ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย ข้อกำหนดตัวอย่าง

ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย. บริษทั จะรับผิดชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนเพ่ือความเสียหายต่อชีวต ร่างกาย หรืออนามย ของบุคคลภายนอก เฉพาส่วนเกินวงเงินสูงสุดตามกรมธรรม์ประกนั ภยั คุม้ ครองผปู้ ระสบ ภยจากรถ ตามความเสียหายที่แทจ้ ริงที่ผเ้ อาประกนั ภยั จะตอ้ งรับผดิ ชอบตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอกไม่เกินจา˚ นวนเงินเอาประกนั ภยั ต่อคนท่ีระบุไวใ้ นตารางกรมธรรม์ประกนั ภย จา˚ นวนเงินเอาประกนั ภยั ต่อคร้ังท่ีระบุไวใ้ นตารางกรมธรรมป์ ระกนั ภยั ภายใตเ้ ง่ือนไขท่ีกา˚ หนดในขอ้ น้ี และไม่เกิน ในกรณีบุคคลภายนอกเสียชีวิต บริษทั จะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนไม่นอ้ ยกวา 100,000 บาทต่อคน แต่หากการเสียชีวิตน้นั ทา˚ ใหม้ ีผขู้ าดไร้อุปการะตามกฎหมาย บริษทั จะ ชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนต่อการเสียชีวติ ของบุคคลภายนอกน้นั ไม่นอ้ ยกวา่ 300,000 บาทต่อคน กรณีบุคคลภายนอกทุพพลภาพถาวร บริษทั จะชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนไม่นอ้ ยกวา่ 300,000 บาทต่อคน ในกรณีบุคคลภายนอกเสียชีวิต หรือทุพพลภาพถาวรส้ินเชิง เมื่อบริษท ผเู้ อาประกนั ภย และผมู้ ีสิทธิเรียกร้องตามกรมธรรมป์ ระกนั ภยั สามารถตกลงในจา˚ นวนเงินค่าเสียหายได ท้งั จา˚ นวนแลว้ บริษท จะชดใชค้ ่าสินไหมทดแทน ดงั นี้ บาทต่อคน 1.1.1 ชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนตามจา˚ นวนเงินเอาประกนั ภยั ที่ระบุไวใ้ นตารางกรมธรรมป์ ระกนั ภยั ในหมวดน้ี โดยตอ้ งมีจา˚ นวนเงินเอาประกนั ภยั ไม่นอ้ ยกวา 500,000 1.1.2 กรณีท่ีจา˚ นวนเงินเอาประกนั ภยั เกินกวา 2,000,000 บาทต่อคน บริษทั จะชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนไม่นอ้ ยกวา 2,000,000 บาทต่อคน โดยส่วนเกินจาก 2,000,000 บาท บริษทั จะชดใชต้ ามความเสียหายที่แทจ้ ริงที่ผูเอาประกนั ภยั จะตอ้ งรับผิดชอบตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก 1.1.3 กรณีทายาทของบุคคลภายนอกผเู้ สียชีวต หรือบุคคลภายนอกที่เป็ นผูท้ ุพพลภาพถาวรสิ้นเชิงน้ มีสิทธิไดร้ ับ การชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนจากกรมธรรม์ประกนั ภย รถยนตม์ ากกวา 1 กรมธรรม์ รวมถึงกรณีที่รถยนตท์ ี่เอาประกนั ภยั ได้ เอาประกนั ภยั หลายรายเพื่อความวนิ าศภยั อนั เดียวกน โดยไดท้ า˚ สัญญาประกนั ภยั พร้อมกน หรือสืบเนื่องเป็ นลา˚ ดบั กน บริษทั จะชดใชค้ ่าสินไหมทดแทนตามสัดส่วนความคุม้ ครองของแต่ละกรมธรรมป์ ระกนั ภยั รวมกนั ไม่เกินกวา่ 2,000,000 บาท ต่อคน โดยส่วนที่เกิน 2,000,000 บาท บริษทั จะร่วม ชดใชต้ ามความเสียหายที่แทจ้ ริงที่ผเู้ อาประกนั ภยั จะตอ้ งรับผิดชอบตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก ในกรณีที่บุคคลภายนอกไดร้ ับความเสียหายต่อร่างกาย หรืออนามย และมีสิทธิไดร้ ับการชดใชจ้ ากกรมธรรม์ประกนั ภยั รถยนตม์ ากกวา่ 1 กรมธรรม์ รวมถึงกรณีที่รถยนตท์ ี่เอา ประกนั ภยั ได้ เอาประกนั ภยั หลายรายเพ่ือความวนิ าศภยั อนั เดียวกน โดยไดท้ า˚ สัญญาประกนั ภยั พร้อมกน หรือสืบเนื่องเป็ นลา˚ ดบั กน บริษทั จะร่วมเฉลี่ยจ่ายเท่าๆ กน น้น ทุพพลภาพถาวรส้ินเชิงในท่ีน้ี หมายถึง ทุพพลภาพถึงขนาดไม่สามารถประกอบหนา้ ที่การงานใดๆ ในอาชีพประจา˚ และอาชีพอื่นๆ ไดโ้ ดยสิ้นเชิงตลอดไป บุคคลภายนอกที่ไดร้ ับความคุมครองตาม 1.1 น้ี ไม่รวม...
ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย. บริษัทจะรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อ ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย ของบุคคลภายนอก เฉพาะส่วนเกินวงเงินสูงสุดตามกรมธรรม์ ประกันภัยคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ตามความเสียหายที่แท้จริงที่ผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบ ตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอกไม่เกินจำนวนเงินเอาประกันภัยต่อคนที่ระบุไว้ในตารางกรมธรรม์ ประกันภัย และไม่เกินจำนวนเงินเอาประกันภัยต่อครั้งที่ระบุไว้ในตารางกรมธรรม์ประกันภัย ภายใต้ เงื่อนไขที่กำหนดในข้อนี้ ในกรณีบุคคลภายนอกเสียชีวิต หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง เมื่อบริษัท ผู้เอาประกันภัย และ ผู้มีสิทธิเรียกร้องตามกรมธรรม์ประกันภัยสามารถตกลงในจำนวนเงินค่าเสียหายได้ทั้งจำนวนแล้ว บริษัท จะชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ดังนี้ 1.1.1 ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามจำนวนเงินเอาประกันภัยที่ระบุไว้ในตารางกรมธรรม์ ประกันภัยในหมวดนี้ โดยต้องมีจำนวนเงินเอาประกันภัยไม่น้อยกว่า 500,000 บาทต่อคน 1.1.2 กรณีที่จำนวนเงินเอาประกันภัยเกินกว่า 2,000,000 บาทต่อคน บริษัทจะชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนไม่น้อยกว่า 2,000,000 บาทต่อคน โดยส่วนเกินจาก 2,000,000 บาท บริษัทจะชดใช้ ตามความเสียหายที่แท้จริงที่ผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก 1.1.3 กรณีทายาทของบุคคลภายนอกผู้เสียชีวิต หรือบุคคลภายนอกที่เป็นผู้ทุพพลภาพ ถาวรสิ้นเชิงนั้น มีสิทธิได้รับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนจากกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์มากกว่า 1 กรมธรรม์ รวมถึงกรณีที่รถยนต์ที่เอาประกันภัยได้เอาประกันภัยหลายรายเพื่อคว ามวินาศภัยอัน เดียวกัน โดยได้ทำสัญญาประกันภัยพร้อมกัน หรือสืบเนื่องเป็นลำดับกัน บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนตามสัดส่วนความคุ้มครองของแต่ละกรมธรรม์ประกันภัย รวมกันไม่เกินกว่า 2 ,000,000 บาท ต่อคน โดยส่วนที่เกิน 2,000,000 บาท บริษัทจะร่วมชดใช้ตามความเสียหายที่แท้จริงที่ผู้เอาประกันภัย จะต้องรับผิดชอบตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก ในกรณีที่บุคคลภายนอกได้รับความเสียหายต่อร่างกาย หรืออนามัย และมีสิทธิได้รับการชดใช้ จากกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์มากกว่า 1 กรมธรรม์ รวมถึงกรณีที่รถยนต์ที่เอาประกันภัยได้ เอาประกันภัยหลายรายเพื่อความวินาศภัยอันเดียวกัน โดยได้ทำสัญญาประกันภัยพร้อมกัน หรือสืบเนื่อง เป็นลำดับกัน บริษัทจะร่วมเฉลี่ยจ่ายเท่า ๆ กัน
ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย. ขั้นตอนกำรพิจำรณำกำรชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนกรณีประมำททั้งสองฝ่ำย หรือประกันภัยซ้ํำซ้อนตำมกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์กรณีข้อตกลงคุ้มครอง ข้อ 1 1. กรณีจํานวนเงินเอาประกันภัยรวมทุกกรมธรรม์ ไม่เกิน 2,000,000 บำท เมื่อตกลงเป็นที่ยุติกันได้ทั้งจํำนวนแล้ว ให้บริษัทจ่ายตำมจํำนวนเงินควำมคุ้มครองของกรมธรรม์ประกันภัยแต่ละฉบับ 2. กรณีจํานวนเงินเอาประกันภัยรวมทุกกรมธรรม์ เกินกว่ำ 2,000,000 บำท บริษัทจะต้องตกลงค่ำเสียหำยไม่ต่ํำกว่ำ 2,000,000 บำท เมื่อตกลงเป็นที่ยุติกันได้ทั้งจํำนวนแล้ว ให้บริษัทร่วมเฉลี่ยจ่ำยตำมสัดส่วนควำมคุ้มครองของแต่ละ กรมธรรม์ตำมจํำนวนเงินค่ำเสียหำยที่ตกลงกัน กำรพิจำรณำกำรชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนกรณีประมำททั้งสองฝ่ำย หรือประกันภัยซ้ํำซ้อนตำมกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์กรณีข้อตกลงคุ้มครอง ข้อ 1 1 สําหรับกรมธรรม์ประกันภัยที่มีวงเงินคุ้มครองแบบไม่จํากัดความรับผิด (Unlimited หรือความคุ้มครองเกิน 3,000,000 บาท) 2 กรณีที่เจรจำค่ำสินไหมทดแทนเป็นที่ยุติน้อยกว่ำจํำนวนเงินเอำประกันภัยรวมให้เฉลี่ยจ่ำยตำมสัดส่วนของจํำนวนเงิน กรณีที่เจรจำค่ำสินไหมทดแทนเป็นที่ยุติมำกกว่ำจํำนวนเงินเอำประกันภัยรวมให้ 3 กำรคํำนวณกำรเฉลี่ยจ่ำยค่ำสินไหมทดแทนตำมสัดส่วน ครั้งที่ 1 กำรเฉลี่ยจ่ำยค่ำสินไหมทดแทนตำมสัดส่วน ครั้งที่ 2 กำรเฉลี่ยจ่ำยค่ำสินไหมทดแทนที่เกินจำกควำมคุ้มครองตำมสัดส่วน ครั้งที่ 3 ค่ำสินไหมทดแทนที่บริษัทต้องชดใช้ให้กับผู้เอำประกันภัย ผลลัพธ์ ครั้งที่ 1 + ผลลัพธ์ ครั้งที่ 2 ตัวอย่ำง กำรคํำนวนค่ำสินไหมทดแทนกรณีที่มีกรมธรรม์ประกันภัยที่มีวงเงินควำมคุ้มครองแบบไม่จํำกัดจํำนวนเงินควำมรับผิด กำรคํำนวณกำรเฉลี่ยจ่ำยตำมสัดส่วน ครั้งที่ 1 กำรเฉลี่ยจ่ำยตำมสัดส่วน (จํำนวน 2,000,000 บำท) บริษัทประกันภัยบี จํำนวนเงินเอำประกันภัย Unlimited กำรคํำนวณกำรเฉลี่ยจ่ำยตำมสัดส่วน ครั้งที่ 1 ส่วนเกิน 2,000,000 บำท ครั้งที่ 2 6,000,000 666,666.67 บำท 1,333,333.33 บำท 6,000,000 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 333,333.34 บำท ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 666,666.67 + 333,333.34 1,000,000 บำท 2,000,000 บำท ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 1,333,333.33 + 666,666.67 ตัวอย่ำง กำรคํำนวนค่ำสินไหมทดแทนกรณีที่มีกรมธรรม์ประกันภัยที่มีวงเงินควำมคุ้มครองแบบไม่จํำกัดจํำนวนเงินควำมรับผิด (Unlimited กำรคํำนวณกำรเฉลี่ยจ่ำยตำมสัดส่วน กำรเฉลี่ยจ่ำยตำมสัดส่วน (จํำนวน 2,000,000 บำท) ครั้งที่ 1 บริษัทประกันภัยบี จํำนวนเงินเอำประกันภัย Unlimited กำรคํำนวณกำรเฉลี่ยจ่ำยตำมสัดส่วน ครั้งที่ 1 ส่วนเกิน 2,000,000 บำท ครั้งที่ 2 857,142.86 บำท 5,142,857.14 บำท 1,142,857.14 บำท 6,857,142.86 บำท ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ค่ำสินไหมทดแทนที่ บริษัทประกันภัยเอ ต้องชดใช้ ผู้รับผิดชอบ ค่ำสินไหมทดแทนที่ บริษัทประกันภัยบี ต้องชดใช้ 6,000,000 บำท 3,000,000 บำท 8,000,000 + 3,000,000 = 11,000,000 บำท 8,000,000 บำท
ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย. การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนกรณีบุคคลภายนอกเสียชีวิต หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง 1.1.1 ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามจํานวนเงินเอาประกันภัยที่ระบุไว้ในตารางกรมธรรม์ประกันภัยในหมวดนี้ โดยต้องมีจํานวน เงินเอาประกันภัยไม่น้อยกว่า 500,000 บาทต่อคน 1.1.2 กรณีที่จํานวนเงินเอาประกันภัยเกินกว่า 2,000,000 บาทต่อคน บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนไม่น้อยกว่า 2,000,000 บาทต่อ คน โดยส่วนเกินจาก 2,000,000 บาทต่อคน บริษัทจะชดใช้ตามค่าเสียหายที่แท้จริงที่ผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย ต่อบุคคลภายนอก 1.1.3 กรณีทายาทของบุคคลภายนอกผู้เสียชีวิต หรือบุคคลภายนอกที่เป็นผู้ทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิงนั้น มีสิทธิได้รับการชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนจากกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์มากกว่า 1 กรมธรรม์ รวมถึงกรณีที่รถยนต์ที่เอาประกันภัยได้เอาประกันภัยหลายราย เพื่อความวินาศภัยอันเดียวกัน โดยได้ทําสัญญาประกันภัยพร้อมกัน หรือสืบเนื่องเป็นลําดับกัน บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ตามสัดส่วนความคุ้มครองของแต่ละกรมธรรม์ประกันภัย รวมกันไม่เกินกว่า 2,000,000 บาทต่อคน โดยส่วนที่เกิน 2,000,000 บาท บริษัทจะร่วมชดใช้ตามความเสียหายที่แท้จริงที่ผู้เอาประกันภัยจะต้องรับผิดชอบตามกฎหมายต่อบุคคลภายนอก
ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย. 1 ผลคดีเป็นที่ยุติ รถคันเอาประกันภัยเป็นฝ่ายประมาทบริษัทจะต้องรับผิดชอบต่ออุบัติเหตุที่เกิดขึ้น 2 บริษัทโดยการยอมรับของผู้เอาประกันภัยและคู่กรณีสามารถตกลงยุติในจํานวนเงินค่าเสียหายได้ 3 อุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ผู้เสียชีวิต หรือผู้ทุพพลภาพถาวรสนเชิง ไม่ได้มีส่วนประมาทหรือไม่ได้มีส่วนต้องรับผิดในอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นด้วย 4 บริษัทจ่ายค่าสินไหมทดแทนให้แก่ทายาทผู้เสียชีวิตตามหลกเกณฑ์ที่กําหนด ตาม 1.1.1 1.1.2 และ 1.1.3 ดังกล่าวข้างตน้

Related to ความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย

  • ราคากลาง วิธีซอ้ื หรือจ้าง รายช่ือผู้เสนอราคา/ ราคาที่เสนอ (บาท) ผไู้ ด้รับการคดั เลือก/ ราคาท่ีตกลงซอื้ หรือจ้าง (บาท) เหตุผลที่คัดเลือกโดยสรุป เลขท่ีและวันท่ีของสัญญา

  • การเสนอราคา ๔.๑ ผู้ยื่นข้อเสนอต้องยื่นข้อเสนอ และเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย อิเล็กทรอนิกส์ตามที่กําหนดไว้ในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ ทั้งสิ้น และจะต้อง กรอกข้อความให้ถูกต้องครบถ้วน พร้อมทั้งหลักฐานแสดงตัวตนและทําการยืนยันตัวตนของผู้ยื่นข้อเสนอโดยไม่ต้อง แนบใบเสนอราคาในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format) ๔.๒ ให้ผู้ยื่นข้อเสนอกรอกรายละเอียดการเสนอราคาในใบเสนอราคาตามแบบเอกสาร ประกวดราคาจ้างก่อสร้างด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) ข้อ ๑.๒ ให้ครบถ้วนโดยไม่ต้องยื่นใบ แจ้งปริมาณงานและราคา และใบบัญชีรายการก่อสร้างในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format) ในการเสนอราคาให้เสนอราคาเป็นเงินบาทและเสนอราคาได้เพียงครั้งเดียวและราคา เดียว โดยเสนอราคารวม หรือราคาต่อหน่วย หรือราคาต่อรายการ ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ท้ายใบเสนอราคาให้ถูกต้อง ทั้งนี้ ราคารวมที่เสนอจะต้องตรงกันทั้งตัวเลขและตัวหนังสือ ถ้าตัวเลขและตัวหนังสือไม่ตรงกัน ให้ถือตัวหนังสือ เป็นสําคัญ โดยคิดราคารวมทั้งสิ้นซึ่งรวมค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีอากรอื่น และค่าใช้จ่ายทั้งปวงไว้แล้ว ราคาที่เสนอจะต้องเสนอกําหนดยืนราคาไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน ตั้งแต่วันเสนอราคาโดย ภายในกําหนดยืนราคา ผู้ยื่นข้อเสนอต้องรับผิดชอบราคาที่ตนได้เสนอไว้และจะถอนการเสนอราคามิได้ ๔.๓ ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอกําหนดเวลาดําเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จไม่เกิน ๔๒๐ วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญาจ้างหรือจากวันที่ได้รับหนังสือแจ้งจาก โรงเรียน ให้เริ่มทํางาน ๔.๔ ก่อนเสนอราคา ผู้ยื่นข้อเสนอควรตรวจดูร่างสัญญา แบบรูป และรายการละเอียด ฯลฯ ให้ถี่ถ้วนและเข้าใจเอกสารประกวดราคาจ้างอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดเสียก่อนที่จะตกลงยื่นข้อเสนอตามเงื่อนไข ในเอกสารประกวดราคาจ้างอิเล็กทรอนิกส์ ๔.๕ ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องยื่นข้อเสนอและเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย อิเล็กทรอนิกส์ในวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ ระหว่างเวลา ๐๘.๓๐ น. ถึง ๑๖.๓๐ น. และเวลาในการเสนอราคา ให้ถือตามเวลาของระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์เป็นเกณฑ์ เมื่อพ้นกําหนดเวลายื่นข้อเสนอและเสนอราคาแล้ว จะไม่รับเอกสารการยื่นข้อเสนอ และเสนอราคาใดๆ โดยเด็ดขาด ๔.๖ ผู้ยื่นข้อเสนอต้องจัดทําเอกสารสําหรับใช้ในการเสนอราคาในรูปแบบไฟล์เอกสาร ประเภท PDF File (Portable Document Format) โดยผู้ยื่นข้อเสนอต้องเป็นผู้รับผิดชอบตรวจสอบความ ครบถ้วน ถูกต้อง และชัดเจนของเอกสาร PDF File ก่อนที่จะยืนยันการเสนอราคา แล้วจึงส่งข้อมูล (Upload) เพื่อ เป็นการเสนอราคาให้แก่โรงเรียน ผ่านทางระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ๔.๗ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์จะดําเนินการตรวจสอบ คุณสมบัติของผู้ยื่นข้อเสนอแต่ละรายว่า เป็นผู้ยื่นข้อเสนอที่มีผลประโยชน์ร่วมกันกับผู้ยื่นข้อเสนอรายอื่นตาม ข้อ ๑.๖ (๑) หรือไม่ หากปรากฏว่าผู้ยื่นข้อเสนอรายใดเป็นผู้ยื่นข้อเสนอที่มีผลประโยชน์ร่วมกันกับผู้ยื่นข้อเสนอราย อื่น คณะกรรมการฯ จะตัดรายชื่อผู้ยื่นข้อเสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกันนั้นออกจากการเป็นผู้ยื่นข้อเสนอ หากปรากฏต่อคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ว่า ก่อนหรือใน ขณะที่มีการพิจารณาข้อเสนอ มีผู้ยื่นข้อเสนอรายใดกระทําการอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรมตาม ข้อ ๑.๖ (๒) และคณะกรรมการฯ เชื่อว่ามีการกระทําอันเป็นการขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรม คณะ กรรมการฯ จะตัดรายชื่อผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้นออกจากการเป็นผู้ยื่นข้อเสนอ และโรงเรียน จะพิจารณาลงโทษผู้ยื่น ข้อเสนอดังกล่าวเป็นผู้ทิ้งงาน เว้นแต่ โรงเรียน จะพิจารณาเห็นว่าผู้ยื่นข้อเสนอรายนั้น มิใช่เป็นผู้ริเริ่มให้มีการ กระทําดังกล่าวและได้ให้ความร่วมมือเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาของโรงเรียน

  • หลักฐานการเสนอราคา ผู้ประสงค์จะเสนอราคาจะต้องเสนอเอกสารหลักฐาน แยกเป็น 2 ส่วน คือ 3.1 ส่วนที่ 1 อย่างน้อยต้องมีเอกสารดังต่อไปนี้ (1) ในกรณีผู้ประสงค์จะเสนอราคาเป็นนิติบุคคล (ก) ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือห้างหุ้นส่วนจ˚ากัด ให้ยื่นส˚าเนาหนังสือรับรองการ จดทะเบียนนิติบุคคล บัญชีรายชื่อหุ้นส่วนผู้จัดการ ผู้มีอ˚านาจควบคุม (ถ้ามี) พร้อมรับรองส˚าเนาถูกต้อง /3.(ข) บริษัทจ˚ากัด.... (ข) บริษัทจ˚ากัดหรือบริษัทมหาชนจ˚ากัด ให้ยื่นส˚าเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติ บุคคล หนังสือบริคณห์สนธิ บัญชีรายชื่อกรรมการผู้จัดการ ผู้มีอ˚านาจควบคุม และบัญชีผู้ถือหุ้นรายใหญ่พร้อม รับรองส˚าเนาถูกต้อง (2) ในกรณีผู้ประสงค์จะเสนอราคาเป็นบุคคลธรรมดา หรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคลให้ยื่น ส˚าเนาบัตรประจ˚าตัวประชาชนของผู้นั้น ส˚าเนาข้อตกลงที่แสดงถึงการเข้าเป็นหุ้นส่วน(ถ้ามี) ส˚าเนาบัตรประจ˚าตัว ประชาชนของผู้เป็นหุ้นส่วน พร้อมทั้งรับรองส˚าเนาถูกต้อง (3) ในกรณีผู้ประสงค์จะเสนอราคาเป็นผู้ประสงค์จะเสนอราคาร่วมกันในฐานะเป็นผู้ร่วมค้าให้ ยื่นส˚าเนาสัญญาของการเข้าร่วมค้า ส˚าเนาบัตรประจ˚าตัวประชาชนของผู้ร่วมค้า และในกรณีที่ผู้เข้าร่วมค้าฝ่ายใด เป็นบุคคลธรรมดาที่มิใช่สัญชาติไทย ก็ให้ยื่นส˚าเนาหนังสือเดินทาง หรือผู้ร่วมค้าฝ่ายใดเป็นนิติบุคคล ให้ยื่น เอกสารตามที่ระบุไว้ใน (1) (4) ส˚าเนาแบบแสดงการลงทะเบียนในระบบ e-GP, ส˚าเนาใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม พร้อมรับรองส˚าเนาถูกต้อง (5) บัญชีเอกสารส่วนที่ 1 ทั้งหมดที่ได้ยื่นตามแบบในข้อ 1.9 (1)

  • สิทธิของผู้ว่าจ้างภายหลังบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผู้ว่าจ้างบอกเลิกสัญญา ผู้ว่าจ้างอาจทํางานนั้นเองหรือว่าจ้างผู้อื่นให้ทํางานนั้นต่อจนแล้ว เสร็จก็ได้ ผู้ว่าจ้างหรือผู้ที่รับจ้างทํางานนั้นต่อมีสิทธิใช้เครื่องใช้ในการก่อสร้าง สิ่งที่สร้างขึ้นชั่วคราวสําหรับงาน ก่อสร้าง และวัสดุต่างๆ ซึ่งเห็นว่าจะต้องสงวนเอาไว้เพื่อการปฏิบัติงานตามสัญญาตามที่จะเห็นสมควร ในกรณีดังกล่าว ผู้ว่าจ้างมีสิทธิริบหรือบังคับจากหลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา ทั้งหมดหรือ บางส่วนตามแต่จะเห็นสมควร นอกจากนั้นผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในค่าเสียหายซึ่งเป็นจํานวนเกินกว่าหลัก ประกันการปฏิบัติตามสัญญา รวมทั้งค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นในการทํางานนั้นต่อให้แล้วเสร็จตามสัญญา ตลอดจนค่าใช้จ่าย ในการควบคุมงานเพิ่ม (ถ้ามี) ซึ่งผู้ว่าจ้างจะหักเอาจากเงินประกันผลงานหรือจํานวนเงินใด ๆ ที่จะจ่ายให้แก่ผู้รับจ้างก็ได้

  • หลักประกันการเสนอราคา ผู้ยื่นข้อเสนอต้องวางหลักประกันการเสนอราคาพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบการ จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้หลักประกันอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ จำนวน ๑,๗๑๕,๔๐๐.๐๐ บาท (หนึ่งล้านเจ็ดแสนหนึ่งหมื่นห้าพันสี่ร้อยบาทถ้วน) ๕.๑ เช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย ซึ่งเป็นเช็คหรือดราฟท์ลงวันที่ที่ใช้เช็คหรื อดราฟท์นั้นชำระต่อเจ้าหน้าที่ในวันที่ยื่นข้อเสนอ หรือก่อนวันนั้นไม่เกิน ๓ วันทำการ ๕.๒ หนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารภายในประเทศตามแบบที่ คณะกรรมการนโยบายกำหนด ๕.๓ พันธบัตรรัฐบาลไทย ๕.๔ หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่ได้รับอนุญาต ให้ประกอบกิจการเงินทุนเพื่อการพาณิชย์และประกอบธุรกิจค้ำประกันตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศ ไทย ตามรายชื่อบริษัทเงินทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยแจ้งเวียนให้ทราบ โดยอนุโลมให้ใช้ตามตัวอย่าง หนังสือค้ำประกันของธนาคารที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด กรณีที่ผู้ยื่นข้อเสนอนำเช็คหรือดราฟท์ที่ธนาคารสั่งจ่ายหรือพันธบัตรรัฐบาลไทยหรือ หนังสือค้ำประกันของบริษัทเงินทุนหรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ มาวางเป็นหลักประกันการเสนอราคาจะต้อง ส่งต้นฉบับเอกสารดังกล่าวมาให้สำนักงานตรวจสอบความถูกต้องในวันที่ ระหว่างเวลา ........................ น. ถึง น. กรณีที่ผู้ยื่นข้อเสนอที่ยื่นข้อเสนอในรูปแบบของ "กิจการร่วมค้า" ประสงค์จะใช้หนังสือ ค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารในประเทศเป็นหลักประกันการเสนอราคาให้ระบุชื่อผู้เข้าร่วมค้ารายที่ สัญญาร่วมค้ากำหนดให้เป็นผู้เข้ายื่นข้อเสนอกับหน่วยงานของรัฐเป็นผู้ยื่นข้อเสนอ หลักประกันการเสนอราคาตามข้อนี้ สำนักงานจะคืนให้ผู้ยื่นข้อเสนอหรือผู้ค้ำประกัน ภายใน ๑๕ วัน นับถัดจากวันที่สำนักงานได้พิจารณาเห็นชอบรายงานผลคัดเลือกผู้ชนะการประกวดราคา เรียบร้อยแล้ว เว้นแต่ผู้ยื่นข้อเสนอรายที่คัดเลือกไว้ซึ่งเสนอราคาต่ำสุดหรือได้คะแนนรวมสูงสุดไม่เกิน ๓ ราย ให้คืนได้ต่อเมื่อได้ทำสัญญาหรือข้อตกลง หรือผู้ยื่นข้อเสนอได้พ้นจากข้อผูกพันแล้ว การคืนหลักประกันการเสนอราคา ไม่ว่าในกรณีใด ๆ จะคืนให้โดยไม่มีดอกเบี้ย

  • การชําระเงิน (13 ก) ผู้ซ้ือตกลงชําระเงินค่าสิ่งของตามข้อ ๑ ให้แก่ผู้ขาย เมื่อผู้ซื้อได้รับมอบสิ่งของ ตามข้อ ๕ ไว้โดยครบถ้วนแล้ว (13 ข) ผู้ซื้อตกลงชําระเงินค่าส่ิงของตามข้อ ๑ ใหแก่ผู้ขาย ดังน้ี ๖.๑ เงินล่วงหน้า จํานวน……....................บาท (… ) จะจ่ายให้ภายใน…….…............(…….........……….) วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา ทั้งน้ี โดยผู้ขายจะต้องนํา หลักประกันเงินล่วงหน้าเป็น (หนังสือคํ้าประกันหรือหนังสือค้ําประกันอิเล็กทรอนิกส์ของ ธนาคารภายในประเทศหรือพ ธบัตรรัฐบาลไทย)… เต็มตามจํานวนเงินล่วงหน้าท่ีจะได้รับ มามอบ ให้แก่ผู้ซื้อเป็นหลักประกันการชําระคืนเงินล่วงหน้าก่อนการรับชําระเงินล่วงหน้าน้ัน และผู้ซื้อจะคืน หลกประกันเงินล่วงหน้าให้แก่ผ ายเม่ ผู้ซื้อจ่ายเง ที่เหลือตามข

  • อัตราค่าปรับ ค่าปรับตามแบบสัญญาจ้างแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์นี้ หรือข้อตกลง จ้างเป็นหนังสือจะกำหนด ดังนี้ ๘.๑ กรณีที่ผู้รับจ้างนำงานที่รับจ้างไปจ้างช่วงให้ผู้อื่นทำอีกทอดหนึ่งโดยไม่ได้รับ อนุญาตจากสำนักงาน จะกำหนดค่าปรับสำหรับการฝ่าฝืนดังกล่าวเป็นจำนวนร้อยละ ๑๐.๐๐ ของวงเงินของ งานจ้างช่วงนั้น ๘.๒ กรณีที่ผู้รับจ้างปฏิบัติผิดสัญญาจ้างนอกเหนือจากข้อ ๘.๑ จะกำหนดค่าปรับ เป็นรายวันในอัตราร้อยละ ๐.๑๐ ของราคาค่าจ้าง

  • การหักเงินประกันผลงาน ในการจ่ายเงินค่าจ้างให้แก่ผู้รับจ้างแต่ละงวด ผู้ว่าจ้างจะหักเงินจำนวนร้อยละ - ของเงินที่ต้องจ่ายในงวดนนั้ เพื่อเป็นประกันผลงาน ในกรณีที่เงินประกันผลงานถูกหักไว้แลวเป็นจำนวนเงินไม่ต่ำกว่า - บาท ผู้รับจ้างมีสิทธที่จะขอเงินประกันผลงาน คืน โดยนำหนังสือค้ำประกันของธนาคารหรือหนังสือค้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งออกโดยธนาคารภายในประเทศมามอบให้ผู้ว่าจ้างเพื่อ เป็นหลักประกันแทนก็ได้ ผู้ว่าจ้างจะคืนเงินประกันผลงาน และ/หรือหนังสือค้ำประกันของธนาคารดังกล่าวตามวรรคหนึ่งโดยไม่มี ดอกเบี้ยให้แก่ผู้รับจ้างพร้อมกับการจ่ายเงินค่าจ้างงวดสุดท้าย

  • เอกสารแนบท้ายเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ๑.๑ ร่างรายละเอียดขอบเขตของงานทั้งโครงการ (Terms of Reference : TOR) ๑.๒ แบบใบเสนอราคาที่กำหนดไว้ในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ๑.๓ แบบสัญญาจ้างก่อสร้าง ๑.๔ แบบหนังสือค้ำประกัน (๑) หลักประกันสัญญา ๑.๕ สูตรการปรับราคา ๑.๖ บทนิยาม (๑) ผู้ที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน (๒) การขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรม ๑.๗ แบบบัญชีเอกสารที่กำหนดไว้ในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (๑) บัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ (๒) บัญชีเอกสารส่วนที่ ๒ ๑.๘ แผนการใช้พัสดุที่ผลิตภายในประเทศและแผนการใช้เหล็กที่ผลิตภายในประเทศ ๑.๙ แผนการทำงาน

  • การควบคุมงานของผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องควบคุมงานที่รับจ้างอย่างเอาใจใส่ ด้วยประสทธิภาพและความชำนาญ และในระหว่างทำงานที่ รับจ้างจะต้องจัดให้มีผู้แทนซึ่งทำงานเต็มเวลาเป็นผู้รับผิดชอบควบคุมงานของ ผู้รับจา้ ง ผู้แทนดังกล่าวจะต้องได้รับมอบอำนาจจากผู้ รับจ้าง คำสั่งหรือคำแนะนำต่างๆ ที่ผู้ว่าจ้าง คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษาที่ผู้วา่ จ้างแต่งตั้ง ได้แจ้งแก่ ผู้แทนเช่นว่านั้น ให้ถือว่าเป็นคำสั่งหรือคำแนะนำที่ได้แจ้งแก่ผู้รับจ้าง การแต่งตั้งผู้แทนตามข้อนี้จะต้องทำเป็นหนงสือและต้องได้รับความ เห็นชอบเป็นหนังสือ จากผู้ว่าจ้าง การเปลี่ยนตัวหรือแต่งตั้งผู้แทนใหม่จะทำมิได้หากไม่ได้รับความเห็นชอบ เป็นหนังสือจากผู้ว่าจ้างก่อน ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะขอให้เปลี่ยนตัวผู้แทนตามวรรคหนึ่ง โดยแจ้งเป็นหนังสือไปยังผู้รับจ้าง และผู้รับจ้างจะต้องทำ การเปลี่ยนตัวผู้แทนนั้นโดยพลัน โดยไม่คิดค่าจ้างหรือราคาเพิ่มหรืออ้างเป็นเหตุเพื่อขยายอายุสัญญาอันเนื่องมาจากเหตุนี้