ลําดับที่ 1 หัวข้อวิจัย สถานการณ์ทางระบาดวิทยา การเข้าถึงบริการ ผลลัพธ์การรักษา และปัจจัยที่มีผลต่อความสําเร็จของการควบคุมป้องกันโรคในกลุ่มแรงงานต่าง ด้าวและครอบครัว หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ สถาบันเวชศาสตร์ป้องกันศึกษา ผู้ประสานงาน นางสาวจริยา...
หัวข้อวิจัย โครงการxxxxxxเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) ความร่วมมือหน่วยงานภาครัฐ ภายใต้ "บันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือโครงการร่วมให้ทุนพัฒนาบุคลากรระดับxxxxxxเอก ระหว่าง กองทุนสนับสนุนการวิจัย กรมควบคุมโรค มูลนิธิxxxxxxxxการศึกษาวิจัยการควบคุมโรค มูลนิธิสถาบันเวชศาสตร์ป้องกันศึกษา กรมควบคุมโรค มูลนิธิสุขภาพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
สถาบันวัคซีนแห่งชาติ และสมาคมนักบริหารโรงพยาบาลประเทศไทย"
ลําดับที่ | 1 |
หัวข้อวิจัย | สถานการณ์ทางระบาดxxxxx การเข้าถึงบริการ ผลลัพธ์การรักษา และ ปัจจัยที่มีผลต่อความสําเร็จของการควบคุมป้องกันโรคในกลุ่มแรงงานต่าง ด้าวและครอบครัว |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สถาบันเวชศาสตร์ป้องกันศึกษา |
ผู้xxxxxxงาน | นางสาวxxxxx ดําxxxxxxxx กลุ่มวิจัยและบริการวิชาการ สถาบันเวชศาสตร์ป้องกันศึกษา โทร. 0 2590 3177 ถึง 7, 08 2798 2798 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxฯ กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3221 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สํานักโรคติดต่อทั่วไป โทร. 09 7228 1616 อีเมล: x.xxxxxxxxxxxxx@xxxxx.xxx ปีที่ต้องการศึกษา พ.ศ. 2563 |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
สถานการณ์ทางระบาดxxxxx การเข้าถึงบริการ ผลลัพธ์การรักษา และปัจจัยที่มีผลต่อความสําเร็จของการควบคุม ป้องกันโรคในกลุ่มแรงงานต่างด้าวและครอบครัว
ลําดับที่ | 2 |
หัวข้อวิจัย | โครงสร้างประชากร การเข้าถึงวัคซีนพื้นฐาน และปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความสําเร็จในการเข้าถึงวัคซีนอย่างต่อเนื่องและครบถ้วน ในบุตรแรงงาน ต่างด้าว พื้นที่ชุมชนเมืองและการเกษตร |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สถาบันเวชศาสตร์ป้องกันศึกษา |
ผู้xxxxxxงาน | นางสาวxxxxx ดําxxxxxxxx กลุ่มวิจัยและบริการวิชาการ สถาบันเวชศาสตร์ป้องกันศึกษา โทร. 0 2590 3177 ถึง 7, 08 2798 2798 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxพาศ xxxxxxxxxxxxxxxxxxฯ กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3223 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | - |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
ปัญหาโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนมีแนวโน้มลดลงต่อเนื่องในประเทศไทย เนื่องจากเด็กไทยเกือบทุกคนได้รับวัคซีน จําเป็นพื้นฐานเพื่อป้องกันโรคครบตามเกณฑ์กําหนด แต่สําหรับบุตรหลานแรงงานต่างด้าวที่ติดตามผู้xxxxxxเข้ามาใน ประเทศไทย หรือเกิดในประเทศไทย บางส่วนเป็นบุตรหลานแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย ทําให้ต้องหลบซ่อน มีข้อจํากัดใน การเข้าถึงบริการ ในปัจจุบันยังไม่มีตัวเลขxxxxxxxxxถึงจํานวนและลักษณะทางประชากรของเด็กเหล่านี้ ไม่มีการติดตามความ ครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กเหล่านี้อย่างเป็นระบบ ยังไม่มีการศึกษาถึงปัญหาอุปสรรคในการเข้าถึงบริการที่ครอบคลุมใน หลากหลายพื้นที่ที่เด็กเหล่านี้อาศัยอยู่ xxxx ในพื้นที่สวน ในพื้นที่ประมง ในพื้นที่ชุมชนxxxxxในเมือง ในพื้นที่ชายแดนที่ xxxxxxข้ามไปมาระหว่างประเทศได้ง่าย เป็นต้น นอกจากนี้ยังไม่มีการศึกษาถึงสถานการณ์ในปัจจุบันหลังรัฐบาลเร่งรัด มาตรการนําแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมายเข้าสู่ระบบ รวมxxxxxxกระทบในแง่บวกและลบต่อการเข้าถึงบริการ ดังนั้นจึงมีความ จําเป็นที่ต้องทําการศึกษาเพื่อให้ได้ข้อมูลในการวางแผนการดําเนินงาน เพื่อให้ประเทศไทยxxxxxxป้องกันควบคุมโรคติดต่อที่ ป้องกันได้ด้วยวัคซีนต่อไป
ลําดับที่ | 3 |
หัวข้อวิจัย | การพัฒนานวัตกรรม รูปแบบ ระบบการแจ้งการพลัดตกหกล้มในผสู้ ูงอายุ (fall detection alarm system) ที่เชื่อมต่อกับระบบการบริการ ในบริบท ของประเทศไทย |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สํานักโรคไม่ติดต่อ |
ผู้xxxxxxงาน | นางสาวนิพา ศรีช้าง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ สํานักโรคไม่ติดต่อ โทร. 0 2590 3888, 08 1363 8810 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | - นายแพทย์xxx สิงห์คํา กองนวัฒกรรมและวิจัย กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3969 - นายแพทย์ยงxxxx เหล่าxxxxxxxx ผู้อํานวยการศูนย์สารสนเทศ กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3093 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | - |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
ประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุ หรือมีอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 10 ตั้งแต่ปี 2548 โดยปัจจุบันมีประชากร 60
ปีขึ้นไป ร้อยละ 14 หรือมากกว่า 9 ล้านคน และจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแบบxxxxxxxในปี 2564 หรือมีประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ 20 จากการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและความเสื่อมตามวัย ทําให้มีปัญหาการบาดเจ็บที่สําคัญคือการพลัดตกหกล้มใน ผู้สูงอายุ และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 2 รองจากการบาดเจ็บจากการจราจรทางถนน ซึ่งมีผู้เสียชีวิตจากทุกกลุ่มอายุปีละ เกือบ 2,000 คน โดยครึ่งหนึ่งเป็นผู้สูงอายุ เฉลี่ยวันละ 3 คน ทั้งนี้ในแต่ละปีมีผู้สูงอายุ 1 ใน 3 พลัดตกหกล้ม หรือมากกว่า 3 ล้านคน ในจํานวนนี้มีผู้xxxxxxรับบาดเจ็บสูงถึง 6 แสนคน โดยครึ่งหนึ่งหรือกว่า 3 แสนคน มีบาดแผล ฟกช้ํา ถลอก และได้รับ บาดเจ็บรุนแรงจนสะโพกหักสูงเกือบ 3,000 คน และพบว่าผู้สูงอายุแจ้งขอใช้บริการระบบการแพทย์ฉุกเฉินด้วยพลัดตกหกล้ม เฉลี่ย 5 หมื่นครั้ง/ปี หรือ 6 ครั้ง/ชั่วโมง สาเหตุหลักมาจากการลื่น สะดุด หรือก้าวพลาดบนพื้นระดับเดียวกันมากถึงร้อยละ 66 แต่มีเพียงร้อยละ 6 เกิดจากการตกหรือล้มจากบันไดและขั้นบันได โดยผลจากการพลัดตกหกล้มมีตั้งแต่การบาดเจ็บ เล็กน้อย จนรุนแรงทําให้กระดูกหัก ความxxxxxxในการเคลื่อนไหวช่วยตัวเองได้ลดลง พิการและต้องพึ่งพาผู้อื่น ปัจจุบันได้มี การพัฒนาระบบสนับสนุน แจ้งเตือน และตรวจจับกรณีที่ผู้สูงอายุพลัดตกxxxxx xxxxขณะเกิดเหตุ และหลังจากเกิดเหตุพลัดตก หกล้ม และเชื่อมต่อกับระบบบริการเพื่อให้ผู้บาดเจ็บเข้าถึงการรักษาที่รวดเร็ว ปลอดภัยและลดภาวะความรุนแรงจากการ บาดเจ็บลงได้รวมถึงลดค่าใช้จ่ายของระบบบริการสุขภาพ ด้วยอุปกรณ์xxxxxมีสมรรถนะสูง มีทั้งระบบติดตั้งในบ้าน และระบบ เคลื่อนที่ ด้วยราคาที่เข้าถึงได้ แต่ยังไม่มีการศึกษาบริบทในประเทศไทย
ลําดับที่ | 4 |
หัวข้อวิจัย | ต้นทุน ประสิทธผิ ล และความคุ้มค่าของมาตรการป้องกันการพลัดตกหก ล้มของผู้สูงอายุ ในประเทศไทย |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สํานักโรคไม่ติดต่อ |
ผู้xxxxxxงาน | นางสาวนิพา ศรีช้าง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ สํานักโรคไม่ติดต่อ โทร. 0 2590 3888, 08 1363 8810 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | นางสาวนิพา ศรีช้าง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ สํานักโรคไม่ติดต่อ โทร. 0 2590 3888, 08 1363 8810 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | - |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
ปัจจุบันมาตรการป้องกันและลดการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุในต่างประเทศที่แนะนําประกอบด้วย การประเมิน ปัจจัยเสี่ยงต่างๆ และดูแลจัดการปัจจัยเสี่ยงที่เป็นสาเหตุ ( Multifactorial fall-risk assessment and management program) การออกกําลังกายที่ผสมผสานในการฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ การทรงตัวและการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (Multicomponent exercise program) การฝึกออกกําลังไทเก็กเป็นกลุ่ม (Group Tai Chi) การฝึกการเดิน การทรงตัว (program Group gait/balance training) การฝึกออกกําลังกายที่บ้าน (Individualized home exercise program) การ ปรับปรุงสภาพบ้านให้ปลอดภัย (Home safety Intervention Programs) ขณะที่ประเทศไทย มีการดําเนินมาตรการ เรื่อง การออกกําลังกาย โดยการสอนออกกําลังกายแก่ผู้สูงอายุxxxxxxมีประวัติการxxxxxxxxxxx และการออกกําลังกายแบบ OTAGO การxxxxxxxxสุขภาพผู้สูงอายุผ่านเครือข่ายอาสาสมัครในชุมชน ให้ความรู้ คําแนะนําแก่ผู้สูงอายุและผู้ดูแลให้xxxxxxx xxxxxxป้องกันการพลัดตกหกล้ม และการประเมินความเสี่ยงและการปรับพฤติกรรม ลดปัจจัยxxxxxxxxxxๆ ปัจจัย ร่วมกับปรับ สิ่งแวดล้อม ในเครือข่ายสถานบริการสาธารณสุข การปรับปรุงบ้านสําหรับผู้สูงอายุ แต่ยังไม่มีการประเมินxxxxxx xxxxxxxxxx และความคุ้มค่าของมาตรการดังกล่าว ขณะที่การศึกษาต้นทุนจากการนอนxxxรักษาในโรงพยาบาลเนื่องจากหกล้มในผู้สูงอายุ (xxxxx xxxxxxxxxx และคณะ., ปี 2012) พบว่าค่าใช้จ่ายและการนอนxxxรักษาในโรงพยาบาล ผู้ที่พลัดตกหกล้มแล้วมี กระดูกหัก ต้องนอนxxxในโรงพยาบาลนานกว่า 8 วัน และมีค่ารักษาพยาบาลเฉลี่ย 25,728 บาท ขณะที่ผู้ที่พลัดตกxxxxx xxxรับบาดเจ็บ แต่ไม่มีกระดูกหัก ต้องนอนxxxในโรงพยาบาล 6.4 วัน และมีค่ารักษาพยาบาลเฉลี่ย 19,419 บาท ซึ่งการศึกษา ในประเทศเนเธอร์แลนด์พบว่า ปี 2007-2009 แต่ละปีมีผู้สูงอายุที่มีอายุ ≥65 ปีร้อยละ 3 เข้ารับบริการที่หน่วยฉุกเฉินจาก สาเหตุพลัดตกหกล้ม มีค่าใช้จ่ายจากการรักษาพยาบาล (medical costs) ประมาณ €675.4 ล้าน ผู้ที่มีกระดูกหักมีค่าใช้จ่าย เป็นสัดส่วน 80% ของค่ารักษาพยาบาล (€540 ล้าน) เพศหญิง (€9,990 ล้าน) มีค่าใช้จ่ายสูงกว่าเพศชาย (€7,510 ล้าน) และ xxxxxขึ้นตามอายุ ขณะที่ค่าใช้จ่ายในการดูแลต่อเนื่องที่บ้านและศูนย์ดูแลผู้ป่วยระยะยาวxxxxxขึ้นคิดเป็นสัดส่วน 54% ของค่า รักษาพยาบาลในผู้สูงอายุ
ลําดับที่ | 5 |
หัวข้อวิจัย | Application of AI for detection of Opisthorchis viverrini and Minute Intestinal Flukes in the automated fecal analysis. |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 (เชียงใหม่) |
ผู้xxxxxxงาน | ดร.xxxxxxxxxxxx xxxxxx สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 (เชียงใหม่) โทร. 08 9998 1264 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | ดร.xxxxxxxxxxxx xxxxxx สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 (เชียงใหม่) โทร. 08 9998 1264 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | xxxxxxxxx xxxxxxxxx นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ สํานักโรคตดต่อทั่วไป โทร. 09 8424 5669 ปีที่ต้องการศึกษา พ.ศ. 2563 |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
ปัจจุบันยังพบปัญหาการจําแนกหรือวิเคราะห์ไข่พยาธิระ หว่างพยาธิใบไม้ในตับและพยาธิใบไม้ลําไส้ขนาดเล็ก โดย วิธีการตรวจหาไข่พยาธิในอุจจาระ โดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ทั้งนี้เนื่องจากการมีผู้เชี่ยวชาญในการจําแนกไข่พยาธิทั้ง 2 ชนิดxxxxxxx บุคลากรได้รับการอบรมxxxxxxxxxxหรือขาดประสบการณ์ในการจําแนกไข่พยาธิดังกล่าว เพราะลักษณะของไข่ พยาธิทั้ง 2 ชนิดนี้มีความคล้ายคลึงกันมากจึงส่งผลให้เกิดความผิดพลาดในการจําแนกได้ ดังนั้นจึงได้มีการพัฒนาโปรแกรม หรือแอปพลิเคชันขึ้น เพื่อxxxxxxนําไปใช้ในการวิเคราะห์หรือจําแนกไข่พยาธิทั้ง 2 ชนิดนี้ให้มีความแม่นยําถูกต้อง
ลําดับที่ | 6 |
หัวข้อวิจัย | พัฒนาระบบเฝ้าระวัง และมาตรการเพื่อป้องกันควบคุมโรคในผู้ประกอบ อาชีพสัมผัสขยะ และชุมชนผู้อาศัยในบริเวณใกล้เคียงบ่อขยะขนาดเล็ก ที่ xxxxxxxxxxxxการควบคุมของกรมควบคุมมลพิษ |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 (นครสวรรค์) |
ผู้xxxxxxงาน | xxxxxxxxxxxx xxxxxxx สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 (นครสวรรค์) โทร : 08 1887 8062 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | ดร. xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxด้านเวชกรรมป้องกัน กรมควบคุมโรค โทร. 08 1827 7115 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | - |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
จากสถานการณ์ขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559 พบว่า มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นของประเทศ ไทย 27.06 ล้านตัน ซึ่งคิดเป็นอัตราการเกิดขยะมูลฝอยที่ 1.14 KG ต่อคนต่อวัน โดยที่ปริมาณขยะมูลฝอย มีแนวโน้มสูงขึ้นทุก ปี ในขณะที่อัตราขยะมูลฝอยที่ถูกนําไปกําจัด และอัตราการนําขยะมูลฝอยที่ถูกนําไปใช้xxxxxxxx xxแนวโน้มxxxxxขึ้นเพียง เล็กน้อย ส่งผลให้ปัญหาการกําจัดขยะที่xxxความxxxxxxxxxxxxxขึ้น โดยเฉพาะการกําจัดขยะที่มีปริมาณมากขึ้นทุกปี ถึงแม้ว่าจะ มีมาตรการ ในหลาย ๆ ด้าน เพื่อลดปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในทุกวันแล้วก็ตาม และงบประมาณที่หน่วยงานxxxxxxจัดหา แหล่ง/พื้นที่เพื่อกําจัดขยะ ที่ต้องใช้หลักเกณฑ์และใช้งบประมาณ ในการสร้างระบบการกําจัดขยะที่ถูกหลักสุขาภิบาล ซึ่ง สถานที่กําจัดขยะทั้งแบบถูกหลักสุขาภิบาลและไม่ถูกหลักสุขาภิบาลในประเทศไทย มีจํานวนทั้งหมด 2,810 แห่ง (ที่ ดําเนินการกําจัดขยะที่รัฐบาลและเอกชนเป็นผู้ดูแล) โดยที่สถานที่กําจัดขยะแบบถูกหลักสุขาภิบาลมีจํานวนน้อย คือมีจํานวน ทั้งสิ้น 330 แห่ง ส่วนสถานที่กําจัดขยะxxxxxxถูกหลักสุขาภิบาล มีจํานวนมากที่สุด คือมีจํานวนทั้งสิ้น 2,480 แห่ง(1) โดยที่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรวมทั้งประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่เลือกรูปแบบการกําจัดขยะxxxxxxถูกหลักสุขาภิบาล คือ ใช้แบบวิธีเทกอง (open drump)(2) ซึ่งถือเป็นระบบที่มีความเสี่ยงมากที่สุด ทั้งในด้านผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม และผลกระทบทางด้าน สุขภาพ ทั้งนี้ ในส่วนของมลพิษทางสิ่งแวดล้อม หน่วยงานกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ มีระบบควบคุมผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม โดยมีหลักเกณฑ์และแนวทางในการปฏิบัติ โดยได้มีระบบการประเมินการตรวจสอบ สมรรถนะการกําจัดขยะมูลฝอยขั้นต่ําไว้ โดยเริ่มประเมินสถานที่กําจัดขยะแบบเทกองควบคุมขึ้นไป(3) ส่วนสถานที่การกําจัด ขยะxxxxxxถูกหลักสุขาภิบาล จะไม่มีระบบการประเมิน หรือควบคุมการปล่อยมลพิษทางสิ่งแวดล้อม ซึ่งอาจก่อให้xxxxxxกระทบ ในวงกว้างในระยะยาว รวมถึงปัญหาทางด้านสุขภาพ จากมลพิษของขยะ xxxx มลพิษจากน้ําชะขยะ ทั้งใต้ดินและผิวดิน ปัญหา แมลงวัน ปัญหากลิ่น ส่วนทางด้านปัญหาทางสุขภาพนั้น กรมควบคุมโรค ได้มีแนวทางในการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค และ ภัยสุขภาพของประชาชนและผู้ประกอบอาชีพฯ จากปัญหาขยะ เน้นไปที่ประชาชนที่อยู่อาศัยรอบบ่อขยะxxxxx 1 กิโลเมตรและ ผู้ประกอบอาชีพสัมผัสขยะ/ผู้ที่อาศัยอยู่กับผู้ประกอบอาชีพสัมผัสขยะ โดยใช้รูปแบบการเฝ้าระวังด้วยวิธีการสํารวจ และ วิธีการคัดกรองความเสี่ยงทางด้านสุขภาพ จากแบบฟอร์ม ที่สํานักโรคจากการประกอบอาชีพกําหนด ทั้งนี้ การเฝ้าระวังทาง สุขภาพดังกล่าวนั้น กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ยังไม่มีการกําหนดแนวทาง/มาตรการในการเฝ้าระวังสุขภาพในผู้ ประกอบอาชีพสัมผัสขยะและชุมชนผู้อาศัยบริเวณใกล้เคียงบ่อขยะขนาดเล็กที่xxxxxxxxxxxxการควบคุมของกรมควบคุมมลพิษ
จากสถานการณ์ดังกล่าว ทั้งในส่วนของ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่มี แนวทางในการประเมินสมรรถนะในการกําจัดขยะมูลฝอยจากแหล่งกําจัดในรูปแบบเทกองควบคุมขึ้นไป ซึ่งมลพิษที่เกิดจาก ระบบการกําจัดxxxxxxถูกหลักสุขาภิบาล ส่วนใหญ่ คือ แมลงวัน น้ําเสีย มลพิษน้ําใต้ดิน ดินปนเปื้อน กลิ่ น VOCs และการ ปลดปล่อยก๊าซมีเทน(3) และในส่วนของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ยังxxxxxxกําหนดแนวทางในการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพของประชาชนและผประกอบอาชีพฯ จากปัญหาขยะ เน้นไปที่ประชาชนที่อยู่อาศัยรอบบ่อขยะxxxxx 1 กิโลเมตรและผู้ประกอบอาชีพสัมผัสขยะ/ผู้ที่อาศัยอยู่กับผู้ประกอบอาชีพสัมผัสขยะ โดยใช้รูปแบบการเฝ้าระวังด้วยวิธีการ สํารวจ และวิธีการคัดกรองความเสี่ยงทางด้านสุขภาพ จากแบบฟอร์ม ที่สํานักโรคจากการประกอบอาชีพกําหนด ดังนั้น กรม ควบคุมโรค จึงควรกําหนดแนวทางในการพัฒนาระบบพัฒนาระบบเฝ้าระวังและมาตรการเพื่อการป้องกันควบคุมโรคในผู้ ประกอบอาชีพสัมผัสขยะและชุมชนผู้อาศัยบริเวณใกล้เคียงบ่อขยะขนาดเล็กทีxxxxxxxxxxxxการควบคุมของกรมควบคุมมลพิษ เพื่อxxxxxxคุณภาพชีวิตของประชาชน จากปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการกําจัดขยะxxxxxxถูกหลักสุขาภิบาลและบ่อขยะที่xxx xxxxxxxxxการควบคุมมลพิษของกรมควบคุมมลพิษ
ลําดับที่ | 7 |
หัวข้อวิจัย | ปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเด็ก กรณศึกษา จังหวัดชายแดนภาคใต้ |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน |
ผู้xxxxxxงาน | นายแพทย์ชนินันท์ xxxxxxx กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน โทร. 0 2590 3196-9 ต่อ 111 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxx ผู้อํานวยการกองโรคป้องกันด้วยวัคซีน โทร. 0 2590 3196-9 ต่อ 116 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | - |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
ประเทศไทยได้เข้าร่วมโครงการกําจัดโรคหัดให้สําเร็จภายในปี พ.ศ. 2563 ประกอบกับสถานการณ์โรคหัดและโรค xxxxxxxxxxxxxมีแนวโน้มxxxxxสูงขึ้น โรคหัดพบว่าปี 2561 มีรายงานผู้ป่วยไข้ออกผื่นหรือสงสัยหัด ทั้งสิ้น 7,094 ราย เสียชีวิต 23
ราย (อัตราป่วยตายร้อยละ 0.32) และโรคหัดเยอรมัน ในปี 2561 พบผู้ป่วยจํานวน 316 ราย xxxxxขึ้นจากในปี 2560 มีผู้ป่วย 258 ราย (อัตราป่วย 0.39 ต่อประชากรแสนคน) ซึ่งจากเดิมมีผู้ป่วยปีละ 157-240 ราย ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต จึงควรมีการ ทบทวนมาตรการกําจัดโรคหัด/หัดเยอรมัน เพื่อxxxxxประสิทธิภาพในการดําเนินการกําจัดโรคหัด/หัดเยอรมัน
ลําดับที่ | 8 |
หัวข้อวิจัย | การพัฒนารูปแบบการสํารวจความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กในเขต เมือง |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน |
ผู้xxxxxxงาน | นายแพทย์ชนินันท์ xxxxxxx กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน โทร. 0 2590 3196-9 ต่อ 111 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxพาศ xxxxxxxxxxxxxxxxxxฯ กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3223 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxx นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน โทร. 0 2590 3196-9, 08 1702 0065 ปีที่ต้องการศึกษา พ.ศ. 2563 |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
ปัจจุบันไม่มีข้อมูลการสํารวจความครอบคลุมวัคซีนในเขตเมือง อีกทั้งxxxxxxxวิธีการสํารวจความครอบคลุมวัคซีนที่ ใช้อยู่ในปัจจุบันไม่xxxxxxใช้ได้ในเขตเมือง จําเป็นต้องมีการพัฒนาxxxxxxxวิธีวิจัยที่จําเพาะเจาะจง และมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลในการติดตาม วางแผน ป้องกันควบคุมโรคในประชากรกลุ่มนี้
ลําดับที่ | 9 |
หัวข้อวิจัย | The calculation system for health promotion and disease control costing / financing at national level |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | กรมควบคุมโรค |
ผู้xxxxxxงาน | ดร. เภสัชกรหญิงxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx กองนวัตกรรมและวิจัย โทร. 0 2590 3149 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | ดร. เภสัชกรหญิงxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx กองนวัตกรรมและวิจัย โทร. 0 2590 3149 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | 1. xxxxxxx xxxxxx xxxxxxxปฏิบัติการ สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 (นครสวรรค์) โทร. 08 1716 1959 ปีที่ต้องการศึกษา พ.ศ. 2563 2. xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxx นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 (นครศรีธรรมราช) โทร. 08 1376 5465 ปีที่ต้องการศึกษา พ.ศ. 2563 |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีระบบหลกประกันสุขภาพดีที่สุดประเทศหนึ่งในโลก โดยมีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วน หน้า เพื่อให้ประชาชนไทยทุกคนได้รับบริการสาธารณสุขxxxxxxมาตรฐานโดยไม่เสยค่าใช้จ่าย ในปี 2558 ประเทศไทยมีค่าใช้จ่าย ด้านสาธารณสุข คิดเป็นร้อยละ 13 ของค่าใช้จ่ายภาครัฐทั้งหมด และมีxxxxxxxxxxจะถูกควบคุมไม่ให้xxxxxขึ้น ในขณะที่ความ ต้องการxxxxxxxxxxประโยชน์ด้านหลักประกันสุขภาพมีมากขึ้น ทั้งในแง่จํานวนรายการxxxxxประโยชน์ฯ และความครอบคลุม บริการ ดังนั้น เพื่อความยั่งยืนด้านการเงิน การคลังในระบบสาธารณสุข จําเป็นอย่างยิ่งต้องมีการศึกษาทางวิชาการช่วยในการ วางแผน ตัดสินใจเชิงนโยบาย เพื่อการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และxxxxxxx โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็น สุขภาพที่มีแนวโน้มรุนแรงขึ้น xxxx การxxxxxxxxสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุ ซึ่งxxxxxxxxกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่จะxxxxxขึ้น ตามขนาดประชากร การป้องกันและลดการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจร การxxxxxความครอบคลุมอย่างมีxxxxxxxxxx (effective coverage) ของโรคติดเชื้อและไม่ติดเชื้อต่างๆ ซึ่งครอบคลุมระบบการดูแลรักษาตั้งแต่ ค้นหา คัดกรอง ป้องกัน เข้าสู่ระบบ ดูแลรักษา xxอยู่ในระบบต่อเนื่อง เป็นต้น
ลําดับที่ | 10 |
หัวข้อวิจัย | กําลังคนที่เหมาะสม (full time equivalence) ของบุคลากรด้านการ ป้องกันควบคุมโรค |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | กองการเจ้าหน้าที่ |
ผู้xxxxxxงาน | xxxxxxxxxxxx xxxxxxx รองผู้อํานวยการกองการเจ้าหน้าที่ โทร. 08 1860 5772 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | - xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxฯ กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3221 - ดร. xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx สํานักวัณโรค โทร. 0 2212 2279 ต่อ 1120 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | - |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
คณะทํางานกําลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรค (นายแพทย์คํานวณ xxxxxxxxxxxx เป็นประธานคณะทํางาน) ซึ่งเป็นหนึ่ง ใน 16 คณะทํางานวางแผนกําลังคนด้านสุขภาพของประเทศในxxxxxxหน้า (พ.ศ. 2560 – 2569) ปี พ.ศ. 2558 มีเป้าหมาย ในการจัดทําข้อเสนอสําหรับการบริหารจัดการกําลังคนเพื่อรองรับระบบป้องกันควบคุมโรคในxxxxxxหน้า มีวัตถุประสงค์เพื่อ กําหนดจํานวนและวิชาชีพที่ต้องการสําหรับระบบป้องกันควบคุมโรค การxxxxxxของกําลังคน xxxxxxxxxxต้องการ และ วิธีการธํารงรักษาบุคลากร พบว่าระบบป้องกันควบคุมโรคของประเทศไทยมีพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง แม้ จะมีความสําเร็จในการควบคุมโรคหลายยุคสมัย แต่ปัจจุบันยังขาดความชัดเจนในขอบเขตงาน และนิยามงานที่อยู่ในความ รับผิดชอบของหน่วยงานต่างๆ สภาพสังคมไทยจะมีการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากร สภาพแวดล้อมทางกายภาพและ สังคม การพัฒนาของเทคโนโลยีความรู้ ปัจจัยเหล่านี้จะมีผลต่อระบบควบคุมโรคในxxxxx โดยคาดว่าระบบในxxxxxจะมี การดําเนินงานในลักษณะที่แบ่งเป็นกลุ่มโรคที่เป็นปัญหา 5 กลุ่มได้แก่ กลุ่มโรคติดต่อ กลุ่มโรคติดต่อเรื้อรัง กลุ่มโรคไม่ติดต่อ กลุ่มการบาดเจ็บและอุบัติเหตุ กลุ่มโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โดยมีระบบระบาดxxxxxซึ่งครอบคลุมหน้าที่ เฝ้าระวังและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเป็นระบบงานพื้นฐานของทุกกลุ่มโรค ซึ่งในอดีตไม่เคยมีการวางแผนด้านกําลังคนสําหรับ ระบบป้องกันควบคุมโรคxxxxxx
จากการศึกษาของคณะทํางานฯ พบว่าทุกหน่วยงานมีความต้องการกําลังคนxxxxxขึ้น รวมทั้งสิ้นประมาณ ๔๔,๐๐๐ คน โดยกรมควบคุมโรคและกรุงเทพมหานคร จะมีความต้องการกําลังxxxxxขึ้นน้อยหรือเกือบxxxxxคือประมาณ ๗,๐๐๐ คน และ
๗๐๐ คนตามลําดับ ที่ระดับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดควรมีขั้นต่ํา ๒๔ คน สํานักงานสาธารณสุขอําเภอควรมีอย่างน้อย ๓ คน และในโรงพยาบาลควรมีอย่างน้อย ๒ คน และทุกๆ ๒๐๐ xxxxxควรxxxxxอีกหนึ่งคน ส่วนxxxxxxxxxxมากที่สุดคือองค์กร xxxxxxส่วนท้องถิ่นที่ปัจจุบันมีงานสุขาภิบาลการเป็นงานหลัก ในองค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่นปัจจุบันมีคนทํางานที่มีหน้าที่ หลักในเรื่องสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมประมาณ ๒,๗๐๐ คน ในxxxxxหน่วยงานนี้จะมีบทบาทสําคัญxxxxxxxขึ้นในการควบคุม โรค และต้องxxxxxxดําเนินการป้องกันควบคุมโรคทั้งห้ากลุ่มได้ในระดับหนึ่ง จึงจําเป็นต้องมีบุคลากรอย่างเพียงพอและมี สมรรถนะโดยใน อบต. ขนาดเล็กควรมี ๓ คน xxxxxxxx ๔ คน และ ขนาดใหญ่ ๕ คน รวมทั้งสิ้นxxxxxxxxต้องการกําลังคน
ประมาณ ๒๘,๐๐๐ คน ทั้งนี้หากมีกรอบกําหนดไว้ ทางxxxxxxxxxxจะดูแลให้มีบุคลากรตามความxxxxxxทางงบประมาณ หาก ไม่นับบุคลากรในระดับxxxxxxxx กําลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคที่ทํางานหลักในระดับ รพสต. สสอ. สสจ. และกรมควบคุม โรค จะมีความต้องการxxxxxจาก ประมาณ ๑๑,๕๐๐ คนในปัจจุบันเป็นประมาณ ๑๖,๐๐๐ หรือxxxxxประมาณ ๕,๐๐๐ คนใน สิบปีข้างหน้า ซึ่งถ้ารัฐมีนโยบายเกลี่ยกําลังคนให้มีการทํางานด้านการป้องกันควบคุมโรคให้มากขึ้นก็อยู่ในวิสัยที่เป็นไปได้ ส่วน สมรรถนะกําลังคนที่จําเป็นสําหรับการป้องกันควบคุมโรค มี 7 เรื่อง ได้แก่ สมรรถนะทางระบาดxxxxx สมรรถนะในการ ป้องกันควบคุมโรคและปัจจัยเสี่ยงในชุมชน สมรรถนะในการให้บริการควบคุมโรคในสถานพยาบาล สมรรถนะในการสร้างและ พัฒนาเครือข่าย สมรรถนะในการจัดทําแผนและประเมินผล สมรรถนะในการพัฒนาบุคลากร และสมรรถนะในการวิจัย โดย แต่ละสมรรถนะจะมีการแบ่งเป็น 5 ระดับ คือ ระดับที่หนึ่ง (ต้น) มีความรู้ ระดับที่สอง xxxxxxดําเนินการ ระ ดับที่สาม xxxxxxวิเคราะห์งานที่ทํารู้จุดอ่อน ระดับที่สี่ xxxxxxดําเนินการพัฒนาแนวทางการทํางานให้ดีขึ้น และระดับที่ห้า (สูงสุด) คือ xxxxxxให้คําปรึกษาเชิงนโยบายและxxxxxxxxxx
ตารางที่ 1 กําลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคในปัจจุบัน กําลังคนที่ต้องการ และความขาดแคลนจําแนกตามหน่วยงาน
ประเภทหน่วยงาน | จํานวนที่มีอยู่จากการ คาดเฉลี่ย (คน) | จํานวนที่ต้องการ (คน) | ความขาดแคลน (คน) |
สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด | 1,130 | 2,263 | 1,408 |
สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ | 2,192 | 2,883 | 877 |
โรงพยาบาล | 1,285 | 2,943 | 1658 |
องค์กรxxxxxxส่วนท้องถิ่น | 2,683 | 28,662 | 25,979 |
กรมควบคุมโรค | 6,707 | 7,081 | 374 |
ด่านในความดูแลของกรมควบคุมโรค | 135 | 265 | 130 |
กรุงเทพมหานคร | ประมาณ 683 | 683 | - |
ภาพรวม | 14,132 | 44,780 | 30,648 |
ที่มา : คณะทํางานกําลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรค พ.ศ. 2558 การจัดทําข้อเสนอสําหรับแผนบริหารจัดการกําลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคครั้งนี้ ไม่ครอบคลุมความต้องการกําลังคน สําหรับการxxxxxxxxสุขภาพซึ่งมีความสําคัญต่อสุขภาพประชาชนไทย นอกจากนั้นข้อมูลที่ใช้พิจารณาสังเคราะห์ข้อเสนอก็มีอยู่ จํากัด เพื่อให้การจัดทําแผนกําลังคนในxxxxxมีความxxxxxxxมากขึ้น ควรมีคณะกรรมการและหน่วยงานระดับกระทรวงดูแล ระบบบริหารกําลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรค เพื่อทําหน้าที่จัดเก็บข้อมูลที่จําเป็น กําหนดความต้องการและพัฒนาวิธีการ ธํารงรักษาบุคลากรด้านการป้องกันควบคุมโรคอย่างสม่ําเสมอ และควรมีการศึกษาระบบการเงินและความxxxxxxxxของ วิชาชีพเพื่อธํารงบุคลากรให้xxxxxxxพัฒนาความxxxxxxxxxและปฏิบัติงานในระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ลําดับที่ | 11 |
หัวข้อวิจัย | การศึกษาปัจจัยการรับสัมผัสสารพิษในสิ่งแวดล้อมต่อพัฒนาการของเด็ก เล็ก |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม |
ผู้xxxxxxงาน | นางสาวxxxxxxxxx คณะมี กลุ่มงานพัฒนาวิชาการ สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โทร. 08 1814 7154 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | ดร. xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxด้านเวชกรรมป้องกัน กรมควบคุมโรค โทร. 08 1827 7115 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | xxxxxxxxxx xxxxxxxx นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ (อยู่ระหว่างปรับชํานาญการพิเศษ) สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โทร. 08 1741 0129 ปีที่ต้องการศึกษา พ.ศ. 2563 |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพมาจากหลากหลายสาเหตุ xxxxxxxเกิดจากxxxxxxxxและการกระทํา ของมนุษย์ xxxx มลพิษทางอากาศที่ก่อให้เกิดฝุ่นละอองขนาดเล็ก ฝุ่นซิลิกา สารอินทรีย์ระเหยง่าย ก๊าซต่างๆ xxxx ซัลเฟอร์ อ็อกไซด์ คาร์บอนมอนอ็อกไซด์ รวมทั้งโลหะหนักและและสารเคมีต่างๆ อีกทั้ง ประเด็นโรคหรือผลกระทบต่อสุขภาพจาก มลพิษสิ่งแวดล้อมมีความยากแตกต่างจากโรคอื่นๆ ด้วยการหาสาเหตุของผลกระทบที่เกิดขึ้นอาจเกิดจากหลายๆ ปัจจัย การ แสดงอาการป่วยxxxxxxxxxxxxระบุได้ชัดเจน และส่วนใหญ่จะเป็นการรับสัมผัสในระยะเวลานาน ถึงแสดงอาการของโรค มลพิษ สิ่งแวดล้อมจากโลหะหนักเป็นอีกผลกระทบที่พบได้บ่อยๆ และผลกระทบต่อสุขภาพส่วนใหญ่ส่งผลกระทบกับระบบxxxxxx การพัฒนาทางสมอง ระบบอวัยวะภายในร่างกายที่ใช้ในการขับสารพิษ xxxx ตับ ไต เป็นต้น สําหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงมลพิษ สิ่งแวดล้อมกลุ่มสําคัญ ได้แก่ เด็กเล็ก ซึ่งผลกระทบต่อสุขภาพที่เกิดขึ้นจะมีผลต่อการใช้ชีวิตในxxxxxอีกด้วย จากการศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับผลกระทบต่อสุขภาพจากการรับสัมผัสสารมลพิษในสิ่งแวดล้อม การศึกษาเกี่ยวกับโลหะหนักโดยเฉพาะ “สาร ตะกั่ว” เป็นมลพิษในสิ่งแวดล้อมxxxxxxรับความสนใจมาก ดังxxxxข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุให้ “โรคxxxxx xxxxจากสารตะกั่ว” (Lead-caused mental retardation) เป็น 1 ใน 10 โรคร้ายแรงที่สุด อันเกิดจากปัจจัยเสี่ยงด้าน สิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ สารตะกั่วเป็นพิษต่อร่างกาย แม้จะได้รับในปริมาณเพียงเล็กน้อย และเป็นต้นเหตุให้เด็กมีความบกพร่องทาง xxxxxxxxสูงถึงปีละกว่า 600,000 คน และสารตะกั่วส่งผลระยะยาวต่อพฤติกรรมของเด็ก ทําให้เติบโตเป็นคนxxxxxxxxxxx และ เป็นโรคสมาธิสั้น และปัญหาพัฒนาการในเด็กxxxxxxของกรมอนามัย ปี 2547 - 2557 พบว่า ระดับxxxxxxxxxxต่ํากว่า 100 คิดเป็นร้อยละ 50 ของประเทศ ดังนั้น การศึกษาปัจจัยใดที่ทําให้เด็กเล็กได้รับสัมผัสมลพิษในสิ่งแวดล้อม เพื่อนําข้อมูลxxxxxxไป ใช้ในการป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพจากมลพิษในสิ่งแวดล้อม และเพื่อให้ผู้xxxxxxxxxxxxxถึงผลกระทบต่อสุขภาพ บุตรหลาน กระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีแนวทางร่วมกันในการxxxxxxxx และพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก และนําไปเป็นข้อเสนอ เชิงนโยบายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
ลําดับที่ | 12 |
หัวข้อวิจัย | การxxxxxxxกระทบทางสุขภาพจากการรับสัมผัสฝุ่นละอองขนาดxxxx (PM10 และ PM2.5) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม |
ผู้xxxxxxงาน | นางสาวxxxxxxxxx คณะมี กลุ่มงานพัฒนาวิชาการ สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โทร. 08 1814 7154 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxx ผู้อํานวยการสํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โทร. 0 2590 3858 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | 1. นางสาวxxxxxxx xxxx นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 (สระบุรี) โทร. 081 855 1164 ปีที่ต้องการศึกษา พ.ศ. 2563 2. xxxxxx xxxxxxx นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โทร. 091-718-7483 ปีที่ต้องการศึกษา พ.ศ. 2563 |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
ปัจจุบันกรุงเทพมหานครกําลังประสบปัญหากับปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็ก ที่xxxxxสูงขึ้นจนเกินค่ามาตรฐานจาก กิจวัตรประจําวันของประชาชน ทั้งการคมนาคม การก่อสร้างอาคารต่างๆ และกิจกรรมอื่นๆ ที่ปล่อยฝุ่นละอองเหล่านี้ออกมา สะสมไว้ในบรรยากาศจํานวนมาก ซึ่งปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็กเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน xxxx โรคระบบ ทางเดินหายใจ โรคหัวใจและหลอดเลือด และxxxxxxxระคายเคืองของผิวหนังและxxxxxอีกด้วย ผู้วิจัยเห็นความสําคัญของ ปัญหาดังกล่าว จึงทําการxxxxxxxกระทบทางสุขภาพเชิงรุกจากการรับสัมผัสฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM10 และ PM2.5) พื้นที่ กรุงเทพมหานคร ในกลุ่มประชากรเสี่ยงที่ประกอบอาชีพที่สัมผัสฝุ่นละอองขนาดเล็กโดยตรงจํานวน 3 อาชีพ ได้แก่ ตํารวจ จราจร มอเตอร์ไซด์รับจ้าง และผู้ที่ค้าขายบริเวณริมทางเท้า โดยใช้แบบสอบถามการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษ ทางอากาศเพื่อสอบถามแหล่งของฝุ่นละอองxxxxxxรับสัมผัส สอบถามอาการผิดxxxxเบื้องต้นที่คาดว่าเป็นผลจากการสั มผัสฝุ่น ละออง และสอบถามพฤติกรรมการป้องกันตัวของประชาชนกลุ่มเสี่ยง นอกจากนี้ทําการตรวจสมรรถภาพปอดของประชาชน กลุ่มเสี่ยงด้วยเครื่องสไปโรเมตรีย์ (Spirometry) ซึ่งเป็นการตรวจวัดปริมาตรของอากาศที่หายใจเข้าและออกจากปอด และนํา ผลการตรวจวัดสมรรถภาพปอดมาหาความxxxxxxxxกับปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM10 และ PM2.5) xxxxxxจากการตรวจวัด ของกรมควบคุมมลพิษ โดยใช้วิธีทางสถิติสหxxxxxxxx (Pearson Correlation) และนําผลการศึกษาไปใช้ในการเฝ้าระวัง ผลกระทบสุขภาพxxxxxxเกิดขึ้นในประชาชนกลุ่มที่มีการรับสัมผัสฝุ่นละอองขนาดเล็กในxxxxxต่อไป
ลําดับที่ | 13 |
หัวข้อวิจัย | การศึกษาเพื่อทราบขนาดปัญหา/ทํานายสถานการณ์โรคไม่ตดต่อ โดยใช้ แบบจําxxxทางคณิตศาสตร์ |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สํานักโรคไม่ติดต่อ |
ผู้xxxxxxงาน | - |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | นายแพทย์ปณิธี ธัมมวิจยะ สํานักระบาดxxxxx โทร. 0 2590 3811, 08 1716 8365 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | - |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
-
ลําดับที่ | 14 |
หัวข้อวิจัย | การศึกษาความชุกและสภาพปัญหาของโรคเมลิxxxxxสสิ ในประเทศไทย |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สํานักโรคติดต่อทั่วไป |
ผู้xxxxxxงาน | นายxxxวรรธ xxxxxxxxxxxxxx กลุ่มโรคตดต่อระหว่างสัตว์และคน สํานักโรคติดต่อทั่วไป โทร. 0 2590 3177-8, 08 3329 8729 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxx สํานักระบาดxxxxx โทร. 08 1611 2123 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | - |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
สถานการณ์โรคเมลิxxxxxสิสประเทศไทย 10 ปีที่ผ่านมา พบมีแนวโน้มสูงขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2554 อัตราป่วย 6.13 ต่อประชากรแสนคน และในปี พ.ศ. 2560 อัตราป่วย 5.21 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยตาย ร้อยละ 6.78 ผู้ติดเชื้อส่วน ใหญ่มักเป็นผู้สัมผัสดินและน้ําเป็นเวลานาน กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยเบาหวาน ไตวายเรื้อรัง หรือผู้มีภาวะภูมิต้านทานต่ํา ผลการศึกษา ทบทวนสถานการณ์โรค พบว่ามีการระบาดอยู่ทุกภาคของประเทศไทย แต่ในระบบ รง 506 มีการรายงานผู้ป่วยและเสียชีวิต ต่ํากว่าความจริงมาก เนื่องจากโรคนี้มีอาการไม่จําเพาะ ยากต่อการวินิจฉัย อีกทั้งยังไม่มีชุดตรวจคัดกรองที่แม่นยําเพื่อการ วินิจฉัยโรคเบื้องต้น รวมถึงเมื่อมีอาการxxxxxxxxxxxxxx ผู้ป่วยมักเสียชีวิตภายในเวลาอันรวดเร็ว ทําให้สาเหตุการป่วยและ เสียชีวิตถูกระบุด้วยโรคอื่น นอกจากการรายงานแล้วสิ่งที่สําคัญคือผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้องและรวดเร็ว เพื่อ ได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี ดังนั้นควรให้ความรู้แก่บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสขให้ตระหนักถึงโรคนี้ และให้ความรู้แก่ ประชาชนกลุ่มเสี่ยงให้xxxxxxป้องกันตนเองจากโรคนี้ได้
ลําดับที่ | 15 |
หัวข้อวิจัย | พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางด้านชีวการแพทย์ สังคม และดานอื่นๆ เพื่อxxxxxxxxการป้องกันควบคุมโรคไม่ตดต่อเรื้อรัง และการดูแลผปวย |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สํานักโรคไม่ติดต่อ |
ผู้xxxxxxงาน | - |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | นายแพทย์วิศิษฎ์ xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxฯ กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3408 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | - |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
-
ลําดับที่ | 16 |
หัวข้อวิจัย | การศึกษาต้นทุนประสิทธผิ ลของมาตรการต่างๆ เพื่อป้องกันและควบคุม การบาดเจ็บและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สํานักโรคไม่ติดต่อ |
ผู้xxxxxxงาน | ดร.xxxxx xxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxสาธารณสุขชํานาญการ สํานักโรคไม่ติดต่อ โทร. 0 2590 3889, 06 4242 8855 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | xxxxxxxxxxxxxxxxx โชติxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxฯ กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3853 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | - |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทยยังxxเป็นปัญหาที่สําคัญ ที่สร้างความสูญเสียและคุณภาพชีวิตของ ประชาชนไทย จากข้อมูลการบูรณาการ 3 ฐาน ปี 2554 - 2559 มีผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนเฉลี่ย 21,200 คน/ปี คิดเป็น 32.6 ต่อประชากรแสนคน หรือวันละ 60 คน/xxx xxผู้บาดเจ็บ Admit ประมาณ 200,000 คน/ปี และผู้พิการอีกปีละ 9,000 คน ซึ่งแนวโน้มของปัญหายังอยู่ในอัตราที่สูงมาก เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้ว ไม่เกิน 10 ต่อประชากรแสน xx xxxแก้ปัญหาของประเทศไทย มีการดําเนินการหลายภาคส่วน หลายหน่วยงานมีมาตรการ/กิจกรรมต่างๆ มากมายเป็น จํานวนมาก แต่xxxxxxxxxxยังxxxxxเท่าที่ควร ประเด็นที่ยังเป็นช่องว่างคือการติดตามประเมินผล ซึ่งในระดับxxxxxxxxจะเน้น การประเมินภาพรวม แต่การประเมินในเชิงมาตรการทั้งต้นทุนและxxxxxxxxxxในมาตรการต่างๆ ที่มีการดําเนินงานทั้งใน ระดับพื้นที่และระดับประเทศ มีการดําเนินการน้อยมาก ทําให้ไม่มีข้อมูลเพื่อนํามาใช้ในการวางแผน กําหนดดทิศทางการ ดําเนินงานของประเทศให้เห็นผลเป็นxxxxxxxxxx
ลําดับที่ | 17 |
หัวข้อวิจัย | การประเมินประสิทธผิ ลมาตรการการป้องกันควบคุมการสูบบุหรี่/การดื่ม แอลกอฮอล์ในเยาวชน |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สํานักโรคไม่ติดต่อ |
ผู้xxxxxxงาน | - |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx พิทยxxxxxxxx xxxผู้อํานวยการสํานักโรคไม่ติดต่อ โทร. 0 2590 3985, 08 1483 7807 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | นางสาวxxxxxxxx xxxxxxx นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 (นครสวรรค์) โทร. 09 1028 4981 อีเมล: xxxxxxx_0000@xxxxxxx.xxx ปีที่ต้องการศึกษา พ.ศ. 2563 |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
ผลการสํารวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 2560 พบว่า xxxxxxxxxxมีอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นผู้สูบบุหรี่ 10.7 ล้านคน (ร้อยละ 19.1) และ โดยในภาพรวม อัตราการบริโภคยาสูบมีแนวโน้มลดลง ยกเว้นกลุ่มอายุ 19- 24 ปี จากผลการสํารวจเดียวกัน ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปทั้งสิ้น 55.9 ล้านคน เป็นผู้ที่ดื่มสุราหรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน
รอบปีที่แล้วประมาณ 15.9 ล้านคน (ร้อยละ 28.4) โดยเป็นผู้ที่ดื่มสม่ําเสมอ 6.98 ล้านคน (ร้อยละ 12.5) และเป็นผู้ที่ดื่มนานๆ ครั้ง 8.91 ล้านคน (ร้อยละ 15.9) ภาพรวมของนักดื่มอายุ 15 ปีขึ้นไป xxxxxxxxxxที่ ขณะที่ผลสํารวจการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ของเยาวชนกลุ่มอายุ 15 – 19 ปี ในช่วงเวลา 13 ปีที่ผ่านมา (2544-2557) xxxxxขึ้นร้อยละ 64.5 หรือxxxxxขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 4.96 ต่อปี ในประเทศไทยxxxxxออกพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2561 ซึ่งยังไม่ทราบxxxxxxxxxxของ มาตรการ และมีพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ปี พ.ศ. 2551 เพื่อลดปัญหาจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แต่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ก็ยังxxเป็นปัญหาที่สําคัญและมีแนวโน้มxxxความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ จนปัจจุบันเป็นสาเหตุ อันดับหนึ่งของการสูญเสียปีสุขภาพในเพศชาย โดยที่สาเหตุที่ยังควบคุมxxxxxxอาจเป็นเพราะมาตรการดังกล่าวยังมีช่องโหว่และ มาตรการที่มีxxxxxxxปิดรอยรั่วของปัญหาxxxxxxหมดทุกมิติ
1 xxxxxxxx พิทยรังสฤษฏ์ และxxxxxxxxxxxxxxxx (บรรณาธิการ) รายงานสถิติการบริโภคยาสูบของประเทศไทย พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ. ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ.
1 สํานักงานสถิติแห่งชาติ. การสํารวจพฤติกรรมการสบบุหรี่และการดื่มสราของประชากร ปี พ.ศ. 2554-2561.
1 xxxxx xxxxxxxxxxxx. ภาระโรคที่xxxxxxxxกับการดมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. ใน xxxxxxxxxx xxxxxxx xxxxx xxxxxxxxxxxx และ xxxxxxx อัษณางค์ (บรรณาธิการ) ข้อเท็จจริงและตัวเลข:เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย. สงขลา: xxxxxxxxxxxxxxxxxxx. หน้า 35-38
ลําดับที่ | 18 |
หัวข้อวิจัย | การxxxxxxxกระทบด้านสุขภาพและเศรษฐศาสตร์จากนโยบาย Eastern Economic Corridor (EEC)/ASEAN |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม |
ผู้xxxxxxงาน | xxxxxxxxx xxxxxx กลุ่มพัฒนาวิชาการ สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โทร. 0 2590 3865-66 อีเมล: x.xxxxxxxxx@xxxxx.xxx, xxxx.xxxxx@xxxxx.xxx, xxxxxxx.x@xxxxx.xxx |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | นายแพทย์xxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxx สํานักระบาดxxxxx กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3894, 08 1544 6966 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | xxxxxxxx xxxxxคํามxx นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ สํานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 (อุบลราชธานี) โทร. 092-796-6363 อีเมล: xxxxxxxxxx.xxx@xxxxx.xxx ปีที่ต้องการศึกษา พ.ศ. 2563 |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
ภายใต้นโยบายรัฐบาลประเทศไทย 4.0 ประกาศให้มีโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economics Corridor Development – EEC) ซึ่งจะดําเนินการใน 3 จังหวัดภาคตะวันออก ประกอบด้วยชลบุรี ระยอง และ ฉะเชิงเทรา ซึ่งเป็นพื้นที่ที่เป็นแหล่งอุตสาหกรรมอยู่แล้ว และได้กําหนด 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศขึ้น โดยเป็น อุตสาหกรรมxxxxxxxxศักยภาพในการแข่งขัน และxxxxxxพัฒนาหรือxxxxxxการใช้เทคโนโลยีที่สูงขึ้นเพื่อสร้างxxxxxxxxxxxxxx โดยแผนบูรณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก สอดคล้องกับxxxxxxxxxx 20 ปี เกี่ยวข้องกับแผนแม่บท และแผนงาน สําคัญหลายแผนงาน อย่างไรก็ตามการพัฒนาทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม่นี้ หากเกิดภาวะไม่xxxxxxxอาจจะส่งผลเสียต่อสุขภาพ ประชาชนในด้านต่างๆ ได้ เนื่องจากจะมีจํานวนประชากรและแรงงานทั้งไทยและต่างด้าวเข้ามาทํางาน และมาxxxอาศัยใน พื้นที่xxxxxขึ้น ปัญหาอุบัติเหตุจากการขนส่งในรูปแบบต่างๆ ที่xxxxxขึ้น xxxx การเกิดอุบัติภัยจากการจราจรและการขนส่งสารเคมี รวมทั้งอาจจะเกิดปัญหาผลกระทบผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม หากไม่มีการวาง มาตรการป้องกันความเสี่ยงจากปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมxxxxxพอ รวมทั้งปัญหาทางสุขภาพด้านอื่นๆ xxxx ปัญหาการเจ็บป่วย ด้วยโรคไม่ติดต่อ หรือความเลื่อมล้ําทางสังคมทางสุขภาพ เป็นต้น โดยกระทรวงสาธารณสุข ได้วางxxxxxxxxxxการพัฒนาด้าน สาธารณสุขเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ไว้ทั้งหมด 4 xxxxxxxxxxxxxสําคัญประกอบด้วย 1) การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ให้ทันสมัยและสอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ 2) การxxxxxxxxป้องกันโรคและการจัดการภัยสุขภาพ 3) การพัฒนาศักยภาพงาน อาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม และ 4) การxxxxxxxxและเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) การxxxxxxxกระทบด้านสุขภาพและเศรษฐศาสตร์จากนโยบาย เพื่อนําหลักการทางเศรษฐศาสตร์มาใช้ในการประ เมิน นโยบาย xxxxxxxxxx การวางแผน และการจัดบริการสาธารณสุข ในพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก รวมทั้งการใช้ หลักเศรษฐศาสตร์xxxxxxxxการตัดสินใจในการกําหนดนโยบาย การใช้งบประมาณและจัดสรรทรัพยากรในการดูแลสุขภาพ ประชาชนในพื้นที่เพื่อให้ผลต่อสุขภาพของประชาชนและต่อการสาธารณสุขมากที่สุด โดยครอบคลุมในประเด็นพฤติกรรมของ ผู้ใช้บริการสาธารณสุข (Consumer behavior) พฤติกรรมการจัดบริการสุขภาพ (Provider behavior) ค่าใช้จ่ายด้าน
สาธารณสุขของประเทศ (Health care expenditure) ในแต่ละปีต้องใช้งบประมาณ ด้านระบบการคลังสาธารณสุข (Health care financing) ศึกษาภาพรวมของรายจ่ายด้านสาธารณสุขที่นํามาใช้ในด้านสุขภาพว่ามาจากแหล่งใดบ้าง และเรานํารายได้ เหล่าxxxxxxใช้ในงานบริการสุขภาพ ระบบประกันสุขภาพ (Health Insurance) ศึกษาความจําเป็นและรูปแบบในการสร้าง หลักประกันสุขภาพให้กับประชาชน และการวิเคราะห์และประเมินผลเพื่อพัฒนางานบริการสาธารณสุข (Economic Evaluation) ในพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
ลําดับที่ | 19 |
หัวข้อวิจัย | การพัฒนาระบบ และกลไก การจัดการป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่เขตเมือง - ทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงมาตรการต่างๆ xxxx มาตรการ ทางภาษี การตลาดเพื่อสร้างแรงจูงใจในการป้องกันควบคุมโรคที่เหมาะสม - ศึกษารูปแบบการบริหารจัดการ การทํางานร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อการป้องกันควบคุมโรค ที่เหมาะสมต่อชุมชนประเภทต่างๆ xxxx ชุมชน xxxxx คนเร่ร่อน ชุมชนจัดตั้ง เป็นต้น |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง |
ผู้xxxxxxงาน | xxxxx xxxxxx สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง โทร. 0 2551 4347, 08 9144 8006 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxฯ กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3370 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | - |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
ประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยกําลังxxxxxสถานการณ์ที่ประชากรอาศัยอยู่ในเขตเมืองมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งจากการ ย้ายxxxxxxxจากเขตชนบทxxxxxเขตเมือง หรือจากการที่พื้นที่ได้รับการพัฒนาxxxxxxจนกลายเป็นเขตเมืองเอง การ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวนั้นส่งผลอย่างมากทั้งต่อประชากรในเขตเมืองที่จะอยู่ในxxxxxxxxเสี่ยงต่อโรคภัยไข้เจ็บ xxxxxxxติดต่อ โรค ไม่ติดต่อ หรือแม้แต่ภัยสุขภาพอื่นๆ xxxxxxกลัว อาทิxxxxปัญหาการย้ายถิ่นจากชนบท ส่งผลให้ประชากรในเมืองxxxxx เกิดความ ยุ่งยากต่อการจัดบริการสาธารณะ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงของบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมอย่าง รวดเร็ว xxxx เศรษฐกิจxxxxxxxxx การอยู่ในสังคมxxxxxxxx พฤติกรรมการใช้ชีวิตxxxxxxxxxxซึ่งมีผลต่อภาวะ สุขภาพของคนที่อาศัย อยู่ในพื้นที่เมืองที่พบได้อย่างxxxxxx xxxx ความไม่เป็นธรรม ความxxxxxxxxxxxxในการ เข้าถึงทรัพยากรทางด้านสุขภาพ ความ เหลื่อมล้ําด้านเศรษฐกิจ ที่ทําให้ผู้ที่มีรายได้น้อยหรือผู้ด้อยโอกาส ได้รับบริการที่ด้อยคุณภาพ ปัญหาด้านความรุนแรงทาง สังคม ปัญหายาเสพติด การคุ้มครองผู้บริโภคด้าน ยา อาหาร หรือผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ ปัญหาการxxxxxxxxxxอยู่อาศัย ปัญหาความเสื่อมโทรมของ สิ่งแวดล้อม ปัญหาการบริการจากภาครัฐที่xxxxxxxxxx และปัญหาจากการอพยพเข้าเมืองของ แรงงานต่างด้าว โดยที่กฎหมายส่วนใหญ่มักอ้างอิงสถานการณ์ในอดีต และอาจไม่ทันต่อสมัย อาทิ กฎหมายที่มี สาระที่เน้น เรื่องโรคติดต่อ และปัญหาจากสิ่งแวดล้อม แต่ไม่ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบันที่สังคมไทยกําลังxxxxx ปัญหาหลักคือ โรคไม่ติดต่อ อันเกี่ยวเนื่องกับเรื่องพฤติกรรมการดํารงชีวิตประจําวัน ทําให้พบว่าแทบไม่มีกฎหมายใดที่จัดได้ว่าเป็นกฎหมายเดี่ยวที่xxxxxx นํามาใช้ในการพัฒนา ระบบกลไกหรือแผนการป้องกันควบคุมโรคได้โดยตรง ดังนั้นการพัฒนาระบบ และกลไกการจัดการ ระบบการป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่เขตเมือง จึงต้องดําเนินการเชิงระบบ (Systems approach) โดยผ่านกระบวนการมีส่วน ร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง มีการพัฒนารูปแบบเฉพาะที่เหมาะกับบริบทเขตเมือง มีการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ระบบ บริหารจัดการ และพัฒนากลไกการxxxxxxระหว่างองค์กรให้มีการบูรณาการเชิงระบบมากขึ้น xxxxxxเชื่อมร้อยให้xxxxxxx ร่วมกันทํางานเป็นเครือข่าย และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่มากให้เกิดประสิทธิภาพ เพื่อประชาชนเขตเมืองจะได้ประโยชน์สูงสุด ต่อไป
ลําดับที่ | 20 |
หัวข้อวิจัย | การประยุคต์ใช้ระบบ big data ต่อการควบคุมป้องกันโรค |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | ศูนย์สารสนเทศ |
ผู้xxxxxxงาน | นายแพทย์ยงxxxx เหลาxxxxxxxx ผู้อํานวยการศูนย์สารสนเทศ กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 1725 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxx สํานักระบาดxxxxx โทร. 08 1910 0146 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | - |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
ปัจจุบันข้อมูลสารสนเทศมีความจําเป็นต่อการสนับสนุนการวางแผนและตัดสินใจ เพื่อการวางแผนป้องกันโรคแก่ ประชาชน และในการป้องกันโรคเชิงรุกจําเป็นต้องใช้การxxxxxxผลข้อมูลในทุกๆ มิติ พร้อมทั้งข้อมูลเชิงสถิติ เพื่อนํามาใช้ใน การพยากรณ์โรคได้อย่างแม่นยํา การใช้การxxxxxxผลโดยเทคนิคแบบเดิมไม่xxxxxxxxxxxxผลข้อมูลขนาดใหญ่ได้ อีกทั้ง ข้อมูลบางส่วนก็ยังไม่ครบถ้วน ถูกต้อง และทันสมัย จึงจําเป็นต้องมีการพัฒนาการประยุกต์ใช้ระบบ big data มาxxxxx ประสิทธิภาพต่อการควบคุมป้องกันโรค และภัยสุขภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพมาสนับสนุนการ ดําเนินการในการป้องกันควบคุมโรคทั้งในภาวะxxxxและภาวะฉุกเฉิน
ลําดับที่ | 21 |
หัวข้อวิจัย | นวัตกรรมเพื่อxxxxxการเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคของแรงงานต่างด้าว และผติดตาม |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สํานักโรคติดต่อทั่วไป |
ผู้xxxxxxงาน | xxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx และนายxxxxxx บําxxxxxx สํานักโรคติดต่อทั่วไป โทร. 0 2590 3167 |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxx ผู้อํานวยการสํานักโรคตดต่อทั่วไป โทร. 0 2590 3160 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | - |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
เนื่องจากการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทําให้xxxxxxxเคลื่อนย้ายแรงงานxxxx การลักลอบเข้าเมืองผิดกฎหมาย ตามแนวชายแดน ทําให้ประเทศไทยxxxxxกับปัญหาแรงงานอพยพจากประเทศเพื่อนบ้านที่เข้าสู่ประเทศไทยเพื่อหางานทํา สถานการณ์แรงงานต่างด้าว ข้อมูลจากสํานักบริหารแรงงานต่างด้าว ณ เดือนกันยายน 2561 คนต่างด้าวxxxxxxรับอนุญาต ทํางานทั่วราชอาณาจักร มีจํานวน 2,360,025 คน โดยในจํานวนนี้เป็นแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ (เมียนมา ลาว และกัมพูชา) จํานวน 2,127,253 คน และยังมีแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาทํางานในลักษณะ ไป-กลับ หรือตามฤดูกาล จํานวน 11,177 คน ข้อมูลจาก Health Data Center (HDC) สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ เข้ารับบริการใน หน่วยบริการสาธารณสุขสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2561 จํานวน 1,770,845 คน เข้ารับบริการ 4,977,824 ครั้ง (2.81 ครั้ง/คน) ประชากรมีการเคลื่อนย้ายสูง เป็นอุปสรรคต่องานสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค จึงทําให้มีผลกระทบ ทางด้านสาธารณสุข แรงงานต่างด้าวเข้าไม่ถึงระบบบริการสุขภาพ ปัญหาในการบริการด้านสุขภาพ xxxx การสื่อสารกับผู้ป่วย การติดตามการรักษาในกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องรักษาให้ครบ course การค้นหาผู้ป่วยในชุมชน ขาดความรู้/ความเข้าใจต่อxxxxx ประโยชน์ของตนเองxxxxxxxxxรับ เป็นต้น ระบบประกันสุขภาพหรือประกันสังคมแรงงานต่างด้าวต้องมีสภาพบังคับต่อการขอ อนุญาตทํางานของแรงงานต่างด้าว ควรมีการพัฒนาระบบบริการxxxxxxx (primary care) ในการให้การดูแลแรงงานต่างด้าว และมีการพัฒนาอาสาสมัครต่างด้าว (อสต.) ในการดําเนินงานด้านสุขภาพในชุมชนของคนต่างด้าว xxxxxxxxให้แรงงานต่างด้าว และผู้ติดตามต้องมีหลักประกันสุขภาพอย่างใดอย่างหนึ่ง และต้องเข้าถึงบริการสุขภาพขั้นพื้นฐาน ครอบคลุมการ รักษาพยาบาล การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมโรค
ลําดับที่ | 22 |
หัวข้อวิจัย | การxxxxxxxกระทบและการจัดการด้านสุขภาพของประชาชนที่อาศัยใน ชุมชนใหม่ในเขตเมืองอุตสาหกรรม |
หน่วยงานผู้เสนอหัวข้อ | สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม |
ผู้xxxxxxงาน | xxxxxxxxx xxxxxx กลุ่มพัฒนาวิชาการ สํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม โทร. 0 2590 3865-66 อีเมล: x.xxxxxxxxx@xxxxx.xxx, xxxx.xxxxx@xxxxx.xxx, xxxxxxx.x@xxxxx.xxx |
xxxxxxxxxxปรึกษาร่วม (ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ในสังกัดกรมควบคมุ โรค) | xxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxฯ กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3370 |
บุคลากรสังกัดกรมควบคุมโรค ที่ผ่านการ คัดเลือกเพื่อสมัครขอรับทุน คปก. | - |
กรอบการวิจัย โดยสังเขป
จากนโยบายการพัฒนาเขตเศรษฐกิจใหม่ของประเทศ ซึ่งมีการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยเพื่อผลิตสินค้าที่มี คุณภาพ เพื่อให้xxxxxxxขยายxxxxxxxxเติบโตทางเศรษฐกิจ การลงทุน สร้างอาชีพ xxxxxรายได้ และxxxxxxxxให้คุณภาพชีวิตให้กบั ประชาชนทั่วประเทศนั้น ทําให้มีอุตสาหกรรมใหม่xxxxxจํานวนขึ้น จํานวนแรงงานที่xxxxxมากขึ้น และมีการขนส่งสินค้า ผลิตภัณฑ์ และการส่งออกไปยังกลุ่มเป้าหมาย ทั้งในประเทศและต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพxxxxxมากขึ้น ส่งผลให้ผู้ ประกอบอาชีพและประชาชนในพื้นที่พัฒนาดังกล่าว อาจxxxxxxxxกระทบต่อสุขภาพด้วยโรคจากการประกอบอาชีพและ สิ่งแวดล้อม การเกิอุบัติเหตุและการบาดเจ็บจากการทํางาน และปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพได้ ซึ่ง ปัญหาด้านเศรษฐกิจและส่งผลกระทบต่อสุขภาพที่เกิดขึ้นนี้ ควรมีการจัดการที่ถูกต้อง ดังนั้นควรศึกษาข้อมูลและปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและส่งผลกระทบต่อสุขภาพผู้ประกอบอาชีพและประชาชน โดยการศึกษาปัจจัยปริมาณและความเข้มข้นของ สารเคมีหรือมลพิษทางอากาศที่ปนเปื้อนในพื้นที่เขตอุตสาหกรรมใหม่ และปัญหาต่อสุขภาพที่เกิดขึ้นกับผู้ประกอบอาชีพและ ประชาชน เพื่อนําไปวางแผนงานและกําหนดนโยบายในการจัดการแก้ปัญหาสุขภาพที่เหมาะสม
ข้อมูล ณ xxxxxx 11 มีนาคม 2562 ผู้xxxxxxงานทุน
ดร. เภสัชกรหญิงxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx นางสาวผดารxxx xxxxxxxxxx
โทร. 0 2590 3149