กำรขูดมดลูก (Curettage, Dilatation & Curettage, Fractional Curettage) ข้อกำหนดตัวอย่าง

กำรขูดมดลูก (Curettage, Dilatation & Curettage, Fractional Curettage). 19. การตั ดช้ินเน้ื อจากปากมดลูก (Colposcope, Loop diathermy)

Related to กำรขูดมดลูก (Curettage, Dilatation & Curettage, Fractional Curettage)

  • ลําดบั งานจดั ซือÊ จดั จ้าง วงเงนิ งบประมาณ (ราคา กลาง) วธิ ีซือÊ /จ้าง ผู้เสนอราคาและราคา ท'ีเสนอ ผู้ได้รับคัดเลือกและราคา เหตุผลท'ี คัดเลือก โดยสรุป เลขท'ีและวนั ท'ีของสัญญา หรือข้อตกลงในการจดั ซอืÊ จดั จ้าง

  • ข้อสงวนสิทธิในการยื่นข้อเสนอและอื่น ๆ ๑๑.๑ เงินค่าจ้างสำหรับงานจ้างครั้งนี้ ได้มาจากเงินงบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ การลงนามในสัญญาจะกระทำได้ต่อเมื่อ สำนักงานได้รับอนุมัติเงินค่าจ้างจาก เงินงบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ แล้วเท่านั้น

  • ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องปฏิบัติ ดังนี้ (๑) ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์

  • หลักฐานการยื่นข้อเสนอ ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอเอกสารหลักฐานยื่นมาพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้าง ภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ โดยแยกเป็น ๒ ส่วน คือ

  • อัตราค่าปรับ ค่าปรับตามสัญญาจ้างแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ หรือข้อตกลงจ้างเป็น หนังสือจะกําหนด ดังนี้

  • ราคากลาง วิธีซอ้ื หรือจ้าง รายช่ือผู้เสนอราคา/ ราคาที่เสนอ (บาท) ผไู้ ด้รับการคดั เลือก/ ราคาท่ีตกลงซอื้ หรือจ้าง (บาท) เหตุผลที่คัดเลือกโดยสรุป เลขท่ีและวันท่ีของสัญญา

  • เอกสารแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ๑.๑ แบบรูปและรายการละเอียด

  • การจ่ายเงินแก่ลูกจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องจ่ายเงินแก่ลูกจ้างที่ผู้รับจ้างได้จ้างมาในอัตราและตามกําหนดเวลาที่ผู้รับจ้างได้ ตกลงหรือทําสัญญาไว้ต่อลูกจ้างดังกล่าว ถ้าผู้รับจ้างไม่จ่ายเงินค่าจ้างหรือค่าทดแทนอื่นใดแก่ลูกจ้างดังกล่าวในวรรคหนึ่ง ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่ จะเอาเงินค่าจ้างที่จะต้องจ่ายแก่ผู้รับจ้างมาจ่ายให้แก่ลูกจ้างของผู้รับจ้างดังกล่าว และให้ถือว่าผู้ว่าจ้างได้จ่ายเงิน จํานวนนั้นเป็นค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างตามสัญญาแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องจัดให้มีประกันภัยสําหรับลูกจ้างทุกคนที่จ้างมาทํางาน โดยให้ครอบคลุมถึงความ รับผิดทั้งปวงของผู้รับจ้าง รวมทั้งผู้รับจ้างช่วง (ถ้ามี) ในกรณีความเสียหายที่คิดค่าสินไหมทดแทนได้ตาม กฎหมาย ซึ่งเกิดจากอุบัติเหตุหรือภยันตรายใด ๆ ต่อลูกจ้างหรือบุคคลอื่นที่ผู้รับจ้าง หรือผู้รับจ้างช่วงจ้างมา ทํางาน ผู้รับจ้างจะต้องส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวพร้อมทั้งหลักฐานการชําระเบี้ยประกันให้แก่ผู้ว่าจ้างเมื่อ ผู้ว่าจ้างเรียกร้อง

  • การหักเงินประกันผลงาน ในการจ่ายเงินค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างแต่ละงวด ผู้ว่าจ้างจะหักเงินจํานวนร้อยละ...........-.............. (… ) ของเงินที่ต้องจ่ายในงวดนั้นเพื่อเป็นประกันผลงาน ในกรณีที่เงินประกันผลงานถูกหักไว้แล้วเป็นจํานวนเงิน ไม่ต่ํากว่า………..-...........บาท (…………-…………...) ผู้รับจ้างมีสิทธิที่จะขอเงินประกันผลงานคืน โดยนําหนังสือค้ํา ประกันของธนาคารหรือหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งออกโดยธนาคารภายในประเทศมามอบให้ผู้ว่าจ้างเพื่อ เป็นหลักประกันแทนก็ได้ ผู้ว่าจ้างจะคืนเงินประกันผลงาน และ/หรือหนังสือค้ําประกันของธนาคารดังกล่าวตามวรรคหนึ่ง โดยไม่มีดอกเบี้ยให้แก่ผู้รับจ้างพร้อมกับการจ่ายเงินค่าจ้างงวดสุดท้าย ภายในกําหนด 1 (หนึ่ง) วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญาผู้รับจ้างจะต้องเสนอแผนงานให้เป็นที่ พอใจแก่ผู้ว่าจ้าง โดยแสดงถึงขั้นตอนของการทํางานและกําหนดเวลาที่ต้องใช้ในการทํางานหลักต่าง ๆ ให้แล้วเสร็จ ผู้รับจ้างต้องเริ่มทํางานที่รับจ้างภายในกําหนด 7 (เจ็ด) วัน นับถัดจากวันที่ได้รับหนังสือแจ้งให้เริ่ม งาน และจะต้องทํางานให้แล้วเสร็จภายในกําหนด 45 (สี่สบห้า) วัน นับถัดจากวันที่ได้รับหนังสือแจ้งดังกล่าวนั้น ถ้าผู้รับจ้างมิได้เสนอแผนงาน หรือมิได้ลงมือทํางานภายในกําหนดเวลาหรือไม่สามารถทํางานให้แล้ว เสร็จตามกําหนดเวลา หรือมีเหตุให้เชื่อได้ว่าผู้รับจ้างไม่สามารถทํางานให้แล้วเสร็จภายในกําหนดเวลา หรือจะแล้ว เสร็จล่าช้าเกินกว่ากําหนดเวลา หรือผู้รับจ้างทําผิดสัญญาข้อใดข้อหนึ่ง หรือตกเป็นผู้ถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด หรือ ตกเป็นผู้ล้มละลาย หรือเพิกเฉยไม่ปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือผู้ควบคุมงานหรือบริษัท ที่ปรึกษาซึ่งได้รับมอบอํานาจจากผู้ว่าจ้าง ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะบอกเลิกสัญญานี้ได้ และมีสิทธิจ้างผู้รับจ้างรายใหม่เข้า ทํางานของผู้รับจ้างให้ลุล่วงไปได้ด้วย การใช้สิทธิบอกเลิกสัญญานั้นไม่กระทบสิทธิของผู้ว่าจ้างที่จะเรียกร้อง ค่าเสียหายจากผู้รับจ้าง การที่ผู้ว่าจ้างไม่ใช้สิทธิเลิกสัญญาดังกล่าวข้างต้นนั้น ไม่เป็นเหตุให้ผู้รับจ้างพ้นจากความรับผิดตาม สัญญา

  • วัตถุประสงค์ เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance and Clean Thailand)” และมาตรการ 3 ป. 1 ค. ในการป้องกันการทุจริตของกระทรวงสาธารณสุข มุ่งสู่หน่วยงาน คุณธรรมและความโปร่งใส โดยเน้นผู้นําหน่วยงานเป็นต้นแบบ โดยผู้บริหารให้ความสําคัญ และแสดงความ ตั้งใจหรือให้คํามั่นที่จะนําพาหน่วยงานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม มีความโปร่งใส ปราศจากการทุจริต และพร้อมที่จะได้รับการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงานตามเจตจํานงที่ได้แสดงไว้อย่างจริงใจ ทั้งจาก เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานและจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือสาธารณชนภายนอกหน่วยงาน อีกทั้งส่งเสริม/ สนับสนุนให้หน่วยงานมีการดําเนินงานอย่างมีคุณธรรมและความโปร่งใสมากขึ้น ผ่านการกําหนดทิศทาง นโยบาย มาตรการ โครงการหรือกิจกรรม ตามแนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ ดําเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ