สัญญาเลขที่ RDG5840005
สัญญาเลขที่ RDG5840005
รายงานxxxxxxxx xx
การพฒนาประสบการณก์ ารเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน
เพ่ือxxxxxxxxการรู้เท่าทนสื่อของนักเรยี น
ระดบช้ันมธยมศึกษาตอนต้นในจังxxxxxxxxxxxxxxxx
โดย
ดร.xxxxxx xxxxx และคณะ
มีนาคม 2561
สัญญาเลขที่ RDG5840005
รายงานxxxxxxxx xx
การพฒนาประสบการณก์ ารเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน
เพ่ือxxxxxxxxการรู้เท่าทนสื่อของนักเรยี น
ระดบช้ันมธยมศึกษาตอนต้นในจังxxxxxxxxxxxxxxxx
โดย
1. ดร.xxxxxx xxxxx มหาวทยาลยราชภัฏนครศรีธรรมราช
2. ดร.xxxxxxx xxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
3. ผศ.ดร.ประกอบ ใจมน
มหาวท
ยาลยราชภัฏนครศรีธรรมราช
เสนอต่อ
สนับสนุนโดยส˚านักงานคณะกรรมการวจัยแห่งชาติ (วช.) และส˚านกงาั น
กองทุนสนับสนุนการวจัย (สกว.)
(ความเห็นในรายงานนีเ้ ป็ นของผู้วจัย วช. สกว.ไม่จ˚าเป็ นต้องเหนด้็ วยเสมอไป)
บทสรุปสํำหรับผู้บริหำร
การวิจัยเรื่อง การพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อxxxxxxxxการรู้เท่า ทันสื่อของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) xxxxxxxxกระบวนการเรียนรู้ให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและมี ทักษะการใช้สื่อสังคมออนไลน์ 2)ศึกษากระบวนการxxxxxxxxทักษะการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ให้xxxxxxแยกประเภทและวิเคราะห์สื่อได้ 3) พัฒนารูปแบบการพัฒนา ประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และ 4) เพื่อประเมินการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของจังหวัด นครศรีธรรมราช ให้นักเรียนมีทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ที่ถูกต้อง และxxxxxxนําไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําxxxxxx
ในการวิจัยครั้งนี้ ใช้วิจัยการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้สื่อสังคมออนไลน์และให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม หลังจากนั้นใช้ แบบประเมินการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งประกอบ ด้วย 5 ด้าน คือ การประเมินความรู้เกี่ยวกับ สื่อสังคมออนไลน์ ทักษะการเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ ทักษะการวิเคราะห์เนื้อหาสื่อสังคมออนไลน์ ทักษะการประเมินเนื้อหาสื่อสังคมออนไลน์ และทักษะการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ โดย เลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 2 จํานวน 227 คน จาก 10 โรงเรียนประจํา อําเภอในจังหวัดนครศรีธรรมราช และรวบรวมข้อมูลจากการสะท้อนคิดเกี่ยวการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ของนักเรียน จากการออกมานําเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงxxxxx คือ ค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงxxxมาตรฐาน และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์ เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ในระดับดี และ
เมื่อประเมินการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ พบว่า นักเรียนมีทักษะด้านการเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ การวิเคราะห์สื่อสังคมออนไลน์ในระดับดี และมีทักษะการใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์ในระดับดี แต่มีทักษะ การประเมินสื่อสังคมออนไลน์ในระดับปานกลาง ซึ่งสอดคล้องกับการวิจัยเชิงคุณภาพที่นักเรียนเห็น ถึงประโยชน์ของการใช้สื่อสังคมออนไลน์ xxxx การมีส่วนร่วม การใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนแต่ ยังมีนักเรียนบางกลุ่มที่ยังไม่xxxxxxxxxxxxใช้สื่อสังคมออนไลน์มากนัก ดังนั้น ครูหรือผู้xxxxxxต้องคอย ชี้แนะและให้คําปรึกษา
บทคัดย่อ
รายงานการวิจัยเรื่อง การพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อ xxxxxxxxการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ผู้วิจัย และคณะได้จัดทําขึ้นในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) xxxxxxxxกระบวนการเรียนรู้ให้นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะการใช้สื่อสังคมออนไลน์ 2) ศึกษากระบวนการxxxxxxxxการรู้เท่าทันสื่อของ
นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นให้xxxxxxxxxxxxประเภทและวิเคราะห์สื่อแต่ละประเภทได้ 3) พัฒนารูปแบบการพัฒนาประสบการณ์การเรียนยรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ของนักเรียน และ4) ประเมินความรู้ ความเข้าใจและ ประเมินการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของนักเรียน เพื่อเป็นแนวทาง xxxxxxxxทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์อย่างถูกต้อง และxxxxxxนําไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจําxxxxxx
ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยและคณะได้เลือกใช้แนวทางการวิจัยแบบผสมผสาน ระหว่างการ เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ซึ่งใช้วิธีการให้นักเรียนได้สะท้อนคิดในวิธีการและความคิด เกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จํานวน 250 คน จาก 10 โรงเรียนที่เป็นโรงเรียนประจําอําเภอ โดยใช้วิชีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น และใช้สถิติเบื้องต้นในการวิเคราะห์ข้อมูล xxxx ความถี่ ส่วนเบี่ยงxxxมาตรฐาน และค่าร้อยละ
ผลจากการวิจัยพบว่า นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์เฉลี่ยอยู่ใน ระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.138 และส่วนเบี่ยงxxxมาตรฐานเท่ากับ 3.613 สําหรับทักษะความรู้เท่า ทันสื่อสังคมออนไลน์ของนักเรียน แบ่งออกเป็น 4 ด้านคือ ทักษะด้านการเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ ซี่ง นักเรียนทําได้ระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.092 และมีส่วนเบี่ยงxxxมาตรฐานเท่ากับ .908 ทักษะ ด้านการวิเคราะห์สื่อสังคมออนไลน์อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.72 และส่วนเบี่ยงxxxมาตรฐาน เท่ากับ 1.095 สําหรับด้านการประเมินเนื้อหาสื่อสังคมออนไลน์อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.58 และมีส่วนเบี่ยงxxxมาตรฐานเท่ากับ 1.485 และนักเรียนมีทักษะการใช้สื่อสังคม ออนไลน์อย่างสร้างสรรค์อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.52 และมีค่าส่วนเบี่ยงxxxมาตรฐานเท่ากับ
1.199 และสอดคล้องกับการสะท้อนคิดเกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของนักเรียนที่ต้องการให้มี การนําสื่อสังคมออนไลน์ไปใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน รวมถึงต้องการให้xxxxxxเกี่ยวกับ การรู้เท่าทันสื่อในรูปแบบของการจัดกิจกรรมเพื่อให้นักเรียนมีความxxxxxxxx xxxน่าเบื่อ รวมถึงสร้าง กระบวนการมีส่วนร่วมของนักเรียนให้เกิดขึ้นในห้องเรียน และสําหรับข้อเสนอแนะในการทําวิจัยครั้ง ต่อไปควรจะได้มีการทํากิจกรรมในโรงเรียนทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาเพื่อสร้างเสริม ประสบการณ์การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ให้กับเยาวชนที่กําลังจะเติบโตเป็นกําลังสําคัญในการ พัฒนาประเทศต่อไป
Abstract
The aims of research were to 1) promote the learning process for secondary school students to gain knowledge and social media skills, 2) study the process of promoting the media literacy skills of secondary school students, to classify and analyze the media, 3) develop a model for developing the learning experience using social media of secondary school students and 4) assess the social media literacy of secondary school students. This study used mixed-method both of quantitative and qualitative research to collect data from students in Nakhon Si Thammarat Province. This study used activities based with involves five levels of media literacy framework: knowledge, access, analyze, evaluate and create. The data were collected after respondents met all level of media literacy framework. The study used a multi-stage sampling and 250 students from 10 schools were chosen. This basic statistically were analyzed the data as percentage, mean and standard deviation.
The result of this research found that the most student know how to learn and use social media literacy as five levels: the students have understanding about social media literacy as a good level ( X =4.138, Std. = 3.613). In addition, the students can access the social media as a good level ( X =4.092, Std. = .908), and the students can analyze the contents of social media as a good level ( X =3.72, Std. = 1.095).
In the meantime, the students can evaluate the contents of social media as a medium level ( X =2.58, Std. = 1.485). Finally, the students used social media as creativity as a good level ( X =3.52, Std. = 1.199). Although, the quantitative results consistent with qualitative results as students thought that using social media in the classroom can motivate the students to participate in the classroom. However, some students do not know about how to use social media as a benefit for classroom learning and downside of social media, teachers and parents should tell them how to learn and how to perceive the good things from social media.
1
สำรบัญ
หน้ำ
บทสรุปสํำหรับผู้บริหำร (ก)
บทคัดย่อ (ภำษำไทย) (ข)
บทคัดย่อ (ภำษำอังกฤษ) (ค)
สำรบัญ (ง)
สำรบัญตำรำง (จ)
สำรบัญภำพ (ฉ)
บทที่ 1 บทนํำ
ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา 1
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 7
กรอบแนวคิดสําหรับการวิจัย 7
ขอบเขตของการวิจัย 9
xxxxxxxxxxเฉพาะ 10
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 11
บทที่ 2 ทฤษฏีเอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 13
พัฒนาการของเด็กวัยรุ่น 14
ทฤษฏีการเรียนรู้ตามศักยภาพสมอง 20
ทฤษฏีพัฒนาการทางxxxxxxxx 24
ทฤษฏีการเรียนรู้ของxxxx 25
ทฤษฏีการสร้างองค์ความรู้ 30
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 35
บทบาทของครูในxxxxxxxxx 21 36
ความรู้เกี่ยวกับการใช้xxxxxxและสื่อสังคมออนไลน์ 43
การสร้างความตระหนักรู้ 65
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสื่อสังคมออนไลน์ 80
บทที่ 3 วิธีxxxเนินกำรวิจัย
กรอบแนวคิดการวิจัย 86
ขั้นตอนดําเนินการวิจัย 88
การสร้างสื่อเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 96
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 102
ขอบเขตxxxxxxxxxศึกษา 104
ขอบเขตเนื้อหา 105
การวิจัยระยะที่ 3: วิธีการดําเนินการวิจัย และเก็บข้อมูล 105
การวิเคราะห์ข้อมูล 107
บทที่ 4 กำxxxxxรำะห์ข้อมูล
ผลการวิจัยระยะที่ 1: การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน 111
แผนกิจกรรมการจัดประสบการณ์การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์สําหรับ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น 114
รูปแบบการพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์สําหรับนักเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น 123
ผลการประเมินทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์สําหรับนักเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น 125
การสะท้อนความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ 136
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 139
ขอบเขตการวิจัย 139
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 140
การเก็บรวบรวมข้อมูล 140
การอภิปรายผล 141
สรุปผลการวิจัย 150
การนําวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงวิชาการ 150
ข้อเสนอแนะ 150
บรรณำนุกรม 152
ภำคผนวก 158
บทความสําหรับการเผยแพร่ ภาพกิจกรรม
แบบสอบถาม การนําไปใช้ประโยชน์
สำรบัญตำรำง
ตำรำงที่ หน้ำ
2.1 ลักษณะของสมอง 19
2.2 การประยุกต์ระดับความxxxxxxการรู้เท่าทันสื่อกับทฤษฏีการเรียนรู้ของxxxx27
2.3 พัฒนาการของเครือข่ายสังคมออนไลน์ 45
2.4 ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ 50
2.5 ระดับการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ 68
2.6 กรอบแนวคิดการรู้เท่าทันสื่อ 69
2.7 แนวคิดด้านความรู้และทักษะการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ จากองค์ประกอบต่างๆ ในบริบทสังคมไทย 72
2.8 การรวมกลุ่มตัวแปรเพื่อการรู้เท่าทันสารสนเทศ 73
2.9 สรุปแนวคิดด้านความรู้และทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ 74
จากองค์ประกอบหลัก
2.10 แสดงการ Grouping ตัวแปรเพื่อการรู้เท่าทันสื่อ และสารสนเทศในบริบทต่างประเทศ 75
2.11 องค์ประกอบหลักของความรู้และทักษะด้านการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ จากอินเทอร์เน็ต 77
3.1 ความxxxxxxxxxของข้อมูล Cronbach alpha procedure ขั้นทดลอง 100
3.2 ความxxxxxxxxxของข้อมูล Cronbach alpha procedure ขั้นเก็บจริง 100
3.3 การแปลความหมายของความรู้ 108
3.4 การแปลความหมายของทักษะการเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ 108
3.5 การแปลความหมายของทักษะการวิเคราะห์สื่อสังคมออนไลน์ 109
3.6 การแปลความหมายของทักษะการประเมินเนื้อหาสื่อสังคมออนไลน์ 109
3.7 การแปลความหมายของทักษะการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ 109
4.1 เกณฑ์การประเมินผล 119
4.2 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามแยกตามเพศ 125
4.3 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามแยกตามอายุ 125
4.4 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามแยกตามโรงเรียน 126
4.5 ความรู้เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ของนักเรียน 127
4.6 การประเมินทักษะการเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ 128
4.7 การประเมินทักษะการวิเคราะห์สื่อสังคมออนไลน์ 130
4.8 การประเมินทักษะการประเมินเนื้อหาสื่อสังคมออนไลน์ 131
4.9 การประเมินเนื้อหาการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ 133
สำรบัญภำพ
ภำพที่ หน้ำ
1.1 กรอบแนวคิดของการวิจัยเรื่องการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ สื่อสังคมออนไลน์เพื่อxxxxxxxxการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียน 8
2.1 เครือข่ายสังคมออนไลน์ 43
2.2 ขอบข่ายของสื่อสังคมออนไลน์ 45
2.3 Facebook ของคณาจารย์ คณะครุศาสตร์ 53
2.4 xxxxxxxxxxxxทวิตเตอร์ 54
2.5 การสอนคอมพิวเตอร์เบื้องต้นผ่าน Youtube 55
2.6 ประเทศไทยค้นหาโดยใช้ Google Map 57
2.7 วิกิพีเดีย 58
2.8 บล็อกการรู้เท่าทันการสื่อสาร 61
2.9 บล็อกฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 62
2.10 ขั้นและกระบวนการเกิดความตระหนักรู้ 64
2.11 กรอบแนวคิดของการวิจัยเรื่องการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ สื่อสังคมออนไลน์เพื่อxxxxxxxxการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียน 78
3.1 กรอบแนวคิดของการวิจัยเรื่องการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ สื่อสังคมออนไลน์เพื่อxxxxxxxxการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียน 86
3.2 การวิจัยระยะที่ 1 การวิจัยเพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน 91
3.3 แสดงการสุ่มตัวอย่างจํานวนxxxxxการ 103
4.1 องค์ประกอบพื้นฐานของการพัฒนารูปแบบการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อสร้าง ความตระหนักรู้ผ่านแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 112
4.2 รูปแบบการพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์สําหรับนักเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น 124
4.3 รูปแบบการพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์สําหรับนักเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น 143
.บทที่ 1 บทนํำ
1.1ควำมเป็นมำและควำมสํำคัญของปัญหำ
อาเซียนเป็นxxxxxxxxxxมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว และเป็นตัวอย่างของ การรวมตัวของกลุ่มประเทศที่มีพลังต่อรองในเวทีการเมือง และเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 0 ความxxxxxxxxของอาเซียน มีปัจจัยที่สําคัญ คือ การไว้ใจกันระหว่างรัฐสมาชิกอันก่อให้เกิดบรรยากาศ ที่สร้างสรรค์และเอื้อต่อความร่วมมือระหว่างกัน ทําให้สถานการณ์ในเอเซียตะวันออกxxxxxxxxมี เสถียรภาพ ความมั่นคงและความร่วมมืออย่างใกล้ชิด ในปัจจุบันประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 10 ประเทศ คือ บรูไนดารุสซาลาม กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และ เวียดนาม โดยประชาคมอาเซียนมีวัตถุประสงค์ 3 ด้านคือ 1) ทําให้ประเทศในxxxxxxxอยู่อย่างxxxxxxxx แก้ไขปัญหาภายในxxxxxxxอย่างxxxxxxxx แก้ไขปัญหาภายในxxxxxxxโดยxxxxxวิธี และยึดมั่นในหลัก ความมั่นคงรอบด้าน 2) เพื่อให้xxxxxxxเอเชียตะวันออกxxxxxxxxมีความxxxxxx xxxxxxxx และxxxxxx แข่งขันกับxxxxxxxอื่นๆ ได้ และ 3) เพิ่อพัฒนามนุษย์ ให้การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม xxxxxและ ความยุติธรรมทางสังคม ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน และการลดช่องว่าง ทางการพัฒนา (สํานักความxxxxxxxxต่างประเทศ,2558)
นอกจาก วัตถุประสงค์ทั้งสามxxxxxxxกล่าวมาแล้ว วิสัยทัศน์อาเซียน 2020 ได้ให้ ความสําคัญกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยให้ประชาชนxxxxxxเข้าถึงโอกาสการพัฒนาในด้าน ต่างๆ xxxx การศึกษา การเรียนรู้ตลอดชีวิต การฝึกอบรม นวัตกรรม การxxxxxxxxการป้องกันคุณภาพ การทํางานและการประกอบการ การวิจัย การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การพัฒนาเยาวชน ให้เป็นเยาวชนอาเซียน รวมxxxxxxเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศของเยาวชนอาเซียน โดยการพัฒนา เยาวชนอาเซียนเน้นการให้การศึกษา และให้ความรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้าน การเรียนรู้ ภาษาอังกฤษในฐานะภาษากลางของอาเซียน การxxxxxทักษะความxxxxxxในการสื่อสารและทักษะ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เยาวชนอาเซียนเป็นพลเมืองที่มีคุณค่าต่อการพัฒนาประเทศ สําหรับการให้ความสําคัญกับการศึกษานั้น ประชาคมอาเซียนมุ่งสนับสนุนให้เยาวชนอาเซียนมี การศึกษาxxxxx xxxxxxxxxxxxxxกันในสังคมได้อย่างxxxxxxxxx
ประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มอาเซียน หรือ ประชาคมอาเซียน ที่ให้ ความสําคัญกับการศึกษาและต้องการพัฒนาเยาวชนให้เป็นพลเมืองอาเซียน มีความรู้ ความxxxxxx xxxxxxxxxกับประเทศเพื่อนบ้าน โดย xxxxxxx xxxxxxxxxxxxวัต์ (2016) ได้กล่าวว่า ประเทศส่วนใหญ่ใน กลุ่มxxxxยน ให้ความสําคัญกับการศึกษา และมีระดับการลงทุนด้านการศึกษาxxxxxxxxxxxสูงมาก ทําให้
ประเทศในกลุ่มอาเซียนส่วนใหญ่ มีการเข้าถึงการศึกษาในระดับสูง โดยพบว่า อัตราการเข้าเรียนสูงใน ระดับมัธยมศึกษาชองประเทศกลุ่มอาเซียน ในปี 2012 ของประเทศส่วนใหญ่ในอาเซียนโดยเฉลี่ยอยู่xxx xxxxละ 69.5 โดยประเทศที่มีอัตราการเข้าเรียนสูงสุดคือ บรูไน (ร้อยละ 11) และประเทศส่วนใหญ่ จะมีอัตราการเข้าเรียนสูงกว่าร้อยละ 69 โดยมีเพียงสองประเทศเท่านั้นที่มีค่ําต่ํากว่าร้อยละ 50 คือ ประเทศลาว และกัมพูชา
สําหรับการเปรียบเทียบxxxxxxxxxxทางการศึกษาของนักเรียนในกลุ่มประเทศอาเซียนนั้น xxxxxxxxxxxxxxxxจากโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Programmed for International Student Assessment) หรือที่เรียกกันว่า PISA โดยเป็นการประเมินผลการเรียนการสอนของ ประเทศสมาชิกในกลุ่มองค์กร เพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยโครงการมีวัตถุประสงค์ ที่จะวัดคุณภาพทางการศึกษาของประเทศที่เข้าร่วมประเมิน สะท้อนภาพรวมของระบบการศึกษา ทักษะและความรู้ของนักเรียนในประเทศนั้นๆ โดยมีการประเมินความรู้ใน 3 ด้านหลัก คือ ด้านการ อ่าน ด้านคณิตศาสตร์ และด้านวิทยาศาสตร์ โดยผลการประเมินล่าสุดคือ PISA2012 จาก 65 ประเทศ และประเทศในกลุ่มอาเซียนที่เข้าประเมินคือ ไทย สิงคโปร์ เวียดนาม มาเลเซียและ อินโดนีเซีย สําหรับประเทศที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงสุดใน 3 ด้านคือ ประเทศสิงค์โปร์ และเวียดนาม สําหรับประเทศไทยนั้นได้คะแนนในอันดับxxxxxxxxxxดี และได้มีข้อสรุปxxxxxxสนใจในการที่จะxxxx xxระดับคุณภาพการเรียนรู้ คือ การลงทุนด้านการศึกษาที่สูง ไม่ใช่คําตอบของการxxxxxคุณภาพ การศึกษา แต่ครูที่มีคุณภาพมีความสําคัญต่อการเรียนรู้ของเยาวชน และสอนให้เยาวชนเหล่านั้นมี ความรู้ที่จะนําไปใช้ในการดํารงชีวิตได้
นอกจากกลุ่มประเทศในประชาคมอาเซียน ได้ให้ความสําคัญกับการศึกษาแล้ว ยังให้ ความสําคัญกับความxxxxxxxxxxxxxของเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกและ สังคม ทั้งxxxxxxxxxxxxและวิถีการดําเนินชีวิตของมนุษย์ เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบข้อมูล ข่าวสารxxxxxxxxxxxxxไปอย่างรวดเร็วทุกส่วนของโลก เนื่องจากการจัดการศึกษาในปัจจุบันนี้ โรงเรียนต่างๆ ได้นําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน โดยครูหรือผู้เรียนได้ให้ความสําคัญกับสื่อบนโลกอินเทอร์เน็ตที่เรียกกันว่า สื่อสังคมออนไลน์ ซึ่ง หมายถึง ช่องทางในการสื่อสารบนโลกอินเทอร์เน็ตที่มีลักษณะเปิดเผยอยู่ในพื้นที่สาธารณะ ง่ายต่อ การเข้าถึงเนื่องจากเป็นพื้นที่สาธารณะที่คนทุกเพศ ทุกวัย ทุกเชื้อชาติ ศาสนา และทุกระดับ การศึกษา ทุกสาขาอาชีพ xxxxxxxxxจะสื่อสารพูดคุยกันได้ผ่านการเขียน หรือส่งข้อความ หรือxxxx xxxxxxประสบการณ์ การใช้ชีวิตของตนเอง ผ่านรูปภาพ บทความ หรือวิดีทัศน์ และxxxxxxแบ่งปัน ความรู้เหล่านี้ให้กับผู้อื่นที่เป็นสมาชิกอยู่บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้อย่างไม่จํากัด จึงทําให้xxxxxxx แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน รวมถึงxxxxxxนําไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนxxx xxxx การสร้าง
กลุ่ม Facebook เพื่อสื่อสารระหว่างชั้นเรียนหรือกับผู้เรียน การใช้ Line เพื่อเป็นกลุ่มสื่อสารใน รายวิชาการจัดการความรู้เป็นต้น
สื่อสังคมออนไลน์ ได้เข้ามามีxxxxxxxสําคัญ ต่อการพัฒนาเยาวชนมากขึ้น เพราะสังคมใน ปัจจุบันเริ่มมีความเป็นชุมชนเมืองมากขึ้น ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัฒน์ เยาวชนรวมถึงทุกคนxxxxxxx xxxxกันในสังคม ต้องปรับตนให้เข้ากับสถานการณ์ของโลก และสิ่งสําคัญที่สุด ที่จะทําให้ทุกxxxxxxใน สังคมได้อย่างปลอดภัยและxxxxxxxxx คือ จะต้องมีการพัฒนาการศึกษาโดยการให้ความรู้ และพัฒนา ทักษะด้านต่างๆ xxxx ทักษะการxxxxxxxxกัน ทักษะการทํางานร่วมกัน ทักษะการใช้สื่อเทคโนโลยี สารสนเทศ และทักษะชีวิตให้มากขึ้น แต่การที่ทุกคนมีทักษะที่จําเป็น ต่อการxxxxxxxxกันในสังคม xxxxxxxx และสังคมโลกได้นั้น ทุกคนจะต้องฝึกฝนให้มีทักษะในการปรับตน เพื่อให้เข้ากับสภาพสังคม และเมื่อเติบโตขึ้นในสังคมแบบใด ก็ต้องปรับตัวให้เข้ากับสังคมนั้น และเมื่อสังคมมีการเปลี่ยนแปลง เข้าสู่ยุคที่มีความxxxxxxxxxxxxxทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ก็ต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ที่ เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสxxxxxxxxxxxxxxxกัน ผู้เรียนซึ่งเป็นเยาวชนอยู่ท่ามกลางสังคมที่มีการ เปลี่ยนแปลงก็จะต้องรู้เท่าทันกระแสการเปลี่ยนแปลง และมีทักษะชีวิตที่สําคัญและจําเป็นโดยเฉพาะ ทักษะด้านxxxxxx การรู้เท่าทันสื่อ การรู้เท่าทันเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งเด็กและเยาวชนในยุค ประชาคมอาเซียน จะxxxxxxxxxรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี รู้เท่าทันสื่อต่างๆ เพราะ หากไม่รู้เท่าทัน เด็กอาจถูกxxxxxxxxxง่าย เพราะการเป็นประชาคมอาเซียนจะทําให้มีสินค้า สื่อ และ เทคโนโลยีต่างๆ หลั่งไหลเข้ามามากมาย หากเด็กและเยาวชนxxxxxxการฝึกฝนxxxxx เด็กอาจกลายเป็น พวกxxxxxxxxx, บริโภคxxxx xxx ดังนั้น โรงเรียน พ่อแม่ ผู้xxxxxx ต้องคอยสั่งสอนให้เด็กและเยาวชน เหล่านั้นได้เรียนรู้xxxxxxรู้เท่าทันสื่อ xxxx ข้อความโฆษณาจากโทรทัศน์ ประกาศขายสินค้าใน อินเทอร์เน็ต หรือข้อความการสนทนากันผ่านโทรศัพท์ เป็นตัวกลางในการแนะนํา ไม่ว่าจะเป็นด้าน ลบหรือด้านบวก ต้องให้เด็กได้ฝึกการคิด และวิเคราะห์ด้วยตนเอง หรือ พ่อแม่อาจเลือกบางข่าวสาร มานั่งวิเคราะห์และพูดคุยกับลูก และให้คําแนะนํากับลูก เพื่อช่วยให้ เด็ก หรือ เยาวชนรู้จักการคิด วิเคราะห์การใช้สื่อต่างๆ เนื่องจากขณะนี้เยาวชนกําลังอยู่ในกระแสโลกาภิวัฒน์ ซึ่งเต็มไปด้วยxxxxx เสรีภาพของข่าวสารโดยปราศจากพรมแดนขวางกั้น ทําให้ผู้รับสารxxxxxxเท่าทันสื่อ ไม่รู้จักxxxxxxx xxxxxx ย่อมตกเป็นทาสของความคิด และ เป็นเยาวชนที่เสพสื่อตามxxxxxxมากกว่า การดู และคิด ตามอย่างมีสติ ดังนั้น เยาวชนในยุคประชาคมอาเซียน ควรมีความรู้และรู้เท่าทันสื่อการใช้สื่อ เทคโนโลยี เพราะจะทําให้ รู้จักวิเคราะห์xxxxxxประเด็นข้อเท็จจริงออกจากความคิดเห็น หรือxxxxxx xxxสาระ รู้จักเล่ห์เหลี่ยมและชั้นเชิงของกลุ่มประโยชน์ในสังคม รู้เท่าทันสื่อ รวมถึงใช้สื่อให้เป็น ประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง (โอเคเนชั่น,2008).
นักวิชาการหลายท่าน ได้ให้ความหมายของการรู้เท่าทันสื่อว่า การรู้เท่าทันสื่อ (media
literacy) เป็นมุมมองจากการที่บุคคลเปิดรับสื่อ และตีความหมายของเนื้อหาสื่อตามxxxxxxเปิดรับด้วย
ความตระหนักถึงผลกระทบของสื่อ และมีสติในการเปิดรับ โดยวัตถุประสงค์การรู้เท่าทันสื่อ คือ การ xxxxxxxxxxพลังอํานาจของบุคคล เพื่อให้บุคคลควบคุมสื่อ และไม่ตกอยู่ภายใต้การครอบงําของสื่อ การ รู้เท่าทันสื่อ เป็นxxxxxxxxxxxxต่อเนื่อง และจําเป็นต้องได้รับการพัฒนา เพื่อให้เยาวชนxxxxxxxxxxรู้จัก xxxxxxและวิเคราะห์สื่อได้ (xxxxxxxx,2005) สําหรับการรู้เท่าทันสื่อนั้นมีหลายมิติ ได้แก่ การรับรู้ และความเข้าใจ (cognitive) xxxxxx (emotional) xxxxxxxxxxxxx (aesthetic) ศีลธรรม หรือค่าxxxx (moral) และxxxxxxxxxxของการรู้เท่าทันสื่อ คือ การมีความxxxxxxในการตีความข่าวสาร ซึ่งเป็น แนวคิดxxxxxxรับการยอมรับระดับxxxxตามที่องค์กร xxเนสxxxxxกําหนดไว้ตามxxxxxxว่าด้วยการจัด การศึกษา เพราะสิ่งที่จําเป็น และสําคัญที่สุดในการพัฒนาเยาวชนให้มีทักษะการรู้เท่าทันสื่อ เกิดจาก เยาวชนมีทักษะในการค้นหาความรู้ รู้จักวิเคราะห์ข่าวสารและแลกเปลี่ยนข่าวสารเพื่อขยายความรู้ และxxxxxxxxxxxxxความรู้ที่มีอยู่แล้วของเยาวชนให้ดีขึ้น (เขมxxxxx มิ่งxxxxxxxx, 2556) จึงกล่าวได้ ว่า การรู้เท่าทันสื่อ คือ ความxxxxxxในการวิเคราะห์ วิจารณ์และประเมินค่าสื่อ ความxxxxxxในการ เข้าถึงสื่อ และความxxxxxxในการป้องกันตนเองจากการถูกจูงใจจากเนื้อหาของสื่อ xxxxxxxxx วิเคราะห์เนื้อหาของสื่ออย่างมีวิจารณญาณ เพื่อให้xxxxxxควบคุมการตีความเนื้อหาของสื่ออย่างมี วิจารณญาณ เพื่อให้xxxxxxควบคุมการตีความเนื้อหาของสื่อxxxxxหรือฟัง (xxxxx xxxxxxทองคํา,2011) ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า การรู้เท่าทันสื่อ คือ ความหมายของการรู้เท่าทันสื่อที่เราต้องการให้ เยาวชนไม่หลงเชื่อเนื้อหาที่xxxxxx xxxอ่าน ได้ฟัง แต่xxxxxxคิด วิเคราะห์ สงสัยและรู้จักตั้งคําถามว่า จริงหรือไม่จริง ใครเป็นผู้ให้ข้อมูล มีจุดมุ่งหมายแอบแฝงหรือไม่ ต้องการสื่อสารให้ใคร ใครได้ ประโยชน์ ซึ่งจะเห็นได้ว่าการรู้เท่าทันสื่อเป็นเรื่องที่สําคัญมากสําหรับเยาวชนในยุคประชาคมอาเชียน และในยุคแห่งโลกาภิวัฒน์เนื่องจากในปัจจุบันสื่อออนไลน์ต่างๆได้เข้ามามีบทบาทในทุกๆxxxx xxxx ด้านการใช้ชีวิตในสังคม ด้านเศรษฐกิจ ไม่เว้นแต่ด้านการเรียนการสอน ที่สื่อสังคมออนไลน์ได้เข้ามามี บทบาท ในการจัดการเรียนการสอนให้กับเยาวชน โดยเยาวชนxxxxxxเลือกรับ และใช้ประโยชน์จาก สื่อในทางสร้างสรรค์เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม และสําหรับในการพัฒนา เยาวชนในยุคประชาคมอาเซียน ให้เป็นเยาวชนที่มีคุณภาพ และรู้เท่าทันสื่อนั้น ได้สอดคล้องกับการ จัดการเรียนรู้ในxxxxxxxxx 21 ที่เน้นให้เยาวชนมีทักษะสําหรับการรู้เท่าทันสื่อ ซึ่งประกอบด้วย 5 ด้าน คือ 1) ทักษะในการเข้าถึง (access skill) เป็นทักษะที่จะช่วยให้เยาวชนxxxxxxรวบรวม ข้อมูลที่เหมาะสมเป็นประโยชน์ และ มีxxxxxxxxxxxxxxxxเข้าในความหมายของเนื้อหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2) ทักษะการวิเคราะห์ (analyze skill) เป็นทักษะที่ช่วยให้เยาวชนมีความxxxxxx ใน การตรวจสอบการออกแบบทั้งรูปแบบ เนื้อหาสาระ โครงสร้างของเนื้อหาสาระ และลําดับเหตุการณ์ ของเนื้อหา 3)ทักษะการประเมินเนื้อหา (evaluate skill) เป็นทักษะที่ช่วยให้เยาวชนxxxxxx เชื่อมโยงเนื้อหา ไปยังประสบการณ์ส่วนบุคคลและทําการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง 4)ทักษะการ สร้างสรรค์ (create skill) เป็นทักษะที่ช่วยให้เยาวชนได้แสดงออกซึ่งความคิดของตนเอง ทั้งใน
รูปแบบของเสียง หรือภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ 5) ทักษะการมีส่วนร่วม (participate skill) เป็นทักษะที่ช่วยให้เยาวชนxxxxxxทํางานร่วมกับผู้อื่นได้ และจากรายงานผลสํารวจพฤติกรรมผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2557 โดยสํานักธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (2557) พบว่า เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่คนxxxxxxxใช้มากที่สุด 5 อันดับ คือ Facebook, Line, Google, Instagram และ twitter และสําหรับอันดับ 1 ของการใช้ งานคือ Facebook ร้อยละ 93.7 อันดับ 2 คือ Line application ร้อยละ 86.3 อันดับ 3 คือ google plus ร้อยละ 34.6 ส่วน Instagram และ twitter มีผู้ใช้เพิ่งสูงถึงร้อยละ 34.1 จากที่กล่าวมา จะเห็น ได้ว่ากลุ่มผู้ใช้ Facebook มีจํานวนสูงสุด เนื่องจากxxxxxxสื่อสาร ส่งต่อ หรือแบ่งปันข้อมูลข่าวสาร ต่างๆ ได้ หรือแม้แต่นํา Facebook มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เป็นกิจกรรมหลัก หรือกิจกรรมเสริมก็ได้ ทําให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ และxxxxxxแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น ร่วมกันได้ โดยครูและนักเรียนxxxxxxพูดคุย แสดงความคิดเห็น สอบถาม รวมถึงให้คําแนะนําและ คําปรึกษา โดยไม่ต้องมีค่าใช้จ่ายใดๆ และนอกจากนี้การประยุกต์ใช้ Facebook หรือ สื่อสังคม ออนไลน์ประเภทอื่นๆ xxxxxxกระตุ้นพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ เกิด ความอยากรู้ อยากเรียน แต่อย่างไรก็ตาม ครูผู้สอนจะต้องคํานึงถึงคือ การสอนให้ผู้เรียนตระหนักรู้ และรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ที่มีอยู่มากมายในปัจจุบัน การตระหนักรู้เป็นขั้นต่ําสุดของxxxxxxและ ความรู้สึก (xxxxxxxx xxxxxxx, 2554,47) ความตระหนักรู้คล้ายกับความรู้ ตรงที่ความรู้และความ ตระหนักรู้ไม่ใช่สิ่งเร้า ความตระหนักรู้จึงเกิดขึ้น เมื่อมีสิ่งเร้าเข้ามาให้เกิดความตระหนัก หรือเป็น พฤติกรรมที่ฉุกคิด ดังนั้น เมื่อผู้เรียน หรือนักเรียนอยู่ในโลกที่มีสื่อสังคมออนไลน์มากมาย และส่งผล ต่อการดําเนินชีวิตทั้งด้านความรู้ ด้านความรู้สึก และการใช้สื่อสังคมออนไลน์เกิดขึ้นได้อย่างxxxxxจาก บุคคลใด บุคคลหนึ่งหรือกลุ่มคนที่มีความคิดเห็นคล้ายกัน และแสดงความคิดเห็นร่วมกันบนสื่อสังคม ออนไลน์ และบางครั้งข้อมูลข่าวสารที่ปรากฏในสื่อสังคมออนไลน์ อาจจะบิดเบือนจากความเป็นจริง รวมถึงไม่ผ่านกระบวนการกลั่นกรองแต่นํามาใช้อย่างผิดๆ ก็จะส่งผลต่อความรู้นึกคิด เจตคติของ เยาวชนหรือนักเรียนxxxxxxxxxxxxรู้เท่าทันสื่อ หรือเกิดความตระหนักรู้ จึงอาจเกิดความผิดพลาดขึ้นได้ โดยxxxxxxxxx ดังนั้น ความตระหนักรู้และรู้เท่าทันสื่อ จึงเป็นการพัฒนาความคิดความอ่าน และการรับรู้ อย่างมีวิจารณญาณ xxxxxxxxxxxxความเห็นออกจากความจริง และxxxxxxตัดสินใจได้อย่าง ถูกต้อง การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์นั้น ย่อมเกิดจากกระบวนการเรียนรู้ และฝึกฝนจนเป็นทักษะ และนอกจากนี้การรู้เท่าทันสื่อนั้น เปรียบเสมือนการทําความเข้าใจสภาพจริงอย่างมีสติ ไม่ว่าจะเป็น ผู้รับสารหรือผู้ส่งสาร และสําหรับการวิจัยในด้านการรู้เท่าทันสื่อนั้นพบว่า เยาวชนมีความไม่เข้าใจใน การใช้สื่อสังคมออนไลน์มากนัก ซึ่งปรากฏจากที่เป็นข่าวในหนังสือพิมพ์ รวมถึงประสบการณ์การสอน ในระดับอุดมศึกษาของผู้สอน ทําให้พบว่าเยาวชนส่วนใหญ่คิดว่าการใช้สื่อสังคมออนไลน์ทําให้มีxxxxx
ทางความคิด และxxxxxxสื่อสารทุกอย่างที่คิดลงไปได้ โดยไม่คํานึงถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในภายหลังทํา ให้เกิดปัญหาตามมา
จากที่กล่าวมาคือ แนวทางสําหรับการพัฒนาเยาวชนในยุคประชาคมอาเซียนให้เกิด ความรู้ และรู้ท่าทันสื่อ ซึ่งเราจะมีวิธีการอย่างไร ให้เยาวชนเหล่านั้นไม่หลงผิด และไม่ตกอยู่ใน xxxxxxxของสื่อสังคมออนไลน์ได้โดยง่าย ดังนั้น เราจึงจําเป็นต้องพัฒนาเยาวชนเหล่านั้นให้เกิดความ ตระหนักรู้ในการใช้สื่อต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งผู้วิจัยได้เห็นถึงความสําคัญของการพัฒนา เยาวชนเหล่านั้น ให้เกิดความตระหนักรู้ และรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ โดยการวิจัยครั้งนี้ เป็น ลักษณะของการสร้างเสริมประสบการณ์ให้กับเยาวชนหรือนักเรียน และในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัย ได้เลือกศึกษาในพื้นที่ของจังหวัดนครศรีธรรมราช เนื่องจากจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดที่มี พื้นที่ขนาดใหญ่ มีประชากรจํานวนมาก และประชากรส่วนใหญ่คือ เยาวชนที่กําลังเจริญเติบโต และ เข้าถึงสื่อได้อย่างรวดเร็ว โดยผ่านโทรศัพท์มือถือ หรือ การใช้อินเทอร์เน็ตในโรงเรียน หรือ การใช้ อินเทอร์เน็ตที่บ้าน ทําให้เกิดปัญหาสังคมอยู่xxxxx xxxx เด็กนักเรียนทะเลาะวิวาท ตบตีกัน โดย สาเหตุมาxxxxxxxxxของเพื่อนชาย และได้มีการถ่ายคลิปการตบตีกันนั้น เผยแพร่ผ่านโลกสังคมออนไลน์ ทําให้เกิดปัญหาสังคมอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งทําให้เห็นว่าเยาวชนบางส่วนไม่xxxxxxxxxxxxหรือวิเคราะห์ ให้เห็นถูกผิดของการใช้สื่อสังคมออนไลน์ได้ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงให้ความสําคัญกับการพัฒนาเยาวชน เหล่านั้น ให้มีความรู้ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ รู้จักxxxxxxและใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ โดยผู้วิจัยได้นําแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้สื่อสังคมออนไลน์ โดยผ่านกระบวน 5 ขั้นตอน ตามกรอบแนวคิดของ Center for Media Literacy (2008) มาประยุกต์ใช้ในงานวิจัยครั้ง นี้ คือ 1) ความรู้เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชน 2) ทักษะในการเข้าถึง (access skill) ซึ่งเป็น ทักษะที่จะช่วยให้เยาวชนเหล่านี้xxxxxxรวบรวมข้อมูล เนื้อหาที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์กับ ตนเอง 3) ทักษะการวิเคราะห์ (analyze skill) เป็นทักษะที่ช่วยให้เยาวชนมีความxxxxxxในการ ตรวจสอบ การออกแบบทั้งรูปแบบของเนื้อหาสาระ โครงสร้างของเนื้อหาสาระ และลําดับเหตุการณ์ ของเนื้อหาได้ 4) ทักษะการประเมินเนื้อหา (evaluate skill) ทักษะนี้จะช่วยให้เยาวชนxxxxxx เชื่อมโยงเนื้อหาไปยังส่วนประสบการณ์ส่วนตัวของเยาวชนทําให้ตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง และ 5) ทักษะการสร้างสรรค์ (create skill) เนื่องจากเยาวชนทุกคนย่อมมีทักษะการสร้างสรรค์งานของ ตนเอง โดยมีแนวคิดหรือไอเดียการใช้สื่อที่xxxxxxนํามาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใน การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้เลือกพื้นที่ คือ โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดนครศรีธรรมราชเนื่องจาก การจัดการเรียนรู้ในระดับมัธยมศึกษานั้น เป็นช่วงที่เยาวชนเหล่านั้นมีอายุระหว่าง 13-15 ปี ซึ่งเป็น ช่วงวัยรุ่นตอนต้นที่ โรงเรียน ครู หรือผู้xxxxxxต้องคอยเอาใจใส่เนื่องจากเด็กและเยาวชนบางส่วนไม่ xxxxxxxxxxxx หรือวิเคราะห์เนื้อหาxxxxxxรับจากสื่อสังคมออนไลน์ได้ทั้งหมด และถ้าโรงเรี ยน ครู หรือผู้xxxxxxxxxxxxxxก็จะทําให้เด็กและเยาวชนxxxxxxใช้สื่อสังคมออนไลน์ได้อย่างถูกต้อง เพราะ
สื่อสังคมออนไลน์มีประโยชน์ในด้านของการค้นหาหรือแสวงหาความรู้ และถ้าเยาวชนหรือนักเรียน xxxxxxxxxxxxได้อย่างถูกวิธีก็จะxxxxxxค้นหาข้อมูล หรือแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง และในการ วิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังที่กล่าวไว้ในหัวข้อถัดไป
1.2 วัตถุประสงค์xxxxxรวิจัย
ในการวิจัยครั้งครั้งมีวัตถุประสงค์ของการการวิจัย ดังนี้
1. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสําหรับการออกแบบกิจกรรมการจัดประสบการณ์ การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์สําหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
2. เพื่อออกแบบและพัฒนาแผนกิจกรรมการจัดประสบการณ์การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ สําหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
3. เพื่อสังเคราะห์รูปแบบการพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์สําหรับนักเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น
4. เพื่อประเมินทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์สําหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
1.3 กรอบแนวคิดสํำหรับกำรวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้ได้ประยุกต์ใช้ตามแนวคิดของการรู้เท่าทันสื่อตาม Center for Media Literacy (2008) โดยประกอบด้วยดังนี้ คือ 1.ทักษะการเข้าถึง 2. ทักษะการวิเคราะห์ (Analyze Skill) 3. ทักษะการประเมินเนื้อหา (Evaluate Skill) และ 4. ทักษะการสร้างสรรค์ (Create Skill)
สําหรับส่วนที่เพิ่มเติมเพื่อให้กรอบแนวคิดเกิดความxxxxxxxแบบ ก็คือ ความรู้เกี่ยวกับ สื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งในกรอบแนวคิดนี้จะประกอบด้วยตัวแปรxxxxx และตัวแปรตาม โดยตัวแปร xxxxx คือ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ตามแผนกิจกรรมการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ ส่วนตัว แปรตามประกอบด้วย 2 ตัวแปร คือ รูปแบบการรู้เท่าทันสื่อผ่านแผนกิจกรรมการพัฒนา ประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ และผลการประเมินการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ ของเยาวชน ซึ่งประกอบด้วย 5 ด้าน ดังภาพที่ 1.1 ในหน้า 8
กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ตำม แผนกิจกรรมกำรรู้เท่ำทันสื่อสังคม ออนไลน์
▪ xxxxxxxxxxการเรียนรู้
▪ สถานการณ์จําxxxตามแผนการ จัดการเรียนรู้
▪ กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่ว่ม
▪ การประเมินผล
แผนกิจกรรม
▪ บทเรียนความรู้เกี่ยวกับสื่อสังคม ออนไลน์
▪ การเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์
▪ การวิเคราะห์เนื้อหาสื่อสังคม ออนไลน์
▪ การประเมินเนื้อหาสื่อสังคม ออนไลน์
▪ การใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่าง สร้างสรรค์
1.รูปแบบกำรรู้เท่ำทันสื่อตำม แ ผ น xx x x x ร ม ก ำ ร พั ฒ น ำ ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้สื่อ สังคมออนไลน์
2. ผลกำรประเมินกำรรู้เท่ำทัน สื่อสังคมออนไลน์ของเยำวชน ตำมตัวชี้วัด 1.มีความรู้เกี่ยวกับสื่อสังคม ออนไลน์ของเยาวชน 2.มีทักษะการเข้าถึงสื่อสังคม ออนไลน์ 3.มีทักษะการวิเคราะห์สื่อ สังคมออนไลน์
4. มีทักษะการประเมินเนื้อหา สื่อสังคมออนไลน์ 5.มีทักษะการใช้สื่อสังคม ออนไลน์อย่างสร้างสรรค์
▪ ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้แบบ คอนสตรัคติวิสม์
▪ ทฤษฎีการพัฒนาศักยภาพสมอง
▪ ทฤษฏีการเรียนรู้ของ Bloom
ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเรื่องการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์เพื่อxxxxxxxxการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในจังหวัดนครศรีธรรมราช
จากกรอบแนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยในครั้งนี้ประกอบไปด้วยตัวแปรxxxxxและตัวแปรตาม ดังนี้ ตัวแปรxxxxx หรือตัวแปรต้น คือ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแผนกิจกรรมการรู้เท่าทัน สื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ คือ xxxxxxxxxxการเรียนรู้ สถานกรณ์จําxxxตาม แผนการจัดการเรียนรู้ การเรียนรู้แบบร่วมมือ และการประเมินผล ส่วนตัวแปรตามประกอบด้วย 2 ตัวแปรคือ รูปแบบการรู้เท่าทันสื่อตามแผนกิจกรรมพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับสื่อสังคม ออนไลน์ และผลจากการศึกษาเกี่ยวกับการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชน ซึ่งประกอบด้วย ความรู้และทักษะ 5 ด้านคือ ด้านความรู้เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ การเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ การ วิเคราะห์สื่อสังคมออนไลน์ การประเมินเนื้อหาสื่อสังคมออนไลน์ และ ด้านการใช้สื่อสังคมออนไลน์ อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งกรอบแนวคิดนี้จะได้อธิบายอย่างละเอียดในบทที่ 2
1.4 ขอบเขตxxxxxรวิจัย
1.4.1 ขอบเขตด้ำนประชำกร
สําหรับการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้เลือกจากโรงเรียนประจําอําเภอในจังหวัด นครศรีธรรมราชซึ่งประกอบด้วยทั้งหมด 23 อําเภอ โดยผู้วิจัยได้ใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนดังนี้
1. จํานวนอําเภอในจังหวัดนครศรีธรรมราชมีทั้งหมด 23 อําเภอ
2. สุ่มจํานวนอําเภอมาทั้งหมด 11 อําเภอ โดยใช้เกณฑ์ร้อยละ 50 (วาxx xxxxxxxxxxx,2551)
3. สุ่มโรงเรียนจากอําเภอในข้อ 2 มาอําเภอละ 1 โรงเรียน โดยใช้วิธีการสุ่ม อย่างง่ายแบบจับxxxx มีทั้งหมด 11 โรงเรียน
4. สุ่มนักเรียนจากโรงเรียนที่สุ่มในข้อ 3 มาโรงเรียนละ 20 คน โดยวิธีการสุ่ม อย่างง่ายจะได้นักเรียนทั้งหมด 220 คน
โดยกลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้เป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งเรียนในกลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตามหลักสูตร xxxxxxxการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
1.4.2 ขอบเขตxxxxxxxxxศึกษำ
1.ตัวแปรxxxxx ซึ่งประกอบด้วยตัวแปรย่อยดังนี้
1.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์
1.2 การเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์
1.3 การวิเคราะห์สื่อสังคมออนไลน์
1.4 การประเมินสื่อสังคมออนไลน์
1.5 การใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์
2. ตัวแปรตำม ได้แก่
2.1 รูปแบบการรู้เท่าทันสื่อตามแผนกิจกรรมการพัฒนาประสบการณ์การ เรียนรู้สื่อสังคมออนไลน์
2.2 ผลการประเมินการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชน
1.4.3 ขอบเขตเนื้อหำ
ขอบเขตของเนื้อหาเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร รหัสวิชา ง 22102 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 การค้นหาข้อมูลและการติดต่อสื่อสารผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
1.5 นิยำมศัพท์เฉพำะ
กำรรู้เท่ำทันสื่อ หมายxxx xxxอ่านสื่อให้ออกเพื่อพัฒนาทักษะในการเข้าถึงสื่อสังคม ออนไลน์ ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องให้ความสําคัญให้เยาวชนได้มีสมรรถนะในการรู้เท่าทันสื่อ การวิเคราะห์สื่อ การตีความเนื้อหาของสื่อ การประเมินค่าและการเข้าใจผลกระทบของสื่อ รวมถึงความxxxxxxใช้สื่อ ให้เกิดประโยชน์ได้ซึ่งเป็นกระบวนในการพัฒนาศักยภาพทางความคิดเพื่อเป็นการป้องกันตัวเองจาก ผลกระทบในด้านลบจากสื่อได้เป็นอย่างดี (xxxxxxx เย็นจะบก,2552,7)
สื่อสังคมออนไลน์ (social network) คือสื่อที่ผู้ส่งสารแบ่งปันสาร ซึ่งอยู่ในรูปแบบ
ต่างๆ ไปยังผู้รับผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรือที่เรียกกันว่าเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยที่ผู้สื่อสาร และผู้รับสารxxxxxxxxxxxตอบโต้กันได้ในขณะเวลาเดียวกันหรือต่างช่วงเวลา สื่อสังคมออนไลน์ที่ xxxxใช้กันในปัจจุบัน xxxx Facebook, Line, Twitter เป็นต้น และสื่อสังคมออนไลน์นั้นมีหลาย ประเภท และเราควรจะxxxxxxสื่อสังคมออนไลน์ได้ คือ นักเรียนหรือเยาวชนควรจะมีทักษะการ รู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ให้ครอบคลุม คือ มีความรู้ ความเข้าใจ ในสื่อสังคมออนไลน์ มีทักษะการ เข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ มีทักษะการวิเคราะห์สื่อสังคมออนไลน์ มีทักษะการประเมินเนื้อหาสื่อสังคม ออนไลน์ มีทักษะการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์
กำรรู้เท่ำทันสื่อสังคมออนไลน์ การที่เราไม่หลงเชื่อเนื้อหาxxxxxxอ่าน xxxxxx xxxฟัง แต่
xxxxxxคิด วิเคราะห์ สงสัย และ รู้จักตั้งคําถาม เป็นต้นว่า จริงหรือไม่จริง ใครเป็นคนให้ข้อมูล เขา ต้องการ สื่อสารอะไร มีจุดมุ่งหมายแอบแฝงหรือไม่ ต้องการสื่อสารให้ใคร ใครได้ประโยชน์ ฯลฯ ซึ่ง นักเรียนหรือเยาวชน ควรมีความรู้และทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ที่ครอบคลุมทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ ด้านการเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ ด้านการวิเคราะห์ เนื้อหาสื่อสังคมออนไลน์ ด้านการประเมินเนื้อหาสื่อสังคมออนไลน์ และด้านการใช้สื่อสังคมออนไลน์ อย่างสร้างสรรค์
อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยxxx xxxรู้จักกันในนามของไซเบอร์สเปซ (Cyberspace) อินเทอร์เน็ตทําให้ การเคลื่อนย้ายและส่งผ่านข่าวสารข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ราคา ประหยัด xxxxxxส่งข้อมูลได้หลากหลายรูปแบบ xxxx ข้อความ รูปภาพ วิดีโอ เสียง (มูลนิธิ อินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย,2012)
เทคโนโลยีสำรสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ประกอบไปด้วยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพื่อใช้ในกระบวนการสร้างสรรค์ จัดหา จัดเก็บ ค้นคืน จัดการถ่ายทอดและเผยแพร่ข้อมูลในรูปดิจิทัล (Digital Data) ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพเคลื่อนไหว
ทักษะกำรรู้เท่ำทันสื่อสังคมออนไลน์ หมายทักษะทั้ง 5 ขั้น ซึ่งประกอบด้วย ความรู้
เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ ทักษะการเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ ทักษะการประเมินสื่อสังคมออนไลน์ ทักษะการวิเคราะห์สื่อสังคมออนไลน์ ทักษะด้านการประเมินสื่อสังคมออนไลน์และทักษะการใช้สื่อ สังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์
1.6 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
สําหรับประโยชน์xxxxxxรับจากการทําวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 3 ด้านดังนี้
1. ประโยชน์ต่อกลุ่มเป้ำหมำย
1.1 เยาวชนมีความเข้าใจและรู้เท่าทันการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดการเรียนรู้ และxxxxxxนํามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําxxxxxx
2 ประโยชน์ในเชิงวิชำกำร
การวิจัยครั้งนี้เป็นการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อxxxxxxxxการรู้เท่าทันสื่อของ เยาวชน ที่จะนํามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
2.1 ได้รูปแบบการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อxxxxxxxxการรู้เท่าทันสื่อของ
เยาวชน
2.2 รูปแบบการจัดกิจกรรมการเข้าถึงข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการประเมิน
เนื้อหาของสื่อสังคมออนไลน์เพื่อให้เยาวชนเกิดความรู้เท่าทันสื่อ
3. ประโยชน์ในเชิงxxxxxรนํำไปใช้
3.1 ครูxxxxxxนํารูปแบบการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อxxxxxxxxการรู้เท่าทัน สื่อสังคมออนไลน์ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนได้
3.2 นักเรียนมีความรู้เท่าทันสื่อและใช้ประโยชน์ของสื่อได้อย่างถูกต้อง
บทที่ 2 ทฤษฎีเอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
สําหรับการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องตามหัวข้อดังต่อไปนี้
2.1 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
2.2 พัฒนาการของเด็กวัยรุ่น
2.3 ทฤษฏีการเรียนรู้ตามศักยภาพสมอง (Brain-based learning theory)
2.4 ทฤษฏีพัฒนาการทางxxxxxxxx
2.5 ทฤษฏีการเรียนรู้ของxxxx (Bloom Taxonomy)
2.6 ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
2.7 หลักสูตรการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551
2.8 ความรู้เกี่ยวกับการใช้ไอซีทีและสื่อสังคมออนไลน์
2.9 การสร้างความตระหนักรู้และรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้
สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2536 : 58 ) ได้ให้ความหมายของ การจัดประสบการณ์ไว้ว่าการจัดประสบการณ์ หมายถึง การจัดกิจกรรมตามแผนการจัดประสบการณ์ และการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในห้องเรียนให้กับนักเรียน โดยให้ได้รับประสบการณ์ ตรงจากการเล่น การลงมือปฏิบัติ ซึ่งจะทําให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี และเพื่อส่งเสริมพัฒนาการให้ครบทุก ด้านทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาเป็นการปูพื้นฐาน หรือพัฒนาทักษะที่ จําเป็นต่อการเรียนรู้ได้ดี และสําหรับในงานวิจัยนี้ เป็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับสื่อ สังคมออนไลน์ ให้กับนักเรียนในระดับมัธยมศึกษา เพื่อช่วยเสริมสร้างประสบการณ์ให้นักเรียนมีทักษะ การเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ ทักษะการวิเคราะห์สื่อสังคมออนไลน์ ทักษะการประเมินเนื้อหาสื่อสังคม ออนไลน์และทักษะการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ และในการวิจัยนี้ผู้วิจัยได้เพิ่มเนื้อหาการ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ ในด้านของการให้ความรู้เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ให้กับนักเรียนเพื่อให้ เกิดการเรียนรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์มากขึ้น
ภรณี คุรุรัตนะ (2540:49) กล่าวว่า การจัดประสบการณ์ เป็นการจัดระบบประสบการณ์ ที่มีการกําหนดจุดประสงค์ แนวทางการดําเนินกิจกรรมโดยเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ในกิจกรรมต่างๆ ในการดําเนินกิจกรรม ครูผู้สอนควรคํานึงถึงการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างครูกับผู้เรียน ผู้เรียนกับ
ผู้เรียนจัดหาสื่อ อุปกรณ์ให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างเหมาะสมกับวัย และมีการประเมินผลการเรียนรู้ของ เด็กจากกิจกรรม โดยให้ครอบคลุมพัฒนาการในทุกด้าน
ชิตาพร เอี่ยมสะอาด (2548:91) กล่าวว่า การจัดประสบการณ์ หมายถึง กระบวนการ จัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน ในรูปของกิจกรรม และการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายใน และ ภายนอกห้องเรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรงโดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 เพื่อส่งเสริม พัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา
จากที่กล่าวมา สรุปได้ว่า การจัดประสบการณ์เป็นการกําหนดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับ ผู้เรียนผ่านกระบวนการสอน โดยรูปแบบของกิจกรรม อาจจะมีความแตกต่างกันไปตามธรรมชาติ ของรายวิชา ซึ่งในกระบวนการจัดกิจกรรมนั้น ควรคํานึงถึงวัยของผู้เรียนว่ามีความเหมาะสมกับวัย หรือไม่
2.2 พัฒนำกำรของเด็กวัยรุ่น
2.2.1 ควำมหมำยของพัฒนำกำร วุฒิภำวะ และกำรเรียนรู้
อัชรา เอิบสุขสิริ (2557) ได้ให้ ความหมายของพัฒนาการของการเจริญเติบโตของเด็กไว้ว่า พัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างการย จิตใจ อารมณ์และสังคม ภายใต้อิทธิพลของ พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งพัฒนาการมีผลมาจากวุฒิภาวะ และการเรียนรู้ วุฒิภาวะ คือ ความสามารถสูงสุดของแต่ละวัย หรือ ความสามารถประจําวัย เช่น อายุ 1 ขวบเริ่มหัดพูดได้ 2 ขวบ เดินได้ วิ่งได้ วัยรุ่นสามารถเจริญพันธ์ได้ และ เราสามารถแบ่งวุฒิภาวะเป็น 4 ด้าน ได้แก่ วุฒิภาวะ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา บุคคลปกติควรจะมีวุฒิภาวะครบทั้ง 4 ด้าน ในช่วงวัย หนุ่มสาว (อายุประมาณ 20 ปีขึ้นไป) ผู้ที่มีวุฒิภาวะ จะเป็นผู้ที่มีความสามารถตามวัย มีพฤติกรรมที่ เหมาะสมกับเวลา สถานที่และบุคคลแวดล้อม ผู้ที่มีวุฒิภาวะ มักมีเป้าหมายในชีวิตที่ชัดเจน และวุฒิ ภาวะมีความสําคัญอย่างมาก ต่อการเรียนรู้ ถ้าบุคคลได้เรียนรู้อย่างสอดคล้องกับวุฒิภาวะ เข้าจะ เรียนรู้ได้ง่ายและรวดเร็ว แต่ถ้าต้องเรียนรู้สิ่งใด ในขณะที่ยังไม่มีวุฒิภาวะ ก็จะเรียนรู้ด้วยความ ยากลําบาก หรือ ไม่สามารถเรียนรู้ได้ เช่น เด็ก 2 ขวบ เรียนบวกลบเลข 2 หลัก เขาอาจไม่สามารถ เรียนรู้ได้ แต่ถ้าเด็กอายุ 6 ขวบเรียน เขาจะเข้าใจได้ง่ายขึ้น
การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็นผลมาจากประสบการณ์ หรือ การฝึกฝน แต่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษย์มิได้เป็นการเรียนรู้เสมอไป ในระยะแรก ๆ ของ ชีวิต พัฒนาการส่วนใหญ่เป็นผลมาจากวุฒิภาวะ ซึ่งหมายถึง การเปลี่ยนแปลง ซึ่ง หมายถึง การ เปลี่ยนแปลงและความเจริญงอกงามทางด้านร่างกาย ดังนั้นพฤติกรรม หรือพัฒนาการของเด็กใน ช่วงแรกของชีวิต จึงสามารถทํานายได้ เช่น รู้ว่าเด็กจะคลานได้ เดินได้ พูดได้ วิ่งได้ เมื่ออายุประมาณ เท่าใด แต่เมื่อเด็กยิ่งโตขึ้นเราจะทํานายพฤติกรรมของเด็กได้น้อยลง ทั้งนี้ เนื่องจากพัฒนาการของเด็ก
แต่ละวัยนั้นมีความแตกต่างกัน เช่น วัยทารก และ วัยเด็กตอนต้น (แรกเกิด จนถึงอายุ 6 ปี) จะเรียนรู้ ที่จะช่วยเหลือตนเองในกิจกรรมพื้นฐานของการดํารงชีวิต เช่น การรับประทานอาหาร ควบคุมการ ขับถ่าย พูด เคลื่อนไหวร่างกาย เข้าใจความคิดรวบยอดง่ายๆ เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสังคม ความแตกต่างระหว่างเพศ เรียนรู้ที่จะสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น และเริ่มพัฒนาจริยธรรม สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ถูกและผิดได้ ซึ่งสอดคล้องกับ สุริยเดว ทรีปาตี ผู้อํานวยการสถาบันแห่งชาติ เพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัวได้กล่าวว่า พัฒนาการของวัยรุ่นจะ แบ่งเป็น 3 ช่วง คือ วันแรกรุ่น อายุ 10-13 ปี วัยรุ่นตอนกลาง อายุ 14-16 ปี และวัยรุ่นตอนปลาย อายุระหว่าง 17-19 ปี ทั้งนี้เพื่อจะชี้ให้เห็นถึงลักษณะที่เด่นเป็นพิเศษของวัยรุ่นแต่ละช่วง ซึ่งมีความ แตกต่างกันอย่างชัดเจน ในด้านความรู้สึกนึกคิด และความสัมพันธ์กับบิดามารดา โดยแบ่งได้ ดังนี้
1. วัยแรกรุ่น (10-13ปี) เป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายของทุกระบบ โดยจะมี
ความคิดหมกหมุ่นกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย ซึ่งจะส่งผลกระทบไปยังจิตใจ ทําให้ อารมณ์หงุดหงิดและแปรปรวนง่าย
2. วัยรุ่นตอนกลำง (14-16 ปี) เป็นช่วงที่วัยรุ่นจะยอมรับสภาพร่างกายที่มีการเปลี่ยนแปลง
เป็นหนุ่มสาวได้แล้ว มีความคิดที่ลึกซึ้น (abstract) จึงหันมาใฝ่หาอุดมการณ์และหาเอกลักษณ์ของ ตนเอง เพื่อความเป็นตัวของตัวเอง และพยายามเอาชนะความรู้สึกแบบเด็กๆ ที่ผูกพันและอยากจะ พึ่งพาพ่อแม่
3. วัยรุ่นตอนกลำง (17-19 ปี) เป็นเวลาของการฝึกฝนอาชีพ ตัดสินใจที่จะเลือกอาชีพที
เหมาะสม และเป็นช่วงเวลาที่จะมีความผูกพันแน่นแฟ้น (intimacy) กับเพื่อนต่างเพศ สภาพทาง ร่างกายเปลี่ยนแปลงเติบโตโดยสมบูรณ์เต็มที่ และบรรลุนิติภาวะในเชิงกฎหมาย การเปลี่ยนแปลงใน วัยรุ่น มี 3 ทางใหญ่ ๆ คือ
1. การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย
2. การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ สังคม
3. การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ
จากที่กล่าวมาจึงสรุปได้ว่า ช่วงพัฒนาการของวัยรุ่น สามารถแบ่งได้เป็น 3 ช่วง คือ ช่วง วัยแรกรุ่น คือช่วงอายุระหว่าง 10-13 ปี วัยรุ่นตอนกลาง คือช่วงอายุระหว่าง 14 -16 ปี และวัยรุ่น ตอนกลาง คือช่วงอายุระหว่าง 17-19 ปี ซึ่งในงานวิจัยนี้ได้เก็บข้อมูลกับเยาวชนที่เป็นวัยรุ่นตอนกลาง คืออายุระหว่าง 14-16 ปี ซึ่งเป็นวัยรุ่นที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านสภาพร่างกาย และมีความคิดที่มี ความเป็นตัวของตัวเอง ซึ่งสามารถแสดงออกได้หลายรูปแบบ เช่น สามารถนําเสนอความคิดเห็นของ ตนเองได้ และมีความคิดสร้างสรรค์ในมุมของเยาวชนเองได้
2.2.2.ลักษณะทั่วไปของวัยรุ่น
การที่เด็กผู้ชายผู้หญิงเติบโตเข้าสู่วัยรุ่นเร็วช้าต่างๆ โดยที่เด็กผู้หญิงจะเข้าสู่การ เปลี่ยนแปลงทางร่างกาย ก่อนเด็กผู้ชายประมาณ 2 ปี ซึ่งจะทําให้ในชั้นเรียนประถมตอนปลาย หรือ ชั้นมัธยมต้นจะพบว่า วัยรุ่นหญิงจะมีร่างกายสูงใหญ่ เป็นสาวน้อยแรกรุ่น ในขณะที่พวกเด็กผู้ชายยังดู เป็นเด็กผู้ชายตัวเล็กๆ ทําให้ทั้งสองฝายเกิดความสับสนและวิตกกังวลได้ เด็กผู้หญิงอาจกังวลว่า ตนเองไม่หยุดสูงเสียที ในขณะที่เด็กผู้ชายก็เกิดความกังวลว่าทําไมตัวเองจึงไม่สูงใหญ่
2.2.2.1 กำรเปลี่ยนแปลงทำงร่ำงกำย
การเปลี่ยนทางร่างกายตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยรุ่น จะมีลักษณะ ดังต่อไปนี้
1) ขนาดและความสูง ในช่วงวัยเด็กทั้งผู้หญิงและผู้ชายจะมีความกว้างของ ไหล่และสะโพกใกล้เคียงกัน แต่เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ผู้ชายจะมีอัตราเร็วในการเจริญเติบโตของไหล่มาก ที่สุด ทําให้วัยรุ่นผู้ชายจะมีไหล่กว้างกว่า ในขณะที่วัยรุ่นผู้หญิงมีอัตราการเจริญเติบโตของสะโพก มากกว่าผู้ชาย และการที่วัยนี้มีการเจริญเติบโตได้รวดเร็ว โดยเฉพาะที่ คอ แขน ขา มากกว่าที่ลําตัว ทําให้วัยรุ่นรู้สึกกว่าตัวเองมีรูปร่างเก้งก้างน่ารําคาญ และการเจริญเติบโต หรือ การขยายขนาดของ ร่างการยในแต่ละส่วน อาจเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน หรือไม่เป็นไปตามขั้นตน เช่น ร่างกายซึกซ้ายและซึก ขวาเจริญเติบโตมีขนาดไม่เท่ากันในระยะแรกๆ ซึ่งเป็นเหตุทําให้เด็กตกอยู่ในความวิตกกังวลสูงได้ จึง ควรให้ความมั่นใจกับวัยนี้
2) ไชมันและกล้ามเนื้อ เด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงมีความหนาของไขมันที่สะสม อยู่ใต้ผิวหนังใกล้เคียงกัน จนกระทั่งอายุประมาณ 8 ปี จะเริ่มมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว วัยรุ่น ชายจะมีกําลังของกล้ามเนื้อมากกว่าวัยรุ่นหญิง พละกําลังของกล้ามเนื้อจะแข็งแรงขึ้น
หลังจากนั้นวัยรุ่นชายจะมีไขมันใต้ผิวหนังบาง พร้อมกับมีกล้ามเนื้อเพิ่มมากขึ้น และแข็งแรงขึ้น ซึ่งจะทําให้วัยรุ่นชายดูผอมลงโดยเฉพาะที่ขา น่อง และแขน สําหรับวัยรุ่นหญิง ถึงแม้ว่าจะมีการเพิ่มขึ้นของกล้ามเนื้อ แต่ขณะเดียวกันจะมีการสะสมของไขมันใต้ผิวหนังเพิ่มขึ้นอีก โดยที่น้ําหนักเพิ่มขึ้นอีกโดยที่น้ําหนักจะเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 25 ของน้ําหนักตัว โดยเฉพาะไขมันที่สะสม ที่เต้านมและสะโพก ประมาณร้อยละ 50 ของวัยรุ่นหญิงจะรู้สึกไม่พอในในรูปลักษณ์ของตนและมัก คิดว่าตัวเองอ้วนเกินไป มีวัยรุ่นหลายคนที่พยายามลดน้ําหนัก จนถึงขั้นที่มีรูปร่างผอมแห้ง
3) โครงสร้างใบหน้า ช่วงนี้กระดูกของจมูกจะโตขึ้น ทําให้ดั้งจมูกเป็นสันขึ้น กระดูกขากรรไกรบนและล่าง จะเจริญเติบโตเร็วมากในระยะนี้ เช่นเดียวกับ กล่องเสียง ลําคอ และ กระดูกอัลลอยด์ และพบว่าในวัยรุ่นชายจะเจริญเติบโตกว่าวัยรุ่นหญิงชัดเจน เป็นเหตุให้วัยรุ่นชาย เสียงแตก
4) การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน ทั้งฮอร์โมนการเติบโต (growth
hormone) และฮอร์โมนจากต่อมธัยรอยด์ มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโต รวมทั้งฮอร์โมนทางเพศ
นอกจากจะต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพร่างกายที่เปลี่ยนแปลงแล้ว ยังต้อง เข้าใจและควบคุมอารมณ์ความรู้สึกที่พลุ่งพล่านขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนต่างๆอีก ด้วย โดยเฉพาะต่อมไขมันใต้ผิวหนัง และต่อมเหงื่อที่ทําหน้าที่เพิ่มขึ้น เป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาเรื่อง สิว และกลิ่นตัว
5) การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะเพศ วัยรุ่นหญิงมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ในระยะ 1 ปีก่อนที่จะมีประจําเดือน โดยเฉพาะการเจริญเติบโตของเต้านม ซึ่งเริ่มมีการขยายขนาด เมื่ออายุปรปะมาณ 8-13 ปี และจะใช้เวลา 2 ปีครึ่งจึงจะเจริญเติบโตเต็มที่ ในช่วงเวลา 11-13 ปี วัยรุ่นหญิงส่วนใหญ่ (ร้อยละ 80) จะมีรูปร่างเป็นสาวเต็มตัว ดังนั้น ในชั้นประถมตอนปลายหรือมัธยม ต้น จะเห็นว่าวัยรุ่นสาวจะมีรูปร่างใหญ่เป็นสาวน้อยแรกรุ่น ในขณะที่พวกผู้ชายก็ยังดูเป็นเด็กชายตัว เล็กๆ ทั้งๆ ที่เด็กผู้หญิงเคยตัวเล็กกว่าผู้ชายมาตลอด ทําให้เด็กสับสนและเป็นกังวลกับสภาพร่างกาย ได้ การมีรอบเดือนครั้งแรกจะมีประมาณอายุ 12-13 ปี
2.2.2.2 กำรเปลี่ยนแปลงทำงอำรมณ์ สังคม
ผลจากการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จะทําเกิดผลกระทบต่ออารมณ์และจิตใจได้ อย่างตรงไปตรงมา ทั้งความวิตกกังวล หงุดหงิด หมกมุ่น ไม่พอใจในรูปร่างที่เปลี่ยนไป
1) ความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย เด็กผู้ชายที่เข้าสู่วัยรุ่นช้า จะมีความวิตกกังวลสูงเกี่ยวกับความแข็งแรงของร่างกาย ซึ่งอาจจะไม่มั่นใจในความเป็นชาย รู้สึกว่า ตัวเองไม่สมบูรณ์ มักถูกล้อเลียน กลั่นแกล้งจากเพื่อนๆ ที่รูปร่างโตกว่า มีความภาคภูมิใจในตนเองใน ระดับต่ําและรู้สึกว่าตนเองมีปมด้อยฝังใจไปได้อีกนาน วัยรุ่นหญิงที่โตเร็วกว่าเพื่อนในวัยเดียวกัน (early mature) ,มักจะรู้สึกอึดอัดและรู้สึกเคอะเขิน ประหม่าอายต่อสายตาและคําพูดของเพศตรง ข้าม ในขณะทีสภาพอารมณ์ จิตใจยังเป็นเด็ก
2) ความวิตกกังวลกับอารมณ์เพศที่สูงขึ้น การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนทาง เพศ ซึ่งจะส่งผลทําให้วัยรุ่นเกิดอารมณ์เพศขึ้นได้มาบ่อย วัยรุ่นหลายคนที่มีกิจกรรม ส่วนตัวที่ เบี่ยงเบนความสนใจ ทําให้สามารถควบคุมอารมณ์ได้อย่างดี วัยรุ่นหลายคนที่มีกิจกรรม ส่วนตัวที่ เบี่ยงเบนความสนใจ ทําให้สามารถควบคุมอารมณ์ได้อย่างดี โดยเฉพาะในวัยรุ่นที่ชอบเล่นกีฬา กลางแจ้งเป็นประจําวัยนี้จะมีความสนใจ อยากรู้อยากเห็นอยู่แล้วเป็นทุน และเมื่อมาผสมกับการที่มี ระดับฮอร์โมนทางเพศสูงขึ้น ทําให้เด็กเกิดความอยากรู้อยากเห็นมากขึ้น
3) ความวิตกกังวลกลัวการเป็นผู้ใหญ วัยนี้จะมีความคิด วิตกกังวล กลัวจะไม่เป็น ที่ยอมรับจากคนรอบข้าง มักจะ กลัวความรับผิดชอบ ซึ่งจะรู้สึกว่าเป็นภาระที่หนักหนา ยุ่งยาก บางครั้งอยากจะเป็นเด็ก อยากแสดงอารมณ์สนุนกสนาน ร่าเริง เบิกบาน
4) ความวิตกกังวลในความงดงามทางร่างกาย ไม่ว่าวัยรุ่นหญิงหรือชายจะมี ความรู้สึกต้องการให้คนรอบข้าง ชื่นชมเกี่ยวกับรูปลักษณ์ภายนอกของตน สมเพศ สมวัย
2.2.2.3 กำรเปลี่ยนแปลงทำงจิตใจ
1) ความรักและความห่วงใย ความรู้สึกอยากที่จะถูกรัก และยังอยากได้รับความ เอาใจใส่ ห่วงใยจากบุคคลที่มีความสําคัญต่อเด็ก แต่มักจะมีข้อแม้ว่า จะต้องไม่ใช่การแสดงออกของ พ่อแม่ที่ทํากับเขาราวกับเด็กเล็กๆ ไม่ต้องการความเจ้ากี้เจ้าการ ไม่ต้องการให้แสดงความห่วงใยอยู่ ตลอดเวลา
2) เป็นอิสระอยากทําอะไรก็ได้ด้วยตนเอง อยากทําในสิ่งที่ตนเองคิดแล้วว่าดี อยากมีส่วนในการตัดสินใจ อยากที่จะตัวห่างจากพ่อแม่ ห่างจากคําสั่งการเจริญเติบโตในการทํางาน ของสมอง ทําให้เด็กวัยนี้เริ่มมีตวามคิดอ่านเป็นของตนเอง เริ่มีความความคิดแบบนามธรรม (abstract thinking) การแยกจากพ่อแม่ในเกือบทุกรูปแบบ บางครั้งอาจทําให้วัยรุ่นเกิดความรู้สึก สับสน
3) ความเป็นตัวของตัวเอง ความต้องการที่ยอมรับในสิ่งที่มาจากตัวของเขาเองทํา ให้พวกเขามั่นใจ พ่อแม่ต้องส่งเสริมให้เด็กช่วยเหลือตัวเองได้มากที่สุดเท่าที่จะทําได้
4) อยากรู้ อยากเห็น อยากลอง การลองผิดลองถูก และคอยสังเกตดูจากปฏิกิริยา ยาของคนรอบข้าง เพื่อตัดสินว่าสิ่งที่ทํานั้น ดีเลวเป็นอย่างไรวัยที่โตขึ้น เมื่อความสามารถเพิ่มขึ้น ร่างกายเจริญเติบโตขึ้นมา สิ่งรอบตัวต่างๆ ที่น่าสนใจ และท้าทายความสามารถก็เริ่มเข้ามาเพื่อ ทดลอง
5) ความถูกต้อง ยุติธรรม โดยเฉพาะเพมื่อเข้าสู่วัยรุ่นตอนกลาง มักจะถือว่าความ ยุติธรรมเป็นลักษณะหนึ่งของความเป็นผู้ใหญ วัยรุ่นจึงให้ความสําคัญอย่างจริงจังกับความถูกต้อง ยุติธรรมทั้งในแง่บุคคลและสังคมส่วนรวม
จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า วัยรุ่นมีพัฒนาการความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ ซึ่งจะส่งผลต่อการใช้ชีวิตของวัยรุ่นหรือเยาวชนเหล่านี้ เพราะต้องตอบรับกับการเปลี่ยนแปลงที่ต้องมีผู้ใหญ่คอยดูแล หรือให้คําแนะนําชี้แนะเพื่อให้ดําเนิน ชีวิตได้อย่างไม่ผิดพลาด
2.2.2.4 ปัญหำกำรปรับตัวในวัยรุ่น
ความขัดแย้งในจิตใจของวัยรุ่น ที่ต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เป็นสิ่งปกติ ธรรมาดาของการเจริญพัฒนาไปเป็นผู้ใหญ่ แต่จะไม่รุนแรงมีผลกระทบต่อการเรียน การงาน หรือ ด้านสังคม ในกรณีที่ปัญหารุนแรงส่งผลกระทบต่อด้านต่างๆ นั้น จึงจะจัดว่ามีปัญหาในการปรับตัว พบได้ร้อยละ 10-15 ของวัยรุ่นทั่วๆป โดยเฉพาะปฏิกิริยาต่อการรับบทบาทหน้าที่ของความเป็น ผู้ใหญ่ รู้สึกว่าการดูแลรับผิดชอบตัวเอง เป็นภาระที่หนักหน่วงยากที่จะรับเอาไว้ได้ เกิดความ เคร่งเครียด บางรายมีอาการวิตกกังวล กลุ่มใจ ท้อแท้ ทานอาหารไม่ได้ นอนไม่หลับ ติดพ่อแม่ ครู หรือ เพื่อนเหมือนเด็กเล็กๆ หรือมีอาการแสดงออกมาทางร่างกาย เช่น ปวดหัว ปวดท้อง หรือมี
อารมณ์ฉุนเฉียว วู่วาม ก้าวร้าว ต่อต้าน ซึ่งอาการเหล่านี้จะมีอยู่ไม่นาน ในที่สุดจะสามารถพัฒ8u, 34) ได้กล่าวว่า ความสามารถในการคิดเป็นลักษณะพิเศษของมนุษย์ที่ทําให้ต่างจากสัตว์อย่างชัดเจน คือ มนุษย์มีความสามารถสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ขึ้นมาใช้เพื่อให้สะดวกในการดําเนินชีวิตจากงานวิจัย นักวิทยาศาสตร์พบว่า สมองของมนุษย์โดยทั่วไปประกอบด้วย เซลล์ประสารทประมาณหนึ่งแสนล้าน เซลล์ ทําหน้าที่รับข้อมูลเข้า และส่งข้อมูลออก สมองมีความกว้างประมาณ 140 มิลลิเมตร ความยาว ประมาณ 167 มิลลิเมตร และมีน้ําหนักประมาณ 1.3 กิโลกรัม ถูกห่อหุ้มด้วยแผ่นเซลล์ประสาทบางๆ มีการเจริญเติบโต และพัฒนาการแบบต่างๆ ตลอดชีวิต
2.3.1 ส่วนประกอบและหน้าที่ของสมอง
1) .เซรีบรัม (cerebrum) เป็นสมองส่วนใหญ่ที่สุด ห่อหุ้มด้วยเซลล์ประสาทที่มี ลักษณะเป็นเนื้อเยื่อบางๆ ประมาณร้อยละ 70 ของระบบประสาท เนื้อเยื่อนี้เรียกว่า คอร์เทกซ์ (cortex) หรือนีโอคอร์เทกซ์ (necortex) สมองแบ่งเป็น 4 ส่วน แต่ละส่วนเรียกว่า ลอน (lobe) ได้แก่
1.1) ฟรอนทอลลอน (frontal lobe) เป็สมองส่วนหน้า ทําหน้าที่เกี่ยวกับการ คิดแก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ การวางแผน การจัดการ การพิจารณาตัดสิน
1.2) -เทมโพราลลอน (temporal lobes) เป็นสมองที่อยู่บริวเวณขมับซ้าย และขวาทําหน้าที่เกี่ยวกับการได้ยิน การเข้าใจภาษา และความจํา
1.3) พารายทอลลอน (parietal lobe) เป็นสมองด้านข้างส่วนบน ทําหน้าที่ รับความรู้สึกทางประสารทสัมผัส มาเข้ากระบวนการในสมองและความจําระยะสั้น
1.4) ออกซิปิทอลลอน (occipital lobe) เป็นสมองส่วนท้ายทอยทําหน้าที่
ส่วนใหญ่ในการมองเห็น
สมองซีกซ้าย | สมองซีกขวา |
การใช้เหตุผล | การจินตนาการ |
การใช้ภาษา การพูด การอ่าน การเขียน | การใช้ภาษาท่าทาง |
การวิเคราะห์ | การสังเคราะห์ |
การเห็นเป็นส่วนย่อย | การเห็นภาพรวม |
ทักษะคณิตศาสตร์ | ทักษะด้านดนตรี ศิลปะ |
รับรู้ทีละสิ่ง | รับรู้ได้หลายสิ่งพร้อมกัน |
สมองแบ่งเป็น 2 ซีก คือ ซึกซ้ายและซีกขวา โดยทําหน้าที่ดังแสดงในตารางที่ 2.1 ตารางที่ 2.1 ลักษณะของสมอง
ที่มา: ชนาธิป พรกุล (2557, 34)
2) เซรีเบลลัม (cerebellum) มีหน้าที่ควบคุมความสมดุลของร่างการ ตรวจ ตราปฏิกิริยาตอบรับจากกล้ามเนื้อ และควบคุมการทรงตัว
3) เบรสสเต็ม (brain stem) หรือก้านสมองอยู่บนสุดของกระดูกสันหลัง หรือ ฐานกะโหลกตรงท้ายทอย ทําหน้าที่พื้นฐานของสมองเช่นเดียวกับสัตว์ทั่วไป เช่น ควบคุมการหายใจ การกิน การนอนและการสืบพันธ์ เป็นต้น
สําหรับคลื่นสมองที่ส่งผลต่อการทํางานของสมองในลักษณะต่างๆ คลื่นสมองแบ่งเป็น 4
ชนิดคือ
1. บีตาเวฟ (beta waves) เป็นคลื่นที่มีความเร็วสูงสุด มีความถี่ประมาณ 13-15 รอบ/
วินาที เกิดเมื่อร่างกายและจิตใจไม่สงบ รู้สึกสับสน ทําให้เรียนรู้ได้ยากหรือช้า และจําไม่ได้ดี
2. แอลฟาเวฟ (alpha waves) เป็นคลื่นที่มีความถี่ประมาณ 8-12 รอบ/วินาที เกิด เมื่อร่างกายและจิตใจไม่สงบ ทําให้เรียนรู้ได้ง่าย หรือเร็วขึ้น และจดจําได้ดี
3. ธีตาเวฟ (theta waves) เป็นคลื่นที่มีความถี่ประมาณ 4-7 รอบ/นาที เกิดเมื่อ ร่างกายได้พักผ่อนมาก จิตใจสงบ ทําให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
4. เดลตาเวฟ (delta waves) เป็นคลื่นที่มีความถี่ประมาณ 0.5-3 รอบ/นาที เกิดขึ้น เวลานอนหลับ สมองทํางานน้อย
ทฤษฏีการเรียนรู้ตามศักยภาพสมอง (BBL) ให้ความสําคัญในเรื่องของการสร้างโอกาส ในการรับรู้ และเก็บความรู้ไว้ได้มากที่สุด กุญแจสําคัญคือ การมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ โดย เริ่มทําความเข้าใจส่วนประกอบ และการทํางานของสมอง และการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฏีนี้ต้องทํา ให้เป็นกระบวนการที่มีชีวิตชีวา (active) บทเรียน หรือกิจกรรมต้องท้าทาย ชัดเจน ไม่คลุมเครือ ใช้ สถานที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ โดยมีกิจกรรมฝึกซ้ําทบทวนบ่อยๆ ทุกครั้งที่ฝึกการคิดทักษะให0ม่ ควรใช้เนื้อหา หรือทักษะที่ผู้เรียนคุ้นเคยเปืนสื่อสําหรับการคิด ผู้เรียนจะสามารถเชื่อมโยงทักษะใหม่ กับทักษะที่เคยฝึกแล้ว การเชื่อมโยงจะทําได้ดี เมื่อครูใช้การเปรียบเทียบหรือสถานการณ์จําลอง อุปมาอุปไมย เทคนิคความสัมพันธ์ในแบบต่างๆ การพัฒนากระบวนการคิด มีองค์ประกอบที่สําคัญ เช่น การใช้คําถาม การให้ข้อมูลย้อนกลับ ซึ่งเทคนิคเหล่านี้สามารถนํามาประยุกต์ใช้ได้ในการเรียน การสอนในห้องเรียน โดยครูอาจจะเป็นคนกําหนดหัวข้อกิจกรรม และให้นักเรียนได้มีส่วนร่วม
2.3.2 ขั้นตอนกำรใช้สมองเรียนรู้
ขั้นที่ 1 การเตรียมตัวสําหรับการเรียนรู้ หรือ การนําเข้าสู่บทเรียนเป็นการให้ข้อมูล เบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่เคยเรียนรู้มาแล้ว และเป็นการปรับสมองเข้ากับเรื่องที่จะเรียน
ขั้นที่ 2 การกระตุ้นการเรียนรู้ โดยให้ข้อมูลผ่านประสารทสัมผัสลักษณะต่าง ๆ เช่น เอกสาร วีดิทัศน์ ภาพ แผนภูมิ
ขั้นที่ 3 การขยายความรู้ เมื่อข้อมูลถูกส่งเข้าไปในสมองในชั้นที่ 2 ครูควรช่วยชี้ ประเด็นสําคัญเป็นระยะ เป็นการย้ํา และช่วยให้ผู้เรียนเห็นความสัมพันธ์ของเรื่องที่เรียน
ขั้นที่ 4 การจํา ในชั้นนี้ข้อมูลในสมองจะทําการเชื่อมโยง เพื่อนําไปเก็บใน หน่วยความจําระยสั้น ครูควรแนะนําเทคนิคการจํา
ขั้นที่ 5 การนําความรู้ไปใช้โดยให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ
ฮาร์วาร์ การ์ดเนอร์ (1983) ค้นพบว่า มนุษย์มีความสามารถทางปัญญาได้ถึง 8 ทาง หรือ 8 ด้าน แต่ละด้านเป็นอิสระต่อกัน และเราแสดงความสามารถในระดับสูงมากกว่า 1 ด้าน หากครู เลือกใช้กิจกรรมที่มีความหลากหลาย ผู้เรียนมีโอกาสได้เรียนรู้ตามวิธีการที่เหมาะสมกับตนเอง และ ผู้เรียนบางคนอาจค้นพบว่า ตนมีความสามารถด้านอื่นอีกหลายด้าน
ปัญญาทั้ง 8 ด้าน (multiple intelligences) ได้แก่
1. ปัญญาด้านภาษา (linguistic intelligence) เป็นความสามารถในการอ่าน เขียน และสื่อสารได้หลายรูปอย่างมีประสิทธิภาพ
2. ปัญญาด้านตรรกะ และคณิตศาสตร์ (logical – mathematical intelligence) เป็น ความสามารถในการให้เหตุผล การคํานวณ การคิดเชิงตรรกะ และการเข้าใจข้อมูล
3. ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์ (spatial intelligence) เป็นความสามารถคิดเป็นภาพ และ สรุปเรื่องราวเป็นภาพ
4. ปัญญาด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย (bodily-kinesthetic intelligence) เป็น ความสามารถด้านการแก้ปัญ หรือจัดการกับสิ่งต่างๆ โดยใช้ร่างกาย หรือส่วนต่างๆ ของร่างกาย
5. ปัญญาด้านดนตรีและจังหวะ (musical-rhythmic intelligence) เป็นความสามารถ ในการสร้างสรรค์งานดนตรี ด้วยควาเข้าใจลึกซื้งและชื่นชม
6. ปัญญาด้านมนุษย์สัมพันธ์ (interpersonal intelligence) เป็นความสามารถเข้าใจ ความรู้สึก ความคิดผู้อื่น และมีปฏิสัมพันธ์เป็นอย่างดี
7. ปัญญาด้านการรู้จักตนเอง (intrapersonal intelligence) เป็นความสามารถในการ รับรู้ตนเองอย่างถูกต้อง และใช้ความรู้ในการดําเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ
8. ปัญญาด้านธรรมชาติ (intrapersonal intelligence) เป็นความสามารถในสังเกต เข้าใจ แยกแยะ จัดหมวดหมู่
ในชั้นเรียนปกติ มักมีผู้เรียนอยู่ 4 ประเภท คือ
1. พวกชอบสงสัย (why) พวกนี้ต้องรู้ก่อนว่าทําไมต้องเรียน
2. พวกชอบรู้ (what) พวกนี้ชอเรียนเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง
3. พวกขอบทํา (How) พวกนี้เรียนรู้จากการปฏิบัติ การลงมือทํา
4. พวกชอบจินตนาการ (if) พวกนี้มีความคิดนอกกรอบ คิดสร้างสรรค์
โดยปกติ พวกชอบสงสัย และชอบรู้จะใช้สมองซีกซ้าย พวกชอบทําและชอบจินตนาการ ถนัดใช้สมองซีกขวา ดังนั้น การการจัดการเรียนการสอน จึงต้องจัดกิจกรรมให้ครบทั้ง 4 ลักษณะ เพื่อให้ครอบคลุมผู้เรียนทุกประเภท การพัฒนากระบวนการคิด ควรให้ผู้เรียนทํากิจกรรมที่ใช้สมองทั้ง 2 ซีก เช่น การเล่นดนตรีจะใช้สมองซีกซาย้ในการตัวโน้ตเรียงไปทีละตัว การอ่านหนังสือและทําความ เข้าใจประโยค ก็จะใช้สมองซีกซ้าย เช่นเดียวกัน ส่วนการนึกภาพว่าจะเล่นดนตรีอย่างไร และการทํา ความเข้าใจลีลาการดําเนินเรื่อง ใช้สมองซีกขวา
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า สมองของมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์ประสาท ประมาณหนึ่งแสน ล้านซลล์ทําหน้าที่รับข้อมูลเข้า และข้อมูลออก และปัจจัยที่ทําให้สมองทําอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ อาหาร น้ํา การหายใจ การคลายเครียด และการบริหารสมอง นอกจากนี้มีข้อค้นพบว่า สมองเป็น ระบบที่มีการไหลถ่ายเท เซลล์สมองสามารถสร้างใหม่ได้ มีกลไกในการบํารุง และซ่อมสร้างตนเอง การใช้สมองอาจช่วยให้เกิดการสร้างสารต้านอนุมูลอิสระตามธรรมชาติ และเมื่อวัยทารกเริ่มเข้ารู้วัย เด็ก และวัยรุ่นก็จะมีพัฒนาการทางสติปัญญาซึ่งจะกล่าวถึงในหน้าที่ 24
2.3 ทฤษฏีพัฒนำกำรทำงสติปัญญำ
อัชรา เอิบสุขสิริ (2557,53 อ้างถึง เพียเจต์,1990) ได้อธิบายพัฒนาการทางสติปัญญา ของมนุษย์ว่าประกอบด้วยโครงสร้างของสกีม (schemes) ซึ่งแบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ โครงสร้างความรู้ ความคิดรูปของการกระทํา (actions) และโครงสร้างความรู้ความคิดในรูปของความคิด (thought) ขณะที่กระบวนการคิดของบุคคลพัฒนาองค์ความรู้ที่เป็นระบบมากขึ้น พฤติกรรมของบุคคลก็จะ สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นด้วย ทั้งนี้เนื่องจากมนุษย์ดํารงชีวิตอยู่ด้วยการปรับตัวเข้ากับ สิ่งแวดล้อม โดยอาศัยกระบวนการต่อไปนี้
1. กระบวนการซึมซับประสบการณ์ (assimilation) หมายถึง การที่บุคคลใช้โครงสร้าง ทางความคิดที่มีอยู่ช่วยให้เข้าใจประสบการณ์ใหม่ หรือจัดสิ่งที่รับรู้ใหม่ให้เข้ากับโครงสร้างความรู้เดิม ที่ได้สะสมไว้
2. กระบวนการปรับขยายโครงสร้าง (accommodation) หมายถึง กระบวนการที่ บุคคลปรับโครงสร้างทางความคิดที่มีอยู่เดิมให้สอดรับกับข้อมูลใหม่ ในกรณีที่ข้อมูลใหม่ไม่สามารถจัด ให้เข้ากับโครงสร้างทางความคิดที่มีอยู่ได้ จึงตัองปรับขยายโครงสร้างทางความคิดใหม่ให้เหมาะสมกับ ข้อมูล คือ บุคคลต้องปรับความคิดให้เหมาะสมกับข้อมูล มิใช่ปรับข้อมูลให้เหมาะสมกับความคิด
3. สภาวะสมดุล (equilibration) หมายถึง สภาวะที่โครงสร้างทางความคิดมีสมดุลกับ ข้อมูลที่ได้รับจากสิ่งแวดล้อมเช่น เวลาที่เราพบปัญหาบางอย่างแล้วสามารถใช้โครงสร้างทางความคิด ที่มีอยู่แก้ปัญหาได้
2.4.1 ขั้นพัฒนำกำรทำงสติปัญญำ
เพียเจต์ได้แบ่งขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาออกเป็น 4 ขั้นตามช่วงอายุของบุคคล ดังนี้ 1.ขั้นการสัมผัสและการเคลื่อนไหว (Sensorimotor state) อายุ 0 -2 ปี เป็น พัฒนาการทางสติปัญญาตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี โดยเด็จะรับรู้และแก้ปัญหาต่างๆ จากการสัมผัส
สิ่งเร้าและการเคลื่อนไหวร่างกาย
2.ขั้นก่อนการคิดแบบมีเหตุผล (preoperational stage) อายุ 2- 7 ปี พัฒนาการขั้นนี้ มักเกิดกับเด็กระดับอนุบาลจนถึงประถมต้น โดยแบ่งเป็น 2 ระยะ ได้แก่
2.1 ขั้นก่อนการเข้าใจความคิดรวบยอด (preconceptual state) อายุ 2-4 ปี เป็นระยะของลักษณะการคิดที่สําคัญ คือ การเล่น สมมุติ การวาดรูป การสร้างจินตภาพ พัฒนาการ ทางภาษาพูด และการยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง (egocentrism) คือ เขาจะไม่เข้าใจความคิดของผู้อื่น จะคิดว่าตนคิดอย่างไรผู้อื่นก็คิดเช่นนั้น
2.2 ขั้นเข้าใจเหตุผล (intuitive stage) อายุ 4-7 ปี เป็นระยะที่ความคิดของเด็ก เริ่มมีเหตุผลมากขึ้น อยู่ในความเป็นจริงมากขึ้น แต่จะสามารถรับรู้ได้เฉพาะสิ่งที่ปรากฏในขณะนั้น โดยไม่ใส่ใจกระบวนการที่เกิดขึ้นก่อนหน้านั้น
2.3 ขั้นการคิดแบบเหตุผลเชิงรูปธรรม (concrete operational stage) อายุ 7-11 ปี เป็นพัฒนาการของเด็กระดับประถมศึกษา ซึ่งเด็กวัยนี้สามารถคิดอย่างมีเหตุผลมากขึ้น แม้ ในช่วงนี้เด็กจะมีการเล่นสมมุติ แต่เป็นการสมมุติที่อยู่ในความจริง
2.4 การสร้างภาพในใจ (mental representation) เช่น การคิดเลขในใจ การ จดจําเส้นทางต่างๆ
2.5 การย้อนกลับได้ (reversibility) ขั้นนี้เด็กสามารถคิดย้อนจากข้อมูลปัจจุบัน ไปสู่ข้อมูลก่อนหน้านี้ได้
2.6 การเข้าใจเรื่องการคงตัวหรือการอนุรักษ์ (conservation) ขั้นนี้เด็กสามารถ เข้ใจลักษณะปริมาณของสิ่งต่างๆ ตามสภาพความเป็นจริง แม้ลักษณะทางกายภาพจะเปลี่ยนไปก็ตาม สภาพแวดล้อมที่ใกล้ตัวกับผู้เรียน
2.7 การเปรียบเทียบลําดับสิ่งของต่างๆ (striation) ในขั้นนี้เด็กสามารถคิดแบบใช้ เหตุผลเชิงรุปธรรมในการจัดลําดับสิ่งของโดยเปรียบเทียบคุณสมบัติ
อย่างไรก็ตาม ในงานวิจัยฉบับนี้ได้นําเอาทฤษฏีการเรียนรู้ตามศักยภาพสมอง มา ประยุกต์ใช้ในการพัฒนาความคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์สื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชน ซึ่งมีอายุ ระหว่าง 13-16 ปี ซึ่งเป็นเยาวชนที่กําลังมีการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งทางร่างกายและด้านจิตใจ เป็นวัยที่ อยากรู้ อยากเห็น อยากทดลองและเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ ซึ่งสอดคล้องกับบริบทของงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กับสื่อสังคมออนไลน์ที่ได้รับความนิยม และเป็นความนิยมของเยาวชน ซึ่งนอกจากแนวคิดทฤษฏีของ
การพัฒนาศักยภาพด้านสมองแล้ว งานวิจัยฉบับนี้ได้นําทฤษฏีของบลูม (Bloom Taxonomy,1956) มาประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ตามหลักการของทฤษฏีที่จะได้กล่าวถัดไป
2.4 ทฤษฏีกำรเรียนรู้ของบลูม (Bloom Taxonomy)
ดารา ทีปะปาล (2542,98) ได้กล่าวถึง ทฤษฏีการเรียนรู้ของบลูมไว้ ดังนี้ ทฤษฏีการเรียนรู้ของบลูม สามารถจําแนกได้ 3 ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย
และ ด้านทักษะพิสัย โดยในแต่ละด้านจะมีการจําแนกระดับความสามารถจากต่ําสุดไปสูงสุด เช่น ด้าน พุทธิพิสัย เริ่มจากความรู้ ความเข้าใจ การนําไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมิน ซึ่ง ต่อมา แอนเดอร์สันและเคตวูท (Anderson and Krathwoht,2001) ได้ปรับปรุงใหม่เป็น การจํา (remembering) การเข้าใจ (understanding) การประยุกต์ใช้ (applying) การวิเคราะห์ (analyzing) การประเมินผล (evaluating) และการสร้างสรรค์ (creating) ด้านจิตพิสัย จําแนกเป็น การรับรู้ การ ตอบสนอง การสร้างค่านิยม การจัดระบบ และการสร้างคุณลักษณะจากค่านิยม ด้านทักษะพิสัย จําแนกเป็น ทักษะด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย ทักษะการเคลื่อนไหวอวัยวะสองส่วนหรือมากกว่า พร้อมๆ กัน ทักษะการสื่อสารใช้ท่าทาง และทักษะการแสดงพฤติกรรมทางการพูด
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning) คือ กระบวนการของประสบการณ์ที่ทําให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างค่อนข้างถาวร ซึ่งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนี้ไม่ได้มาจากภาวะชั่วคราว วุฒิภาวะ หรือสัญชาตญาณ (Klein,1992:2) การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวร โดยเป็นผลจากการฝึกฝนเมื่อได้รับการเสริมแรง มิใช่เป็นผลจากการตอบสนองตามธรรมชาติที่เรียกว่า ปฏิกิริยาสะท้อน (Kimble and Garmezy) การเรียนรู้ของผู้บริโภค (consumer learning) หมายถึง กระบวนการซึ่งแต่ละบุคคลได้รับความรู้ (knowledge) และ ประสบการณ์ (experience) โดยการซื้อ และการบริโภค ซึ่งมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องในอนาคต (เสรี วงษ์ มณฑา,2542,95)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม (Bloom) ได้แบ่งการเรียนรู้ออกเป็น 6 ระดับ ได้แก่
1. ความรู้ที่เกิดจากความจํา (knowledge) ซึ่งเป็นระดับล่างสุด
2. ความเข้าใจ (comprehend)
3. การประยุกต์ (application)
4. การวิเคราะห์ (analysis) สามารถแก้ปัญหา ตรวจสอบได้
5. การสังเคราะห์ (synthesis) สามารถนําส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นรูปแบบใหม่ได้ให้ ความแตกต่างจากรูปเดิม เน้นโครงสร้างใหม่
6. การประเมินค่า (e valuation) วัดได้ และตัดสินได้ว่าอะไรถูก หรือผิด ประกอบการ ตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลและเกณฑ์ที่แน่ชัด
การจําแนกจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ
1. พุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากพฤติกรรมด้านสมอง เป็นพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับสติปัญญา ความรู้ ความคิด ความเฉลียวฉลาด ความสามารถในการคิด เรื่องราวต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นความทางสติปํญญา พฤติกรรมทางพุทธิพิสัย แบ่งเป็น 6 ระดับ ได้แก่
1.1 ความรู้ความจํา ความสามารถในการเก็บรักษาประสบการณ์ต่างๆ จากการที่ ได้รับรู้ไว้และระลึกถึงสิ่งนั้นได้เมื่อต้องการ
1.2 ความเข้าใจเป็นความสามารถในการจับใจความสําคัญของสื่อ และสามารถ แสดงออกมาในรูปของการแปลความ การตีความ การคาดคะเน การขยายความ หรือการกระทําอื่นๆ
1.3 การนําความรู้ไปใช้ เป็นขั้นที่ผู้บริโภคสามารถนําความรู้ ประสบการณ์ไปใช้ใน การแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้ ซึ่งจะต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ จึงจะสามารถนําไปใช้ได้
1.4 การวิเคราะห์ ผู้บริโภคมีความสามารถในการคิด หรือ การแยกแยะเรื่องราวสิ่ง ต่างๆออกเป็นส่วนย่อย เป็นองค์ประกอบที่สําคัญได้ และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วนที่เกี่ยวข้องกัน ความสามารถในการวิเคราะห์จะแตกต่างกันไปแล้วแต่ความคิดของแต่ละคน
1.5 การสังเคราะห์ คือ ความสามารถในการผสมผสานส่วนย่อยๆ เข้าเป็นเรื่องราว เดียวกันได้อย่างมีระบบ เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ที่สมบูรณ์และดีกว่าเดิม อาจเป็นการถ่ายทอดความคิด ออกมาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย การกําหนดวางแผนวิธีการดําเนินงานขึ้นใมห่ หรือ อาจจะเกิดความคิดใน อันที่จะสร้างความสัมพันธ์ของสิ่งที่เป็นนามธรรมขึ้นมาในแบบที่เป็นรูปธรรม หรือแนวคิดใหม่
1.6 การประเมินค่า เป็นความสามารถในการตัดสินใจ ตีราคา หรือสรุปเกี่ยวกับ คุณค่าของสิ่งต่างๆ ออกมาเป็นรูปของคุณธรรมอย่างมีกฎเกณฑ์ที่เหมาะสม ซึ่งอาจเป็นไปตามเนื้อหา สาระในเรื่องนั้นๆ หรืออาจเป็นกฏเกณฑ์ที่สังคมยอมรับ
2 จิตพิสัย (Affective Domain) เป็นพฤติกรรมทางด้านจิตใจ เช่น ค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึ้ง ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจและคุณธรรม พฤติกรรมด้านนี้อาจไม่เกิดขึ้นทันทีทันใด ดังนั้น การส่งข่าวสารที่สอดแทรกสิ่งที่ดีงามอยู่ตลอดเวลาโดยใช้รูปแบบการโฆษณาที่เหมาะสม จะทํา ให้พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนไปในแนวทางที่พึงประสงค์ได้ ด้านจิตพิสัยจะประกอบด้วยพฤติกรรม ย่อยๆ 5 ระดับได้แก่
2.1 การรับรู้ เป็นกระบวนการที่เกิดจากความสนใจของเยาวชนที่มีต่อข่าวสารใดข่าวสาร หนึ่ง เลือกที่จะรับรู้และตีความหมายของข่าวสาร โดยใช้ประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ของแต่ละบุคคล ตลอดจน ความเชื่อ ทัศนคติ แรงจูงใจในขณะนั้น และหลังจากตีความข่าวสารแล้ว เยาวชนจะเลือกที่ จะจดจําข่าวสารบ่างอย่างในความทรงจําของตน
2.2 การตอบสนอง เป็นการกระทําที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอมและ พอใจต่อสิ่งร้านั้น ซึ่งเป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเลือกสรรแล้ว
2.3 การเกิดค่านิยม การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม การยอมรับนับถือ คุณค่านั้นๆ หรือปฏิบัติตารมเรื่องในเรื่องหนึ่ง จนกลายเป็นความเชื่อ แล้วจึงเกิดทัศนคติที่ดีในสิ่งนั้น
2.4 การจัดระบบ การสร้างแนวคิด จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัยความสัมพันธ์ ถ้าเข้ากันได้กับวิถีการดําเนินชีวิตของเยาวชน หรือเข้ากันได้กับค่านิยมเดิมก็จะยึดถือเป็นแบบอย่าง
2.5 บุคลิกภาพ การนําค่านิยมที่ยึดถือมาแสดงพฤติกรรมที่เป็นนิสัยประจําตัว ให้ ประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงาม ซึ่งพฤติกรรมด้านนี้จะเกี่ยวกับความรู้สึกและจิตใจ ซึ่งเริ่มจากการ ได้รับรู้สิ่งแวดล้อม แล้วจึงเกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ ขยายกลายเป็นความรู้สึกด้านต่างๆ จนกลายเป็น ค่านิยม และยังพัฒนาต่อไปเป็นความคิด อุดมคติ ซึ่งจะเป็นการควบคุมทิศทางพฤติกรรมของเยาวชน โดยแต่ละคนจะรู้ดีรู้ชั่วอย่างไรนั้น ก็เกิดจากพฤติกรรมด้านนี้
3 ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ พฤติกรรมด้านกล้ามเนื้อประสาท ซึ่งแสดง ให้เห็นถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่ว ชํานาญ เป็นการแสดงออกมาได้โดยตรง โดยมีเวลาและคุณภาพของงานเป็นตัวชี้วัดระดับของทักษะพฤติกรรมด้านทักษะพิสัย ประกอบด้วย พฤติกรรมย่อยๆ 5 ขั้นตอน ดังนี้
3.1 การรับรู้ เป็นการให้เยาวชนได้รับรู้ข่าวสารที่ตนเองสนใจจากสื่อสังคมออนไลน์
3.2 การกระทําตามแบบ หรือตามข่าวสารโฆษณาที่ตนเองสนใจ
3.3 การหาความถูกต้อง พฤติกรรมสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่อง ชี้แนะเมื่อได้กระทําซ้ําแล้วก็พยายามหาความถูกต้องในการปฏิบัติ
3.4 การกระทําอย่างต่อเนื่องหลังจากตัดสินใจเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับตนเอง
3.5 การกระทําได้อย่างเป็นธรรมชาติ สามารถปฏิบัตงานได้อย่างคล่องแคล่วว่องไว โดยอัติโนมัติเป็นธรรมชาติ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม สามารถแบ่งได้ 3 ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย และ ดานทักษะพิสัย ซึ่งในแต่ละด้านจะสัมพันธ์กับการเรียนรู้ของนักเรียน ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน และสําหรับงานวิจัยนี้ได้นําเอาทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม มาประยุกต์ใช้กับรูปแบบของการรู้เท่าทัน สื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งในงานวิจัยนี้ประกอบไปด้วย 5 ขั้นตอน คือ ความรู้เกี่ยวสื่อสังคมออนไลน์ การ เข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการนําไปประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งนํามาสู่งานวิจัยเรื่อง การจัดประสบการณ์การเรียนรู้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการ รู้เท่าทันสื่อ ดังตารางที่ 2.2 ในหน้าถัดไป
ตารางที่ 2.2 การประยุกต์ระดับความสามารถการรู้เท่าทันสื่อกับทฤษฏีการเรียนรู้ของบลูม
สมรรถนะ/ พฤติกรรม | ควำมหมำย | ทักษะที่ แสดงออก | ผลผลิตและกิจกรรมที่มี ศักยภำพ |
1. ความรู้ | มีความรู้และความจํา | การสังเกตและการ ระลึกข้อมูล | นักเรียนแบบประเมินความรู้ เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ |
2. ทักษะการ เข้าถึงข้อมูล | การสามารถเข้าไปใช้ ข้อมูลได้ | ระบุเว็บไซต์ที่ ต้องการค้นหา ข้อมูล | นักเรียนใช้ข้อมูลที่สืบค้นจาก แหล่งข้อมูลได้ |
3. ทักษะการ วิเคราะห์ | สามารถแยกวัตถุ สิ่งของเป็นส่วนๆ เป็น ชิ้นเป็นอันทําให้ทราบ ถึงองค์ประกอบของ วัตถุของนั้นๆ เพื่อ นําไปใช้ประโยชน์ต่อ | การแยกแยะ เนื้อหาที่ได้รับจาก สื่อสังคมออนไลน์/ ความน่าเชื่อถือของ เนื้อหาจากสื่อ สังคมออนไลน์ | ออกแบบเนื้อหาที่ได้รับจากสื่อ สังคมออนไลน์ ระบุความหมายของเนื้อหาสื่อ สังคมออนไลน์ได้ |
4. ทักษะการ ประเมิน เนื้อหา | สามารถใช้ความรู้ ตัดสินใจประเมิน เนื้อหา | ▪ เปรียบเทียบ และแยกข้อ แตกต่างของความ คิดเห็นเกี่ยวกับสื่อ สังคมออนไลน์ ▪ ประเมินคุณค่า ของเนื้อหาเกี่ยวกับ สื่อสังคมออนไลน์ | ใช้ความรู้ที่มีอยู่ประเมินคุณค่าของ เนื้อหาสื่อสังคมออนไลนไ์ ด้ |
5. ทักษะการ ประเมิน เนื้อหา | สามารถใช้ความรู้ ตัดสินใจประเมิน เนื้อหา | ▪ เปรียบเทียบ และแยกข้อ แตกต่างของความ คิดเห็นเกี่ยวกับสื่อ สังคมออนไลน์ ▪ ประเมินคุณค่า ของเนื้อหาเกี่ยวกับ สื่อสังคมออนไลน์ | ใช้ความรู้ที่มีอยู่ประเมินคุณค่าของ เนื้อหาสื่อสังคมออนไลนไ์ ด้ |
ตารางที่ 2.2 การประยุกต์ระดับความสามารถการรู้เท่าทันสื่อกับทฤษฏีการเรียนรู้ของบลูม (ต่อ)
สมรรถนะ/ พฤติกรรม | ควำมหมำย | ทักษะที่ แสดงออก | ผลผลิตและกิจกรรมที่มี ศักยภำพ |
6. ทักษะะการ สร้างสรรค์ | สามารถรวมความ คิดเห็น ความเชื่อที่ แตกต่างกัน เชื่อมโยง ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งย่อยไปหาสิ่งใหญ่ได้ | ▪ ใช้ความคิดจาก เนื้อหาสื่อสังคม ออนไลนไ์ ป สร้างสรรค์งาน หรือประยุกต์ใช้ใน การเรียนรู้ใน ห้องเรียน | ออกแบบและสร้างสรรค์ชิ้นงาน และประยุกต์ใช้ความรู้ในการ เรียนรู้ได้ หรือจัดกิจกรรมเกี่ยวกับ สื่อสังคมออนไลน์ได้ |
ที่มา: Bloom Taxonomy (1956)
จากตารางที่ 2.2 แสดงการนําทฤษฏีการเรียนรู้ของบลูม มาประยุกต์ใช้ในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้สื่อสังคมออนไลน์ของนักเรียนในชั้นเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับ สื่อสังคมออนไลน์ในแต่ละขั้นตอน จนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถประยุกต์ใช้สื่อสังคม ออนไลน์ได้อย่างสร้างสรรค์ โดยในการประยุกต์ใช้นี้จะนําขั้นตอนการเรียนรู้ของบลูม มาประยุกต์ใช้ ดังนี้
ขั้นที่ 1 ขั้นความรู้ความเข้าใจ ซึ่งจัดอยู่ในทักษะพิสัยของนักเรียน ซึ่งในขั้นนี้ผู้วิจัยหรือ ครูผู้สอน ได้ให้ความรู้ ความหมายของสื่อสังคมออนไลน์ ที่มีอยู่ในปัจจุบันกับนักเรียน รวมถึงแยกให้ เห็นประเภท และการทํางานของสื่อสังคมออนไลน์แต่ละประเภท และให้ผู้เรียนได้ทําแบบทดสอบเพื่อ ประเมินความรู้เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์
ขั้นที่ 2 ขั้นการเข้าถึงข้อมูล หรือสามารถนําข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ โดยในขั้นนี้จะ ประยุกต์เข้ากับทักษะพิสัยของนักเรียน โดยพฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออกคือสามารถระบุ แหล่งข้อมูล หรือเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ได้
ขั้นที่ 3 ขั้นการวิเคราะห์แยกประเภทข้อมูลที่มีอยู่บนสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งขั้นนี้จะ สอดคล้องกับพุทธิพิสัยของนักเรียนคือ สามารถวิเคราะห์ แยกประเภทเนื้อหาของสื่อสังคมออนไลน์ได้ ขั้นที่ 4 ขั้นการประเมินเนื้อหาของสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งสอดคล้องกับพุทธิพัสัยของ นักเรียนในขั้นตอนการประเมินค่า เพื่อให้นักเรียนสามารถประเมินเนื้อหาที่มีอยู่ในสื่อสังคมออนไลน์ ว่าสามารถเชื่อถือได้หรือไม่ และนํามาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจําวันหรือกับการเรียนรู้ในห้องเรียนได้ หรือไม่ ซึ่งพฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออกก็คือ สามารถอธิบายเนื้อหาและบอกได้ว่านํามาใช้ประโยชน์
ได้หรือไม่
ขั้นที่ 5 การสร้างสรรค์ ซึ่งสอดคล้องกับพุทธิพิสัยในหัวข้อของการนําเนื้อหาหรือความรู้ ที่ได้รับจากสื่อสังคมออนไลน์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ หรือสร้างชิ้นงานที่นําไปใช้ประโยชน์ได้
อย่างไรก็ตาม การนําหลักการเรียนรู้ของบลูม มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ที่เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ ทําให้นักเรียนได้ทั้งความรู้ และทักษะในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ให้เกิด ประโยชน์
นอกจากทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูมแล้ว งานวิจัยนี้ได้นําทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้มา ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน ดังจะได้กล่าวในหัวข้อถัดไป
2.6 ทฤษฎีกำรสร้ำงองค์ควำมรู้ (Constructivism)
ณัฐกร สงคราม ( 2553,67-68) ได้กล่าวว่าทฤษฎีคอนสตรักติวิสม์เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ที่ มีรากฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ ทฤษฎีนี้ถือว่าผู้เรียนเป็นผู้กระทํา (Active) และเป็นผู้สร้างความรู้ขึ้นในใจเอง ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีบทบาทในการก่อให้เกิดความ สมดุลทางปัญญาขึ้น ด้วยการปรับความเข้าใจเดิมที่มีอยู่ให้เข้ากับข้อมูลข่าวสารใหม่ จนกระทั่งเกิด ภาวะสมดุลทางปัญญา หรือเกิดความรู้ใหม่ขึ้นซึ่งเพียเจต์เชื่อว่าคนเราทุกคนตั้งแต่เกิดมาพร้อมที่จะมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมโดยที่มนุษย์เรามีแนวโน้มพื้นฐานที่ติดตัวมาตั้งแต่กําเนิด 2 ชนิด คือ การจัด และรวบรวม (Organization) และการปรับตัว (Adaptation) ซึ่งอธิบายดังต่อไปนี้
1. การจัดและรวบรวม (Organization) หมายถึงการจัดและรวบรวมกระบวนการต่าง ๆ ภายในเข้าเป็นระบบอย่างต่อเนื่องเป็นระเบียบ และมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตราบ ที่ยังมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
2. การปรับตัว (Adaptation) หมายถึงการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมเพื่ออยู่ใน สภาพสมดุล การปรับตัวประกอบด้วยกระบวนการดังนี้
2.1 การซึมซับหรือดูดซึม (Assimilation) เมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมจะ เกิดกระบวนการทางสมองในการรับประสบการณ์ใหม่ เรื่องราวและข้อมูลต่าง ๆ เข้ามาสะสมเก็บ รวมเข้าไว้ในโครงสร้างทางปัญญา (Cognitive Structure) เพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป
2.2 การปรับโครงสร้างทางปัญญา (Accommodation) หมายถึงกระบวนการทาง สมองในการจัดระบบ หรือปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่แล้ว ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือ ประสบการณ์ใหม่เป็นระบบ หรือเครือข่ายทางปัญญาที่ตนสามารถเข้าใจได้เกิดเป็นโครงสร้างทาง ปัญญาใหม่ขึ้น
2.3 การเกิดความสมดุล (Equilibration) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นจากขั้นของการ ปรับหากการปรับเป็นไปอย่างผสมผสานกลมกลืน ก็จะก่อให้เกิดสภาพที่มีความสมดุลขึ้นหากบุคคลไม่
สามารถปรับประสบการณ์ใหม่ และประสบการณ์เดิมให้เข้ากันได้ก็จะเกิดภาวะความสมดุลขึ้นซึ่ง ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญาขึ้นในตัวบุคคล
จากหลักการของเพียเจต์ ถ้าผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญญาที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางปัญญา (Cognitive Conflict) หรือเรียกว่าเกิดสภาวะไม่สมดุลทางปัญญา (Disequilibration) ผู้เรียนต้องพยายามปรับโครงสร้างทางปัญญา ให้เข้าสู่สภาวะสมดุลโดยวิธีการซึมซับหรือดูดซึม ได้แก่ การรับข้อมูลใหม่จากสิ่งแวดล้อมเข้าไปในโครงสร้างทางปัญญาและการปรับโครงสร้างทางปัญญา คือ การเชื่อมโยงโครงสร้างทางปัญญาเข้าสู่สภาพสมดุล หรือสามารถที่จะสร้างความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ หรือ เกิดการเรียนรู้นั่นเอง อย่างไรก็ตามทฤษฎีคอนสตรักติวิสม์ได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มด้วยกันคือ กลุ่ม ทฤษฎีคอนสตรักติวิสม์เชิงสังคม และกลุ่มทฤษฎีคอนสตรักติวิสม์เชิงปัญญา
2.6.1 ทฤษฏีคอนสตรักติวิสม์เชิงสังคม (Social Constructivism)
ทฤษฎีคอนสตรักติวิสม์เชิงปัญญาไว้ว่าเป็นทฤษฎีที่มีพื้นฐานมาจากทฤษฎี พัฒนาการของไวกอทสกีซึ่งกล่าวถึง ศักยภาพในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญา ( Cognition) โดยไวกอทสกีกล่าวว่า เด็กทุกคนมีระดับพัฒนาการทางสติปัญญาที่ตนเป็นอยู่ และมีระดับพัฒนาการ ที่ตนมีศักยภาพจะไปให้ถึงช่วงห่างระหว่างระดับที่เด็กเป็นอยู่ในปัจจุบัน กับระดับที่เด็กมีศักยภาพจะ เจริญเติบโตนี้เองที่เรียกว่า Zone of Proximal Development ซึ่งระดับของช่วงห่างนี้จะมีความ แตกต่างกันในแต่ละบุคคล (ณัฐกร สงคราม, 2553 , อ้างอิงใน ทิศนา แขมมณี, 2551) บางคนอยู่ เหนือระดับบางคนอยู่ระหว่างระดับ และบางคนอยู่ต่ํากว่าระดับ หน้าที่ของครูผู้สอนคือต้องพยายาม ให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาสติปัญญาของตนเอง ไปถึงขั้นสูงสุดที่ตนเองจะได้ ซึ่งถ้าผู้เรียนอยู่ในระดับต่ํา กว่าช่วงดังกล่าวก็จะไม่สามารถพัฒนาได้ ก็จําเป็นที่จะต้องได้รับการช่วยเหลือในการเรียนรู้ หรือที่ เรียกว่า Scaffolding นอกจากนี้เพียเจต์ยังเชื่อว่า ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยผ่าน ทางการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่นไม่ว่าจะเป็นเพื่อน ครู หรือพ่อแม่ รวมทั้งบุคคลอื่น ๆ ในขณะที่ เด็กอยู่ในบริบทของสังคมและวัฒนธรรม ( Sociocultural Context) การจัดให้ผู้เรียนได้มี ประสบการณ์ทางสังคม จึงเป็นหัวใจสําคัญของกลุ่มทฤษฎีกลุ่มนี้ ซึ่งครูหรือผู้จัดการเรียนการสอนต้อง ใช้เทคนิควิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ไม่จะเป็นการสนับสนุนให้เกิดการ ทํางานร่วมกันเป็นทีมการทําโครงการ เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถนําเทคโนโลยีมาสนับสนุนหรือ ช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามแนวทางของคอนสตรัคติวัสม์เชิงสังคมได้ เช่น การใช้เครื่องมือการ สื่อสารทางไกลหรือบริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่ว่าจะเป็นอีเมล์ (E-mail) และกระดานสนทนา (Webboard) ช่วยเป็นสื่อกลางสําหรับการสนทนาอภิปราย ค้นคว้า หรือแก้ไขปัญหาร่วมกับผู้เรียน คนอื่น ๆ ครู และผู้เชี่ยวชาญในวงการวิชาชีพ ที่อาจอยู่ห่างไกลจากชั้นเรียนเครื่องมือสื่อสารทางไกล ยังคงสามารถช่วยผู้เรียนเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีรูปแบบแตกต่างกันจะช่วยทําให้ผู้เรียนเกิด ความเข้าใจวัฒนธรรมของพวกเขาเองและของผู้อื่น
แม้ว่านักจิตวิทยากลุ่มคอนสตรักติวิสม์เชิงปัญญา และกลุ่มคอนสตรักติวิสม์เชิงสังคมจะ มีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องการอธิบายว่า ผู้เรียนสร้างความรู้อย่างไร แต่ต่างก็เห็นร่วมกันใน คุณลักษณะของคอนสตรักติวิสม์ ดังต่อไปนี้ (สุรางค์ โค้วตระกูล, 2556,210-211)
1. ผู้เรียนสร้างความเข้าใจในสิ่งที่เรียนรู้ด้วยตนเอง
2. การเรียนรู้สิ่งใหม่ขึ้นกับความรู้เดิมและความเข้าใจที่มีอยู่ในปัจจุบัน
3. การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมความสําคัญต่อการเรียนรู้
4. การจัดสิ่งแวดล้อมหรือกิจกรรมที่คล้ายคลึงกับชีวิตจริง ทําให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ อย่างมีความหมาย
2.6.2 ทฤษฎีคอนสตรักติวิสม์เชิงปัญญำ (Cognitive Constructivism)
สุรางค์ โค้วตระกูล (2556,210) ได้ให้ความหมายว่าทฤษฎีคอนสตรักติวิสม์เชิง ปัญญาได้พัฒนามาจากทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์
ณัฐกร สงคราม ( 2553 ,67) ได้กล่าวถึงทฤษฎีคอนสตรักติวิสม์เชิงปัญญาไว้ว่า เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ที่มีรากฐานมาจากทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีนี้ถือว่า ผู้เรียนเป็นผู้กระทํา (Active) และเป็นผู้สร้างความรู้ขึ้นในใจเองปฏิสัมพันธ์ทางสังคมมีบทบาทในการ ก่อให้เกิดความมาสมดุลทางปัญญาขึ้น เป็นเหตุให้ผู้เรียนปรับความเข้าใจเดิมที่มีอยู่ให้เข้ากับข้อมูล ข่าวสารใหม่ จนกระทั่งเกิดภาวะสมดุลทางปัญญา หรือเกิดความรู้ใหม่ขึ้น เพียเจต์เชื่อว่าคนเราทุกคน ตั้งแต่เกิดมาพร้อมที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม โดยที่มนุษย์เรามีแนวโน้มพื้นฐานที่ติดตัวมาตั้งแต่ กําเนิด 2 ชนิด คือ การจัดและรวบรวม (Organization) และการปรับตัว (Adaptation) ซึ่งอธิบาย ดังต่อไปนี้
1. การจัดและรวบรวม (Organization) หมายถึง การจัดและรวบรวมกระบวนการ ต่าง ๆ ภายในเข้าเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง เป็นระเบียบและมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ตราบที่ยังมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
2. การปรับตัว (Adaptation) หมายถึง การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมเพื่ออยู่ใน สภาพสมดุล การปรับตัวประกอบด้วยกระบวนการดังนี้
2.1 การซึมซับหรือดูดซึม (Assimilation) เมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อม จะเกิดกระบวรการทางสมองในการรับประสบการณ์ใหม่ เรื่องราวและข้อมูลต่าง ๆ เข้ามาสะสมเก็บรวมเข้าไว้ในโครงสร้างทางปัญญา (Cognitive Structure) เพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป
2.2 การปรับโครงสร้างทางปัญญา (Accommodation) หมายถึง กระบวนการ ทางสมองในการจัดระบบ หรือปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่แล้ว ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม หรือประสบการณ์ใหม่เป็นระบบ หรือเครือข่ายทางปัญญาที่ตนสามารถเข้าใจได้ เกิดเป็นโครงสร้าง ทางปัญญาใหม่ขึ้น
2.3 การเกิดความสมดุล (Equilibration) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นจากขั้นของ การปรับหากการปรับเป็นไปอย่างผสมผสานกลมกลืน ก็จะก่อให้เกิดสภาพที่มีความสมดุลขึ้นหาก บุคคลไม่สามารถปรับประสบการณ์ใหม่และประสบการณ์เดิมให้เข้ากันได้ ก็จะเกิดภาวะความสมดุล ขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญาขึ้นในตัวบุคคล
จากหลักการของเพียเจต์ ถ้าผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญญาที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทาง ปัญญา (Cognitive Conflict) หรือเรียกว่าเกิดสภาวะไม่สมดุลทางปัญญา(Disequilibration) ผู้เรียน ต้องพยายามปรับโครงสร้างทางปัญญาให้เข้าสู่สภาวะสมดุลโดยวิธีการซึมซับหรือดูดซึม ได้แก่ การรับ ข้อมูลใหม่จากสิ่งแวดล้อมเข้าไปในโครงสร้างทางปัญญาและการปรับโครงสร้างทางปัญญา คือการ เชื่อมโยงโครงสร้างทางปัญญาเข้าสู่สภาพสมดุลหรือสามารถที่จะสร้างความรู้ใหม่ขึ้นมาได้หรือเกิดการ เรียนรู้
2.6.3 ทฤษฎีกำรเรียนรู้กลุ่มคอนสตรักติวิสม์ไปใช้ในกำรเรียนกำรสอน
แนวคิดกลุ่มคอนสตรักติวิสม์จะก่อให้เกิดประสิทธิภาพต่อการเรียนรู้มากที่สุด เมื่อ
ใช้ในกรณีดังนี้
1. ควรใช้ในลักษณะการบูรณาการเนื้อหาหลากหลายวิชาเข้าด้วยกัน และผู้เรียน
มีพื้นฐานความรู้หรือประสบการณ์ของเนื้อหาเหล่านั้นมาแล้วอย่างดี
2. มีเวลาในการเรียนการสอนมาก อาจเป็นสัปดาห์หรือนานถึงภาคการศึกษา
3. เนื้อหาและกิจกรรมที่สนับสนุน ให้เกิดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เช่น การ ประดิษฐ์คิดค้นการแก้ไขปัญหาแบบซับซ้อนในสถานการณ์ต่าง ๆ เป็นต้น
4. นักทฤษฎีกลุ่มนี้เชื่อว่ากระบวนการเรียนรู้สําคัญกว่า กระบวนการสอน แต่ละบุคคลสามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง ฉะนั้นการออกแบบการเรียนการสอน จึงมุ่งเน้นการ วางแนวทาง และสภาพแวดล้อมการเรียนให้เอื้อต่อการสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยมีหลักการดังนี้
4.1 การเรียนรู้ที่เหมาะสมคือการให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ โดยการสร้าง เป้าหมายที่ท้าทายเพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการเรียน เช่น การค้นหาคําตอบเพื่อแก้ปัญหา การร่วมกัน สร้างโครงการหรือผลผลิตในรูปแบบต่าง ๆ เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ วิดีทัศน์ สิ่งพิมพ์ เป็นต้น เน้น ที่ภาระการทํางาน หรือ ปัญหาที่สนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนาผลงาน หรือแก้ปัญหานั้น ๆ ตามแนวทาง ของตนเอง
4.2 สร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนมีบทบาทในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ โดยผู้เรียน จะนําตนเองและควบคุมตนเองในการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนรู้สึกว่าเป็นเจ้าของการเรียนเริ่มตั้งแต่การ กําหนดเป้าหมายของการเรียน หรือเลือกสิ่งที่ต้องการเรียนเอง ตั้งกฎระเบียบเอง แก้ไขปัญหาที่ เกิดขึ้นเอง ขจัดความขัดแย้งที่เกิดขึ้น รวมทั้งความรับผิดชอบดูแลห้องเรียนร่วมกัน
4.3 ภาระงานที่ได้รับมอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติควรมีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กับชีวิตจริง หรือให้ผู้เรียนในบริบทเดียวดับโลกแห่งความเป็นจริง ซึ่งไม่จําเป็นต้องเป็นใน สถานที่จริงเสมอไป แต่อาจจัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สิ่งของ ต่าง ๆ ที่เป็นของจริงและมีความสอดคล้องกับความสนใจของผู้เรียน โดยผู้เรียนสามารถจัดกระทํา ศึกษา สํารวจ วิเคราะห์ทดลอง ลองผิดลองถูกกับสิ่งนั้น ๆ จนเกิดเป็นความรู้ความเข้าใจขึ้นและควร สนับสนุนการทดลองแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่หลากหลายในบริบทอื่นที่ต่าง ๆ กัน
4.4 สร้างบรรยากาศการเรียนที่มีทางเลือกหลากหลายสามารถตอบสนอง ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อให้ผู้เรียนได้เลือกตามความสนใจ หรือความถนัดของแต่ละคนและ ความมีบรรยากาศที่เป็นมิตรเป็นกันเอง ทําให้ผู้เรียนรู้สึกอบอุ่นปลอดภัยสบายใจ ซึ่งจะเอื้อให้การ เรียนรู้เป็นไปอย่างมีความสุขและที่สําคัญคือควรสนับสนุนการเรียนแบบร่วมมือกันมากกว่าแข่งขัน พยายามสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
4.5 ครูต้องเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ และควบคุมการ เรียนรู้ ไปเป็นการให้ความร่วมมืออํานวยความสะดวก และช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียนรู้เป็นจากคํา ว่าการให้ความรู้ (Instruction) ไปเป็นการให้ผู้เรียนสร้างความรู้ (Construction) เปลี่ยนบทบาทจาก ผู้ตั้งคําถามเป็นผู้กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดคําถาม และหาคําตอบด้วยตนเองครูจะต้องเป็นผู้สร้างแรงจูงใจ ภายในให้เกิดขึ้นแก่ผู้เรียนจัดเตรียมกิจกรรมการเรียนรู้ที่ตรงกับความสนใจของผู้เรียนและช่วย ส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียน รวมทั้งให้ความช่วยเหลือสําหรับผู้เรียนที่ปัญหา
4.6 การประเมินผลจะต้องมีความยึดหยุ่นกันไปในแต่ละบุคคล หรืออาจใช้การ ประเมินผลที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็นการประเมินจากเพื่อน แฟ้มสะสมผลงาน หรือการประเมิน ตนเองนอกจากนี้ยังควรใช้เกณฑ์ที่ใช้ในโลกของความเป็นจริง
สําหรับในการวิจัยครั้งนี้ได้นําทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ในการจัด ประสบการณ์การใช้สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อเป็นการเสริมสร้างให้นักเรียนหรือเยาวชนที่รับรู้เกี่ยวกับสื่อ สังคมออนไลน์ได้เกิดการเรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผ่านการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และ สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้ เช่น ฝึกให้นักเรียนคิด วิเคราะห์และตอบคําถามต่าง ๆ และที่สําคัญคือ เมื่อนักเรียนได้เรียนรู้ และลงมือปฏิบัติตามกิจกรรมแล้ว ก็จะเกิดการสร้างองค์ความรู้ ใหม่ที่เกี่ยวกับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งในขั้นของการมีความรู้และทักษะการใช้สื่อสังคมออนไลน์ อย่างสร้างสรรค์ นักเรียนก็จะเกิดแนวคิดหรือไอเดียใหม่ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ เพื่อประโยชน์ในการเรียนหรือแสวงหาความรู้เพื่อนํามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน
2.7 หลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พ.ศ. 2551
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2554 ให้ เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศโดยกําหนดจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและ กรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีด ความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, 2554) พร้อมกันนี้ได้ปรับ กระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 2545 ที่มุ่งเน้นการกระจายอํานาจทางการศึกษาให้ ท้องถิ่นและสถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ และความต้องการของท้องถิ่น (สํานักนายกรัฐมนตรี, 2552)
กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี
สำระที่ 1 กำรดํำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทํางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะ การจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทํางานร่วมกัน และ ทักษะ การแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มี จิตสํานึก ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดํารงชีวิต และครอบครัว
สำระที่ 2 กำรออกแบบและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ง 2.3 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยีออกแบบและสร้างสิ่งของ เครื่องใช้หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม และมีส่วน ร่วมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน
สำระที่ 3 เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร
มาตรฐาน ง 3.1 เข้าใจเห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น ข้อมูลการเรียนรู้ การสื่อสารการแก้ปัญหา การทํางาน และอาชีพอย่างมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม
สำระที่ 4 กำรงำนอำชีพ
มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ มีทักษะที่จําเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
อย่างไรก็ตามการจัดการศึกษาได้เปลี่ยนแปลงจากการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 20 เป็น
การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ซึ่งบทบาทของครูและนักเรียนนั้นได้มีการปรับเปลี่ยนเพื่อให้ทันกับ ความเจริญก้าวหน้าของด้านการเรียนการสอนและด้านการใช้เทคโนโลยี
2.8 บทบำทของครูในศตวรรษที่ 21
สุคนธ์ สินธพานนท์ (2558,25) ได้กล่าวถึงคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 ไว้ดังนี้
1. มีคุณธรรม จริยธรรมเป็นผู้ที่มีจรรยาบรรณ ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดีต่อบุคคลทั่วไป โดยเฉพาะผู้เรียน ชักชวนให้ผู้อื่นทําประโยชน์แก่ส่วนรวม
2. มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ เพื่อเป็น พื้นฐานสําคัญในการฝึกทักษะการคิดและทักษะการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน ตลอดทั้งสามารถวิเคราะห์ จําแนกผู้เรียนเป็นรายบุคคลได้
3. มีความรู้และเข้าใจเทคโนโลยีใหม่ ๆ สามารถชี้แนะข้อดีข้อเสียของเทคโนโลยีแก่ ผู้เรียนและวิธีการสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ อย่างถูกวิธีและเลือกรับข้อมูลอย่างถูกต้อง
4. มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตรจากหลักสูตรระดับสากล หลักสูตรระดับชาติ หลักสูตรท้องถิ่นโดยบูรณาการเข้ามาเป็นหลักสูตรในสถานศึกษาอย่างเหมาะสมกลมกลืน
5. มีวิสัยทัศน์ เข้าใจการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์โลก ปรับปรุงกระบวนการจัดการ เรียนการสอนให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในสังคม
6. มีทักษะในการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการสอน รูปแบบการสอน กระบวนการ และเทคนิคการสอนที่หลากหลาย
7. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมเพื่อสร้างผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้เป็นไป ตามเป้าหมายของการปฏิรูปการศึกษา และเป็นบุคคลที่มีทักษะสําคัญในการอยู่ในสังคมศตวรรษที่ 21
8. มีความสามารถในการวัดและประเมินผลผู้เรียนได้ตามหลักการของการวัด และ ประเมินผลและเป็นไปตามเป้าหมายของการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้และมีวิจัยในชั้นเรียนเพื่อ นํามาพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
9. มีคุณลักษณะของผู้นําที่มีส่วนร่วมกับการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนร่วมกับ ผู้บริหารชุมชนในท้องถิ่น องค์กรต่าง ๆ และสังคมระดับชาติ
วิจารณ์ พานิช (2557,65) ได้กล่าวว่าครูในศตวรรษที่ 21 มีคุณค่ามากกว่าครูในศตวรรษ
ที่ 20 ที่เปลี่ยนการสอนเป็นการให้คําแนะนําปรึกษาการกํากับผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนที่เรียนรู้อย่างผิว เผินไปสู่การเรียนรู้อย่างแท้จริง ซึ่งประกอบด้วยทักษะ 7 ดังนี้
ทักษะการเป็นครู ประกอบด้วยทักษะย่อย 5 ทักษะ ที่ครูพึงมีดังนี้
1. ทักษะการวินิจฉัยทําความรู้จัก วินิจฉัยทําความเข้าใจศิษย์ ซึ่งเป็นทักษะที่ครูทุกคน ต้องมีเพื่อให้เราได้เข้าใจความเป็นไปของศิษย์แต่ละคน
2. ทักษะการออกแบบการเรียนรู้ด้วยโครงงานซึ่งเป็นสิ่งที่จําเป็นจะต้องสอนให้ผู้เรียนได้ เกิดการเรียนรู้
3. ทักษะการสอนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การถ่ายทอดหรือสะท้อนความคิดเห็นของตัวเอง
4. ทักษะการเรียนรู้ และสร้างความรู้ใหม่จากการทํางานหน้าที่ครู เพื่อให้ผู้เรียนได้มี โอกาสได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
5. ทักษะการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งเป็นทักษะที่ผู้เรียนจะต้องปฏิบัติได้จริง นอกจากนี้วิจารณ์ พานิช (2557,66) ได้กล่าวถึงทักษะใหม่ที่จะต้องมีในการจัดการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21 คือ
1.ทักษะการจัดห้องเรียนเป็นห้องทํางาน เพื่อให้ผู้เรียนรู้สึกผ่อนคลายและรู้สึกถึงการ ทํางานร่วมกันทําให้มีความสุขในการเรียน
2.การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ครูทําหน้าที่เป็นผู้คอยอํานวยความสะดวกและให้ คําปรึกษา (Coaching) ไม่ใช่ผู้ที่ทําหน้าที่สอนเพียงอย่างเดียว (Teaching)
3.ครูต้องมีการฝึกทักษะการเรียนรู้ และฝึกทักษะทางด้านการทํางานเป็นทีม ทักษะการ เรียนรู้ และทักษะการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเป็นผู้ที่มีสุนทรียะสนทนา เพื่อช่วยให้ครูฝึกทักษะการ เรียนรู้เป็นทีม
การที่จะพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพนั้น นอกจากครูจะต้องมีทั้งความสามารถ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้แล้วครูผู้สอนจะต้องเป็นได้ทั้งผู้ให้และผู้รับจะต้องมีความเมตตาสามารถ รับฟังปัญหาของผู้เรียนและพร้อมที่จะช่วยเหลือแก้ไขปรับปรุงให้ผู้เรียนจบไปเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีความเป็นผู้นํา มีจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวมและส่วนที่สําคัญของการเป็นครูผู้สอน คือจะต้องเป็นผู้ที่ทําหน้าที่ได้หลายบทบาทด้วยกัน เช่น บทบาทของครูผู้สอน บทบาทของนักจิตวิทยา ในการให้คําปรึกษา บทบาทของที่ปรึกษาทั้งทางด้านการเรียนการสอนรวมไปถึงปัญหาส่วนตัวของ ผู้เรียนที่ในบางครั้งผู้เรียนเกิดความกลัวไม่กล้าที่จะปรึกษาพ่อแม่ผู้ปกครอง ดังนั้นครูผู้สอนก็จะต้องมี บทบาทของการเป็นผู้ฟังที่ดีและเป็นผู้ที่ให้คําปรึกษาที่ดีกับผู้เรียนด้วย จึงเห็นได้ว่าครูในศตวรรษที่ 21 เป็นมากกว่าผู้ที่คอยชี้นําแต่ต้องเป็นได้ทั้งผู้ที่รับฟังและผู้ที่ชี้แนะซึ่งสอดคล้องกับความคิดเห็นของ วิจารณ์ พานิช (2557,52) ที่กล่าวว่าบทบาทของครูในศตวรรษที่ 21 ครูจะไม่ตั้งตนเป็นผู้รู้ไม่ใช่ ผู้เชี่ยวชาญทุกอย่างและไม่ควรจะสอนแต่สาระ หรือเนื้อหาให้กับผู้เรียนแต่ควรให้ผู้เรียนได้ค้นหาเอง เพื่อที่ผู้จะได้เรียนรู้วิธีค้น รู้วิธีเลือกเพื่อเอามาปรับปรุงหรือปรับใช้ครูไม่ใช่เป็นผู้รู้แต่ต้องเป็นผู้เรียน และเรียนรู้ไปพร้อมกับเพื่อนครู ครูต้องเลิกเป็นศิลปินเดี่ยวในโลกสมัยใหม่ แต่ครูต้องทําหน้าที่อํานวย ความสะดวกในการเรียนรู้ของผู้เรียน
2.8.1 บทบำทของครูคอมพิวเตอร์ในศตวรรษที่ 21
จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ถึงยุคของการจัดการศึกษาที่เป็นมาแต่ละยุคสมัยมีความ แตกต่างกันแต่สําหรับการจัดการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21 ตามความเห็นและประสบการณ์ของ ผู้เขียนในฐานะครูสอนคอมพิวเตอร์พบว่านอกจากที่ครูจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี ซึ่งหมายรวมถึงความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ ด้านภาษาคอมพิวเตอร์ ด้าน ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแล้วครูจะต้องมีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี คือสามารถใช้อุปกรณ์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์หรือสามารถใช้โปรแกรมต่าง ๆ ได้ ครูจะต้องเป็นผู้ที่มี เจตคติที่ดีไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวจะต้องมองเห็นความรับผิดของต่อส่วนรวม เป็นหลัก นอกจากนี้ครูจะต้องมีพฤติกรรมหรือความสามารถในการจัดการเรียนรู้และบูรณาการ เทคโนโลยีกับการเรียนการสอน พร้อมทั้งสร้างบรรยากาศของห้องเรียนแบบเป็นมิตรและครูสอน คอมพิวเตอร์หรือครูที่สอนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จะต้องเป็นผู้ที่มีความอดทนและมีใจเมตตา ต่อผู้เรียนให้กําลังใจผู้เรียนในยามที่ผู้เรียนมีปัญหาพร้อมทั้งให้คําแนะนํา เป็นได้มากกว่าผู้สอน คือ เป็นเพื่อน เป็นพี่ และบางครั้งก็เป็นผู้ปกครองที่จะต้องสอดส่องดูความประพฤติและพฤติกรรมของ ผู้เรียนเพื่อให้สามารถเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพได้และจากประสบการณ์ของผู้เขียนซึ่งมีประสบการณ์ การสอนคอมพิวเตอร์มาเป็นระยะเวลา 10 กว่าปีอาจจะกล่าวสรุปได้คุณลักษณะของครูคอมพิวเตอร์
ในศตวรรษที่ 21 จะเป็นดังนี้
1. มีการเตรียมตัวและวางแผนการสอนมาก่อนอย่างถูกต้องและชัดเจนก่อนที่จะ เริ่มสอนจริง ซึ่งในการวางแผนการสอนนั้นจะต้องรู้ลําดับการสอนก่อนหลังที่สอดคล้องกัน ขอ ยกตัวอย่างในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์ เช่น การสอนในรายวิชาการเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นรายวิชาที่ถือเป็นหัวใจของการเรียนคอมพิวเตอร์ เพราะผู้เรียนทุกคน จะต้องลงมือปฏิบัติจริงได้เพราะฉะนั้นผู้สอนจะต้องมีการเตรียมตัวฝึกปฏิบัติจนเกิดความชํานาญและ มีความสามารถในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ เช่น เมื่อผู้เรียนเขียนโปรแกรมไปแล้วเกิดปัญหาขึ้นมา เช่น ไม่สามารถประมวลผลได้ครูสอนคอมพิวเตอร์ต้องมาแก้ปัญหา และสามารถตอบคําถามของ ผู้เรียนได้เป็นต้น
2. สอนให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบทํางานเป็นทีมร่วมกันได้และสามารถ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ และสําหรับการสอนคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเป็นการสอนแบบโครงงานหรือ สร้างชิ้นงานซึ่งในบางครั้งจะต้องทํางานร่วมกันเป็นทีม ดังนั้นครูผู้สอนจะต้องสอนให้ผู้เรียนเปิดใจให้ กว้างพร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นเพื่อให้สามารถทํางานร่วมกันได้อย่างมีความสุขและสามารถ สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างมีคุณภาพ นอกจากนี้ครูสอนคอมพิวเตอร์จะต้องเป็นผู้ที่ยอมรับฟังความ คิดเห็นของผู้เรียนพร้อมทั้งให้คําแนะนําเพื่อให้ผู้เรียนไปปรับใช้
3. ฝึกฝนผู้เรียนให้เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบและยอมรับความจริงพร้อมทั้งสอน ให้ผู้เรียนมีหูตาที่กว้างไกลเพื่อเปิดรับประสบการณ์ใหม่ ๆ เพื่อนํามาปรับใช้ในชีวิตประจําวันให้มีความ พอเหมาะพอดี
4. สอนให้ผู้เรียนรู้จักการวางแผนการทํางาน เนื่องจากการเรียนการสอนใน รายวิชาคอมพิวเตอร์โดยส่วนใหญ่จะเน้นการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) ซึ่งจะต้องอาศัยช่วงเวลาในการทําชิ้นงานดังนั้นผู้เรียนจะต้องเรียนรู้การวางแผนงานล่วงหน้าเพื่อที่จะ ทําให้งานนั้นเสร็จสมบูรณ์ตามที่ได้รับมอบหมาย
5. สอนให้ผู้เรียนเพิ่มความรู้ความสามารถในการใช้สื่อและเทคโนโลยี พร้อมทั้ง รู้เท่าทันสื่อ ซึ่งโดยปกติของการเรียนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์นั้นผู้เรียนจะอยู่ติดกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ตลอดเวลาจนบางครั้งเกิดอาการติดคอมพิวเตอร์ หรือติดสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Facebook, Lines เป็นต้น หรือในบางครั้งก็บริโภคสื่อมากเกินไป จนทําให้ส่งผลต่อการเรียน ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของครูผู้สอนที่จะช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ถึงการวิเคราะห์สื่อออนไลน์ต่าง ๆ เช่น เมื่อผู้เรียน ได้เห็นสื่อแล้วก็ให้วิเคราะห์จุดประสงค์ของการใช้สื่อออนไลน์นั้นรวมถึงวิเคราะห์เนื้อหา ตรวจสอบ ความน่าเชื่อถือของสื่อออนไลน์นั้น ๆ พร้อมทั้งวิเคราะห์ถึงอิทธิพลของสื่อออนไลน์นั้น ๆ ว่าส่งผลหรือ มีอิทธิพลของผู้ที่พบเห็นหรือผู้เรียนหรือไม่ และสื่อออนไลน์เหล่านั้นมีคุณธรรมจริยธรรมหรือไม่
6. สอนให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุดรวมถึงรู้ถึงคุณและโทษของการใช้สื่อพร้อมทั้งอธิบายได้
7. ครูคอมพิวเตอร์จะต้องเป็นบุคคลที่พร้อมเรียนรู้ตลอดเวลาและให้โอกาสใน การแสดงความคิดเห็นรวมถึงมีเทคนิควิธีการสอนที่จะทําให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุขและ ไม่รู้สึกว่าโดนบังคับพร้อมทั้งมีความสุขทุกครั้งเมื่อเป็นผู้เรียนหรือต้องเป็นผู้สอน
จากที่กล่าวมาทั้งหมดจะเป็นลักษณะหรือบทบาทของครูคอมพิวเตอร์ที่จะต้อง ปรับเปลี่ยนไปตามรูปแบบการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 และครูคอมพิวเตอร์จะต้องเป็นได้ทั้ง พี่เลี้ยง เป็นเพื่อน และเป็นที่ปรึกษากับผู้เรียนได้ ตัวอย่างการกําหนดบทบาทของครูคอมพิวเตอร์ให้มี ความใกล้ชิดกับผู้เรียนเช่น ผู้สอนอาจจะนํา Facebook มาประยุกต์ใช้ในการติดต่อสื่อสารกับผู้เรียน ซึ่งมีข้อดีคือ ผู้เรียนรู้สึกเป็นอิสระและเปิดเผยตัวเองมากขึ้น ไม่รู้สึกกลัวที่จะพูดคุยหรือแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับผู้สอนซึ่งทําให้ผู้เรียนกับผู้สอนใกล้ชิดกันมากขึ้นและไม่มีช่องว่างระหว่างครูผู้สอนกับ ผู้เรียน
2.8.2 คุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
การเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมและเศรษฐกิจในปัจจุบันที่กําลังก้าวไปข้างหน้า เพื่อให้ทันต่อบริบทของสังคมโลกทําให้รูปแบบของการจัดการศึกษา จะต้องมีการปรับเปลี่ยนเพื่อให้
ผู้เรียนได้ก้าวทันต่อความเปลี่ยนแปลงของโลกซึ่งสุคนธ์ สินธพานนท์ (2558,9-10) ได้กล่าวถึง คุณลักษณะของผู้เรียนที่พึงมี ดังนี้
1. ผู้เรียนเป็นผู้ที่คิดเป็นเพราะได้รับการฝึกทักษะการคิดในระหว่างกิจกรรมการ เรียนรู้ทั้งในด้านทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะการแก้ปัญหา ผู้เรียนสามารถนํามาใช้ในการ ดําเนินชีวิตประจําวันได้ส่งผลให้การตัดสินในการทํากิจการงานต่าง ๆ เป็นไปอย่างมีเหตุผลถูกต้อง และเหมาะสมเมื่อมีปัญหาใดเกิดขึ้นสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง ไม่กระทําการพลาดพลั้งโดยขาด ความยับยั้งหรือคิดไม่เป็น
2. เป็นผู้ที่รู้เท่าทันเทคโนโลยีต่าง ๆ ใช้ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ในการสืบค้นข้อมูล สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อรู้จักเลือกรับข้อมูลข่าวสารอย่างมีวิจารณญาณ สามารถนําข้อมูลมาใช้ ประโยชน์ในการเรียน การทํากิจกรรม และการดํารงชีวิตในสังคม
3. ผู้เรียนรู้จักทํางานร่วมกันเป็นทีม รู้จักแสดงความคิดเห็นและรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล ผลักกันเป็นผู้นํา แสดงออกถึงน้ําใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ต่อกันมีวินัยและรับผิดชอบ เป็นส่วนหนึ่งของการมีวิถีการดํารงชีวิตในสังคมประชาธิปไตย
4. ผู้เรียนได้รับการฝึกให้มีความเข้าใจและมีทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคมที่มี ความหลากหลายทางวัฒนธรรม มีความคิดเห็นที่แตกต่างกันซึ่งในสังคมโลกยุคปัจจุบันทุกคนจะต้อง ปรับตนให้เข้ากับสังคมและวัฒนธรรมที่หลากหลาย และมีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เพื่อการอยู่ ร่วมกันอย่างสันติสุข
5. ผู้เรียนจะมีความสามารถในการสื่อสารทั้งในด้านการพูด การเขียน การอ่าน การแสดงท่าทาง เป็นผู้ที่สามารถสื่อสารกับบุคคลต่าง ๆ บรรลุตามเป้าหมายได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ทั้งในระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชน ประเทศ และสังคมระหว่างชาติทั่วโลกได้
6. ผู้เรียนมีทักษะพื้นฐานสําคัญในการประกอบอาชีพ ทักษะในการเรียนรู้ ทักษะ ในการคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรมย่อมทําให้เกิดแนวคิดหรือวิธีการใหม่ในการทํากิจการต่าง ๆ อยู่ เสมอ เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาอาชีพของตนในอนาคต การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมด้วยวิธีการพัฒนา อย่างยั่งยืน การสร้างความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจของชุมชน
จากที่กล่าวมาจึงสรุปได้ว่าคุณลักษณะของผู้เรียนนั้นเป็นสิ่งสําคัญที่ครูผู้สอนจะต้อง คํานึงถึงเพราะเมื่อผู้เรียนคือเยาวชนของประเทศ คือคนที่จะต้องพัฒนาประเทศต่อไป ดังนั้นผู้เรียน จะต้องมีศักยภาพที่สําคัญตามที่ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (2555, อ้างถึงใน สุคนธ์ สินธพานนท์,2558,11-12) ไว้ดังนี้
1. ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิทัลซึ่งเป็นความรู้พื้นฐานที่จําเป็นทางวิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี รู้ภาษา ข้อมูล และทัศนภาพ รู้พหุวัฒนธรรมและมีความตระหนักสํานึก ระดับโลก ที่ผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเพื่อนําไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพต่อไป
2. ความสามารถในการคิดประดิษฐ์อย่างมีความสามารถในการปรับตัว สามารถจัดการ กับสภาการณ์ที่มีความซับซ้อน เป็นบุคคลที่ใฝ่รู้สามารถกําหนดประเด็นตั้งปัญหาคําถาม เพื่อนําไปสู่ การศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ข้อมูล สารสนเทศ และสรุปองค์ความรู้ใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความสามารถในการรับและส่งสาร การเลือก รับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง มีวัฒนธรรมการใช้ภาษาถ่ายทอด ความคิด ความรู้ ความเข้าใจและความรู้สึก รวมถึงทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งมีทักษะในการเจรจา ต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆตลอดจนสามารถเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ ในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม สามารถจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม นําไปสู่การปฏิบัติและนําไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม บริการสาธารณะ ซึ่งหมายถึงการ เป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี การสืบค้นความรู้จากแหล่งเรียนรู้และมีวิธีการ หลากหลายเลือกใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนา ตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทํางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ถูกต้อง เหมาะสมและมีคุณธรรม
นอกจากนี้คุณลักษณะของผู้เรียนที่ได้กล่าวไปแล้วนั้นผู้เรียนจะต้องมีทักษะที่เกี่ยวข้อง กับการเรียนการสอนไว้ 5 ประการดังนี้
1. การตั้งคําถาม/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) เป็นการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักคิด สังเกต ตั้งคําถามอย่างมีเหตุผลและสร้างสรรค์ ซึ่งจะ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการตั้งคําถาม (learning to Question) เพื่อนําไปสู่กระบวนการ คิดและวิเคราะห์ เมื่อได้รับรู้เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์
2. การสืบค้นความรู้และสารสนเทศ (Knowledge Formulation) เป็นการฝึกให้ผู้เรียนนําความรู้และสารสนเทศที่ได้จากการแสวงหาความรู้ อย่าง
หลากหลาย เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต หรือจากการฝึกปฏิบัติ การทดลอง เป็นต้น ซึ่งขั้นตอนเหล่านี้ จะช่วยส่งเสริมการแสวงหาความรู้ (Learning to Search) ของผู้เรียนทั้งการเรียนรู้ในห้องเรียน และ นอกห้องเรียน ซึ่งสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รวมถึงผู้เรียน ได้ประโยชน์จากการฝึกทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูล
3. การสร้างองค์ความรู้ (Knowledge Formation) เป็นการฝึกผู้เรียนนําความรู้และสารสนเทศที่ได้จากการแสวงหาความรู้ มาอธิบาย
เพื่อนําไปสู่การสรุปและสร้างองค์ความรู้ (Learning to Construct) เช่น ในการวิจัยครั้งนี้ มีกิจกรรม ให้ผู้เรียนสืบค้นเกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ และบอกประโยชน์ในการใช้งานของสื่อสังคมออนไลน์แต่ ละประเภท ทําให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้ใหม่ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ และมี ประโยชน์มากขึ้น
4. การสื่อสารและนําเสนออย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Communication) เป็นการฝึกให้ผู้เรียนนําความรู้ที่ได้มาสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งเสริม
ผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ และมีทักษะในการสื่อสาร (Learning to Communicate) ซึ่งเป็นทักษะที่ จําเป็นสําหรับผู้เรียน โดยผู้เรียนสามารถบอกกล่าวถึงประโยชน์ของสื่อสังคมออนไลน์ได้
5. การบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service)
เป็นการนําความรู้สู่การปฏิบัติ ซึ่งผู้เรียนจะต้องเชื่อมโยงความรู้ไปสู่การทําประโยชน์ ให้กับสังคมและชุมชนรอบตัวตามวุฒิภาวะของผู้เรียน และจะส่งผลให้ผู้เรียนมีจิตสาธารณะบริการ สังคม (Learning to Service)
จากที่กล่าวมาทั้งหมดจึงสรุปได้ว่า คุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 จะต้องมี ความรอบรู้ในทุกด้านไม่ว่าจะเป็นทางด้านวิชาการทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางด้านการสื่อสาร การใช้ชีวิตและจะต้องเป็นผู้ที่มีความกระตือรือร้นตื่นตัวทันต่อเหตุการณ์และสามารถปรับเปลี่ยน สภาพชีวิตได้ตามบริบทของสิ่งแวดล้อม สภาพสังคมและบริบทของโลก ซึ่งในงานวิจัยนี้ ได้นํา คุณลักษณะของครู และนักรียนมาใช้ในการจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนและครูได้มีส่วนร่วมในการจัด กิจกรรม และสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันได้
2.9 ควำมรู้เกี่ยวกับกำรใช้ไอซีทีและสื่อสังคมออนไลน์
2.9.1 ควำมหมำยของไอซีที (Information and Communication Technology) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี (2537 , 14) ได้ให้ความหมาย ซึ่งพระองค์ท่านได้ตรัสไว้ในปาฐกถา เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เป็นประโยชน์ต่อการ
พัฒนาประเทศไว้ดังนี้
“เทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology) ซึ่งประกอบด้วยกลุ่ม เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ (computer technology) ทั้งฮาร์ดแวร์(Hardware) ซอฟท์แวร์ ( software) และฐานข้อมูล ( database) กลุ่ มเทคโนโลยีการสื่อสารและโทรคมนาคม (telecommunication technology) และกลุ่มเทคโนโลยีอัตโนมัติ (automation technology) ที่มี การเน้นถึงการจัดการในกระบวนการดําเนินงานสารสนเทศหรือสารนิเทศในขั้นตอนต่าง ๆ ตั้งแต่การ
เสาะแสวงหา การวิเคราะห์ การจัดเก็บ การจัดการและการเผยแพร่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความ ถูกต้อง ความแม่นยําและความรวดเร็วทันต่อการนํามาใช้ประโยชน์ ”
สุชาดา กีระนันทน์ (2542, 7) ได้กล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารว่าหมายถึงเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบันทึก จัดเก็บ ประมวลผล ค้นคืนส่งและรับ เชื่อมโยงข้อมูลและสารสนเทศ ซึ่งรวมถึงเครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนการข้างต้น
สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2543 ,2) กล่าวถึงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารว่า เป็นเทคโนโลยีที่ผสมผสานระหว่างเทคโนโลยี 2 ส่วน ได้แก่เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีโทรคมนาคม ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่มีส่วนประกอบซึ่งกันและกัน เมื่อนํามาใช้ ก็ทําให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์สามารถทํางานอยู่ที่ใดในโลกก็ได้ โดยระบบการสื่อสารจะจัดการส่งคําสั่งการ ใช้งานไปยังเครื่อง และเครื่องจะส่งผลลัพธ์กลับไปช่วยให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการทํางานต่าง เป็นอย่างมาก
ชุมพล ศฤงคารศิริ (2540, 3) ให้ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไว้ ว่า หมายถึง เทคโนโลยีที่ประกอบขึ้นด้วยระบบจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลระบบสื่อสาร โทรคมนาคมและอุปกรณ์สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศที่มีการวางแผน จัดการและใช้งาน ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
ณัฎฐพันธ์ เขจรนันท์ และไพบูลย์ เกียรติโกมล (สัจชัย บุญผิว 2546,14 ; อ้างมาจาก ณัฎฐพันธ์ เขจรนันท์และไพบูลย์ เกียรติโกมล 2542 , ไม่มีเลขหน้า) ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการสื่อสารไว้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารเป็นเทคโนโลยีที่ประกอบขึ้นด้วย ระบบจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลและระบบสื่อสารโทรคมนาคม และการใช้งานร่วมกันอย่างมี ประสิทธิภาพ
2.9.2 กำรใช้สื่อสังคมออนไลน์
สําหรับเครื่องมือด้านการจัดการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศที่กําลังได้รับความ นิยมในปัจจุบันคือการจัดการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ซึ่งตัวอย่างเครื่องมือที่ใช้ในการ จัดการเรียนการสอนในปัจจุบัน เช่น การใช้บล็อกการเรียนรู้ (Blog) เฟสบุ๊ค(Facebook), ไลน์ (Line), อินสตาแกรม (Instagram) เป็นต้น
ภาพที่ 2.1 เครือข่ายสังคมออนไลน์
ที่มา: http://blog.drshannonreece.com/2011/09/19/top-12-social-media-leaders/
ไว้ ดังต่อไปนี้
2.9.3 กำรเรียนรู้ผ่ำนเครือข่ำยสังคมออนไลน์ (Social Network)
นักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของคําว่าเครือข่ายสังคมออนไลน์
ศศลักษณ์ ทองขาว และคณะ (2013,36) ได้ให้ความหมายของเครือข่ายสังคม
ออนไลน์ไว้ดังนี้ เครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นการเชื่อมโยงผู้คนเข้าไว้ด้วยกันช่วยให้สามารถหาเพื่อน บนอินเทอร์เน็ตซึ่งมีความสนใจเรื่องเดียวกันสามารถสร้างพื้นที่ส่วนตัวขึ้นมาเพื่อแนะนําตัวเองโดย เลือกว่าต้องทําความรู้จักกับใครหรือเป็นเพื่อนกับใครก็ได้
พิจารณ์ เจริญศรี (2554,190) กล่าวว่า เครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นเว็บไซต์ที่ ให้บริการข้อมูลต่าง ๆ สําหรับบุคคลที่สนใจเรื่องเดียวกันสามารถติดต่อพุดคุยกันได้
ระวิ แก้วสุกใส และ ชัยรัตน์ จุสปาโล (2556,195) ได้กล่าวว่า เครือข่ายสังคม ออนไลน์ หมายถึง สังคม หรือการรวมตัวกันเพื่อสร้างความสัมพันธ์ในรูปของกลุ่มคนรูปแบบหนึ่งที่ ปรากฏเกิดขึ้นบนอินเทอร์เน็ตหรือที่เรียกว่าชุมชนออนไลน์ทําให้ผู้คนสามารถทําความรู้จักแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันและเชื่อมโยงกันไปในทิศทางใด ทิศทางหนึ่งโดยมีการ ขยายตัวผ่านการติดต่อสื่อสารอย่างเป็นเครือข่าย เช่น เว็บไซต์ Facebook YouTube Twitter เป็น ต้น
ณัฐพล บัวอุไร (2011,1) กล่าวว่า เครือข่ายสังคมออนไลน์คือแพลตฟอร์มหรือ เว็บไซต์ที่มุ่งเน้นในการสร้างและสะท้อนให้เห็นถึงเครือข่ายหรือความสัมพันธ์ทางสังคมที่คนในกลุ่มมี ความสนใจในเรื่องเดียวกันสามารถพูดคุยเชื่อมโยงความคิดกันได้
บอยด์ (Boyd,2007) ได้ให้ความหมายของเครือข่ายสังคมออนไลน์ไว้ดังนี้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ คือบริการบนเว็บที่ช่วยให้บุคคลสามารถสร้างโปรไฟล์สาธารณะหรือกึ่ง สาธารณะและมีการเชื่อมกับบุคคลอื่น ๆ สื่อสารถึงกัน ขณะที่ไฮดาส (Hildegard ,2013) เครือข่าย สังคมออนไลน์มีความสําคัญอย่างมากและช่วยส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้
จากความคิดเห็นของนักวิชาการหลายท่านผู้เขียนจึงพอสรุปเป็นใจความสําคัญได้ ดังนี้ การเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ คือ การสร้างกลุ่มการเรียนรู้ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนและ ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสารกัน โดยในลักษณะของการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์นี้อาศัยการพูดคุยกันและสื่อสารกันในแต่ละกลุ่ม
2.9.3.1 ควำมเป็นมำของเครือข่ำยสังคมออนไลน์เพื่อกำรเรียนรู้
สําหรับเครือข่ายสังคมออนไลน์นั้นมีนักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงเครือข่าย
สังคมออนไลน์ไว้ดังนี้
จเรวัฒน์ เทวรัตน์ (2555,17) ได้กล่าวว่า เครือข่ายสังคมออนไลน์นั้นมีการใช
งานกันอย่างแพร่หลาย หรือที่เราเรียกกันว่า Social Network นั่นเอง สําหรับ Social Network นั้นเป็นเว็บไซต์ที่มีการเชื่อมโยงผู้คนเข้าไว้ด้วยกัน โดยผ่านกระบวนการพัฒนาของเทคโนโลยีเว็บ 2.0 และมีการเกิดขึ้นของสังคมออนไลน์ หรือเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) ที่ปรับเปลี่ยน ชีวิตของผู้รับสารและผู้ส่งสารในรูปแบบใหม่ ๆ เช่น การนําเอาเครือข่ายสังคมออนไลน์มาปรับใช้ใน ชีวิตประจําวัน หรือใช้ในการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ
ขณะที่พัธรวรรณ แก้วเกด(2556) กล่าวว่าการเกิดขึ้นและการเติบโตของ เครือข่ายสังคมออนไลน์นี้มาจากพัฒนาการทางเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตจากเว็บ 1.0 มาสู่ เว็บ 2.0 คือ ผู้ใช้สามารถสร้างเนื้อหาบนอินเทอร์เน็ตได้ด้วยตนเอง โดยไม่จํากัดทีมงานหรือผู้ดูแลเว็บไซต์ ซึ่ง สอดคล้องกับความคิดเห็นของสูรศักดิ์ ปาเฮ(2012,3) ได้กล่าวว่า Social media คือ เครื่องมือหรือ รูปแบบจากเว็บ 2.0 ที่นํามาใช้เชิงบูรณาการของเนื้อหาผ่านการถ่ายทอดจากการเขียน และการ ส่งผ่านข้อมูลทางเว็บไซต์หรือเว็บเพ็จและสื่อประเภทดังกล่าวสามารถนํามาใช้ในการจัดการเรียนการ สอนของครูได้หลายรูปแบบ เช่นกระบวนการอภิปราย (Discussion, forum) และการเขียนบทความ สื่อการสอนผ่านบล็อก, wikis, และ 3d virtual worlds ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า Social media ได้ ถูกพัฒนามาจากการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต เข้าสู่เว็บ 1.0 และหลังจากนั้นได้พัฒนามาเป็นเว็บ 2.0
ซึ่งเป็นที่นิยมกันอยู่ในปัจจุบัน ดังที่แสดงในภาพที่ 2.2
Social
networkin g
Social
media
Web 2.0
ภาพที่ 2.2 ขอบข่ายของสื่อSocial media (2558)
จากภาพที่ 2.2 แสดงให้เห็นวิวัฒนาการและความเป็นมาของSocial mediaหรือเครือข่าย สังคมออนไลน์ และในตารางที่ 2.2 แสดงพัฒนาการของเครือข่ายสังคมออนไลน์ในหน้าถัดไป
ตารางที่ 2.3 พัฒนาการของเครือข่ายสังคมออนไลน์
ปี | พัฒนำกำรสํำคัญของเครือข่ำยสังคมออนไลน์ |
พ.ศ.2514 | อีเมลฉบับแรกของโลกถูกส่งจากเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งที่อยู่ถัดไป พร้อมข้อความ “QWERTYUIOP” |
ปี | พัฒนาการสําคัญของเครือข่ายสังคมออนไลน์ |
พ.ศ. 2521 | เกิดระบบกระดานข่าว (Bulletin Board System-BBS) ขึ้นเป็นครั้งแรกโดยมีจุดประสงค์ เพื่อแลกเปลี่ยนข่าวสารและแฟ้มข้อมูลระหว่างสมาชิกด้วยกันในประเทศไทยเรียก BBS ว่า เว็บบอร์ด |
พ.ศ. 2537 | GeoCities (Ceocities.com) เว็บเครือข่ายสังคมออนไลน์แรกๆ ของโลกถือกําเนิดขึ้นโดย ผู้ใช้สามารถสร้างเว็บของตัวเองบนพื้นที่ GeoCities |
พ.ศ. 2538 | เกิด theGlobe.com เว็บเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่สร้างโดยนักเรียนจากคอร์เนล ซึ่งทําให้ ผู้ใช้สามารถจัดการข้อมูลส่วนบุคคลของตนเองได้ |
พ.ศ. 2539 | เกิด ICQ โปรแกรมสนทนาระหว่างบุคคล |
พ.ศ. 2540 | เปิดตัว AOL Instant Messenger โปรแกรมส่งข้อความเหมือน MSN และยังคงได้รับ ความนิยมมาจนถึงปัจจุบัน เปิดตัว Six degrees.com พร้อมทั้งผู้ใช้สามารถสร้างและ ปรับแต่งโปรไฟล์และรายชื่อเพื่อนได้ |
พ.ศ. 2542 | เปิดตัว Live Journal (LiveJournal.com) บล็อกที่มีผู้นิยมใช้ เปิดตัวเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่จับกลุ่มเชื้อสายเอเชีย-อเมริกันอย่าง AsianAve หรือ Asian Avenue (asianave.com) เปิดตัว BlackPlanet (blackplanet.com) เป็นชุมชนที่จับกลุ่มผิวสี เปิดตัว epinions.com เพื่อให้ผู้ใช้สามารถควบคุมเนื้อหาและติดต่อถึงกันได้ เปิดตัว QQ Instant Messenger จากประเทศจีน |
ตารางที่ 2.3 พัฒนาการของเครือข่ายสังคมออนไลน์ (ต่อ)
ปี | พัฒนำกำรสํำคัญของเครือข่ำยสังคมออนไลน์ |
พ.ศ. 2543 | LunaStorm (lunarstorm.se) จากสวีเดนที่จับกลุ่มวัยรุ่นเป็นเป้าหมายลอนซ์เว็บ MGente (migente.com) ของอเมริกาที่จับกลุ่มคนสเปนและโปรตุเกส ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2543 คาบเกี่ยวในปี พ.ศ. 2544 ต้นแบบ Social Network อย่าง Six degrees ปิดตัวได้ทิ้งแนวคิดเกี่ยวกับ Social Network ให้ผู้ตามอย่าง Facebook, Friendster และ LinkedIn เติบโต้และทําได้รายมาจนถึงทุกวันนี้ |
พ.ศ. 2544 | เปิดตัว Wikipedia เว็บสารานุกรมเนื้อหาเสรี เปิดตัว Bit Torrent |
ปี | พัฒนาการสําคัญของเครือข่ายสังคมออนไลน์ |
พ.ศ. 2545 | ลอนซ์ Friendster (Friendster.com) และนับเป็นเว็บไซต์ทนี่ ําการตลาดมาจับอย่างเต็ม ตัวซึ่งปัจจุบันก็ยังเป็นเว็บที่ใช้งานอยู่ เปิดตัวเว็บศูนย์กลางระหว่างนักท่องเที่ยวที่ต้องการที่พักกับผู้ทพร้อมให้ที่พักอย่าง QQ ถูกข่ายให้กับ Tencent ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตอันดับหนึ่งของจีน CouchSurfing (couchsurfing.com) เปิดตัว tribe.net, Xing (xing.com) LinkedIn (linkedin.com), classmates.com Jaiku (Jaiku.com), last.fm, Hi5 (Hi5.com), Second Life เปิดตัว Pantip (Pantip.com) เว็บของไทย |
พ.ศ. 2547 | เปิดตัว Mutiply (multiply.com) Flickr (flickr.com) Mixi (mixi.com) dig (dig.com, World of Warcraf เปิดตัว Facebook เพื่อให้นักศึกษาในมหาวิทยาลัยติดต่อกัน เริ่มที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด |
พ.ศ. 2548 | เปิดตัวเว็บวิดีโอแชร์อันดับหนึ่งอย่าง You Tube เปิดตัว Ning, Skype Facebook เริ่มขยายเครือข่ายสู่เด็กมัธยมปลายหลังประสบความสําเร็จกับกลุ่มนักศึกษา มหาวิทยาลัย |
พ.ศ. 2549 | เปิดตัว Twitter Facebook ขยายสู่บุคคลทั่วไปเต็มรูปแบบ Microsoft จับกระแสเครือข่ายสังคมออนไลน์ด้วยการเปิดตัว Window Live Space |
พ.ศ. 2551 | Facebook ติดอันดับหนึ่งของสังคมออนไลน์ |
พ.ศ. 2553 | มีการสร้างภาพยนตร์ The Social Network ที่เล่าเรื่องของ Facebook และได้รับการตอบ รับเป็นอย่างดีจากผู้ชม ส่งผลให้เกิดความพยายามในการสร้างหนังจากเรื่องของ Google ตามมา |
ตารางที่ 2.3 พัฒนาการของเครือข่ายสังคมออนไลน์ (ต่อ)
ปี | พัฒนำกำรสํำคัญของเครือข่ำยสังคมออนไลน์ |
พ.ศ. 2554 | Facebook มีผู้ใช้เพิ่มขึ้นระดับ 800 ล้านคนในปลายปี เปิดตัว Google+ เป็นครั้งแรก ไลน์ (Line) โปรแกรมสนทนาได้ถือกําเนิดเป็นครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่น |
พ.ศ. 2555 | เดือนตุลาคม 2555 ผู้ใช้Facebookทั่วโลก มีจํานวนเกิน 1 พันล้านคนแล้ว หันมาดูสถิติผู้ใช้ ทวิตเตอร์ (Twitter) ในประเทศไทยกันบ้าง พบว่า มีจํานวนผู้ใช้ทวิตเตอร์เพียง 4.5 ล้าน บัญชีรายชื่อ เป็นอันดับที่ 17 ของโลก ขณะที่อินสตาแกรม (Instagram) มีจํานวนผู้ใช้งาน ในไทยราว 1.5 ล้านบัญชีรายชื่อ |
พ.ศ. 2556 | ประเทศไทยใช้เฟสบุ๊ค (Facebook) เป็นอันดับที่ 13 ของโลก ขณะที่ประชากรไทยใช้ สนทนาผ่านไลน์จํานวน 18 ล้านคน |
พ.ศ. 2557 | การสร้าง Content ที่สอดรับกับช่องทาง Social Media ที่ แบรนด์ สินค้าเหล่านั้น เลือกใช้ บรรดาแบรนด์สินค้าทั้งหลายจะต้องตอบคําถามของตัวเองให้ได้ว่า ผู้บริโภคของ เขาอยู่ในช่องทางใด ? และจะทําอย่างไรให้เกิดความแตกต่างอย่างโดดเด่นในช่องทางนั้น ? เพื่อที่จะนําข้อสรุปนั้นมาสร้างเป็น Content |
พ.ศ.2558 | จากการสํารวจเมื่อ พ.ศ. 2557 ปรากฏว่ายอดผู้ใช้ Facebook ของไทยประมาณ 30 ล้าน คน (อ้างอิงจากเว็บไซต์ http://thaimarketing.in.th/2015/01/05/infographic- thailand-social-media-landscape-2014/๗ |
ที่มา: สุขุม เฉลยทรัพย์ และคณะ (2555,96)
จากตารางที่ 2.2 จะเห็นได้ว่าสื่อ Social media ได้มีวิวัฒนาการและเติบโตมาเรื่อย ๆ จนในปัจจุบันกลายเป็นปัจจัยที่สําคัญต่อการใช้ชีวิตในสังคมทั้งในเรื่องของการติดต่อสื่อสาร การ พูดคุยรวมถึงการเจรจาทางธุรกิจ
นอกจากนี้ คอมเมอร์ (Kommers,2011,online อ้างถึงในสุรศักดิ์ ปาเฮ,2012,4) ได้ จัดแบ่งประเภทของขอบข่ายSocial media ไว้ 3 ประเภท คือ
1. สื่อสร้างปฏิสัมพันธ์เชิงสังคม (Media for Social Interaction) หรือ สื่อSocial media ก่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ผ่านสื่อเทคโนโลยี ที่แสดงให้เห็นชัดในปัจจุบันได้แก่ การ สร้างสัมพันธภาพความเป็นมิตรของเยาวชนกลุ่มวัยรุ่น และการสร้างเครือข่ายด้านอาชีพหรือการค้า ที่พัฒนาอย่างกว้างขวางและรวดเร็วภายใต้เว็บ 2.0
2. สื่อสังคมเครือข่าย (Network Communities) การเรียนรู้ผ่านสื่อสังคมเครือข่ายทํา ให้ประสิทธิภาพของการเรียนรู้ดีขึ้น สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็วขึ้น ซึ่งผู้เรียนสามารถ เชื่อมโยงเครือได้ทุกที่ เช่น กลุ่มสังคมเครือข่ายระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏด้วยกัน คือ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏนครศรีธรรมราชกับมหาวิทยาราชภัฏภูเก็ต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุราษฏรธานี และสําหรับการเรียนการสอน ในหลักสูตรก็สามารถใช้สื่อสังคมเครือข่ายมาประยุกต์ใช้ ในการเรียนการสอนได้ เช่น สังคมเครือข่ายครอบครัวคอมพิวเตอร์ของหลักสูตรคอมพิวเตอร์ซึ่ง ประกอบด้วยสมาชิกคือนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ทั้งหมดในหลักสูตรเชื่อมโยงกับกลุ่มเครือข่าย นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคใต้
3. สื่อแห่งการสร้างสัมพันธ์ข้ามมิติ (Intercrossing Relationships) สังคมSocial mediaเป็นการสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ข้ามมิติ ตัวอย่างเช่น ความแตกต่างหลากหลายในมิติของ สังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิต คุณธรรมจริยธรรมของคนไทย กับชาติต่าง ๆ ในอาเซียน เช่น บรูไน มาเลเซีย สิงคโปร์ ลาว เวียดนาม เป็นต้น ซึ่ง การที่มีสื่อแหส่งการสร้างสัมพันธ์ข้ามมิติย่อมเป็นโอกาส ที่ดีให้กับผู้เรียนในการแสวงหาความรู้ และได้มุมมองชีวิตที่แตกต่างจากมุมมองเดิม
จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าSocial media นั้นสามารถแบ่งรูปแบบและขอบข่ายได้เป็น 3 ประเภทคือ สื่อสร้างปฏิสัมพันธ์เชิงสังคม ซึ่งเป็นสื่อที่มีการเชื่อมโยงหรือสร้างความสัมพันธ์กันเป็น เครือข่าย เช่นเครือข่ายการเรียนรู้และสร้างงานอาชีพ เครือข่ายการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เป็นต้น สื่อสังคมเครือข่าย ที่มีประเภทเหมือนกัน เช่น เครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฎในภาคใต้ หรือเครือข่าย มหาวิทยาลัยทั่วประเทศ เป็นต้น และสุดท้ายคือ สื่อแห่งการสร้างสัมพันธ์ข้ามมิติ เป็นการสร้าง เครือข่ายความแตกต่างด้านวัฒนธรรมที่ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้หรือเรียนรู้ได้ เช่น เครือข่าย ทางด้านการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของประเทศในอาเซียน เป็นต้น
เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ เป็นการเรียนรู้ตามหลักทฤษฎีคอนเน็กติวิสซึม (Connectivism) ตามที่มาสันและ เรนนี่ (Mason and Rennie,2008,18-19) ได้กล่าวว่า เครือข่าย สังคมออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ได้รับอิทธิพลวิวัฒนาการของเทคโนโลยีเว็บ 2.0 โดย เน้นให้เห็นขอบข่าย แห่งการเรียนรู้แบบบูรณาการตามปรัชญาแห่งการเรียนรู้ซึ่งได้แก่ ปรัชญาพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) ปรัชญาพุทธินิยม (Cognitivism) และ ปรัชญาสรรคนิยม (Constructivism) ซึ่งส่งผล ต่อการเรียนรู้ในรูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างกัน เพื่อสร้างทักษะและองค์ความรู้ ใหม่คือ ปรัชญาการเชื่อมโยง (Connectivism) ซึ่งมีหลักแนวคิดพื้นฐานดังต่อไปนี้
1. การเรียนรู้และองค์ความรู้เกิดจากพลังและกระบวนการคิดของมนุษย์ที่มีอย่าง ต่อเนื่องไม่มีวันสิ้นสุด
2. การเรียนรู้เกิดจากกระบวนการเชื่อมโยงจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่ เช่น หนังสือ เอกสาร ตํารา หรือแม้กระทั่งแหล่งความรู้จากเว็บไซต์ต่าง ๆ
3. การเรียนรู้อาจมีรูปแบบที่แตกต่างกันไปตามลักษณะของบุคคล หรือความแตกต่าง ระหว่างบุคคล
4. ประสิทธิภาพของการสร้างองค์ความรู้ย่อมเกิดจากการแสวงหาความรู้และการมี พัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
5. การพัฒนาการเรียนรู้และการสะสมองค์ความรู้เป็นสิ่งที่จําเป็นที่ทําให้เกิดการเรียนรู้ อย่างไม่มีที่สิ้นสุดของมนุษย์นั่นเอง
6. ความสามารถในการเชื่อมโยง ความคิด ประสบการณ์ และมโนทัศน์ ถือเป็นปัจจัย หลักที่ทําให้เกิดองค์ความรู้
7. จุดเน้นสําคัญของการสร้างกิจกรรมในการเชื่อมโยงการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเป็นการสร้าง องค์ความรู้ที่เป็นปัจจุบัน
8. การตัดสินใจเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่สําคัญที่เกิดขึ้นและสิ่งสําคัญคือต้องเลือกที่จะ เรียนรู้ และใช้วิจารณญาณอย่างรอบคอบเพื่อใช้เป็นเป็นองค์ประกอบในการตัดสินใจ
อย่างไรก็ตาม คอมเมอร์ (Kommers,2011,online) ได้กล่าวถึงสื่อSocial mediaหรือ สื่อสังคมหรือสื่อสังคมในการจัดการเรียนรู้ไว้ว่า วิวัฒนาการของสื่อทางสังคมมีความก้าวหน้าไปอย่าง รวดเร็วและนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในสังคมทุกกลุ่ม สถาบันการศึกษาจึงได้มีการนําเอา Social mediaมาประยุกต์ใช้ร่วมกับการจัดการเรียนการสอนด้วยเหตุผล 2 ประการคือ
1. สื่อ Social media เช่น Blog, Wikis, Facebook, Twitter, MSN, LinkedIn, Flicker) เป็นสื่อที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทําให้ผู้เรียนมีอิสระในการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น ซึ่งการนํา สื่อประเภทนี้มาใช้ในโรงเรียนจะสนองต่อจุดประสงค์และเป้าหมายที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนได้
2. การใช้สื่อ Social media ในโรงเรียนเป็นการจํากัดช่องทางและมีความเหมาะสมกับ ผู้ใช้ที่จะสามารถพัฒนารูปแบบการสื่อสารได้ด้วยตนเองโดยเฉพาะการสื่อสารจากการใช้เว็บไซต์และ เป็นระบบการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียนอีกด้วย
2.9.3.2 องค์ประกอบของสื่อสังคมออนไลน์
สําหรับสื่อสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนรู้นั้น ธนพฤกษ์ ชามะรัตน์ (2551, อ้าง ถึงใน สุขุม เฉลยทรัพย์และคณะ,2555,95) ได้แบ่งองค์ประกอบของเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการ เรียนรู้ออกเป็น 6 ประเภท ดังนี้
1) การมีสมาชิกของเครือข่าย
2) การมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน
3) การปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกในเครือข่าย
4) การสื่อสารภายในเครือข่าย
5) การมีปฏิสัมพันธ์เชิงแลกเปลี่ยน
6) การให้บริการสมาชิกเครือข่ายสังคมออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ
จากที่กล่าวมา จะเห็นได้ว่าเครือข่ายสังคมเพื่อการเรียนรู้นั้นมีองค์ประกอบที่สําคัญที่ จําเป็นต่อการเรียนรู้คือ การมีสมาชิกของเครือข่าย ตัวอย่างเช่น หลักสูตรคอมพิวเตอร์ศึกษาคณะครุ ศาสตร์ ซึ่งมีจํานวนนักศึกษา 4 ชั้นปี จํานวน 257 คน ทุกคนจะต้องเป็นสมาชิกของเครือข่ายการ เรียนรู้ที่ถูกสร้างไว้ในเฟสบุ๊ค (Facebook) ภายใต้ชื่อ “Computer Family Nstru” และสมาชิกใน เครือข่ายทุกคนมีวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายร่วมกันคือ เรียนหลักสูตรคอมพิวเตอร์ คณะครุศาสตร์ และเมื่อสําเร็จการศึกษาแล้วเป้าหมายหรือจุดมุ่งหมายคือ การสอบบรรจุเข้ารับราชการในตําแหน่งครู สอนคอมพิวเตอร์ หรือทํางานด้านเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน นอกจากนั้นทุกคนใน เครือข่ายก็จะมีหน้าที่เรียนหนังสือและทํากิจกรรมร่วมกัน รวมถึงเมื่อมีข้อมูลข่าวสารก็จะสื่อสารกัน ภายใต้เครือข่ายเดียวกันและมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้แก่กันและ กันระหว่างเพื่อนในห้องเรียนรวมถึงช่วยเหลือกัน
2.9.3.3 ประเภทของเครือข่ำยสังคมออนไลน์เพื่อกำรเรียนรู้
มาสัน และ เรนนี่ (Mason and Rennies,2008,61) ได้แบ่งประเภทของสื่อ Social media (Social Media) ออกเป็น 19 ประเภท ซึ่งแต่ละประเภทจะมีลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกัน ออกไป ตามลักษณะที่แสดงในตาราง 2.4
ตารางที่ 2.4 ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์
1. Blogs / Weblogs 2. Wikis 3. Podcasts 4. E-learning 5. Social Networking 6. Social Bookmarking 7. Photo sharing | 8. Second life 9. Online forums 10. Video Messaging 11. e-Books 12. Instant Messaging 13. Skype 14. Games | 15. Mashups 16. Mobile Learning 17. RSS Feeds 18. You Tube 19. Audio Graphics |
ที่มา: Mason and Rennies,2008,61
สื่อสังคมออนไลน์ (Social media) มีหลากหลายประเภทดังที่กล่าวมาและได้มีการนํามา ประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน โดยที่ พัว (Poore,2013,40) ได้กล่าวว่าสื่อSocial mediaมีอิทธิพล ต่อการนํามาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนที่เรียกว่า กลุ่ม “The Big Four” ซึ่งประกอบด้วย Blog,
Wikis, Social Networking และ Podcasting
อย่างไรก็ตามสูรศักดิ์ ปาเฮ (2555,7) ได้กล่าวว่าสื่อSocial mediaสามารถจําแนกได้ ตามลักษณะการใช้งานดังนี้
1. การตีพิมพ์ เช่น บล็อก,วิกิพีเดีย และเว็บสําหรับโพสต์ข้อความ หรือข่าวสารต่าง ๆ
2. การแบ่งปัน เช่น วิดีโอ,รูปภาพ, ดนตรี
3. การอภิปราย เช่น การเสวนา และโปรแกรมสนทนาออนไลน์
4. เครือข่ายสังคมออนไลน์
5. การตีพิมพ์แบบไมโคร เช่น ไมโคบล็อก
นอกจากนี้เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ (2554 อ้างถึงใน ระวิ แก้วสุกใสและชัยรัตน์ จุสปาโล
,2556,4) ได้จัดประเภทของสื่อSocial mediaไว้ 7 ประเภทดังนี้
1. การเขียนบทความบนเว็บบล็อกเป็นระบบการจัดเนื้อหา(Content Management System: CMS) ผู้ใช้สามารถเขียนบทความที่เรียกว่า โพสต์ (post) และทําการเผยแพร่ได้โดยง่าย ซึ่ง เป็นการเปิดโอกาสให้คนที่มีความสามารถในด้านต่าง ๆ สามารถเผยแพร่ความรู้ในการเขียนได้อย่าง เสรี ซึ่งสื่อประเภทนี้ได้แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบคือ
1.1 Blog ที่จัดทําโดยบริษัท (Corporate Blog) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพูดจา
สื่อสารกับลูกค้า
1.2 Microblog มีลักษณะเป็นการโพสต์ข้อความสั้นๆ ไม่เกิน 140 ตัวอักษรและ
สามารถส่งข้อความสั้นๆ ไปยังโทรศัพท์มือถือได้โดยไม่จําเป็นต้องเปิดอินเทอร์เน็ตอ่าน
1.3 Blog ที่เขียนจาก Blogger อิสระ ที่มีความสามารถเขียนเรื่องที่ตนถนัด และมี ผู้ติดตามจํานวนมาก ซึ่ง Blog ในรูปแบบนี้ภายหลังได้รับความนิยมในด้านการตลาดเพื่อเผยแพร่ สินค้าและบริการต่าง ๆ
2 แหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge) เป็นเว็บที่รวบรวมข้อมูล ความรู้ใน เรื่องต่าง ๆ ในลักษณะของเนื้อหาอิสระ ทั้งวิชาการ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สินค้าและบริการ โดย เน้นให้บุคคลที่มีความรู้ในเรื่องต่าง ๆ เหล่านั้นเข้ามาเขียนเพื่อให้คําแนะนําหรือให้ความรู้ เช่น Google earth เป็นต้น
3 ประเภทเกมส์ออนไลน์ (Online Games) เป็นเว็บที่นิยมเพราะเป็นแหล่งรวบรวม เกมส์ ต่าง ๆ มีลั กษณะเป็นวิดีโอที่เล่นบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น Second Life, Ragnarok,Pangya เป็นต้น
4 ประเภทชุมชนออนไลน์ (Community) เป็นเว็บที่เน้นการหาเพื่อนใหม่ หรือการ สร้างโปรไฟล์เพื่อใส่รูปภาพต่าง ๆ มีกราฟฟิคที่แสดงความเป็นตัวตนหรือถ่ายทอดเรื่องราว ประสบการณ์ต่าง ๆ เช่น Facebook, Myspace หรือ MyFriend เป็นต้น
5 ประเภทฝากรูปภาพ (Photo Management) เน้นการฝากรูปภาพ โดยไม่ต้อง เปลืองฮาร์ดดิสก์ส่วนตัว แค่ทําการอัปโหลดภาพจากกล้องถ่ายรูปหรือโทรศัพท์มือถือไปเก็บไว้บนเว็บ และสามารถแชร์ภาพหรือซื้อขายภาพได้ เช่น Flickr Photoshop Express และ Photobucke
6 ประเภทสื่อ (Media) เว็บที่ใช้ฝากหรือแบ่งปัน (Sharing) ไฟล์ประเภท Multimedia เช่น คลิปวิดีโอ ภาพยนตร์ เพลง เป็นต้น และเป็นเว็บที่เน้นเฉพาะไฟล์ที่เป็น Multimedia เช่น YouTube และ Yahoo Video เป็นต้น
7 ประเภทซื้อขาย (Business /commerce) เป็นเว็บประเภทที่ทําธุรกิจออนไลน์ที่ เน้นการซื้อขายสินค้า หรือ บริการต่าง ๆ ผ่านเว็บไซต์ เช่น บริการซื้อขายหนังสือ เสื้อผ้า ที่พักอาศัย ซึ่งเว็บประเภทนี้ได้แก่ eBay Tarad, Amazon.com เป็นต้น
จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าการใช้สื่อ Social mediaได้ถูกแบ่งออกตามลักษณะการใช้ งาน ซึ่งในการจัดการเรียนการสอนนั้นได้นําสื่อ Social media ที่เป็นที่นิยมกันมาประยุกต์ใช้ในการ จัดการเรียนรู้ทําให้การจัดการเรียนรู้นั้นมีสีสันและสร้างความสนใจให้กับผู้เรียนมากขึ้น
ดังนี้
2.9.3.4 ผู้ให้และผู้ใช้เครือข่ำยสังคมออนไลน์
สุขม เฉลยทรัพย์ และคณะ (2555,100) ได้แบ่งกลุ่มผู้และผู้ใช้บริการออกเป็น
1. กลุ่มผู้ให้บริกำรเครือข่ำยสังคมออนไลน์ (Social Network Service
:SNS)
กลุ่มผู้ให้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์มีทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมี
ลักษณะที่แตกต่างกัน และสามารถแบ่งตามประเภทของเครือข่ายสังคมออนไลน์ได้
1.1 กำรสร้ำงและประกำศตัวตน (Identify Network)
1.1.1 Facebook เป็นการให้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ ที่มีผู้ คิดค้นและก่อตั้งคือ มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก (Mark Zuckerberg) และเปิดให้บริการเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2547 ปัจจุบัน Facebook เป็นที่นิยมและมีจํานวนผู้ใช้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ในปี ค.ศ. 2014 และจากรายงานยอดผู้ใช้งานSocial mediaของไทยในปี 2014 พบว่า Facebook ในเมืองไทย มียอดผู้ใช้งานเพิ่มขึ้นเป็น 30 ล้านคน โดยใช้งานผ่านมือถือ 28 ล้านคน และยอดผู้ใช้งานทุกงัน 19.8 ล้านคน และสําหรับผู้ใช้งานผ่านมือถือนั้นแบ่งได้ดังนี้
1) ใช้งาน Facebook ผ่านระบบปฏิบัติการแอนดรอย (Android)
จํานวน 19.2 ล้านคน
ทั้งสิ้น 8.6 ล้านคน
จํานวนทั้งสิ้น 1.1 ล้านคน
2) ใช้งาน Facebook ผ่านระบบปฏิบัติการ Apple iOS จํานวน
3) ใช้งาน Facebook ผ่านระบบปฏิบัติการWindows Phone โดยมี
7.6 ล้านคน
4) และผู้ที่ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ประเภทอื่นๆ อีก มีจํานวนทั้งสิ้น
ซึ่ง Facebook มีบริการทั้งการสร้างข้อมูลส่วนตัว การเพิ่มเพื่อนจากบัญชีรายชื่อผู้ใช้อื่น
ส่งข้อความ การอัปโหลดภาพ และไฟล์วิดีโอต่าง ๆ และมีการสร้างเพจ Facebook ของผู้ใช้เพื่อให้ บริการข้อมูลข่าวสารทั้งภาครัฐและเอกชน และมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันทั้งในเรื่องส่วนตัว และเรื่องงานรวมถึงเรื่องของการเรียนการสอน ผู้สอนกับผู้เรียนสามารถติดต่อกันได้ผ่าน Facebook และสําหรับความคิดเห็นของผู้เขียนคิดว่าการใช้ Facebook ในปัจจุบันเป็นมากกว่าการติดต่อสื่อสาร หรือการสนทนากัน แต่เป็นไปในลักษณะของการซื้อขายสินค้าผ่านทาง Facebook หรือผ่านทางช่อง สนทนาหรือที่เรียกว่า “Chat” ซึ่งกลายเป็นอีกช่องทางหนึ่งของการซื้อขายกันในปัจจุบัน และสําหรับ การใช้งาน Facebook ของประเทศไทยนั้นมีการใช้งานเป็นอันดับสองรองจากประเทศอินโดนีเซีย และเขตพื้นที่ที่ใช้งาน Facebook มากที่สุดคือ กรุงเทพฯ รองลงมาคือเชียงใหม่ และหาดใหญ่ รวมถึง ชลบุรี เป็นต้น
จากการสํารวจที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่า ผู้หญิงใช้ Facebook กว่าผู้ชาย โดยส่วนใหญ่จะใช้ ในการสนทนา ดาวน์โหลดเพลง และเล่นเกมส์ผ่าน Facebook รวมถึงโพสต์รูปภาพต่าง ๆ และมีการ กด Like เพื่อแสดงการชื่นชอบหรือชื่นชม
ภาพที่ 2.3 Facebook ของคณาจารย์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ที่มา: http://www.nstru.ac.th/facebook
1.1.2 Twitter
มารีน และวิตตอเรีย (Marin and Victoria,2015,1) ได้ให้ความหมายของ ทวิตเตอร์ไว้ดังนี้ ทวิตเตอร์เป็นเว็บบริการที่ช่วยให้ ผู้ใช้บริการสามารถส่งข้อความสั้นไปยังสมาชิกคน อื่น ๆ ได้ ขณะที่สุขุม เฉลยทรัพย์ และคณะ (2555, 101) กล่าวว่าทวิตเตอร์เป็นบริการเครือข่ายสังคม ออนไลน์ประเภทไมโครบล็อก จัดเป็นบล็อกขนาดเล็ก มีคุณสมบัติคล้ายกับบล็อกทั่วไป ซึ่งทวิตเตอร์ นั้นก่อตั้งเมื่อเดือนมีนาคม 2006 โดยผู้ก่อตั้งคือแจ็ก คอร์ซีย์ บิซ สโตน และอีวาน วิลเลียมส์ เจ้าของ บริษัทคือ Obvious Crop ที่ซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา ทวิตเตอร์กําหนดให้ผู้ใช้สามารถส่งข้อความ ได้ไม่เกินครั้งละ 140 ตัวอักษร ข้อความที่โพสต์ไปยังทวิตเตอร์จะแสดงอยู่บนเว็บเพจของผู้ใช้คนนั้น บนเว็บไซต์และผู้ใช้คนอื่นสามารถเลือกรับข้อความเหล่านี้ได้ทางเว็บไซต์ของทวิตเตอร์ อีเมล เอสเอ็ม เอส เมสเซนเจอร์ อาร์เอสเอส หรือผ่านทางโปรแกรมเฉพาะ เช่น Twitterific, Twirl และ Twee Desk บริการ เว็บที่ช่วยให้ ผู้ใช้บริการที่จะออกอากาศ ข้อความสั้นไปยัง สมาชิกคนอื่น ๆ ในการ ให้บริการ และสัญลักษณ์ของทวิตเตอร์จะเป็นดังภาพที่ 2.4
ภาพที่ 2.4 สัญลักษณ์ของทวิตเตอร์ ที่มา: about Twitter.com (2558)
1.1.3 Bloggang บล็อกแก๊ง เป็นบริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ประเภท บล็อกของไทยที่เปิดบล็อกเพื่อให้บริการกับผู้ใช้ที่ต้องการนําเสนอเรื่องราวและเห็นการณ์ต่าง ๆ รวมทั้งนําเสนอความคิดเห็นต่าง ๆ ลงไปได้
1.2 สร้ำงและประกำศผลงำน (Creative Network)
1.2.1 You Tube
ยูทูบ เป็นเว็บไซต์ประเภทแชร์ไฟล์วิดีโอ สําหรับยูทูบก่อตั้งโดย แซต เฮอร์ ลีย์ สตีฟ เชง และยาวีด คาริม สําหรับบริการของยูทูบนั้นผู้ใช้งานสามารถอัปโหลดไฟล์วิดีโอ หรือ ดาวน์โหลดไฟล์วิดีโอหรือ มิวสิกวิดีโอต่าง ๆ จากยูทูบ โดยยูทูบมีนโยบายไม่ให้ผู้ใช้ละเมิดลิขสิทธิ์ ยกเว้นเป็นผลงานของตัวเองที่อับโหลดไปเก็บไว้ในยูทูบ และหลังจากนั้นยูทูบจะทําการเผยแพร่ ผลงานให้กับผู้ใช้ ซึ่งผู้ใช้สามารถดูยอดจํานวนผู้เข้าชมแต่ละวิดีโอได้ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ
ภาพที่ 2.5 การสอนคอมพิวเตอร์เบื้องต้นผ่าน YouTube
ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=YRpCMhPYiJE (2558)
1.2.2 ฟลิกเกอร์ (Flickr) เป็นเว็บไซต์สําหรับเก็บรูปภาพดิจิทัล โดยอัปโหลด flickr จากผู้ใช้งานและสามารถแบ่งปันให้ผ้อื่นดูได้ ซึ่งบริการของฟลิคเกอร์ใช้สําหรับในการเขียน บล็อก โดยฟลิคเกอร์ได้ถูกพัฒนาในบริษัทลูดิคอร์ป (Ludicorp) และในปี พ.ศ. 2548 บริษัทยาฮู (yahoo) ได้ซื้อฟลิคเกอร์มาเพื่อให้บริการในด้านมัลติมีเดีย โดยความสามารถของฟลิคเกอร์เช่น สามารถแท็ก (tag) ภาพหรือเชื่อมโยงภาพจากไฟล์ของผู้ใช้หรือไฟล์ของผู้อื่นได้โดยใช้ชื่อแท็ก เดียวกัน สามารถจัดเก็บภาพเป็นหมวดหมู่ต่าง ๆ เช่น การจัดเรียงภาพตามวันที่ จดบันทึกข้อความ ได้ และแสดงปฏิทิน วัน เวลา ได้
นอกจากนี้ก็ยังมีตัวอย่างของ Slideshare ที่เปิดให้บริการในอัปโหลดข้อมูล ซึ่งเป็น เว็บไซต์ประเภทที่ให้บริการฝากไฟล์ ประเภทงานนําเสนอในรูปแบบของไฟล์ .pdf, .ppt, .pps, .pptx และไฟล์วิดีโอ ซึ่งขนาดของไฟล์สูงสุดไม่เกิน 100 MB ซึ่งผู้ใช้บริการสามารถเข้าไปดาวน์โหลดไฟล์ เหล่านั้นได้โดยผ่านการสมัครเป็นสมาชิกของ Slideshare ก่อน ซึ่งบริการอัปโหลดไฟล์ก็จะเป็น ลักษณะเดียวกันคือเมื่อสมัครเป็นสมาชิกแล้วก็สามารถฝากไฟล์งานหรืออัปโหลดไฟล์งานที่ผู้ใช้ ต้องการเผยแพร่ได้
เช่น
1.3 ควำมชอบหรือคลั่งไคล้ในสิ่งเดียวกัน (Passion Network)
สําหรับเครือข่ายออนไลน์ประเภทนี้เปรียบเสมือนชุมชนของคนที่ชอบเรื่องเดียวกัน
1.3.1 Digg
ดิกก์ เปิดตัวเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ผู้ก่อตั้งคือ เควิน โรส เจ้าขอ
คือ Digg,Inc. ดิกก์เป็นเว็บไซต์ประเภทชุมชนเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์เป็น
ส่วนใหญ่ Digg เป็นทั้งเว็บ Social Bookmarking และ Social Network เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ใช เก็บเว็บไซต์ที่โปรดปรานแบบที่เรียกว่า “dig” เว็บไซต์แล้ว ผู้ใช้สามารถเข้ามาแสดงความคิดเห็นได้ ด้วย
1.3.2 Ning
Ning ได้ถูกพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 2004 โดยผู้ก่อตั้งคือ Gina Bianchini และ Marc Andreessen ซึ่งคือเจ้าของเดียวกับ Netscape ที่เป็นบราเซอร์รุ่นแรกที่เคยใช้กัน วัตถุประสงค์ ในการพัฒนา Ning ขึ้นมาคือเป็นชุมชนออนไลน์ที่รวมเอาคนที่มีความชื่นชอบในสิ่งเดียวกันมาไว้ ด้วยกัน ซึ่ง Ning มีชุมชนภายในเว็บไซต์มากกว่า 270,000 ชุมชนด้วยสมาชิกจาก 176 ประเทศทั่ว โลก นอกจากนี้ Ning เหมาะสําหรับผู้ที่ต้องการเริ่มต้นสร้างเว็บไซต์สําหรับชุมชนออนไลน์ของตนเอง โดยไม่จําเป็นต้องมีความรู้ทางด้านโปรแกรม
1.3.3 พันทิป (Pantip)
พันทิป หรือพันทิป.คอม ก่อตั้งเมื่อ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2539 โดยผู้ก่อตั้งคือ นายวันฉัตร ผดุงรัตน์เป็นเว็บไซต์ไทยที่ให้บริการเว็บบอร์ดที่มีชื่อเสียงและได้รับความนิยมอยู่มีห้อง สนทนาหลายประเภท และปัจจุบันพันทิปเป็นเว็บไซต์พันธมิตรกับกลุ่มเนชั่นกรุ๊ป โดยหนังสือพิมพ์ กรุงเทพธุรกิจได้ป้อนข่าวประจําชั่วโมงให้พันทิปและเนชั่นมัลติมีเดีย เว็บไซต์พันทิปเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้ เข้าชมจากประเทศไทยมาก
1.4 เวทีทํำงำนร่วมกัน (Collaboration Network)
1.4.1 กูเกิล เอิร์ธ (Google Earth) กูเกิล เอิร์ธ (Google Earth) เป็นซอฟต์แวร์ ที่พัฒนาโดยบริษัท กูเกิลสําหรับการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือในโทรศัพท์มือถือ ดู ภาพถ่ายทางอากาศพร้อมทั้งแผนที่ เส้นทางและผังเมืองซ้อนทับกันลงในแผนที่ รวมทั้งระบบ จีไอเอส ในรูปแบบ 3 มิติ กูเกิลเอิร์ธใช้ข้อมูลจากภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียมมาดัดแปลง ร่วมกับระบบแผนที่ของกูเกิลจากกูลเกิลแมพจากการทํางานร่วมกันกับกูเกิล โลคอล เพื่อค้นหารายชื่อ ร้าน เช่น ธนาคาร ปั้มน้ํามัน เส้นทาง เป็นต้น กูเกิล เอิร์ธ ได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่องและในปัจจุบันคือ เวอร์ชั่น 7.1.1 ซึ่งได้พัฒนาเมื่อ วันที่ 26 มิถุนายน ค.ศ. 2013 ซึ่งสามารถแสดงภาษาได้ทั้งหมด 45 ภาษา อีกความสามารถของ กูเกิล เอิร์ธคือ ใช้ติดตั้งกับรถยนต์ ซึ่งได้ไห้บริการเมื่อปี ค.ศ. 2010 และ นอกจากนี้ความสามารถของกุเกิล เอิร์ธ ก็คือ สามารถแสดงภูมิประเทศ ถนน สิ่งปลูกสร้าง พรมแดน แสดงอาคาร 3 มิติ กูเกิลจัดเป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ประเภทเวทีทํางานร่วมกันเพราะการสร้าง แผนที่ของตัวเองหรือแบ่งปันข้อมูลแผนที่ให้คนอื่นตามที่ได้มีการปักหมุดเอาไว้ ซึ่งถือเป็นประโยชน์ใน การสืบค้นข้อมูลในเรื่องของการค้นหาเส้นทาง การจราจร ที่พัก แหล่งท่องเที่ยวและที่สําคัญสามารถ ใช้ประโยชน์ในงานราชการเช่น ด้านการทหาร ด้านความมั่นคง เป็นต้น
ภาพที่ 2.6 ประเทศไทย ค้นหาโดยใช้ Google Map (2558)
ที่มา: http://www.gearthblog.com/blog/archives/2015/05/average-cloud-cover- map.html (2558)
1.4.2 Wikipedia
Wikipedia คือ สารานุกรม ซึ่งมีหลายภาษา สามารถเข้าไปใช้งานได้ผ่าน ระบบอินเทอร์เน็ตโดยไม่ต้องสมัครสมาชิกใด ๆ และยังมีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มทําให้วิกิพีเดีย กลายเป็นสารานุกรมที่ได้รับการแก้ไขรวบรวมและดูแลรักษาจากอาสาสมัครทั่วโลก ผ่านซอฟต์แวร์ คือ มีเดียวิก สําหรับ วิกิพีเดียเริ่มพัฒนาเมื่อ 15 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยผู้เชี่ยวชาญในหลายสาขา และในปัจจุบันดําเนินงานโดยมูลนิธิวิกิพีเดีย ซึ่งก่อตั้งโดย จิมมี เวลส์และแลร์รี่ แซงเจอร์ ในปัจจุบันวิ กิพีเดียมีทั้งหมดมากกว่า 250 ภาษา และวิกิพีเดียมีเซิร์ฟเวอร์ตั้งอยู่ 3 ที่ คือ รัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา เป็นเซิร์ฟเวอร์ที่เก็บเนื้อหาทั้งหมด และเซิร์ฟเวอร์สําหรับช่วยในการจัดเก็บฐานข้อมูล ตั้งอยู่ที่ อัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์และกรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ สําหรับประโยชน์ของวิกิพี เดีย คือ สารานุกรมวิกิพีเดียได้รับการยอมรับจากนักวิชาการและสื่อมวลชนให้สามารถนําไปใช้ได้ โดย เนื้อหาของงานใช้วิธีการอ้างอิงจากงานที่ได้รับการตีพิมพ์ (Peer-reviewed publications) เพื่อให้มี ความน่าเชื่อถือ วิกิพีเดีย จัดเป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ประเภทเวทีทํางานร่วมกันโดยมีการต่อยอด ความคิด ที่เกิดขึ้นจากการร่วมเขียนของผู้ใช้ทั่วโลกทุกคนที่เข้าถึงวิกิพีเดีย และร่วมแก้ไขเนื้อหาได้โดย ไม่มีการปิดกั้นเพื่อให้บริการข่าวสารที่เป็นปัจจุบัน รวมถึงบทความและความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีต่าง ที่กําลังเป็นที่นิยม
ภาพที่ 2.7 วิกิพีเดีย
ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki (2558)
1.5 ประสบกำรณ์เหมือนจริง (Virtual Reality)
1.5.1 Second Life
Second Life ได้ถูกพัฒนาโดยบริษัท ลินเดนรีเสิร์ช โดยได้รับแรงบันดาล ใจจากวรรณกรรมที่เรียกว่า ไซเบอร์พังก์ (Cyberpunk) และนวนิยายของนีล สตีเฟนสัน ( Neal Stephenson) เรื่อง Snow Crash เปิดให้บริการเมื่อ พ.ศ. 2546 เป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ช่วย ในการร่วมสร้างประสบการณ์เหมือนจริง ผู้ใช้สามารถใช้บริการผ่านทางโปรแกรมลูกข่ายที่ชื่อว่า Second Life Viewer ได้ ซึ่ง Second Life ไม่ใช่แค่เกม 3 มิติ แต่เป็นโลกเสมือนจริง ภายในโลกนั้น มีเศรษฐกิจของตัวเองมีการแลกเปลี่ยนสินค้า มีการปลูกต้นไม้ เลี้ยงสัตว์ มีหน่วยเงินที่ใช้ในการ แลกเปลี่ยนกับผู้ค้าคนอื่น ซึ่งโปรแกรมสามารถดาวน์โหลดไปติดตั้งและลงทะเบียนผ่านเว็บไซต์ Second Life เปรียบเหมือนประเทศแห่งอนาคต ผู้คนจํานวนมากเริ่มสมัครเข้ามาร่วมสังคมใน Second Life จนปัจจุบันมีผู้ใช้งานหรือประชากรนับสิบล้านคน ผนวกกับมีการซื้อขายและทําธุรกิจ เป็นวงเงินสูงกว่า 567 ล้านดอลลาร์สหรัฐเฉพาะในปี 2009 เพียงปีเดียว (มูลค่าเฉียด 2 หมื่นล้านบาท ไทย) ทําให้ปัจจุบัน Second Life มีระบบเศรษฐกิจที่ซับซ้อน มีค่าเงินที่ผันผวนแทบคล้ายคลึงกับ เมือง หรือประเทศในโลกจริงๆ
1.6 เครือข่ำยเพื่อกำรประกอบอำชีพ (Professional Network)
ลิงค์อิน (LinkedIn) เป็นเว็บไซต์เครือข่ายสังคมที่ให้บริการเพื่อการประกอบอาชีพ เน้นด้านเครือข่ายธุรกิจ โดยจุดประสงค์หลักของลิงค์อินเพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ที่ลงทะเบียนกับทาง
เว็บไซต์ ซึ่งในลิงค์อิน ผู้ใช้สามารถสร้างรายงการส่วนตัวเกี่ยวกับอาชีพสําหรับการติดต่อกับผู้อื่น ลูกค้าหรือบริษัทต่าง ๆ ได้
จากภาพที่ 2.8 แสดงเว็บไซต์ลิงค์อิน ซึ่งเมื่อผู้ใช้ลงทะเบียนเข้าสู่ระบบแล้ว และมีความ สนใจในเรื่องการศึกษาติดต่อที่เรียน ก็สามารถค้น หากกลุ่มความสนใจของตัวเองได้
1.7 เครือข่ำยที่เชื่อมต่อกันระหว่ำงผู้ใช้ (Peer to Peer: P2P)
1.7.1 Skype
สไกป์ (Skype) ก่อตั้งโดย Niklas Zenstorm และ Janus Friis ซึ่งเป็น ชาวสวีเดน โดยสไกป์ให้บริการผ่านทางคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งสู่เครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งเป็น เสียงและภาพในขณะที่สนทนา ที่สําคัญก็คือ การส่งข้อมูลแบบแนบไฟล์โดยไม่มีค่าใช้จ่าย และ สามารถประชุมออนไลน์ได้พร้อมกันครั้งละไม่เกิน 5 คน นอกเหนือจากนั้นยังมีการให้บริการโทรศัพท์ ผ่านมือถือที่มีทั้งแบบคิดค่าบริการและแบบไม่คิดค่าบริการ โดยผู้ใช้สามารถเข้าไปดาวน์โหลดมาใช้ งานได้ที่เว็บไซต์ http://www.skype.com
1.7.2 BitTorrent
บิตทอร์เรนต์ เป็นรูปแบบของโพโทคอล แบบ Peer to Peer สําหรับใช้ใน การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกันโดยผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่ง บิตทอร์เรนต์ได้พัฒนาโดย แบรม โคเฮน (Bram Cohen) ที่ต้องการให้ผู้ใช้ได้มีการส่งข้อมูล แลกเปลี่ยนกันระหว่างเครือข่ายได้ตลอดเวลา ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะเป็นได้ทั้งผู้รับและ ผู้ให้
2.9.3.5 กลุ่มผู้ใช้บริกำรเครือข่ำยสังคมออนไลน์
กลุ่มของผู้ใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์นั้น สุขุม เฉลยทรัพย์ (2555,109 อ้างถึงใน เศรษฐพงศ์ มะลิสุวรรณ,2553) ได้จัดกลุ่มผู้ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ไว้ดังนี้
1.กลุ่ม Generation Z
เป็นกลุ่มผู้ที่มีอายุระหว่าง 6-10 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีอายุน้อยที่สุด เกิดและ เติบโตมาพร้อมกับยุคของสังคมดิจิทัล และยุคของเว็บ 2.0 เป็นกลุ่มที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี กลุ่มนี้จะมีความต้องการใช้เทคโนโลยีสูงมากมีความคิดสร้างสรรค์ นอกจากเป็นผู้ใช้แล้วยังสามารถ เป็นผู้สร้างได้ด้วยมีความเป็นส่วนตัวสูง นิยมใช้สังคมออนไลน์เพื่อเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ และเล่นเกม ออนไลน์
2.กลุ่ม Generation Y และ Generation D (Digital)
เป็นกลุ่มที่มีอายุระหว่าง 15-30 ปี เป็นกลุ่มวัยรุ่น นักเรียน นักศึกษา และ กลุ่มวัยทํางาน (First Jobber) กลุ่มนี้เติบโตมาพร้อมกับเทคโนโลยีที่มีการขยายตัวอย่างรวดเร็วส่งผล ให้ชีวิตของคนกลุ่มนี้มีความทันสมัยและมีความนิยมก้าวกระโดดจากการใช้โทรศัพท์มือถือแบบ
อนาล็อก (Analog) มาเป็นแบบดิจิทัล และเป็นยุคเริ่มต้นของสังคมออนไลน์แบบไร้สายมีการโหลด ภาพ หรือวิดีโอต่าง ๆ ผ่านโปรแกรม Facebook และ YouTube
3. กลุ่ม Generation X
กลุ่มนี้มีอายุระหว่าง 30-45 ปี เป็นกลุ่มของคนวัยทํางาน นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ นักการเมือง นักสื่อสารมวลชน เป็นกลุ่มที่รับเทคโนโลยีแบบผู้ใช้ (User + Consumer) และสามารถใช้ประโยชน์จากการสืบค้นข้อมูลข่าวสาร ติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น รวมถึงการหาความรู้ ประจําวัน เช่น วิถีพีเดีย กูเกิล เอิร์ธ ทวิตเตอร์ เว็บบล็อก และเว็บไซต์สํานักข่าวต่าง ๆ เช่น CNN, BBC News เป็นต้น
2.9.3.6 กำรประยุกต์ใช้เครือข่ำยสังคมออนไลน์เพื่อกำรเรียนรู้
สําหรับการประยุกต์ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนรู้นั้นมีอยู่หลายประเภท และหลายชนิดด้วยกัน เนื่องจากในปัจจุบันการเรียนรู้มิใช่มีแค่เพียงในห้องเรียนแต่เป็นการเรียนรู้ ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยผ่านทางคอมพิวเตอร์หรือแม้แต่โทรศัพท์มือถือ
1. กำรใช้บล็อก (Blog) เพื่อกำรเรียนรู้
ปรัชญนันท์ นิลสุข (2554,265) ได้ให้ความหมายไว้ดังนี้ เว็บบล็อกคือเครื่องมือ สื่อสารที่ใช้งานบนเว็บไซต์มีลักษณะเหมือนกับเว็บบอร์ดแต่เน้นการใช้งานเพื่อบันทึกเรื่องราวต่าง ๆที่ เกี่ยวกับความรู้หรือข้อมูลส่วนตัว เว็บบล็อกจึงเปรียบได้เหมือนกับไดอารี (Diary) ส่วนตัวของผู้เขียน เว็บบล็อกนั้นมีประโยชน์หลายด้านด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการให้ความรู้ เผยแพร่ความรู้ และที่สําคัญ นํามาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนได้ เว็บบล็อกจึง เปรียบเสมือนแหล่งความรู้และแหล่งเรียนรู้ที่ผู้เขียนสามารถแสดงความคิดเห็น หรือบันทึกบทความ หรือความรู้ต่าง ๆ ลงไป และในบางครั้งการเขียนเว็บบล็อกก็จะมีการเขียนตอบโต้กันระหว่างครูผู้สอน กับผู้เรียน ในกรณีที่ผู้เรียนมีข้อสงสัยหรือมีปัญหาเกี่ยวกับการเรียน บางครั้งผู้เรียนก็สามารถเข้าไป แสดงความคิดเห็นได้ เว็บบล็อกโดยส่วนใหญ่แล้วผู้เขียนสามารถสร้างเองโดยผ่านโปรแกรม WordPress หรือบางครั้งก็อาจจะใช้รูปแบบ (Template) ที่มีอยู่แล้ว ผู้ใช้เพียงแค่เพิ่มข้อความ เนื้อหาที่ต้องการลงไปในรูปแบบนั้นก็จะได้เว็บบล็อกที่เป็นของตนเอง สําหรับเว็บบล็อกที่นิยมใช้ใน การจัดการเรียนการสอนหรือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดังเช่น GotoKnow.org ที่เป็นบล็อกที่ส่วนใหญ่ เป็นคนทํางานหรือนักศึกษาที่บันทึกความรู้ใหม่ๆเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น
ภาพที่ 2.8 บล็อกการรู้เท่าทันการสื่อสาร เขียนโดยอาจารย์สุขุมาล จันทว ที่มา: https://www.gotoknow.org/posts/80583 (2558)
จากภาพที่ 2.8 เป็นบล็อกการรู้เท่าทันการสื่อสารที่เขียนโดยอาจารย์สุขุมาล จันทวี ซึ่ง วัตถุประสงค์ของการเขียนคือเพื่อใช้ในการเรียนการสอนของหลักสูตรภาษาไทย
เว็บบล็อกนั้นมีความหลากหลายและเหมาะสําหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการจัด เรียนการสอน ซึ่ง ปรัชญ์นันท์ นิลสุข (2554,270) ได้กล่าวถึงประเภทของเว็บบล็อกไว้ว่าเว็บบล็อก แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทคือ
1. เว็บบล็อกอย่างเดียว เป็นเว็บไซต์ที่มีการทํางานเป็นเว็บบล็อกแท้ๆ ไม่มีการทํางาน อย่างอื่นร่วมด้วย โดยให้สมัครเป็นสมาชิกฟรีพร้อมทั้งจัดสรรพื้นที่ให้อยู่ในกรอบ ของเว็บเดียวกัน ตัวอย่างเว็บบล็อกของไทย เช่น เว็บบล็อก gotoknow, learner.in.th และ research.in.th หรือถ้า เป็นของต่างประเทศ เช่น blogger เป็นต้น
2. เว็บบล็อกพร้อมโปรแกรม เป็นเว็บไซต์ที่ทํางานเป็นเว็บบล็อกอย่างเดียว ไม่มี ลักษณะการทํางานอย่างอื่นเข้ามาร่วมด้วย ซึ่งไม่แตกต่างจากเว็บบล็อกประเภทแรกมากนักเพียงแต่มี การแจกโปรแกรมสําหรับทําเว็บบล็อกซึ่งสมาชิกสามารถดาวน์โหลดไปติดตั้งทํางานด้วยตนเองได้ ดังเช่น WordPress เป็นต้น
3. เว็บบล็อกประเภทส่วนหนึ่งของเว็บ เป็นเว็บบล็อกที่ไม่ได้มีการทํางานเป็นเว็บบล็อก อย่างเดียวแต่มีบริการสังคมออนไลน์อย่างอื่นด้วย เช่น Multiply blog เป็นต้น
สรุปความหมายของเว็บบล็อก คือเว็บไซต์ที่มีรูปแบบเนื้อหาเป็นเหมือนบันทึกส่วนตัว ผ่านระบบออนไลน์และมีข้อเสนอแนะรวมถึงมีการเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตามเว็บบล็อกมีประโยชน์อย่างมากในการจัดการเรียนรู้ ตัวอย่างเช่น เว็บบล็อกสําหรับใช้ใน
การนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรีธรรมราช เป็นต้น
ภาพที่ 2.9 บล็อกฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
ที่มา: http://kru-nstru.blogspot.com/ (2558)
2.8.3.7 ผลกระทบของเครือข่ำยสังคมออนไลน์ในกำรจัดกำรเรียนรู้
สําหรับผลกระทบของเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้นั้นแบ่ง ออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. ผลกระทบด้ำนบวก
1.1 การจัดการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายออนไลน์ทําให้ผู้สอนกับผู้เรียนสามารถ เข้าถึงกันได้ง่ายขึ้น มีความเข้าใจกันมากขึ้น
1.2 การจัดการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายออนไลน์เป็นการแบ่งบันข้อมูล ความรู้สึก รูปภาพและความรู้ให้กับผู้อื่นๆ รวมถึงทําให้ผู้เรียนกับผู้เรียนสามารถแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นร่วมกัน บางครั้งครูหรือผู้สอนก็สามารถแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้เรียนได้โดยไม่จําเป็นต้องเป็นใน ห้องเรียนอย่างเดียว
1.3 การจัดการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ทําให้ผู้เรียนได้มีโอกาส รู้จักกันมากขึ้น ทําให้เกิดมิตรภาพระหว่างกันมากขึ้น
1.4 การจัดการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียน เกิดความสนใจและอยากเรียนรู้มากขึ้น
1.5 การจัดการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เป็นการเพิ่มทักษะใน การอ่านและการสืบค้นข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ทําให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์มากขึ้น
1.6 การจัดการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ สามารถทําได้ทุกที่ ทุก เวลาที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทางรวมถึงสะดวกรวดเร็วขึ้น
1.7 การจัดการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายออนไลน์เปรียบเสมือนเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่นํามาใช้ในใน การพัฒนาประเทศรวมถึงพัฒนาทางด้านการศึกษา
2. ผลกระทบด้ำนลบ
2.1 การใช้สื่อสังคมออนไลน์ ในการจัดการเรียน ก็อาจกระทําโดยไม่ตั้งใจทําให้เกิด การละเมิดลิขสิทธิ์ข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ตั้งใจ ขาดประสบการณ์ หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ทําให้เกิดการ ละเมิดลิขสิทธ์ได้
2.2 การใช้สื่อสังคมออนไลน์ ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตกต่ํา ในบางครั้ง เยาวชน หรือนักเรียนก็ใช้สื่อสังคมออนไลน์ในห้องเรียนตลอดเวลา โดยไม่สนใจการเรียน โดยนักเรียน ไม่รู้จักการแบ่งเวลา หรือกลายเป็นคนที่ติดสื่อสังคมออนไลน์เกินไป ส่งผลทําให้ไม่ทํางานหรือการบ้าน ที่ได้รับมอบหมาย จนส่งผลต่อคะแนนเก็บกลางภาค หรือ คะแนนสอบปลายภาค
2.3 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอาจทําให้เกิดการขาดความรู้ รู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือ เกิดความเสียหายในเรื่องของข้อความที่อาจไม่สุภาพทําให้เกิดความเสื่อมเสียขึ้นได้ ในบางครั้งการ สื่อสารในสื่อสังคมออนไลน์ โดยเยาวชน หรือนักเรียนใช้ข้อความในการโพสต์ที่ไม่เหมาะสม และส่งผล ให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น
2.4 การรับรู้เนื้อหา หรือข้อมูลที่มีความคลาดเคลื่อนและนําไปสื่อสารจึงเกิดความรู้ ความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง เช่น ในบางครั้งข่าวที่เยาวชน หรือนักเรียนเหล่านั้น ได้รับจากสื่อสังคม ออนไลน์ อาจมีความผิดพลาดทําให้เกิดการเข้าใจผิดได้
2.5 ข้อความหรือเนื้อหาที่เยาวชนรับรู้จากสื่อสังคมออนไลน์ ทําให้เกิดพฤติกรรม อยากเลียนแบบ หรือปฏิบัติตาม ซึ่งทําให้เกิดค่านิยมที่ผิด ๆ เช่น การแต่งกาย การใช้คําพูดที่ไม่สุภาพ
2.6 การใช้ภาษาในสื่อสังคมออนไลน์ ส่งผลต่อการใช้ภาษาไทยของเยาวชน เนื่องจาก การเขียนที่ไม่ถูกต้อง ส่งผลให้เยาวชนไม่สนใจการใช้ภาษาไทย และส่งผลต่อการเรียนการสอนในชั้น เรียน
2.7 การเรียนรู้ทุกอย่างผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ส่งผลต่อการอ่านหนังสือของเยาวชน
หรือนักเรียน โดยจะเห็นได้ว่า เยาวชนไม่นิยมอ่านหนังสือ แต่นิยมอ่านข้อความจากสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป และส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหรือเยาวชน เหล่านั้น และนํามาซึ่งปัญหาของการเรียนไม่จบ หรือออกจากโรงเรียนกลางคัน
2.8 เครือข่ายสังคมออนไลน์ทําให้เกิดความหลอกลวง โดยใช้ชื่อปลอมทําให้เกิดความ เสียหายต่อผู้อื่นหรือมีการล่อลวงทําให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินได้ โดยเฉพาะเยาวชนซึ่ง เป็นผู้หญิง จะตกเป็นเหยื่อของมิจฉาชีพ เช่น การหลอกลวงไปทําร้าย จนเกิดคดีต่างๆ ตามมา
จากที่กล่าวมา จะเห็นได้ว่า สื่อสังคมออนไลน์มีผลกระทบทั้งด้านบวก และด้านลบ ดังนั้น ถ้าโรงเรียนหรือผู้ปกครองให้คําแนะนํา คอยดูแลการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชน หรือ
นักเรียนเหล่านี้ก็จะทําให้พวกเขาไม่หลงผิด หรือใช้สื่อสังคมออนไลน์ไปในทางที่ผิดพลาด แต่สามารถ นําสื่อสังคมออนไลน์เหล่านี้มาใช้ให้เกิดประยชน์ในการเรียนการสอน หรือ การดํารงชีวิตต่อไป
2.10 กำรสร้ำงควำมตระหนักรู้
2.10.1 ควำมหมำยของควำมตระหนักรู้
มีผู้ให้ความหมายเกี่ยวกับความตระหนักรู้ไว้ดังนี้
บลูม (Bloom,1971,38, อ้างถึงในพรรณทิพา สาวันดี,2554,34) ได้ให้ความหมาย เกี่ยวกับความตระหนักรู้ไว้ดังนี้ ความตระหนักรู้เป็นขั้นต่ําสุดของภาคอารมณ์และความรู้สึก (Affective domain) ความตระหนักรู้ไม่จําเป็นต้องเน้นปรากฏการณ์หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ความตระหนัก จะเกิดขึ้นเมื่อมีสิ่งเร้ามาเร้าให้เกิดความตระหนัก
รูนส์ (Runes,1979,32) ได้กล่าวว่าความตระหนักเป็นการกระทําที่เกิดจากความ สํานึกในเรื่องหรือเหตการณ์นั้นๆ
ศศิธร บัวทอง (2549,10 อ้างถึงใน ปารวี บุษบาศรี (2555,19) ความตระหนักรู้ หมายถึง การมีความสํานึกในบางสิ่งบางอย่างหรือเป็นการแสดงออกให้เห็นการรับรู้และพิจารณา ใคร่ครวญ เหตุการณ์ ประสบการณ์ วัตถุหรือเหตุการณ์ที่ดําเนินการไปบางอย่าง การใช้ความคิดจดจ่อ เตือนตนเองได้ไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ใด
ความ ตระหนักรู้
พฤติกรรม
ความคิดรวบ ยอด
พรรณทิพา สาวันดี (2554,38) ความตระหนักรู้ หมายถึง ความสํานึกซึ่งบุคคล เคยมีการรับรู้ หรือเคยมีความรู้มาก่อน โดยเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นจะทําให้เกิดความสํานึกขึ้นหรือเกิด ความตระหนักรู้ขึ้น จึงเป็นภาวะทางจิตใจที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึก ความคิด และความปรารถนาต่าง ๆ อันเกิดจากการรับรู้และความสํานึก ซึ่งเป็นภาวะที่บุคคลได้รับรู้ หรือได้รับประสบการณ์ต่าง ๆ มาแล้วโดยมีการประเมินค่าและความตระหนักรู้ถึงความสําคัญของตนเองที่มีต่อสิ่งนั้น ๆ ความ ตระหนักรู้จึงเป็นความตื่นตัวทางจิตใจต่อเหตุการณ์หรือสถานการณ์นั้น ๆ ดังภาพที่ 2.10
การสัมผัส
การรับรู้
การเรียนรู้
ภาพที่ 2.10 ขั้นและกระบวนการเกิดความตระหนักรู้
ที่มา: Good Carter V. (1973) Dictionary of Education
จากภาพประกอบ 2.10 แสดงขั้นตอนความตระหนักรู้ที่มาจากกระบวนการทางปัญญา คือเมื่อมีบุคคลได้รับสิ่งเร้าก็จะเกิดการรับรู้และหลังจากนั้นก็จะเกิดกระบวนการเรียนรู้ โดยผ่าน กระบวนการทําความเข้าใจในสิ่งนั้น ๆ ผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ และจะเกิดความตระหนักรู้ เมื่อมีความตระหนักรู้แล้วก็จะนําไปสู่พฤติกรรมของบุคคลนั้น ๆ ซึ่งพฤติกรรมเหล่านั้นก็จะเกิดขึ้นผ่าน กระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปและนําไปสู่ความคิดรวบยอดในที่สุด เมื่อมีความคิดรวบ ยอดแล้วก็จะส่งผลให้พฤติกรรมการปฏิบัติตนในแต่ละครั้ง ๆ เมื่อทําสิ่งหนึ่งสิ่งใดก็จะผ่านกระบวนการ คิดมากขึ้น เช่น เมื่อผู้เรียนได้เรียนรู้สือสังคมออนไลน์ แล้วได้คิด วิเคราะห์ ตามบริบทความเป็นจริง จนเกิดความรู้สึกว่าสื่อหรือข้อความเหล่านั้นเป็นไปได้หรือไม่
2.10.2 องค์ประกอบที่ก่อให้เกิดควำมตระหนักรู้
เบรกเลอร์ (1986,45 อ้างถึงใน ปารวี บุษบาศรี (2555,19) ได้กล่าวว่าความ ตระหนักรู้เกิดจากทัศนคติที่มีต่อสิ่งเร้าอันได้แก่ บุคคล สถานการณ์ กลุ่มสังคม และสิ่งต่าง ๆ ที่โน้ม เอียง หรือที่จะตอบสนองในทางบวกหรือทางลบ เป็นสิ่งที่เกิดจากการเรียนรู้และประสบการณ์ โดย องค์ประกอบที่สําคัญที่ก่อให้เกิดความตระหนักรู้มีอยู่ด้วยกัน 3 ประการดังนี้
1. ความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Component) จะเริ่มต้นจากระดับง่ายและมี การพัฒนาเพิ่มมากขึ้นเป็นลําดับ
2. อารมณ์ความรู้สึก (Affective Component) เป็นความรู้สึกด้านทัศนคติ ค่านิยม ความตระหนักชอบหรือไม่ชอบ ดีหรือไม่ดี เป็นองค์ประกอบในการประเมินสิ่งเร้าต่าง ๆ
3. พฤติกรรม (Behavioral Component) เป็นการแสดงออกทั้งทางวาจา กริยา ท่าทางที่มีต่อสิ่งเร้าหรือแนวโน้มที่บุคคลจะกระทํา
2.10.3 กำรรู้เท่ำทันสื่อสังคมออนไลน์
การรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) เป็นเรื่องของการเรียนรู้ การเลือกรับ และใช ประโยชน์จากสื่อในทางสร้างสรรค์ เป็นประโยชน์ต่อตัวเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม โดยผู้ที่รู้เท่า ทันสื่อจะไม่ตกอยู่ในอิทธิพลของสื่อได้โดยง่าย ซึ่งการรู้เท่าทันสื่อในส่วนของเยาวชนนั้น ครูหรือ ครอบครัวจะต้องเป็นผู้ที่ให้ความรู้ ความเข้าใจเพื่อมิให้เด็กนักเรียน หรือ เยาวชนนําไปใช้ในทางที่ ผิดพลาดได้
อุษา บี้กกิ้นส์ (ม.ป.ป.) ได้กล่าวว่า การรู้เท่าทันสื่อ หมายถึง ความสามารถของ แต่ละบุคคลในการเข้าถึง เข้าใจ ตีความ ประเมินและสร้างเนื้อหาสื่อในรูปแบบที่หลากหลายด้วย ความตระหนักถึงผลกระทบของสื่อโดยไม่ถูกครอบงําจากสื่อและสามารถสร้างพลังอํานาจของตน เพื่อให้สามารถใช้สื่อเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้และการดํารงชีวิตของทั้งตนเอง ครอบครัว ชุมชนและ สังคม
จอห์น (Jone (n.d.) ได้กล่าวถึงความสําคัญของการรู้เท่าทันสื่อว่าเป็นเครื่องมือที่ ช่วยสร้างความเข้มแข็งให้แก่ผู้รับสื่อ โดยช่วยให้พวกเขาตระหนักว่าเนื้อหาจากสื่อมีอิทธิพลต่อ พฤติกรรมของพวกเขาอย่างไร การรู้เท่าทันสื่อจะช่วยให้นักเรียนและวัยรุ่นไม่ถูกครอบงําจากสื่อและ หรือบริษัทผู้ผลิตที่คาดหวังผลกําไรที่จะหลอกล่อให้วัยรุ่นซื้อสินค้า การรู้เท่าทันสื่อจะช่วยเสริมสร้าง พลังอํานาจให้ผู้รับสื่อสามารถเลือกรรับสื่อและใช้สื่อย่างมีประสิทธิภาพในบริบทต่าง ๆ และผู้ที่รู้เท่า ทันสื่อจะเป็นผู้บริโภคสื่ออย่างมีเหตุผล
นิธิดา วิวัฒน์พานิชย์ (2558) กล่าวว่า การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ คือ การทํา ความเข้าใจต่อการใช้งานในสภาพจริงอย่างมีสติ ไม่ว่าผู้ใช้งานจะอยู่ในสถานภาพของผู้รับสาร ที่กําลัง รับเนื้อหาต่างๆ ทั้งข้อความ ภาพ เสียง และวิดีทัศน์ ผู้ที่กําลังรับสารจะต้องมีสติระลืกเสมอว่า กําลัง รับสารจากใคร เนื้อหาสารมีความหมายอย่งไร เนื้อหาและผู้ส่งสารนั้นมีความน่าเชื่อถือหรือไม่ ผู้ส่ง สารมีจุดประสงค์ใดในการสื่อสารนั้น ต้องการให้ใครได้รับสารบ้าง และมุ่งหวังสิ่งใดจากผู้ที่ได้รับสาร เหล่านั้น ในขณะเดียวกันจะตั้องรู้เท่าทันตนเองด้วยว่า เราควรจะมีปฏิกิริยาอย่างไรต่อข้อมูลข่าวสาร ที่ได้รับ เรารู้สึกอะไร คิดอย่างไร และจะทําอย่างไรกับข้อมูลเหล่านั้นอย่างมีสติเมื่อได้วิเคราะห์ และ ประเมินข่างสาวในสื่อสังคมออนไลน์อย่างรอบคอบ เราจะมีคําตอบที่ดีต่อการกระทําของตนเองว่า เราเข้าใจที่มาที่ไปของข้อมูลเหล่านั้นอย่างถูกต้องหรือไม่ เราจะแสดงความคิดเห็นต่อข้อมูลเหล่านั้น อย่างไร
ทักษะที่จําเป็นสําหรับการรู้เท่าทันสื่อในยุคของการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Center for
Media Literacy,2008) ไว้ 5 ด้านด้วยกันคือ
1.ทักษะในการเข้าถึง (Access Skill) เป็นทักษะที่จะช่วยให้บุคคลสามารถรวบรวมข้อมูล ที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์ และสามารถทําความเข้าใจความหมายของเนื้อหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
2.ทักษะการวิเคราะห์ (Analyze Skill) เป็นทักษะที่ช่วยให้บุคคลมีความสามารถในการ ตรวจสอบการออกแบบทั้งรูปแบบของเนื้อหา สาร โครงสร้างของเนื้อหาสาร และลําดับเหตุการณ์ของ เนื้อหา
3.ทักษะการประเมินเนื้อหา (Evaluate Skill) ทักษะนี้จะช่วยให้บุคคลสามารถเชื่อมโยง เนื้อหาไปยังประสบการณ์ส่วนบุคคลและทําการตัดสินได้อย่างถูกต้อง
4.ทักษะการสร้างสรรค์ (Create Skill) ทักษะนี้จะช่วยให้บุคคลสามารถเขียนความคิด ของพวกเขาเอง โดยใช้ข้อความ เสียง หรือภาพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสําหรับวัตถุประสงค์ที่แตกต่าง กัน รวมทั้งสามารถใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
5.ทักษะการมีส่วนร่วม (Participate Skill) ทักษะนี้จะช่วยให้บุคคลสามารถเข้าไปมีส่วน ร่วมหรือปฏิสัมพันธ์ ซึ่งจะส่งผลมหาศาลในการทํางานร่วมกับผู้อื่น
ดังนั้นการรู้เท่าทันสื่อจะต้องมีปัจจัยประกอบที่เกี่ยวข้อง 2 ด้านคือปัจจัยแรกเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อม (Environmental Factor) เป็นระดับพื้นฐานซึ่งเป็นชุดของปัจจัยที่เป็นไปตามบริบท ที่มีผลต่อบุคคลแต่ละคน และเชื่อมโยงกับสื่อมวลชนศึกษาและสิทธิของพลเมืองซึ่งจะประกอบด้วย ความสามารถในการเข้าถึงสื่อ(Media Availability) บริบทการรู้เท่าทันสื่อ(Media Literacy Context) ส่วนปัจจัยที่สองคือความสามารถส่วนบุคคล ( Individual Competences) เป็น ความสามารถเฉพาะของบุคคลที่เกี่ยวเนื่องกับการฝึกปฏิบัติทางทักษะ (การเข้าถึง การวิเคราะห์และ การสื่อสาร) เพื่อเพิ่มระดับของความตระหนัก การวิเคราะห์อย่างวิพากษ์และความสามารถที่ สร้างสรรค์เพื่อแก้ปัญหาซึ่งประกอบไปด้วย 2 มิติย่อยคือ ความสามารถของบุคคล ( Personal Competences) ที่มีทักษะการใช้สื่อ (Use Skills) เป็นเงื่อนไขของการพัฒนาการรู้เท่าทันสื่อซึ่งเป็น การประสานระหว่างความสามารถในการเข้าถึงสื่อและทักษะที่เกี่ยวกับการปฏิบัติ คือการใช้สื่ออย่าง เหมาะสมและคล่องแคล่ว ทักษะทางคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตและการใช้อินเทอร์เน็ตที่ เจริญก้าวหน้าไปมาก การทําความเข้าใจกับสื่อ (Critical Understanding) เป็นความสามารถของ บุคคลเช่นกัน การทําความเข้าใจอย่างพินิจ พิเคราะห์เป็นสิ่งสําคัญของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับ สื่อ รวมถึงความสามารถทางสังคม (Social Competence) เป็นความสมารถในการสื่อสาร ซึ่ง หมายถึงการมีส่วนร่วม ความสัมพันธ์ทางสังคมและการสร้างสรรค์เนื้อหา ด้งจะเห็นได้ว่าที่กล่าวมา ทั้งหมดเป็นเรื่องของการรู้เท่าทันสื่อที่ครูหรือโรงเรียนจะต้องพยายามสอนให้เยาวชนหรือผู้เรียนได้ เข้าใจอย่างถ่องแท้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่เยาวชนซึ่งจะโตเป็นผู้ใหญ่ในโอกาสต่อไป
อดุลย์ เพียวรุ่งโรงจน์ (2543) ที่ได้แบ่งการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ออกเป็น 2 ระดับ
โดยวัดจากความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ และทักษะในการใช้สื่อ ซึ่งมีความแตกต่าง กันในแต่ละระดับ ดังตารางที่ 2.5 ในหน้าถัดไป
ตารางที่ 2.5 ระดับการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์
ควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับสื่อสังคม ออนไลน์ | ทักษะในกำรใช้สื่อสังคม ออนไลน์ | |
ระดับ 1 พื้นฐาน | 1. แยกประเภทเนื้อหาของสื่อได้ 2. ตระหนักพฤติกรรมการใช้สื่อของ ตนเอง | ความสามารถเข้าใจใน ความหมายตรงที่สื่อนําเสนอ |
ระดับสูงหรือวิพากษ์ สื่อสังคมออนไลน์ได้ | 1. วิธีการทํางานของสื่อ 2. ความรู้เกี่ยวกับบริบทด้านสื่อสังคม ออนไลน์ 3. เข้าใจว่าสื่อมองผู้รับสารอย่างไร ใคร คือกลุ่มเป้าหมาย 4. เข้าใจผลระยะสั้นและระยะยาวที่สื่อมี ต่อปัจเจกบุคคลและสังคม ทั้งผลด้าน ความ รู้ ทั ศนคติ พฤติกรรมและ จิตวิทยา | 1. .วิเคราะห์วัตถุประสงค์ของผู้ ส่งและความหมายแฝงได้ 2. แยกแยะข้อเท็จจริง กั บ ความเห็นในเนื้อหาของสาร ได้ 3. ประเมินความถูกต้องและ ความน่าเชื่อถือของเนื้อสาร ได้ |
จากตารางที่ 2.4 ผู้วิจัยได้นําแนวคิดของอดุลย์ เพียวรุ่งโรงจน์ (2543) มาประยุกต์ใช้ใน งานวิจัย โดยผู้วิจัยได้วัดระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ของนักเรียน ก่อนที่จะทํา การประเมินการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อให้ทราบบริบทของนักเรียนว่ามีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์อย่างไร ซึ่งบางประเด็นของความรู้เท่าทันสื่อ สอดคล้องกับวิสาลักษณ์ สิทธิ์ ขุนทด (2551) ซึ่งศึกษาโมเดลเชิงสาเหตุของการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียน ม.3 ในกรุงเทพมหานคร และได้แบ่งตัวบ่งชี้ความรู้เท่าทันสื่อออกเป็น 4 ตัวบ่งชี้ ประกอบด้วย 1) ความรู้ความเข้าใจด้าน
สถาบัน/องค์กรสื่อ 2) ความรู้ความเข้าใจด้านการผลิตสื่อ 3) การวิเคราะห์สาร และ 4) การประเมิน สาร และสอดคล้องกับกฤษณา ชาวไชย (2556) ที่ได้บ่างระดับความรู้เท่าทันสื่อออกเป็นระดับไม่รู้เท่า ทัน และระดับรู้เท่าทัน โดยในระดับรู้เท่าทันได้แบ่งออกเป็น 3 ระดับย่อย คือ ระดับพื้นฐาน ระดับ ปานกลาง และระดับสูง โดยวัดจากความคิดของบุคคล ทักษะเกี่ยวกับสื่อที่สัมพันธ์กับนิยามการรู้เท่า ทันสื่อ และองค์ประกอบสําคัญของการรู้เท่าทันสื่อ โดยกลุ่มคนระดับไม่รู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ จะ มีความรู้ ความสามารถในการใช้สื่อ แต่ไม่ตระหนักถึงการใช้สื่อและผลกระทบจากการใช้สื่อต่อตนเอง ในขณะที่กลุ่มรู้เท่าทันสื่อจะไม่เชื่อทุกสิ่งที่สื่อนําเสนอ รับสืออย่างแข็งขัน ทําความเข้าใจเกี่ยวกับสาร จากสื่อในบริบทของตนเองและสังคม เปิดรับสื่อด้วยกระบวนการ 5 ขั้นตอน คือ คัดสรร ใช้ประโยชน์ ตั้งใจ มีส่วนร่วมและการไม่ยอมรับอิทธิพลจากสื่อ (พีระ จิรโสภณ์และคณะ,2559)
นอกจากนี้ผู้วิจัยได้นํากรอบแนวคิดของยูเนสโกมาประยุกต์ใช้ในการประเมินการรู้เท่าทัน สื่อของนักเรียน ซึ่งยูเนสโก (UNESCO,2013) ได้พัฒนากรอบการประเมินการรู้เท่าทันสื่อและ สารสนเทศ (Global MIL assessment framework, UNISCO,2013) โดยกําหนดแนวทางการวัด ออกเป็น 2 ระดับ คือ ระดับความพร้อมของประเทศ กับระดับสมรรถนะการรู้เท่าทันสื่อและ สารสนเทศ โดยกําหนดองค์ประกอบของการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ออกเป็น 3 กระบวนการได้แก่ กระบวนการเข้าถึงสื่อ (Access) กระบวนการเข้าใจ วิเคราะห์ ตีความและประเมินเนื้อหาของสื่อ สังคมออนไลน์ (Evaluation) และกระบวนการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์และมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อ (Creation) โดยกําหนดประเด็นและลักษณะของสมรรถนะในแต่ละองค์ประกอบซึ่งสัมพันธ์กัน ดัง ตารางที่ 2.6
ตารางที่ 2.6 กรอบแนวคิดการรู้เท่าทันสื่อ
องค์ประกอบ | ประเด็น | สมรรถนะ (ควำมสำมำรถที่จะ) |
Access 1. รู้ความต้องการ สามารถ ค้นหา เข้าถึง และเรียก (retrieve)สารสนเทศกับ เนื้อหาในสื่อได้ | 1.1 กําหนดและสื่อสารชัดเจน เกี่ยวกับความต้องการสารสนเทศ (Definition/Articulation) | 1. ระบุและสื่อสารชัดเจน เกี่ยวกับธรรมชาติ บทบาท และขอบเขตของสารสนเทศ รวมถึงเนื้อหาในสื่อผ่าน แหล่งที่หลากหลาย |
1.2 ค้นหาและระบุตําแหน่งของ สารสนเทศและเนื้อหาในสื่อ | 2. ค้นหาและระบุตําแหนงของ สารสนเทศและเนื้อหาในสื่อ | |
1.3 เข้าถึงสารสนเทศ เนื้อหาใน สื่อและผู้ให้บริการสารสนเทศ ผู้ ให้บริการสื่อ (Access) | 3. เข้าถึงสารสนเทศ เนื้อหาใน สื่อที่ต้องการได้ อย่างมี ประสิทธผล ป | |
1.4เรียกและจัดเก็บสารสนเทศ และเนื้อหาในสื่อได้ (Retrieval/Holding) | 4. เรียกและจัดเก็บสารสนเทศ และเนื้อหาในสื่อได้ชั่วคราว โดยใช้วิธีการและเครื่องมือที่ หลากหลาย |
ตารางที่ 2.6 กรอบแนวคิดการรู้เท่าทันสื่อ (ต่อ)
องค์ประกอบ | ประเด็น | สมรรถนะ (ควำมสำมำรถที่จะ) |
2. Evaluation ความเข้าใจ การประเมินค่า สารสนเทศ และเนื้อหาในสื่อ | 2.1 ความเข้าใจ สารสนเทศและ เนื้อหาในสื่อ (understanding) 2.2 ประเมินค่า (Assessment) สารสนเทศ และเนื้อหาในสื่อ รวมถึง ผู้ให้บริการสารสนเทศ และเนื้อหาในสื่อ 2.3 ประเมินผล (Evaluation) สารสนเทศและเนื้อหาในสื่อ รวมถึง ผู้ให้บริการสารสนเทศ และเนื้อหาในสื่อ 2.4 จัดระบบสารสนเทศและ เนื้อหำในสื่อ (Organization) | 5. เข้าใจความจําเป็นของผู้ ให้บริการสารสนเทศและ เนื้อหาในสื่อต่อสังคม 6. ประเมิน วิเคราะห์ เปรียบเทียบสื่อสารออกมา และประยุกต์ใช้เกณฑ์ในการ ประเมินสารสนเทศและ เนื้อหาในสื่อรวมถึง ผู้ ให้บริการสารสนเทศและ เนื้อหาในสื่อ 7. ประเมินผลและพิสูจน์ความ ถูกต้องของสารสนเทศและ เนื้อหาในสื่อ รวมถึงผู้ ให้บริการสารสนเทศและ เนื้อหาในสื่อ 8. สังเคราะห์และจัดระบบ สารสนเทศและเนื้อหาในสื่อ ได้ |
3. Creation สร้าง ใช้ประโยชน์ และเฝ้า ระวังสารสนเทศและเนื้อหา ในสื่อ | 3.1 การสร้างความรู้และ แสดงออกอย่างสร้างสรรค์ (Creation) | 9. สร้างและผลิตคความรู้ สารสนเทศและเนื้อหาในสื่อ ที่ใหม่ๆ เพื่อวัตถุประสงค์ อย่างใดอย่างหนึ่งด้วยความ สร้างสรรค์และมีจริยธรรม |
3.2 การสื่อสารข้อมูล เนื้อหา ผ่านสื่อ ความรู้อย่างมี ประสิทธิภาพบนพื้นฐาน จริยธรรม (Communication) | 10. สื่อสารข้อมูลเนื้อหาผ่านสื่อ ความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานกฏหมายและ จริยธรรม โดยใช้ช่องทาง และเครื่องมือที่เหมาะสม |
ตารางที่ 2.6 กรอบแนวคิดการรู้เท่าทันสื่อ (ต่อ)
องค์ประกอบ | ประเด็น | สมรรถนะ (ควำมสำมำรถที่จะ) |
3.3 การมีส่วนร่วม (Participation) ในกิจกรรม สาธารณะในฐานพลเมืองตื่นรู้ (active citizen) | 11. มีส่วนร่วมกับสื่อโดยการ แสดงออก ความคิดเห็น การสนทนาเพื่อมีส่วนร่วม ทางการเมืองและสร้างความ เข้าใจระหว่างวัฒนธรรม ผ่านช่องทางที่หลากหลาย บนพื้นฐานจริยธรรม อย่างมี ประสิทธิภาพและประสทิผล | |
3.4 การเฝ้าระวัง (Monitoring) อิทธิพลของสารสนเทศและ เนื้อหาในสื่อ การผลิตและการใช้ ความรู้ รวมถึงผู้ให้บริการ สารสนเทศและเนื้อหาในสื่อ | 12. เฝ้าระวังผลกระทบของ สารสนเทศเนื้อหาในสื่อและ ข้อมูลความรู้ต่างๆ ที่ถูก สร้างและเผยแพร่ขึ้น รวมถึง ผู้ให้บริการสารสนเทศและ เนื้อหาในสื่อด้วย |
ที่มา: พีระ จิรโสภณและคณะ (2559)
อย่างไรก็ตาม Nupairoj(2015) อ้างถึงใน พีระ จิรโสภณและคณะ (2559) ได้ศึกษาเพื่อ ประเมินการรู้เท่าทันสื่อของ Gen Y ในประเทศไทย โดยนําเอากรอบการประเมินของ UNESCO ดังกล่าวมาใช้เป็นเครื่องมือวัด ผลการศึกษา พบว่า ในบริบทของประเทศไทยนั้น องค์ประกอบของ การรู้เท่าทันสื่อควรมีการเพิ่มเติมจาก 3 องค์ประกอบของ UNESCO เป็น 4 องค์ประกอบ ได้แก่
1. ความสามารถในการเข้าถึงสื่อ (Access)
2. เข้าใจ วิเคราะห์ ตีความและประเมินเนื้อหาของสื่อ (Evaluation)
3. การแสดงออกอย่างสร้างสรรค์และมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อ (Creation) และ
4. การสะท้อนคิด (Reflection) หรือ การพินิจพิจารณาการกระทําของตนเอง ว่าอาจมี ผลกระทบหรือผลลัพธ์ต่อผู้อื่นอย่างไร ทั้งในมิติของจริยธรรมและความรับผิดชอบ
อย่างไรก็ตาม ได้มีนักวิจัยหลายท่านได้ศึกษาเกี่ยวกับการรู้เท่าทันสื่อ และนํามาใช้เป็น แนวทางในการศึกษา โดยได้กําหนดตัวแปร และตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับ 3 องค์ประกอบหลักของความรู้ และทักษะด้านการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ โดยกําหนดรายละเอียดและที่มาดังนี้
ตารางที่ 2.7 แนวคิดด้านความรู้และทักษะด้านการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศจากองค์ประกอบหลัก ต่างๆ ในบริบทสังคมไทย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะมนุษยศาสตร์ ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ (2548) | 1. ความเกี่ยวข้อง 2. ความถูกต้อง 3. ความน่าเชื่อถือของผู้จัดทํา 4. ความ ทันสมัย |
สุชาดาจักรพิสุทธิ์ (2551) | 1.การตั้งคําถาม 2. การวิจารณ์ วิพากษ์ และการคิดวิเคราะห์ 3. การแสวงหา ข้อมูล 4. การตอบสนอง/ปฏิกริยา ย้อนกลับ |
พรทิพย์ เย็นจะบก (2552) | 1. การเปิดรับสื่อ 2. การวิเคราะห์สื่อ 3. การเข้าใจสื่อ 4. การประเมินค่าสื่อ 5. การใช้ สื่อให้เกิดประโยชน์ |
น้ําทิพย์ วิภาวิน (2552) | 1. การเข้าถึงสื่อ 2. การกําหนดและค้นหา สารสนเทศ 3.การอ่านสื่อออก เข้าใจ ความหมาย 4. การวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าสื่อ 5. การใช้สื่อตามความ ต้องการ |
อุษา บิ้กกิ้นส์ (2554) | 1.การเข้าถึง 2. การวิเคราะห์ 3. การประเมิน ค่าสื่อ 4. การสร้างสรรค์ |
บุบผา เมฆศรีทองคําและดนุลดา จามจุรี (2554) | 1.การคิดวิจารณญาณ 2.เลือกวิเคราะห์ ประเมิน แยกแยะ 3. การตอบโต้ต่อสื่ออย่างมี เหตุผล น่าเชื่อถือ 4. การรุ้ว่าเนื้อหาสื่อมีผล ต่อพฤติกรรม |
ธิดารัตน์ สาระพล (2555) | 1.ความทันสมัย 2. ความน่าเชื่อถือของผู้เขียน 3.ถูกต้องแม่นยํา 4. ความเป็นกลาง 5.ความ เหมาะสม 6. ผู้จัดพิมพ์ |
วิลาสินี พิพิธกุล (2556) | 1.สือคือสิ่งที่คนสร้างขึ้น 2.สื่อเป็นผู้สร้างภาพ ความจริง 3.สื่อเป็นตัวเร่งการขยายตัวของ ทุนนิยม 4. ผู้รับสารสารสามารถเปลี่ยน ความหมายของสื่อ 5. สื่อมีนัยทางธุรกิจแอบ แฝง 6. สื่อสอดแทรความคิดของผู้ผลิต 7. สื่อ มีนัยทางสังคมและการเมืองด้วย 8. สื่อแต่ละ ประเภทมีรูปแบบของตนเอง |
ตารางที่.2.8 การรวมกลุ่มตัวแปรเพื่อการรู้เท่าทันสื่อสารสนเทศ
ลํำดับ | ตัวแปร (variables) | ตัวชี้วัด (indicator) ด้ำนควำมรู้และทักษะ |
1. | Access (การเข้าถึง) | พิจารณาการเข้าถึง การเปิดรับ การกําหนดสื่อและ สารสนเทศ |
2. | Retrieve (การค้นคืน) | พิจารณาการค้นคืนหรือการกู้สารสนเทศกลับมาใช้ได้ ดี |
3. | Understanding (ความเข้าใจ) | พิจารณาความเข้าใจคุณลักษณะ และคุณสมบัติของ สื่อและสารสนเทศ |
4. | Accuracy (ความถูกต้อง) | พิจารณาความถูกต้อง และความน่าเชื่อถือของ สารสนเทศ |
5. | Reputation (ความน่าเชื่อถือ) | พิจารณาความน่าเชื่อถือของผู้จัดทําหรือผู้ผลิต |
6. | Critical (การวิเคราะห์) | พิจารณาการวิเคราะห์ การสังเคราะห์สื่อและ สารสนเทศ |
7. | Evaluation (การประเมิน) | พิจารณาการประเมินคุณค่าและคุณภาพ |
Use (การใช้ประโยชน์) | พิจารณาการใช้ประโยชนจากสื่อและสารสนเทศ | |
8. | Creative (การสร้างสรรค์) | พิจารณาการผลิตอย่างเหมาะสม น่าสนใจ |
9. | Business (นัยทางธุรกิจ) | พิจารณาทุนนิยมโลกาภิวัฒน์และนัยแอบแฝงทางธุรกิจ |
10. | Reaction (การโต้ตอบ) | พิจารณาโต้ตอบ การตอบสนองการสร้างผลสะท้อน ปรับเปลี่ยนความหมายของสื่อและสารสนเทศ |
11. | Feedback (ปฏิกิริยา ย้อนกลับ) | พิจารณาการแสดงความคิดเห็นย้อนกลับต่อสื่ออย่างมี เหตุผล |
จากตารางที่ 2.8 ได้ดําเนินการแบ่งตัวแปรด้วยวิธีการ ดังนี้
1. จัดกลุ่มตัวแปรที่มีคุณลักษณะเหมือนกัน
2. คัดตัวแปรที่มีคุณลักษณะแตกต่างกัน
3. ดําเนินการแยกกลุ่ม
4. ดําเนินการนับจํานวน เพื่อการคัดเลือกเป็นตัวแปรหลักของการศึกษาในครั้งนี้และ เรียงลําดับ จากข้อมูลในตารางที่ 2.9 ในหน้าถัดไป
ตารางที่ 2.9 สรุปแนวคิดด้านความรู้และทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์จากองค์ประกอบหลัก
American Library Association Presidental Committee on Information Literacy (1989) | 1. การจําแนกสารสนเทศที่ต้องการ 2. การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ 3. การพิจารณาประเมินผลและคุณค่าสารสนเทศ 4. การใช้ประโยชน์จากสารสนเทศที่ต้องการ อย่างมีประสิทธิภาพ |
Eisenbergand Berkowita (1990) | 1. การกําหนดภาระงาน 2. การกําหนดกลยุทธ์แสวงหาสารสนเทศ 3. การกําหนดแหล่งสารสนเทศและการเข้าถึง สารสนเทศ 4. การใช้สารสนเทศ 5. การสังเคราะห์สารสนเทศ 6. การประเมินผล |
Considine, David M. (1995) | 1. สุนทรียศาสตร์และความชื่นชม 2. กระบวนการผลิต 3. ความเป็นพลเมือง 4. การป้องกัน 5. การฝึกอาชีพ |
Pollter W.J. (2005) | 1. การรับรู้และความเข้าใจ 2. อารมณ์ 3. สุนทรียศาสตร์ 4. ศีลธรรมหรือค่านิยม |
Sliverblatt A.Baker F, Tyner K. Stuhlman L (2007) | 1. การตระหนักถึงผลกระทบของสื่อ 2. การเข้าใจกระบวนการของสื่อสารมวลชย 3. การวิเคราะห์และอภิปรายเนื้อหาสื่อ 4. การเข้าใจในเนื้อหาสื่อในแต่ละวัฒนธรรม 5. การเปิดรับสื่อ 6. เข้าใจข้อบังคับทางจริยธรรมของผู้ผลิตสื่อ |
ตารางที่ 2.9 สรุปแนวคิดด้านความรู้และทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์จากองค์ประกอบหลัก (ต่อ)
Center for Media Literacy (2008) | 1. ทักษะในการเข้าถึง 2. ทักษะการวิเคราะห์ 3. ทักษะการประเมินเนื้อหา 4. ทักษะการสร้างสรรค์ 5. ทักษะการมีส่วนร่วม |
Moscow Declaration (2012) | 1. การเข้าถึง การกําหนดสารสนเทศ และการค้น คืนสารสนเทศที่ต้องการจากแหล่งสารสนเทศ ได้ 2. การตระหนักถึงผลกระทบของสื่อ การรับรู้ และเข้าใจกระบวนการของสื่อ การวิเคราะห์ สั ง เ คราะห์อภิปรายและการประเมิน สารสนเทศ 3. การใช้ประโยชน์จากสารสนเทศการมี สุนทรียศาสตร์และค่านิยมรวมทั้งการมีส่วน ร่วม |
ตารางที่ 2.10 แสดงการ Grouping ตัวแปรเพื่อการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศในบริบทต่างประเทศ
ลํำดับ | ตัวแปร(Variable) | ด้ำนควำมรู้และทักษะ (Indicators) ตัวชี้วัด |
1. | การเข้าถึง (Access) | พิจารณาการเข้าถึง การกําหนดสื่อและสารสนเทศ ที่ต้องการ |
2. | การค้นคืน (Retrieval ) | พิจารณาการค้นคืนเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ กลับคืนมา อาจเป็นข้อมูลและเนื้อหาที่ต้องการ โดยเฉพาะ |
3. | ความเข้าใจ (Understanding) | พิจารณาความเข้าใจถึงคุณลักษณะและคุณสมบัติ ของสื่อและสารสนเทศที่ต้องการ |
ตารางที่ 2.10 แสดงการ Grouping ตัวแปรเพื่อการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศในบริบทต่างประเทศ (ต่อ)
ลํำดับ | ตัวแปร(Variable) | ด้ำนควำมรู้และทักษะ (Indicators) ตัวชี้วัด |
4. | การพิจารณาประเมินผล (Assessment) | พิจารณาการประเมินผลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ เพื่อเป็นแนวทางสําหรับการนําไปสู่การตัดสินใจใน ชั้นประมวลผล |
5. | การประเมินค่า (Evaluation) | พิจารณาการประเมนคุณค่า คุณภาพของสื่อและ สารสนเทศ เปน็ การตัดสนิ คุณค่าและคุณภาพอย่าง มีหลักเกณฑ์ |
6. | การใช้ประโยชน์ (Use) | พิจารณาการนําข้อมูลจากสื่อและสารสนเทศไปใช้ ประโยชน์อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ |
7. | สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) | พิจารณาการข้อมูลจากสื่อและสารสนเทศไปใช้ ประโยชน์อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ |
8. | การมีส่วนร่วม (Participation) | พิจารณาการเข้าร่วม การให้ความร่วมมือ โดยมี ฐานข้อมูลจากสื่อและสารสนเทศที่ได้รับทราบมา |
อย่างไรก็ตาม การเรียงลําดับตัวแปรโดยพิจารณาการวิเคราะห์ด้วยวิธีการต่างๆ ดังนี้
1. การจัดกลุ่มตัวแปรที่มีลักษณะเหมือนกัน
2. คัดแยกตัวแปรที่มีคุณลักษณะแตกต่างกัน
3. ดําเนินการแยกกลุ่ม
4. การนับจํานวนเพื่อคัดเลือกเป็นตัวแปร ดังแสดงในตารางที่ 2.11 ในหน้า 78
ตารางที่ 2.11 องค์ประกอบหลักของความรู้และทักษะด้านการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศจาก อินเทอร์เน็ต
Access/Retrieval | Understanding/Assessment/E valuation | Use/Communicat e |
1) การกําหนดสารสนเทศ 2) การกําหนดแหล่งสารสนเทศ 3) การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ 4) การกําหนดกลยุทธ์แสวงหา สารสนเทศ 5) การจําแนกสารสนเทศ | 1)การตระหนักถึงผลกระทบของสื่อ 2) การรับรู้และเข้าใจถึงกระบวนการ ของสื่อ เข้าใจผู้ผลิตสื่อ การเข้าใจ เนื้อหาสารสนเทศในแต่ละวัฒนธรรม 3) การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การ อภิปรายและการประเมินคุณค่าเนื้อหา สารสนเทศ | 1) การใช้ประโยชน์จาก สื่อและสารสนเทศอย่าง เหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ 2) การมีสุนทรียศาสตร์ และค่านยม 3) การเข้าใจ กระบวนการผลิตและ สร้างสรรค์ 4) การมีส่วนร่วม |
การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ (Media and Information Literacy : MIL) จัดอยู่ใน กลุ่มของความรู้และทักษะใน 3 องค์ประกอบหลัก จากตารางที่ 2.5-2.11 เป็นการรวบรวมองค์ ความรู้เกี่ยวกับการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศจากแหล่งต่างๆ ของงานศึกษาวิจัย บทความวิจัยทั้ง ของไทยและต่างประเทศ ซึ่งผู้วิจัยได้นําเอาแนวคิดของการรู้เท่าทันสื่อมากําหนดเป็นกรอบในการจัด แผนการจัดกิจกรรม และเพื่อประเมินการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชน รวมถึงจัดกิจกรรม การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ให้เยาวชนได้สะท้อนความคิดเห็นเพื่อนําไปสู่การประเมินการรู้เท่าทัน สื่อสังคมออนไลน์ ดังแสดงในภาพที่ 2.12 ในหน้าถัดไป
1.รูปแบบกำรรู้เท่ำทันสื่อตำมแผน กิจกรรมกำรพัฒนำประสบกำรณ์ กำรเรียนรู้สื่อสังคมออนไลน์
2. ผลกำรประเมินกำรรู้เท่ำทันสื่อ สังคมออนไลน์ของเยำวชนตำม ตัวชี้วัด 6.มีความรู้เกี่ยวกับสื่อสังคม ออนไลน์ของเยาวชน 7.มีทักษะการเข้าถึงสื่อสังคม ออนไลน์ 8.มีทักษะการวิเคราะห์สื่อสังคม ออนไลน์ 9.มีทักษะการประเมินเนื้อหาสื่อ สังคมออนไลน์
10. มีทักษะการใช้สื่อสังคม ออนไลน์อย่างสร้างสรรค์
▪ ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ ตามแบบคอนสตรัคติวิสม์
▪ ทฤษฎีการพัฒนาศักยภาพ สมอง
▪ ทฤษฏีการเรียนรู้ของ แบบบลูม
กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ตำม แผนกิจกรรมกำรรู้เท่ำทันสื่อสังคม ออนไลน์
▪ จุดประสงค์การเรียนรู้
▪ สถานการณ์จําลองตามแผนการ จัดการเรียนรู้
▪ กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่ว่ม
▪ การประเมินผล
แผนกิจกรรม
▪ บทเรียนความรู้เกี่ยวกับสื่อสังคม ออนไลน์
▪ การเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์
▪ การวิเคราะห์เนื้อหาสื่อสังคม ออนไลน์
▪ การประเมินเนื้อหาสื่อสังคม ออนไลน์
▪ การใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่าง สร้างสรรค์
ภาพที่ 2.11 กรอบแนวคิดการวิจัยเรื่องการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในจังหวัดนครศรีธรรมราช
จากภาพที่ 2.11 แสดงกรอบแนวคิดการวิจัยเรื่องการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้ โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ในจังหวัด นครศรีธรรมราช โดยผู้วิจัยได้นําทฤษฏีและแนวคิดต่างๆ มาประยุกต์ใช้ รวมถึงตัวชี้วัดเกี่ยวกับการ รู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ที่ได้รวบรวมและสรุปมา และผู้วิจัยได้นําแนวคิดของ Center for Media Literacy (2008) มาประยุกต์ใช้ในการสร้างกรอบแนวคิด ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนของการ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย จุดประสงค์การเรียนรู้ สถานการณ์จําลองตามแผนการ จัดการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของนักเรียนในห้องเรียน การประเมินผลก่อนและ หลังเรียนของนักเรียน ส่วนของตัวแปรต้น หรือแผนกิจกรรม ซึ่งประกอบด้วย บทเรียนความรู้ เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ การเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ การวิเคราะห์เนื้อหาสื่อสังคมออนไลน์ การ ประเมินเนื้อหาสื่อสังคมออนไลน์ และการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ ส่วนที่สองจะเป็น ทฤษฏีที่นํามาประยุกต์ใช้ในการสร้างคําถามและวิเคราะห์การใช้เงานสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชน ซึ่งประกอบด้วย ทฤษฏีการสร้างองค์ความรู้ตามแบบคอนสตรัคติวิสม์ ทฤษฏีการพัฒนาศักยภาพ สมอง และหลักการเรียนรู้แบบบลูม (Bloom,1956) ส่วนที่สามเป็นส่วนของตัวแปรตาม ซึ่ง ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 แผนกิจกรรมการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้สื่อสังคมออนไลน์ที่ สามารถนําไปใช้ในการเรียนการสอนในห้องเรียนได้ และส่วนที่ 2 เป็นผลการประเมินการรู้เท่าทันสื่อ สังคมออนไลน์ตามตัวชี้วัด ดังนี้ นักเรียนมีความรู้และทักษะเกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ นักเรียนมี ความรู้และทักษะการเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ นักเรียนมีความรู้และมีทักษะการวิเคราะห์สื่อสังคม ออนไลน์ นักเรียนมีความรู้และทักษะการประเมินเนื้อหาสื่อสังคมออนไลน์ และนักเรียนมีความรู้และ มีทักษะการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์
จากกรอบแนวคิดที่กล่าวมา ผู้วิจัยได้นํามาประยุกต์ใช้ในการสร้างแบบสอบถามเพื่อ นําไปเก็บข้อมูล โดยการนําเอาตัวชี้วัดเกี่ยวกับการรู้เท่าทันสื่อของ พีระ จิรโสภณและคณะ (2559) มา ประยุกต์ใช้ในการประเมินความรู้และทักษะเกี่ยวกับการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อให้ครอบคลุม การเรียนการสอนของครูผู้สอนในชั้นเรียน
2.11 งำนวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสื่อสังคมออนไลน์
ณัฐพล บัวอุไร (2554) ศึกษาเรื่องการจัดการ่เรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฏี การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมอศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการ ลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี จํานวน 43 คน เครื่องที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินการสร้างองค์ความรู้ แบบประเมินความสามารถในการใช้ Social Media ในการเรียนรู้ และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อวิธีสอนโดยใช้ Social Media พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่จํานวน 30 คน มีความสามารถในการใช้ Social Media ใน
การศึกษาเรียนรู้อยู่ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ 69.77 และนักเรียนจํานวน 13 คน มีความสามารถใน การใช้ Social Media ในการศึกษาเรียนรู้ อยู่ในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 30.23 และนักเรียน ทุกคนมีค่าเฉลี่ยรวมความสามารถในการใช้ Social Media ในการศึกษาเรียนรู้เท่ากับ 20.29 ซึ่งอยู่ใน ระดับดี และนักเรียนมีความชอบ Social Media ทั้ง 5 ชนิด ได้แก่ WordPress, Facebook, Twitter,
Slide share และ YouTube แตกต่างกันอย่างมีน้ยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
นิธิดา วิวัฒน์พาณิชย์ (2558) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ โดยใช้วิธีการสอนโดยมีขั้นการวิเคราะห์สื่อ การเชื่อมโยงปัญหา การประเมินคุณค่า การสรุปและการ ใช้สื่ออย่างรู้เท่าทัน เพื่อให้ผู้ใช้ได้มีความตระหนักถึงผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์อย่างรอบด้าน โดยผ่านกระบวนการตั้งคําถามในสิ่งที่อ่านหรือสิ่งที่พบเจอในสื่อสังคมออนไลน์ ค้นหาข้อเท็จจริงผ่าน การวิเคราะห์ก่อนที่จะนําเสนอข้อมูลเพื่อให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์การคิด วิเคราะห์ ไตร่ตรง และ แสวงหาข้อเท็จจริงแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อเปิดมุมมองการเรียนรู้ให้กว้างขึ้น
วัฒณี ภูวทิศ (2557) ได้ศึกษาการสร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้ เป็นช่องทางการสื่อสารที่ถ่ายทอดเรื่องราว แสดงความคิดความรู้สึกอย่างสร้างสรรค์โดยผู้ใช้ต้องไม่ยึด ติดกรอบแนวความคิดของตนเอง พร้อมทั้งเปิดรับข้อมูลจากหลายแหล่ง และใช้ข้อมูลอย่างสร้างสรรค์ และเกิดประโยชน์มากที่สุดรวมถึงผู้ใช้ต้องมีมารยาทและจริยธรรมรวมถึงพึงระวังในการใช้ข้อมูลอย่าง มีสติ
โสภณวิข์ อิ่นแก้ว (2556) ได้ศึกษาการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU) โดยการวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและพัฒนา ทักษะการอ่านและการเขียน ในรายวิชาภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน รหัสวิชา อ.30205 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนสา อําเภอ เวียงสา จังหวัดน่าน สําหรับกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนขั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ที่กําลังเรียนรายวิชา ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน จํานวน 30 คนและใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive selected) โดยศึกษาเนื้อหาหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 Reading Variety เรื่อง Wiang Sa My Home Land โดยประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และใช้ บล็อก (Blog) เป็นแหล่งเรียนรู้หลักในกระบวนการเรียนการสอน โดยเน้นกระบวนการ เทคนิคและวิธี สอนที่นํามาบรูณาการกับแนวคิดการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ผลการวิจัย พบว่า ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและมีพัฒนาการทางการเรียนที่ดีขึ้น และนักเรียนมีความ คิดเห็นเกี่ยวกับการนําสื่อสังคมออนไลน์มาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน คือช่วยให้นักเรียนเข้าใจ มากยิ่งขึ้น
พรรณทิพา สาวันดี (2554) ได้ศึกษาความตระหนักรู้ต่อการใช้อินเทอร์เน็ตอย่าง
สร้างสรรค์และปลอดภัยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยบทเรียนมัลติมีเดียเรื่อง ทักษะ
การใช้อินเทอร์เน็ต โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านหนองน้ําขุ่น ผลจาการวิจัยพบว่า ความตระหนักรู้ต่อการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
สุธัญรัตน์ ใจขันธ์ (2553) ได้ศึกษาเรื่องการศึกษาพฤติกรรมการเครือข่ายสังคมออนไลน์ ฟ(Social Network) ของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนจ่านกร้อง จังหวัดพิษณุโลก ผลการศึกษา พบว่า นักเรียนช่วงชั้นที่ 3 ส่วนใหญ่ มีคอมพิวเตอร์ทีใช้ที่บ้านเป็นของตนเอง มีการเชื่อมต่อกับ คอมพิวเตอร์กับระบบอินเตอร์เน็ต โดยเพื่อนแนะนําให้รู้จักกับเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยใช้บริการ www.facebook.com มากที่สุด ในช่วงเวลา 16.00 -20.00 น. ผู้ปกครองมีส่วนในการดูแลและให้ ความรู้ในกาใช้น้อย และเพื่อนมีส่วนในกาสอนและแนะนําการใช้มาก นักเรียนมีพฤติกรรมการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยรวมเละรายด้านในระดับมาก โดยเรียงลําดับจากมากหาน้อย ดังนี้ ด้าน พฤติกรรมการใช้ ด้านพฤติกรรมการพูดคุยในห้องสนทนา ด้านส่วนบุคล และด้านกากรอกข้อมูล ส่วนตัว ตามลําดับ
เอมิกา เหมมินทร์ (2556) ได้ศึกษาเรื่องพฤติกรรมการใช้และความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ ได้จากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Media) ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ผล การศึกษาพบว่า ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครมีประสบการณ์ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ 3 ปีขึ้นไปมากที่สุด ประชากรใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ Facebook บ่อยที่สุด ช่องทางที่ ประชากรใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์บ่อยทีสุดคือ Smartphone ประชากรส่วนใหญ่เปิดบริการ เครือข่ายสังคมออนไลน์ไว้ตลอดทั้งวัน ช่วงเวลาที่ประชาชนใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มากที่สุด 18.00-06.00 น. ประชาชนมีการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ 1-3 ชั่วโมงต่อวันมากที่สุด ประชาชนส่วน ใหญ่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อพูดคุยกับเพื่อนมากที่สุดคือ ทําให้ทราบข่าวสารรวดเร็ว โดยเปิด ข่าวสารเป็นแหล่งหรือสื่อที่ทําให้ประชาชนสนใจใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มากที่สุด นอกจากนี้พบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพสถานภาพสมรส และหารายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีพฤติกรรม การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
วิวัฒน์ เรืองนรา (2555) ได้ศึกษาเรื่องการสร้างบทเรียนเครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่อง ระบบการสื่อสารข้อมูลสําหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 โรงเรียนเสวียดวิทยา รัชมัง คลาภิเษก งหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการศึกษาพบว่า บทเรียนบนเครือข่ายออนไลน์ ที่สร้างขึ้น คุณภาพ ของบทเรียนด้านเนื้อหา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.25 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.49 ระดับ คุณภาพอยู่ในระดับดี และผลการประเมินด้านคุณภาพด้านการผลิตสื่อของบทเรียนเครือข่ายสังคม ออนไลน์มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.97 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.48 ระดับคุณภาพอยู่ใน ระดับดี โดยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนเรียน (× = 12.35, S.D. = 4.58)
และค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังเรียน (× = 23.63, S.D. = 4.11) และผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน โดยการทดสอบค่า t-test พบว่าค่า t เท่ากับ 13.05 ซึ่งมีความ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 แสดงว่าผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้น และความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.32 ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานมีคาเฉลี่ยเท่ากับ 0.71 อยู่ในระดับมาก
ฑิฆัมพร สมรูป (2555) ได้ศึกษาเรื่อง การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือโดยการใช้ เทคนิคกลุ่มร่วมเรียน เรื่องภัยธรรมชาติของไทยและของโลก ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ สําหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผลการศึกษาพบว่า การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการจัดการเรียน การสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิคกลุ่มร่วมเรียน สําหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีคุณภาพทั้งในด้าน เนื้อหาและด้านเทคนิคในด้านดี คะแนนทดสอบหลังการเรียนด้วยเครือข่ายสังคมออนไลน์สูงกว่า คะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วย เครือข่ายสังคมออนไลน์ อยู่ในระดับมาก การมีส่วนร่วมของนักเรียนในการเรียนผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์อยู่ในระดับดี
ธิภทรา เพ็งจันทร์ (2554) ได้ศึกษาเรื่อง แรงจูงใจของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายต่อการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของ www.facebook.com ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะ ประชากรของนักเรียน ส่วนใหญ่จะเป็นเพศหญิงที่ศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ได้รับรายได้ จากผู้ปกครอง 2,000-3,000 บาท จะมีผลการเรียนระหว่าง 2.0-2.5 นักเรียนส่วนใหญ่มี ประสบการณ์การใช้ 2-3 ปี จะใช้ทุกวัน แต่ละครั้งในการใช้เวลาเล่นอยู่ระหว่าง 3-5 ชั่วโมง ระหว่าง เวลา 16.00-20.00 น. แรงจูงใจในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของ www.facebook.com ใน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าส่วนใหญ่มีแรงจูงใจอยู่ในระดับมาก และมี เพียง 2 ข้อ ที่มีแรงจูงใจอยู่ในระดับมากที่สุด คือ มีการสนทนาออนไลน์โต้ตอบกันได้อย่างรวดเร็ว และมีโปรไฟล์นําเสนอข้อมูลส่วนตัว เช่น ข้อความ รูปภาพ วิดีโอ
ทวิพงศ์ ศรีสุวรรณ (2553) ได้ศึกษาเรื่องการจัดการเรียนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ วิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผลการศึกษาพบว่า คุณภาพของการ จัดการเรียนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ วิชาฟิสิกส์ ระดับมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ผ่านการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญประเมินทั้งด้านเนื้อหาและด้านสื่อและการอกแบบมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.49 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.54 อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียน การสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ วิชาฟิสิกส์ มีค่าเท่ากับ 4.38 ซึ่งมีความพึง พอใจอยู่ในเกณฑ์มาก
จากรายงานวิจัยที่สรุปมาจะเห็นได้ว่าสื่อสังคมออนไลน์มีบทบาทต่อการจัดการเรียนการ สอนในปัจจุบันค่อนข้างมากเพราะมีความสะดวกรวดเร็วและใช้งานได้ทุกที่ทุกเวลา แต่งานวิจัยส่วน ใหญ่จะเน้นการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งยังไม่มีงานวิจัยที่เน้นประเด็นใน ด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักรู้และรู้เท่าทันรวมถึง ใช้สื่อสังคมออนไลน์ได้อย่างถูกวิธีเพื่อจะทําให้ผู้เรียนหรือเยาวชนใช้สื่อสังคมออนไลน์ได้อย่าง สร้างสรรค์มากยิ่งขึ้น ซึ่งในรายงานวิจัยนี้ได้นําเอาแนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมา ประยุกต์ใช้ในการสร้างกรอบแนวคิดรวมถึงการประยุกต์ใช้ในการสร้างตัวแปรต้นและตัวแปรตามที่ นําไปใช้ในการเก็บข้อมูลเพื่อนําไปสู่การวิเคราะห์และสรุปผลในบทต่อไป ซึ่งจากการทบทวนรายงาน การวิจัยจะพบว่ามีผู้วิจัยหลากหลายได้มีแนวคิดเกี่ยวกับการรู้เท่าทันสื่อที่แตกต่างกัน แต่สําหรับ งานวิจัยนี้ได้นํากรอบแนวคิดแบบ Center for Media Literacy (2008) มาประยุกต์ใช้ในการสร้างตัว แปรต้น และผู้วิจัยได้นําตัวชี้วัดด้านการรู้เท่าทันสื่อมาประยุกต์ใช้เป็นตัวแปรตาม ซึ่งผลจากการ ทบทวนวรรณกรรมในบทที่ 2 นี้จะได้นําไปประยุกต์ใช้ในวิธีดําเนินการวิจัยในบทที่ 3 ต่อไป
บทที่ 3 วิธีดํำเนินกำรวิจัย
การวิจัยนี้ได้บูรณาการการพัฒนาประสบการณ์การใช้สื่อสังคมออนไลน์กับการเรียน การสอนทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน รวมถึงการให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการรู้เท่าทันสื่อ และสอดแทรกเนื้อหาให้เยาวชนได้มีความตระหนักรู้ในการใช้ สื่อสังคมออนไลน์เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดการศึกษาในยุคประชาคมอาเซียนที่ผู้เรียนจะต้องมี ความรู้ทั้งในด้านภาษาอังกฤษ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน ในการวิจัยครั้งนี้ ดําเนินการภายใต้กรอบแนวคิดเพื่อสร้างความตระหนักรู้แก่เยาวชนในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ โดยมี วัตถุประสงค์การวิจัย ดังนี้
1. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสําหรับการออกแบบกิจกรรมการจัด ประสบการณ์การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์สําหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
2. เพื่อออกแบบและพัฒนาแผนกิจกรรมการจัดประสบการณ์การรู้เท่าทันสื่อสังคม ออนไลน์สําหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
3. เพื่อสังเคราะห์รูปแบบการพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์สําหรับ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
4. เพื่อประเมินทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์สําหรับนักเรียนมัธยมศึกษา
ตอนต้น
สําหรับรายละเอียดของรายงานการวิจัยเรื่อง การพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช
สื่อสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อของเยาวชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้มีขั้นตอนการ ดําเนินการวิจัย ดังนี้
3.1 กรอบแนวคิดการวิจัยเรื่อง การพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์เพื่อส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อของเยาวชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช
3.2 ขั้นตอนดําเนินการวิจัย
3.3 ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือในการวิจัย
3.4 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างของการวิจัย
3.5 การรวบรวมข้อมูลของการวิจัย
3.6 การวิเคราะห์ข้อมูล
3.1 กรอบแนวคิดกำรวิจัย
1.รูปแบบกำรรู้เท่ำทันสื่อตำมแผน กิจกรรมกำรพัฒนำประสบกำรณ์ กำรเรียนรู้สื่อสังคมออนไลน์
2. ผลกำรประเมินกำรรู้เท่ำทันสื่อ สังคมออนไลน์ของเยำวชนตำม ตัวชี้วัด
11. มีความรู้เกี่ยวกับสื่อสังคม ออนไลน์ของเยาวชน
12. มีทักษะการเข้าถึงสื่อสังคม ออนไลน์
13. มีทักษะการวิเคราะห์สื่อ สังคมออนไลน์
14. มีทักษะการประเมินเนื้อหา สื่อสังคมออนไลน์
15. มีทักษะการใช้สื่อสังคม ออนไลน์อย่างสร้างสรรค์
กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ตำม แผนกิจกรรมกำรรู้เท่ำทันสื่อสังคม ออนไลน์
▪ จุดประสงค์การเรียนรู้
▪ สถานการณ์จําลองตามแผนการ จัดการเรียนรู้
▪ กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่ว่ม
▪ การประเมินผล
แผนกิจกรรม
▪ บทเรียนความรู้เกี่ยวกับสื่อสังคม ออนไลน์
▪ การเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์
▪ การวิเคราะห์เนื้อหาสื่อสังคม ออนไลน์
▪ การประเมินเนื้อหาสื่อสังคม ออนไลน์
▪ การใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่าง สร้างสรรค์
สําหรับกรอบแนวคิดการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ประยุกต์จาก ความรู้ และทักษะการรู้เท่าทัน สื่อในแต่ละด้านเพื่อนํามาจัดประสบการณ์ในการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ได้เกิดการเรียนรู้ ดังภาพที่ 3.1
▪ ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้แบบ คอนสตรัคติวิสม์
▪ ทฤษฎีการพัฒนาศักยภาพสมอง
▪ ทฤษฏีการเรียนรู้ของ Bloom
ภาพที่ 3.1 กรอบแนวคิดสําหรับการวิจัยเรื่องการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์เพื่อส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อของเยาวชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช
จากรูปที่ 3.1 แสดงกรอบแนวคิดสําหรับการวิจัยเรื่องการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้โดย ใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อของเยาวชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่ง กรอบแนวคิด ของการวิจัย ประกอบไปด้วย 3 ส่วนหลักๆ คือ
ส่วนแรกเป็นตัวแปรต้น คือ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแผนกิจกรรมการรู้เท่าทันสื่อ สังคมออนไลน์ ซึ่งมีองค์ประกอบย่อย 2 ส่วน ส่วนประกอบย่อยที่ 1 ประกอบด้วย จุดประสงค์ของการ เรียนรู้ สถานการณ์จําลองตามแผนการจัดการเรียนรู้ กระบวนเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของนักเรียน และ การประเมินผล ส่วนประกอบย่อยที่ 2 เป็นแผนกิจกรรมการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งประกอบด้วย บทเรียนความรู้เกี่ยวกับสื่อสังคมออนไลน์ การเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ การวิเคราะห์เนื้อหาสื่อสังคม ออนไลน์ การประเมินเนื้อหาของสื่อสังคมออนไลน์ และการใช้สื่อสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ ซึ่ง ผู้วิจัยได้นําหลักการรู้เท่านทันสื่อสังคมออนไลน์ตามหลักการของ Center for Media Literacy (2008) มาประยุกต์ใช้ในการจัดแผนกิจกรรมการเรียนรู้
ส่วนที่ 2 เป็นตัวแปรตามหรือผลที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วนย่อย คือ ส่วนย่อยที่ 1 รูปแบบกิจการรู้เท่าทันสื่อตามแผนกิจกรรมการพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้สื่อสังคม ออนไลน์ ซึ่งสามารถนําไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนได้ ส่วนย่อยที่ 2 คือ ผลการประเมิน การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชน ซึ่งประกอบด้วยตัวแปรย่อยที่ผู้วิจัยได้ประยุกต์ใช้มาจาก ตัวชี้วัดเกี่ยวกับการรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ จํานวน 5 ข้อ คือ นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับสื่อสังคม ออนไลน์ รู้จักสื่อแต่ละประเภท นักเรียนมีทักษะการเข้าถึงสื่อสังคมออนไลน์ โดยพิจารณาการเข้าถึง การเปิดรับ การกําหนดสื่อและสารสนเทศ นักเรียนมีทักษะการวิเคราะห์สื่อสังคมออนไลน์ โดยพิจารณา จากการวิเคราะห์เนื้อหาของสื่อสังคมออนไลน์ นักเรียนมีทักษะการประเมินเนื้อหาสื่อสังคมออนไลน์ โดยพิจารณาจากการประเมินคุณค่า คุณภาพของสื่อและสารสนเทศ และนักเรียนมีทักษะการใช้สื่อ สังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์ โดยพิจารณาจากการผลิตสื่อสารสนเทศได้อย่างเหมาะสมและน่าสนใจ
ส่วนที่ 3 เป็น ทฤษฏีการเรียนรู้ที่นํามาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมและการวิจัยครั้งนี้ ซึ่ง ประกอบด้วย ทฤษฏีการสร้างองค์ความรู้แบบคอนสตรัคติวิสม์ ซึ่งประยุกต์ใช้ในแผนกิจกรรมการใช้ สื่อสังคมออนไลน์อย่างสร้างสรรค์โดยประเมินว่า หลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับสื่อสังคม ออนไลน์แล้ว นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ หรือ เกิดองค์ความรู้ใหม่ หรือไม่ สําหรับทฤษ๋ฏีการพัฒนา ศักยภาพสมองนั้นนํามาประยุกต์ใช้สําหรับการวิจัยครั้งนี้ เนื่องจาก กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยครั้งนี้ เป็น เยาวชนที่มีอายุอยู่ระหว่าง 13-16 ปี ซึ่งถื่อว่าเป็นช่วงวัยรุ่นที่ต้องมีการพัฒนาในแต่ละด้านไม่ว่า จะเป็น ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม เนื่องจากสื่อสังคมออนไลน์เข้ามามีอิทธิพลต่อกลุ่มวัยรุ่นเป็นอย่าง มาก ทําให้เราต้องรู้ถึงพฤติกรรมของเยาวชนที่มีต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อเป้นแนวทางในการ แก้ปัญหาต่อไป และทฤษฏีการเรียนรู้ของบลูม (Bloom,1956) มาประยุกต์ใช้ในขั้นตอนของการจัด กิจกรรมการรู้ทันสื่อ เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ และรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์มากขึ้นด้วย