กฎระเบียบการลงทุน ข้อกำหนดตัวอย่าง

กฎระเบียบการลงทุน. กฎหมายหลักที่เกี่ยวของกับการลงทุนของตางชาติในลาวคือ กฎหมายการสงเสริมการ ลงทุนจากตางชาติ ค.ศ. 2004 (Law on the Promotion of Foreign Investment 2004) โดย นโยบายการสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศของรัฐบาลลาว ซึ่งจะใหสิทธิประโยชนทางภาษีโดย เฉพาะการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลแกผูประกอบการที่เขาไปต้ังโรงงานในลาว รวมท้ังพื้นที่ทาง เหนือซึ่งสวนใหญขาดแคลนระบบสาธารณูปโภคข้ันพื้นฐาน จะไดรับการยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคล เปนเวลา 7 ป หลังจากน้นจึงเสียภาษีในอตรารอยละ 10 เทียบกบอัตราปกติรอยละ 35 ทั้งนี้นักลงทุนที่สนใจเขาไปลงทุนในพ้ืนที่ทางภาคเหนือของลาว ตองยื่นคํารองขออนุญาต ลงทุนพรอมกับเอกสารการลงทุนและบทวิพากษทางเศรษฐกิจ แสดงผลวิเคราะหความเปนไปไดของ โครงการลงทุน รวมท้ังแผนธุรกิจโดยละเอียดตอผูปกครองแขวงที่ตองการเขาไปลงทุน โดยผูปกครอง สวนใหญที่มีอํานาจอนุมัติโครงการลงทุนวงเงินไมเกิน 3 ลานเหรียญสหรัฐอเมริกาอเมริกา ยกเวน แขวงหลวงพระบาง ซึ่งเปน 1 ใน 4 แขวงใหญนอกเหนือจากแขวงจําปาสัก แขวงสะหวันนะเขตและ นครหลวงเวียงจันทนที่ผูปกครองแขวงมีอํานาจอนุมัติโครงการลงทุนวงเงินลงทุน 5 ลานเหรียญ สหรัฐอเมริกา ทั้งยังสามารถยื่นขออนุญาตลงทุนกับคณะกรรมการสงเสริมและคุมครองการลงทุน ภายในและตางประเทศ (Department of Domestic and Foreign Investment: DDFI) ในนครหลวง เวียงจนทน หากโครงการลงทุนมีมูลคาเกินอํานาจอนุมัติของผูปกครองแขวง ตามกฎหมายสงเสริมและบริหารการลงทุนจากตางประเทศในสปป.ลาว เม่ือ ค.ศ. 2004 โครงการลงทุน ที่ไดรับอนุญาตจากกรมสงเสริมและคุมครองการลงทุนภายในและตางประเทศ ของสปป.ลาวจะไดรับประโยชนดานภาษีดังนี้ คือ (1) ยกเวนภาษีนําเขายานพาหนะ เครื่องจักร อุปกรณที่ใชในการผลิตและวตถุดิบ (2) ยกเวนภาษีสงออกสําหรับสินคาสงออกหรือสินคาสงออกตอ (3) ลดอตราภาษีกําไรใหธุรกิจหางไกล ตามเขตพื้นท่ีการลงทุน ดังน้ี เขต 1 พื้นที่หางไกลทุรกันดาร โดยนักลงทุนตางชาติจะไดรับยกเวนภาษีกําไรเปนเวลา 7 ป หลังจากน้ันจะเสียภาษีในอัตรารอยละ 10 เขต 2 พื้นที่ที่มีระบบสาธาณณูปโภคพ้ืนฐานจํากัด นักลงทุนตางชาติจะไดรับยกเวนภาษี กําไรชวง 5 ปแรก เริ่มเสียภาษีอัตรารอยละ 7.5 ใน 3 ปตอมา และรอยละ15 ในระยะเวลาหลัง จากนั้น เขต 3 พื้นท่ีที่มีระบบสาธารณูปโภคโดยสมบูรณ นักลงทุนตางชาติจะไดรับยกเวนภาษีที่ เรียกเก็บจากกําไรเปนเวลา 2 ป และเสียภาษีอัตรารอยละ 10 ใน 2 ปตอไป หลังจากนั้นจะเสียภาษี กําไรรอยละ 20
กฎระเบียบการลงทุน. ในการประชุมสมัชชาแหงชาติครั้งที่ 6 ของเวียดนาม เมื่อ ค.ศ. 1986 นับเปนจุดเปลี่ยนที่ สําคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจสูระบบตลาดภายใตการควบคุมของรัฐบาล ตอมาในการประชุม สมัชชาพรรคครั้งที่ 7 เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม ค.ศ. 1987 จึงมีการออกกฎหมายสงเสริมการลงทุนจาก ตางประเทศ (Law on Foreign Direct Investment) เปนครั้งแรก จนถึงปจจุบันมีการปรับปรุงแกไข 4 ครั้ง (เมื่อ 30 มิถุนายน ค.ศ.1990, 23 ธันวาคม ค.ศ. 1992, 12 พฤศจิกายน ค.ศ.1996, และ 9 มิถุนายน ค.ศ. 2000) หลงจากน้นมีการแกไขบทบัญญัติที่เกี่ยวของเปนระยะๆ ลาสุดมีประกาศแกไข เงื่อนไขและสิทธิประโยชนของนักลงทุนตางประเทศ เม่ือ ค.ศ. 2003 และ ค.ศ. 2004 ท้ังน้ีหนวยงานท่ีมีหนาที่ดูแลการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศคือ Foreign Investment Agency ในสังกัดกระทรวงวางแผนและการลงทุน (Ministry of Planning and Investment: MPI) และมีหนวยงานระดับกรม (Department of Planning and Investment: DPI) ประจําอยูในทุก จังหวัด กฎหมายการลงทุนจากตางประเทศของเวียดนามใหการรับประกันวาจะใหการปฏิบัติอยาง เปนธรรมและเทาเทียมกนตอนักลงทุนตางชาติที่ลงทุนในเวียดนามในดานตางๆ ดังนี้ (1) ไมมีการยึดทรัพยสินหรือโอนกิจการลงทุนของตางประเทศเปนของรัฐ ตลอด ระยะเวลาของการลงทุน (2) ใหการรับประกันวาจะปกปองสิทธิในทรัพยสินอุตสาหกรรมและผลประโยชนใน การถายทอดเทคโนโลยีในเวียดนาม (3) รัฐบาลจะปกปองผลประโยชนของนักลงทุนอยางสมเหตุสมผล หากมีการ เปลี่ยนแปลงกฎหมายใดๆที่กอใหเกิดความเสียหายแกนักลงทุน เชน หากกฎหมายท่ีประกาศใช ภายหลังทําใหผลประโยชนของนักลงทุนลดลง นักลงทุนท่ีลงทุนกอนหนาที่กฎหมายใหมประกาศใช มีสิทธิเลือกใชส ิทธิประโยชนตามกฎหมายเดิมได (4) รัฐบาลรับประกนการใหส ิทธิการโอนยายไปตางประเทศสําหรับ - กําไรจากการดําเนินธุรกิจ - เงินที่ไดร ับจากการจดเตรียมเทคโนโลยีและการบริการ - เงินตนและดอกเบ้ียของเงินก - เงินลงทุน ากตางประเทศในระหวางดําเนินกิจการ - เงินและทรพยส ินอื่นๆ ท่ีมีกรรมสิทธิ์โดยชอบดวยกฎหมาย - รายไดหลังหกภาษีรายไดของแรงงานตางชาติที่ทํางานในเวียดนาม (5) เม่ือเกิดขอพิพาทระหวางผูรวมทุนหรือระหวางบริษัทตางชาติกับสถาบันใดๆ ของเวียดนามและไมสามารถตกลงกันได สามารถเสนอใหอนุญาโตตุลาการหรือองคกรอื่นๆตามที่ ตกลงกันเปนผไู กลเกล่ียหรือประนีประนอมได (6) การอนุญาตใหบริษัทตางชาติดําเนินการลงทุนได 50 ป และสามารถตอเวลาได ถึง 70 ป

Related to กฎระเบียบการลงทุน

  • การชําระเงิน (13 ก) ผู้ซ้ือตกลงชําระเงินค่าสิ่งของตามข้อ ๑ ให้แก่ผู้ขาย เมื่อผู้ซื้อได้รับมอบสิ่งของ ตามข้อ ๕ ไว้โดยครบถ้วนแล้ว (13 ข) ผู้ซื้อตกลงชําระเงินค่าส่ิงของตามข้อ ๑ ใหแก่ผู้ขาย ดังน้ี ๖.๑ เงินล่วงหน้า จํานวน……....................บาท (… ) จะจ่ายให้ภายใน…….…............(…….........……….) วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา ทั้งน้ี โดยผู้ขายจะต้องนํา หลักประกันเงินล่วงหน้าเป็น (หนังสือคํ้าประกันหรือหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ของ ธนาคารภายในประเทศหรือพ ธบัตรรัฐบาลไทย)… เต็มตามจํานวนเงินล่วงหน้าท่ีจะได้รับ มามอบ ให้แก่ผู้ซื้อเป็นหลักประกันการชําระคืนเงินล่วงหน้าก่อนการรับชําระเงินล่วงหน้าน้ัน และผู้ซื้อจะคืน หลกประกันเงินล่วงหน้าให้แก่ผ ายเม่ ผู้ซื้อจ่ายเง ที่เหลือตามข

  • การทําสัญญาจ้างก่อสร้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทำสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุ ในข้อ ๑.๓ หรือทำข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับ แจ้ง และจะต้องวางหลักประกันสัญญาเป็นจำนวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ ให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ยึดถือไว้ในขณะทำสัญญาโดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ๖.๒ เงินสด เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย ซึ่งเป็นเช็คหรือดราฟท์ลงวันที่ที่ใช้เช็คหรือ ดราฟท์นั้น ชำระต่อเจ้าหน้าที่ในวันทำสัญญา หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน ๓ วันทำการ ๖.๓ หนังสือค้ำประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามตัวอย่างที่คณะกรรมการ นโยบายกำหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) หรือจะเป็นหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลาง กำหนด ๖.๔ หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาต ให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ำประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศ ไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่าง หนังสือค้ำประกันของธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) ๖.๕ พันธบัตรรัฐบาลไทย หลักประกันนี้จะคืนให้ โดยไม่มีดอกเบี้ยภายใน ๑๕ วันนับถัดจากวันที่ผู้ชนะการ ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (ผู้รับจ้าง) พ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาจ้างแล้ว

  • การหักเงินประกันผลงาน ในการจ่ายเงินค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างแต่ละงวด ผู้ว่าจ้างจะหักเงินจำนวนร้อยละ - ของเงินที่ต้องจ่ายในงวดนนั้ เพื่อเป็นประกันผลงาน ในกรณีที่เงินประกันผลงานถูกหักไว้แลวเป็นจำนวนเงินไม่ต่ำกว่า - บาท ผู้รับจ้างมีสิทธที่จะขอเงินประกันผลงาน คืน โดยนำหนังสือค้ำประกันของธนาคารหรือหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งออกโดยธนาคารภายในประเทศมามอบให้ผู้ว่าจ้างเพื่อ เป็นหลักประกันแทนก็ได้ ผู้ว่าจ้างจะคืนเงินประกันผลงาน และ/หรือหนังสือค้ำประกันของธนาคารดังกล่าวตามวรรคหนึ่งโดยไม่มี ดอกเบี้ยให้แก่ผู้รับจ้างพร้อมกับการจ่ายเงินค่าจ้างงวดสุดท้าย

  • การรับประกันความชํารุดบกพร่อง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งได้ทำสัญญาจ้าง ตามแบบ ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือข้อตกลงจ้างเป็นหนังสือแล้วแต่กรณี จะต้องรับประกันความชำรุดบกพร่องของงานจ้างที่เกิดขึ้นภายใน ระยะเวลา ไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับถัดจากวันที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับมอบงาน โดยต้องรีบจัดการ ซ่อมแซมแก้ไขให้ใช้การได้ดีดังเดิมภายใน ๑๕ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้งความชำรุดบกพร่อง

  • การจ่ายเงินแก่ลูกจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องจ่ายเงินแก่ลูกจ้างที่ผู้รับจ้างได้จ้างมาในอัตราและตามกําหนดเวลาที่ผู้รับจ้างได้ ตกลงหรือทําสัญญาไว้ต่อลูกจ้างดังกล่าว ถ้าผู้รับจ้างไม่จ่ายเงินค่าจ้างหรือค่าทดแทนอื่นใดแก่ลูกจ้างดังกล่าวในวรรคหนึ่ง ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่ จะเอาเงินค่าจ้างที่จะต้องจ่ายแก่ผู้รับจ้างมาจ่ายให้แก่ลูกจ้างของผู้รับจ้างดังกล่าว และให้ถือว่าผู้ว่าจ้างได้จ่ายเงิน จํานวนนั้นเป็นค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างตามสัญญาแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องจัดให้มีประกันภัยสําหรับลูกจ้างทุกคนที่จ้างมาทํางาน โดยให้ครอบคลุมถึงความ รับผิดทั้งปวงของผู้รับจ้าง รวมทั้งผู้รับจ้างช่วง (ถ้ามี) ในกรณีความเสียหายที่คิดค่าสินไหมทดแทนได้ตาม กฎหมาย ซึ่งเกิดจากอุบัติเหตุหรือภยันตรายใด ๆ ต่อลูกจ้างหรือบุคคลอื่นที่ผู้รับจ้าง หรือผู้รับจ้างช่วงจ้างมา ทํางาน ผู้รับจ้างจะต้องส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวพร้อมทั้งหลักฐานการชําระเบี้ยประกันให้แก่ผู้ว่าจ้างเมื่อ ผู้ว่าจ้างเรียกร้อง

  • ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา................................ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา................................ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา................................ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์

  • การควบคุมงานของผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องควบคุมงานที่รับจ้างอย่างเอาใจใส่ ด้วยประสทธิภาพและความชำนาญ และในระหว่างทำงานที่ รับจ้างจะต้องจัดให้มีผู้แทนซึ่งทำงานเต็มเวลาเป็นผู้รับผิดชอบควบคุมงานของ ผู้รับจา้ ง ผู้แทนดังกล่าวจะต้องได้รับมอบอำนาจจากผู้ รับจ้าง คำสั่งหรือคำแนะนำต่างๆ ที่ผู้ว่าจ้าง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษาที่ผู้วา่ จ้างแต่งตั้ง ได้แจ้งแก่ ผู้แทนเช่นว่านั้น ให้ถือว่าเป็นคำสั่งหรือคำแนะนำที่ได้แจ้งแก่ผู้รับจ้าง การแต่งตั้งผู้แทนตามข้อนี้จะต้องทำเป็นหนงสือและต้องได้รับความ เห็นชอบเป็นหนังสือ จากผู้ว่าจ้าง การเปลี่ยนตัวหรือแต่งตั้งผู้แทนใหม่จะทำมิได้หากไม่ได้รับความเห็นชอบ เป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้างก่อน ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะขอให้เปลี่ยนตัวผู้แทนตามวรรคหนึ่ง โดยแจ้งเป็นหนังสือไปยังผู้รับจ้าง และผู้รับจ้างจะต้องทำ การเปลี่ยนตัวผู้แทนนั้นโดยพลัน โดยไม่คิดค่าจ้างหรือราคาเพิ่มหรืออ้างเป็นเหตุเพื่อขยายอายุสัญญาอันเนื่องมาจากเหตุนี้

  • ลําดบั งานจดั ซือÊ จดั จ้าง วงเงนิ งบประมาณ (ราคา กลาง) วธิ ีซือÊ /จ้าง ผู้เสนอราคาและราคา ท'ีเสนอ ผู้ได้รับคัดเลือกและราคา เหตุผลท'ี คัดเลือก โดยสรุป เลขท'ีและวนั ท'ีของสัญญา หรือข้อตกลงในการจดั ซอืÊ จดั จ้าง

  • การใช้เรือไทย ในการปฏิบัติตามสัญญานี้ หากผู้รับจ้างจะต้องสั่งหรือนําของเข้ามาจากต่างประเทศรวมทั้ง เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ต้องนําเข้ามาเพื่อปฏิบัติงานตามสัญญา ไม่ว่าผู้รับจ้างจะเป็นผู้ที่นําของเข้ามาเองหรือนําเข้ามา โดยผ่านตัวแทนหรือบุคคลอื่นใด ถ้าสิ่งของนั้นต้องนําเข้ามาโดยทางเรือในเส้นทางเดินเรือที่มีเรือไทยเดินอยู่และ สามารถให้บริการรับขนได้ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมประกาศกําหนด ผู้รับจ้างต้องจัดการให้สิ่งของ ดังกล่าวบรรทุกโดยเรือไทยหรือเรือที่มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทยจากต่างประเทศมายังประเทศไทย เว้นแต่จะได้รับ อนุญาตจากกรมเจ้าท่าก่อนบรรทุกของนั้นลงเรืออื่นที่มิใช่เรือไทยหรือเป็นของที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ประกาศยกเว้นให้บรรทุกโดยเรืออื่นได้ ทั้งนี้ไม่ว่าการสั่งหรือนําเข้าสิ่งของดังกล่าวจากต่างประเทศจะเป็นแบบใด ในการส่งมอบงานตามสัญญาให้แก่ผู้ว่าจ้าง ถ้างานนั้นมีสิ่งของตามวรรคหนึ่ง ผู้รับจ้างจะต้อง ส่งมอบใบตราส่ง (Bill of Lading) หรือสําเนาใบตราส่งสําหรับของนั้น ซึ่งแสดงว่าได้บรรทุกมาโดยเรือไทยหรือเรือที่ มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทยให้แก่ผู้ว่าจ้างพร้อมกับการส่งมอบงานด้วย ในกรณีที่สิ่งของดังกล่าวไม่ได้บรรทุกจากต่างประเทศมายังประเทศไทยโดยเรือไทยหรือเรือที่มี สิทธิเช่นเดียวกับเรือไทย ผู้รับจ้างต้องส่งมอบหลักฐานซึ่งแสดงว่าได้รับอนุญาตจากกรมเจ้าท่า ให้บรรทุกของโดยเรือ อื่นได้หรือหลักฐานซึ่งแสดงว่าได้ชําระค่าธรรมเนียมพิเศษเนื่องจากการไม่บรรทุกของโดยเรือไทยตามกฎหมายว่า ด้วยการส่งเสริมการพาณิชยนาวีแล้วอย่างใดอย่างหนึ่งแก่ผู้ว่าจ้างด้วย ในกรณีที่ผู้รับจ้างไม่ส่งมอบหลักฐานอย่างใดอย่างหนึ่งดังกล่าวในวรรคสองและวรรคสามให้แก่ ผู้ว่าจ้าง แต่จะขอส่งมอบงานดังกล่าวให้ผู้ว่าจ้างก่อนโดยไม่รับชําระเงินค่าจ้าง ผู้ว่าจ้างมีสิทธิรับงานดังกล่าวไว้ก่อน และชําระเงินค่าจ้างเมื่อผู้รับจ้างได้ปฏิบัติถูกต้องครบถ้วนดังกล่าวแล้วได้

  • การจ้างช่วง ผู้รับจ้างจะต้องไม่เอางานทั้งหมดหรือแต่บางส่วนแห่งสัญญานี้ไปจ้างช่วงอีกทอดหนึ่ง เว้นแต่การจ้างช่วงงาน แต่บางส่วนที่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้างแล้ว การที่ผู้ว่าจ้างได้อนุญาตให้จ้างช่วงงานแต่บางส่วนดังกล่าวนั้น ไม่เป็นเหตุให้ ผู้รับจ้างหลุดพ้นจาก ความรับผิดหรือพันธะหน้าที่ตามสัญญานี้ และผู้รับจ้างจะยังคงต้องรับผิดในความผิดและความประมาทเลินเล่อ ของผู้รับจ้างช่วง หรือของตัวแทนหรือลูกจ้างของผู้รับจ้างช่วงนั้นทุกประการ กรณีผู้รับจ้างไปจ้างช่วงงานแต่บางส่วนโดยฝ่าฝืนความในวรรคหนึ่ง ผู้รับจ้างต้องชำระค่าปรับให้แก่ผู้ว่าจ้างเป็น จำนวนเงินในอัตราร้อยละ ๑๐ (สิบ) ของวงเงินของงานที่จ้างช่วงตามสัญญา ทั้งนี้ ไม่ตัดสิทธิผู้ว่าจ้างในการบอกเลิกสัญญา