจะมีความxxxxxxxxxxxxxxขึ้น
ยกตัวอย่างxxxx ภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT Tax) ที่หายไปนั้น xxxxxxคำนวณได้หลังการวิเคราะห์ที่เชื่อมโยงการลด การบริโภคของแม่วัยรุ่นเทียบกับรายxxxxxxหายไป หรือ การประมาณภาษีทรัพย์สินก็จำเป็นที่ต้องใช้ฐานข้อมูล ทรัพย์สินซึ่งปัจจุบันมีอย่างจำกัด
(ข) การลงทุนในการศึกษาที่เสียไป
ต้นทุนตัวนี้จะมีผลต่อเมื่อ สัดส่วนตั้งครรภ์ในวัยรุ่นนั้นสูงมากพอ จนส่งผลประทบกับความเหมาะสม ในการลงทุนด้านการศึกษาตามที่รัฐบาลกำหนดไว้ ในกรณีดังกล่าว รัฐจะมีจำนวนนักเรียนที่น้อยกว่าจำนวน และขนาดของโรงเรียนที่สร้างไว้ตามแผนการลงทุน ในการคำนวณต้นทุนในส่วนนี้ ข้อมูลทุติยภูมิที่จำเป็นคือ ค่าเฉลี่ยการลงทุนต่อหัวของเด็กประถมและมัธยมจากกระทรวงศึกษาธิการ บวกกับ ค่าการลงทุนสร้างและ ซ่อมแซมอาคารเรียน โดยค่าตัวแรกนั้นหาง่าย และxxxxxxนำมาคูณกับจำนวนแม่วัยรุ่น เพื่อหาต้นทุนทาง การศึกษาที่เสียไปจากการตั้งครรภ์ในวัยเรียน ส่วนค่าที่สองนั้นมีความท้าทาย เพราะการประเมินจำนวน โรงเรียนที่สร้างแล้วxxxxxxใช้เต็มกำลังเพราะการตั้งครรภ์ในวัยเรียนนั้น ในทางปฏิบัติทำได้ยาก ถ้าตอนทำ แผนการลงทุนกระทรวงศึกษาธิการได้มีการคำนวณจำนวนประมาณการนักเรียนทั้งหมดตามชั้นเรียนไว้ แผนการลงทุนก็จะxxxxxxนำมาใช้เป็นฐานในการคำนวณตัวแปลที่สองได้ แต่ความxxxxxxของตัวเลขxxxxxxมา จะมีความน่าเชื่อถือไม่มากนัก ทั้งนี้ความจำเป็นในการหาต้นทุนนี้ขึ้นอยู่กับสัดส่วนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นใน ประเทศไทย
(ค) ค่าใช้จ่ายดูแลสุขภาพและค่าช่วยเ👉ลือทางสังคม
ถึงแม้ค่าใช้จ่ายในการxxxxxxxx คลอด และ เลี้ยงดูเด็กแรกเกิดต่อการตั้งครรภ์จะไม่แตกต่างระหว่างแม่ วัยรุ่นและแม่วัยอื่น แต่โอกาสการตั้งครรภ์ทั้งชีวิตที่มากขึ้นของแม่วัยรุ่นจะส่งผลให้ ค่าใช้จ่ายดูแลสุขภาพ โดยรวมสูงขึ้น ดังนั้นจึงต้องประเมินการเปลี่ยนแปลงจำนวนการมีบุตรตลอดชีพของผู้หญิงก่อน การประเมิน ค่าใช้จ่ายต่อการตั้งครรภ์xxxxxxหาได้จากงบประมาณต่อหัวเพื่อสุขภาพ ซึ่งในประเทศไทยการใช้การดูแล สุขภาพแบบถ้วนหน้า (universal healthcare) ช่วยให้ประเมินค่าใช้จ่ายด้านการดูแลในแต่ละด้านได้ง่าย ส่วน ค่าใช่จ่ายในด้านช่วยเหลือทางสังคมนั้นxxxxxxหาได้จาก กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ยกตัวอย่างxxxx แม่ลูกอ่อนที่มีรายได้ต่ำกว่าหนึ่งแสนบาทต่อปี มีสิทธิ์ที่จะได้รับเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็ก แรกเกิด 600 บาทต่อเดือน ค่าเงินxxxxxxxxxxให้กับแม่วัยรุ่นรายได้ต่ำจะxxxxxขึ้นตามจำนวนการมีบุตรตลอดชีพ ของแม่วัยรุ่น และการสอบสวนเพิ่มเติมอาจเปิดเผยความช่วยเหลือทางสังคมอื่น ๆ
3.3.3 ข้อเสนอการจัดเก็บข้อมูลxxxxxxxและข้อมูลจากการบริหารงาน/งานทะเบียนเพิ่มเติม
จากการวิเคราะห์การมีอยู่ของข้อมูลที่เกี่ยวกับอุบัติการณ์ของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในปัจจุบัน ที่มีอยู่ อย่างจำกัดทำให้ไม่xxxxxxนำมาใช้คำนวณต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจโดยตรงxxx xxxขอเสนอแนะข้อมูล ที่ควรมีการจัดเก็บเพิ่มเติมทั้งจากแหล่งข้อมูลหลัก (แบบสำรวจ) และแหล่งข้อมูลจากการบริหารงาน ดังนี้
แบบสอบถาม
จากสี่แบบสอบถามxxxxxxนำมาวิเคราะห์ในการวิจัยฉบับนี้ (MICS, LFS, SES, HWS) แบบสำรวจ MICS มีการเก็บข้อมูลในการประเมินสัดส่วนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและตัวแปรต่างๆที่ครอบคลุมในเรื่องการตั้งครรภ์ มากที่สุด แต่อย่างที่กล่าวไว้เบื้องต้นแล้ว ข้อมูลxxxxxxจากแบบสอบถาม MICS ยังขาดความxxxxxxและเป็นการ ประมาณค่าที่ต่ำกว่าความเป็นจริง ดังนั้นตัวแบบสอบถามยังมีพื้นที่เพื่อการพัฒนา ทั้งการแก้ไขคำถามปัจจุบัน และคำถามที่ควรxxxxx เพื่อที่จะxxxxxxนำไปใช้ในการคำนวณปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติการณ์การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยเสนอให้มีคำถามหลัก (core question) ที่สำนักงานสถิติแห่งชาติควรใส่ไว้ใน MICS และมีคำถามอื่นๆ ที่จะไม่เกี่ยวกับการหาอุบัติการณ์การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดยตรง แต่จะมีประโยชน์ สำหรับการกำหนดนโยบาย xxxx ‘การมีเพศเพศxxxxxxxxของคุณนั้น xxxxxx xxxxxxxxxxxx หรือถูกขืนใจ’ ‘คุณได้มี การคุมกำเนิดตอนมีเพศxxxxxxxxครั้งแรกหรือไม่’ ‘xxxxxxxxxxxxxxก่อนแต่งงานหรือไม่’ ส่วนข้อมูล SES ยัง xxxxxxถามเพิ่มเติมได้โดยไม่เป็นภาระกับการตอบ เพื่อxxxxxความxxxxxxในการประมาณค่า และxxxxxx วิเคราะห์ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของแม่วัยใสได้มากขึ้น (ตารางที่ 3.2)
ตารางที่ 3.2 ข้อเสนอแนะในการแก้ไขและเพิ่มเติมคำถาม MICS และ SES
ถามใคร | คำถามที่มีอยู่ | แก้ไข/เพิ่มเติม | ใช้สำหรับ คำนวณ |
MICS | |||
ถามผู้หญิงอายุ 15-49 ปี ทุกคน | คุณเกิดเดือนและปีอะไร | AP | |
ลูกคนแรกของแรกของคุณเกิดวันไหน | AP | ||
ตอนxxxxxxxxxxx (ชื่อลูกคนสุดท้อง) xxx xxxxxxxxxจะมีหรือไม่ | ตอนxxxxxxxxxxx (ชื่อลูกทุกคน) xxxxxxxxxxxx จะมีหรือไม่ | APO_I, APO_U | |
ระดับการศึกษาขั้นสูงสุดที่เข้าเรียน | ถามเหมือนเดิม แต่ให้แยกคำตอบระดับ มัธยม เป็น มัธยมต้น และ มัธยมปลาย | AP | |
ระดับการศึกษาขั้นสูงสุดที่จบ | |||
ถามแม่วัยรุ่นทั้งหมด (ตั้งครรภ์ก่อนอายุ 20) | คุณได้ตั้งครรภ์ในขณะเรียนหนังสอื หรือไม่ (ถ้าใช่) ระบุระดับชั้นการศึกษา | APS, APO | |
คุณได้ออกจากโรงเรียนเพราะการ ตั้งครรภ์หรือไม่ | APS_D | ||
(ถ้าใช่) คุณได้กลับไปเรียนต่อหลังคลอด หรือไม่ | APS_R | ||
SES | |||
ถามหัวหน้าครัวเรือน | ลำดับสมาชิก และความxxxxxxxxกับ หัวหน้าครัวเรือน | หากครัวเรือนเป็นชาย ถามว่าลูกคนไหน เป็นลูกแท้ๆ ของภรรยา | AP |
หลานเป็นลูกของสมาชิกลำดับที่เท่าไหร่ | AP |
ที่มา: รวบรวมและเสนอโดยผู้วิจัย
เนื่องจาก MICS xxxxxxมีคำถามเกี่ยวกับรายได้ของครัวเรือนและรายบุคคลจึงไม่xxxxxxใช้สำหรับการ ประเมินค่าใช้จ่ายทางเศรษฐกิจโดยตรง ดังที่อธิบายไว้แล้ว หากเป็นไปได้ ข้อมูลที่จำเป็นทั้งหมดควรอยู่ในการ สำรวจระดับชาติอันเดียว เพราะการxxxxxxxxxxxxxxได้ทั้งหมดเข้ามาในแบบสอบถาม MICS จะทำให้เกิดภาระทั้ง ในการรวบรวมข้อมูลและผู้ตอบแบบสอบถาม
วิธีการxxxxxxxxxxxxxในทางปฏิบัติ คือการxxxxxคำถามใน SES เพราะxxxxxx SES ได้ถามข้อมูลสมาชิก ในครัวเรือนแต่ละxxxxxxแล้ว จึงทำให้xxxxxxxxxxxคำถามเหล่านี้ได้ง่ายโดยxxxxxxจำเป็นต้องเปลี่ยนโครงสร้าง คำถามที่xxxxx ควรมีแค่คำถามหลักเท่านั้น เพื่อxxxxxxxxxxxxxxxภาระกับการตอบ SES ซึ่งมีจำนวนมากอยู่แล้ว การปฏิบัติที่คล้ายกันนี้xxxxxxนำไปใช้กับ LFS ได้ แต่จะไม่คุ้มค่าเพราะข้อจำกัดของ LFS ในการประเมิน ความแตกต่างของรายได้ตลอดชีวิตจาก AP ดังที่กล่าวแล้วก่อนหน้านี้
ข้อมูลการบริ👉าร
ถ้าบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้อง การลงทะเบียนประชากรอาจเป็นประโยชน์ในการ ประมาณค่าอุบัติการณ์ของ AP แต่อาจจะไม่xxxxxxแยกย่อยได้ ส่วนข้อมูล 43 แฟ้มจะมีประโยชน์ในการใช้
ตรวจสอบโดยนำมาเปรียบเทียบกับการลงทะเบียนประชากรของกรมอนามัย แม้เป็นที่ทราบกันดีว่าข้อมูลไม่ xxxxxxx xxxxจากความครอบคลุมของโรงพยาบาล (โรงพยาบาลเอกชนบางแห่งไม่รายงานไปยังแฟ้ม 43) และ จากข้อมูลที่หายไปในชุดข้อมูลเนื่องจากปัญหาxxxxxxได้รายงาน ปัจจุบันจึงมีการศึกษาอย่างต่อเนื่องโดย UNFPA และพันธมิตร xxxx กรมอนามัย และ สำนักทะเบียนภายใต้กระทรวงมหาดไทย ได้ปรับปรุงวิธีการเก็บข้อมูลให้ xxxxxxยิ่งขึ้นในการรายงานอัตราการเกิดของวัยรุ่นในระดับจังหวัดและตำบลตามการสำรวจสำมะโนประชากร และการจะทะเบียนการเกิด
3.4 ผลการประเมินต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
จากการสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ในการจำแนกการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการหาปัจจัยกำหนด อุบัติการณ์ของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เพื่อประมาณรายได้ตลอดชีวิต และประเมินต้นทุน ค่าเสียโอกาสทาง เศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น แสดงให้เห็นว่า ข้อมูล MICS และ SES เป็นข้อมูลที่เหมาะสมที่สุด ใน เบื้องต้นนี้จะได้แสดงผลการจำแนกการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การหาปัจจัยกำหนดอุบัติการณ์ของการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น จากข้อมูลดังกล่าว โดยพบว่ามีความxxxxxxxระดับหนึ่ง ต้องมีการกำหนดสมมติฐานเนื่องจากข้อจำกัด ของข้อมูล และตรวจสอบเปรียบเทียบกับชุดข้อมูลการสำรวจและการลงทะเบียนประชากรของกรมอนามัย และพันธมิตร เพื่อนำข้อมูลxxxxxxมาสร้างตัวแปร และคำนวณต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่นตามลำดับ
3.4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ในการจำแนกการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และปัจจัยกำหนดอุบัติการณ์ ของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
การจำแนกกลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
การจำแนกกลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (ในที่นี้คือการคลอดบุตรของวัยรุ่น) จากข้อมูล MICS ที่สำรวจ ข้อมูลปี 2558 มาจากช่วงอายุของการตั้งครรภ์ครั้งแรก พบว่า ส่วนใหญ่เป็นการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่นอายุ 15 ปีขึ้นไป และมีสัดส่วนของการออกจากโรงเรียนแล้วจึงตั้งครรภ์ (APO) มากขึ้นเมื่ออายุสูงขึ้น โดยในภาพรวม กลุ่มที่ตั้งครรภ์ในขณะเรียน จะออกจากโรงเรียนโดยxxxx (APS_D) มากกว่าการกลับเข้าเรียน ในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป หรือกล่าวได้ว่าเป็นกลุ่มที่จบการศึกษาภาคบังคับ หรือ มัธยมศึกษาปีที่ 3 แล้ว (ตารางที่ 3.3) ซึ่ง สอดคล้องกับข้อมูลที่xxxxxxxxxจาก SES (ตารางที่ 3.4)
ตารางที่ 3.3 การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจำแนกตามกลุ่มการตั้งครรภ์และอายุตอนมีบุตรคนแรกจากข้อมูล MICS (ร้อยละ)
กลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น | อายุตอนมีบุตรคนแรก (ปี) | |||||||||
12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 00 | 00 | 00-00 | 15-19 | |
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม (คน) | 15 | 37 | 57 | 239 | 596 | 1,090 | 1,418 | 1,691 | 109 | 5,034 |
สัดส่วนตามอายุ | 0.3 | 0.7 | 1.1 | 4.6 | 11.6 | 21.2 | 27.6 | 32.9 | 2.1 | 97.9 |
1. การตั้งครรภ์ในขณะเรียน (APS) | 60.0 | 21.6 | 21.1 | 30.5 | 14.6 | 17.0 | 19.6 | 4.0 | 26.6 | 13.7 |
1.1 ออกจากโรงเรียนxxxx (APS_D) | 33.3 | 0.0 | 66.4 | 64.6 | 11.6 | 84.7 | 94.4 | 97.5 | 38.0 | 78.8 |
1.2 ออกจากโรงเรียนแล้วกลับเข้าเรียน (APS_R) | 66.7 | 100.0 | 33.2 | 35.7 | 88.4 | 15.3 | 5.6 | 2.5 | 62.0 | 21.2 |
2. ออกจากโรงเรียนแล้วจึงตั้งครรภ์ (APO) | 40.0 | 78.4 | 78.9 | 69.5 | 85.4 | 83.0 | 80.4 | 96.0 | 73.4 | 86.3 |
รวม | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 |
ที่มา: xxxxxxผลจากข้อมูล การสำรวจสถานการณ์เด็กในประเทศไทย (Multiple Indicator Cluster Survey, MICS 2017)
ตารางที่ 3.4 การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจำแนกตามกลุ่มการตั้งครรภ์และอายุตอนมีบุตรคนแรกจากข้อมูล SES (ร้อยละ)
กลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น | อายุตอนมีบุตรคนแรก (ปี) | |||||||||
12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 00 | 00 | 00-00 | 15-19 | |
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ถ่วงน้ำหนักแล้ว (คน) | 12,050 | 12,957 | 21,191 | 48,332 | 83,778 | 168,392 | 273,178 | 335,381 | 955,259 | 909,061 |
สัดส่วนตามอายุ | 1.3 | 1.4 | 2.2 | 5.1 | 8.8 | 17.6 | 28.6 | 35.1 | 4.8 | 95.2 |
1. การตั้งครรภ์ในขณะเรียน (APS) | 59.8 | 40.8 | 22.4 | 37.7 | 9.8 | 12.5 | 10.7 | 2.2 | 37.3 | 9.3 |
1.1 ออกจากโรงเรียนxxxx (APS_D) | 39.1 | 0.0 | 31.7 | 62.3 | 0.0 | 78.4 | 87.9 | 0.0 | 24.9 | 63.4 |
1.2 ออกจากโรงเรียนแล้วกลับเข้าเรียน (APS_R) | 60.9 | 100.0 | 68.3 | 37.7 | 100.0 | 22.4 | 11.2 | 95.5 | 75.1 | 35.5 |
2. ออกจากโรงเรียนแล้วจึงตั้งครรภ์ (APO) | 40.2 | 59.2 | 77.6 | 62.3 | 90.2 | 87.5 | 89.3 | 97.8 | 62.7 | 90.7 |
รวม | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 |
ที่มา: xxxxxxผลจากข้อมูล การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (Socio-Economic Surveys: SES 2017)
ทั้งนี้เมื่อแบ่งกลุ่มอายุแม่วัยรุ่นเป็นกลุ่มช่วงอายุต่างๆ xxxxxxให้ผลxxxxxxxxxขึ้นในเรื่องการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น กลุ่มแม่วัยรุ่นxxxxxxxxที่ปัจจุบันอายุอยู่ระหว่าง 15-30 ปี (กลุ่มอายุ 15-30) (ตารางที่ 3.5) มีสัดส่วนของ การตั้งครรภ์ในขณะเรียนสูงในกลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น (อายุ 12-14 ปี) และส่วนใหญ่จะกลับเข้าเรียน หลังคลอดxxxx xxxxสัดส่วนของการออกจากโรงเรียนแล้วจึงตั้งครรภ์ ( APO) จะมากขึ้นเมื่ออายุสูงขึ้น โดยเฉพาะเมื่อจบการศึกษาภาคบังคับหรือมัธยมศึกษาปีที่ 3 (อายุ 15 ปีขึ้นไป) แล้ว โดยกลุ่มที่ตั้งครรภ์ ในขณะเรียน ในภาพรวมจะออกจากโรงเรียนโดยxxxx (APS_D) มากกว่าการกลับเข้าเรียนในกลุ่มที่จบ การศึกษาภาคบังคับ หรือ มัธยมศึกษาปีที่ 3 (อายุ 15 ปีขึ้นไป) แล้ว สอดคล้องกับกลุ่มแม่วัยรุ่นที่ปัจจุบันอายุ อยู่ระหว่าง 31-45 ปี (กลุ่มอายุ 31-45) (ตารางที่ 3.6)
ตารางที่ 3.5 การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจำแนกตามกลุ่มการตั้งครรภ์และอายุตอนมีบุตรคนแรกจากข้อมูล SES
ที่เลือกเฉพาะแม่วัยรุ่นที่มีอายุปัจจุบันระหว่าง 15-30 ปี (ร้อยละ)
กลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น | อายุตอนมีบุตรคนแรก (ปี) | |||||||||
12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 00 | 00 | 00-00 | 15-19 | |
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ถ่วงน้ำหนักแล้ว (คน) | 3,601 | 1,990 | 3,039 | 19,477 | 14,306 | 40,941 | 51,327 | 47,083 | 8,630 | 173,134 |
สัดส่วนตามอายุ | 2.0 | 1.1 | 1.7 | 10.7 | 7.9 | 22.5 | 28.2 | 25.9 | 4.7 | 95.3 |
1. การตั้งครรภ์ในขณะเรียน (APS) | 68.8 | 64.1 | 97.9 | 68.5 | 10.3 | 28.6 | 21.4 | 2.1 | 78.0 | 22.2 |
1.1 ออกจากโรงเรียนxxxx (APS_D) | 3.6 | 0.0 | 46.8 | 68.3 | 0.0 | 89.5 | 83.2 | 14.3 | 22.1 | 75.2 |
1.2 ออกจากโรงเรียนแล้วกลับเข้าเรียน (APS_R) | 96.5 | 100.0 | 53.2 | 31.7 | 100.0 | 10.5 | 16.4 | 81.0 | 77.9 | 24.8 |
2. ออกจากโรงเรียนแล้วจึงตั้งครรภ์ (APO) | 31.2 | 35.9 | 2.1 | 31.5 | 89.7 | 71.4 | 78.6 | 97.9 | 22.0 | 77.8 |
รวม | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 |
ที่มา: xxxxxxผลจากข้อมูล การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (Socio-Economic Surveys: SES 2017)
ตารางที่ 3.6 การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจำแนกตามกลุ่มการตั้งครรภ์และอายุตอนมีบุตรคนแรกจากข้อมูล SES
ที่เลือกเฉพาะแม่วัยรุ่นที่มีอายุปัจจุบันระหว่าง 31-45 ปี (ร้อยละ)
กลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น | อายุตอนมีบุตรคนแรก (ปี) | |||||||||
12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 00 | 00 | 00-00 | 15-19 | |
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ถ่วงน้ำหนักแล้ว (คน) | 2,965 | 7,221 | 5,836 | 15,457 | 31,181 | 55,911 | 105,950 | 127,582 | 16,022 | 336,081 |
สัดส่วนตามอายุ | 0.8 | 2.1 | 1.7 | 4.4 | 8.9 | 15.9 | 30.1 | 36.2 | 4.6 | 95.4 |
1. การตั้งครรภ์ในขณะเรียน (APS) | 100.0 | 55.5 | 28.4 | 31.6 | 21.6 | 10.1 | 15.3 | 4.0 | 53.9 | 11.5 |
1.1 ออกจากโรงเรียนxxxx (APS_D) | 69.8 | 0.0 | 0.0 | 45.6 | 0.0 | 39.6 | 94.8 | 0.0 | 23.9 | 51.3 |
1.2 ออกจากโรงเรียนแล้วกลับเข้าเรียน (APS_R) | 30.2 | 100.0 | 100.0 | 54.4 | 100.0 | 61.4 | 5.2 | 100.0 | 76.1 | 48.7 |
2. ออกจากโรงเรียนแล้วจึงตั้งครรภ์ (APO) | 0.0 | 44.5 | 71.6 | 68.4 | 78.4 | 89.9 | 84.7 | 96.0 | 46.1 | 88.5 |
รวม | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 |
ที่มา: xxxxxxผลจากข้อมูล การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (Socio-Economic Surveys: SES 2017)
ในขณะที่แม่วัยรุ่นกลุ่มรุ่นเก่าอายุ 46-60 ปี (กลุ่มอายุ 46-60) จากการxxxxxxข้อมูลการสำรวจ SES พบว่า กลุ่มการตั้งครรภ์ในขณะเรียน (APS) มีสัดส่วนน้อยกว่ากลุ่มที่ออกจากระบบการศึกษาแล้วจึงตั้งครรภ์ (APO) มาก ทั้งนี้เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างในการสำรวจ SES เป็นกลุ่มที่มีการศึกษาไม่สูงนัก กลุ่ม กลุ่มอายุ 46- 60 ดังกล่าวใน SES ส่วนใหญ่มีการศึกษาสูงสุดระดับประถมศึกษา กลุ่มแม่วัยรุ่นที่พบส่วนใหญ่จึงกระจุกอยู่ใน กลุ่มที่ออกจากระบบการศึกษาก่อนแล้วจึงตั้งครรภ์ (ตารางที่ 3.7)
ตารางที่ 3.7 การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจำแนกตามกลุ่มการตั้งครรภ์และอายุตอนมีบุตรคนแรกจากข้อมูล SES
ที่เลือกเฉพาะแม่วัยรุ่นที่มีอายุปัจจุบันระหว่าง 46-60 ปี (ร้อยละ)
กลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น | อายุตอนมีบุตรคนแรก (ปี) | |||||||||
12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 00 | 00 | 00-00 | 15-19 | |
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ถ่วงน้ำหนักแล้ว (คน) | 2,347 | 2,652 | 8,492 | 9,944 | 29,040 | 52,052 | 70,877 | 100,979 | 13,491 | 262,892 |
สัดส่วนตามอายุ | 0.8 | 1.0 | 3.1 | 3.6 | 10.5 | 18.8 | 25.6 | 36.5 | 4.9 | 95.1 |
1. การตั้งครรภ์ในขณะเรียน (APS) | 74.9 | 0.0 | 1.2 | 0.0 | 0.0 | 7.2 | 2.8 | 1.2 | 13.8 | 2.6 |
1.1 ออกจากโรงเรียนxxxx (APS_D) | 37.4 | 0.0 | 100.0 | 0.0 | 0.0 | 100.0 | 60.7 | 0.0 | 40.6 | 73.1 |
1.2 ออกจากโรงเรียนแล้วกลับเข้าเรียน (APS_R) | 62.8 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 39.3 | 100.0 | 59.4 | 30.8 |
2. ออกจากโรงเรียนแล้วจึงตั้งครรภ์ (APO) | 25.1 | 100.0 | 98.8 | 100.0 | 100.0 | 92.8 | 97.2 | 98.8 | 86.2 | 97.4 |
รวม | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 | 100.0 |
ที่มา: xxxxxxผลจากข้อมูล การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (Socio-Economic Surveys: SES 2017)
จากข้อมูล SES ดังกล่าว xxxxxxคำนวณหาอัตราการตั้งครรภ์และคลอดของวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี ในปี
2560 (ตารางที่ 3.8) ได้เท่ากับ 48.6 ต่อประชากรหญิงพันคนในช่วงอายุเดียวกัน ซึ่งสูงกว่าการรายงานจาก
กรมอนามัยในปี 2560 ที่อยู่ที่ 39.6 ต่อประชากรหญิงพันคนในช่วงอายุเดียวกัน อธิบายได้จากการสมมติฐาน ในการกำหนดความเป็นแม่ลูกในข้อมูล SES เพื่อคำนวณอายุเมื่อตั้งครรภ์ลูกคนแรก ที่กำหนดว่าไม่มีแม่เลี้ยง ในครัวเรือน ดังนั้นลูกที่อาศัยในครัวเรือน จะถูกกำหนดให้เป็นลูกที่เกิดจากภรรยาของหัวหน้าครัวเรือนทั้งหมด ซึ่งอาจจะไม่จริง ทำให้ตัวเลขประเมินการสูงกว่าที่ควรจะเป็น
ตารางที่ 3.8 เปรียบเทียบอัตราการคลอดในวัยรุ่น ณ ปี 2560 จากข้อมูล SES และกรมอนามัย
จำนวน (คน) | อายุ (ปี) 13 14 15 16 17 18 19 15-19 | |||||||
กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น | 1,185 | 231 | 2,290 | 3,792 | 15,971 | 22,437 | 37,836 | 82,184 |
ประชากรหญิง | 398,808 | 421,223 | 332,230 | 343,341 | 380,586 | 377,374 | 258,024 | 1,691,555 |
อัตราการตั้งครรภ์และคลอดในวัยรุ่น จากข้อมูล SES ปี 2560 (คนต่อพันคน) | 48.6 | |||||||
อัตราการคลอดในวัยรุ่น จากข้อมูลกรมอนามัย ปี 2560 (คนต่อพันคน) | 39.6 |
ที่มา: xxxxxxผลจากข้อมูล การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (Socio-Economic Surveys: SES 2017)
xxxxเดียวกับการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น ข้อมูล MICS และ SES ให้ผลที่สอดคล้องกันว่า ส่วนใหญ่เมื่อ ตั้งครรภ์ครั้งแรกในวัยรุ่น จะxxxxxxxตั้งครรภ์ซ้ำในช่วงวัยรุ่นอีก (ตารางที่ 3.9 และ 3.10)
ตารางที่ 3.9 สัดส่วนการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น จากข้อมูล MICS (ร้อยละ)
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น | |||
การตั้งครรภ์ซ้ำ ในช่วงวัยรุ่น | ไม่มีการตั้งครรภ์ ซ้ำในช่วงวัยรุ่น | รวม | |
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม (คน) | 262 | 4,880 | 5,142 |
ทุกกลุ่ม | 5.1 | 94.9 | 100.0 |
การตั้งครรภ์ในขณะเรียน (APS) | 6.3 | 93.7 | 100.0 |
ออกจากโรงเรียนxxxx (APS_D) | 6.0 | 94.0 | 100.0 |
ออกจากโรงเรียนแล้วกลับเข้าเรียน (APS_R) | 7.3 | 92.7 | 100.0 |
ออกจากโรงเรียนแล้วจึงตั้งครรภ์ (APO) | 4.9 | 95.1 | 100.0 |
ที่มา: xxxxxxผลจากข้อมูล การสำรวจสถานการณ์เด็กในประเทศไทย (Multiple Indicator Cluster Survey, MICS 2017)
ตารางที่ 3.10 สัดส่วนการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น จากข้อมูล SES (ร้อยละ)
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น | |||
การตั้งครรภ์ซ้ำ ในช่วงวัยรุ่น | ไม่มีการตั้งครรภ์ ซ้ำในช่วงวัยรุ่น | รวม | |
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ถ่วงน้ำหนักแล้ว (คน) | 61,079 | 897,087 | 958,166 |
ทุกกลุ่ม | 6.4 | 93.6 | 100.0 |
การตั้งครรภ์ในขณะเรียน (APS) | 9.9 | 90.1 | 100.0 |
ออกจากโรงเรียนxxxx (APS_D) | 8.6 | 91.4 | 100.0 |
ออกจากโรงเรียนแล้วกลับเข้าเรียน (APS_R) | 11.6 | 88.4 | 100.0 |
ออกจากโรงเรียนแล้วจึงตั้งครรภ์ (APO) | 5.9 | 94.1 | 100.0 |
ที่มา: xxxxxxผลจากข้อมูล การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (Socio-Economic Surveys: SES 2017)
จำนวนการมีบุตร ระดับการศึกษาสูงสุด และรายได้ของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
จำนวนบุตรตลอดชีวิตของกลุ่มที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากข้อมูล MICS แม้ในทุกกลุ่มอายุส่วนใหญ่จะมี บุตรไม่เกิน 2 คน แต่ในกลุ่มที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจะมีการมีบุตรมากกว่า 2 คน ในสัดส่วนมากกว่ากลุ่มที่ตั้งครรภ์ เมื่ออายุ 20 ปีขึ้นไป สอดคล้องกับทฤษฎี ตัวอย่างการศึกษา และสอดคล้องxxxxxxxข้อมูล MICS และ SES (ตารางที่ 3.11-3.12)
ตารางที่ 3.11 สัดส่วนของจำนวนบุตรในกลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากข้อมูล MICS (ร้อยละ)
จำนวนบุตร | รวม | ||
ไม่เกิน 2 คน | มากกว่า 2 คน | ||
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม (คน) | 14,312 | 4,281 | 18,593 |
ทุกกลุ่ม | 77.0 | 23.0 | 100.0 |
กลุ่มตั้งครรภ์อายุ 20 ปีขึ้นไป | 80.6 | 19.4 | 100.0 |
กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (อายุน้อยกว่า 20 ปี) | 67.6 | 32.4 | 100.0 |
ที่มา: xxxxxxผลจากข้อมูล การสำรวจสถานการณ์เด็กในประเทศไทย (Multiple Indicator Cluster Survey, MICS 2017)
ตารางที่ 3.12 สัดส่วนของจำนวนบุตรในกลุ่มการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากข้อมูล SES (ร้อยละ)
จำนวนบุตร | รวม | ||
ไม่เกิน 2 คน | มากกว่า 2 คน | ||
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ถ่วงน้ำหนักแล้ว (คน) | 17,595,627 | 599,232 | 18,194,859 |
ทุกกลุ่ม | 96.7 | 3.3 | 100.0 |
กลุ่มตั้งครรภ์อายุ 20 ปีขึ้นไป | 97.3 | 2.7 | 100.0 |
กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (อายุน้อยกว่า 20 ปี) | 86.7 | 13.3 | 100.0 |
ที่มา: xxxxxxผลจากข้อมูล การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (Socio-Economic Surveys: SES 2017)
ระดับการศึกษาสุงสุดซึ่งเป็นปัจจัยกำหนดโอกาสในการทำงานละการหารายได้ตลอดชีวิต เมื่อจำแนก ระดับการศึกษาสูงสุดของกลุ่มที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเทียบกับกลุ่มที่ตั้งครรภ์อายุ 20 ปีขึ้นไป จากข้อมูล MICS พบว่ากลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมีสัดส่วนน้อยมากที่จะจบการศึกษาสูงกว่าระดับมัธยมศึกษา สอดคล้องกับข้อมูล จาก SES (ตารางที่ 3.13-3.14)
แต่xxxxxxสนใจคือข้อมูล SES แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างในการสำรวจโดยรวมเป็นกลุ่มที่มีการศึกษาไม่ สูงนัก จึงได้xxxxxxผลข้อมูลเพิ่มเติมโดยเลือกเฉพาะกลุ่มคนxxxxxxxxคือ หญิงที่มีอายุปัจจุบันระหว่าง 15-30 ปี พบว่า โดยรวมของกลุ่มจะมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้น แต่กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นส่วนใหญ่ก็ยังจบการศึกษาสูงสุด ไม่เกินระดับมัธยมศึกษา โดยเฉพาะกลุ่มที่ออกจากระบบการศึกษาxxxxxxxxครรภ์ส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 80 มี การศึกษาสูงสุดไม่เกินมัธยมศึกษาตอนต้น หรือการศึกษาภาคบังคับ (ตารางที่ 3.15)
ตารางที่ 3.13 สัดส่วนระดับการศึกษาสูงสุดของกลุ่มที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจากข้อมูล MICS (ร้อยละ)
ระดับการศึกษาสูงสุด | รวม | |||||||
ประถมศึกษา และต่ำกว่า | มัธยมศึกษา ตอนต้น | มัธยมศึกษา ตอนปลาย | อนุปริญญา | xxxxxxตรี | xxxxxxโท | xxxxxxเอก | ||
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ถ่วงน้ำหนักแล้ว (คน) | 7,411 | 3,592 | 3,863 | 1,042 | 2,344 | 338 | 3 | 18,593 |
ทุกกลุ่ม | 39.9 | 19.3 | 20.8 | 5.6 | 12.6 | 1.8 | 0.0 | 100.0 |
กลุ่มตั้งครรภ์อายุ 20 ปีขึ้นไป | 35.5 | 15.9 | 21.9 | 7.2 | 17.0 | 2.5 | 0.0 | 100.0 |
กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (อายุน้อยกว่า 20 ปี) | 51.3 | 28.2 | 17.7 | 1.4 | 1.2 | 0.0 | 0.0 | 100.0 |
ออกจากโรงเรียนxxxx (APS_D) | 0.5 | 10.0 | 75.4 | 8.9 | 5.1 | 0.0 | 0.0 | 100.0 |
ออกจากโรงเรียนแล้วกลับเข้าเรียน (APS_R) | 0 | 3.0 | 60.0 | 13.9 | 21.8 | 1.2 | 0.0 | 100.0 |
ออกจากโรงเรียนแล้วจึงตั้งครรภ์ (APO) | 59.6 | 31.4 | 9.0 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 0.0 | 100.0 |
ที่มา: xxxxxxผลจากข้อมูล การสำรวจสถานการณ์เด็กในประเทศไทย (Multiple Indicator Cluster Survey, MICS 2017)
ตารางที่ 3.14 สัดส่วนระดับการศึกษาสูงสุดของกลุ่มที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจากข้อมูล SES (ร้อยละ)
ระดับการศึกษาสูงสุด | รวม | ||||||
มัธยมศึกษา ตอนต้น | มัธยมศึกษา ตอนปลาย | อาชีวศึกษา | xxxxxxตรีขึ้น ไป | การศึกษาอื่นๆ | |||
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ ถ่วงน้ำหนักแล้ว (คน) | 11,980,496 | 1,817,905 | 1,509,643 | 432,791 | 2,406,244 | 47,779 | 18,194,858 |
ทุกกลุ่ม | 65.8 | 10.0 | 8.3 | 2.4 | 13.2 | 0.3 | 100.0 |
กลุ่มตั้งครรภ์อายุ 20 ปีขึ้นไป | 66.0 | 9.5 | 8.0 | 2.4 | 13.9 | 0.3 | 100.0 |
กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (อายุน้อยกว่า 20 ปี) | 63.4 | 18.8 | 12.5 | 2.7 | 2.4 | 0.2 | 100.0 |
ออกจากโรงเรียนxxxx (APS_D) | 10.6 | 20.8 | 58.6 | 10.0 | 0.0 | 0.0 | 100.0 |
ออกจากโรงเรียนแล้วกลับเข้า เรียน (APS_R) | 9.7 | 16.6 | 42.4 | 13.4 | 17.8 | 0.2 | 100.0 |
ออกจากโรงเรียนแล้วจึงตั้งครรภ์ (APO) | 74.5 | 19.0 | 5.1 | 0.7 | 0.4 | 0.3 | 100.0 |
ที่มา: xxxxxxผลจากข้อมูล การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (Socio-Economic Surveys: SES 2017)
ตารางที่ 3.15 สัดส่วนระดับการศึกษาสูงสุดของกลุ่มที่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เลือกเฉพาะหญิงที่มีอายุปัจจุบัน ระหว่าง 15-30 ปี จากข้อมูล SES (ร้อยละ)
ระดับการศึกษาสูงสุด | รวม | ||||||
ประถมศึกษา และต่ำกว่า | มัธยมศึกษา ตอนต้น | มัธยมศึกษา ตอนปลาย | อาชีวศึกษา | xxxxxxตรีขึ้น ไป | การศึกษาอื่นๆ | ||
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ ถ่วงน้ำหนักแล้ว (คน) | 253,864 | 305,894 | 296,159 | 69,082 | 343,802 | 28,289 | 1,297,090 |
ทุกกลุ่ม | 19.6 | 23.6 | 22.8 | 5.3 | 26.5 | 2.2 | 100.0 |
กลุ่มตั้งครรภ์อายุ 20 ปีขึ้นไป | 17.1 | 21.1 | 23.1 | 5.9 | 30.4 | 2.5 | 100.0 |
กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (อายุน้อยกว่า 20 ปี) | 34.5 | 38.8 | 21.4 | 2.0 | 3.1 | 0.2 | 100.0 |
ออกจากโรงเรียนxxxx (APS_D) | 4.0 | 33.3 | 57.3 | 5.4 | 0.0 | 0.0 | 100.0 |
ออกจากโรงเรียนแล้วกลับเข้าเรียน (APS_R) | 4.3 | 18.4 | 40.1 | 2.9 | 34.3 | 0.0 | 100.0 |
ออกจากโรงเรียนแล้วจึงตั้งครรภ์ (APO) | 45.2 | 42.6 | 10.8 | 1.2 | 0.0 | 0.3 | 100.0 |
ที่มา: xxxxxxผลจากข้อมูล การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (Socio-Economic Surveys: SES 2017)
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจะลดโอกาสในการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งโอกาสในอาชีพและการหา รายได้ ข้อมูล SES แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมีสัดส่วนน้อยที่จะมีชั้นทางเศรษฐกิจ (socio- economic class) ในระดับผู้จัดการหรือผู้เชี่ยวชาญ และมีรายได้เฉลี่ยต่อปีในระดับต่ำกว่ากลุ่มที่ตั้งครรภ์เมื่อ อายุ 20 ปีขึ้นไป (ตารางที่ 3.16-3.17)
ตารางที่ 3.16 สัดส่วนชั้นทางเศรษฐกิจของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากข้อมูล SES (ร้อยละ)
ชั้นรายได้ทางเศรษฐกิจ | รวม | ||||||
เกษตรกร | ประกอบ ธุรกิจส่วนตัว | คนงาน | ผู้ปฏิบัติงาน | xxxxxx ทำงาน | ผู้จัดการ | ||
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม ที่ถ่วงน้ำหนักแล้ว (คน) | 2,741,970 | 3,180,741 | 950,680 | 5,249,420 | 4,091,832 | 1,980,218 | 18,194,861 |
ทุกกลุ่ม | 15.1 | 17.5 | 5.2 | 28.9 | 22.3 | 10.9 | 100.0 |
กลุ่มตั้งครรภ์อายุ 20 ปีขึ้นไป | 14.9 | 17.5 | 5.0 | 28.4 | 23.2 | 11.1 | 100.0 |
กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (อายุน้อยกว่า 20 ปี) | 20.1 | 18.7 | 9.6 | 36.3 | 7.4 | 7.8 | 100.0 |
ที่มา: xxxxxxผลจากข้อมูล การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (Socio-Economic Surveys: SES 2017)
ตารางที่ 3.17 รายได้เฉลี่ยต่อปีตามช่วงอายุของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (บาทต่อปี)
ช่วงอายุ | ||||||
00-00 | 00-00 | 00-00 | 00-00 | 30 ขึ้นไป | เฉลี่ย | |
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม ที่ถ่วงน้ำหนักแล้ว (คน) | 1,416 | 82,327 | 426,248 | 664,070 | 17,020,799 | 18,194,859 |
กลุ่มตั้งครรภ์อายุ 20 ปีขึ้นไป | - | 117,710 | 141,688 | 161,687 | 159,305 | |
กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (อายุน้อยกว่า 20 ปี) | - | 76,047 | 182,482 | 105,665 | 119,075 | 121,867 |
ออกจากโรงเรียนxxxx (APS_D) | - | 26,400 | 120,581 | 107,096 | 158,560 | 137,625 |
ออกจากโรงเรียนแล้วกลับเข้าเรียน (APS_R) | - | 60,000 | 231,630 | 123,350 | 184,849 | 176,317 |
ออกจากโรงเรียนแล้วจึงตั้งครรภ์ (APO) | - | 106,103 | 193,516 | 102,874 | 112,645 | 116,691 |
ทุกกลุ่มอายุ | - | 76,047 | 126,062 | 138,254 | 159,531 | 157,206 |
ที่มา: xxxxxxผลจากข้อมูล การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (Socio-Economic Surveys: SES 2017)
การวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวมานี้ ช่วยให้เข้าใจข้อจำกัด และมีหลักในการใช้ข้อมูล SES เป็นฐานในการ ประเมินต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในลำดับต่อไป
3.4.2 การประเมินต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
การประเมินต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น วัดจากรายxxxxxxลดลงหรือ สูญเสียไปเนื่องจากการเป็นแม่วัยรุ่น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือวัดจากความแตกต่างของรายได้ตลอดชีวิต (ซึ่ง คิดจากช่วงวัยทำงาน คือ อายุ 15-60 ปี) ระหว่างกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เทียบกับกลุ่มควบคุม คือหญิงที่มี อายุ มีพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมที่คล้ายคลึงกัน แต่xxxxxxตั้งครรภ์และเรียนต่อจนจบระดับการศึกษา ตามที่วางแผนไว้ ดังสมการ
โดยใช้วิธี Propensity Score Matching (PSM) กับข้อมูล SES เพื่อหาปัจจัยร่วมของกลุ่มตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น (AP) xxxx ลักษณะของครอบครัว ชั้นรายได้ของครอบครัว ระดับการศึกษา ซึ่งเป็นปัจจัยxxxxxxxxจาก การทบทวนวรรณกรรม และการวิเคราะห์ข้อมูลจากรายงานเฝ้าระวังการตั้งครรภ์แม่วัยรุ่น แล้วจึงหาความต่าง ของรายได้เฉลี่ย (mean income) ของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (AP) กับกลุ่มควบคุมในช่วงอายุต่างๆ จาก แบบxxxxx PSM แล้วจึงนำมาคำนวณความต่างของรายได้ตลอดชีวิต (Lifetime Income) ของกลุ่มตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น (AP) เทียบกับกลุ่มควบคุม ซึ่งเป็นการประเมินต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่นได้อย่างถูกต้อง
ตัวอย่างผลจากแบบxxxxx PSM ในส่วนของ probit regression model ที่ทดสอบปัจจัยที่ส่งผลต่อ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ในกลุ่มหญิง อายุ 15-30 ปี เมื่อ control ลักษณะบุคคล และครัวเรือน (ตารางที่ 3.19) พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (ดูจากเครื่องหมายหน้าค่า Coef. ในแบบxxxxx) xxxxxxเกิด (เครื่องหมายเป็นลบ) ในครัวเรือนที่
• ระดับการศึกษาของหัวหน้าครัวเรือนสูง หรือ ระดับการศึกษาของตัวผู้หญิงสูง
• ชั้นรายได้ทางเศรษฐกิจของครัวเรือนคือระดับผู้จัดการหรือผู้เชี่ยวชาญ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น มักเกิดในครัวเรือนที่
• ชั้นรายได้ทางเศรษฐกิจของครัวเรือนคือเป็นเกษตรกร หรือคนงานผู้ใช้แรงงาน
• อยู่ในพื้นที่นอกเขตเทศบาล
และเมื่อเข้ากระบวนการ Propensity Score Matching (PSM) เพื่อหา ความแตกต่างของรายได้ ระหว่างกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (treatment group) เทียบกับกลุ่มควบคุม คือหญิงที่มีอายุ มีพื้นฐานทาง เศรษฐกิจและสังคมที่คล้ายคลึงกัน แต่xxxxxxตั้งครรภ์และเรียนต่อจนจบระดับการศึกษาตามที่วางแผนไว้ หรือ เรียกว่า “กลุ่มที่มีลักษณะxxxxกับกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น” แต่ xxxxxxตั้งครรภ์ พบว่า กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมี รายได้ต่ำกว่ากลุ่มที่มีลักษณะxxxxอยู่ 2,811 บาทต่อคนต่อเดือน (ดูจากค่า Difference ของ ATT, Average Treatment Effect on The Treatment Group ในแบบxxxxx) ส่วนความแตกต่างของรายได้ของกลุ่มxxxxxx มีลักษณะxxxxกับกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และ xxxxxxตั้งครรภ์ (ดูจากค่า Difference ของ Unmatch ใน แบบxxxxx) พบว่าจะมีค่ามากกว่า คือ 5,786 บาทต่อเดือน (ตารางที่ 3.18) ซึ่งระดับรายxxxxxxเป็นแค่ระดับ รายได้สำหรับกลุ่มช่วงอายุเดียวคือ ช่วงอายุ 15-30 ปี และได้นำความแตกต่างของรายได้ของกลุ่มหญิงช่วง อายุ 31-45 ปี และ 46-60 ปี อีก 2 กลุ่มช่วงอายุรวบรวมไว้ (แสดงดังตารางที่ 3.19) ซึ่งจะเห็นว่าความ แตกต่างของรายได้ในอีกสองกลุ่มรุ่นอายุดังกล่าวต่ำกว่ากลุ่มหญิงxxxxxxxxช่วงอายุ 15-30 ปี ซึ่งอาจอธิบายได้ ด้วยสองเหตุผล ประการแรกกลุ่มที่มีอายุน้อยกว่ามักมีโอกาสได้รับการศึกษาสูงกว่าผู้ที่มีอายุมาก (ซึ่งเรียน หนังสือในช่วงอดีตที่โอกาสการศึกษามีไม่มากเท่าปัจจุบัน) ดังนั้นเมื่อxxxxxxxตั้งครรภ์ในวัยเรียนทำให้เสีย โอกาสมากกว่าไปด้วย ประการที่สองความแตกต่างของระดับรายxxxxxxเกิดจากความแตกต่างในการศึกษาอาจมี แนวโน้มลดลงเมื่อผู้ทำงานมีอายุมากขึ้นเพราะปัจจัยเรื่องประสบการณ์ทำงานจะเข้ามามีบทบาทในการอธิบาย ระดับรายได้มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากความแตกต่างของระดับการศึกษาไม่มีนัยะมากนัก xxxxระหว่างคน ที่จบมัธยมสามกับคนที่จบมัธยมปลาย เป็นต้น
ทั้งนี้การทดสอบ probit regression model และ PSM ได้ทำการทำสอบกับกลุ่มหญิงช่วงอายุ 31- 45 ปี และ 46-60 ปี อีก 2 กลุ่มช่วงอายุ จากข้อมูล SES ตามลำดับ โดยผลจากแบบxxxxxรวบรวมไว้ใน
ภาคผนวก ก จะได้นำมาคำนวณความต่างของรายได้ตลอดชีวิต หรือต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ในลำดับต่อไป
ตารางที่ 3.18 ผลจากแบบxxxxx PSM ในกลุ่มหญิง อายุ 15-30 ปี เมื่อ control ลักษณะบุคคล และ ครัวเรือน
Probit regression | Number of obs | = | 6,894 |
LR chi2(6) | = | 598.33 | |
Prob > chi2 | = | 0.0000 | |
Log likelihood = -2654.416 | Pseudo R2 | = | 0.1013 |
ap | Coef. | Std. Err. | z | P>|z| | [95% Conf. | Interval] | |
yearedu | -.0147238 | .0062928 | -2.34 | 0.019 | -.0270575 | -.0023902 | |
sc1 | .6847205 | .0632331 | 10.83 | 0.000 | .5607858 | .8086552 | |
sc3 | .2695355 | .0629463 | 4.28 | 0.000 | .1461629 | .392908 | |
sc6 | -.4831408 | .0986359 | -4.90 | 0.000 | -.6764637 | -.2898179 | |
area1 | -.2534605 | .0411475 | -6.16 | 0.000 | -.3341081 | -.172813 | |
C04 | -.0011847 | .0001595 | -7.43 | 0.000 | -.0014973 | -.0008721 | |
_cons | -.3606959 | .0576559 | -6.26 | 0.000 | -.4736995 | -.2476923 |
Variable | Sample | Treated | Controls | Difference | S.E. T-stat |
A15 | Unmatched | 5491.92715 | 11277.9188 | -5785.99164 | 273.348828 -21.17 |
ATT | 5491.92715 | 8302.69536 | -2810.76821 | 907.977119 -3.10 |
Note: S.E. does not take into account that the propensity score is estimated.
psmatch2: Treatment assignment | psmatch2: Common support | |
On suppor | Total | |
Untreated Treated | 5,837 1,057 | 5,837 1,057 |
Total | 6,894 | 6,894 |
หมายเหตุ: ตัวแปร ap=(1) ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (0) ไม่ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น, yearedu=ระดับการศึกษาของตัวผู้หญิง, C04=ระดับ การศึกษาของหัวหน้าครัวเรือน, sc1= ชั้นรายได้ทางเศรษฐกิจของครัวเรือนคือเป็นครัวเรือนเกษตรกร, sc3= ชั้นรายได้ทาง เศรษฐกิจของครัวเรือนคือเป็นผู้ใช้แรงงาน, sc6= ชั้นรายได้ทางเศรษฐกิจของครัวเรือนคือเป็นผู้เชี่ยวชาญ, area1= =(1) ใน
เขตเทศบาล (0) นอกเขคเทศบาล, _cons=ค่าxxท,
ที่มา: จากการคำนวณ
A15= รายได้ทั้งสิ้นต่อเดือน
ในกลุ่มที่มีลักษณะxxxxกับ กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น แต่xxxxxxตั้งครรภ์ | ในกลุ่มไม่มีลักษณะxxxxกับ กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และxxxxxxตั้งครรภ์ | |
หญิง อายุ 15-30 ปี | 2,811 บาทต่อคนต่อเดือน | 5,786 บาทต่อคนต่อเดือน |
หญิง อายุ 31-45 ปี | 1,666 บาทต่อคนต่อเดือน | 4,348 บาทต่อคนต่อเดือน |
หญิง อายุ 46-60 ปี | 1,558 บาทต่อคนต่อเดือน | 3,859 บาทต่อคนต่อเดือน |
ที่มา: จากการคำนวณ
หญิง อายุ 15-30 ปี | ในกลุ่มที่มีลักษณะxxxxกับ กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น แต่ xxxxxxตั้งครรภ์ | ในกลุ่มไม่มีลักษณะxxxxกับ กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และ xxxxxxตงั้ ครรภ์ |
ออกจากโรงเรียนแล้วกลับเข้าเรียน (APS_R) | 3,936 บาทต่อคนต่อเดือน | 4,203 บาทต่อคนต่อเดือน |
ออกจากโรงเรียนxxxx (APS_D) | 4,582 บาทต่อคนต่อเดือน | 5,255 บาทต่อคนต่อเดือน |
ออกจากโรงเรียนแล้วจึงตั้งครรภ์ (APO) | 1,786 บาทต่อคนต่อเดือน | 6,073 บาทต่อคนต่อเดือน |
ที่มา: จากการคำนวณ
นอกจากนี้ยังได้วิเคราะห์เพิ่มเติมถึงความแตกต่างของรายได้ในกลุ่มxxxxxxxx คือหญิง อายุ 15-30 ปี ที่ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นกับกลุ่มควบคุมxxxxxxได้ตั้งครรภ์ เพื่อให้เห็นภาพที่เป็นปัจจุบันชัดเจนขึ้น โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่มีการกลับเข้าเรียนเมื่อคลอดบุตรแล้ว (APS_R) และกลุ่มที่ออกจากโรงเรียนโดย xxxx (APS_D) รวมทั้งกลุ่มออกจากระบบการศึกษาxxxxxxxxครรภ์ (APO) เมื่อทดสอบด้วยแบบxxxxx PSM พบว่า กลุ่มที่ออกจากโรงเรียนโดยxxxxจากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ส่งผลให้มีการลดลงของรายได้ (4,582 บาท ต่อคนต่อเดือน) สูงกว่ากลุ่มที่กลับเข้าเรียน (3,936 บาทต่อคนต่อเดือน) (ตารางที่ 3.20) ในขณะที่กลุ่มที่ออก จากระบบการศึกษาก่อนที่จะตั้งครรภ์ ความแตกต่างหรือการลดลงของรายได้เทียบกับกลุ่มxxxxxxตั้งครรภ์จะไม่ มากนัก เนื่องจากเป็นกลุ่มที่ตัดสินใจออกจากระบบการศึกษาอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งส่วนใหญ่xxxxxxประกอบอาชีพหรือ เป็นแม่บ้าน หรือถ้าทำงานก็จะทำงานรับจ้างทั่วไป (อ้างอิงจากข้อมูลรายงานเฝ้าระวังการตั้งครรภ์แม่วัยรุ่น) ซึ่งมีรายxxxxxxสูงนัก แต่หากพิจารณาในกลุ่มที่ไม่มีลักษณะxxxxกับกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และ xxxxxxตั้งครรภ์ ในช่วงวัยรุ่น จะมีการลดลงทางรายได้ซึ่งคิดเป็นต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจมากที่สุด (6,073 บาทต่อคน ต่อเดือน) คาดว่าเป็นเพราะกลุ่มxxxxxxได้ตั้งครรภ์ในช่วงวัยรุ่นและอยู่ในโรงเรียน (หรือมหาวิทยาลัย) จนครบเป็น ผู้xxxxxxประโยชน์จากการเรียนมากที่สุด จึงมีรายได้มากกว่าคนที่ออกจากโรงเรียนแต่แรกแต่ตั้งครรภ์ในช่วง วัยรุ่น
ผลในส่วนนี้แสดงถึงนัยทางนโยบายที่ต้องให้ความสำคัญกับการxxxxxxให้วัยรุ่นอยู่ในระบบ การศึกษาและได้เรียนจบในระดับการศึกษาตามxxxxxxตั้งไจไว้ โดยเฉพาะกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น xxxxxxจะต้องได้ กลับเข้าเรียนในระบบการศึกษาและได้เรียนจบในระดับการศึกษาตามxxxxxxตั้งไจไว้ เพื่อให้xxxxxxทำงานและมี รายxxxxxxเหมาะสมกับความรู้ความxxxxxx
เมื่อนำความแตกต่างของรายได้ของหญิงกลุ่มช่วงอายุทั้งสามกลุ่มดังรวบรวมไว้ข้างต้น (ตารางที่ 3.20) xxxxxxนำมาคำนวณค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการเป็นแม่วัยรุ่น จากความต่างหรือการลดลงของ รายได้ตลอดชีวิตจากการมีบุตรเร็ว ตั้งแต่อายุ 15-60 ปี ดังนี้
ค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น = จำนวนประชากรหญิงในแต่ละช่วงอายุ x อัตราการ คลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิง 15-19 ปี x ความแตกต่างของรายได้ (บาท ต่อคน ต่อ เดือน) ของหญิงกลุ่มช่วงอายุทั้งสามกลุ่ม x 12 (เพื่อทำเป็นรายปี) x 41 (เพื่อทำเป็นรายได้ตลอดชีวิตที่ กำหนดให้ทำงานตั้งแต่อายุ 20-60 ปี)
ทั้งนี้มีรายละเอียดเพิ่มเติมในการคำนวณ ดังนี้
(1) เมื่อนำจำนวนประชากรหญิงในแต่ละอายุ คูณด้วย อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อ ประชากรหญิง 15-19 ปี จะได้จำนวนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทยในแต่ละอายุ ตั้งแต่อายุ 15-60 ปี โดย
• ประชากรหญิงในแต่ละอายุ ตั้งแต่ 15-60 ปี โดยใช้ข้อมูลจำนวนประชากรจากการทะเบียนปี
2561 รวบรวมโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ ดังสรุปในตารางที่ 3.21
• อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิง 15-19 ปี หรือเรียกสั้นๆ ว่า อัตรา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น xxx x ปี 2561 เท่ากับ 35.0 ต่อ 1,000 คน จะใช้เป็นค่าตั้งต้นสำหรับ ประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี และได้ใช้ค่าเฉลี่ยอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นย้อนหลังทุก 5 ปี สำหรับประชากรหญิงที่มีอายุxxxxxขึ้นทุกปี เนื่องจากคิดเป็นค่าเฉลี่ยในช่วงอายุ 5 ปีย้อนหลัง xxxxxxเป็นแม่วัยรุ่นในช่วงอายุ 15-19 ปีที่ผ่านมา ตัวอย่างxxxx สำหรับประชากรหญิงอายุ 20 ปี ในปี 2561 จะใช้อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเท่ากับ อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจริงเฉลี่ยปี 2560-2556 ซึ่งจะได้อัตราเฉลี่ยเท่ากับ 45.2 ต่อ 1,000 คน และสำหรับประชากรหญิงอายุ 21 ปี ในปี 2561 จะใช้อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเท่ากับ อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเฉลี่ยปี 2559-2555 ซึ่งได้เท่ากับ 45.2 ต่อ 1,000 คน ทำxxxxนี้เรื่อยไป จนครบประชากรหญิงอายุ 60 ปี ดังแสดงอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเฉลี่ยที่ใช้ในแต่ละอายุในตารางที่ 3.22
ตารางที่ 3.21 จำนวนประชากรจากการทะเบียนจำแนกตามกลุ่มอายุ และเพศ ปี 2561
กลุ่มอายุ | ประชากร (คน) | ||
รวม | ชาย | หญิง | |
อายุน้อยกว่า 15 ปี | 11,153,397 | 5,733,690 | 5,419,707 |
15-30 ปี | 14,400,346 | 7,328,389 | 7,071,957 |
31-45 ปี | 14,966,384 | 7,431,739 | 7,534,645 |
46-60 ปี | 14,382,802 | 6,829,185 | 7,553,617 |
มากกว่า 60 ปี | 11,511,050 | 5,233,268 | 6,277,782 |
รวมทุกกลุ่มอายุ | 66,413,979 | 32,556,271 | 33,857,708 |
ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ
(2) การคำนวณค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ จากการลดลงของรายได้ของกล่มหญิงที่มีบุตรเร็วในช่วง วัยรุ่นอายุ 15-19 ปี จะเริ่มจากการคำนวณการลดลงของรายxxx x ปีปัจจุบัน ในการคำนวณนี้คือ ปี 2561 เพียงปีxxxxxxxxx และคิดเป็นร้อยละเทียบกับ GDP (Gross Domestic Product, ผลิตภัณฑ์มวลรวมใน ประเทศ) ปี 2561 หลังจากนั้นจึงคำนวณเป็นการลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิต
(3) คำนวณเป็นการลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิต จะใช้การลดลงของรายได้ของกลุ่มหญิงที่มีบุตรเร็ว ในช่วงวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี ณ ปี 2561 ปีเดียวจากข้อ (2) คูณด้วยจำนวนปีที่จะได้ทำงาน โดยกำหนดให้แต่ละ คนจะทำงานตั้งแต่อายุ 20-60 ปี ดังนั้นจำนวนปีที่มีการทำงานของแต่ละคนที่ผ่านมาตั้งแต่ในอดีตเมื่อครั้งอายุ 20 ปี จนถึงปัจจุบันและไปถึงxxxxxเมื่ออายุครบ 60 ปี จะเท่ากับ 41 ปี
ปี พ.ศ. | อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิง 15-19 ปี 1,000 คน1 | อายุ (x) | จำนวน ประชากร หญิง2 | จำนวนแม่ วัยรุ่นที่ คำนวณได้ | ความแตกต่างของรายได้ (บาท ต่อคน ต่อเดือน) | ค่าเสียโอกาสทางเศรxxxx (การ ลดลงของรายได้) ของแม่วัยรุ่น (ล้านบาทต่อปี) | |||
อัตราจริง | อัตราเฉลี่ยที่ใช้ ในการคำนวณ ในแต่ละอายุ | จาก แบบxxxxx PSM | smooth logarithmic trend* | จากแบบxxxxx PSM | smooth logarithmic trend | ||||
(1) | (2) | (3)=(1)*(2) | (4) | (5) | (3)*(4) | (3)*(5) | |||
2561 | 35.0 | 35.0 | 15-19 | 1,973,731 | |||||
2560 | 39.6 | 45.2 | 20 | 436,586 | 19,725 | 2,811 | 3,402 | 665.3 | 805.3 |
2559 | 42.5 | 47.9 | 21 | 472,589 | 22,656 | 2,811 | 3,036 | 764.2 | 825.5 |
2558 | 44.8 | 50.1 | 22 | 482,807 | 24,198 | 2,811 | 2,822 | 816.2 | 819.5 |
2557 | 47.9 | 51.2 | 23 | 478,944 | 24,512 | 2,811 | 2,670 | 826.8 | 785.5 |
2556 | 51.1 | 51.6 | 24 | 462,077 | 23,852 | 2,811 | 2,552 | 804.5 | 730.6 |
2555 | 53.4 | 51.4 | 25 | 466,849 | 24,005 | 2,811 | 2,456 | 809.7 | 707.5 |
2554 | 53.4 | 50.7 | 26 | 474,601 | 24,053 | 2,811 | 2,375 | 811.3 | 685.4 |
2553 | 50.1 | 49.8 | 27 | 471,418 | 23,467 | 2,811 | 2,304 | 791.5 | 648.9 |
2552 | 50.1 | 49.6 | 28 | 466,594 | 23,152 | 2,811 | 2,242 | 780.9 | 622.9 |
2551 | 50.1 | 49.1 | 29 | 447,383 | 21,949 | 2,811 | 2,186 | 740.3 | 575.9 |
2550 | 49.7 | 46.9 | 30 | 438,378 | 20,551 | 2,811 | 2,136 | 693.2 | 526.8 |
2549 | 48.9 | 44.5 | 31 | 438,988 | 19,544 | 1,666 | 2,090 | 390.7 | 490.2 |
2548 | 49.3 | 41.5 | 32 | 454,192 | 18,840 | 1,666 | 2,048 | 376.6 | 463.0 |
2547 | 47.3 | 37.8 | 33 | 472,389 | 17,875 | 1,666 | 2,009 | 357.4 | 430.9 |
2546 | 39.2 | 34.9 | 34 | 476,180 | 16,619 | 1,666 | 1,972 | 332.2 | 393.3 |
2545 | 37.9 | 34.9 | 35 | 489,056 | 17,058 | 1,666 | 1,938 | 341.0 | 396.7 |
2544 | 33.7 | 34.5 | 36 | 507,371 | 17,504 | 1,666 | 1,906 | 349.9 | 400.4 |
2543 | 31.1 | 35.7 | 37 | 507,853 | 18,130 | 1,666 | 1,876 | 362.5 | 408.1 |
2542 | 32.6 | 37.7 | 38 | 518,807 | 19,569 | 1,666 | 1,847 | 391.2 | 433.8 |
2541 | 39.1 | 39.8 | 39 | 521,889 | 20,750 | 1,666 | 1,820 | 414.8 | 453.3 |
2540 | 36.0 | 40.0 | 40 | 507,308 | 20,282 | 1,666 | 1,795 | 405.5 | 436.8 |
2539 | 39.7 | 40.9 | 41 | 533,850 | 21,845 | 1,666 | 1,770 | 436.7 | 464.0 |
2538 | 41.2 | 41.4 | 42 | 529,830 | 21,914 | 1,666 | 1,747 | 438.1 | 459.3 |
2537 | 42.8 | 41.6 | 43 | 521,170 | 21,660 | 1,666 | 1,724 | 433.0 | 448.1 |
2536 | 40.2 | 40.9 | 44 | 532,572 | 21,803 | 1,666 | 1,703 | 435.9 | 445.4 |
2535 | 40.7 | 40.5 | 45 | 523,190 | 21,179 | 1,666 | 1,682 | 423.4 | 427.4 |
2534 | 41.9 | 40.2 | 46 | 542,225 | 21,797 | 1,558 | 1,662 | 407.5 | 434.7 |
2533 | 42.2 | 40.1 | 47 | 553,157 | 22,182 | 1,558 | 1,643 | 414.7 | 437.2 |
2532 | 39.7 | 40.6 | 48 | 540,709 | 21,964 | 1,558 | 1,624 | 410.6 | 428.1 |
2531 | 37.9 | 40.8 | 49 | 535,346 | 21,864 | 1,558 | 1,606 | 408.8 | 421.4 |
2530 | 39.3 | 41.4 | 50 | 554,818 | 22,981 | 1,558 | 1,589 | 429.6 | 438.2 |
2529 | 41.4 | 41.7 | 51 | 528,998 | 22,070 | 1,558 | 1,572 | 412.6 | 416.4 |
2528 | 44.8 | 41.6 | 52 | 520,695 | 21,661 | 1,558 | 1,556 | 405.0 | 404.4 |
2527 | 40.8 | 40.8 | 53 | 527,012 | 21,502 | 1,558 | 1,540 | 402.0 | 397.4 |
2526 | 40.8 | 40.8 | 54 | 526,365 | 21,476 | 1,558 | 1,525 | 401.5 | 393.0 |
ปี พ.ศ. | อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิง 15-19 ปี 1,000 คน1 | อายุ (x) | จำนวน ประชากร หญิง2 | จำนวนแม่ วัยรุ่นที่ คำนวณได้ | ความแตกต่างของรายได้ (บาท ต่อคน ต่อเดือน) | ค่าเสียโอกาสทางเศรxxxx (การ ลดลงของรายได้) ของแม่วัยรุ่น (ล้านบาทต่อปี) | |||
อัตราจริง | อัตราเฉลี่ยที่ใช้ ในการคำนวณ ในแต่ละอายุ | จาก แบบxxxxx PSM | smooth logarithmic trend* | จากแบบxxxxx PSM | smooth logarithmic trend | ||||
(1) | (2) | (3)=(1)*(2) | (4) | (5) | (3)*(4) | (3)*(5) | |||
2525 | 40.8 | 40.8 | 55 | 490,589 | 20,016 | 1,558 | 1,510 | 374.2 | 362.7 |
2524 | 40.8 | 40.8 | 56 | 477,101 | 19,466 | 1,558 | 1,495 | 363.9 | 349.3 |
2523 | 40.8 | 40.8 | 57 | 456,397 | 18,621 | 1,558 | 1,481 | 348.1 | 331.0 |
2522 | 40.8 | 40.8 | 58 | 458,658 | 18,713 | 1,558 | 1,468 | 349.9 | 329.6 |
2521 | 40.8 | 40.8 | 59 | 437,549 | 17,852 | 1,558 | 1,454 | 333.8 | 311.5 |
2520 | 40.8 | 40.8 | 60 | 403,998 | 16,483 | 1,558 | 1,441 | 308.2 | 285.1 |
รวม (ล้านบาท) | 20,163 | 20,025 | |||||||
GDP ปี 2561 (ล้านบาท) | 16,368,711 | 16,368,711 | |||||||
(a) การลดลงของรายได้ของแม่วยั รุ่น ณ 1 ปี (คิดเป็นร้อยละต่อ GDP) | 0.12% | 0.12% | |||||||
**การลดลงของรายได้ของแม่วยั รุ่น เฉพาะจากอายุปัจจุบันไปในxxxxxจนอายุ 60 ปี (คิดเป็นร้อยละต่อ GDP) | 1.6% | 1.6% | |||||||
(a)*41 = การลดลงของรายได้ของแม่วัยรุ่น รวมตลอดชั่วชีวิต (รวมอดตี ปจจุบัน และxxxxx (คิดเป็นร้อยละต่อ GDP) | 5.1% | 5.0% |
ที่มา: จากการคำนวณ, 1สำนักอนามัยการเจรญพันธุ์ กระทรวงสาธารณสุข 2สำนักงานสถิติแห่งชาติ
หมายแหตุ: *y = -528.1ln(x) + 3402.4 R² = 0.7333, **xxxxxxxxความแตกต่างของรายได้ไปในxxxxxจนอายุ 60 ปี
จากการคำนวณข้างต้น จะได้ การลดลงของรายxxx x ปีปัจจุบัน (ในการคำนวณคือปี 2561) เพียง ปีเดียวของกลุ่มผู้หญิงซึ่งเป็นผลมาจากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น อยู่ที่ประมาณ 20,163 ล้านบาท (2 หมื่นล้าน บาท) xxxxxxxxxxนี้เมื่อคิดเทียบกับ GDP (Gross Domestic Product, ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ) ปี 2561 จะคิดเป็น 0.12% ของ GDP ปี 2561 xxxxxxxxxxxxxนี้คือ ค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น ณ ปี 2561 ปัจจุบัน เพียงปีเดียว หากจะคำนวณค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจจากรายxxxxxxลดลงทั้งหมดตลอดช่วงชีวิต ของ กลุ่มผู้หญิงซึ่งเป็นผลมาจากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จะต้องคูณด้วยจำนวนปีที่มีการทำงานของแต่ละคนที่ผ่านมา ตั้งแต่ในอดีตเมื่อครั้งอายุ 20 ปี จนถึงปัจจุบันและไปถึงxxxxxเมื่ออายุครบ 60 ปี ซึ่งจะเท่ากับ 41 ปี
ดังนั้น ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น = การลดลงของรายได้ตลอด ช่วงชีวิต xxxxxxxผ่านมาในอดีตตั้งแต่เริ่มทำงานเมื่ออายุ 20 ปี จนถึงปัจจุบัน และไปถึงxxxxxเมื่ออายุครบ 60 ปี รวมแล้วคิดเป็นxxxxxxปัจจุบันอยู่ที่ประมาณ 826,700 ล้านบาท (8.3 xxxxxxxบาท) หรือคิดเป็น
5.1% ของ GDP
การวิเคราะห์เพิ่มเติม
1) logarithmic trend ของข้อมูลความแตกต่างของรายได้ในกลุ่มอายุต่างๆ จากการคำนวณค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจากการลดลงของรายได้ หรือใช้
ความแตกต่างของรายได้ในกลุ่มอายุต่างๆ xxxxxxจากแบบxxxxx PSM ดังกล่าวแล้วข้างต้น แสดงดังรูปที่ 3.5
จะเป็นในลักษณะขั้นบันไดที่ความแตกต่างทางรายได้จะไม่สูงในกลุ่มอายุที่มาก เนื่องจากในสมัยก่อนระดับ การศึกษาของกลุ่มผู้หญิงxxxxxxสูงและแตกต่างกันมากนัก โดยมีจำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยต่างกันไม่ถึง 2 ปี จากข้อมูลการสำรวจภาวะเศษxxxxและสังคมของครัวเรื่อง หรือ SES (Socio-Economic Survey) ปี 2560
ส่วนในสมัยนี้ในกลุ่มคนxxxxxxxx ระดับการศึกษาของกลุ่มผู้หญิงมีความแตกต่างกันมากขึ้นระหว่างกลุ่มที่ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นกับกลุ่มxxxxxxได้ตั้งครรภ์ และมีแนวโน้มจะมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากการเข้าถึงและโอกาส ทางการศึกษาทมากขึ้นหากxxxxxxมีบุตรเร็ว โดยจากข้อมูล SES ปี 2560 พบว่าในกลุ่มหญิงxxxxxxxx (อายุ 15-30 ปี) ดังกล่าวจำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยต่างกันมากกว่า 2 ปี ดังนั้นเพื่อทำให้ความแตกต่างของรายได้จากขั้นบันได มีความ smooth และเห็นแนวโน้มxxxxxxxxxขึ้น จึงได้ทำ logarithmic trend กับข้อมูลความแตกต่างของ รายได้ดังกล่าว ดังแสดงในรูปที่ 3.5 และได้นำมาใช้คำนวณค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจเปรียบเทียบให้เห็นกับ การใช้ความแตกต่างของรายได้จาก PSM ดังแสดงในตารางที่ 3.23 ข้างต้น โดยได้ค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ ของแม่วัยรุ่นแทบไม่แตกต่างกัน คือค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของแม่วัยรุ่นจากการลดลงของรายxxx x ปี เดียวเมื่อ smooth trend แล้วเท่ากับร้อยละ 0.1 ต่อ GDP และค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของแม่วัยรุ่นจาก การลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิต คิดเป็นประมาณร้อยละ 5.0 ต่อ GDP
4,000
3,500
3,000
2,500
2,000
1,500
1,000 y = -528.1ln(x) + 3402.4
R² = 0.7333
500
0
อายุ
บาทต่อคนต่อเดือน
รูปที่ 3.5 logarithmic trend ของข้อมูลความแตกต่างของรายได้ในกลุ่มอายุต่างๆ
20
22
24
26
28
30
32
34
36
38
40
42
44
46
48
50
52
54
56
58
60
ที่มา: จากการคำนวณ
2) กรณีอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นไม่ลดลง
การวิเคราะห์เพิ่มเติมเพื่อให้เห็นว่า ค่าเสียโอกาสของแม่วัยรุ่นจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรภายใต้ฉาก ทัศน์กรณีต่างๆ ในกรณีนี้สมมติให้อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นไม่ลดลงตั้งแต่ปี 2555 กล่าวคืออัตราการคลอด ของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิง 15-19 ปี 1,000 คน มีค่าเท่ากับ 53.4 ต่อพันคน และxxxxxเรื่อยมา
ตั้งแต่ปี 2555 จนถึงปี 2561 เมื่อคำนวณค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากการลดลง ของรายได้ตลอดช่วงชีวิต จะมีค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจxxxxxขึ้นเล็กน้อยตามอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่ xxxxxขึ้นจากร้อยละ 5.05 ต่อ GDP ในกรณีฐาน เป็นร้อยละ 5.12 ต่อ GDP ในกรณีอัตราการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่นไม่ลดลง แสดงในตารางที่ 3.23 หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ หากอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นxxxxxขึ้น 1 คน ต่อพันคน จะมีค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจจากการลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิตxxxxxขึ้นเท่ากับ 1,215 ล้านบาท
ปี พ.ศ. | อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิง 15-19 ปี 1,000 คน1 | อายุ (x) | จำนวน ประชากร หญิง2 | จำนวนแม่ วัยรุ่นที่ คำนวณได้ | ความแตกต่างของรายได้ (บาท ต่อคน ต่อเดือน) | ค่าเสียโอกาสทางเศรxxxx (การ ลดลงของรายได้) ของแม่วัยรุ่น (ล้านบาทต่อปี) | |||
อัตราจริง | อัตราเฉลี่ยที่ใช้ ในการคำนวณ ในแต่ละอายุ | จาก แบบxxxxx PSM | smooth logarithmic trend* | จากแบบxxxxx PSM | smooth logarithmic trend | ||||
(1) | (2) | (3)=(1)*(2) | (4) | (5) | (3)*(4) | (3)*(5) | |||
2561 | 53.4 | 53.4 | 15-19 | 1,973,731 | |||||
2560 | 53.4 | 53.4 | 20 | 436,586 | 23,314 | 2,811 | 3,402 | 786.4 | 951.9 |
2559 | 53.4 | 53.4 | 21 | 472,589 | 25,236 | 2,811 | 3,036 | 851.2 | 919.5 |
2558 | 53.4 | 53.4 | 22 | 482,807 | 25,782 | 2,811 | 2,822 | 869.6 | 873.1 |
2557 | 53.4 | 52.7 | 23 | 478,944 | 25,260 | 2,811 | 2,670 | 852.0 | 809.4 |
2556 | 53.4 | 52.1 | 24 | 462,077 | 24,065 | 2,811 | 2,552 | 811.7 | 737.1 |
2555 | 53.4 | 51.4 | 25 | 466,849 | 24,005 | 2,811 | 2,456 | 809.7 | 707.5 |
2554 | 53.4 | 50.7 | 26 | 474,601 | 24,053 | 2,811 | 2,375 | 811.3 | 685.4 |
2553 | 50.1 | 49.8 | 27 | 471,418 | 23,467 | 2,811 | 2,304 | 791.5 | 648.9 |
2552 | 50.1 | 49.6 | 28 | 466,594 | 23,152 | 2,811 | 2,242 | 780.9 | 622.9 |
2551 | 50.1 | 49.1 | 29 | 447,383 | 21,949 | 2,811 | 2,186 | 740.3 | 575.9 |
2550 | 49.7 | 46.9 | 30 | 438,378 | 20,551 | 2,811 | 2,136 | 693.2 | 526.8 |
2549 | 48.9 | 44.5 | 31 | 438,988 | 19,544 | 1,666 | 2,090 | 390.7 | 490.2 |
2548 | 49.3 | 41.5 | 32 | 454,192 | 18,840 | 1,666 | 2,048 | 376.6 | 463.0 |
2547 | 47.3 | 37.8 | 33 | 472,389 | 17,875 | 1,666 | 2,009 | 357.4 | 430.9 |
2546 | 39.2 | 34.9 | 34 | 476,180 | 16,619 | 1,666 | 1,972 | 332.2 | 393.3 |
2545 | 37.9 | 34.9 | 35 | 489,056 | 17,058 | 1,666 | 1,938 | 341.0 | 396.7 |
2544 | 33.7 | 34.5 | 36 | 507,371 | 17,504 | 1,666 | 1,906 | 349.9 | 400.4 |
2543 | 31.1 | 35.7 | 37 | 507,853 | 18,130 | 1,666 | 1,876 | 362.5 | 408.1 |
2542 | 32.6 | 37.7 | 38 | 518,807 | 19,569 | 1,666 | 1,847 | 391.2 | 433.8 |
2541 | 39.1 | 39.8 | 39 | 521,889 | 20,750 | 1,666 | 1,820 | 414.8 | 453.3 |
2540 | 36.0 | 40.0 | 40 | 507,308 | 20,282 | 1,666 | 1,795 | 405.5 | 436.8 |
2539 | 39.7 | 40.9 | 41 | 533,850 | 21,845 | 1,666 | 1,770 | 436.7 | 464.0 |
2538 | 41.2 | 41.4 | 42 | 529,830 | 21,914 | 1,666 | 1,747 | 438.1 | 459.3 |
2537 | 42.8 | 41.6 | 43 | 521,170 | 21,660 | 1,666 | 1,724 | 433.0 | 448.1 |
2536 | 40.2 | 40.9 | 44 | 532,572 | 21,803 | 1,666 | 1,703 | 435.9 | 445.4 |
2535 | 40.7 | 40.5 | 45 | 523,190 | 21,179 | 1,666 | 1,682 | 423.4 | 427.4 |
2534 | 41.9 | 40.2 | 46 | 542,225 | 21,797 | 1,558 | 1,662 | 407.5 | 434.7 |
2533 | 42.2 | 40.1 | 47 | 553,157 | 22,182 | 1,558 | 1,643 | 414.7 | 437.2 |
2532 | 39.7 | 40.6 | 48 | 540,709 | 21,964 | 1,558 | 1,624 | 410.6 | 428.1 |
2531 | 37.9 | 40.8 | 49 | 535,346 | 21,864 | 1,558 | 1,606 | 408.8 | 421.4 |
2530 | 39.3 | 41.4 | 50 | 554,818 | 22,981 | 1,558 | 1,589 | 429.6 | 438.2 |
2529 | 41.4 | 41.7 | 51 | 528,998 | 22,070 | 1,558 | 1,572 | 412.6 | 416.4 |
2528 | 44.8 | 41.6 | 52 | 520,695 | 21,661 | 1,558 | 1,556 | 405.0 | 404.4 |
2527 | 40.8 | 40.8 | 53 | 527,012 | 21,502 | 1,558 | 1,540 | 402.0 | 397.4 |
2526 | 40.8 | 40.8 | 54 | 526,365 | 21,476 | 1,558 | 1,525 | 401.5 | 393.0 |
2525 | 40.8 | 40.8 | 55 | 490,589 | 20,016 | 1,558 | 1,510 | 374.2 | 362.7 |
ปี พ.ศ. | อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิง 15-19 ปี 1,000 คน1 | อายุ (x) | จำนวน ประชากร หญิง2 | จำนวนแม่ วัยรุ่นที่ คำนวณได้ | ความแตกต่างของรายได้ (บาท ต่อคน ต่อเดือน) | ค่าเสียโอกาสทางเศรxxxx (การ ลดลงของรายได้) ของแม่วัยรุ่น (ล้านบาทต่อปี) | |||
อัตราจริง | อัตราเฉลี่ยที่ใช้ ในการคำนวณ ในแต่ละอายุ | จาก แบบxxxxx PSM | smooth logarithmic trend* | จากแบบxxxxx PSM | smooth logarithmic trend | ||||
(1) | (2) | (3)=(1)*(2) | (4) | (5) | (3)*(4) | (3)*(5) | |||
2524 | 40.8 | 40.8 | 56 | 477,101 | 19,466 | 1,558 | 1,495 | 363.9 | 349.3 |
2523 | 40.8 | 40.8 | 57 | 456,397 | 18,621 | 1,558 | 1,481 | 348.1 | 331.0 |
2522 | 40.8 | 40.8 | 58 | 458,658 | 18,713 | 1,558 | 1,468 | 349.9 | 329.6 |
2521 | 40.8 | 40.8 | 59 | 437,549 | 17,852 | 1,558 | 1,454 | 333.8 | 311.5 |
2520 | 40.8 | 40.8 | 60 | 403,998 | 16,483 | 1,558 | 1,441 | 308.2 | 285.1 |
รวม (ล้านบาท) | 20,457 | 20,349 | |||||||
GDP ปี 2561 (ล้านบาท) | 16,368,711 | 16,368,711 | |||||||
(a) การลดลงของรายได้ของแม่วยั รุ่น ณ 1 ปี (คิดเป็นร้อยละต่อ GDP) | 0.12% | 0.12% | |||||||
**การลดลงของรายได้ของแม่วยั รุ่น เฉพาะจากอายุปัจจุบันไปในxxxxxจนอายุ 60 ปี (คิดเป็นร้อยละต่อ GDP) | 1.6% | 1.7% | |||||||
(a)*41 = การลดลงของรายได้ของแม่วัยรุ่น รวมตลอดชั่วชีวิต (รวมอดตี ปจจุบัน และxxxxx (คิดเป็นร้อยละต่อ GDP) | 5.1% | 5.1% |
ที่มา: จากการคำนวณ, 1สำนักอนามัยการเจรญพันธุ์ กระทรวงสาธารณสุข 2สำนักงานสถิติแห่งชาติ
2) กรณีความแตกต่างของรายได้xxxxxขึ้นในกลุ่มคนxxxxxxxx ในกรณีนี้สมมติให้ความแตกต่างของรายได้xxxxxขึ้นในกลุ่มคนxxxxxxxx ซึ่งเป็นไปได้สูงในxxxxx ซึ่ง
เกิดขึ้นเนื่องจากระดับการศึกษาที่สูงขึ้น โดยเฉพาะผู้xxxxxxเข้าเรียนในระดับxxxxxxตรีจะมีความแตกต่างของ
รายได้xxxxxขึ้นมากกว่าผู้ที่มีการศึกษาระดับต่ำกว่าxxxxxxตรี และความแตกต่างนี้xxxxxขึ้นมากกว่าในกลุ่มคนรุ่น ก่อนๆ ซึ่งชี้ให้เห็นในงานศึกษาของต่างประเทศหลายชิ้น3 ดังที่กล่าวก่อนหน้าแล้วว่า จากข้อมูล SES ปี 2560 พบว่าในกลุ่มผู้หญิงxxxxxxxx (กลุ่มอายุไม่เกิน 30 ปี) จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยต่างกันระหว่างหญิงที่เป็นแม่วัยรุ่น และxxxxxxเป็นแม่วัยรุ่น คือประมาณ 2 ปี มีรายได้แตกต่างกันประมาณ 2,800 บาทต่อคนต่อเดือน ดังนั้นใน กรณีนี้จึงสมมติให้จำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยต่างกันมากขึ้นเป็น 4 ปี ทำให้มีรายได้ต่างกันมากขึ้นอยู่ที่ประมาณ 5,600 บาทต่อคนต่อเดือน และเมื่อนำมาคำนวณหาค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จาก ความแตกต่างกรือการลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิต พบว่าค่าเสียโอกาสจะxxxxxขึ้นอย่างมากจากประมาณ 826,700 ล้านบาท (8.3 xxxxxxxบาท) หรือร้อยละ 5.1 ต่อ GDP เป็น 1,172,687 ล้านล้านบาท (1.2 ล้านล้านบาท) หรือร้อยละ 7.2 ต่อ GDP และร้อยละ 7.0 ต่อ GDP กรณี smooth ความแตกต่างของรายได้ ด้วย logarithmic trend ดังแสดงในตารางที่ 3.24 และรูปที่ 3.6
กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ หากการเป็นแม่วัยรุ่นทำให้ไม่xxxxxxศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นอย่างxxxxxxxxxได้ ซึ่ง มีผลต่อรายxxxxxxจะลดลง หรือมีความแตกต่างของรายได้xxxxxขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มxxxxxxได้เป็นแม่วัยรุ่นและ xxxxxxศึกษาในระดับที่สูงขึ้นได้ตามxxxxxxxxx ผลจากความแตกต่างของจำนวนปีการศึกษาหรือการลดลงของ รายได้ดังกล่าว ในทุกปีการศึกษาที่แตกต่างกัน 1 ปี หรือเทียบเท่ากับรายxxxxxxลดลงประมาณ 1,400 บาท ต่อคนต่อเดือน ในกลุ่มแม่วัยรุ่นxxxxxxxx จะมีค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจจากการลดลงของรายได้ตลอดช่วง ชีวิตxxxxxขึ้นเท่ากับ 172,993 ล้านบาท
3 ตัวอยา่ งxxxx (Bixxxx & Fry, 2020) (Gaxx, Gexxxxx, Fixxxxxx, & Haxxxx, 2020)
ปี พ.ศ. | อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิง 15-19 ปี 1,000 คน1 | อายุ (x) | จำนวน ประชากร หญิง2 | จำนวนแม่ วัยรุ่นที่ คำนวณได้ | ความแตกต่างของรายได้ (บาท ต่อคน ต่อเดือน) | ค่าเสียโอกาสทางเศรxxxx (การ ลดลงของรายได้) ของแม่วัยรุ่น (ล้านบาทต่อปี) | |||
อัตราจริง | อัตราเฉลี่ยที่ใช้ ในการคำนวณ ในแต่ละอายุ | จาก แบบxxxxx PSM | smooth logarithmic trend* | จากแบบxxxxx PSM | smooth logarithmic trend | ||||
(1) | (2) | (3)=(1)*(2) | (4) | (5) | (3)*(4) | (3)*(5) | |||
2561 | 35.0 | 35.0 | 15-19 | 1,973,731 | |||||
2560 | 39.6 | 45.2 | 20 | 436,586 | 19,725 | 5,600 | 7,466 | 1,325.5 | 1,767.1 |
2559 | 42.5 | 47.9 | 21 | 472,589 | 22,656 | 5,600 | 6,273 | 1,522.5 | 1,705.5 |
2558 | 44.8 | 50.1 | 22 | 482,807 | 24,198 | 5,600 | 5,576 | 1,626.1 | 1,619.1 |
2557 | 47.9 | 51.2 | 23 | 478,944 | 24,512 | 5,600 | 5,081 | 1,647.2 | 1,494.6 |
2556 | 51.1 | 51.6 | 24 | 462,077 | 23,852 | 5,600 | 4,697 | 1,602.9 | 1,344.5 |
2555 | 53.4 | 51.4 | 25 | 466,849 | 24,005 | 5,600 | 4,384 | 1,613.2 | 1,262.8 |
2554 | 53.4 | 50.7 | 26 | 474,601 | 24,053 | 5,600 | 4,119 | 1,616.3 | 1,188.7 |
2553 | 50.1 | 49.8 | 27 | 471,418 | 23,467 | 5,600 | 3,889 | 1,577.0 | 1,095.1 |
2552 | 50.1 | 49.6 | 28 | 466,594 | 23,152 | 5,600 | 3,686 | 1,555.8 | 1,024.2 |
2551 | 50.1 | 49.1 | 29 | 447,383 | 21,949 | 5,600 | 3,505 | 1,474.9 | 923.2 |
2550 | 49.7 | 46.9 | 30 | 438,378 | 20,551 | 5,600 | 3,341 | 1,381.0 | 824.0 |
2549 | 48.9 | 44.5 | 31 | 438,988 | 19,544 | 1,666 | 3,191 | 390.7 | 748.5 |
2548 | 49.3 | 41.5 | 32 | 454,192 | 18,840 | 1,666 | 3,054 | 376.6 | 690.4 |
2547 | 47.3 | 37.8 | 33 | 472,389 | 17,875 | 1,666 | 2,926 | 357.4 | 627.7 |
2546 | 39.2 | 34.9 | 34 | 476,180 | 16,619 | 1,666 | 2,808 | 332.2 | 559.9 |
2545 | 37.9 | 34.9 | 35 | 489,056 | 17,058 | 1,666 | 2,697 | 341.0 | 552.0 |
2544 | 33.7 | 34.5 | 36 | 507,371 | 17,504 | 1,666 | 2,592 | 349.9 | 544.5 |
2543 | 31.1 | 35.7 | 37 | 507,853 | 18,130 | 1,666 | 2,494 | 362.5 | 542.6 |
2542 | 32.6 | 37.7 | 38 | 518,807 | 19,569 | 1,666 | 2,401 | 391.2 | 563.8 |
2541 | 39.1 | 39.8 | 39 | 521,889 | 20,750 | 1,666 | 2,313 | 414.8 | 575.9 |
2540 | 36.0 | 40.0 | 40 | 507,308 | 20,282 | 1,666 | 2,229 | 405.5 | 542.5 |
2539 | 39.7 | 40.9 | 41 | 533,850 | 21,845 | 1,666 | 2,149 | 436.7 | 563.3 |
2538 | 41.2 | 41.4 | 42 | 529,830 | 21,914 | 1,666 | 2,072 | 438.1 | 545.0 |
2537 | 42.8 | 41.6 | 43 | 521,170 | 21,660 | 1,666 | 1,999 | 433.0 | 519.6 |
2536 | 40.2 | 40.9 | 44 | 532,572 | 21,803 | 1,666 | 1,929 | 435.9 | 504.7 |
2535 | 40.7 | 40.5 | 45 | 523,190 | 21,179 | 1,666 | 1,862 | 423.4 | 473.1 |
2534 | 41.9 | 40.2 | 46 | 542,225 | 21,797 | 1,558 | 1,797 | 407.5 | 470.0 |
2533 | 42.2 | 40.1 | 47 | 553,157 | 22,182 | 1,558 | 1,734 | 414.7 | 461.6 |
2532 | 39.7 | 40.6 | 48 | 540,709 | 21,964 | 1,558 | 1,674 | 410.6 | 441.1 |
2531 | 37.9 | 40.8 | 49 | 535,346 | 21,864 | 1,558 | 1,615 | 408.8 | 423.8 |
2530 | 39.3 | 41.4 | 50 | 554,818 | 22,981 | 1,558 | 1,559 | 429.6 | 429.9 |
2529 | 41.4 | 41.7 | 51 | 528,998 | 22,070 | 1,558 | 1,504 | 412.6 | 398.4 |
2528 | 44.8 | 41.6 | 52 | 520,695 | 21,661 | 1,558 | 1,452 | 405.0 | 377.3 |
2527 | 40.8 | 40.8 | 53 | 527,012 | 21,502 | 1,558 | 1,400 | 402.0 | 361.3 |
2526 | 40.8 | 40.8 | 54 | 526,365 | 21,476 | 1,558 | 1,350 | 401.5 | 348.0 |
ปี พ.ศ. | อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิง 15-19 ปี 1,000 คน1 | อายุ (x) | จำนวน ประชากร หญิง2 | จำนวนแม่ วัยรุ่นที่ คำนวณได้ | ความแตกต่างของรายได้ (บาท ต่อคน ต่อเดือน) | ค่าเสียโอกาสทางเศรxxxx (การ ลดลงของรายได้) ของแม่วัยรุ่น (ล้านบาทต่อปี) | |||
อัตราจริง | อัตราเฉลี่ยที่ใช้ ในการคำนวณ ในแต่ละอายุ | จาก แบบxxxxx PSM | smooth logarithmic trend* | จากแบบxxxxx PSM | smooth logarithmic trend | ||||
(1) | (2) | (3)=(1)*(2) | (4) | (5) | (3)*(4) | (3)*(5) | |||
2525 | 40.8 | 40.8 | 55 | 490,589 | 20,016 | 1,558 | 1,302 | 374.2 | 312.7 |
2524 | 40.8 | 40.8 | 56 | 477,101 | 19,466 | 1,558 | 1,255 | 363.9 | 293.1 |
2523 | 40.8 | 40.8 | 57 | 456,397 | 18,621 | 1,558 | 1,209 | 348.1 | 270.1 |
2522 | 40.8 | 40.8 | 58 | 458,658 | 18,713 | 1,558 | 1,164 | 349.9 | 261.4 |
2521 | 40.8 | 40.8 | 59 | 437,549 | 17,852 | 1,558 | 1,121 | 333.8 | 240.1 |
2520 | 40.8 | 40.8 | 60 | 403,998 | 16,483 | 1,558 | 1,078 | 308.2 | 213.3 |
รวม (ล้านบาท) | 28,602 | 28,104 | |||||||
GDP ปี 2561 (ล้านบาท) | 16,368,711 | 16,368,711 | |||||||
(a) การลดลงของรายได้ของแม่วยั รุ่น ณ 1 ปี (คิดเป็นร้อยละต่อ GDP) | 0.17% | 0.17% | |||||||
**การลดลงของรายได้ของแม่วยั รุ่น เฉพาะจากอายุปัจจุบันไปในxxxxxจนอายุ 60 ปี (คิดเป็นร้อยละต่อ GDP) | 2.4% | 2.6% | |||||||
(a)*41 = การลดลงของรายได้ของแม่วัยรุ่น รวมตลอดชั่วชีวิต (รวมอดตี ปจจุบัน และxxxxx (คิดเป็นร้อยละต่อ GDP) | 7.2% | 7.0% |
ที่มา: จากการคำนวณ, 1สำนักอนามัยการเจรญพันธุ์ กระทรวงสาธารณสุข 2สำนักงานสถิติแห่งชาติ
หมายแหตุ: *y = -1720ln(x) + 7465.5 R² = 0.7076, **xxxxxxxxความแตกต่างของรายได้ไปในxxxxxจนอายุ 60 ปี
8,000
7,000
6,000
5,000
4,000
3,000
2,000
1,000
0
y = -1720ln(x) + 7465.5
R² = 0.7076
อาย
บาทต่อคนต่อเดือน
20
22
24
26
28
30
32
34
36
38
40
42
44
46
48
50
52
54
56
58
60
ที่มา: จากการคำนวณ
กรณีฐาน
กรณีอัตราแม่วัยรุ่นไม่ลดลง
กรณีความแตกต่างของรายได้xxxxxขึ้น
80,000
70,000
60,000
50,000
40,000
30,000
20,000
10,000
0
อาย
ล้านบาท
20
22
24
26
28
30
32
34
36
38
40
42
44
46
48
50
52
54
56
58
60
ที่มา: จากการคำนวณ
เมื่อเปรียบเทียบค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากการลดลงของรายได้ตลอด ช่วงชีวิต ในกรณีฉากทัศน์ต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น ดังรูปที่ 3.7 แสดงให้เห็นว่าค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจจะ สูงขึ้นหากจำนวนแม่วัยรุ่นไม่ลดลง และค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจจะxxxxxสูงขึ้นมากเมื่อความแตกต่างของ รายได้xxxxxขึ้นในกลุ่มคนxxxxxxxx ซึ่งเป็นผลมาจากจำนวนปีการศึกษาที่แตกต่างกันมากขึ้น ถ้ายังไม่ลดปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นนี้แล้ว ความสูญเสียจะxxxxxมากขึ้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ ของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจะxxxxxสูงขึ้นสำหรับรุ่นต่อๆไป ซึ่งจะยิ่งxxxxxความสูญเสียทางเศรษฐกิจและภาระทาง งบประมาณสำหรับประเทศที่xxxxxมากขึ้น ดังนั้นการลดจำนวนแม่วัยรุ่นหรืออัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และ การxxxxxxให้วัยรุ่นอยู่ในระบบการศึกษาและได้เรียนจนจบในระดับการศึกษาตามxxxxxxตั้งไจไว้ จึงมี ความสำคัญอย่างยิ่ง โดยเฉพาะกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ควรต้องได้กลับเข้าเรียนในระบบการศึกษาโดยไม่มี อุปสรรคในการกลับเข้าเรียนในโรงเรียนเดิม และได้เรียนจนจบในระดับการศึกษาตามxxxxxxตั้งไจไว้ เพื่อให้ xxxxxxทำงานและมีรายxxxxxxเหมาะสมกับความรู้ความxxxxxx และในกรณีxxxxxxพร้อมที่จะกลับเข้าเรียนใน ระบบ ซึ่งมีแม่วัยรุ่นจำนวนxxxxxxxxxxกลับเข้าเรียนในระบบ แต่เลือกที่จะเข้าเรียนในการศึกษานอกระบบหรือ การศึกษานอกโรงเรียนแทน การพัฒนาคุณภาพของการศึกษานอกระบบให้เท่าเทียมกับการศึกษาในระบบจึง เป็นสิ่งจำเป็น เนื่องจากเป็นปัจจัยกำหนดสำคัญที่จะช่วยให้กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นดังกล่าวxxxxxxมีความรู้และ ทักษะเพื่อการหารายได้ในระดับxxxxxxxxxxxใกล้เคียงกับกลุ่มที่เรียนอยู่ในระบบ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศโดยรวม
ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของแม่วัยรุ่นจากการลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิตของกลุ่มผู้หญิง อายุ 15-19 ปี ซึ่งเป็นผลมาจากการมีบุตรเร็วนี้ เป็นการประเมินต้นทุนทางตรงจากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น หรือ กล่าวได้ว่าเป็นต้นทุนขั้นต่ำเท่านั้น เนื่องด้วยข้อจำกัดของการศึกษานี้ในสองประการ
ประการแรก ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของแม่วัยรุ่น ในการศึกษานี้ ใช้ความแตกต่างของ รายได้จากแบบxxxxx PSM เมื่อควบคุมตัวแปรลักษณะบุคคล และครัวเรือน ในกลุ่มที่มีลักษณะxxxxกับกลุ่ม ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น แต่xxxxxxตั้งครรภ์ ในกลุ่มช่วงอายุต่างๆ ซึ่งเป็นการคำนวณโดยใช้ข้อมูล SES ปี 2560 เพียงปี
เดียว และข้อมูลประชากรของสำนักงานสถิติแห่งชาติปี 2561 เพื่อเป็นตัวแทนนำมาคำนวณต้นทุนค่าเสีย โอกาสทางเศรษฐกิจจากการลดลงของรายได้ไปตลอดชั่วชีวิต ต้นทุนค่าเสียโอกาสดังกล่าวจึงเป็นเพียง การ ประมาณการค่าเสียโอกาสขั้นต่ำ เนื่องจากความแตกต่างของรายได้จะมีความแตกต่างกันในทุกปี และจะ xxxxxขึ้นในทุกรุ่นของประชากร ทำให้ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นxxxxxขึ้นอีก นอกจากนี้ยังมีข้อจำกัดจากฐานข้อมูล SES xxxxxxครอบคลุมครัวเรือนที่มีรายได้สูง ซึ่งจะสะท้อนพื้นฐานและ โอกาสทางด้านการศึกษาและการทำงานที่จะส่งผลต่อความแตกต่างของรายxxxxxxสูงขึ้น ดังนั้นการประมาณการ ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของแม่วัยรุ่นอาจจะต่ำกว่าความเป็นจริง
ประการที่สอง นอกเหนือจากต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ ยังมีต้นทุนทางอ้อมในส่วนอื่นๆ ของ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ดังกล่าวแล้วในหัวข้อก่อนหน้า ที่ควรศึกษาเพิ่มเติมในงานศึกษาลำดับต่อๆ ไป อาทิ
(ก) การสูญเสียรายได้ทางภาษี
• ภาษีเงินได้และภาษีทรัพย์สินที่ลดลง เนื่องจากการลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิต ซึ่งเป็นผล จากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
• ภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่ลดลง จากการลดการบริโภคของแม่วัยรุ่นเทียบกับรายxxxxxxหายไป
(ข) การลงทุนในการศึกษาที่เสียไป เนื่องจากจำนวนนักเรียนลดลง ซึ่งเป็นผลจากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และออกนอกระบบโรงเรียน รัฐจะมีจำนวนนักเรียนที่น้อยกว่าจำนวนและขนาดของโรงเรียนที่ สร้างไว้ตามแผนการลงทุน
(ค) ค่าใช้จ่ายดูแลสุขภาพที่xxxxxขึ้น เนื่องจากโอกาสการตั้งครรภ์ทั้งชีวิตที่มากขึ้นของแม่วัยรุ่น และ ความเสี่ยงทางด้านสุขภาพของแม่และเด็กเนื่องจากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น xxxxxxจะต้องได้รับการ ดูแลและรักษาพยาบาลเป็นพิเศษ ซึ่งจะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายดูแลสุขภาพโดยรวมสูงขึ้น
(ง) ค่าช่วยเหลือทางสังคมสำหรับแม่วัยรุ่นและทารกแรกเกิด ที่xxxxxขึ้น xxxx เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดู เด็กแรกเกิด ที่ให้กับแม่วัยรุ่นรายได้ต่ำ และจะxxxxxขึ้นตามจำนวนการมีบุตรตลอดชีพของแม่ วัยรุ่น และความช่วยเหลือทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องอื่น ๆ เพิ่มเติม xxxx บ้านพักพิงสำหรับวัยรุ่น ตั้งครรภ์ ศูนย์รับเลี้ยงเด็ก
บทที่ 4 มาตรการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ องค์การสหประชาชาติกำหนดให้การลดอัตรา การคลอดในวัยรุ่นอายุ 10-14 ปี และ 15-19 ปี เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดในการxxxxxเป้าหมายการพัฒนาxxxxxxxxxx (Sustainable Development Goals SDGs) xxxxxxxxxxx 3 ว่าด้วยการสร้างหลักประกันให้คนมีชีวิตที่มี คุณภาพและxxxxxxxxสุขภาวะxxxxxของคนทุกเพศทุกxxxxxxนานาชาติต้องการxxxxxให้ได้ภายในปี 2573
ประเทศไทยพบวัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปี คลอดบุตรxxxxxขึ้นจาก 95,000 คน ในปี 2546 เป็น 104,300
คน ในปี 2558 โดยเป็นการคลอดบุตรในวัยรุ่นอายุต่ำกว่า 15 ปีเกือบ 3,000 คน และเป็นการคลอดซ้ำใน วัยรุ่นเป็นจำนวน 12,700 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 12.2 ของการคลอดในวัยรุ่นทั้งหมด การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น นอกจากจะส่งผลต่อสุขภาพของแม่และเด็กแล้ว ยังทำให้เสียโอกาสทางการศึกษา การไม่มีงานทำ เด็กบางส่วน ถูกทอดทิ้ง และบางส่วนเติบโตอย่างไม่มีคุณภาพ
สถานการณ์การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงตลอดช่วงระยะเวลา 30 ปี ผ่าน การพิจารณาโดยอัตราการคลอดของวัยรุ่น4 โดยในช่วงแรกเริ่มนับตั้งแต่ ปี 2535-2544 ประเทศไทยมีอัตรา
การคลอดของวัยรุ่นหญิงอายุระหว่าง 15-19 ปี โดยเฉลี่ยประมาณ 37.63 คนต่อประชากรวัยรุ่นหญิงในอายุ เดียวกัน 1,000 คน xxxxxxxxxxเป็นค่าเฉลี่ยที่น้อยที่สุดในช่วงเวลาที่ทำการพิจารณา หลังจากนั้นสถานการณ์การ คลอดในวัยรุ่นหญิงได้xxxxxขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงxxxxxxxxxสองระหว่างปี 2545-2555 โดยมีค่าเฉลี่ยในช่วง xxxxxxดังกล่าวอยู่ที่ประมาณ 47.60 คนต่อประชากร 1,000 คน อย่างไรก็ตามสถานการณ์นับตั้งแต่ ปี 2556 เป็นต้นมา อัตราการคลอดในวัยรุ่นมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง (รูปที่ 4.1) จึงxxxxxxจะทบทวนผลที่ เกิดจากการxxxxxxมาตรการป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทยว่ามาตรการใดน่าจะได้ผล
60.0
50.0
40.0
30.0
20.0
10.0
0.0
ต่อ 1,000 คน
40.7
40.2
42.8
41.2
39.7
36.0
39.1
32.6
31.1
33.7
37.9
39.2
47.3
49.3
48.9
49.7
50.1
50.1
50.1
53.4
53.4
51.1
47.9
44.8
42.5
39.6
35.0
31.3
29.1
รูปที่ 4.1 อัตราการคลอดของหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน
2535
2536
2537
2538
2539
2540
2541
2542
2543
2544
2545
2546
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
2561
2562
2563
ที่มา: สำนักอนามัยการเจรญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
4 เนื่องจากการพิจารณาสถานการณ์การตั้งครรภ์ของวัยรุ่นไม่xxxxxxxxxxxโดยตรงจากข้อจำกัดของข้อมูล ทำให้ผู้วิจัยเลือกใช้ข้อมูล อัตราการคลอดของวัยรุ่นในช่วงอายุระหว่าง 15-19 ปี เป็นข้อมูลในการพิจารณาสถานการณ์ ประกอบกับบางมาตรการมีส่วนที่ เกี่ยวข้องและส่งผลมากกว่าอัตราการคลอด xxxx กระบวนการให้การศึกษา การป้องกันการตั้งครรภ์ เป็นต้น
รายงานส่วนนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิเกี่ยวกับมาตรการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยเฉพาะในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นระยะที่การคลอดxxxxxxสัดส่วนลดลง และวิเคราะห์ว่ามาตรการ ป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทยรูปแบบใดที่มีผลต่อการลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในประเทศไทย โดย จะเริ่มจากการทบทวนมาตรการที่น่าสนใจในต่างประเทศ รายละเอียดมาตรการที่ใช้ในช่วงเวลาต่างๆ จากนั้น ทำการสรุปมาตรการที่ได้ผลในการป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยสรุปจากการศึกษาของคณะ นักวิจัยประกอบกับข้อคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งการสนทนากลุ่มกับแม่วัยรุ่นเองด้วย
4.1 การศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาแม่วัยรุ่นในต่างประเทศ
งานศึกษาของต่างประเทศเกี่ยวกับผลของการมาตรการแทรกแซงเพื่อลดปัญหาการตั้งครรภ์ในกลุ่ม วัยรุ่นนั้น ตัวแปรที่ใช้อย่างแพร่หลายเพื่อวัดผลลัพธ์หลัก (primary outcome variable) คือ การเลื่อนการมี เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ซึ่งส่วนมากมักใช้ข้อมูลจากแบบสำรวจ ตัวอย่างงานศึกษา ได้แก่ งานศึกษาใน สหรัฐอเมริกา (Markham et al., 2012) ที่ศึกษาผลของโครงการให้ความรู้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบการ หลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance: RA) ที่ให้ความสำคัญกับการงดเว้นการมีเพศสัมพันธ์จนกว่าจะ แต่งงาน (abstinence-until-marriage) และรูปแบบการลดความเสี่ยง (Risk Reduction: RR) ที่ให้ ความสำคัญการงดเว้นการมีเพศสัมพันธ์จนกว่าจะอายุมากขึ้น (abstinence-until-older) พร้อมกับให้ความรู้ เรื่องการใช้ถุงยางอนามัยและยาคุมกำเนิด โดยใช้วิธีการเปรียบเทียบผลของแบบสำรวจก่อนและหลังสิ้นสุด โครงการ คำถามในแบบสำรวจแบ่งเป็น 2 หมวดหลัก
การวัดผลพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ ประกอบไปด้วย
• พฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร (1. ทุกรูปแบบ 2. เพศสัมพันธ์ทางปาก
3. เพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด 4. เพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก)
• พฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ทางช่องคลอดโดยไม่ป้องกันในครั้งล่าสุด
• จำนวนครั้งของการมีเพศสัมพันธ์ในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา (1. เพศสัมพันธ์ทางปาก
2. เพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด 3. เพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก)
• จำนวนครั้งของการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัยในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา (1. เพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด 2. เพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก)
• จำนวนคู่นอนทั้งหมดที่ผ่านมา (1. เพศสัมพันธ์ทางปาก 2. เพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด
3. เพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก)
• จำนวนคู่นอนในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา (1. เพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด 2. เพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก) การวัดผลผ่านตัวแปรเชิงจิตวิทยา อาทิ ความรู้เชิงพฤติกรรม การรับรู้ความสามารถของตนเอง (ตารางที่ 4.1)
ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงการวัดผลผ่านตัวแปรเชิงจิตวิทยา
ที่มา: Markham et al., 2012
ผลการศึกษาพบว่า วัยรุ่นในกลุ่ม RR มีแนวโน้มที่จะมีเพศสัมพันธ์ช้าลง มีเพศสัมพันธ์แบบป้องกันใน ครั้งล่าสุดและมีความถี่ในการมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนักหรือทางช่องคลอดอย่างไม่ป้องกันน้อยลง ขณะที่ วัยรุ่นในกลุ่ม RA พบแนวโน้มการมีเพศสัมพันธ์ที่ช้าลงในบางเชื้อชาติเท่านั้นและมีเพศสัมพันธ์แบบป้องกันใน ครั้งล่าสุด แต่กลับพบจำนวนคู่นอนที่มีเพศสัมพันธ์ทางช่องคลอดเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ วัยรุ่นในกลุ่ม RR และ RA มี ผลลัพธ์ที่วัดผลผ่านตัวแปรเชิงจิตวิทยาที่เป็นบวกมากขึ้น
อีกหนึ่งตัวอย่างการศึกษา (Sieving et al., 2011) ที่ศึกษาผลของโครงการพัฒนาวัยรุ่น (youth development program) แก่เด็กหญิงอายุ 13-17 ปีที่มีความเสี่ยงสูงที่จะตั้งครรภ์ โดยเด็กหญิงในกลุ่ม ทดลองจะเข้าร่วมโครงการ Prime Time ร่วมกับบริการคลินิกปกติเป็นเวลา 18 เดือน ขณะที่กลุ่มควบคุมจะ ใช้บริการคลินิกปกติเท่านั้น และวัดผลจากการตอบคำถามในแบบสำรวจก่อนเริ่มโครงการและ 12 เดือนหลัง สิ้นสุดโครงการ โดยตัวชี้วัดผลลัพธ์หลัก (primary outcome measures) มี 2 อย่างด้วยกัน
1. พฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย ประกอบไปด้วย
• จำนวนเดือนที่มีเพศสัมพันธ์โดยใช้วิธีการคุมกำเนิดด้วยฮอร์โมนในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาและรวม เดือนปัจจุบันด้วย (ไม่ใช้เลย 1 เดือน 2 เดือน 3 เดือน 4 เดือน 5 เดือน 6 เดือน 7 เดือน)
• จำนวนเดือนที่มีเพศสัมพันธ์โดยใช้วิธีการคุมกำเนิดด้วยถุงยางอนามัยในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาและ รวมเดือนปัจจุบันด้วย (ไม่ใช้เลย 1 เดือน 2 เดือน 3 เดือน 4 เดือน 5 เดือน 6 เดือน 7 เดือน)
• จำนวนเดือนที่มีเพศสัมพันธ์โดยใช้ทั้งวิธีการคุมกำเนิดด้วยฮอร์โมนและถุงยางอนามัยในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมาและรวมเดือนปัจจุบันด้วย (ไม่ใช้เลย 1 เดือน 2 เดือน 3 เดือน 4 เดือน 5 เดือน 6 เดือน 7 เดือน)
2 จำนวนคู่นอนผู้ชายที่มีเพศสัมพันธ์ทางช่องคลอดด้วยในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา (1 คน 2 คน 3
คน 4 คน 5 คนหรือมากกว่า)
นอกจากนี้ ยังมีการวัดผลลัพธ์รอง (secondary outcome measures) คือ ตัวแปรเชิงจิตวิทยา ซึ่ง แบ่งหมวดหมู่และมีตัวอย่างคำถามดังตารางด้านล่าง
ตารางที่ 4.2 ตารางแสดงการข้อมูลการวัดสำหรับตัวแปรทางจิตวิทยา (Psychosocial Variables)
Construct | # of Items | Sample Item | Response Format, Measure Coding | Internal Consistency |
Environmental Attributes | ||||
Social Connectedness | ||||
Family connectedness | 5 | My family cares about me. | 4-point response (0 = not at all to 3 = a lot) | α=0.90 |
School connectedness | 3 | I feel like I belong at my school. | 4-point response (0 = never or seldom to 3 = very often) | α=0.63 |
Teacher connectedness | 6 | My teachers respect me. | 4-point response (0 = none to 3 = a lot) | α=0.87 |
Perceived Norms re Contraception |
Construct | # of Items | Sample Item | Response Format, Measure Coding | Internal Consistency |
Perceived partner desire to use contraception | 1 | How did [most recent partner] feel about using condoms or other birth control when the two of you had sex? | 5-point response (0 = He did not want us to use to 4 = He always wanted us to use) | NA |
Personal Attributes | ||||
Sexual Attitudes & Beliefs | ||||
1 | How did you feel about using condoms or other birth control when you had sex with [most recent partner]? | 4-point response (0 = I did not want us to use to 3 = I always wanted us to use) | NA | |
Beliefs supporting birth control use | 5 | Using birth control makes me feel responsible. | 4-point response (0 = strongly disagree to 3 = strongly agree) | α=0.82 |
Perceived pregnancy consequences | 6 | Getting pregnant would force me to grow up too fast. | 4-point response (0 = strongly disagree to 3 = strongly agree) | α=0.77 |
Behavioral Attributes | ||||
Social-Emotional Intelligence | ||||
Stress management skills | 8 | When I get angry, I act without thinking. | 4-point response (0 = never or seldom to 3 = very often) | α=0.86 |
Interpersonal skills | 7 | I am able to respect others. | 4-point response (0 = never or seldom to 3 = very often) | α=0.81 |
Intrapersonal skills | 6 | It is easy to tell people how I feel. | 4-point response (0 = never or seldom to 3 = very often) | α=0.79 |
Sexual Self-Efficacy & Skills | ||||
Communication about sexual risk | 7 | When did you and [most recent partner] talk about how to keep from getting pregnant? | 3-point response (0 = we never talked about this; 1 = we talked about this after we had sex; 2 = we talked about it before we had sex) | α=0.74 |
Sex refusal self-efficacy | 4 | Imagine that you met someone at a party who wants to have sex with you. Even though you are very attracted to each other, you don't think you are ready to have sex. How sure are you that you could keep from having sex? | 4-point response (0 = not sure to 3 = really sure) | α=0.81 |
Condom use self- efficacy | 5 | It would be easy to tell [most recent partner] that I wanted to use a condom | 4-point response (0 = strongly disagree to 3 = strongly agree) | α=0.67 |
ที่มา: Sieving et al., 2011
จากผลการสำรวจหลังริเริ่มโครงการ 12 เดือนพบว่า เด็กหญิงในกลุ่มทดลองมีจำนวนคู่นอนน้อยลง อย่างมีนัยสำคัญ ขณะที่ผลการสำรวจหลังริเริ่มโครงการ 18 เดือนพบว่า เด็กหญิงในกลุ่มทดลองมีการใช้ถุงยาง อนามัยในการมีเพศสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ และมีแนวโน้มที่จะใช้วิธีการคุมกำเนิดด้วย ฮอร์โมนหรือใช้ทั้งสองวิธีควบคู่กันมากขึ้นด้วย
นอกจากมาตรการแทรกแซงในรูปแบบของการให้ความรู้แล้ว ยังมีงานศึกษาในประเทศมาลาวี (Baird et al., 2010) ที่ศึกษาผลของโครงการให้เงินช่วยเหลือแบบมีเงื่อนไข (conditional cash transfer program: CCT program) ที่ให้เงินช่วยเหลือค่าเล่าเรียนและเงินสดอีก 10 ดอลลาร์สหรัฐต่อเดือนแก่เด็กหญิงในโรงเรียน ที่ยังเรียนอยู่หรือเด็กหญิงที่ลาออกจากโรงเรียนได้ไม่นาน อายุ 12-22 ปีและยังไม่แต่งงาน โดยมีเงื่อนไขว่า เด็กหญิงเหล่านั้นจะต้องเข้ามาเรียนที่โรงเรียน และวัดผลโดยใช้แบบสอบถามเพื่อเปรียบเทียบผลระหว่างกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุมก่อนและหลังสิ้นสุดโครงการ คำถามในแบบสอบถามหลังจบโครงการ ได้แก่
• มีการแต่งงานในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา
• มีการตั้งครรภ์ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา
• มีเพศสัมพันธ์ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา
• จำนวนคู่นอนในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา
• การใช้ถุงยางอนามัยอย่างสม่ำเสมอ
• มีเพศสัมพันธ์อย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์
ผลการศึกษาพบว่า นอกจาก CCT program จะช่วยเพิ่มอัตราการเข้าเรียนที่โรงเรียนแล้ว ยังช่วยลด พฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ ปัญหาวัยรุ่นตั้งครรภ์และการแต่งงานก่อนวัยอันควรได้อย่างมีนัยสำคัญอีกด้วย
จากการรวบรวมงานวิจัยทั้งหมด 53 งานซึ่งใช้วิธีการ randomized controlled trial (RCT) เพื่อ ศึกษาผลของมาตรการเพื่อลดการตั้งครรภ์โดยไม่ตั้งใจในกลุ่มวัยรุ่น (Oringanje et al., 2016) ซึ่งกลุ่มวัยรุ่น ประกอบด้วยเชื้อชาติที่หลากหลายและส่วนมากศึกษาในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว ผลการศึกษาพบว่า มาตรการอย่างผสมผสาน กล่าวคือ การให้ความรู้ผสมผสานกับการสนับสนุนการใช้ยาคุมกำเนิดช่วยลดความ เสี่ยงของการตั้งครรภ์โดยไม่ตั้งใจในกลุ่มวัยรุ่นได้อย่างมีนัยสำคัญ อย่างไรก็ตาม การให้ความรู้อย่างเดียวไม่ ช่วยให้วัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์ช้าลง แต่พบว่าช่วยให้วัยรุ่นใช้ถุงยางอนามัยมากขึ้น ขณะที่การสนับสนุนการ คุมกำเนิดอย่างเดียวก็ไม่พบว่าช่วยป้องกันการตั้งครรภ์ครั้งแรกโดยไม่ตั้งใจ แต่วัยรุ่นในกลุ่มทดลองมีการใช้ยา คุมกำเนิดแบบฮอร์โมนมากกว่าวัยรุ่นในกลุ่มควบคุม
อย่างไรก็ตาม พบว่า การเพิ่มการเข้าถึงวิธีการคุมกำเนิดต่าง ๆ มีผลที่แตกต่างกันไปต่ออัตราการเจริญ พันธุ์ในกลุ่มวัยรุ่น ถึงแม้ว่าการเข้าถึงวิธีการคุมกำเนิด อาทิ ยาคุมกำเนิด การคุมกำเนิดชั่วคราวแบบกึ่งถาวร (Long-acting reversible contraception: LARC)5 พบว่า ช่วยลดอัตราการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่นได้ (Guldi, 2008; Ananat and Hungerman, 2012; Lindo and Packham, 2015) การเข้าถึงยาคุมกำเนิดฉุกเฉินไม่มี ผลต่ออัตราการเจริญพันธุ์ในกลุ่มวัยรุ่น (Raymond et al., 2006) แต่กลับเพิ่มอัตราการติดโรคติดต่อทางเพศ สัมพันธุ์เพิ่มขึ้น (Girma and Paton, 2011; Durrance, 2013) ตรงกันข้าม การเข้าถึงถุงยางอนามัยกลับทำ ให้อัตราการเจริญพันธุ์ในกลุ่มวัยรุ่นปรับสูงขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการแจกถุงยางอนามัยโดยไม่มีการให้ คำปรึกษา (Kasey and Daniel, 2016)
งานศึกษาที่ใช้วิธีการ RCT (Katz et al., 2011) พบว่า การให้คำปรึกษาหญิงวัยรุ่นอายุ 15-19 ปีที่ ตั้งครรภ์อยู่หรือพึ่งตั้งครรภ์ไม่นานผ่านทางโทรศัพท์มือถือไม่ช่วยให้หญิงกลุ่มนั้น (กลุ่มทดลอง) ตั้งครรภ์ครั้ง ถัดไปช้าลงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับคำปรึกษา (กลุ่มควบคุม) อย่างมีนัยสำคัญ แต่พบว่าในกลุ่มหญิงอายุน้อย (15-17
5 การคุมกำเนิดชั่วคราวแบบกึ่งถาวร ได้แก่ การใช้ห่วงอนามัย ฮอร์โมนฝังคุมกำเนิด
ปี) ที่ได้รับการปรึกษาหลายครั้ง (treatment intensity) จะมีระยะเวลาที่นานกว่าก่อนที่หญิงเหล่านั้นจะ ตั้งครรภ์ครั้งถัดไป
4.2 รายละเอียดมาตรการแบ่งตามช่วงเวลา
การศึกษาทบทวนมาตรการที่ส่งผลต่อสถานการณ์แม่วัยรุ่นในประเทศไทย เป็นความพยายามสรุป รวบรวมมาตรการต่างๆ โดยแบ่งช่วงการศึกษาตามการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์แม่วัยรุ่นในระยะ 3 ทศวรรษ ที่ผ่านมา (ปี 2535-2561) และแบ่งมาตรการหรือปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อสถานการณ์การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นใน แต่ละช่วงเวลาเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์และ พ.ร.บ. ที่เกี่ยวข้องกับแม่วัยรุ่น (2) นโยบายของรัฐที่ เกี่ยวข้องกับแม่วัยรุ่น และ (3) กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับแม่วัยรุ่น (รูปที่ 4.2)
รูปที่ 4.2 ภาพรวมมาตรการและสถานการณ์แม่วัยรุ่น ปี 2535-2561
ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
เราอาจสามารถแบ่งมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในแม่วัยรุ่นออกเป็น 3 ช่วง (รูปที่ 4.3) ได้แก่ (1) ช่วงการป้องกัน โดยมาตรการที่เกี่ยวข้องจะเน้นในเรื่องการให้ความรู้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องซึ่ง ไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแค่เด็กวัยรุ่นเท่านั้น ทั้งนี้มาตรการในระยะแรกยังรวมถึงการป้องกันการตั้งครรภ์ทั้งใน บุคคลที่ตั้งครรภ์และยังไม่เคยตั้งครรภ์ (2) ช่วงหลังการมีเพศสัมพันธ์ หรือในระยะที่มีความเสี่ยงที่จะตั้งครรภ์ มาตรการในช่วงนี้จะให้ความสำคัญกับการป้องกันเมื่อมีเพศสัมพันธ์ การใช้ยาคุมและการให้คำปรึกษา และ (3) เป็นช่วงที่เกิดขึ้นหลังจากการตั้งครรภ์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยโครงการสามารถแบ่งได้ตามทางเลือกของเด็กทั้ง ในมิติของการยุติการตั้งครรภ์ หรือการเลือกที่จะตั้งครรภ์ต่อจนคลอด ซึ่งจะเห็นได้ว่าโครงการและมาตรการที่ เกี่ยวข้องมีความหลากหลายและเชื่อมโนงกันในหลายภาคส่วน ดังนั้นการผลักดันการป้องกันและแก้ไขปัญหา ให้เกิดผลสำเร็จจึงไม่สามารถดำเนินการโดยแยกส่วนและขาดการบูรณาการได้ ทุกภาคส่วนจึงต้อ งมีการ ร่วมมือและขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ปัญหาไปด้วยกัน
รูปที่ 4.3 สรุปนโยบายและโครงการที่ผ่านมาตั้งแต่ พ.ศ.2535 - พ.ศ.2559
หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บหมายถึงปี พ.ศ. ที่มีการเริ่มต้นโครงการหรือมาตรการ
ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
4.2.1 มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาแม่วัยรุ่น ในช่วงปี 2535-2544
นับตั้งแต่มีการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับอัตราการคลอดของวัยรุ่นหญิง อายุ 15-19 ปี ตั้งแต่ปี 2535 จนถึง ปัจจุบัน โดยเมื่อพิจารณาในช่วงห้าปีแรกของทศวรรษพบว่าอัตราการคลอดของประชากรกลุ่มดังกล่าวไม่มีการ เปลี่ยนแปลงมากนัก โดยมีสถิติอยู่ระหว่าง 39.7 ถึง 42.8 คนต่อประชากร 1,000 คน หลังจากปี 2539 พบว่า
อัตราการคลอดของวัยรุ่นกลุ่มดังกล่าวลดลง โดยในปี 2544 อัตราการคลอดของกลุ่มวัยรุ่นอยู่ที่ประมาณ 33.7
คนต่อประชากร 1,000 คน (รูปที่ 4.4)
รูปที่ 4.4 มาตรการและสถานการณ์แม่วัยรุ่น ปี 2535-2544
ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
เมื่อพิจารณาสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยในช่วงทศวรรษดังกล่าวพบว่าเป็นช่วงเวลา แห่งการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงของสังคม หลายเหตุการณ์ที่ส่งผลต่อโครงสร้างเศรษฐกิจและสั งคมเกิดขึ้น
ภายในช่วงเวลาสิบปี เช่น การเกิดวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 การมาของสังคมออนไลน์และการริเริ่มระบบ ประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2544 เป็นต้น ซึ่งสภาพบริบทของสังคมควรได้รับการพิจารณาอย่างเหมาะสม เช่นเดียวกัน
การเกิดวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 เป็นตัวอย่างที่ดีของการส่งผลกระทบจากปัจจัยด้านเศรษฐกิจและ สังคมในระดับมหภาคซึ่งสอดคล้องกับบทความเรื่อง “How did the Great Recession affect fertility?” (Percheski & Kimbro, 2020) บทความระบุถึงความเกี่ยวเนื่องกันระหว่างการเกิดภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจ (The great recession) ซึ่งมีผลกระทบไปยังภาวะเจริญพันธุ์ของประเทศอุตสาหกรรมทั่วโลก ถึงแม้ใน บทความยังไม่สามารถอธิบายถึงการส่งผลกระทบอย่างชัดเจนของการถดถอยทางเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจาก ความสมบูรณ์ของข้อมูลในช่วงที่เกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอย แต่บทความสามารถระบุได้ว่าปัจจัยทางเศรษฐกิจ เป็นข้อกังวลของผู้หญิงในการตั้งครรภ์ในช่วงเวลาดังกล่าว ซึ่งส่งผลต่อการคุมกำเนิดที่เพิ่มมากขึ้นนั้นเอง ทั้งนี้ บทความยังระบุถึงความสัมพันธ์ของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่มีโอกาสลดลงในช่วงปีที่มีภาวะเศรษฐกิจถดถอย อย่างไรก็ตามข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาแสดงถึงความสัมพันธ์ของการว่างงานในท้องถิ่นที่สูงขึ้นส่งผลต่ออัตราการ ตั้งครรภ์ที่สูงขึ้นในกลุ่มวัยรุ่นอีกด้วย
นอกจากสภาพบริบทเศรษฐกิจของประเทศไทยในช่วงเวลาดังกล่าว ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่ออัตราการ คลอดที่ควรได้รับการพิจารณา สามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์ และ พ.ร.บ. (2) นโยบายของ รัฐที่เกี่ยวข้อง โดยทั้งสองกลุ่มมีรายละเอียดของการดำเนินการและผลการดำเนินการดังต่อไปนี้
1. ยุทธศาสตร์ และ พ.ร.บ.
ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ ฉบับที่ 2
นับตั้งแต่การตรวจพบผู้ป่วยด้วยโรคเอดส์รายแรกของประเทศไทยในปี 2527 รัฐบาลและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องได้เริ่มมีมาตรการในการรับมือและแก้ไขปัญหาดังกล่าว เนื่องจากการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่มีการ ป้องกันอย่างถูกหลักเป็นหนี่งในพฤติกรรมเสี่ยงที่จะทำให้มีโอกาสได้รับเชื้อจากผู้ป่วย ประเด็นดังกล่าวจึงอาจ นับได้ว่าเป็นช่วงเริ่มต้นของการรณรงค์การใช้อุปกรณ์คุมกำเนิดและป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อย่าง ถุงยางอนามัยที่เป็นรูปธรรมในประเทศไทย ทั้งนี้ผู้วิจัยเห็นว่าควรทบทวนนโยบายในช่วงเวลาของยุทธศาสตร์ฯ ฉบับที่ 2 ถึงแม้จะไม่ได้มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นก็ตาม
ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ ฉบับที่ 2 ครอบคลุมระยะเวลา 5 ปี (2540-2544) ทั้งนี้การจัดทำแผนเกิดจากความร่วมมือของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ องค์กรพัฒนาเอกชน ในเรื่องที่เกี่ยวข้องและภาคประชาสังคม โดยการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เน้นในเรื่องของการป้องกันและแก้ไข ปัญหาแบบองค์รวม เสริมสร้างศักยภาพของคนและสภาพแวดล้อมที่เอื้อแก่การป้องกัน (World Bank, 2543)
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 สืบเนื่องจากเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 จึงมีการประกาศใช้
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2542 โดยมีความมุ่งหมายสำคัญในการจัด การศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายจิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มี จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
ทั้งนี้ พ.ร.บ. ฉบับดังกล่าวมีส่วนสำคัญการกำหนดหน้าที่ให้รัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการจัด การศึกษาให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย โดยต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันใน
การรับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542, 2542) ซึ่ง ข้อกำหนดดังกล่าวมีผลบังคับให้วัยรุ่นต้องได้รับการศึกษาและอันเป็นการใช้เวลาอยู่ในโรงเรียนมากขึ้น ซึ่งอาจ เป็นอีกปัจจัยที่ส่งผลต่อบริบทและสังคมในช่วงเวลาดังกล่าว
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (-)
หลังจากการริเริ่มระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าขึ้นในปี 2544 และสามารถดำเนินการครอบคลุมทั้ง ประเทศได้ในปีถัดมา โครงการดังกล่าวได้สร้างการเปลี่ยนแปลงในเรื่องของระบบสาธารณสุขของประเทศไทย เป็นอย่างมาก ซึ่งเป็นการสร้างหลักประกันทางด้านสุขภาพแก่คนไทยทุกคนภายใต้พระราชบัญญัติหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 โดยประชาชนจำเป็นต้องขึ้นทะเบียนกับโรงพยาบาลในเขตที่อยู่อาศัย และรัฐบาล จะดำเนินการจ่ายเบี้ยประกันสังคมให้ ทั้งนี้เมื่อมีการเจ็บป่วยจึงเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเขตพื้นที่ของ ตน หากไม่มีการเจ็บป่วยงบประมาณดังกล่าวจะใช้เพื่อการรักษาผู้ป่วยที่มีค่าใช้จ่ายสูง การดำเนินงานโครงการ หลักประกันสุขภาพจะอยู่ภายใต้การดูแลและการบริหารจัดการของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
อย่างไรก็ตามจากรายงานแม่วัยใส ความท้าทายการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (สำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติประจำประเทศไทย, 2556,
หน้า 6) พบว่าในช่วงก่อนการมีระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า (ปี 2539) การเข้าถึงการคุมกำเนิดด้วยวิธีการกึ่ง
ถาวรมีสัดส่วนอยู่ที่ร้อยละ 3.2 สำหรับห่วงอนามัยและร้อยละ 1.3 สำหรับยาฝั่ง อย่างไรก็ตามในปี 2552 (ช่วงหลังการมีระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า) ปรากฏว่ามีการใช้ห่วงอนามัยเพียงร้อยละ 0.9 และยาฝังเพียง ร้อยละ 0.4 ทั้งนี้การคุมกำเนิดทั้งสองประเภทในกลุ่มเป้าหมายวัยรุ่นหญิง มีการใช้ห่วงอนามัยเพียงร้อยละ 0.1 และยาฝังเพียงร้อยละ 0.2 เท่านั้น ซึ่งส่วนหนึ่งเกิดจากนโยบายการจัดซื้อเวชภัณฑ์การคุมกำเนิดในรูปแบบที่ แตกต่างกันของจังหวัด สถานพยาบาล ซึ่งส่วนมากยังคงเป็นในรูปแบบการคุมกำเนิดชั่วคราว เช่น ยาเม็ด คุมกำเนิด ยาฉีดคุมกำเนิด เป็นต้น เนื่องจากอุปกรณ์การคุมกำเนิดกึ่งถาวรยังคงมีราคาที่สูงกว่าแบบชั่วคราว โดยเปรียบเทียบ
รายงานฉบับดังกล่าวยังได้สรุปเงื่อนไขสำคัญในการให้บริการการคุมกำเนิดในรูปแบบกึ่งถาวรโดย ขึ้นอยู่กับปัจจัย 4 ประการได้แก่ (1) การมี/ไม่มีเวชภัณฑ์ให้บริการ (2) นโยบายของผู้บริหารสถานบริการ
(3) ความพร้อมของบุคลากร และ (4) ความต้องการของผู้รับบริการ
2. นโยบายของรัฐที่เกี่ยวข้อง
นโยบายเอดส์ระดับชาติ
สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคเอดส์นับแต่ปี 2527 การดำเนินงานของรัฐบาลได้ มุ่งเน้นจัดทำนโยบายเอดส์ระดับชาติขึ้นในปี 2535 โดยเป็นการดำเนินงานภายใต้สำนักนายกรัฐมนตรี ในสมัย นายอานันท์ ปันยารชุน ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมที่สำคัญ 3 กิจกรรม ได้แก่
(1) รณรงค์และเผยแพร่ข้อมูลเอดส์ ผ่านวิทยุและโทรทัศน์ (2) จัดตั้งแนวร่วมธุรกิจไทยต้านภัยเอดส์ และ
(3) เริ่มจัดการศึกษาเรื่องเอดส์ในโรงเรียน ซึ่งในส่วนที่สามจะเป็นส่วนที่มีความเกี่ยวข้องและสอดคล้องกับ วัยรุ่นอันเป็นกลุ่มเป้าหมายของการศึกษาในครั้งนี้
ผลจากการดำเนินนโยบายในช่วงดังกล่าวพบว่า (1) สัดส่วนของผู้ชายที่ระบุว่ามีเพศสัมพันธ์ก่อน
แต่งงานลดลงจากร้อยละ 28 ในปี 2533 เหลือเพียงร้อยละ 15 ในปี 2536 และ (2) สัดส่วนการซื้อบริการทาง
เพศลดลงจากร้อยละ 22 เหลือเพียงร้อยละ 10 ในช่วงเวลาเดียวกัน (World Bank, 2543) อย่างไรก็ตามจาก การศึกษาไม่พบข้อมูลที่ระบุถึงผลการดำเนินโครงการที่เฉพาะเจาะจงลงไปในกลุ่มวัยรุ่น
โครงการถุงยางอนามัย 100% ในช่วงเวลาเดียวกันกับนโยบายเอดส์ระดับชาติซึ่งมีประชาชนทั่วไปเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญ โครงการ
ถุงยางอนามัย 100% เป็นอีกโครงการที่มีกลุ่มเป้าหมายแตกต่างออกไป โดยมุ่งเน้นการรณรงค์ ส่งเสริมให้กลุ่ม
หญิงค้าบริการมีการใช้ถุงยางอนามัย ทั้งนี้โครงการดังกล่าวอยู่ภายใต้กระทรวงสาธารณสุข
การศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผลการดำเนินโครงการดังกล่าวพบว่า (1) การใช้ถุงยางเพิ่มขึ้นถึง
ร้อยละ 90 ในกลุ่มผู้หญิงขายบริการ และ (2) การดำเนินโครงการดังกล่าวสามารถป้องกันการติดเชื้อเอชไอว มนรายใหม่ได้มากถึง 5 ล้านคน (อนุพงศ์ ชิตวรากร และคณะ, 2558) อย่างไรก็ตามผลของนโยบายในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับการคุมกำเนิดในวัยรุ่นไม่ได้มีการบันทึกหรือระบุความเกี่ยวเนื่องที่ชัดเจนเช่นเดียวกับยุธศาสตร์ฯ และนโยบายข้างต้น
เป็นที่น่าสังเกตว่าในช่วงก่อนปี 2545 นโยบบายหรือโครงการของรัฐบาบที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจะยังไม่มีการดำเนินงานที่ชัดเจนมากนัก ส่วนมากเป็นเพียงโครงการอื่นที่อาจส่งผลกระทบต่อ อัตราการการคลอดของวัยรุ่นในช่วงเวลาดังกล่าว ทั้งนี้ยุทธศาสตร์ นโยบายหรือโครงการที่เกี่ยวข้องจะเริ่ม ดำเนินการหลังปี 2545 เป็นต้นไป
4.2.2 มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาแม่วัยรุ่น ในช่วงปี 2545-2555
สถานการณ์แม่วัยรุ่นในช่วงนี้เป็นช่วงที่มีอัตราการคลอดในวัยรุ่นในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และเพิ่มสูงสุด โดยอัตราการคลอดเพิ่มขึ้นจาก 37.9 คนต่อประชากร 1,000 คน ในปี 2545 และสูงสุดในปี
2554 และ 2555 อยู่ที่ 53.4 คนต่อประชากร 1,000 คน (รูปที่ 4.5) รวมทั้งได้เกิดเหตุการณ์ที่สะเทือน ความรู้สึกของคนไทยทั้งประเทศและครึกโครมไปทั่วโลกกับข่าวการพบซากทารกจากการทำแท้ง 2,002 ศพ
ในวัดไผ่เงินโชตนาราม กลางกรุงเทพมหานคร ในปี 2553
รูปที่ 4.5 มาตรการและสถานการณ์แม่วัยรุ่น ปี 2545-2555
ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ระยะนี้เป็นช่วงที่สื่อสังคมออนไลน์เริ่มเข้ามามีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของวัยรุ่นมากขึ้น โดยเฉพาะ เว็บไซต์ประเภท Social Network เช่น Hi5 Facebook ที่ได้รับความนิยมอย่างมากในกลุ่มวัยรุ่น รวมทั้งการ เข้ามาของเกมส์ออนไลน์ ในปี 2547 ปัจจัยเหล่านี้น่าจะส่งผลกระทบต่ออัตราการคลอดของวัยรุ่นในประเทศ ไทยในช่วงเวลาดังกล่าว สอดคล้องกับงานวิจัยเกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์และอัตราการตั้งครรภ์ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาในประเทศเคนยา (AKimemia & Mugambi, 2016) พบว่าการเข้าถึงเครือข่ายสังคม ออนไลน์ของเด็กกลุ่มดังกล่าวให้ความสนใจอย่างมากกับเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเพลงที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องเพศ (sexually explicit music) ภาพและสื่อเคลื่อนไหวที่มีเนื้อหาลามกอนาจาร รวมไปถึงการส่งข้อความที่มี เนื้อหาเกี่ยวกับการชักชวนทางเพศ ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่ออัตราการตั้งครรภ์ในนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ในประเทศเคนยา
สำหรับประเทศไทย ได้มีการสำรวจพฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์ในวัยรุ่น 3 เรื่อง ได้แก่ (1) การสำรวจ พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของเยาวชนไทยอายุ 15-24 ปี จำนวน 1,464 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร ปี 2549 (2) การสำรวจพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของนักเรียนภายในโรงเรียนที่มีการสอนหรือบริการ
อินเทอร์เน็ต ปี 2543 (3) การสำรวจการใช้อินเทอร์เน็ตของเด็กอายุ 12-18 ปี พบว่า วัยรุ่นร้อยละ 68.1 เคย ใช้บริการแชท ร้อยละ 85.4 เคยคุยกับคนแปลกหน้า ร้อยละ 28.5 เคยคุยเรื่อง sex และร้อยละ 13.2 มี sex กับคนที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต (2549) ร้อยละ 58 เคยเข้าเว็บไซต์ลามก (2543)
เหตุการณ์วัดไผ่เงินฯ เป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้สังคมไทยตระหนักถึงปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น อย่างจริงจัง มีความพยายามในการผลักดันเพื่อขอแก้ไขกฎหมายทำแท้งเพื่อลดความเสี่ยงของผู้ประสบปัญหา ท้องไม่พร้อม ภาคประชาสังคมนำโดยเครือข่ายสนับสนุนทางเลือกของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมร่วมกันผลักดันให้ สังคมยอมรับการเข้าถึงบริการการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย รวมถึงการเรียกร้องให้ มีการเรียนการสอน เพศศึกษาที่ครอบคลุมถึงวิธีการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น นำมาซึ่งการวิเคราะห์วิธีการสอน เพศศึกษาที่ถูกต้องและเหมาะสม ขณะเดียวกัน ในปี 2555 สสส. ได้ตั้งคณะกรรมการประสานยุทธศาสตร์ ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เพื่อทำหน้าที่ประสานงานร่วมกับหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องในเรื่องนี้
1. ยุทธศาสตร์ และ พ.ร.บ.
ในปี 2554 รัฐบาลได้มอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตามที่สำนักงานคณะกรรมการ สุขภาพแห่งชาติ (สช.) เสนอเกี่ยวกับแก้ไขปัญหาวัยรุ่นไทยกับการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม ดังนี้
1) คณะกรรมการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติร่วมกับคณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง พิจารณาจัดตั้งกลไก ร่วมในการดำเนินการแปลงนโยบายและยุทธศาสตร์สู่แผนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและให้มีคณะกรรมการ ขับเคลื่อนในระดับจังหวัด
2) ให้กระทรวงศึกษาธิการร่วมกับเครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอนเพศวิถีศึกษา จริยธรรมและ ศีลธรรม รวมทั้งจัดให้มีระบบรองรับการแก้ปัญหานักเรียน/นักศึกษาที่ตั้งครรภ์ในระหว่างการศึกษา และให้ ปรับกระบวนการเรียนการสอนสำหรับนักเรียน/นักศึกษาที่ตั้งครรภ์
3) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการร่วมกับเครือข่ายสนับสนุนการดำเนินงานเสริมสร้าง สุขภาวะทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับเด็กและเยาวชน และร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติ (สปสช.) ดำเนินการในเรื่องสุขภาวะทางเพศวัยเจริญพันธุ์ผ่านการดำเนินงานของกองทุนหลักประกัน สุขภาพ
4) ขอให้สมาชิกสมัชชาสุขภาพแห่งชาติให้ความร่วมมือในการดำเนินงานรณรงค์สร้างทัศนคติเชิง บวกเรื่องเพศในสังคม รวมทั้งปลูกฝังให้เด็กเยาวชน ครอบครัว และชุมชนมีความรับผิดชอบในเรื่องเพศ รู้จัก เคารพในบทบาทหญิงชายปลูกฝังจริยธรรมและศีลธรรม ตลอดจนดำเนินการเฝ้าระวังและควบคุมสื่อต่างๆ สนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนและองค์กรในชุมชน เพื่อการเสริมสร้างครอบครัว เข้มแข็งในชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม พัฒนาความรู้ทัศนคติในเรื่องเพศเชิงบวก จริยธรรม และศีลธรรม ให้แก่ เด็ก เยาวชน และพ่อแม่ ผู้ปกครอง รวมทั้งการจัดทำแนวทางเพื่อส่งเสริมให้สามารถสื่อสารเรื่อง เพศได้อย่างเหมาะสมจัดบริการที่หลากหลายเป็นมิตรแก่วัยรุ่น สนับสนุนการทำงานของศูนย์พึ่งได้ (OSCC) ศูนย์บริการที่เป็นมิตร ศูนย์ให้คำปรึกษาที่ทำงานและเข้มงวดในการจัดการพฤติกรรมการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเยาวชนตามยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ
ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชนตั้งครรภ์ไม่พร้อม (พ.ศ. 2553-2557) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้จัดทำกรอบการดำเนินงานร่วมกันของภาคี
เครือข่าย ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ย่อย 6 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านการป้องกัน (2) การช่วยเหลือและบำบัดฟื้นฟู
(3) การเสริมสร้างบทบาทและองค์ความรู้แก่กลุ่มผู้นำทางความคิดของเด็กและเยาวชน (4) การขจัดสิ่งยั่วยุ และการป้องกันอิทธิพลจากสื่อ (5) การผลักดันด้านนโยบาย และ (6) การสำรวจข้อมูลการพัฒนาระบบงาน และการติดตามผล กลไกในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์นี้คือ คณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติซึ่งมี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประธาน และสนับสนุนให้ทุกจังหวัด จัดทำแผนปฏิบัติการรองรับยุทธศาสตร์นี้
ยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2553-2557) กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับภาคีเครือข่ายดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์พัฒนา
อนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติฉบับที่ 1 (ปี 2553-2557) โดยมีคณะกรรมการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์
แห่งชาติเป็นกลไกขับเคลื่อน มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธาน
มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา เช่น ส่งเสริมให้ ครอบครัวมีลูกเมื่อพร้อม สนับสนุนให้โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้าง ความรู้เพศศึกษา ส่งเสริมให้โรงพยาบาลทุกแห่งพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข ซึ่งเน้นการเข้าถึงการให้บริการ ในกลุ่มวัยรุ่น โดยจัดบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน ( Youth Friendly Health Service : YFHS) ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1. ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างครอบครัว ใหม่และเด็กรุ่นใหม่ให้เข้มแข็ง และมีคุณภาพ 2. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมให้คนทุกเพศทุกวัยมีพฤติกรรมอนามัย การเจริญพันธุ์ และสุขภาพทางเพศที่เหมาะสม 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ และสุขภาพทางเพศที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการงานอนามัย การเจริญพันธุ์ และสุขภาพทางเพศแบบบูรณาการ 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ เกี่ยวกับงานอนามัยการเจริญพันธุ์ และสุขภาพทางเพศ และ 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนา และการจัดการองค์ ความรู้ เทคโนโลยีอนามัยการเจริญพันธุ์ และสุขภาพทางเพศ
2. นโยบายของรัฐที่เกี่ยวข้อง
เวชศาสตร์วัยรุ่นและคลินิกวัยรุ่น
สืบเนื่องจากผลวิจัยเรื่องพฤติกรรมเกี่ยวกับวัยรุ่นที่ดำเนินการศึกษาโดย ศ.พญ.สุวรรณา เรืองกาญจน เศรษฐ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลในปี พ.ศ.2544 ซึ่งได้มีการนำมาขยายผล เชิงรุกเป็นโครงการสายใยเพื่อวัยรุ่นในช่วงระหว่าง พ.ศ.2546-2548 และทำให้การพัฒนาคลินิกวัยรุ่นภายใน โรงเรียนเกิดขึ้น โดยในโครงการจะมีแพทย์เข้ามาให้การดูแลการพัฒนานักเรียนที่เป็นแม่วัยรุ่นและเริ่มต้น ดำเนินการในโรงเรียนมัธยมศึกษา 4 แห่ง จากนั้นสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพจึงได้มีการ ต่อยอดและขยายผลเป็นเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพวัยรุ่น ภายใต้ความร่วมมือกับโรงเรียนแพทย์อีก 7 แห่ง ซึ่ง ต่อมาก่อเกิดสาขาวิชา เวชศาสตร์วัยรุ่นในราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทยและเป็นรากฐานสำคัญ ของคลินิกวัยรุ่นในทั้งในโรงเรียนและโรงพยาบาล ซึ่งคอยให้การช่วยเหลือกลุ่มแม่วัยรุ่นในสังคม
ในมิติการดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัยได้ส่งเสริมให้โรงพยาบาลทุกแห่งพัฒนา ระบบบริการสาธารณสุข ซึ่งเน้นการเข้าถึงการใช้บริการในกลุ่มวัยรุ่น จัดบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญ พันธุ์ที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน พร้อมทั้งส่งเสริมการเข้าถึงบริการด้านอนามัยเจริญพันธุ์ในกลุ่มวัยรุ่น ทั้งในและนอกสถานศึกษา ด้วยการพัฒนาระบบการให้คำปรึกษา การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้น และระบบส่งต่อ เพื่อเชื่อมโยงระหว่างชุมชน สถานศึกษา และคลินิกวัยรุ่นในโรงพยาบาลผ่านการดำเนินการโครงการ 1 โรงเรียน 1 โรงพยาบาล และอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ ตลอดจนสนับสนุนให้ทุกจังหวัดมีการจัดตั้ง คณะกรรมการหรือคณะทำงานแก้ไขปัญหาอนามัยการเจริญพันธุ์ระดับจังหวัด โดยเฉพาะประเด็นการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่นและเยาวชน มีแผนยุทธศาสตร์และนำสู่การปฏิบัติ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาสุขภาพและอนามัยการเจริญ พันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชนอย่างยั่งยืน
3. กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
Love Care Station
โครงการเลิฟแคร์ “กล้ารัก กล้าเช็ค” เป็นความร่วมมือกับคลินิกเอกชนภายใต้สำนักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) และศูนย์บริการสาธารณสุข สังกัดของสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร รวมทั้งหมด 14 แห่ง ภายใต้ชื่อคลินิกร่วมกันว่า “Love Care Stations” เพื่อร่วมกันจัดบริการด้านสุขภาพทางเพศ ที่เป็น มิตรกับวัยรุ่น โดยให้การตรวจ รักษาเกี่ยวกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เอดส์ การคุมกำเนิด และตรวจมะเร็ง ปากมดลูก โดยเน้นให้บริการกับกลุ่มวัยรุ่นอายุ 12-24 ปี ที่มีวิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเผชิญปัญหาด้านสุขภาพ ทางเพศ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และเอดส์ เริ่มจากพื้นที่กรุงเทพฯ ในปี 2551 และขยายบริการอีก 3 จังหวัดได้แก่ นครสวรรค์ ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี ในปี 2552 6
ปัจจุบัน “เลิฟแคร์สเตชั่น” เป็นเว็บไซด์ให้ความรู้และคำปรึกษาแบบแชทสดในเรื่องความรัก เพศสัมพันธ์ การคุมกำเนิด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์ไม่พร้อม HIV ชายรักชาย ถูกรังแก สุขภาพจิตและปัญหาวัยรุ่น พร้อมบริการส่งต่อไปยังคลินิกหรือโรงพยาบาล เพื่อให้วัยรุ่นเข้าถึงบริการด้าน สุขภาพทางเพศที่ปลอดภัยและเป็นมิตร รักษาความลับของผู้รับบริการ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายหรือมีอัตราค่ารักษา ที่เหมาะสมกับวัยรุ่น
6 สืบค้นจาก Love Care Station กล้ารักกล้าเช็คโดย Donnaya Suvetwethin วันที่ 12 กันยายน 2559 xxxxx://xxx.xx/xXxXxx
ภายในแชทรูมจะประกอบด้วยแพทย์ พยาบาล และผู้เชี่ยวชาญที่คอยให้คำปรึกษาแบบแชทสด ตั้งแต่ เวลา 4 โมงเย็นถึงเที่ยงคืนทุกวัน เพื่อให้วัยรุ่นได้เข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพทางเพศที่ถูกต้อง พร้อมส่งเสริมให้ ตระหนักถึงพฤติกรรมของตนเองที่จะมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ อีกทั้งยัง สนับสนุนให้วัยรุ่นเข้ารับบริการทางสุขภาพที่เป็นมิตรตามความเหมาะสม ดำเนินงานโดยมูลนิธิแพธทูเฮลท์ (p2h) ภายใต้การสนับสนุนของยูนิเซฟ ประเทศไทย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และดีแทค
โครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ
โครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ (Teenpath) เป็นโครงการที่มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาและสนับสนุน กระบวนการจัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษาในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ได้รับการสนับสนุนการ ดำเนินงาของกองทุนโลกเพื่อแก้ไขปัญหาเอดส์ วัณโรค และมาลาเรีย (GFATM) ผ่านทางกระทรวงสาธารณสุข โดยเริ่มดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2546 จนถึงเดือนกันยายน 2557 เป็นเวลารวม 11 ปี กิจกรรมตาม กรอบภารกิจของโครงการประกอบด้วย การผลักดันเชิงนโยบายในเรื่องเพศศึกษา การพัฒนาหลักสูตร เพศศักษาและคู่มือครู การพัฒนาศุกยภาพครูผู้จัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษา การติมตามและสนับสนุนครู ในการจัดเพศศึกษาให้เยาวชนในสถานศึกษา การสร้างบรรยากาศสังคมผ่านสื่อและกิจกรรมเยาวชน การ พัฒนาเครือข่ายคนทำงานเพศศึกษาและเครือข่ายเยาวชน รวมทั้งการวิจัยและประเมินผล
การดำเนินงานเพื่อไปสู่วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้มีกลไกสำคัญคือ คณะกรรมการขับเคลื่อนเพศวิถี ศึกษาจังหวัด เพื่อวางแผนขับเคลื่อนเพศวิถีศึกษาในสถานศึกษาของจังหวัด และทำความเข้าใจกับผู้บริหาร สถานศึกษา การอบรมพัฒนาศักยภาพครูผู้สอน โดยสังเกตการณ์ในชั้นเรียน/การเยี่ยม และมีการจัดกิจกรรม สำหรับนักเรียน โดยเป็นการสอนแบบเพศวิถีศึกษารอบด้าน (Comprehensive Sexuality Education) ซึ่ง โครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจเป็นโครงการสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6
ในปี 2557 มีสถานศึกษาสังกัด สพฐ. เข้าร่วมโครงการย่างก้าวอย่างเข้าใจทั้งหมด 1,833 แห่ง ครอบคลุมพื้นที่ 43 จังหวัด ซึ่งจำนวนสถานศึกษาทั้งหมดนี้ มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพศวิถีศึกษาสำหรับ ผู้เรียนแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับปัจจัยเอื้อและเงื่อนไขเฉพาะด้านของสถานศึกษาแต่ละแห่ง และในปีสุดท้า ย คณะกรรมการขับเคลื่อนเพศวิถีศึกษาในแต่ละจังหวัด ได้มีการประเมินและคัดเลือกสถานศึกษาที่สามารถ จัดการเรียนรู้ตามเงื่อนไขของโครงการฯกำหนดไว้ โดยมีสถานศึกษาจำนวน 190 แห่งที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือก เป็นสถานศึกษาต้นแบบ ซึ่งสามารถเป็นศูนย์การเรียนรู้เพศวิถีศึกษาได้
4.2.3 มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาแม่วัยรุ่น ในช่วงปี 2556-2561
สถานการณ์แม่วัยรุ่นในช่วงนี้เป็นช่วงที่มีอัตราการคลอดในวัยรุ่นในประเทศไทยมีแนวโน้มลดลง จาก การตื่นตัวและตระหนักถึงสถานการณ์การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นไทย และการมีมาตรการป้องกันแก้ไขปัญหานี้อย่าง จริงจังมากขึ้น ทำให้อัตราการคลอดในวัยรุ่นมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องจาก 51.1 คนต่อประชากร 1,000
คน ในปี 2556 ลดเหลือ 35.0 คนต่อประชากร 1,000 คน ในปี 2561 (รูปที่ 4.6)
รูปที่ 4.6 มาตรการและสถานการณ์แม่วัยรุ่น หลังปี 2556
ที่มา: รวบรวมโดยผู้วิจัย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
1. ยุทธศาสตร์ และ พ.ร.บ.
ยุทธศาสตร์ถุงยางอนามัยแห่งชาติ พ.ศ.2558-2562 ประเทศไทยมีมาตรการและนโยบายในการส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยมาอย่างยาวนาน อย่างไรก็
ตาม โครงการเหล่านี้ไม่ประสบความสำเร็จในการส่งเสริมให้เกิดการใช้ถุงยางอนามัยเท่าที่ควร แม้ว่าประเทศ ไทยจะประสบความสำเร็จในด้านของการคุมกำเนิด แต่การคุมกำเนิดที่เป็นที่นิยมและมีการใช้อย่างแพร่หลาย คือการใช้ยาคุมกำเนิด ห่วงอนามัย และการทำหมัน ในขณะที่การใช้ถุงยางอนามัยยังมีสัดส่วนที่ต่ำ จากความ ล้มเหลวดังกล่าวนี้เอง ส่งผลให้ปัญหาเกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธุ์ไม่ได้รับการเยียวยาและแก้ไขอย่างเหมาะสม ทั้งปัญหาจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปัญหามะเร็งปากมดลูก และปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ดังนั้น จึงมี การจัดทำยุทธศาสตร์ถุงยางอนามัยขึ้น เพื่อเป็นกรอบแนวทางการดำเนินงานในการส่งเสริมให้เกิดการยอมรับ และการใช้ถุงยางอนามัยอย่างแพร่หลายมากขึ้น
หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฉบับนี้ประกอบด้วย สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค (เลขานุการยุทธศาสตร์), สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรม อนามัย และกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA) ประจำประเทศไทย รวมทั้งมีที่ปรึกษาโครงการ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยมหิดล เข้าร่วมในการผลักดันยุทธศาสตร์นี้ด้วย
เนื้อหาสาระสำคัญของยุทธศาสตร์นี้ แบ่งออกเป็น 5 ด้านหลักๆ ประกอบด้วย (1) การส่งเสริมความ ยอมรับและลดอคติ ในการใช้ถุงยางอนามัย ถุงอนามัยสตรีและสารหล่อลื่น มีมาตรการเด่นคือการรณรงค์ปรับ ภาพลักษณ์ถุงยางอนามัย (2) การส่งเสริมการเข้าถึง และการใช้ถุงยางอนามัย ถุงอนามัยสตรีและสารหล่อลื่น มีมาตรการเด่นคือการสร้างระบบแจกจ่ายถุงยางอนามัยโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย หรือมีค่าใช้จ่ายต่ำ (3) การพัฒนา ระบบการบริหารจัดการ และการควบคุมคุณภาพถุงยางอนามัย มีมาตรการเด่นคือการสร้างระบบบริหาร จัดการถุงยางอนามัย (Logistic Systems) ที่มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ (4) การสร้างสภาพแวดล้อมที่ เอื้อต่อการส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยถุงอนามัยสตรี และสารหล่อลื่น มีมาตรการเด่นคือการเร่งรัดการใช้ มาตรการทางกฎหมาย เพื่อส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัย และ (5) การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยถุงอนามัยสตรี และสารหล่อลื่น มีมาตรการเด่นคือการพัฒนาระบบติดตามและ ประเมินผล
ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ ปี 2560-2569
รัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับทุกภาคส่วนได้ทำการผลักดันพระราชบัญญัติการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 และยกร่างยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่นระดับชาติ พ.ศ.2560-2569 เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการกับปัญหาทั้งระบบ โดยมีกระทรวง สาธารณสุขเป็นเลขานุการ ซึ่งแผนยุทธศาสตร์ฉบับนี้ยึดวัยรุ่นเป็นศูนย์กลาง (teenage centered) โดยมีพ่อ แม่ ผู้ปกครอง ชุมชนและทุกกระทรวงที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมและเป็นเจ้าของร่วมกันในการดำเนินการตาม แนวทางที่จัดทำขึ้น
วิสัยทัศน์ของยุทธศาสตร์คือ ‘วัยรุ่นมีความรู้ด้านเพศวิถีศึกษา มีทักษะชีวิตที่ดี สามารถเข้าถึงบริการ อนามัยเจริญพันธุ์ที่เป็นมิตร เป็นส่วนตัวรักษาความลับ และได้รับสวัสดิการสังคมอย่างเสมอภาค’ และพันธกิจ คือ ส่งเสริม สนับสนุน และประสานให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในการดำเนินงานป้องกันและแก้ไข ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ให้สามารถรองรับกับบริบททางสังคมที่เปลี่ยนแปลง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ วัยรุ่นมีความรู้ด้านเพศวิถีศึกษา มีทักษะชีวิตที่ดี เมื่อประสบปัญหาได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ โดยการมีส่วนร่วมจากครอบครัวและชุมชน
โดยมีเป้าหมายสำคัญ 2 ประการ คือ (1) ในปี 2569 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 10-14 ปีลดลง
เหลือไม่เกิน 0.5 ต่อประชากรหญิงอายุ 10-14 ปี 1,000 คน (2) ในปี 2569 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ
15-19 ปีลดลงเหลือไม่เกิน 25 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน
ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ.ศ.2560-2569 ขับเคลื่อน ด้วย 5 ยุทธศาสตร์ ได้แก่
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบการศึกษาที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิตที่มี คุณภาพ และมีระบบการดูแลช่วยเหลือที่เหมาะสม
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมบทบาทครอบครัว ชุมชน และสถานประกอบกิจการในการเลี้ยงดูสร้าง สัมพันธภาพ และการสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่มีคุณภาพ และเป็น
มิตร
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือ การคุ้มครองสิทธิอนามัยการเจริญพันธุ์และการจัด
สวัสดิการสังคมในกลุ่มวัยรุ่น
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมการบูรณาการการจัดการฐานข้อมูล งานวิจัย และการจัดการความรู้ ผ่านกลไกการบริหารจัดการในระดับชาติ คือ คณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ใน
วัยรุ่น ซึ่งมีคณะอนุกรรมการในกำกับ ได้แก่ (1) คณะอนุกรรมการพัฒนากฎหมาย กฎกระทรวง ระเบียบและ
แนวทางปฏิบัติ (2) คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยให้มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ และแนวทางการขับเคลื่อนการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยเน้นการเชื่อมประสานระหว่างกระทรวง หน่วยงาน และภาคส่วนหลักที่ เกี่ยวข้องให้เกิดการบูรณาการร่วมกัน (3) คณะอนุกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับ จังหวัดและกรุงเทพมหานคร โดยยุทธศาสตร์นี้เป็นความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ด้วยหลักการ 2
ข้อ คือการมีส่วนร่วม และการเป็นเจ้าของร่วมกัน เพื่อให้วัยรุ่นไทยเติบโตอย่างมั่นคงเป็นกำลังในการพัฒนา ประเทศได้ในอนาคต
การขึ้นทะเบียนยายุติการตั้งครรภ์ พ.ศ.2557 จากสถิติพบว่าอัตราวัยรุ่นหญิงนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และนักเรียนหญิงปวช.ปี 2 ได้เคยมี
เพศสัมพันธ์เพิ่มสูงขึ้นมาโดยลำดับ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่นำมาสู่ปัญหาการตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตามสิ่งที่สำคัญ
ที่สุดคือเราควรสอนให้วัยรุ่นรู้จักการป้องกันการตั้งครรภ์ แต่ถ้าหากมีการตั้งครรภ์ไม่พร้อมเกิดขึ้น วัยรุ่นส่วน ใหญ่มักเลือกที่จะยุติการตั้งครรภ์โดยการเข้าคลินิกทำแท้งเถื่อน การสอดอุปกรณ์ของแข็งหรือฉีดของเหลวเข้า ทางช่องคลอด การเหน็บยาทางช่องคลอด หรือการบีบนวดบริเวณหน้าท้องซึ่งวิธีทั้งหมดที่กล่าวมานั้นเป็น วิธีการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย การทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยเป็นปัญหาสาธารณสุขที่เกิดขึ้นทั่วโลก เนื่องจากผู้ที่ตั้ง ครรภ์โดยไม่พร้อมจำนวนมากไม่สามารถเข้าถึงบริการบริการที่ปลอดภัยและถูกกฎหมายได้
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จึงร่วมมือกับคณะแพทย์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ภายใต้การ สนับสนุนจาก Concept Foundation และองค์การอนามัยโลก ได้ทำการศึกษาวิจัยระบบการให้บริการยุติ การตั้งครรภ์ด้วยยา หลังจากนั้นได้ผลักดันยาให้ขึ้นทะเบียนในปี 2557 และบรรจุในบัญชียาหลักแห่งชาติในปี 2558 เพื่อใช้ในบริการยุติการตั้งครรภ์ตามกฎหมายและข้อบังคับแพทยสภา
ยายุติการตั้งครรภ์ เป็นยารวมเม็ดที่มีชื่อว่าเมดาบอน ซึ่งสามารถใช้ในอายุครรภ์ที่ไม่เกิน 24 สัปดาห์ สำหรับประเทศไทยสูตรยาดังกล่าวก็ได้ขึ้นทะเบียนยาสูตร MeFi-Miso เมื่อเดือนธันวาคม 2557 และล่าสุด เดือนมิถุนายน 2559 ที่ผ่านมา MeFi-Miso ได้ขึ้นบัญชียาหลัก (1) ซึ่งหมายความว่าคนทั่วไปสามารถเข้าถึง ยาไมเฟฟริสโตน (mifepristone) ไมโซพรอสทอล (misoprostol) และเมดาบอนได้ แต่ต้องอยู่ในโครงการ พิเศษของกระทรวง กรมหรือหน่วยงานรัฐที่มีการติดตามประเมินการใช้ยาตามโครงการ ปัจจุบันมีเครือข่าย โรงพยาบาลรัฐและเอกชน รวมถึงคลินิกจำนวน 85 แห่งทั่วประเทศไทย ที่หญิงที่ต้องการยุติการตั้งครรภ์ สามารถเข้าถึงได้ ซึ่งยายุติการตั้งครรภ์ไม่มีการจัดจำหน่ายตามร้านขายยาทั่วไป หรือสถานบริการที่ไม่ได้เข้า ร่วมบริการ (ILaw, 2559)
จากข้อมูลการยุติการตั้งครรภ์ด้วยยาของกรมอนามัย พบว่าปี 2558-2559 มีผู้ใช้ยาเมดาบอนจำนวน 2,858 คน เป็นกลุ่มวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี จำนวน 632 คน ซึ่งถือว่าเป็นตัวเลขที่น้อยมากเมื่อเทียบกับจำนวน แม่วัยรุ่นที่มีถึง 90,000 คนต่อปี อย่างไรก็ตามยังมีอีกช่องทางหนึ่งที่ให้บริการยายุติการตั้งครรภ์ คือการขอใช้ ยาผ่านเว็บไซต์ Women on Web ซึ่งผู้ขอรับบริการจำเป็นต้องกรอกข้อมูลส่วนตัว เหตุผลการขอใช้ยาพร้อม ทั้งการทำแบบทดสอบสุขภาพจิต โดยการขอรับยาลักษณะดังกล่าวไม่ได้มีการรองรับตามกฎหมายของประเทศ ไทย ซึ่งทำให้เกิดความเสี่ยงต่อวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ได้เช่นเดียวกัน
แนวทางปฏิบัติของแพทย์เกี่ยวกับเอชไอวี ปี 2557
ในปี 2557 ได้มีความก้าวหน้าทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น กล่าวคือ มีการแก้ไขแนวทางปฏิบัติของแพทย์เกี่ยวกับเอชไอวี 2557 ออกเป็นประกาศแพทยสภา อาศัยอำนาจตาม พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525 โดยประกาศดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายในการลดข้อจำกัดในการขอ เข้าตรวจการติดเชื้อเอชไอวีและตรวจการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่อายุต่ำกว่า 18 ปี ซึ่งแต่เดิมมีความจำเป็นที่ จะต้องขอคำยินยอมจากผู้ปกครองก่อนจึงจะสามารถเข้ารับการตรวจได้ ข้อกำหนดดังกล่าวเป็นข้อจำกัดที่ สำคัญที่ทำให้วัยรุ่นอายุต่ำกว่า 18 ปีบางส่วนไม่สามารถเข้าถึงบริการอนามัยเจริญพันธุ์ได้ นอกจากนี้ประกาศ ดังกล่าวยังมีการระบุให้แพทย์ผู้ตรวจจะต้องมีการรักษาความลับของวัยรุ่นอย่างเคร่งครัด กล่าวคือแพทย์จะไม่
สามารถบอกผลการตรวจต่อผู้ปกครองของวัยรุ่นที่อายุต่ำกว่า 18 ปีได้ เว้นแต่แพทย์ผู้นั้นพิจารณาแล้วพบว่า การบอกผลการตรวจดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อวัยรุ่นผู้รับการตรวจมากกว่า (แนวทางปฏิบัติของแพทย์ เกี่ยวกับเอชไอวี พ.ศ. 2557, 2557)
บริการฝังยาคุมกำเนิดฟรี สำหรับเด็กอายุ 10-20 ปี
ยาฝังคุมกำเนิด เป็นวิธีการคุมกำเนิดแบบชั่วคราว โดยตัวยาจะบรรจุไว้ในหลอดหรือแท่งพลาสติก ขนาดเท่าไม้จิ้มฟัน ฝังเข้าไปในบริเวณใต้ผิวหนังท้องแขน จากนั้นตัวยาจะกระจายเข้าสู่ร่างกายไปยับยั้งการ เจริญเติบโตของไข่ ทำให้ไม่มีการตกไข่ ช่วยป้องกันการตั้งครรภ์ได้ มีทั้งแบบชนิด 3 ปี และ 5 ปี โดยขอรับ บริการได้ที่สถานบริการหรือโรงพยาบาลทั่วประเทศ ซึ่งวิธีนี้กำลังได้รับความนิยมในวัยรุ่น เพราะปกติต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการฝังประมาณ 2,500 บาท แต่สำหรับวัยรุ่นอายุไม่ถึง 20 ปี สามารถขอรับบริการได้ฟรี ตาม พ.ร.บ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ที่กำหนดให้โรงพยาบาลหรือสถานบริการต้อง ช่วยเหลือให้คำปรึกษาปัญหาการตั้งครรภ์ ทั้งการคุมกำเนิดและการวางแผนครอบครัว สำหรับวัยรุ่นอายุ 10- 20 ปี สำหรับวัยรุ่นที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต้องได้รับการยินยอมจากผู้ปกครองก่อน
พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
ความก้าวหน้าทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอีกประการหนึ่งใน ช่วงเวลานี้คือ การเกิดขึ้นของพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 การ ตราพระราชบัญญัติดังกล่าว มีที่มาจากการที่ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมีความซับซ้อนมากและมีความ จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในการร่วมกันแก้ปัญหา (พระราชบัญญัติการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๕๙, 2559) อย่างไรก็ตาม การแก้ปัญหาในช่วงเวลาก่อนหน้านี้ของ หน่วยงานและภาคส่วนต่างๆ เป็นไปในลักษณะแยกส่วน ทำให้เกิดการทำงานทับซ้อนและไม่สอดคล้องกัน ดังนั้นพระราชบัญญัตินี้ จึงเนื้อหาสาระสำคัญในการกำหนดกลไกการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและภาค ส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถบูรณาการการทำงานร่วมกันในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างเป็น รูปธรรม มีเอกภาพและมีประสิทธิภาพ
หน่วยงานหลักภายใต้พระราชบัญญัตินี้ประกอบด้วย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข โดยรัฐมนตรี ของแต่ละกระทรวงมีอำนาจหน้าที่ในการออกกฎกระทรวงและระเบียบ เพื่อปฏิบัติตาม พ.ร.บ. นี้ นอกจากนี้ ยังมีการกำหนดกลไกระดับชาติในการบูรณาการการทำงานร่วมกัน ในรูปของคณะกรรมการป้องกันและแก้ไข ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยมีหน้าที่หลักในการเสนอนโยบายและยุทธศาสตร์ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นต่อคณะรัฐมนตรี รวมถึงมีหน้าที่แก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องและให้ความเห็น เกี่ยวกับการออกกฎกระทรวง คณะกรรมการดังกล่าวมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน มีกรรมการโดยตำแหน่ง 8 คน ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม และปลัดกรุงเทพมหานคร มีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ในการทำงานเกี่ยวกับปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น มีผู้แทนเด็กและเยาวชน 2 คน จากสภาเด็กและเยาวชน แบ่งเป็นชายและหญิง อย่างละ 1 คน และมีอธิบดีกรมอนามัยเป็นกรรมการและ เลขานุการ (พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559, 2559)
พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 ยังได้มีการกำหนดสิทธิ ของวัยรุ่นและมาตรการสำคัญ ในการส่งเสริมสิทธิของวัยรุ่นและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยมีเนื้อหา สาระสำคัญคือ วัยรุ่นหรือผู้ที่มีอายุ 10 แต่ไม่ถึง 20 ปีบริบูรณ์ มีสิทธิในการตัดสินใจด้วยตัวเอง มีสิทธิได้รับ ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ บริการอนามัยเจริญพันธุ์ สวัสดิการสังคม และมีสิทธิที่จะได้รับการรักษาความลับและ ความเป็นส่วนตัว และในด้านของมาตรการสำคัญในการส่งเสริมสิทธิดังกล่าวและการแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่นนั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 มาตรการสำคัญตามความรับผิดชอบของแต่ละภาคส่วน ประกอบด้วย
(1) สถานศึกษา ต้องดำเนินการจัดสอนเพศวิถีศึกษาที่เหมาะสมกับวัย คุ้มครองวัยรุ่นตั้งครรภ์ให้สามารถศึกษา ได้อย่างต่อเนื่องและต้องมีระบบส่งต่อไปยังบริการอนามัยเจริญพันธุ์อื่นๆ (2) สถานบริการสาธารณสุข ต้อง ดำเนินการให้ความรู้การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย มีการให้บริการอนามัยเจริญพันธุ์ที่ได้มาตรฐาน และมีระบบ ส่งต่อไปสู่บริการสวัสดิการสังคมอื่นๆ (3) สถานประกอบกิจการ ต้องดำเนินการให้ข้อมูลและส่งเสริมการ เข้าถึงบริการอนามัยเจริญพันธุ์แก่ลูกจ้าง รวมถึงต้องมีบริการส่งต่อไปสู่สวัสดิการสังคมอื่นๆ (4) หน่วยงาน สวัสดิการสังคม ต้องดำเนินการฝึกอาชีพแก่วัยรุ่นตั้งครรภ์ และจัดหาครอบครัวทดแทนให้วัยรุ่นที่ไม่สามารถดู และบุตรได้เอง และ (5) ราชการส่วนท้องถิ่น มีหน้าที่ในการออกบัญญัติท้องถิ่นในการแก้ปัญหาตามแต่บริบท ของแต่ละพื้นที่ (พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559, 2559)
การแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 28) พ.ศ.2564 สืบเนื่องจากการแก้ไขประมวลกฎหมายอาญา ฉบับที่ 28 ที่ประกาศเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2564
(ราชกิจจานุเบกษา, 2563) ที่มีความเกี่ยวข้องกับความผิดที่เกิดจากการทำแท้ง ทั้งความผิดต่อหญิงที่ตั้งครรภ์
(ม.301) และความผิดต่อแพทย์ผู้ดำเนินการรักษา (ม.305) โดยการแก้ไขประมวกฎหมายอาญาทั้งสองมาตรา ดังกล่าวมีสาระที่สำคัญ ดังต่อไปนี้
1. การทำแท้งในช่วงอายุครรภ์ที่ไม่เกิน 12 สัปดาห์ ไม่มีความผิด หากเกิน 12 สัปดาห์ สามารถ กระทำได้บน 3 เงื่อนไข และหากเกิน 20 สัปดาห์ สามารถกระทำได้บน 1 เงื่อนไขที่กำหนด
2. มีการปรับลดโทษของหญิงที่ทำแท้งในกรณีที่มีอายุครรภ์เกิน 12 สัปดาห์ เหลือเพียงการต้อง ระวางจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (ม.301)
3. มีการปรับปรุงระเบียบที่เกี่ยวข้องกับโทษของแพทย์ผู้กระทำให้สอดคล้องกับการทำแท้ง ในช่วงที่อายุไม่เกิน 12 สัปดาห์ซึ่งไม่มีความผิด (ม.305(4))
การปรับปรุงกฎหมายอาญาทั้งสองมาตรานับเป็นความก้าวหน้าที่สำคัญที่มีความเกี่ยวเนื่องกับการ บรรเทาปัญหาที่สืบเนื่องจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ซึ่งรวมถึงการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ถึงแม้การตั้งปรับปรุง กฎหมายฉบับนี้จะยังคงมีการกำหนดโทษไว้ในบางกรณีต่อหญิงตั้งครรภ์ที่ยุติการตั้งครรภ์และแพทย์ ผู้ดำเนินการ ซึ่งเป็นประเด็นที่สำคัญอย่างยิ่งต่อสิทธิของของทารกในครรภ์และหญิงตั้งครรภ์และเป็นประเด็นที่ ต้องได้รับการพิจารณาต่อไปในอนาคต
2. นโยบายของรัฐที่เกี่ยวข้อง
โครงการส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (YFHS) นโยบายภาครัฐเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่มีความโดดเด่นนโยบาย
หนึ่ง ในช่วงเวลานี้คือ โครงการส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth
Friendly Health Service: YFHS) โดยโครงการดังกล่าวมีที่มาจากการที่วัยรุ่นประสบปัญหาและอุปสรรคใน การเข้าถึงอนามัยเจริญพันธุ์ เช่น วัยรุ่นขาดข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลของสถานบริการ สถานบริการอยู่
ห่างไกลไม่สะดวกต่อการรับบริการ ผู้ให้บริการมีทัศนคติที่ไม่เป็นมิตรกับวัยรุ่น เป็นต้น ด้วยข้อจำกัดเหล่านี้ เอง ส่งผลให้มีวัยรุ่นจำนวนหนึ่งไม่สามารถเข้าถึงบริการอนามัยเจริญพันธุ์ได้อย่างเหมาะสม ทำให้ปัญหาการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมีความรุนแรงมากขึ้น โครงการดังกล่าวจึงมีจุดมุ่งหมายที่จะลดข้อจำกัดเหล่านี้ลง ด้วยการ ส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น ให้มีคุณภาพและสามารถเข้าถึงได้ (กรมอนามัย, 2562a)
ผู้รับผิดชอบและผู้ขับเคลื่อนหลักของโครงการดังกล่าวคือกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมี หน้าที่ในการพัฒนามาตรฐานของโครงการส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน สำหรับประเมินโรงพยาบาลและสถานพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งเป็นผู้ที่ตรวจเยี่ยมประเมิน โรงพยาบาลและสถานพยาบาลภายใต้มาตรฐานโครงการส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น และเยาวชน ตลอดจนประเมินความพึงพอใจของวัยรุ่นผู้มารับบริการด้วย นอกจากนี้กระทรวงสาธารณสุขยังมี หน้าที่ในการจัดทำและเผยแพร่คู่มือการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น ให้กับโรงพยาบาลต่างๆ เพื่อเป็น การส่งเสริมให้เกิดการยกระดับสถานบริการสุขภาพให้ได้มาตรฐานโครงการส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพที่เป็น มิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชนมากขึ้น (กรมอนามัย, 2557)
ผลการดำเนินงานจากโครงการดังกล่าวนั้น ทำให้มีโรงพยาบาลจำนวนหนึ่งที่มีมาตรฐานการให้บริการ ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น และมีแนวโน้มที่จะมีโรงพยาบาลที่ผ่านมาตรฐานดังกล่าวเพิ่มมากขึ้น โดยจากข้อมูลของ กรมอนามัย (2561) ระบุว่าในปี 2556 มีโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน คิดเป็นเป็นร้อยละ 24.5 ของ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั้งหมด และยอดสะสมของโรงพยาบาลที่ผ่านมาตรฐานโครงการ ส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ในปี 2561 มีจำนวน โรงพยาบาลที่ผ่านมาตรฐานร้อยละ 85.83 (กรมอนามัย, 2561)
รูปที่ 4.7 สัดส่วนของโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ
(ผลงานสะสม ปี 2556-2561)
ที่มา: กรมอนามัย 2561
โครงการสายด่วน 1663
โครงการสายด่วน 1663 เป็นโครงการสำคัญโครงการหนึ่งที่มีกลไกการทำงานร่วมกันกับโครงการ ส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (YFHS) โดยโครงการดังกล่าวมีที่มาจากการ ที่วัยรุ่นตั้งครรภ์หรือเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ยังขาดช่องทางในการเข้าถึงบริการอ นามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม โดยเฉพาะบริการข้อมูลและคำปรึกษาที่เกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธุ์ ส่งผลให้วัยรุ่นตั้งครรภ์เข้าสู่กระบวนการยุติ การตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัยเป็นจำนวนมาก (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2556) โครงการ
ดังกล่าวจึงมีความสำคัญในฐานะช่องทางแรกที่ช่วยให้วัยรุ่นตั้งครรภ์สามารถเข้าถึงบริการอนามัยเจริญ พันธุ์ ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
กลไกการทำงานของสายด่วน 1663 นั้น เป็นลักษณะของการทำงานร่วมกันระหว่างภาครัฐและ เอกชน กล่าวคือ เป็นการทำงานร่วมกันระหว่างมูลนิธิแพธทูเฮลท์ มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ โดยการสนับสนุนของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน้าที่หลักของสายด่วน 1663 คือการให้คำปรึกษา ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเอดส์และการตั้งครรภ์ไม่พร้อม รวมถึงมีการส่งต่อไปสู่บริการอนามัยเจริญพันธุ์ และบริการ การยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย ผ่านเครือข่ายแพทย์ R-SA (Referral System for Safe Abortion) หรือคลินิก และโรงพยาบาลที่ร่วมโครงการ ซึ่งมีความพร้อมในการให้บริการ บริการรับฝากครรภ์และดูแลครรภ์ ตลอดจน มีระบบการส่งต่อไปสู่สวัสดิการสังคมอื่นๆ เช่น สถานสงเคราะห์เด็ก บ้านพักพิงชั่วคราว เป็นต้น
ผลการดำเนินงานของสายด่วน 1663 แสดงให้เห็นว่า โครงการดังกล่าวค่อนข้างประสบความสำเร็จใน การเป็นช่องทางหนึ่งสำหรับวัยรุ่นในการเข้าถึงอนามัยเจริญพันธุ์ จากสถิติของ สสส. (2562) ระบุว่าในปี 2559 มีจำนวนวัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปี จำนวน 4,305 ราย ได้โทรศัพท์เข้ามาเพื่อขอคำปรึกษาปัญหาตั้งครรภ์ ไม่พร้อม และจำนวนวัยรุ่นที่โทรศัพท์เข้ามาขอคำปรึกษามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น โดยในปี 2561 มีจำนวนทั้งสิ้น 5,828 ราย และสามารถส่งต่อบริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยตามการตัดสินใจของวัยรุ่นได้จำนวน 832 ราย
ในปี 2559 และเพิ่มขึ้นเป็น 1,329 ในปี 2560
โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น
โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น เป็นโครงการที่มีจุดมุ่งเน้นในการลดอัตราการตั้งครรภ์ซ้ำของ วัยรุ่น อันมีที่มาจากข้อค้นพบที่ว่า อัตราการตั้งครรภ์วัยรุ่นส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากกลุ่มวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ซ้ำ ก่อให้เกิดวงจรของปัญหา การดำเนินการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำนี้จึงมีส่วนในการลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยรวมด้วยเช่นเดียวกัน โครงการนี้ดำเนินการภายใต้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) มีกลไก การดำเนินงานหลักคือการสนับสนุนให้สถานบริการในเครือข่ายของ สปสช.ทั่วประเทศ ให้บริการคุมกำเนิดกึ่ง ถาวร ประกอบด้วยห่วงอนามัย และยาฝังคุมกำเนิด แก่วัยรุ่นอายุต่ำกว่า 20 ปี โดยไม่มีการคิดค่าบริการ ซึ่ง สถานบริการเบิกค่าใช้จ่ายการให้บริการดังกล่าว โดยในกรณีของห่วงอนามัยได้รับในในอัตรา 800 บาทต่อราย และยาฝังคุมกำเนิดในอัตรา 2,500 บาทต่อราย (กรมอนามัย, 2562b)
ข้อมูลผลการดำเนินงานของกรมอนามัย (2562b) แสดงถึงความสำเร็จของโครงการในด้านของการ ป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น ในปี 2557 มีวัยรุ่นหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี เข้ารับบริการการคุมกำเนิดกึ่งถาวร หลังคลอดหรือหลังแท้งจำนวน 37,258 ราย คิดเป็นร้อยละ 13.1 ของจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปี
ทั้งหมด และสัดส่วนดังกล่าวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยมีวัยรุ่นมารับบริการคิดเป็นร้อยละ 63.1 ในปี 2561
รูปที่ 4.8 จำนวนและสัดส่วนการให้บริการคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวร ต่อจำนวนหญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปี
ที่มา: กรมอนามัย, 2562b
ข้อมูลจากกรมอนามัยข้างต้นยังมีความสอดคล้องกับการวางแผนครอบครัวซึ่งมีสัดส่วนเพิ่มมากขึ้น และมีส่วนสำคัญในการช่วยป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยเมื่อพิจารณาผลการสำรวจสถานการณ์เด็กและ สตรี (MICS) ในรอบทศวรรษที่ผ่านมา ในข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการคุมกำเนิดในปัจจุบันสำหรับผู้หญิงที่ปัจจุบัน สมรสหรืออยู่กินกับผู้ชายสำหรับกลุ่มวัยรุ่นที่อายุระหว่าง 15-19 ปี พบว่า ในปี พ.ศ.2562 ผู้หญิงที่ปัจจุบัน สมรสหรืออยู่กินกับผู้ชาย ร้อยละ 75.6 กำลังคุมกำเนิดด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง (ร้อยละ 71.5 สำหรับหญิงอายุ 15-
17 ปี และร้อยละ 79.3 สำหรับหญิงอายุ 18-19 ปี) เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับอดีต ซึ่งมีการคุมกำเนิดร้อยละ 69.2 ในปี พ.ศ.2558-59 และร้อยละ 66.4 ในปี พ.ศ.2548-49 การใช้ยาเม็ดคุมกำเนิดยังเป็นวิธีการคุมกำเนิดที่ นิยมมากที่สุด มีการใช้ร้อยละ 42 ในปี พ.ศ.2562 รองลงมาคือการใช้ยาฝังคุมกำเนิด (ร้อยละ 14.1) และยาฉีด คุมกำเนิด (ร้อยละ 13.3) สำหรับการใช้ยาฝังคุมกำเนิดเป็นที่นิยมมากขึ้นเมื่อเทียบกับผลการสำรวจในปี พ.ศ. 2558-59 โดยเป็นการเปลี่ยนรูปแบบจากการใช้ยาฉีดมาเป็นยาฝัง (ตารางที่ 4.3)
ตารางที่ 4.3 การคุมกำเนิดของหญิงอายุ 15-19 ปี ที่ปัจจุบันสมรสหรืออยู่กินกับผู้ชาย
การคุมกำเนิด | พ.ศ.2548-49 | พ.ศ.2558-59 | พ.ศ.2562 | ||
15-19 ปี | 15-19 ปี | 15-17 ปี | 18-19 ปี | 15-19 ปี | |
ไม่ได้คุมกำเนิด | 33.6 | 30.8 | 28.5 | 20.7 | 24.4 |
วิธีใดวิธีหนึ่ง | 66.4 | 69.2 | 71.5 | 79.3 | 75.6 |
วิธีสมัยใหม่ | 64.4 | 68.2 | 69.7 | 78.0 | 74.1 |
หมันหญิง | 1 | 0.5 | 0 | 1.6 | 0.8 |
หมันชาย | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 |
ห่วงอนามัย | 0 | 0.4 | 0.3 | 0 | 0.1 |
ยาฉีดคุมกำเนิด | 14.6 | 27.7 | 9.2 | 17.0 | 13.3 |
ยาฝังคุมกำเนิด | 1.1 | 2.4 | 17.5 | 11.1 | 14.1 |
ยาเม็ดคุมกำเนิด | 46.2 | 34.4 | 36.1 | 47.2 | 42.0 |
ถุงยางอนามัยชาย | 1.4 | 2.8 | 5.5 | 1.1 | 3.2 |
ยาเม็ดคุมกำเนิดฉุกเฉิน | na. | na. | 0 | 0 | 0 |
อื่นๆ | na. | na. | 1.0 | 0 | 0.5 |
วิธีดั้งเดิม | 2.1 | 1 | 1.6 | 1.3 | 1.4 |
นับระยะปลอดภัย | 0 | 0.4 | 0.6 | 0 | 0.3 |
หลังนอกช่องคลอด | 0.2 | 0.5 | 0.9 | 0.1 | 0.5 |
อื่นๆ | 1.8 | 0 | 0 | 1.2 | 0.6 |
ไม่ระบุ | na. | na. | 0.3 | 0 | 0.2 |
ที่มา: รายงานผลการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรี (MICS) พ.ศ.2548-2549 พ.ศ.2558-2559 และ พ.ศ.2562
3. กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
เพศวิถีศึกษา
ในปัจจุบันเพศวิถีในสังคมไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตตามการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของบริบท ทางสังคม เช่น ค่านิยมทางเพศที่เปิดเผย กล้าแสดงออกในเรื่องเพศมากกว่าอดีต การมีเพศสัมพันธ์ก่อน แต่งงาน เพศวิถีทางเลือกที่เปลี่ยนแปลงไปในความหลากหลายทางเพศ เป็นต้น ในขณะที่เพศวิถีในเรื่องต่างๆ ได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว แต่เพศวิถีศึกษาของไทยยังคงอยู่ที่เดิมโดยไม่สามารถเปลี่ยนแปลงให้เท่าทันกับ สภาพสังคมได้ ซึ่งทำให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับเรื่องเพศขึ้นมามากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งข่าวสั่นสะเทือนสังคมไทย ในปี 2553 เรื่องเหตุการณ์การทำแท้งเถื่อนที่ได้พบซากทารก 2,002 ศพที่เกิดจากการทำแท้ง ทำให้สื่อและ ประชาชนได้เริ่มตระหนักเรื่องเพศวิถีศึกษามากยิ่งขึ้น เช่น
‘ผู้ปกครองเ👉็นด้วยกว่า 90% สอนเพศศึกษาสกัดทำแท้ง’
(มติชนรายวัน, 26 พฤศจิกายน 2553,หน้า 10)
‘สะกิด รร. ‘เลิกอ้ำ อึ้ง’ สอนเรื่องเพศ’ (ไทยโพสต์, 27 พฤศจิกายน 2553, หน้า 8)
‘ชี้พ่อแม่- ครูร่วมสอนเซ็กส์ปลอดภัย’ (ข่าวสด, 7 ธันวาคม 2553, หน้า 26) จากการพาดหัวข่าวตัวอย่าง เราจะเห็นได้ว่าเพศวิถีศึกษายังคงเป็นปัญหาอยู่มากในสังคมไทย
เนื่องจากวิธีการสอนและหลักสูตรที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมและค่านิยมทางสังคม การมีอคติ เกี่ยวกับเรื่องเพศของครูผู้สอน และไม่มีแบบแผนที่เฉพาะสำหรับหลักสูตรเพศวิถีศึกษา
เพศศึกษาได้เริ่มขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ.2521 โดยบรรจุไว้ในหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ อย่างเป็นทางการครั้งแรกในหลักสูตรการศึกษา พ.ศ.2521 (องค์การยูนิเซฟ, 2559) แต่เพราะเรื่องเพศยังคง เป็นเรื่องต้องห้ามในโรงเรียน จึงได้เลี่ยงโดยการใช้คำอื่นแทน เช่น ธรรมชาติแห่งชีวิต ชีวิตและครอบครัวศึกษา เป็นต้น นอกจากนี้ทางกระทรวงศึกษาธิการได้มีการส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตรเพศศึกษาอยู่อย่างต่อเนื่อง เช่น
• พ.ศ.2525 ได้สอดแทรกเพศศึกษาในหมวดวิชาต่างๆ หรือกิจกรรมแนะแนว และมีการอบรม ครูผู้สอนเรื่องเพศศึกษา
• พ.ศ.2543 กรมอนามัยและกรมสุขภาพจิตโดยความร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการ จัดทำ หลักสูตรเพศศึกษา แต่มีการนำไปใช้ในชื่อ ‘ชีวิตและครอบครัวศึกษา’ และมีการประกาศใช้ หลักสูตรนี้อย่างเป็นทางการในปี 2545
• พ.ศ.2544 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2544 ได้ถูกบรรจุเพศศึกษาไว้ในกลุ่มสาระวิชาสุขศึกษา และพลศึกษา
• พ.ศ.2547 เพศวิถีศึกษาถูกบรรจุเป็นวิชาหนึ่งในหลักสูตรของสถานศึกษาอาชีวศึกษา (UNESCO, 2557)
• พ.ศ.2551 วิชาเพศศึกษาถูกบรรจุในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551)
การสอนเพศศึกษาในระดับโรงเรียนสายสามัญทั้งหมด ยังคงใช้วิธีการสอดแทรกเนื้อหาเข้ากับกลุ่ม สาระอื่นๆ หรือจัดเป็นกิจกรรมพิเศษแยกออกมา ไม่มีวิชาที่ถูกเรีย กว่าเพศศึกษาให้นักเรียนโดยเฉพาะ กระบวนการเรียนการสอนที่กระทรวงศึกษาธิการจัดเองนั้น ถูกองค์การพัฒนาเอกชนวิพากษ์ว่า ไม่ได้สอน สาระของเพศศึกษาอย่างที่ควรจะเป็น แต่เน้นไปที่เรื่องการเปลี่ยนแปลงของร่างกายในวัยเจริญพันธุ์ และมัก สอนเนื้อหาให้อยู่ภายใต้กรอบวัฒนธรรมไทยและศีลธรรมอันดีงาม ทำให้การเรียนการสอนมีแต่เนื้อหาที่มุ่ง ‘สั่ง สอน’ และ ‘ห้ามปราม’ เนื่องจากเชื่อว่าการสอนเพศศึกษาตรงไปตรงมา คือ ‘การชี้โพรงให้กระรอก’ หรือ ‘การสอนให้มีเพศสัมพันธ์’ (องค์การแพธ, 2550:9) ทำให้นักเรียนไม่มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศเท่าที่ควร ทำให้ มีประเด็นถกเถียงกันมากในเรื่องเนื้อหาหลักสูตรเพศศึกษาและวิธีการสอนของครู ต่อมาในปี พ.ศ.2559 กระทรวงศึกษาธิการได้ใช้คำว่า ‘เพศวิถีศึกษา’ แทนคำว่าเพศศึกษาเพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 ที่ใช้คำว่าเพศวิถีศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการได้ให้ความหมายของเพศวิถีศึกษา (Sexuality Education) ว่า “กระบวนการ เรียนรู้เกี่ยวกับเพศที่ครอบคลุมพัฒนาการทางร่างกาย จิตใจ การทำงานของสรีระ และการดูแลสุขอนามัย ทัศนคติ ค่านิยม สัมพันธภาพ พฤติกรรมทางเพศ มิติทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีผลต่อวิถีชีวิตทางเพศ เป็น กระบวนการพัฒนาทั้งด้านความรู้ ความคิด ทัศนคติ อารมณ์ และทักษะที่จำเป็นสำ👉รับบุคคล ที่ช่วยใ👉้ สามารถเลือกดำเนินชีวิตทางเพศอย่างเป็นสุขและปลอดภัย สามารถพัฒนาและดำรงความสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ อย่างมีความรับผิดชอบและสมดุล” (ศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียน, 2558a, หน้า 2) โดย เนื้อหาของเพศวิถีศึกษาต้องปรับให้เหมาะสมกับบริบททางวัฒนธรรม ขณะเดียวกันก็ต้องครอบคลุมหัวข้อ หลักๆ ให้ครบ เพื่อให้เพศวิถีศึกษามีคุณภาพและได้มาตรฐานสากลของเพศวิถีศึกษารอบด้าน (Comprehensive Sexuality Education)
พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 ได้กำหนดให้การสอนเพศ วิถีศึกษาครอบคลุม 6 ด้าน ได้แก่ พัฒนาการของมนุษย์ สัมพันธภาพ ทักษะส่วนบุคคล พฤติกรรมทางเพศ สุขภาพทางเพศ และสังคมและวัฒนธรรม โดยเพศวิถีศึกษาจะเน้นการสอนแบบรอบด้านมากยิ่งขึ้น ผ่านการ มองว่าเรื่องเพศเป็นเรื่องธรรมชาติ จัดการสอนทักษะชีวิตให้เหมาะสมกับช่วงวัย และการให้ข้อเท็จจริง ตรงไปตรงมาเกี่ยวกับเรื่องเพศ โดยไม่ได้สอนเพียงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย ค่านิยมที่ดีงามของสังคมไทย เกี่ยวกับการรักนวลสงวนตัวอย่างการสอนเพศศึกษาในอดีต นอกจากนี้ยังพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้ ความสามารถ มีทัศนคติที่ดี มีทักษะการสอนที่เหมาะสม และสามารถให้คำปรึกษาแนะนำแก่นักเรียนได้ อีกทั้ง ครูผู้สอนยังสามารถดูหลักสูตรการสอนเพศวิถีศึกษาพร้อมทั้งการเตรียมการสอนผ่านทาง E-learning ได้ ซึ่ง เป็นความร่วมมือของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม สุขภาพ และมูลนิธิแพธทูเฮลท์
4.3 ผลการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ภายใต้กระบวนการศึกษามีการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่มีส่วนเกี่ยวข้องและประสบการณ์ในด้านการ ป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ซึ่งมาจากทั้งในส่วนของหน่วยงานรัฐที่มีบทบาทในการกำหนดและ ดำเนินนโยบาย องค์กรอิสระ มูลนิธิที่รณรงค์กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้แทนที่มาจากภาคการศึกษาเป็น จำนวนทั้งสิ้น 5 ท่าน โดยสามารถสรุปประเด็นที่สำคัญได้ดังต่อไปนี้
ความคิดเห็นต่อสถานการณ์ในภาพรวม
มุมมองต่อสถานการณ์ภาพรวมต่อปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น คือความสมบูรณ์ของข้อมูลเนื่องจาก ปัจจุบันข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาเป็นข้อมูลอัตราการคลอดของวัยรุ่นต่อกลุ่มประชากรที่ทำการศึกษา ซึ่งข้อมูล ดังกล่าวไม่ได้สะท้อนถึงอัตราการการตั้งครรภ์ และอัตราการยุติการตั้งครรภ์ที่เกิดขึ้นในจริงในวัยรุ่น ในส่วน การยุติการตั้งครรภ์ ข้อมูลที่ทางการมีเป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น เนื่องจากบางส่วนเข้ารับบริการในสถานบริการ เอกชน หรือซื้อยายุติการตั้งครรภ์ในระบบออนไลน์ ซึ่งจะไม่ได้ถูกนับรวมอยู่ในระบบของทางการ ดังนั้นข้อมูล ที่มีอยู่จึงยังไม่ครบถ้วน
อย่างไรก็ตาม การดำเนินงานเชิงรุก ทั้งการให้ความรู้เรื่องเพศวิถีศึกษา การสอนทักษะชีวิต และการ บริการในพื้นที่ที่ช่วยในเรื่องการวางแผนการคุมกำเนิด โดยเน้นให้เกิด User Friendly Health Service กับ กลุ่มวัยรุ่นในโรงเรียน ซึ่งรวมไปถึงบริการคุมกำเนิดซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของวัยรุ่น น่าจะมีส่วนให้การตั้งครรภ์ ในวัยรุ่นมีแนวโน้มลดลงได้ ซึ่งบริการที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนครอบครัว ทางกรมอนามัยมีความคิดเห็นว่า ยังมีศักยภาพที่จะดำเนินงานดังกล่าวให้ครอบคลุมได้มากขึ้นได้
ปัญหาเกี่ยวกับภาระหน้าที่และงบประมาณ หน่วยงานที่รับผิดชอบในระดับพื้นที่คือโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ภายใต้การดูแลของสำนักงานปลัดกระทรวงฯ ซึ่งเป็นส่วนงานที่มีภาระงาน จำนวนมากในแต่ละวัน ดังนั้นปัญหาเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ส่วนหนึ่งจึงอยู่กับความสำคัญเร่ง ด่วนของ ปัญหาอื่นในพื้นที่ ซึ่งจะแตกต่างกันไปตามแต่ละจังหวัด อย่างไรก็ตามการเพิ่มเติมแรงจูงใจให้แก่บุคลากรทาง การแพทย์ที่ทำหน้าที่หัตถการในการคุมกำเกิดให้แก่วัยรุ่นหรือบุคคลอื่นภายใต้สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า อาจเป็นหนึ่งในวิธีการที่สร้างแรงจูงใจและทำให้การฝังยาคุมกำเนิดเป็นที่นิยม โดยส่วนหนึ่งมาจากการแนะนำ ของบุคลการทางการแพทย์ ทั้งนี้ปัจจุบันการฝังยาคุมกำเนิดสามารถทำได้ง่ายกว่าในอดีตมาก
ความคิดเห็นต่อนโยบายป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและการแบ่งกลุ่มเสี่ยง
ยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ พ.ศ. 2560-2569 ตาม พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ. ศ.2559 ได้กำหนดวิสัยทัศน์ของ ยุทธศาสตร์ ดังนี้ “วัยรุ่นมีความรู้ด้านเพศวิถีศึกษา มีทักษะชีวิตที่ดี สามารถเข้าถึงบริการอนามัยเจริญ พันธุ์ที่เป็นมิตร เป็นส่วนตัว รักษาความลับ และได้รับสวัสดิการสังคมอย่างเสมอภาค” โดยขับเคลื่อนผ่าน ยุทธศาสตร์ 5 ข้อ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาระบบการศึกษาที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านเพศวิถีศึกษาและทักษะชีวิตที่มี คุณภาพ และมีระบบการดูแลช่วยเหลือที่เหมาะสม
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมบทบาทครอบครัว ชุมชน และสถานประกอบกิจการในการเลี้ยงดูสร้าง สัมพันธภาพ และการสื่อสารด้านสุขภาวะทางเพศของวัยรุ่น
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ที่มีคุณภาพและเป็นมิตร ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือ การคุ้มครองสิทธิอนามัยการเจริญพันธุ์และการจัด
สวัสดิการสังคมในกลุ่มวัยรุ่น
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมการบูรณาการการจัดการฐานข้อมูล งานวิจัย และการจัดการความรู้
โดยยุทธศาสตร์ที่ 1 เป็นบทบาทของกระทรวงศึกษา และยุทธศาสตร์ที่ 2 เป็นบทบาทของชุมชนและ ครอบครัว กระทรวงพม. กระทรวงมหาดไทย เน้นการป้องกันไม่ให้ตั้งครรภ์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 เมื่อตั้งครรภ์ เป็น บทบบาทของกระทรวงสาธารณสุข ต้องมีการอนามัยเจริญพันธุ์ที่เป็นมิตร (แม่ปลอดภัย ลูกสุขภาพดี) ยุทธศาสตร์ที่ 4 เป็นบทบาทกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ครอบคลุมตั้งแต่ตั้งครรภ์จน คลอด ว่าต้องได้รับสวัสดิการอะไรบ้าง รวมถึงบริการกรณีไม่พร้อมเลี้ยง และยุทธศาสตร์ที่ 5 เป็นเรื่องของ ข้อมูลข่าวสาร ซึ่งยุทธศาสตร์ทำไว้ดีแล้ว แต่ปัญหาคือการนำไปปฏิบัติของแต่ละพื้นที่ พื้นที่ไหนผู้ว่าราชการ จังหวัดและสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ซึ่งมีหน้าที่เป็นเลขานุการนุกรรมการฯ จังหวัด active ก็จะทำได้ดี
กรมอนามัยมีแนวคิดในการแบ่งกลุ่มวัยรุ่นซึ่งเป็นเป้าหมายสำคัญในการศึกษาผลกระทบที่เกี่ยวข้อง กับมาตรการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยแบ่งวัยรุ่นในแต่ละโรงเรียนออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่ (1) กลุ่มดี ซึ่งเป็นกลุ่มวัยรุ่นทั่วไปที่ไม่มีความเสี่ยง วัยรุ่นกลุ่มนี้มาตรการที่เหมาะสมคือการให้ ความรู้ในเรื่องเพศศึกษา เพศวิถี รวมทั้งทักษะการเอาตัวรอดในสถานการณ์ที่เสี่ยงต่อการเกิดเพศสัมพันธ์อย่าง ไม่ได้ตั้งใจ (2) กลุ่มเสี่ยง เป็นกลุ่มวัยรุ่นที่มีแฟน วัยรุ่นกลุ่มนี้มีความเสี่ยงในการมีเพศสัมพันธ์ แนวทางหรือ มาตรการจึงเน้นไปที่การให้ความรู้เกี่ยวกับการคุมกำเนิดหรือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ (3) กลุ่มป่วย (กลุ่มที่เกิดการตั้งครรภ์) กลุ่มนี้เน้นในเรื่องของการติดตามการตั้งครรภ์ การดูแลครรภ์ การให้คำแนะนำ เกี่ยวกับการจัดการกับปัญหา และการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ
ความเห็นที่น่าสนใจคือ ส่วนมากเด็กในกลุ่มที่ 3 ที่ตั้งครรภ์ส่วนใหญ่เป็นเด็กเรียนมากกว่ากลุ่มเด็กซ่า ก๋ากั่นหรือเด็กเที่ยว อาจเป็นเพราะเด็กกลุ่มนี้ขาดทักษะในการเอาตัวรอดจากสถานการณ์ที่สุ่มเสี่ยง อย่างไรก็ ตาม กระบวนการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายทั้งสามที่ได้ผลดีคือการให้เพื่อนในชั้นเรียนช่วยระบุเป็นแนวทางที่ดี ที่สุด เนื่องจากเด็กที่อยู่ในโรงเรียนด้วยกันจะสามารถเห็นพฤติกรรมเสี่ยงได้ชัดเจนกว่าคุณครูและผู้ปกครอง แต่ตามการพัฒนาการของวัยรุ่นจะเชื่อฟังและปฏิบัติตามเพื่อน
การแบ่งกลุ่มทั้งสามกลุ่มข้างต้น กรมอนามัยใช้หลักเดียวกับหลักการทางการแพทย์ในการติดตามและ จำแนกผู้ป่วยในสถานการณ์จริง ทั้งนี้การจำแนกวัยรุ่นอยู่ภายใต้องค์ความรู้เรื่องพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของ วัยรุ่น (NEST) ซึ่งประกอบด้วย Nutrition (N), Exercise (E), Sleep, Safe Sex, Sex Education (S) และ Teeth (T)
Path2Health และ สสส. ให้ความเห็นในประเด็นกลุ่มเสี่ยง (เปราะบาง) พบว่า เนื่องจากเด็กในพื้นที่ ต่างจังหวัด (ภายใต้โครงการนำร่อง 19 จังหวัด) ส่วนมากจะเป็นเด็กที่ไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อแม่ ประกอบกับ สภาพแวดล้อมสังคม ที่ไม่มีพื้นที่ให้เด็กสามารถทำกิจกรรม โดยเด็กมักจะมีการรวมตัวที่หน้าร้านสะดวกซื้อใน พื้นที่และอาจไปบ้านของเพื่อนคนใดคนหนึ่งในกลุ่มเพื่อเล่นหรือทำกิจกรรมร่วมกัน ในกรณีที่ผู้ปกครองไม่อยู่ที่ บ้านในช่วงเวลาดังกล่าว ซึ่งในกรณีที่มีการไปกันสองคนย่อมมีความเสี่ยงในการมีเพศสัมพันธ์เกิดขึ้น ทั้งนี้กลุ่ม เสี่ยงในมุมมองของ สสส. และ Path2Health สอดคล้องกับกรมอนามัยที่ระบุกลุ่มเด็กหน้าห้องหรือเด็กเรียน เป็นกลุ่มที่มีการตั้งครรภ์สูง
ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับกลุ่มเสี่ยงยังนำมาสู่เรื่องของความเครียดในเด็กจากการเก็บความลับของผู้มี ส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งอาจนำมาสู่โรคซึมเศร้าและการฆ่าตัวตาย จึงเป็นเรื่องสำคัญที่ต้อง ทำความเข้าใจกลุ่มเสี่ยง และระบุถึงลักษณะร่วมอื่น ที่นอกเหนือจากข้างต้น ปัจจุบันยังไม่มีการวิเคราะห์ลักษณะร่วมที่ชัดเจนของกลุ่ม ดังกล่าว เนื่องจากมีเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องมากมาย เช่น การย้ายเขต การติดตามหลังการตั้งครรภ์ เป็นต้น
ในประเด็นเรื่องกลุ่มเสี่ยง กระทรวงศึกษาธิการมีความเห็นว่า นักเรียนที่ตั้งครรภ์ระหว่างเรียน มี ลักษณะที่หลากหลาย ไม่สามารถระบุลักษณะเฉพาะได้ว่าเป็นเด็กเรียนเก่ง ฐานะจน หรือเลี้ยงเดี่ยว และไม่ เห็นด้วยที่จะมีการระบุลักษณะเฉพาะเช่นนี้ แต่เป็นใครก็ได้ที่ “ขาดทักษะชีวิต ขาดความสามารถในการ จัดการชีวิต” การขาดทักษะชีวิต ความนับถือตนเอง เช่น ไม่รักตัวเอง ไม่เห็นคุณค่าตัวเอง หรือผู้อื่น ขาด ทักษะในการคิดเคราะห์สร้างสรรค์ รวมทั้งขาดทักษะการจัดการอารมณ์และความเครียด การใช้ทักษะปฏิเสธ ไม่เป็น ซึ่งกระทรวงศึกษาได้มีจัดทำคู่มือทักษะชีวิต และบรรจุเป็นหลักสูตรแกนกลางมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2551 ปัญหาคือโรงเรียนยังไม่ค่อยให้ความสำคัญ หรือครูยังไม่สามารถสื่อสารเรื่องนี้กับเด็กได้ดีนัก
นโยบายที่เกี่ยวข้อง
การดำเนินงานของ สสส. ส่วนใหญ่เป็นเรื่องการป้องกัน โดยการขับเคลื่อนแผนงานสร้างเสริมสุข ภาวะทางเพศ เน้นแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและการติดเชื้อเอชไอวี ภายใต้โครงการนำร่อง 19 จังหวัด และนำผลที่ได้ไปใช้ในยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ ปี 2560-2569 โดยทำงานร่วมกับเครือข่าย งานหลักๆ เป็นเรื่องการป้องกัน โดยการให้ความรู้ โดยร่วมกับ Path2Health ทำ บทเรียนออนไลน์ (e-learning) จำนวน 8 บทเรียน
การดำเนินงานของ สสส. ยังครอบคลุมไปถึงการสนับสนุนงานของกรมสุขภาพจิต ที่ให้บริการสาย ด่วน 1323 โดยมีให้บริการทั้งสิ้น 10 คู่สาย ซึ่งให้บริการคำปรึกษา แนะนำเทคนิคและวิธีการในการคลาย ความเครียดให้กับผู้รับบริการ อย่างไรก็ตามหากมีกลุ่มวัยรุ่นที่ต้องการยุติการตั้งครรภ์ ผู้ให้บริการสายด่วน 1323 สามารถที่จะแนะนำไปยังสายด่วนหรือผู้ให้บริการที่เชี่ยวชาญได้ในลำดับต่อไป
ในเรื่องของการเข้าถึงสื่อ เป็นอีกปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ของวัยรุ่นในพื้นที่ ทั้งนี้โครงการของ สสส. มุ่งเน้นไปที่การเปิดพื้นที่ให้เด็กเป็นผู้ผลิตสื่อ โดยเฉพาะในพื้นที่ อปท. มีการแข่งขันทำสื่อ ซึ่งส่วนมากมีแนว ทางการสื่อสารที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและง่ายต่อการทำความเข้าใจ นอกจากนั้นมุมมองความคิดเห็นเกี่ยวกับ การจัดระดับผู้รับชมสื่อยังคงมีความสำคัญ อย่างไรก็ตามการควบคุมการเผยแพร่ภาพอาจต้องพิจาร ณาถึง เจตนาของการนำเสนอเนื่องจากในบางประเด็นหากไม่มีการนำเสนอที่ชัดเจน อาจนำไปสู่การเข้าใจที่ผิดได้
โครงการของ สสส. ยังครอบคลุมไปถึงเรื่องของการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องเพศในผู้ปกครอง เนื่องจากครอบครัวเป็นอีกปัจจัยสำคัญในเรื่องนี้ การเริ่มโครงการ “โอกาสทอง คุยเรื่องเพศ” จึงเป็นอีก กรณีศึกษาที่สร้างการรณรงค์ในเรื่องการคุยกันในครอบครัว วิธีการพูดคุยที่เหมาะสมทั้งในส่วนของ เด็กและ ผู้ปกครอง ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มที่ดีในการปรับเปลี่ยนทัศนคติเรื่องเพศของสังคมไทย
เมื่อพิจารณาในภาพรวมจะพบว่าการดำเนินงานของ สสส. เน้นในเรื่องของการป้องกันปัญหาที่จะเกิด ขึ้นกับเด็กและเยาวชน รวมทั้งสร้างคุณภาพการให้บริการที่มากขึ้นต่อกลุ่มเป้าหมาย อย่างไรก็ตามการ ดำเนินงานของ สสส. จะมีลักษณะการร่วมมือกับหน่วยงานรัฐที่มีหน้าที่ในการให้บริการอยู่แล้ว ซึ่งเป็นการปิด ช่องว่าง ร่วมเสริมสร้างความเข้มแข็งและสร้างความต่อเนื่องของโครงการต่อไปในระยะยาว
ข้อเสนอแนะต่อนโยบายที่เกี่ยวข้อง
ปัจจุบันการดำเนินงานของกรมอนามัยสอดคล้องและเป็นไปตามยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกัน ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ทั้งนี้การดำเนินงานจะเน้นไปตามภารกิจที่หน่วยงานได้รับ เช่น การให้บริการ
คุมกำเนิดในรูปแบบต่างๆ โดยต้องพิจารณาให้ชัดเจนว่ากลุ่มไหนคือกลุ่มเสี่ยงและต้องได้รับการดูแลในรูปแบบ ที่แตกต่างกัน นอกจากนี้ กรมอนามัยได้นำผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับบริการมาเป็น KPI ของ กรมฯ ซึ่งประเด็นนี้สำคัญเนื่องจากข้อคิดเห็นจากการใช้บริการ จะเป็นส่วนหนึ่งในการปรับการให้บริการให้ เหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมายต่อไปในอนาคต
การพัฒนาฐานข้อมูลการเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ เป็นอีกหนึ่งโครงการที่ควรมีการพัฒนาโดยอาศัย ฐานข้อมูลจากทั้งโรงเรียน กรมอนามัย รวมทั้งฐานข้อมูลของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ ซึ่งสามารถที่จะใช้ประเมินความเสี่ยง คัดกรอง กลุ่มที่อาจจะมีการตั้งครรภ์เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง สามารถติดตาม สังเกตพฤติกรรม และเสริมความรู้ให้กับกลุ่มดังกล่าว
ทัศนคติเกี่ยวกับเรื่องการตั้งครรภ์และบทบาทของผู้ชายเป็นอีกประเด็นที่ Path2Health และ สสส. เห็นว่าควรสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมให้กับวัยรุ่นผู้ชายด้วย เพราะปัจจุบัน หน่วยงานองค์กรจะ เน้น ความสำคัญในการคุมกำเนิดที่ผู้หญิงเป็นสำคัญ แต่บทบาทของผู้ชายในเรื่องนี้ก็สำคัญไม่แพ้กัน ทั้งนี้ สสส. ร่วมกับ Path2Health กำลังพัฒนาหลักสูตรในการสร้างบทบาท นวัตกรรมของผู้ชาย อายุระหว่าง 20-35 ปี เกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว และคาดว่าจะนำเอาองค์ความรู้ดังกล่าวมาใช้ในการส่งต่อสร้างทัศนคติที่เหมาะสมใน กลุ่มเป้าหมายต่อไป
มุมมองของเยาวชนในสังคมไทยเกี่ยวกับเรื่องเพศ
ในมุมมองของ สสส. วัยรุ่นมีความตื่นตัวในเรื่องเพศมากขึ้น กล้าพูดมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ข้อมูลที่ วัยรุ่นรู้เป็นอีกประเด็นที่ต้องได้รับพิจารณา เนื่องจาก ข้อมูลบางอย่างกลุ่มวัยรุ่นยังมีความรู้ที่ไม่ถูกต้อง ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สายด่วน 1663 จึงต้องเพิ่มการโฆษณาและให้ข้อมูลที่มากขึ้น นอกจากนั้นการใช้ แกนนำเด็กเข้าไปพูดคุยรณรงค์เป็นอีกแนวทางที่ดี เพราะสามารถเข้าถึงและสื่อสารให้ความรู้ได้โดยง่าย และ เป็นโอกาสที่ดีที่จะได้นำเด็กหลังห้องมาเป็นตัวแทนในการทำกิจกรรมและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
มุมมองเด็กในเมืองและเด็กต่างจังหวัดยังมีความแตกต่างกันในหลายเรื่อง เช่น การเข้าถึงความรู้ที่ เกี่ยวกับเพศตาม รวมทั้งการเข้าถึงอุปกรณ์ในการคุมกำเนิด เนื่องจากเด็กในเมืองสามารถที่จะซื้ออุปกรณ์ คุมกำเนิด (ถุงยางอนามัย) ได้ด้วยตนเองจากเงินที่พ่อแม่มอบให้รายวัน แต่เด็กต่างจังหวัดอาจต้องได้รับการ แจกฟรี เนื่องจากราคาถุงยางอนามัยอาจสูงสำหรับกลุ่มวัยรุ่น อย่างไรก็ตามการแจกถุงยาง ต้องสร้างค่านิยม การรับรู้เกี่ยวกับการใช้งานที่ถูกต้องและขนาดที่เหมาะสมควบคู่ไปด้วยกัน
4.4 ความคิดเห็นของแม่วัยรุ่นและกลุ่มเสี่ยง: ผลจากการสนทนากลุ่ม
นอกจากการศึกษามาตรการที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จากข้อมูลทุติยภูมิและการสัมภาษณ์ ผู้ที่เกี่ยวข้อง (key informants) แล้ว การศึกษาครั้งนี้ได้ทำการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการจัดการสนทนา กลุ่ม (focus group discussion) แม่วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ระหว่างเรียน จำนวน 7 คน ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่กรุงเทพฯ (ภาคผนวก ข) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เป็นสาเหตุของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การรับรู้และการเข้าถึง บริการต่างๆ ทั้งก่อนตั้งครรภ์ ระหว่างตั้งครรภ์ และหลังการคลอดบุตร รวมทั้งความช่วยเหลือหรือบริการที่ ต้องการได้รับเพิ่มเติม
ผลการศึกษาพบว่า แม่วัยรุ่นส่วนใหญ่ได้รับความรู้และมีความเข้าใจเกี่ยวกับเพศวิถี และการป้องกัน การตั้งครรภ์จากโรงเรียนตั้งแต่ระดับประถมศึกษา (ป.6) และได้รับความรู้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่สาเหตุที่ตั้งครรภ์
เนื่องจากความผิดพลาดในการป้องกัน (ถุงยางรั่ว กินยาคุมฉุกเฉินไม่ทัน) และบางส่วนเป็นการมีเพศสัมพันธ์ โดยไม่ตั้งใจจึงไม่ได้ป้องกัน ซึ่งในเรื่องของการป้องกันส่วนใหญ่จะเป็นผู้หญิงที่เป็นฝ่ายป้องกันมากกว่าฝ่ายชาย
ในส่วนของมาตรการระหว่างการตั้งครรภ์ ไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายแพทย์ R-SA (Referral System for Safe Abortion) เครือข่ายภายใต้โครงการส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth Friendly Health Service; YFHS) ที่ช่องทางประสานงานกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการคำปรึกษา เช่น สายด่วนต่างๆ พบว่าแม่วัยรุ่นส่วนใหญ่ไม่รู้จัก และไม่เคยได้ยิน มีเพียงรายเดียวที่เข้าถึงบริการสายด่วนและ สะท้อนว่าได้รับการช่วยเหลือให้คำแนะนำที่ดีมากจนกระทั่งคลอดบุตร ประเด็นเรื่องการยุติการตั้งครรภ์มี 1 รายที่จะขอยุติการตั้งครรภ์ แต่ถูกปฏิเสธโดยให้เหตุผลว่าแม่ไม่ได้มีปัญหาด้านสุขภาพ
ในส่วนของโรงเรียนพบว่าเด็กที่แจ้งเรื่องการตั้งครรภ์ให้โรงเรียนทราบ ทางโรงเรียนได้พยายามให้เด็ก ได้เรียนต่อจนจบ (ม.3 หรือ ม.6) ในรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับเด็กแต่ละคน มีจำนวน 2 รายที่ผู้ปกครองให้ เด็กลาออกจากโรงเรียนโดยไม่แจ้งให้โรงเรียนทราบเหตุผลของการลาออก
หลังจากคลอดแม่วัยรุ่นได้รับการอบรมวิธีการเลี้ยงลูก และแนะนำให้มีการคุมกำเนิดกึ่งถาวรโดยการ ฝังยาคุม (3 ปี หรือ 5 ปี) มีเพียง 1 รายที่ใช้วิธีฉีดยาคุมทุกๆ 3 เดือน
เมื่อตั้งคำถาม โดยให้เปรียบเทียบกับเพื่อนๆ ในกลุ่มที่มีพฤติกรรมทางเพศคล้ายกันแต่ไม่มีตั้งครรภ์ว่า เพื่อนมีวิธีการป้องกันอย่างไร หรืออะไรเป็นปัจจัยที่ทำให้เพื่อนไม่ตั้งครรภ์ ผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่มตอบว่า แฟน ของเพื่อนพาเพื่อนไปฝังยาคุม หรือบางคนก็ใช้ถุงยางอนามัย เป็นต้น
ในมุมมองของแม่วัยรุ่นคิดว่า การเป็นแม่วัยรุ่นทำให้เสียโอกาส ไม่มีอนาคตทั้งการเรียนและการ ทำงานหารายได้ในอนาคต บางคนต้องเลิกกับแฟนตั้งแต่รู้ว่าตั้งครรภ์ และการเลี้ยงลูกในช่วงวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ เหนื่อยมาก ถ้าจะกลับไปเรียนต่อก็จะไม่มีคนดูแลลูกให้ นอกจากนี้ การมีลูกเร็วก็ทำให้คนในครอบครัวต้อง ลำบากมากขึ้น มีปัญหาด้านการเงิน รายได้ไม่เพียงพอ
มาตรการที่อยากให้มีเพื่อป้องกันและลดปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่คิดว่าได้ผล ได้แก่ รูปแบบใน การสอนเพศวิถี ทักษะชีวิตเด็กวัยเรียนควรทั่วถึงมากขึ้น ออกมาตรการจากทางโรงเรียนเข้มงวดมากขึ้น เช่น ห้ามออกนอกโรงเรียน ห้ามไปไหนสองต่อสอง และให้พ่อแม่มีเวลากับลูกมากขึ้น มีโครงการฝังยาคุมในกลุ่ม วัยรุ่นที่ทั่วถึงมากขึ้นกว่านี้
ส่วนมาตรการที่ต้องการให้ช่วยเหลือแม่วัยรุ่น ได้แก่ ช่วยเรื่องเงินอุดหนุนเด็กเล็ก และเพิ่มจาก 600 บาท เป็น 1,000–1,500 บาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายลูกและใช้จ่ายในครอบครัว และอยากให้ช่วยเหลือในเรื่องการ รักษาพยาบาลเด็กหลังคลอด เนื่องจากการใช้สิทธิการประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง) ใช้เวลารอนานมาก ทำให้ต้องตัดสินใจไปรับการรักษาแบบจ่ายเองซึ่งค่าใช้จ่ายสำหรับทารกมีค่าใช้จ่ายสูงมาก และอยากให้มี สถานที่รับดูแลเด็กเล็กที่ได้สามารถไว้ใจได้ดูแลด้วยความปลอดภัย มีมาตรฐานที่ดี และโรงเรียนที่ค่าใช้จ่ายไม่ แพง เพื่อให้พ่อแม่ได้ไปทำงานด้วยความสบายใจ นอกจากนี้ระหว่างการตั้งครรภ์จะมีภาวะความเครียดกัน มาก อยากให้มีที่ระบาย รับฟังปัญหา ให้คำแนะนำที่เข้าถึงได้ง่ายและมากกว่านี้
สิ่งที่อยากบอกบทเรียนให้กับรุ่นน้อง คือ “มีแต่คนมาถามว่าเ👉นื่อยไ👉ม 👉นูจะบอกว่าเ👉นื่อยมาก เวลา ที่มีน้องๆ มาปรึกษาจะบอกว่าไม่มีใครมารับผิดชอบตัวเราได้ดีเท่าตัวเรา มีตัวอย่างใ👉้ดู ดูกรูนี่เป็นตัวอย่างใน ความผิดพลาด มีแต่ความลำบากในการใช้ชีวิต” “ถ้าอยากจะรักสนุกต้องป้องกันด้วย ควรสนุกไปตามวัย ไม่งั้น ก็จะลำบากทั้งตนเองและครอบครัว” “มันเป็นความสนุกไม่กี่ชั่วโมง ที่เ👉ลือมันคือความรับผิดชอบทั้งชีวิต”
4.5 สรุปมาตรการที่ได้ผลในการป้องกันและแก้ปัญหาแม่วัยรุ่น
จากการพิจารณามาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาแม่วัยรุ่นตลอดช่วงระยะเวลาสามทศวรรษ ( ปี 2535–2561) ประกอบกับการให้ความคิดเห็นของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ผู้ขับเคลื่อนนโยบาย และสถานการณ์การ เปลี่ยนแปลงของจำนวนอัตราการคลอดของแม่วัยรุ่นตลอดระยะเวลาดังกล่าวพบว่า การลดลงของอัตราการ คลอดในวัยรุ่นตั้งแต่ปี 2555 (ในรูป 4.1) สอดคล้องกับความตื่นตัวที่เพิ่มขึ้นในเรื่องนี้อย่างมีนัยสำคัญ เช่น มี การจัดทำยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชนตั้งครรภ์ไม่พร้อม (พ.ศ.2553 - พ.ศ.2557) ซึ่งริเริ่มกรอบการดำเนินงานโดยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ประกอบกับการจัดทำ ยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่ 1 ในช่วงปีเดียวกันโดยกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับ ภาคีเครือข่าย การจัดทำกรอบยุทธศาสตร์การดำเนินงานดังกล่าวเกิดขึ้นในช่วงเวลาที่สถานการณ์เกือบจะสูง ที่สุดนับตั้งแต่ปี 2535
การดำเนินงานทั้งกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุขและ หน่วยงานเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในอีกหลายหน่วยงานได้ทำให้เกิดมาตรการที่สำคัญและคาดว่าเป็นสาเหตุให้ อัตราการคลอดในช่วงทศวรรษที่สามมีจำนวนที่ลดน้อยลงอย่างเห็นได้ชัดเจน ประกอบกับในช่วงทศวรรษที่ สามกลไกการจัดทำยุทธศาสตร์และ พ.ร.บ. ที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่มีการเตรียมการมาตั้งแต่ พ.ศ.2554 ได้มีความเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น จนนำไปสู่การประกาศใช้พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไข ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 ซึ่งเป็นก้าวที่สำคัญในการบูรณาการและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่นอย่างครบวงจรและมีผลบังคับใช้ตามกฎหมายในทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
รูปแบบการดำเนินงานของ พ.ร.บ. ฉบับนี้ สะท้อนความร่วมมือของหลากหลายภาคส่วนซึ่งไม่ใช่หน้าที่ หรือพันธกิจของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งในสังคม หากแต่ต้องมีความร่วมมือและประสานงานอย่างเป็น ระบบ นับตั้งแต่ภายในสถานศึกษาจนถึงชุมชนโดยรอบตัวของเด็ก ผ่านกลไกการปกครองในระดับท้องถิ่น นอกจากนั้นแล้วการดำเนินงานที่เกิดขึ้นควบคู่กับการผลักดัน พ.ร.บ. ฉบับนี้ คือการจัดทำยุทธศาสตร์การ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นระดับชาติ ปี 2560-2569 เพื่อเป็นเครื่องมือและแผนการ ปฏิบัติที่ชัดเจน โดยยุทธศาสตร์ฉบับนี้มีแนวคิดที่สำคัญคือการยึดวัยรุ่นเป็นศูนย์กลาง (teenage centered) และมีพ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชนและทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมและเป็นเจ้าของร่วมกันในการดำเนินการ ตามแนวทางที่จัดทำขึ้น
ผลจากการผลักดันและประกาศใช้ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับ พ.ร.บ. ยุทธศาสตร์ และ แผนการดำเนินงานทำให้เกิดโครงการหรือมาตรการที่ทำหน้าที่ในการป้องกันและจัดการกับปัญหาการตั้งครรภ์ ในวัยรุ่นจำนวนมาก ทั้งนี้จากการศึกษามาตรการในหัวข้อที่ 4.2 และการสัมภาษณ์เชี่ยวชาญและผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในกระบวนการกำหนดนโยบายและขับเคลื่อน (หัวข้อที่ 4.3) รวมทั้งการทบทวนบริบทที่เกี่ยวข้องกับ สถานการณ์ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นพบว่า มาตรการที่สำคัญและน่าจะมีผลทำให้การตั้งครรภ์หรือการคลอดบุตรในแม่ วัยรุ่นลดลงประกอบด้วย 6 กลุ่ม ดังต่อไปนี้
1. พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 เป็นมาตรการที่ สำคัญในการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในลักษณะองค์รวม กล่าวคือการกำหนด พ.ร.บ. ฉบับนี้มีการบูรณาการหน่วยงานหลากหลายภาคส่วนเข้ามาร่วมมือในการผลักดันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์
ในวัยรุ่นที่มีความซับซ้อนและแง่มุมในหลากมิติ ซึ่งโดยปกติแล้วหน่วยงานเพียงหน่วยงานเดียวจะไม่สามารถ แก้ไขปัญหาได้ทั้งหมด การเกิด พ.ร.บ. ฉบับนี้ยังคงช่วยแก้ไขปัญหาความล้มเหลวในการประสานงาน (coordination failure) ซึ่งเกิดจากจากกำหนดกลไกการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานและภาคส่วนต่างๆที่ เกี่ยวข้อง โดยทำให้เกิดการบูรณาการร่วมกันในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม มีเอกภาพและมี ประสิทธิภาพ
การดำเนินงานภายใต้ พ.ร.บ. ยังมีการให้อำนาจแก่รัฐมนตรีทั้ง 5 กระทรวงที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการ ออกกฎกระทรวงเพื่อการบังคับใช้ให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของ พ.ร.บ. ฉบับนี้ พร้อมทั้งมีการกำหนดกลไก ระดับชาติในการบูรณาการการทำงานร่วมกัน เพื่อเสนอนโยบายและยุทธศาสตร์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นต่อคณะรัฐมนตรี รวมถึงมีหน้าที่แก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องและให้ความเห็นเกี่ยวกับการ ออกกฎกระทรวง
นอกจากนั้น ภายใต้การดำเนินงานของ พ.ร.บ. ฉบับดังกล่าว มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ มาตรการ ที่สำคัญของแต่ละหน่วยงานที่มีความเกี่ยวข้องกับสถานการณ์การตั้งครรภ์รุ่น ดังต่อไปนี้
1) สถานศึกษา ต้องดำเนินการจัดสอนเพศวิถีศึกษาที่เหมาะสมกับวัย คุ้มครองวัยรุ่นตั้งครรภ์ให้ สามารถศึกษาได้อย่างต่อเนื่องและต้องมีระบบส่งต่อไปยังบริการอนามัยเจริญพันธุ์อื่นๆ
2) สถานบริการสาธารณสุข ต้องดำเนินการให้ความรู้การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย มีการให้บริการ อนามัยเจริญพันธุ์ที่ได้มาตรฐาน และมีระบบส่งต่อไปสู่บริการสวัสดิการสังคมอื่นๆ
3) สถานประกอบกิจการ ต้องดำเนินการให้ข้อมูลและส่งเสริมการเข้าถึงบริการอนามัยเจริญพันธุ์ แก่ลูกจ้าง รวมถึงต้องมีบริการส่งต่อไปสู่สวัสดิการสังคมอื่นๆ
4) หน่วยงานสวัสดิการสังคม ต้องดำเนินการฝึกอาชีพแก่วัยรุ่นตั้งครรภ์ และจัดหาครอบครัว ทดแทนให้วัยรุ่นที่ไม่สามารถดูแลบุตรได้เอง
5) องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น มีหน้าที่ในการออกบัญญัติท้องถิ่นในการแก้ปัญหาตามแต่บริบทของ แต่ละพื้นที่
2. มาตรการที่เกี่ยวข้องกับการใช้ถุงยางอนามัย โดยมาตรการกลุ่มนี้มีการดำเนินการมาตั้งแต่
ในช่วง พ.ศ.2535 จากการรณรงค์โครงการที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันโรคเอดส์ โดยในช่วงเวลานั้น กลุ่มเป้าหมายที่สำคัญของโครงการคือกลุ่มผู้ให้บริการทางเพศซึ่งยังไม่ใช่กลุ่มนักเรียน นักศึกษาโดยตรง การ รณรงค์ในกลุ่มวัยรุ่นมีความเฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้นนับตั้งแต่ปี 2545 ผ่านโครงการที่มีการทำกิจกรรมทั้งใน ภายในและภายนอกโรงเรียน อาทิ โครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ (Teenpath) โครงการเลิฟแคร์ “กล้ารัก กล้า เช็ค” หรือผ่านภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องที่สนับสนุนทั้งในแง่องค์ความรู้ การสอนเพศศึกษา การให้คำปรึกษาต่อ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในเรื่องนี้
ผลการผลักดันที่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจนทำให้สถิติการใช้ถุงยางครั้งแรกเป็นไปในทิศทางเพิ่มขึ้นและ เป็นไปในทิศทางเดียวกับอัตราการคุมกำเนิดครั้งล่าสุดของนักเรียนชั้น ม.5 และ ปวช.ปี 2 ในระหว่างปี 2541- 2559 (รูปที่ 4.9) ซึ่งจะเห็นได้ว่า อัตราการใช้ถุงยางในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกและครั้งล่าสุดเพิ่มสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่องในนักเรียนทั้งสองกลุ่ม โดยในข้อมูลปีล่าสุดเด็กประมาณร้อยละ 70 มีการใช้ถุงยางในการคุมกำเนิดทั้ง
ในครั้งแรกและครั้งล่าสุดในการมีเพศสัมพันธ์เป็นที่น่าสังเกตว่า ตั้งแต่ปี 2556 นักเรียนหญิงชั้น ม.5 มีอัตรา การคุมกำเนิดสูงกว่านักเรียนหญิงชั้น ปวช.ปี 2
แม้จำนวนการใช้ถุงยางอนามัยที่เพิ่มมากขึ้นในช่วงเวลาหลายปีที่ผ่านมาจะมีผลดีต่อการป้องกันการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น แต่ในข้อเท็จจริงทางการแพทย์พบว่าการใช้ถุงยางอนามัยยังคงมีข้ อจำกัดในแง่ของการ ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จึงเป็นเหตุให้แนวโน้มของการอัตราการคลอดในวัยรุ่นมีทิศทางที่แตกต่าง จากแนวโน้มการแพร่ระบาดของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งมีทิศทางเพิ่มสูงขึ้นแสดงว่าการใช้ถุงยางอนามัย อาจจะไม่ใช่ปัจจัยโดยตรงในการที่อัตราการคลอดของแม่วัยรุ่นลดลง
ร้อยละ
100 50 0 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 |
ร้อยละของวัยรุ่นหญิงม.5 ที่ใช้ถุงยางในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก ร้อยละของวัยรุ่นหญิงม.5 ที่คุมกําเนิดครั้งล่าสุด ร้อยละของวัยรุ่นหญิงปวช.ปี 2 ที่ใช้ถุงยางในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก ร้อยละของวัยรุ่นหญิงปวช.ปี 2 ที่คุมกําเนิดครั้งล่าสุด |
ที่มา: การสำรวจการเฝ้าระวังพฤติกรรมที่สัมพันธ์ต่อการตดเชื้อเอชไอวี กลุ่มนักเรียนประเทศไทย, 2562
3. การxxxxxxงานของเครือข่ายให้คำปรึกษาและการยุติการตั้งครรภ์ที่xxxxxมากขึ้น สืบเนื่องจาก การxxxxxxงานภายใต้xxxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้องหลายฉบับ ทำให้เกิดหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการรับเด็กที่ตั้งครรภ์ เข้าสู่กระบวนการดูแลทั้งสภาพร่างกายและจิตใจ อาทิ เครือข่ายแพทย์ R-SA (Referral System for Safe Abortion) เครือข่ายภายใต้โครงการxxxxxxxxการจัดบริการสุขภาพที่เป็นxxxxสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth Friendly Health Service; YFHS) รวมทั้งโครงการที่อยู่ภายใต้การxxxxxxงานของมูลนิธิ PATH2Health เป็น ต้น โดยโครงการและเครือข่ายข้างต้นมักจะมีการใช้สายด่วนในการเป็นช่องทางติดต่อxxxxxxงานกับตัว กลุ่มxxxxxxxxxxxต้องการคำปรึกษา xxxx สายด่วน 1663 เป็นต้น
การxxxxxxงานของเครือข่ายดังกล่าวได้รับการออกแบบจากปัญหาบางอย่างของกลุ่มxxxxxxxx xxxx ขาดข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลของสถานบริการ สถานบริการอยู่ห่างไกลไม่สะดวกต่อการรับบริการ ผู้ ให้บริการมีxxxxxxxxxxไม่เป็นxxxxกับวัยรุ่น เป็นต้น จึงเป็นผลให้โครงการดังกล่าวมีจุดxxxxxxxxxxxจะลดข้อจำกัด เหล่านี้ลง ด้วยการxxxxxxxxการจัดบริการสุขภาพที่เป็นxxxxกับวัยรุ่น ให้มีคุณภาพและxxxxxxเข้าถึงได้ โดยผล การxxxxxxงานของโครงการในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ในกรณีของโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน YFHS มี
จำนวนxxxxxขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นทิศทางต่อการให้คำปรึกษาและดูแลกลุ่มxxxxxxxxxxxต้องการบริการทาง การแพทย์
4. โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น เป็นโครงการที่มีจุดมุ่งเน้นในการลดอัตราการตั้งครรภ์ ซ้ำของวัยรุ่น สืบเนื่องจากข้อค้นพบว่าอัตราการตั้งครรภ์วัยรุ่นส่วนหนึ่งมีสาเหตุจากกลุ่มวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ซ้ำ ก่อให้เกิดวงจรของปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ซึ่งข้อค้นพบดังกล่าวสอดคล้องกับงานศึกษาในต่างประเทศที่ ระบุว่าการคุมกำเนิดชนิดชั่วคราวแบบกึ่งxxxx (Long-acting reversible contraception; LARC) xxxxxx ช่วยลดอัตราการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่นได้ โครงการนี้xxxxxxการภายใต้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) มีกลไกการxxxxxxงานหลักคือการสนับสนุนให้สถานบริการในเครือข่ายของ สปสช.ทั่วประเทศ ให้บริการคุมกำเนิดกึ่งxxxxแก่หญิงวัยรุ่นตั้งครรภ์โดยไม่คิดxxxxxx
ข้อมูลผลการxxxxxxxxxผ่านมาของโครงการแสดงถึงความสำเร็จของโครงการในด้านของการป้องกัน การตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอย่างเด่นชัด ในปี 2557 มีวัยรุ่นหญิงอายุต่ำกว่า 20 ปี เข้ารับบริการการคุมกำเนิดกึ่ง xxxxหลังคลอดหรือหลังแท้งจำนวน 37,258 ราย คิดเป็นร้อยละ 13.1 ของจำนวนหญิงตั้งครรภ์ที่อายุต่ำกว่า 20 ปีทั้งหมด และสัดส่วนดังกล่าวมีแนวโน้มxxxxxขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2561 มีวัยรุ่นมารับบริการ คุมกำเนิดมากถึงร้อยละ 63.1 (รูปที่ 4.10)
รูปที่ 4.10จำนวนและสัดส่วนการให้บริการคุมกำเนิดกึ่งxxxxต่อจำนวนหญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปี
ที่มา: กรมอนามัย, 2562b
5. การผลักดันการใช้ยายุติการตั้งครรภ์ (เมดาบอน) ภายใต้ความร่วมมือของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขคณะแพทย์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ และการสนับสนุนจาก Concept Foundation และ องค์การอนามัยโลก ในการศึกษาวิจัยระบบการให้บริการยุติการตั้งครรภ์ด้วยยา และการผลักดันยาให้ขึ้น ทะเบียนในปี 2557 และบรรจุในบัญชียาหลักแห่งชาติในปี 2558 เพื่อใช้ในบริการยุติการตั้งครรภ์ตาม กฎหมายและข้อบังคับแพทยสภา ทั้งนี้การใช้ยาดังกล่าวจะต้องอยู่ภายใต้การรับรองดูแลของแพทย์ โดยเฉพาะ ในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 20 ปี ที่ตั้งครรภ์
อย่างไรก็ตามจากสถิติในช่วงปี 2558-2559 พบว่ามีผู้ใช้ยาเมดาบอนจำนวน 2,858 คน เป็นกลุ่ม
วัยรุ่นอายุ 15-19 ปี เพียง 632 คน xxxxxxxxxxเป็นตัวเลขที่น้อยมากเมื่อเทียบกับจำนวนแม่วัยรุ่นที่มีถึง 90,000 คนต่อปี ทั้งนี้ในทางปฏิบัติพบว่าวัยรุ่นมีทางเลือกในการสั่งซื้อยาชนิดดังกล่าวจากต่างประเทศ ผ่านเว็บไซต์ xxxx Women on Web เป็นต้น แต่พบว่าการสั่งยาทางระบบออนไลน์อาจเกิดความเสี่ยงด้านสุขภาพของ วัยรุ่นและความเสี่ยงที่จะได้รับยาปลอม ดังนั้นจึงเป็นประเด็นสำคัญที่ต้องพิจารณาเกี่ยวกับการใช้มาตรการ ดังกล่าวว่าเพราะเหตุใดสถิติการใช้ยาชนิดดังกล่าวถึงยังxxมีอยู่อย่างจำกัด
6. การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ เนื่องจากโรงเรียนเป็นสถานที่สำคัญที่วัยรุ่น ใช้เวลาส่วนมากในแต่ละวันทำกิจกรรมและเรียนรู้ ดังนั้นการปรับปรุงข้อบังคับและหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการ ป้องกันและการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างหลีกเลี่ยงxxxxxx ตลอดระยะเวลาที่ผ่าน มาของการประกาศ พ.ร.บ. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 xxxxxxมีการกำหนด บทบาทและหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการxxxxxxxxxxxชัดเจนและเป็นระบบ นับตั้งแต่การปรับปรุงหลักสูตร จากวิชา “ชีวิตและครอบครัวศึกษา” มาสู่ “วิชาเพศศึกษา” และ “เพศวิถีศึกษา” ซึ่งมีเนื้อหาที่ครอบคลุมทั้ง ในแง่ทักษะความรู้ทางวิชาการ การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย สุขภาพ และทักษะชีวิต (life skill)
ไม่เพียงแต่การปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ของสังคมเท่านั้น กระทรวงศึกษาธิการยังมีความxxxxxxในการปรับทัศนคติมุมมองเกี่ยวกับเรื่องเพศของครู อาจารย์ ผู้สอนใน ชั้นเรียนให้มีความเข้าใจในปัญหาและนำมาสู่การกำหนดแนวทางในการจัดการกับปัญหาการตั้งครรภ์ของ นักเรียนภายในโรงเรียน ซึ่งมีแนวทางการจัดการที่xxxxxx xxxx การให้คำปรึกษา การให้เรียนจากที่บ้านในช่วง ที่ใกล้ครบกำหนดคลอด เป็นต้น อย่างไรก็ตามกระบวนการดังกล่าว ยังxxต้องมีการติดตามและประเมินผล ในทางปฏิบัติต่อไป เนื่องจากเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทัศนคติและมุมมองต่อปัญหาของแต่ละโรงเรียน
กลุ่มมาตรการข้างต้นทั้ง 6 กลุ่มซึ่งมีการxxxxxxงานที่หลากหลายมิติและมีจุดเริ่มต้นการทำงานที่เป็น ระบบ แบ่งหน้าที่การรับผิดชอบxxxxxxxxx ส่วนหนึ่งมาจากการผลักดันให้เกิดพระราชบัญญัติการป้องกันและ แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้อัตราการตั้งคลอดในวัยรุ่นมีการ เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางxxxxxขึ้น ทั้งนี้นอกเหนือจากมาตรการที่สำคัญข้างต้นแล้ว การxxxxxxงานของหน่วยงาน อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอาทิ กระทรวงมหาดไทยภายใต้การxxxxxxงานขององค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น และกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในเรื่องของการดูแลและคุ้มครองxxxxxxxxxxxxxxของวัยรุ่นตั้งแต่การ ตั้งครรภ์และภายหลังการคลอด เป็นอีกส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนและทำให้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้รับการแก้ไข อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นประโยชน์ต่อกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด
บทที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ
5.1 ต้นทุนทางเศรษฐกิจของปัญหาแม่วัยรุ่น
การประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในการศึกษานี้ เป็นการคำนวณ “ต้นทุน ค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น” วัดจากรายxxxxxxลดลงหรือสูญเสียไปเนื่องจากการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นหรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือวัดจากความแตกต่างของรายได้ตลอดชีวิต (ซึ่งคิดจากช่วงวัย ทำงาน คือ อายุ 15-60 ปี) ระหว่างกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เทียบกับกลุ่มควบคุม คือหญิงที่มีอายุ มีพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจและสังคมที่คล้ายคลึงกัน แต่xxxxxxตั้งครรภ์และเรียนต่อจนจบระดับการศึกษาตามที่วางแผน ไว้ โดยใช้วิธี Propensity Score Matching (PSM) กับข้อมูล SES เพื่อหาปัจจัยร่วมของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (AP) และคำนวณความต่างของรายได้ตลอดชีวิต (Lifetime Income) ของกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (AP) เทียบ กับกลุ่มควบคุมพบว่า กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมีรายได้ต่ำกว่ากลุ่มที่มีลักษณะxxxxอยู่ 2,811 บาทต่อคนต่อ เดือน
นอกจากนี้ยังได้วิเคราะห์เพิ่มเติมถึงความแตกต่างของรายได้ในกลุ่มxxxxxxxx คือหญิง อายุ 15-30 ปี ที่ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่นกับกลุ่มควบคุมxxxxxxได้ตั้งครรภ์ เพื่อให้เห็นภาพที่เป็นปัจจุบันชัดเจนขึ้น โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่มีการกลับเข้าเรียนเมื่อคลอดบุตรแล้ว (APS_R) และกลุ่มที่ออกจากโรงเรียนโดย xxxx (APS_D) รวมทั้งกลุ่มออกจากระบบการศึกษาxxxxxxxxครรภ์ (APO) เมื่อทดสอบด้วยแบบxxxxx PSM พบว่า กลุ่มที่ออกจากโรงเรียนโดยxxxxจากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ส่งผลให้มีการลดลงของรายได้ (4,582 บาทต่อคนต่อเดือน) สูงกว่ากลุ่มที่กลับเข้าเรียน (3,936 บาทต่อคนต่อเดือน) ในขณะที่กลุ่มที่ออกจาก ระบบการศึกษาก่อนที่จะตั้งครรภ์ ความแตกต่างของรายได้เทียบกับกลุ่มxxxxxxตั้งครรภ์จะไม่มากนัก เนื่องจาก เป็นกลุ่มที่ตัดสินใจออกจากระบบการศึกษาอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งส่วนใหญ่xxxxxxประกอบอาชีพ แต่หากพิจารณาใน กลุ่มที่ไม่มีลักษณะxxxxกับกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและxxxxxxตั้งครรภ์ ซึ่งจะเป็นกลุ่มxxxxxxจะจำเป็นต้องออกจาก ระบบการศึกษาด้วยปัจจัยอื่น xxxx ต้องออกมาช่วยหาเลี้ยงครอบครัว จะมีการลดลงทางรายได้ซึ่งคิดเป็น ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจมากที่สุด (6,073 บาทต่อคนต่อเดือน) ผลในส่วนนี้แสดงถึงนัยทางนโยบายที่ ต้องให้ความสำคัญกับการxxxxxxให้วัยรุ่นอยู่ในระบบการศึกษาและได้เรียนจบในระดับการศึกษาตามxxxxxxตั้ง ไจไว้ โดยเฉพาะกลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ควรต้องได้กลับเข้าเรียนในระบบการศึกษาโดยไม่มีอุปสรรคในการกลับ เข้าเรียนในโรงเรียนเดิมและได้เรียนจบในระดับการศึกษาตามxxxxxxตั้งไจไว้ เพื่อให้xxxxxxทำงานและมีรายxxxxxx เหมาะและxxxxxกับความรู้ความxxxxxx รวมทั้งพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบให้มีคุณภาพเพื่อรองรับ ผู้xxxxxxพร้อมที่จะกลับเข้าเรียนในระบบ ให้xxxxxxพัฒนาความรู้และทักษะความxxxxxxให้เท่าเทียมกั บผู้ที่ เรียนในระบบ
เมื่อนำความแตกต่างของรายได้ของทั้งสามกลุ่มอายุมาคำนวณความต่างของรายได้ตลอดชีวิต โดย นำไปคูณกับจำนวนปีในการทำงาน และจำนวนการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (incident) ในประเทศไทย และ ประชากรหญิงในกลุ่มช่วงอายุทั้งสามกลุ่ม
ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของแม่วัยรุ่น = การลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิตของกลุ่มผู้หญิง อายุ 15-19 ปี ซึ่งเป็นผลมาจากการมีบุตรเร็ว อยู่ที่ประมาณ 8.3 xxxxxxxบาท คิดเป็น 5.1% ของ GDP และ
เมื่อวิเคราะห์เพิ่มเติมฉากทัศน์ในxxxxxxxxรายได้มีแนวโน้มจะแตกต่างกันมากขึ้นในกลุ่มคนxxxxxxxx ตามระดับ การศึกษาที่สูงขึ้น ทำให้ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในรุ่นถัดไปจะสูงขึ้นถึง 1.2 ล้านล้านบาท หรือคิดเป็น 7.2% ต่อ GDP
5.2 มาตรการxxxxxxผลในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ผลจากการผลักดันมาตรการตาม พ.ร.บ. xxxxxxxxxx และแผนการxxxxxxงานเพื่อป้องกันและ จัดการปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พบว่า มาตรการสำคัญที่คาดว่าได้ผลจะประกอบด้วย
1. พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 เป็นส่วนสำคัญ ของมาตรการทั้งหมดในช่วงหลัง พ.ศ.2556 ซึ่งการเกิดขึ้นของ พ.ร.บ. ฉบับนี้เป็นการแสดงถึงทิศทางการแก้ไข ปัญหาของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในลักษณะขององค์รวม จากการสร้างการมีส่วนร่วมของกระทรวงทั้ง 5 กระทรวงได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงาน กระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ และกระทรวงมหาดไทย รวมทั้งการตั้งคณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ซึ่งการกำหนดบทบาทหน้าที่ในลักษณะของ พ.ร.บ. เป็นพื้นฐานสำคัญของการแก้ไขปัญหา อย่างเป็นระบบ
2. มาตรการxxxxxxxxกับการใช้ถุงยางอนามัย มีการผลักดันที่เป็นxxxxxxxxxxชัดเจน และพบความ สอดคล้องของสถิติการใช้ถุงยางครั้งแรกเปรียบเทียบกับอัตราการคุมกำเนิดครั้งล่าสุดของนักเรียนชั้น ม.5 และ ปวช.ปี 2 ในระหว่างปี 2541-2559 พบว่าข้อมูลปีล่าสุดมีเด็กประมาณร้อยละ 70 ใช้ถุงยางในการคุมกำเนิดทั้ง ในครั้งแรกและครั้งล่าสุดในการมีเพศxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxแม้จำนวนการใช้ถุงยางอนามัยจะxxxxxมากขึ้นซึ่ง ส่งผลดีต่อการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น แต่ในข้อเท็จจริงทางการแพทย์พบว่าการใช้ถุงยางอนามัยยังxxมี ข้อจำกัดในแง่ของการป้องกันโรคติดต่อทางเพศxxxxxxxx xxxx การป้องกันโรคเริม หูดหงอนไก่ เป็นต้น จึงเป็น เหตุให้แนวโน้มของการอัตราการคลอดในวัยรุ่นมีทิศทางที่แตกต่างจากแนวโน้มการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ ทางเพศxxxxxxxxและการใช้ถุงยางอนามัยอาจจะไม่ใช่ปัจจัยหลักในการลดอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
3. การxxxxxxงานของเครือข่ายให้คำปรึกษาและการยุติการตั้งครรภ์ที่xxxxxมากขึ้น ซึ่งเป็นการ xxxxxxงานที่ออกแบบจากปัญหาบางอย่างของกลุ่มxxxxxxxx xxxx ขาดข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลของสถาน บริการ สถานบริการอยู่ห่างไกลไม่สะดวกต่อการรับบริการ ผู้ให้บริการมีxxxxxxxxxxไม่เป็นxxxxกับวัยรุ่น เป็นต้น โครงการจึงมีจุดมุ่งหมายในการลดข้อจำกัดเหล่านี้ด้วยการxxxxxxxxการจัดบริการสุขภาพที่เป็นxxxxกับวัยรุ่น ให้ มีคุณภาพและxxxxxxเข้าถึงได้ และมีโรงพยาบาลที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน YFHS xxxxxขึ้นอย่างต่อเนื่อง
4. โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น โดยการฝังยาคุมกำเนิดชนิดชั่วคราวแบบกึ่งxxxx (LARC) xxxxxxช่วยลดอัตราการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่นได้ โครงการนี้xxxxxxการภายใต้สำนักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) มีกลไกการxxxxxxงานหลักคือการสนับสนุนให้สถานบริการในเครือข่ายของ สปสช. ทั่วประเทศ ให้บริการคุมกำเนิดกึ่งxxxxแก่หญิงวัยรุ่นตั้งครรภ์หลังคลอดโดยไม่คิดxxxxxx ผลการxxxxxxxxxผ่าน มาแสดงถึงความสำเร็จของโครงการในด้านของการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอย่างเด่นชัด
5. การผลักดันการใช้ยายุติการตั้งครรภ์ (เมดาบอน) ภายใต้ความร่วมมือของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข คณะแพทย์ของมหาวิทยาลัยต่างๆ และการสนับสนุนจาก Concept Foundation และ
องค์การอนามัยโลก ในการศึกษาวิจัยระบบการให้บริการยุติการตั้งครรภ์ด้วยยา และการผลักดันยาให้ขึ้น ทะเบียนในปี พ.ศ.2557 และบรรจุในบัญชียาหลักแห่งชาติในปี พ.ศ.2558 เพื่อใช้ในบริการยุติการตั้งครรภ์ ตามกฎหมายและข้อบังคับแพทยสภา ทั้งนี้การใช้ยาดังกล่าวจะต้องอยู่ภายใต้การรับรองดูแลของแพทย์ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 20 ปี ที่ตั้งครรภ์
6. การเปลี่ยนแปลงหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ เนื่องจากโรงเรียนเป็นสถานที่สำคัญที่วัยรุ่น ใช้เวลาส่วนมากในแต่ละวันทำกิจกรรมและเรียนรู้ นอกจากมีการปรับปรุงหลักสูตรจากวิชา “ชีวิตและ ครอบครัวศึกษา” มาสู่ “วิชาเพศศึกษา” และ “เพศวิถีศึกษา” ซึ่งมีเนื้อหาที่ครอบคลุมทั้งในแง่ทักษะความรู้ ทางวิชาการ การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย สุขภาพ และทักษะชีวิต (life skill) เพื่อให้สอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ของสังคมแล้ว กระทรวงศึกษาธิการยังได้ปรับทัศนคติมุมมองเกี่ยวกับเรื่องเพศ ของครู อาจารย์ ผู้สอนในชั้นเรียกให้มีความเข้าใจในปัญหาและนำมาสู่การกำหนดแนวทางในการจัดการกับ ปัญหาการตั้งครรภ์ของนักเรียนภายในโรงเรียนมากขึ้น อย่างไรก็ตามกระบวนการดังกล่าว ยังxxต้องมีการ ติดตามและประเมินผลในทางปฏิบัติต่อไป เนื่องจากเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทัศนคติและมุมมองต่อปัญหาของ แต่ละโรงเรียน
5.3 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
จากผลการศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์และมาตรการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ในประเทศไทย โดยเฉพาะตั้งแต่ พ.ศ.2545 เป็นต้นมา ทำให้นำมาสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายใน 2 ประเด็นที่ สำคัญ ดังต่อไปนี้
5.3.1 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่เกี่ยวเนื่องกับต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
จากการศึกษาพบว่าระดับการศึกษาและชั้นรายได้ทางเศรษฐกิจของครัวเรือนมีนัยยะสำคัญต่อการ เป็นแม่วัยรุ่น ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น วัดจากรายxxxxxxลดลงหรือสูญเสียไป เนื่องจากการเป็นแม่วัยรุ่น และต้นทุนในส่วนนี้จะxxxxxมากขึ้นเมื่อการเป็นแม่วัยรุ่นทำให้ไม่xxxxxxกลับเข้าใน ระบบการศึกษาและศึกษาได้จบในระดับxxxxxxxxxไว้ ผลในส่วนนี้แสดงถึงนัยยะทางนโยบายที่ต้องให้ความสำคัญ กับการxxxxxxให้วัยรุ่นอยู่ในระบบการศึกษาและได้เรียนจบในระดับการศึกษาตามxxxxxxตั้งไจไว้ โดยเฉพาะ กลุ่มตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ควรต้องได้กลับเข้าเรียนในระบบการศึกษา โดยไม่มีอุปสรรคในการกลับเข้าเรียนใน โรงเรียนเดิมและได้เรียนจบในระดับการศึกษาตามxxxxxxตั้งไจไว้ เพื่อให้xxxxxxทำงานและมีรายได้ และ ศักยภาพที่เหมาะสมกับความรู้ความxxxxxx xxxxxxxxxxx มีแม่วัยรุ่นจำนวนไม่น้อยxxxxxxพร้อมที่จะกลับเข้าเรียน ในระบบและเลือกที่จะเข้าสู่การศึกษานอกระบบ การพัฒนาคุณภาพของการศึกษานอกระบบจึงเป็นปัจจัย กำหนดสำคัญที่จะทำให้แม่วัยรุ่นxxxxxxเรียนต่อและได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะความxxxxxxxxx เหมาะสมต่อการทำงานเพื่อโอกาสในการสร้างรายได้อย่างเท่าเทียมกับผู้ที่เรียนในระบบ
ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจของการตั้งครรภ์วัยรุ่นจากการลดลงของรายได้ตลอดช่วงชีวิต ใน ศึกษานี้เป็นเพียงขั้นต้นทุนขั้นต่ำ ซึ่งยังxxxxxxรวมต้นทุนทางอ้อมอื่นๆ xxxx ต้นทุนด้านสุขภาพ ต้นทุนด้าน สวัสดิการ เมื่อวิเคราะห์เพิ่มเติม ต้นทุนค่าเสียโอกาสทางเศรษฐกิจดังกล่าวมีแนวโน้มxxxxxมากขึ้นในกลุ่ม xxxxxxxxxxxxxxx หรือกล่าวอักนัยหนึ่งคือ ต้นทุนค่าเสียโอกาสดังกล่าวจะสูงขึ้นมากในxxxxx เนื่องจากความ แตกต่างของรายxxxxxxมากขึ้นจากระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมากขึ้นระหว่างกลุ่มตั้งครรภในวัยรุ่นและไม่