ข้อสังเกต. (๑) “หนี้ที่ประกัน” ตาม (๑) หมายถึง หนี้ประธาน โดยมีเหตุที่ทำให้หนี้ประธานระงับ สิ้นไปมีอยู่ ๕ เรื่อง คือ (๑.๑) มีการชำระหนี้ประธานทั้งหมด (๑.๒) เจ้าหนี้ปลดหนี้ (มาตรา ๓๔๐) (๑.๓) มีการหักกลบลบหนี้ (มาตรา ๓๔๑-๓๔๘) (๑.๔) มีการแปลงหนี้ใหม่ (มาตรา ๓๔๙-๓๕๒) (๑.๕) หนี้เกลื่อนกลืนกัน (มาตรา ๓๕๓) (๒) กรณีที่สัญญาจำนองประกันหนี้ประธานเพียงบางส่วน ผู้จำนองอาจขอชำระหนีเฉพาะตามความรับผิดของตนและเจ้าหนี้ต้องปลดจำนองให้ตามมาตรา ๗๔๔ (๒) ถ้าลูกหนี้ขอชำระหนี้ไม่ครบถ้วน เจ้าหนี้ก็มีสิทธิบอกปัดการชำระหนี้หรือรับชำระหนี้นั้นแต่ไม่ยอมจดทะเบียนไถ่ถอนจำนองให้เพราะสัญญาจำนองยังไม่ระงับ (๓) เมื่อเจ้าหนี้ฟ้องบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้ประธานและได้รับชำระหนี้ครบถ้วนแล้ว เจ้าหนี้มีหน้าที่จดทะเบียนไถ่ถอนจำนองทรัพย์สินที่จำนองเป็นประกันหนี้นั้น (๔) หนี้ประธานที่ขาดอายุความไม่ทำให้หนี้จำนองระงับ กล่าวคือ เมื่อหนี้ประธานขาดอายุความแล้ว ผู้จำนองยังคงต้องรับผิดตามสัญญาจำนองตามมาตรา ๗๔๕ และมาตรา ๑๙๓/๒๗ ซึ่งแตกต่างจากผู้ค้ำประกันที่มีสิทธิตามมาตรา ๖๙๔ ที่จะยกข้อต่อสู้ของลูกหนี้ชั้นต้นขึ้นต่อสู้เจ้าหนี้ได้ (ต่อสู้ว่าหนี้ขาดอายุความ) ซึ่งมีผลให้ผู้ค้ำประกันไม่ต้องรับผิดในหนี้นั้น ๒.
Appears in 1 contract
ข้อสังเกต. (๑) “หนี้ที่ประกัน” ตาม ลูกหนี้ทำหนังสือรับสภาพหนี้ต่อเจ้าหนี้ทำให้อายุความสะดุดหยุดลงย่อมเป็นโทษแก่ผู้ค้ำประกันตามมาตรา ๖๙๒ ฟ้องของเจ้าหนี้สำหรับผู้ค้ำประกันจึงไม่ขาดอายุความ (๒) การรับสภาพหนี้ด้วยการชำระนี้บางส่วนที่จะทำให้อายุความสะดุดหยุดลง ต้องกระทำก่อนที่หนี้จะขาดอายุความ (๓) กรณีที่ลูกหนี้ตาย เจ้าหนี้จะต้องใช้สิทธิเรียกร้องภายใน ๑ ปี มิฉะนั้นขาดอายุความตามมาตรา ๑๗๕๔ ถ้ามีการทำให้อายุความ ๑ ปี สะดุดหยุดลง ให้เริ่มนับอายุความใหม่โดยใช้อายุความ ๑๐ ปี ตามมูลหนี้เดิม (๔) ในกรณีที่ลูกหนี้หลายราย ผู้ค้ำประกันทำสัญญาค้ำประกันหนี้นั้นทุกราย ถ้าหนี้รายใดอายุความสะดุดหยุดลงเพราะการกระทำของลูกหนี้ การสะดุดหยุดลงนั้นก็มีผลเฉพาะหนี้รายนั้นเท่านั้น ผู้ค้ำประกันทำให้อายุความสะดุดหยุดลง ผู้ค้ำประกันเป็นผู้ที่ทำให้อายุความสะดุดหยุดลง การสะดุดหยุดลงนี้มีผลเป็นโทษแก่ผู้ค้ำประกันเท่านั้น ไม่มีผลไปถึงลูกหนี้ชั้นต้น ลูกหนี้สละประโยชน์แห่งอายุความ (ไม่ใช่การรับสภาพหนี้) เป็นกรณีที่หลังจากอายุความสิ้นสุดลงแล้วลูกหนี้ไปสละประโยชน์ ดังนั้น การที่ลูกหนี้ทำหนังสือรับสภาพความผิด (เป็นการสละประโยชน์แห่งอายุความตามมาตรา ๑๙๓/๒๔ ซึ่งต่างกับการรับสภาพหนี้ตามมาตรา ๑๙๓/๑๔ (๑) หมายถึง หนี้ประธาน โดยมีเหตุที่ทำให้หนี้ประธานระงับ สิ้นไปมีอยู่ ๕ เรื่อง คือ ที่ต้องทำในขณะที่อายุความยังไม่สิ้นสุด) หลังจากหนี้ขาดอายุความแล้วเป็นการละเสียซึ่งประโยชน์แห่งอายุความ แต่การที่ลูกหนี้ชำระหนี้บางส่วนหลังจากสิทธิเรียกร้องขาดอายุความแล้วเพียงแต่ทำให้ลูกหนี้เรียกเงินจำนวนดังกล่าวคืนไม่ได้ตามมาตรา ๑๙๓/๒๘ วรรคแรก เท่านั้น ไม่เป็นการรับสภาพหนี้ตามมาตรา ๑๙๓/๑๔ (๑.๑๑) มีการชำระหนี้ประธานทั้งหมด และไม่ใช่การณีที่ลูกหนี้สละเสียซึ่งประโยชน์แห่งอายุความตามมาตรา ๑๙๓/๒๔ การสละประโยชน์แห่งอายุความมีผลเสียหายเฉพาะแก่ลูกหนี้เท่านั้น ไม่กระทบถึงสิทธิของผู้ค้ำประกัน ดังนั้น แม้ลูกหนี้ชั้นต้นสละประโยชน์แห่งอายุความ ผู้ค้ำประกันยังมีสิทธิยกอายุความขึ้นต่อสู้เจ้าหนี้ได้ และข้อต่อสู้นี้เป็นข้อต่อสู้ของผู้ค้ำประกันเอง แม้ผู้ค้ำประกันละเลยไม่ยกขึ้นต่อสู้ก็ไม่เสียสิทธิไล่เบี้ยตามมาตรา ๖๙๕ ตัวอย่าง นายแดงเป็นผู้ค้ำประกันตามสัญญายอมรับสภาพความผิดของนายดำ เป็นการค้ำประกันหนี้ตามสัญญาฉบับใหม่หลังจากหนี้ตามเช็คขาดอายุความแล้ว (๑.๒ไม่มีผลไปถึงผู้ค้ำประกันเดิมของลูกหนี้) เจ้าหนี้ปลดหนี้ นายแดงจึงต้องรับผิด อายุความฟ้องผู้ค้ำประกันและอายุความไล่เบี้ย อายุความฟ้องผู้ค้ำประกัน อายุความฟ้องผู้ค้ำประกันใช้อายุความ ๑๐ ปี ตามมาตรา ๑๙๓/๓๐ แต่แม้เจ้าหนี้มีสิทธิจะฟ้องผู้ค้ำประกันภายใน ๑๐ ปี ก็ตาม แต่ผู้ค้ำประกันยังมีสิทธิยกข้อต่อสู้ของลูกหนี้ขึ้นต่อสู้เจ้าหนี้ได้ตามมาตรา ๖๙๔ ดังนั้น ถ้าหนี้ประธานมีอายุความน้อยกว่า ๑๐ ปี เช่น หนี้ประธานเป็นหนี้ที่ผู้ประกอบธุรกิจให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ฟ้องเรียกค่าเช่ามีอายุความ ๒ ปี ตามมาตรา ๑๙๓/๓๔ (มาตรา ๓๔๐๖) (๑.๓) มีการหักกลบลบหนี้ (มาตรา ๓๔๑-๓๔๘) (๑.๔) มีการแปลงหนี้ใหม่ (มาตรา ๓๔๙-๓๕๒) (๑.๕) หนี้เกลื่อนกลืนกัน (มาตรา ๓๕๓) (๒) กรณีที่สัญญาจำนองประกันหนี้ประธานเพียงบางส่วน ผู้จำนองอาจขอชำระหนีเฉพาะตามความรับผิดของตนและเจ้าหนี้ต้องปลดจำนองให้ตามมาตรา ๗๔๔ (๒) ถ้าลูกหนี้ขอชำระหนี้ไม่ครบถ้วน เจ้าหนี้ก็มีสิทธิบอกปัดการชำระหนี้หรือรับชำระหนี้นั้นแต่ไม่ยอมจดทะเบียนไถ่ถอนจำนองให้เพราะสัญญาจำนองยังไม่ระงับ (๓) เมื่อเจ้าหนี้ฟ้องบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้ประธานและได้รับชำระหนี้ครบถ้วนแล้ว เจ้าหนี้มีหน้าที่จดทะเบียนไถ่ถอนจำนองทรัพย์สินที่จำนองเป็นประกันหนี้นั้น (๔) หนี้ประธานที่ขาดอายุความไม่ทำให้หนี้จำนองระงับ กล่าวคือ เมื่อหนี้ประธานขาดอายุความแล้ว ผู้จำนองยังคงต้องรับผิดตามสัญญาจำนองตามมาตรา ๗๔๕ และมาตรา ๑๙๓/๒๗ ซึ่งแตกต่างจากผู้ค้ำประกันที่มีสิทธิตามมาตรา ๖๙๔ ที่จะยกข้อต่อสู้ของลูกหนี้ชั้นต้นขึ้นต่อสู้เจ้าหนี้ได้ (ต่อสู้ว่าหนี้ขาดอายุความ) ซึ่งมีผลให้ผู้ค้ำประกันไม่ต้องรับผิดในหนี้นั้น ๒.ผู้ค้ำประกันการชำระค่าเช่ามีสิทธิยกอายุความ ๒ ปี ขึ้นต่อสู้เจ้าหนี้ได้ แต่การที่ลูกจ้างทำละเมิดต่อนายจ้างเกี่ยวกับการทำงานตามสัญญาจ้างแรงงานนอกจากจะเป็นละเมิดแล้วยังเป็นการผิดสัญญาจ้างด้วย สิทธิเรียกค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายในกรณีนี้อายุความ ๑๐ ปี ตามมาตรา ๑๙๓/๓๐ ผู้ค้ำประกันจะยกอายุความ ๑ ปี ตามมาตรา ๔๔๘ วรรคหนึ่ง มาต่อสู้คดีหาได้ไม่ ในกรณีที่ผู้ค้ำประกันตาย เจ้าหนี้ต้องฟ้องทายาทของผู้ค้ำประกันให้รับผิดตามสัญญาค้ำประกันภายในอายุความ ๑ ปี ตามมาตรา ๑๗๕๔
Appears in 1 contract
ข้อสังเกต. (๑) “หนี้ที่ประกัน” ตาม ทรัพย์ที่เจ้าหนี้ยึดถือไว้เป็นประกันนั้น จะต้องเป็นทรัพย์ของลูกหนี้ ถ้าเป็นทรัพย์ของคนอื่นไม่นำมาตรานี้มาใช้บังคับ (๒) การยึดถือไว้เป็นประกันนี้จะมีขึ้นก่อนหรือหลังการค้ำประกันก็ได้ ยึดทรัพย์ของลูกหนี้ไว้เป็นประกันหนี้รายใดรายหนึ่งก็ใช้เฉพาะหนี้รายนั้นรายเดียว ผู้ค้ำประกันจะเกี่ยงให้เจ้าหนี้ไปเอาชำระหนี้จากทรัพย์ของลูกหนี้ซึ่งเป็นประกันหนี้รายอื่นไม่ได้ ๓. อายุความหนี้ประธานสะดุดหยุดลงเป็นโทษแก่ผู้ค้ำประกันด้วย (มาตรา ๖๙๒) เหตุที่ทำให้อายุความสะดุดหยุดลง (มาตรา ๑๙๓/๑๔) (๑) หมายถึง หนี้ประธาน โดยมีเหตุที่ทำให้หนี้ประธานระงับ สิ้นไปมีอยู่ ๕ เรื่อง คือ (๑.๑) มีการชำระหนี้ประธานทั้งหมด (๑.๒) เจ้าหนี้ปลดหนี้ (มาตรา ๓๔๐) (๑.๓) มีการหักกลบลบหนี้ (มาตรา ๓๔๑-๓๔๘) (๑.๔) มีการแปลงหนี้ใหม่ (มาตรา ๓๔๙-๓๕๒) (๑.๕) หนี้เกลื่อนกลืนกัน (มาตรา ๓๕๓) ลูกหนี้รับสภาพหนี้ต่อเจ้าหนี้ตามสิทธิเรียกร้องโดยทำเป็นหนังสือรับสภาพหนี้ให้ ชำระหนี้ให้บางส่วน ชำระดอกเบี้ย ให้ประกัน หรือกระทำการใดๆ อันปราศจากข้อสงสัยแสดงให้เห็นเป็นปริยายว่ายอมรับสภาพหนี้ตามสิทธิเรียกร้อง (๒) กรณีที่สัญญาจำนองประกันหนี้ประธานเพียงบางส่วน ผู้จำนองอาจขอชำระหนีเฉพาะตามความรับผิดของตนและเจ้าหนี้ต้องปลดจำนองให้ตามมาตรา ๗๔๔ (๒) ถ้าลูกหนี้ขอชำระหนี้ไม่ครบถ้วน เจ้าหนี้ก็มีสิทธิบอกปัดการชำระหนี้หรือรับชำระหนี้นั้นแต่ไม่ยอมจดทะเบียนไถ่ถอนจำนองให้เพราะสัญญาจำนองยังไม่ระงับ เจ้าหนี้ได้ฟ้องคดีเพื่อตั้งหลักฐานสิทธิเรียกร้องหรือเพื่อให้ชำระหนี้ (๓) เมื่อเจ้าหนี้ฟ้องบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้ประธานและได้รับชำระหนี้ครบถ้วนแล้ว เจ้าหนี้มีหน้าที่จดทะเบียนไถ่ถอนจำนองทรัพย์สินที่จำนองเป็นประกันหนี้นั้น เจ้าหนี้ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย (๔) หนี้ประธานที่ขาดอายุความไม่ทำให้หนี้จำนองระงับ กล่าวคือ เมื่อหนี้ประธานขาดอายุความแล้ว ผู้จำนองยังคงต้องรับผิดตามสัญญาจำนองตามมาตรา ๗๔๕ และมาตรา ๑๙๓/๒๗ ซึ่งแตกต่างจากผู้ค้ำประกันที่มีสิทธิตามมาตรา ๖๙๔ ที่จะยกข้อต่อสู้ของลูกหนี้ชั้นต้นขึ้นต่อสู้เจ้าหนี้ได้ เจ้าหนี้ได้มอบข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการพิจารณา (ต่อสู้ว่าหนี้ขาดอายุความ๕) ซึ่งมีผลให้ผู้ค้ำประกันไม่ต้องรับผิดในหนี้นั้น ๒.เจ้าหนี้ได้กระทำการอื่นใดอันมีผลเป็นอย่างเดียวกันกับการฟ้องคดี ผลของอายุความสะดุดหยุดลง มาตรา ๑๙๓/๑๕ เมื่ออายุความสะดุดหยุดลงแล้ว ระยะเวลาที่ล่วงไปก่อนนั้นไม่นับเข้าในอายุความ เมื่อเหตุที่ทำให้อายุความสะดุดหยุดลงสิ้นสุดเวลาใด ให้เริ่มนับอายุความใหม่ตั้งแต่เวลานั้น
Appears in 1 contract
ข้อสังเกต. (๑) คำว่า “หนี้ที่ประกันลูกหนี้” ตาม (๑) หมายถึง หนี้ประธาน โดยมีเหตุที่ทำให้หนี้ประธานระงับ สิ้นไปมีอยู่ ๕ เรื่อง คือ (๑.๑) มีการชำระหนี้ประธานทั้งหมด (๑.๒) เจ้าหนี้ปลดหนี้ (มาตรา ๓๔๐) (๑.๓) มีการหักกลบลบหนี้ (มาตรา ๓๔๑-๓๔๘) (๑.๔) มีการแปลงหนี้ใหม่ (มาตรา ๓๔๙-๓๕๒) (๑.๕) หนี้เกลื่อนกลืนกัน (มาตรา ๓๕๓) ลูกหนี้ชั้นต้นหรือลูกหนี้ในหนี้ประธาน (๒) กรณีที่สัญญาจำนองประกันหนี้ประธานเพียงบางส่วน ผู้จำนองอาจขอชำระหนีเฉพาะตามความรับผิดของตนและเจ้าหนี้ต้องปลดจำนองให้ตามมาตรา ๗๔๔ ต้องเป็นการบังคับจำนองต่อผู้จำนองตามมาตรา ๗๒๘ (๒มีหนังสือบอกกล่าวไปยังลูกหนี้ภายในระยะเวลาอันสมควร) ถ้าลูกหนี้ขอชำระหนี้ไม่ครบถ้วน เจ้าหนี้ก็มีสิทธิบอกปัดการชำระหนี้หรือรับชำระหนี้นั้นแต่ไม่ยอมจดทะเบียนไถ่ถอนจำนองให้เพราะสัญญาจำนองยังไม่ระงับ ๗๒๙ (เรียกเอาทรัพย์หลุดจำนอง) หรือต่อผู้รับโอนทรัพย์สินซึ่งจำนองตามมาตรา ๗๓๕ (มีหนังสือบอกกล่าวล่วงหน้าแก่ผู้รับโอน) (๓) เมื่อเจ้าหนี้ฟ้องบังคับให้ลูกหนี้ชำระหนี้ประธานและได้รับชำระหนี้ครบถ้วนแล้ว เจ้าหนี้มีหน้าที่จดทะเบียนไถ่ถอนจำนองทรัพย์สินที่จำนองเป็นประกันหนี้นั้น การบังคับจำนองที่จะมีผลทำให้ลูกหนี้พ้นความรับผิดในหนี้ที่ยังขาดจำนวนจะต้องเป็นการบังคับจำนองที่เสร็จสมบูรณ์แล้ว (มีการฟ้องคดียึดทรัพย์สินที่จำนองและขายทอดตลาดแล้ว) (๔) หนี้ประธานที่ขาดอายุความไม่ทำให้หนี้จำนองระงับ กล่าวคือ เมื่อหนี้ประธานขาดอายุความแล้ว ผู้จำนองยังคงต้องรับผิดตามสัญญาจำนองตามมาตรา ๗๔๕ และมาตรา ๑๙๓/๒๗ ซึ่งแตกต่างจากผู้ค้ำประกันที่มีสิทธิตามมาตรา ๖๙๔ ที่จะยกข้อต่อสู้ของลูกหนี้ชั้นต้นขึ้นต่อสู้เจ้าหนี้ได้ มาตรา ๗๓๓ ไม่ใช่บทบัญญัติอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อย คู่สัญญาจึงตกลงกันว่าถ้าบังคับจำนองแล้วไม่พอชำระหนี้ ลูกหนี้ก็ยังคงต้องรับผิดในหนี้ที่เหลือได้ (ต่อสู้ว่าหนี้ขาดอายุความ๕) ซึ่งมีผลให้ผู้ค้ำประกันไม่ต้องรับผิดในหนี้นั้น ๒.ผู้รับมอบอำนาจให้ทำสัญญาจำนองไปทำสัญญายกเว้นมาตรา ๗๓๓ ถ้าเป็นการมอบออำนาจให้ไปจำนองอย่างเดียว ข้อตกลงนั้นไม่ผูกพันผู้จำนอง แต่ถ้ามอบอำนาจให้ไปทำสัญญาจำนองโดยมีเงื่อนไขและข้อความตามสัญญาต่อท้ายสัญญาจำนอง แต่ถ้ามอบอำนาจให้ไปทำสัญญาจำนองโดยมีเงื่อนไขและข้อความตามสัญญาต่อท้ายสัญญาจำนอง ข้อตกลงนี้ก็ผูกพันตามสัญญาที่ผู้รับมอบอำนาจทำไป (๖) แม้ทำสัญญายกเว้นมาตรา ๗๓๓ ผู้รับจำนองก็ไม่มีสิทธิได้รับชำระหนี้ก่อนเจ้าหนี้อื่นที่ไม่ใช่ทรัพย์สินที่จำนอง ลำดับการชำระหนี้แก่ผู้รับจำนองและเงินที่เหลือ ทรัพย์สินซึ่งจำนองขายทอดตลาดได้เงินเป็นจำนวนสุทธิเท่าใดให้จัดใช้แก่ผู้รับจำนองเรียงตามลำดับ และถ้ายังมีเงินเหลืออยู่อีก ก็ให้ส่งมอบแก่ผู้จำนอง (มาตรา ๗๓๒)
Appears in 1 contract