การได้รับค่าชดเชย ข้อกำหนดตัวอย่าง

การได้รับค่าชดเชย. ค่าชดเชยเป็นเงินที่นายจ้างมีหน้าที่ต้องจ่ายแก่ลูกจ้างเมื่อมีการเลิกจ้าง ตามกฎหมาย กล่าวคือ การที่ลูกจ้างจะได้รับค่าชดเชยเมื่อถูกเลิกจ้าง ต้องมีการกระทําของนายจ้าง อันถือได้ว่าเป็นการเลิกจ้างลูกจ้างเสียก่อน อาจกล่าวได้ว่าเป็นการกระทําใด ๆ ของนายจ้างที่ไม่ให้ ลูกจ้างทํางานต่อไป รวมถึงการที่ลูกจ้างไม่ได้ทํางานและไม่ได้รับค่าจ้างเพราะนายจ้างไม่สามารถ ดําเนินกิจการต่อไปได้ แต่ถ้าเป็นกรณีที่ลูกจ้างลาออก ทิ้งงาน หรือถึงแก่ความตาย นายจ้างก็ไม่ต้อง จ่ายค่าชดเชย เพราะไม่ถือว่าเป็นการเลิกจ้าง และต้องเป็นการเลิกจ้างโดยที่ลูกจ้างไม่ได้กระทําผิด การคํานวณค่าชดเชยว่าลูกจ้างจะมีสิทธิได้รับมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับ ระยะเวลาการทํางานของลูกจ้าง ตามมาตรา 118 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 โดยมาตราดังกล่าวกําหนดสิทธิได้รับค่าชดเชยไว้โดยที่ลูกจ้างต้องทํางานติดต่อกันครบ 120 วัน โดยต้องนับรวมวันหยุด วันลาต่าง ๆ ตามที่กฎหมายกําหนด ซึ่งแบ่งเป็น 6 อัตรา ดังต่อไปนี้ (1) ลูกจ้างซึ่งทํางานติดต่อกันครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี ให้จ่ายไม่ น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทํางาน 30 วันสุดท้ายสําหรับ ลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคํานวณเป็นหน่วย (2) ลูกจ้างซึ่งทํางานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี ให้จ่ายไม่น้อย กว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทํางาน 90 วันสุดท้ายสําหรับลูกจ้างซึ่ง ได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคํานวณเป็นหน่วย (3) ลูกจ้างซึ่งทํางานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี ให้จ่ายไม่น้อย กว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 180 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทํางาน 180 วันสุดท้ายสําหรับลูกจ้าง ซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคํานวณเป็นหน่วย (4) ลูกจ้างซึ่งทํางานติดต่อกันครบ 6 ปี แต่ไม่ครบ 10 ปี ให้จ่ายไม่น้อย กว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 240 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทํางาน 240 วันสุดท้ายสําหรับลูกจ้าง ซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคํานวณเป็นหน่วย NLRA (Harv,L. 1983) 1769. (5) ลูกจ้างซึ่งทํางานติดต่อกันครบ 10 ปี แต่ไม่ครบ 20 ปี ให้จ่ายไม่น้อย กว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทํางาน 300 วันสุดท้ายสําหรับลูกจ้าง ซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคํานวณเป็นหน่วย (6) ลูกจ้างซึ่งทํางานติดต่อกันครบ 20 ปีขึ้นไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้าง อัตราสุดท้าย 400 วัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทํางาน 400 วันสุดท้ายสําหรับลูกจ้างซึ่งได้รับ ค่าจ้างตามผลงานโดยคํานวณเป็นหน่วย จากบทบัญญัติดังกล่าวจะเห็นได้ว่ายิ่งลูกจ้างทํางานมาเป็นระยะ เวลานานเท่าใด ก็จะได้รับค่าชดเชยในอัตราที่สูงขึ้นเท่านั้น แต่อย่างไรก็ตาม ก็มีเหตุที่ทําให้นายจ้างไม่ ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างเมื่อเลิกจ้างได้ ตามมาตรา 119 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฯ มีสาเหตุ 6 ประการ ดังต่อไปนี้ (1) ทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทําความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง (2) จงใจทํา...

Related to การได้รับค่าชดเชย

  • การส่งมอบ ผู้ขายจะส่งมอบสิ่งของที่ซื้อขายตามสัญญาให้แก่ผู้ซื้อ ณ กองยุทธศา^ตร์และงบประมาณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน ภายในวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๔๖๔ ให้ถูกต้องและครบถ้วนตามที่กำหนดไวิในข้อ ๑ แห่งสัญญานี้ พร้อมทั้งหีบห่อหรือเครื่องรัดพันผูกโดยเรียบร้อย การส่งมอบสิ่งของตามสัญญานี้ใม่ว่าจะเป็นการส่งมอบเพียงครั้งเดียว หรือส่งมอบหลายครั้ง ผู้ขายจะต้องแจ้งกำหนดเวลาส่งมอบแต่ละครั้งโดยทำเป็นหนังสือนำไปยื่นต่อผู้ซื้อ ณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน ในวันและเวลาทำการของผู้ซื้อ ก่อนวันส่งมอบไม,น้อยกว่า ๓ (สาม) วันทำการของผู้ซื้อ

  • การจ่ายเงินแก่ลูกจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องจ่ายเงินแก่ลูกจ้างที่ผู้รับจ้างได้จ้างมาในอัตราและตามกําหนดเวลาที่ผู้รับจ้างได้ ตกลงหรือทําสัญญาไว้ต่อลูกจ้างดังกล่าว ถ้าผู้รับจ้างไม่จ่ายเงินค่าจ้างหรือค่าทดแทนอื่นใดแก่ลูกจ้างดังกล่าวในวรรคหนึ่ง ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่ จะเอาเงินค่าจ้างที่จะต้องจ่ายแก่ผู้รับจ้างมาจ่ายให้แก่ลูกจ้างของผู้รับจ้างดังกล่าว และให้ถือว่าผู้ว่าจ้างได้จ่ายเงิน จํานวนนั้นเป็นค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างตามสัญญาแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องจัดให้มีประกันภัยสําหรับลูกจ้างทุกคนที่จ้างมาทํางาน โดยให้ครอบคลุมถึงความ รับผิดทั้งปวงของผู้รับจ้าง รวมทั้งผู้รับจ้างช่วง (ถ้ามี) ในกรณีความเสียหายที่คิดค่าสินไหมทดแทนได้ตาม กฎหมาย ซึ่งเกิดจากอุบัติเหตุหรือภยันตรายใด ๆ ต่อลูกจ้างหรือบุคคลอื่นที่ผู้รับจ้าง หรือผู้รับจ้างช่วงจ้างมา ทํางาน ผู้รับจ้างจะต้องส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยดังกล่าวพร้อมทั้งหลักฐานการชําระเบี้ยประกันให้แก่ผู้ว่าจ้างเมื่อ ผู้ว่าจ้างเรียกร้อง

  • การบังคับค่าปรับ ค่าเสียหาย และค่าใช้จ่าย ในกรณีที่ผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติตามสัญญาข้อหนึ่งข้อใดด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม จนเป็นเหตุให้เกิดค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือ ค่าใช้จ่ายแก่ผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างต้องชดใช้ค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้แก่ผู้ว่าจ้างโดยสนิ้ เชิงภายในกำหนด ๗ (เจ็ด) วัน นับ ถัดจากวันทไี่ ด้รับแจ้งเปน็ หนังสือจากผู้ว่าจ้าง หากผู้รับจ้างไม่ชดใช้ให้ถูกต้องครบถ้วนภายในระยะเวลาดังกล่าวให้ผู้ว่าจ้างมีสทธิที่จะหัก เอาจากจำนวนเงินค่าจ้างที่ต้องชำระ หรือจากเงินประกันผลงาน ของผู้รับจ้าง หรือบังคับจากหลักประกันการปฏิบติตามสัญญาได้ทนั ที หากค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายที่บังคับจากเงินค่าจ้างที่ต้องชำระ เงินประกันผลงาน หรือหลักประกันการ ปฏิบัติตามสัญญาแล้วยังไม่เพียงพอ ผู้รับจ้างยินยอมชำระส่วนที่เหลือ ที่ยังขาดอยู่จนครบถ้วนตามจำนวนค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายนั้น ภายในกำหนด ๗ (เจ็ด) วัน นับถัดจากวันทไี่ ด้รับแจ้งเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้าง หากมีเงินค่าจ้างตามสัญญาที่หักไว้จ่ายเป็นค่าปรับ ค่าเสียหาย หรือค่าใช้จ่ายแล้วยังเหลืออยู่อีกเท่าใด ผู้ว่าจ้างจะคืนให้แก่ผู้รับจ้างทงั้ หมด

  • มาตรฐานฝีมือช่าง เมื่อ ปณท ได้คัดเลือกผู้ยื่นข้อเสนอรำยใดให้เป็นผู้รับจ้ำงและได้ตกลงจ้ำงก่อสร้ำงตำมประกำศนี้ แล้ว ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องตกลงว่ำในกำรปฏิบัติงำนก่อสร้ำงดังกล่ำว ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องมีและใช้ผู้ผ่ำนกำร ทดสอบมำตรฐำนฝีมือช่ำงจำกสถำบันของทำงรำชกำร หรือผู้มีวุฒิบัตรระดับ ปวช. ปวส. และ ปวท. หรือ เทียบเท่ำจำกสถำบันกำรศึกษำที่ ก.พ. รับรองให้เข้ำรับรำชกำรได้ ในอัตรำไม่ต่ํำกว่ำร้อยละ ๑๐ ของแต่ละ สำขำช่ำงแต่จะต้องมีจํำนวนช่ำงอย่ำงน้อย ๑ คน ในแต่ละสำขำช่ำง ดังต่อไปนี้ ๑๓.๒ …………………ฯลฯ……………………

  • การทําสัญญาจ้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทําสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุในข้อ ๑.๓ หรือทําข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับแจ้ง และจะต้องวาง หลักประกันสัญญาเป็นจํานวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ได้ ให้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ยึดถือไว้ในขณะทําสัญญา โดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ ๖.๑ เงินสด ๖.๒ เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารสั่งจ่ายให้แก่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเป็นเช็คลงวันที่ที่ ทําสัญญา หรือก่อนหน้านั้น ไม่เกิน ๓ วัน ทําการของทางราชการ ๖.๓ หนังสือค้ําประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามแบบหนังสือค้ําประกัน ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) หรือจะเป็นหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกําหนด ๖.๔ หนังสือค้ําประกันของบริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาตให้ ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ําประกัน ตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ตาม รายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่างหนังสือค้ําประกันของ ธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกําหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) ๖.๕ พันธบัตรรัฐบาลไทย หลักประกันนี้จะคืนให้ โดยไม่มีดอกเบี้ยภายใน ๑๕ วันนับถัดจากวันที่ผู้ชนะการประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ (ผู้รับจ้าง) พ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาจ้างแล้ว

  • การจ้างช่วง ผู้รับจ้างจะต้องไม่เอางานทั้งหมดหรือแต่บางส่วนแห่งสัญญานี้ไปจ้างช่วงอีกทอดหนึ่ง เว้นแต่การจ้างช่วงงาน แต่บางส่วนที่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้างแล้ว การที่ผู้ว่าจ้างได้อนุญาตให้จ้างช่วงงานแต่บางส่วนดังกล่าวนั้น ไม่เป็นเหตุให้ ผู้รับจ้างหลุดพ้นจาก ความรับผิดหรือพันธะหน้าที่ตามสัญญานี้ และผู้รับจ้างจะยังคงต้องรับผิดในความผิดและความประมาทเลินเล่อ ของผู้รับจ้างช่วง หรือของตัวแทนหรือลูกจ้างของผู้รับจ้างช่วงนั้นทุกประการ กรณีผู้รับจ้างไปจ้างช่วงงานแต่บางส่วนโดยฝ่าฝืนความในวรรคหนึ่ง ผู้รับจ้างต้องชำระค่าปรับให้แก่ผู้ว่าจ้างเป็น จำนวนเงินในอัตราร้อยละ ๑๐ (สิบ) ของวงเงินของงานที่จ้างช่วงตามสัญญา ทั้งนี้ ไม่ตัดสิทธิผู้ว่าจ้างในการบอกเลิกสัญญา

  • ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา................................ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา................................ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา................................ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน ............. ชั่วโมง/สัปดาห์

  • การหักเงินประกันผลงาน ในการจ่ายเงินค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างแต่ละงวด ผู้ว่าจ้างจะหักเงินจำนวนร้อยละ - ของเงินที่ต้องจ่ายในงวดนนั้ เพื่อเป็นประกันผลงาน ในกรณีที่เงินประกันผลงานถูกหักไว้แลวเป็นจำนวนเงินไม่ต่ำกว่า - บาท ผู้รับจ้างมีสิทธที่จะขอเงินประกันผลงาน คืน โดยนำหนังสือค้ำประกันของธนาคารหรือหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งออกโดยธนาคารภายในประเทศมามอบให้ผู้ว่าจ้างเพื่อ เป็นหลักประกันแทนก็ได้ ผู้ว่าจ้างจะคืนเงินประกันผลงาน และ/หรือหนังสือค้ำประกันของธนาคารดังกล่าวตามวรรคหนึ่งโดยไม่มี ดอกเบี้ยให้แก่ผู้รับจ้างพร้อมกับการจ่ายเงินค่าจ้างงวดสุดท้าย

  • ลําดบั งานจดั ซือÊ จดั จ้าง วงเงนิ งบประมาณ (ราคา กลาง) วธิ ีซือÊ /จ้าง ผู้เสนอราคาและราคา ท'ีเสนอ ผู้ได้รับคัดเลือกและราคา เหตุผลท'ี คัดเลือก โดยสรุป เลขท'ีและวนั ท'ีของสัญญา หรือข้อตกลงในการจดั ซอืÊ จดั จ้าง

  • การทําสัญญาจ้างก่อสร้าง ผู้ชนะการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะต้องทำสัญญาจ้างตามแบบสัญญา ดังระบุ ในข้อ ๑.๓ หรือทำข้อตกลงเป็นหนังสือกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใน ๗ วัน นับถัดจากวันที่ได้รับ แจ้ง และจะต้องวางหลักประกันสัญญาเป็นจำนวนเงินเท่ากับร้อยละ ๕ ของราคาค่าจ้างที่ประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส์ ให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ยึดถือไว้ในขณะทำสัญญาโดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ ๖.๒ เงินสด เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย ซึ่งเป็นเช็คหรือดราฟท์ลงวันที่ที่ใช้เช็คหรือ ดราฟท์นั้น ชำระต่อเจ้าหน้าที่ในวันทำสัญญา หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน ๓ วันทำการ ๖.๓ หนังสือค้ำประกันของธนาคารภายในประเทศ ตามตัวอย่างที่คณะกรรมการ นโยบายกำหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) หรือจะเป็นหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลาง กำหนด ๖.๔ หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุน หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาต ให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ำประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศ ไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่าง หนังสือค้ำประกันของธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด ดังระบุในข้อ ๑.๔ (๒) ๖.๕ พันธบัตรรัฐบาลไทย หลักประกันนี้จะคืนให้ โดยไม่มีดอกเบี้ยภายใน ๑๕ วันนับถัดจากวันที่ผู้ชนะการ ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (ผู้รับจ้าง) พ้นจากข้อผูกพันตามสัญญาจ้างแล้ว