EFFECT BETAWEEN LEASES AND THE FINANCIAL RATIOS OF TFRS16 LEASES: A CASE OF LISTED COMPANIES IN
ผลกระทบระหว่างสัญญาเช่า ด้านผู้เช่า ต่ออัตราส่วนทางการเงิน ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า: กรณีศึกษา บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
โดย นางสาวxxxxxx ยอดเพชร
การค้นคว้าxxxxxxxxเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต
xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
ปีการศึกษา 2563
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
ผลกระทบระหว่างสัญญาเช่า ด้านผู้เช่า ต่ออัตราส่วนทางการเงิน ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า: กรณีศึกษา บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
โดย
นางสาวxxxxxx ยอดเพชร
การค้นคว้าxxxxxxxxเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บัญชีมหาบัณฑิต
xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
ปีการศึกษา 2563
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
EFFECT BETAWEEN LEASES AND THE FINANCIAL RATIOS OF TFRS16 LEASES: A CASE OF LISTED COMPANIES IN
THE STOCK EXCHANGE OF THAILAND
BY
MISS WALAIPHON YOTPHET
AN INDEPENDENT STUDY SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF MASTER OF ACCOUNTING FACULTY OF COMMERCE AND ACCOUNTANCY
THAMMASAT UNIVERSITY ACADEMIC YEAR 2020
COPYRIGHT OF THAMMASAT UNIVERSITY
28 BกøчคB 2564
หัวข้อการค้นคว้าxxxxx ผลกระทบระหว่างสัญญาเช่า ด้านผู้เช่า ต่ออัตราส่วน ทางการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า: กรณีศึกษา บริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ชื่อผู้เขียน นางสาวxxxxxx ยอดเพชร
xxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxx
xxxxxxxx/คณะ/xxxxxxxxxxx xxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxธรรมศาสตร์
xxxxxxxxxxปรึกษาการค้นคว้าxxxxx รองศาสตราจารย์ xx. xxxxx xxxxxxxxx xxxxxศึกษา 2563
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยครั้งนี้เพื่อxxxxxxxกระทบอัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญด้านผู้เช่า ภายหลังจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ซึ่งนำมาใช้ แทนมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2560) เรื่อง สัญญาเช่า ของบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (งานวิจัยฉบับนี้ได้จัดทำในช่วง 10 สิงหาคม 2563 – 30 พฤศจิกายน
2563) โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากงบการเงินรอบบัญชี 31 ธันวาคม 2562 และ 31 มีนาคม 2563
และหมายเหตุประกอบงบการเงินในไตรมาสที่ 1 ของงวดสิ้นสุด 31 มีนาคม 2563 และ 30 มิถุนายน
2563 ที่เปิดเผยผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเนื่องจากการนำมาตรฐานการ รายงานทางการเงินxxxxxxถือปฏิบัติใช้ ทั้งนี้กลุ่มตัวอย่าง คือบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยเฉพาะกลุ่ม SET จำนวน 475 บริษัท โดยxxxxxxรวมกลุ่มธุรกิจการเงิน และบริษัทที่ เปิดเผยข้อมูลไม่ครบถ้วน โดยบริษัทส่วนใหญ่ใช้วิธี Modified Retrospective Approach ในการ บันทึกบัญชีสัญญาเช่า การวิเคราะห์ข้อมูลได้ใช้สถิติเชิงพรรณนา และทำการทดสอบความแตกต่าง ผลกระทบของอัตราส่วนทางการเงินก่อนและหลังจากการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่ามาปฏิบัติใช้ จึงใช้การวิเคราะห์การทดสอบ Paired-Samples T-Test ผลการวิจัยพบว่า อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น มีทิศทางการเปลี่ยนแปลงที่ลดลง ที่
ระดับความxxxxxxxxxร้อยละ 95 และอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรพย์
มีทิศทางการเปลี่ยนแปลงที่xxxxxขึ้น ที่ระดับความxxxxxxxxxร้อยละ 99 ซึ่งเป็นไปในทิศทางที่ IASB
คาดการณ์ไว้ นอกจากนี้ยังพบว่ากลุ่มอุตสาหกรรมที่xxxxxxxxกระทบจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ต่ออัตราส่วนทางการเงินมากที่สุด ได้แก่ กลุ่ม อุตสาหกรรมเทคโนโลยี และกลุ่มอุตสาหกรรมบริการ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของอัตราส่วนทางการเงิน หลังปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ส่งผลกระทบในแง่ลบทั้ง ต่อกิจการ และนักลงทุน เนื่องจากอาจทำให้มีผลกระทบในทางลบต่อราคาหลักทรัพย์ของกิจการได้ เนื่องจากอัตราส่วนทางการเงินที่เปลี่ยนไป อีกทั้งยังอาจทำให้กิจการไม่xxxxxxปฏิบัติตามเงื่อนไขการ ดำรงอัตราส่วนทางการเงินของสัญญากู้ยืมเงินที่มีอยู่เดิมได้ ดังนั้นผู้ใช้งบกา รเงินเมื่อทราบถึง ผลกระทบของมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ ก็xxxxxxจะใช้ความระมัดระวังในการนำตัวเลข ในงบการเงินไปใช้ในการวิเคราะห์ รวมถึงผู้บริหารของกิจการxxxxxxxxxxกระทบจากมาตรฐานใหม่ นี้อย่างละเอียด เพื่อทำความเข้าใจ และประเมินผลกระทบxxxxxxจะเกิดขึ้น และเตรียมความพร้อมใน การสื่อสารกับผู้ใช้งบการเงินเพื่อให้เข้าใจผลกระทบที่เกิดขึ้น
คำสำคัญ: มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาเช่า, มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า, ผู้เช่า, สัญญาเช่า, อัตราส่วนทางการเงิน, บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย กลุ่ม SET
Independent Study Title EFFECTS BETAWEEN LEASES AND THE FINANCIAL
RATIOS OF TFRS16 LEASES: A CASE OF LISTED COMPANIES IN THE STOCK EXCHANGE OF THAILAND
Author Miss Xxxxxxxxx Xxxxxxx
Degree Master of Accounting
Major Field/Faculty/University Accounting
Commerce and Accountancy Thammasat University
Independent Study Advisor Associate Professor Xxxxxxx Xxxxxxxxxxxx, Ph.D. Academic Year 2020
ABSTRACT
The purpose of this study is to examine the significant impacts on financial ratios for the lessee after applying the TFRS16, which will be adopted to supersede TAS17 (revised 2017) for Listed Companies in the Stock Exchange of Thailand (SET). Data was collected for 10 August to 30 November 2020 from financial statements as of 31 December 2019 and 31 March 2020 and notes to financial statements for the first quarter of 2020 indicating the cumulative impact of policy change in accounting policies due to the adoption of new financial reporting standards related to TFRS16 “leases” in first quarter financial statements as of 31 March 2021 and 30 June 2021. The samples of this research are 475 listed companies in the SET Index, excluding financial sector companies and those with incomplete data disclosure. Most of the companies used the modified retrospective approach to record account for the leases. The research uses descriptive statistics for data analysis and test for differences in the effects of financial ratios, before and after the implementation of TFRS 16 on leases and using the test analysis Paired-Samples T-Test.
The results show that Return on Equity (ROE) decreased at the confidence level of 99 percent, whereas Debt to Equity ratio (DE Ratio) and Debt to Total Asset ratio
increased at the confidence level of 95 percent, which is consistent as International Accounting Standards Board (IASB) predicted. In addition, the industry groups that most affected by the implementation of TFRS 16 leases to financial ratios were the technology and service industry. The change in financial ratios after the implementation of TFRS 16 “Leases” has a negative impact on both of the company and investors. As it may have a negative impact on the securities prices of their entities due to the suddenly change in financial ratios. Moreover, the company may be unable to comply with the conditions to maintain the financial ratios of the existing loan agreements. Therefore, when the users of financial statements realized the impacts of this financial reporting standard change, they should be aware to use the figures in the financial statement for xxxxxxxxxxx. Moreover, management team should carefully study the impact of this new TFRS to understand and assess the impact that may occur. So, the company can communicate and explain to the users of financial statements to understand the impacts.
Keywords: TAS 17, TFRS16, Lessee, Leases, Financial ratios, Stock Exchange of Thailand (SET).
กิตติกรรมประกาศ
งานค้นคว้าxxxxxฉบับนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยความxxxxxและความช่วยเหลืออย่างดีจากxxxxxxx xxxปรึกษาการค้นคว้าxxxxx รองศาสตราจารย์ xx. xxxxx xxxxxxxxx ที่xxxxxให้คำปรึกษา รับฟังปัญหา และคำแนะนำ ตลอดจนสละเวลาในการตรวจทานงานวิจัยฉบับนี้ จนทำให้งานวิจัยฉบับนี้เสร็จ xxxxxxxxxxสำเร็จในxxxxxx และขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร. มนวิกา xxxxxxxxxx ที่มาเป็น คณะกรรมการสอบการค้นคว้าxxxxx และให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไขงานวิจัย ฉบับนี้ให้เสร็จxxxxxxxยิ่งขึ้น
ผู้วิจัยกราบขอบพระคุณบิดา xxxxx xxxสาว และเพื่อนสนิททุกท่าน xxxxxxคอยให้กำลังใจและ ให้การสนับสนุนด้านการเรียน รวมถึงเพื่อนร่วมงาน และเพื่อนๆ กลุ่ม MAP 16 ที่ช่วยรับฟังปัญหา เป็นที่ปรึกษา และให้กำลังใจให้ผู้วิจัยเสมอมาจนสำเร็จการศึกษา
สุดท้ายนี้ผู้วิจัยxxxxว่างานวิจัยฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการค้นคว้าต่อผู้ที่สนใจ หากงานวิจัยนี้มีข้อผิดพลาดประการใด ทางผู้วิจัยต้องขออภัยมา ณ ที่นี้
นางสาวxxxxxx ยอดเพชร
สารบัญ | ||
บทคัดย่อภาษาไทย | หน้า (1) | |
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ | (3) | |
กิตติกรรมประกาศ | (5) | |
สารบัญตาราง | (8) | |
บทที่ 1 บทนำ | 1 | |
1.1 ที่มาและความสำคัญ | 1 | |
1.2 วัตถุประสงค์งานวิจัย | 2 | |
1.3 ขอบเขตของงานวิจัย | 2 | |
1.4 ประโยชน์ที่จะได้รับ | 2 | |
บทที่ 2 วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง | 3 |
2.1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3
2.2 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2560) เรื่องสัญญาเช่า 4
2.3 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า 9
2.4 สรุปความแตกต่างที่สำคัญและผลกระทบของมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12
17 (ปรับปรุง 2560) เรื่องสัญญาเช่า และมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า
2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 17
2.6 ตัวอย่างประกอบการคำนวณสัญญาเช่า ตามมาตรฐานการรายงานทาง 18
การเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า
2.7 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญ 28
2.8 สมมติฐานงานวิจัย 29
บทที่ 3 วิธีการวิจัย 31
3.1 การกำหนดxxxxxxxxxxใช้ในการศึกษาและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง 31
3.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล 33
3.3 การวิเคราะห์ข้อมูล 33
บทที่ 4 ผลการวิจัยและอภิปรายผล 34
4.1 การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนาข้อมูลทั่วไปของกลุ่มบริษัทจดทะเบียนใน 35
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกลุ่ม SET
4.2 การวิเคราะห์สถิติเชิงxxxxxxของผลการทดสอบสมมติฐาน 38
4.3 การอภิปรายผล 44
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ 46
5.1 สรุปผลการวิจัย 46
5.2 ข้อจำกัดของงานวิจัย 48
5.3 ข้อเสนอแนะสำหรับงานวิจัยในxxxxx 48
รายการอ้างอิง 49
ภาคผนวก 52
ประวัติผู้เขียน 69
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
2.1 สรุปเปรียบเทียบxxxxxxxxxxเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ที่แตกต่างกันในฝั่งผู้เช่า 13
ระหว่างมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16
2.2 ผลกระทบที่คาดว่าจะกระทบต่องบแสดงฐานะการเงินฝั่งผู้เช่า 14
2.3 ผลกระทบที่คาดว่าจะกระทบต่องบกำไรขาดทุนฝั่งผู้เช่า 15
2.4 ผลกระทบที่คาดว่าจะกระทบต่องบกระแสเงินสดฝั่งผู้เช่า 16
2.5 การคำนวณบัญชีหนี้สินxxxxxxxxเช่า ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 19
ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า
2.6 ตารางแสดงการคำนวณxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ และรับรู้ค่าเสื่อมราคา 21
2.7 การนำเสนองบการเงินสำหรับรายการบันทึกบัญชีค่าเช่า 22
2.8 สรุปผลกระทบจากการนำร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 30
เรื่องสัญญาเช่า มาปฏิบัติใช้ต่ออัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญ
3.1 จำนวนxxxxxxxxxxใช้ในการศึกษา 32
3.2 จำนวนxxxxxxxxxxใช้ศึกษา แยกตามกลุ่มอุตสาหกรรม 32
4.1 สรุปวิธีปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน 34
ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่ามาถือปฏิบัติครั้งแรกของกลุ่มตัวอย่าง
4.2 วิเคราะห์ขนาดสินทรัพย์ หนี้สิน ก่อนและหลังใช้มาตรฐานการรายงานทาง 35
การเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า
4.3 วิเคราะห์ค่าสถิติเชิงพรรณนา ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง 35
ประเทศไทย ในกลุ่ม SET โดยจำแนกตามอัตราส่วนทางการเงิน
4.4 วิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 36
โดยจำแนกตามอัตราส่วนทางการเงินก่อนและหลังนำมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า มาปฏิบัติใช้ โดยจำแนกตามวิธีปฏิบัติ ทางบัญชีทั้ง 3 วิธี
4.5 ผลการวิเคราะห์สถิติเชิงxxxxxxโดยใช้วิธี Paired Sample T -Test ซึ่งเป็น 38
การทดสอบผลกระทบต่ออัตราส่วนทางการเงินก่อนและหลังนำมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่ามาถือปฏิบัติครั้งแรก
4.6 ผลการวิเคราะห์การทดสอบผลกระทบต่ออัตราส่วนทางการเงินก่อนและ 39
หลังจากมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า มีผล บังคับใช้ ซึ่งจำแนกเป็นกลุ่มอุตสาหกรรม โดยใช้การทดสอบ Paired Sample T-Test
4.7 ผลการวิเคราะห์การทดสอบผลกระทบต่ออัตราส่วนทางการเงินก่อนและ 43
หลังจากมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า มีผล บังคับใช้สำหรับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่ง จำแนกตามวิธีปฏิบัติทางบัญชีทั้ง 3 วิธี โดยใช้การทดสอบ Paired Sample T- Test
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ที่มาและความสำคัญ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อxxxxxxxกระทบระหว่างสัญญาเช่า ด้านผู้เช่าต่ออัตราส่วน ทางการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาxxxx xxxมีผลบังคับใช้สำหรับ งบการเงินที่มีรอบบัญชีที่เริ่มในหรือหลังxxxxxx 1 xxxxxx 2563 โดยมาตรฐานฉบับนี้ได้กำหนด หลักการของการรับรู้รายการ การวัดxxxxxx การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลของสัญญาเช่า และกำหนดให้ผู้เช่ารับรู้สินทรัพย์และหนี้สินสำหรับสัญญาเช่าทุกรายการที่มีระยะเวลาในการ เช่า มากกว่า 12 เดือนเว้นแต่สินทรัพย์อ้างอิงนั้นมีxxxxxxต่ำ โดยประการที่สำคัญของการเปลี่ยนแปลงของ มาตรฐานฉบับนี้คือก่อนหน้าที่จะมาใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 บริษัทฝั่งผู้เช่ารับรู้ รายการเช่าประเภทต่างๆ เป็นสัญญาเช่าxxxxxxงาน โดยไม่ต้องรับรู้รายการสินทรัพย์และหนี้สินที่เกิด จากสัญญาเช่าไว้ในงบการเงิน เพียงแค่เปิดเผยรายการในส่วนของนอกงบแสดงฐานะการเงิน โดยเป็น ภาระผูกพันในหมายเหตุประกอบงบการเงิน และจะแสดงค่าเช่าเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุน ซึ่ง คาดการณ์ว่าหลังจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 มีผลบังคับใช้ ฝ่ายบริหารของแต่ละ บริษัทฯ จะต้องพิจารณาสัญญาเช่าแต่ละฉบับว่าเข้าองค์ประกอบหรือไม่ ถ้าหากเข้าองค์ประกอบก็ ต้องบันทึกสินทรัพย์และหนี้สินเข้ามาในงบการเงิน ซึ่งวิธีการบัญชีนี้จะส่งผลให้การนำเสนอสินทรัพย์ และหนี้สินของผู้เช่าเป็นตัวแทนอันxxxxxxxxxxมากขึ้นรวมทั้งยังxxxxxการเปิดเผยข้อมูลซึ่งจะสะท้อน สภาพความเสี่ยงทางการเงินและเงินทุนของผู้เช่าxxxxxขึ้น โดยอาจจะส่งผลกระทบต่องบการเงินและ อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญ อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อกิจการในหลายกลุ่มอุตสาหกรรมที่ส่วนใหญ่ใช้ วิธีการเช่าแบบxxxxxxงานอีกด้วย และประกอบกับมีงานวิจัยของปีก่อนหน้าที่มีการxxxxxxxกระทบ ของมาตรฐานฉบับนี้สำหรับ SET 100 (นางสาวxxxxxx, 2561) โดย ณ ขณะนั้นมาตรฐานฉบับนี้ยัง xxxxxxมีผลบังคับใช้ และมีข้อจำกัดในส่วนของการคาดการณ์ของตัวเลขที่คาดว่าจะมีกระทบกับ มาตรฐานฉบับนี้ โดยในปีนี้ข้าพเจ้าจึงสนใจที่จะทำการศึกษาอีกครั้งสำหรับบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ โดยหลังจากที่แต่ละบริษัทฯ ต้องบันทึกผลกระทบเข้าไปในงบการเงินแล้วเพื่อเป็นการ ยืนยันผลการศึกษาของครั้งก่อนหน้าและการคาดการณ์ของผู้ที่เกี่ยวข้องว่าเป็นไปตามสิ่งที่คาดการณ์ ไว้หรือไม่
1.2 วัตถุประสงค์งานวิจัย
วัตถุประสงค์งานวิจัยครั้งนี้เพื่อxxxxxxxกระทบระหว่างสัญญาเช่า ฝั่งผู้เช่าต่ออัตราส่วนทาง การเงิน ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาxxxx xxxมีผลบังคับใช้สำหรับงบ การเงินที่มีรอบบัญชีที่เริ่มในหรือหลังxxxxxx 1 xxxxxx 2563 หลังจากการเปลี่ยนแปลงการจัดประเภท สัญญาเช่าของฝั่งผู้เช่า ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
1.3 ขอบเขตของงานวิจัย
การศึกษางานวิจัยครั้งนี้xxxxxxxxxxxxxxกระทบของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับ ที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า กับอัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญ ด้านผู้เช่า ของบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) โดยใช้ข้อมูลงบการเงินของปี 2562 ณ 31 ธันวาคม 2562 และ 31
มีนาคม 2563 และศึกษาข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 1 ของรอบบัญชีที่เริ่มในหรือหลังxxxxxx 1
xxxxxx 2563 สำหรับงบการเงินสิ้นสุด 31 มีนาคม 2563 และ 30 มิถุนายน 2563 (สำหรับรอบ ระยะเวลาบัญชี 31 ธันวาคม และ 31 มีนาคม) ซึ่งเป็นการเปิดเผยผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลง นโยบายบัญชีการบัญชีจากการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินxxxxxxถือปฏิบัติ
1.4 ประโยชน์ที่จะได้รับ
ช่วยทำให้ผู้ใช้งบการเงินทราบถึง ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของงบการเงินในฝั่งผู้เช่า ต่ออัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญหลังจากนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญา เช่า มาถือปฏิบัติใช้ เพื่อให้สะท้อนงบการเงิน ผลการxxxxxxงานของบริษัทฯ มากขึ้น ให้เห็นxxxxxxมี สิทธิ์การครอบครองการใช้สินทรัพย์และการจัดหาเงินทุนเพื่อให้ได้มาซึ่งxxxxxxxxx xxxx ไปกู้ธนาคาร เป็นต้น และใช้ประกอบการตัดสินใจลงทุนหรือเปลี่ยนแปลงแผนการลงทุนต่อไปสำห รับนักลงทุน และในส่วนของธนาคารที่จะได้รับทราบตัวเลขหรือภาระหนี้สินที่มี และxxxxxxxxxxxxมีของบริษัทฯ โดย นำไปพิจารณาสัดส่วนโครงสร้างเงินทุน xxxx อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน เป็นต้น ยิ่งไปกว่านั้นทำให้บริษัท ฯ ทราบถึงวิธีปฏิบัติทางการบัญชี การตีความ เพื่อเตรียมความพร้อมหลังจากมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับนี้มีผลบังคับใช้
บทที่ 2
วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยเรื่อง “ผลกระทบระหว่างสัญญาเช่า ด้านผู้เช่าต่ออัตราส่วนทางการเงินตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า สำหรับกรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย” ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ซึ่งประกอบด้วย
2.1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
2.2 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุงปี 2560) เรื่องสัญญาเช่า
2.3 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า
2.4 สรุปความแตกต่างและผลกระทบของมาตรฐานบัญชีฉบับที่ 17 เรื่องสัญญาเช่า และมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า
2.5 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.6 ตัวอย่างประกอบการคำนวณสัญญาเช่า ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า
2.7 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญ
2.8 สมมติฐานงานวิจัย
2.1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ในปีพ.ศ. 2538 ตลาดหลักทรัพย์xxxxxxxxxxxxxพัฒนาอย่างต่อเนื่องและรวดเร็วของตลาด ทุนไทยตลอดระยะเวลา 2 xxxxxx ดังนั้นเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับการเจริญเติบโตและ ความxxxxxxxxของนวัตกรรมทางการเงิน ตลาดหลักทรัพย์จึงได้ริเริ่มการคำนวณ SET 50 Index เพื่อ ใช้เป็นดัชนีอ้างอิง (Underlying Index) สำหรับการออกสินค้าและผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อxxxxx ประสิทธิภาพในการลงทุนแก่นักลงทุน โดยเฉพาะการออกตราสารxxxxxxxxxxxx Index Future และ Index Options ซึ่งเป็นตราสารที่xxxxใช้อย่างกว้างขวางสำหรับบริหารความเสี่ยงจากการลงทุนใน ตลาดหลักทรัพย์ในระดับxxxx (ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 2556) สาเหตุที่ผู้วิจัยเลือกประชากรของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เนื่องจาก ต้องการทราบถึงผลกระทบหลังจากการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เป็นมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16
ของบริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทั้งหมด ซึ่งจะช่วยยืนยันว่ามาตรฐานการรายงานทาง การเงินฉบับนี้กระทบกับบริษัทนั้นอย่างไรบ้าง เพื่อให้นักลงทุนที่ลงทุนในบริษัทนั้นพิจารณาการลงทุน ต่อไป และเป็นประโยชน์กับผู้ใช้งบการเงินในการวิเคราะห์งบการเงินต่อไป
2.2 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุงปี 2560) เรื่องสัญญาเช่า
สัญญาเช่า หมายถึง สัญญาหรือข้อตกลงที่ผู้ให้เช่าสัญญาหรือข้อตกลงที่ผู้ให้เช่าให้xxxxxแก้ผู้เช่าในการ ใช้สินทรัพย์สำหรับช่วงเวลาที่ตกลงกันเพื่อแลกเปลี่ยนกับค่าตอบแทน ซึ่งได้รับชำระในงวดเดียวหรือ หลายงวด
ประเภทของสัญญาตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 ซึ่ง สัญญาเช่าตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ถูก แบ่งออกเป็น 2 ประเภทด้วยกัน คือ
1. สัญญาเช่าการเงิน (Finance Lease) หมายถึง สัญญาxxxxxxxทำให้xxxxxxxโอนความเสี่ยงและ ผลตอบแทนทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมดที่ผู้เป็นเจ้าของพึงได้รับจากสินทรัพย์ให้แก่ผู้xxxx xxxว่าในที่สุด การโอนกรรมสิทธิ์จะเกิดขึ้นหรือไม่ ในการจัดประเภทสัญญาเช่าเป็นสัญญาเช่าการเงินหรือสัญญาเช่าxxxxxxงาน กิจการต้องพิจารณาถึง เนื้อหาของรายการมากกว่ารูปแบบxxxxxxxxตามxxxxกิจการต้องจัดประเภทสัญญาเช่า เป็นสัญญา เช่าการเงินหากสัญญานั้นทำให้เกิดสถานการณ์ต่อไปนี้อย่างน้อยหนึ่งสถานการณ์ ดังนี้คือ
สถานการณ์ที่ 1. สัญญาเช่าโอนความเป็นเจ้าของในสินทรัพย์ให้แก่ผู้เช่าเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาของ สัญญาเช่า
สถานการณ์ที่ 2. ผู้เช่ามีxxxxxเลือกซื้อสินทรัพย์ด้วยราคาที่ต่ำกว่าxxxxxxยุติธรรม ณ xxxxxxxxxxxเลือกซื้อ เกิดขึ้น โดยราคาตามxxxxxเลือกซื้อนั้นมีจำนวนต่ำกว่าxxxxxxยุติธรรมของสินทรัพย์มาก xxxxxxxxxxจะ ทำให้เกิดความแน่ใจอย่างxxxxxxxxxx x วันเริ่มต้นของสัญญาเช่าว่า ผู้เช่าจะใช้xxxxxเลือกซื้อ สินทรัพย์นั้น
สถานการณ์ที่ 3. ระยะเวลาของสัญญาเช่าครอบคลุมอายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจส่วนใหญ่ของ สินทรัพย์ แม้ว่าจะไม่มีการโอนกรรมสิทธิ์เกิดขึ้น
สถานการณ์ที่ 4. ณ วันเริ่มต้นของสัญญาxxxxxxxxxxปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่จะต้องจ่ายมีจำนวน เท่ากับ หรือเกือบเท่ากับxxxxxxยุติธรรมของสินทรัพย์xxxxxxx
สถานการณ์ที่ 5. สินทรัพย์xxxxxxxจะมีลักษณะเฉพาะเจาะจงจนกระทั่งมีผู้เช่าเพียงผู้เดียวที่xxxxxxใช้ สินทรัพย์นั้นได้ โดยxxxxxxต้องนำสินทรัพย์ดังกล่าวมาทำการดัดแปลงที่สำคัญ
จากสถานการณ์ทั้ง 5 ข้างต้น ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 นี้ กำหนดให้ต้องพิจารณาข้อบ่งช้ีถึง สถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่งหรือหลายสถานการณ์รวมxxxxxxทำให้xxxxxxจัดสัญญาเช่าเป็นสัญญา เช่าการเงินได้ ดังต่อไป
ข้อบ่งชี้ข้อ 1. หากผู้เช่าxxxxxxยกเลิกสัญญาxxxxxxx และผู้เช่าเป็นผู้รับผิดชอบผลxxxxxxxxxxเกิดกับ ผู้ให้เช่าเนื่องจากยกเลิกนั้น
ข้อบ่งชี้ข้อ 2. ผู้เช่าเป็นผู้ที่xxxxxxxxกำไรหรือผลขาดทุนจากการxxxxxxของxxxxxxยุติธรรมของxxxxxx คงเหลือ (ตัวอย่างxxxx xxxxxxยุติธรรมของxxxxxxคงเหลือที่อยู่ในรูปของค่าxxxxxxxผู้ให้เช่าลดให้ซึ่งรวม แล้วมีจำนวนเท่ากับส่วนใหญ่ของจำนวนxxxxxxรับจากการขายxxxxxxคงเหลือ ณ วันสิ้นสุดสัญญาเช่า) ข้อบ่งชี้ข้อ 3. ผู้เช่าxxxxxxต่อสัญญาเช่าครั้งที่สองด้วยการจ่ายค่าxxxxxxxมีจำนวนต่ำกว่าค่าเช่าในตลาด อย่างเป็นนัยสำคัญ
2. สัญญาเช่าxxxxxxงาน (Operating Lease)
หมายถึง สัญญาที่มิใช่สัญญาเช่าทางการเงิน คือ เป็นสัญญาxxxxxxxผู้ให้xxxxxxxxxโอนความเสี่ ยงและ ผลตอบแทนทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมดที่ผู้เป็นเจ้าของพึงได้รับจากสินทรัพย์ไปให้แก่ผู้เช่า
การบันทึกรายการบัญชีสำหรับสัญญาเช่าการเงิน
1.ด้านผู้xxxx
x xxxxxxสัญญาเช่าเริ่มมีผล ผู้เช่าต้องรับรู้สัญญาเช่าการเงินเป็นสินทรัพย์และหนี้สินในงบแสดงฐานะ การเงินของผู้เช่าด้วยจำนวนเงินเท่ากับxxxxxxยุติธรรมของสินทรัพย์xxxxxxx หรือxxxxxxปัจจุบันของ จำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายแล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า ซึ่งxxxxxxx x xxxxxxเริ่มต้นของสัญญาเช่า ส่วน อัตราคิดลดในการคำนวณxxxxxxปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่จะต้องจ่าย นั้นจะต้องใช้อัตราดอกเบี้ย ตามนัยของสัญญาเช่าหากxxxxxxกำหนดได้ หากไม่xxxxxxหาอัตราดอกเบี้ยนั้นxxx xxให้ใช้อัตรา ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมส่วนxxxxxของผู้เช่าเป็นอัตราคิดลด และต้นทุนทางตรงxxxxxแรกของผู้เช่าต้องรวมเป็น ส่วนหนึ่งของต้นทุนxxxxxxxxxxxxรับรู้
การวัดxxxxxxภายหลังการรับรู้เริ่มแรก ก็คือ จำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายต้องนำมาแยกเป็นค่าใช้จ่ายทางการเงินและส่วนที่จะนำไปลดหนี้สินที่ยัง xxxxxxชำระ ค่าใช้จ่ายทางการเงินต้องxxxxxxxให้กับงวดต่างๆ ตลอดอายุสัญญาเช่าเพื่อทำให้อัตรา ดอกเบี้ยแต่ละงวดเป็นอัตราxxxxxสำหรับยอดคงเหลือของหนี้สินที่เหลืออยู่แต่ละงวดค่าxxxxxxxอาจ เกิดขึ้น บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิดรายการ ส่วนนโยบายการxxxxxxเสื่อมสำหรับสินทรัพย์เสื่อมสภาพxxxxxxxต้องสอดคล้องกับวิธีการxxxxxxเสื่อม ราคาของสินทรัพย์เสื่อมสภาพซึ่งกิจการเป็นเจ้าของ และค่าเสื่อมราคาที่รับรู้ต้องคำนวณตามเกณฑ์ที่
ระบุไว้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และมาตรฐานการบัญชี ฉบับ ที่ 38 xxxxxxxxxxxxxxxไม่มีตัวตน หากไม่มีความแน่นอนอย่างxxxxxxxxxxxxxผู้เช่าจะเป็นเจ้าของ สินทรัพย์เมื่ออายุสัญญาเช่าสิ้นสุดลง ผู้เช่าต้องตัดค่าเสื่อมราคาของสินทรัพย์ให้หมดภายในอายุ สัญญาเช่าหรืออายุการให้ประโยชน์แล้วแต่อายุใดจะสั้นกว่า
การเปิดเผยข้อมูล
ผู้เช่าต้องเปิดเผยข้อมูลตามข้อกำหนดที่ระบุในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เรื่องการ เปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน โดยผู้เช่าต้องเปิดเผยข้อมูลสำหรับสัญญาเช่าการเงิน เพิ่มเติมดังนี้
1. xxxxxxตามบัญชีxxxxx x xxxxxxxรอบระยะเวลาการรายงานสำหรับสินทรัพย์แต่ละประเภท
2. การกระทบยอด ณ วันสิ้นสุดรอบระยะเวลารายงานระหว่างจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายทั้งสิ้น กับxxxxxxปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายทั้งสิ้น นอกจากนั้น ณ xxxxxxxรอบระยะเวลา รายงาน กิจการต้องเปิดเผยจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายทั้งสิ้นและxxxxxxปัจจุบันของจำนวน เงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายทั้งสิ้นสำหรับระยะเวลาแต่ละช่วงต่อไปนี้
2.1 ระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปี
2.2 ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี
2.3 ระยะเวลาที่เกินห้าปี
3. ค่าxxxxxxxเกิดขึ้นที่รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนสำหรับงวด
4. จำนวนเงินขั้นต่ำทั้งสิ้นที่คาดว่าจะได้รับในxxxxxจากการให้xxxxxxxxxxxบอกเลิกไม่xxx x xxx xxxxรอบระยะเวลาการรายงาน
5. คำอธิบายโดยทั่วไปของข้อตกลงxxxxxxxxxxxxxxxมีสาระสำคัญของผู้เช่า ซึ่งรวมถึงรายการ ต่อไปนี้
2.ด้านผู้ให้เช่า
5.1 เกณฑ์ในการกำหนดจำนวนที่จะต้องจ่ายสำหรับค่าxxxxxxxอาจเกิดขึ้น
5.2 เงื่อนไขของการต่ออายุสัญญาเช่าหรือเงื่อนไขของxxxxxเลือกซื้อและข้อกำหนด ให้ปรับราคาหรือปรับอัตรา
5.3 ข้อจำกัดที่กำหนดไว้ในสัญญาxxxx xxxxข้อจำกัดเกี่ยวกับเงินปันผล การก่อหนี้ เพิ่มเติม และการทำสัญญาเช่าอื่นเพิ่มเติม
ผู้ให้เช่าต้องรับรู้สินทรัพย์ภายใต้สัญญาเช่าการเงินเป็นลูกหนี้ในงบแสดงฐานะการเงินด้วยจำนวนที่ เท่ากับเงินลงทุนสุทธิในสัญญาเช่า
การวัดxxxxxxภายหลังการรับรู้เริ่มแรก ก็คือ การรับรู้รายได้ทางการเงินต้องขึ้นอยู่กับรูปแบบที่สะท้อนถึงอัตราผลตอบแทนxxxxxในแต่ละงวดข อง เงินลงทุนสุทธิของผู้ให้เช่า ซึ่งคงเหลือxxxxxxxxเช่าการเงินนั้น
การเปิดเผยข้อมูล ผู้ให้เช่าต้องเปิดเผยข้อมูลตามข้อกำหนดที่ระบุในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน โดยผู้เช่าต้องเปิดเผยข้อมูลสำหรับสัญญาเช่ าการเงิน เพิ่มเติมดังนี้
1. การกระทบยอด ณ xxxxxxxรอบระยะเวลาการรายงาน ระหว่างผลรวมของเงินลงทุนขั้นต้น ทั้งสิ้นxxxxxxxxเช่ากับxxxxxxปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ลูกหนี้ต้องจ่ายxxxxxxxxเช่า นอกจากนั้น ณ xxxxxxxรอบระยะเวลารายงาน กิจการต้องเปิดเผยผลรวมของเงินลงทุนขั้นต้น xxxxxxxxเช่าและxxxxxxปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ลูกหนี้ต้องจ่ายxxxxxxxxเช่าสำหรับ ระยะเวลาแต่ละช่วงต่อไปนี้
1.1 ระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปี
1.2 ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี
1.3 ระยะเวลาที่เกินห้าปี
2. รายได้ทางการเงินรอการรับรู้
3. xxxxxxคงเหลือxxxxxxได้รับประกันซึ่งรวมอยู่ในxxxxxxxxxxของผู้ให้เช่า
4. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ลูกหนี้ต้องจ่ายxxxxxxxxxxxxxxxคาดว่าจะเก็บ xxxxxx
5. ค่าxxxxxxxอาจเกิดขึ้นที่รับรู้เป็นรายได้ในงบกำไรขาดทุนสำหรับงวด
6. คำอธิบายทั่วไปของข้อตกลงที่สำคัญxxxxxxxxเช่าของผู้ให้เช่า
การบันทึกรายการบัญชีสำหรับสัญญาxxxxxxงาน
ด้านผู้เช่า ผู้เช่าต้องรับรู้จำนวนเงินที่จ่ายxxxxxxxxเช่าxxxxxxงานเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนตามวิธี เส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า นอกจากจะมีเกณฑ์อื่นที่เป็นระบบซึ่งแสดงถึงประโยชน์ที่ผู้xxxxxxxรับใน ช่วงเวลา โดยจำนวนเงินที่จ่ายxxxxxxxxเช่าxxxxxxงาน (ซึ่งไม่รวมต้นทุนในการให้บริการ xxxx ค่า ประกันภัยและค่าบำรุงรักษา) ต้องรับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนตามวิธีเส้นตรง นอกจากว่าจะ
มีเกณฑ์อื่นที่เป็นระบบซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงประโยชน์ที่ผู้xxxxxxxรับในช่วงเวลา แม้ว่าการจ่ายเงินจะไม่ เป็นไปตามเกณฑ์นั้น
การเปิดเผยข้อมูล
ผู้เช่าต้องเปิดเผยข้อมูลตามข้อกำหนดที่ระบุในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เรื่องการ เปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน โดยผู้เช่าต้องเปิดเผยข้อมูลสำหรับสัญญาเช่าxxxxxxงาน เพิ่มเติมดังนี้
1. จำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายในxxxxxทั้งสิ้นภายใต้สัญญาเช่าxxxxxxงานที่บอกเลิกxxxxxx สำหรับระยะเวลาแต่ละช่วงต่อไปนี้
1.1 ระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปี
1.2 ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี
1.3 ระยะเวลาที่เกินห้าปี
2. จำนวนเงินขั้นต่ำทั้งสิ้นที่คาดว่าจะได้รับในxxxxxจากการxxxxxxxxxxxบอกเลิกไม่xxx x xxxxxxx รอบระยะเวลาการรายงาน
3. จำนวนเงินที่ต้องจ่ายxxxxxxxxเช่าและจำนวนเงินที่จะได้รับxxxxxxxxให้xxxxxxxxxxxรับรู้ใน งบกำไรขาดทุนสำหรับงวด ซึ่งแยกแสดงจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่าย ค่าxxxxxxxอาจเกิดขึ้นและ จำนวนเงินที่จะได้รับจากสัญญาให้xxxxxxxx
4. คำอธิบายโดยทั่วไปของข้อตกลงสำคัญ ที่ผู้เช่าต้องปฏิบัติxxxxxxxxเช่า ซึ่งรวมถึงรายการ ต่อไปนี้
ด้านผู้ให้เช่า
4.1 เกณฑ์ในการกำหนดจำนวนที่ต้องจ่ายสำหรับค่าxxxxxxxอาจเกิดขึ้น
4.2 เงื่อนไขของการต่ออายุหรือเงื่อนไขของxxxxxเลือกซื้อและข้อกำหนดให้ปรับราคา หรือปรับอัตรา
4.3 ข้อจำกัดที่กำหนดไว้ในสัญญาxxxx xxxx ข้อจำกัดเกี่ยวกับเงินปันผลการก่อหนี้ เพิ่มเติม และการทำสัญญาเช่าอื่นเพิ่มเติม
ผู้ให้เช่าต้องแสดงxxxxxxxxxxxxอยู่ภายใต้สัญญาเช่าxxxxxxงานในงบแสดงฐานะการเงินตามลักษณะของ สินทรัพย์ โดยผู้ให้เช่าต้องรับรู้รายได้ค่าเช่าจากสัญญาเช่าxxxxxxงานในงบกำไรขาดทุนตามเกณฑ์ เส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า นอกจากว่าจะมีเกณฑ์อื่นที่เป็นระบบซึ่งแสดงถึงรูปแบบของการได้รับ ประโยชน์ที่ลดลงจากxxxxxxxxxxxxให้เช่า
การxxxxxxเสื่อมราคาของxxxxxxxxxxxxให้เช่าต้องบันทึกโดยใช้เกณฑ์ที่สอดคล้องกับนโยบายการxxxxxx เสื่อมราคาตามxxxxของxxxxxxxxxxxxคล้ายคลึงของผู้ให้เช่า และค่าเสื่อมราคาต้องคำนวณตามเกณฑ์ที่ กำหนดไว้ในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 16 เรื่อง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และฉบับที่ 38 xxxxxx xxxxxxxxxไม่มีตัวตน
การเปิดเผยข้อมูล ผู้ให้เช่าต้องเปิดเผยข้อมูลตามข้อกำหนดที่ระบุในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 7 เรื่อง การเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน โดยผู้เช่าต้องเปิดเผยข้อมูลสำหรับสัญญาเช่า xxxxxxงานเพิ่มเติมดังนี้
1. จำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่ายในxxxxxทั้งสิ้นภายใต้สัญญาเช่าxxxxxxงานที่บอกเลิกxxxxxx สำหรับระยะเวลาแต่ละช่วงต่อไปนี้
1.1 ระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปี
1.2 ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปีแต่ไม่เกินห้าปี
1.3 ระยะเวลาที่เกินห้าปี
2. ค่าxxxxxxxอาจเกิดขึ้นที่รับรู้เป็นรายได้ในงบกำไรขาดทุน
3. คำอธิบายโดยทั่วไปของข้อตกลงที่สำคัญxxxxxxxxเช่าสำหรับผู้ให้เช่า
2.3 มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า
มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ไม่มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในฝั่งผู้ให้เช่า โดยยังxx จัดประเภทสัญญาเช่าเป็นสัญญาเช่าxxxxxxงานหรือสัญญาเช่าการเงิน และบันทึกบัญชีสำหรับสัญญา xxxx xxxxxxxxxxxxแม้หลักการบัญชีหลักสำหรับผู้ให้เช่าจะไม่เปลี่ยนแปลง แต่มีเปลี่ยนแปลง ในส่วน ของคำนิยามของการเช่าเล็กน้อย ส่วนในด้านผู้xxxxxxxมีการกำหนดหลักเกณฑ์พิจารณาใหม่สำหรับ การบัญชีของผู้เช่าโดยฝั่งผู้xxxxxxxต้องทำการจัดประเภทสัญญาเช่าเป็นสัญญาเช่าการเงินหรือสัญญา เช่าxxxxxxงานแล้ว แต่ผู้เช่าต้องรับรู้สินทรัพย์และหนี้สินที่เกิดจากสัญญาเช่าทุกสัญญา เว้นแต่สัญญา เช่าดังกล่าวจะเป็นสัญญาเช่าระยะสั้นซึ่งมีอายุไม่เกิน 12 เดือน โดยพิจารณาตามประเภทของ สินทรัพย์อ้างอิง หรือเป็นสัญญาเช่าซึ่งสินทรัพย์อ้างอิงมีxxxxxxต่ำเมื่อสินทรัพย์นั้นเป็นสินทรัพย์ใหม่ โดยให้xxxxxxเลือกได้แต่ละสัญญา เป็นต้น ซึ่งผู้เช่าxxxxxxเลือกที่จะไม่รับรู้สินทรัพย์และหนี้สินจาก สัญญาเช่าดังกล่าวและรับรู้ค่าxxxxxxxเกี่ยวข้องกับสัญญาเช่าเหล่านั้นเป็นค่าใช้จ่ายตามวิธีเส้นตรงตลอด อายุของสัญญาเช่าหรือตามเกณฑ์อื่นที่เป็นระบบหากเกณฑ์ดังกล่าวสะท้อนถึงรูปแบบที่ผู้xxxxxxxรับ ประโยชน์xxxxxกว่า โดย
สัญญาเช่า หมายถึง สัญญาหรือส่วนของสัญญาที่ผู้ให้เช่าให้xxxxxแก่ผู้เช่าในการใช้สินทรัพย์ (สินทรัพย์ อ้างอิง) สำหรับช่วงระยะเวลาที่ตกลงกันเพื่อแลกเปลี่ยนกับสิ่งตอบแทน ซึ่งผู้ให้เช่ามีxxxxxในการ ควบคุมการใช้xxxxxxxxxxxxระบุได้ โดยพิจารณาว่าได้รับxxxxxxxxจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเกือบ ทั้งหมดจากการใช้xxxxxxxxxxxxระบุ และมีxxxxxกำกับการใช้งานxxxxxxxxxxxxระบุได้ภายใต้มาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับที่ 16 สำหรับxxxxxxxxxxxxเกิดจากสัญญาเช่า (xxxxxxxxใช้สินทรัพย์) ซึ่งผู้เช่า รับรู้ในงบการเงิน ผู้เช่าต้องแสดงรายการxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ในงบแสดงฐานะการเงินแยกต่างหาก จากสินทรัพย์อื่น หรืออาจรวมxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ในรายการรายบรรทัดเดียวกับสินทรัพย์อ้างอิงที่จะ ถูกนำเสนอถ้ากิจการเป็นเจ้าของสินทรัพย์นั้นเองโดยผู้เช่าจะต้องทำการเปิดเผยข้อมูลว่าxxxxxxxxx xxxxxxxxใช้ถูกรวมไว้ในรายบรรทัดใดในงบแสดงฐานะการเงิน แต่กิจการต้องนำเสนอxxxxxxxxxxxxxx xxxใช้เป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนในงบแสดงฐานะการเงินถ้าxxxxxxxxใช้สินทรัพย์นั้นเป็นไป ตามคำนิยามของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน และสำหรับหนี้สินxxxxxxxxเช่า ผู้เช่าต้องแสดง รายการแยกจากหนี้สินอื่นหรือหากผู้xxxxxxxได้แสดงรายการหนี้สินxxxxxxxxเช่าแยกต่างหากผู้เช่า ต้องเปิดเผยข้อมูลว่าหนี้สินxxxxxxxxเช่าถูกรวมไว้ในรายบรรทัดใดในงบแสดงฐานะการเงิน ส่วนใน งบกระแสเงินสด ผู้เช่าต้องจัดประเภทรายการ กล่าวคือ เงินสดจ่ายสำหรับส่วนของเงินต้นของหนี้สิน xxxxxxxxเช่าจัดประเภทภายใต้กิจกรรมจัดหาเงิน , เงินสดจ่ายสำหรับส่วนของดอกเบี้ยของหนี้สิน xxxxxxxxเช่าให้ปฏิบัติตามข้อกำหนดในมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 7 เรื่องกระแสเงินสด และจำนวน เงินที่ต้องจ่ายชำระxxxxxxxxเช่าระยะสั้น เงินสดจ่ายสำหรับสัญญาเช่าของสินทรัพย์xxxxxxxxค่ าต่ำ และการจ่ายชำระค่าxxxxxxxxxxxxxxxxรวมอยู่ในการวัดxxxxxxหนี้สินxxxxxxxxเช่าจัดประเภทภายใต้ กิจกรรมxxxxxxxxx
xxxบันทึกบัญชีในฝั่งผู้xxxx x xxxxxxทำสัญญา
เดบิต xxxxxxxxxสิทธิการใช้* xxx
ดอกเบี้ยจ่ายรอการตัดบัญชี xxx
เครดิต เจ้าหนี้สัญญาเช่า** xxx
*xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ เท่ากับ หนี้สินxxxxxxxxเช่า บวก จำนวนเงินที่จ่ายไปล่วงหน้าxxxxxxxxเช่า หัก สิ่งจูงใจxxxxxxรับxxxxxxxxxxxxxxxได้รับ บวก ต้นทุนทางตรงเริ่มแรกของผู้เช่า (ผู้เช่าเป็นคนจ่าย) บวก ต้นทุนการรื้อถอน
** จำนวนเงินที่ต้องจ่ายชำระxxxxxxxxเช่า (เจ้าหนี้สัญญาเช่า) เท่ากับ ค่าxxxxxxที่ บวก ราคาใช้xxxxx ของxxxxxในการเลือกซื้อสินทรัพย์ (ถ้าแน่ใจว่าผู้เช่าจะใช้สิทธิ์ซื้อ) บวก xxxxxxคงเหลือxxxxxxรับประกัน บวกค่าปรับที่จ่ายเพื่อยกเลิกสัญญาเช่า บวก ค่าเช่าxxxxxxxxxขึ้นอยู่กับดัชนีหรืออัตรา
ณ xxxxxxชำระหนี้สินxxxxxxxxxxxx
xดบิต เจ้าหนี้สัญญาเช่า xxx
ดอกเบี้ยจ่าย xxx
เครดิต เงินสด/เงินฝากธนาคาร xxx
ณ สิ้นเดือน บันทึกค่าเสื่อมราคาตลอดอายุของxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ เดบิต ค่าเสื่อมราคา -xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ xxx
เครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม- xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ xxx
การปฏิบัติช่วงการเปลี่ยนแปลง
1. ผู้เช่าต้องรับรู้และวัดxxxxxxสัญญาเช่าทุกรายการที่เกิน 12 เดือน ที่ยังxxค้างในxxxxxxมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 มีผลบังคับใช้ และปรับปรุงงบการเงินสำหรับรอบบญxxxxx มาตรฐานฉบับนี้มีผลบังคับใช้
2. ผู้เช่าจะต้องประเมินและจัดประเภทสัญญาเช่าทุกฉบับว่าเข้าเงื่อนไขมาตรฐานฉบับนี้หรือไม่
3. การนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่ามาใช้ xxxxxxเลือกใช้ได้ แบบ Full Retrospective approach และ Modified Retrospective Approach โดย พิจารณาตามความเหมาะสมของแต่ละบริษัท
4. ไม่มีข้อผ่อนปรนสำหรับสัญญาxxxxxxxมีอายุเกิน 1 ปี xxxx xxxxxxมาตรฐานการรายงานทาง การเงินฉบับนี้มีผลบังคับใช้ เหลืออายุสัญญาเช่าแค่ 5 เดือน จะxxxxxxเป็นสัญญาเช่าระยะสั้น xxxxxxเกิน 1 ปี xxxxxxตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้
5. วิธีการจะบันทึกบัญชีแบบ Full Retrospective approach
▪ จะถือเป็นการเปลี่ยนนโยบายบัญชี ซึ่งจะปรับเข้ากำไรสะสม
วิธีการจะบันทึกบัญชีแบบ Modified Retrospective Approach
▪ สัญญาเช่าxxxxxxงานที่คงเหลืออยู่ดังกล่าวเป็นสัญญาแบบ Type A ให้รับรู้หนี้สิน และxxxxxxxxxxxxxx xxต่างของxxxxxxทั้งสองรายการให้รับรู้ในกำไรสะสม ณ xxxxxxเริ่ม ใช้มาตรฐานฉบับนี้
▪ หนี้สินxxxxxxxxเช่า ให้วัดxxxxxxโดยใช้ Present Value ของค่าเช่าคงเหลือxxx xxxxx โดยใช้อัตราคิดลด ณ xxxxxxเริ่มใช้มาตรฐานฉบับนี้
▪ xxxxxxxxใช้สินทรัพย์ให้คำนวณหาค่าเช่าเฉลี่ย ณ xxxxxxใช้มาตรฐานฉบับนี้ โดยให้หา xxxxxxปัจจุบันของเงินที่จะต้องจ่าย โดยใช้อัตราคิดลดที่เหมาะสม ณ xxxxxxเริ่มใช้ มาตรฐานฉบับนี้
▪ ในกรณีที่บริษัทตีความว่าเป็นสัญญาแบบ Type B ให้คำนวณหาหนี้สินxxxxxxxx เช่าตามวิธีใน Type A โดยให้xxxxxxxxxxxxxxใช้สินทรัพย์มีxxxxxxเท่ากับหนี้สินxxx xxxxxเช่า
2.4 สรุปความแตกต่างและผลกระทบของมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 เรื่องสัญญาเช่า และ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า
มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เป็นโครงการการพัฒนามาตรฐานการบัญชี ร่วมกันระหว่างคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (IASB) และ คณะกรรมการ กำหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงินของสหรัฐอเมริกา (FASB) ซึ่งมุ่งxxxxให้การนำเสนอสินทรัพย์ และหนี้สินของผู้xxxxxxxสะท้อนให้เห็นในงบแสดงฐานะการเงิน แก้ไขปัญหารายการนอกงบแสดงฐานะ การเงินของบริษัทฝั่งผู้xxxx xxxเกิดจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาเช่า รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลที่จะทำให้มีความโปร่งใสของสภาพความเสี่ยงทางการเงินของผู้เช่า ซึ่ง หลักการบัญชีที่เปลี่ยนแปลงไปในด้านผู้เช่าตามเนื้อหาของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ทำให้เกิดข้อแตกต่างที่สำคัญในรายงานทางการเงิน ด้านผู้เช่าในหลายประเด็น ซึ่ง IASB (2016) ได้สรุปไว้ในรายxxxxxxxxxxวิเคราะห์ผลกระทบทางด้านผู้เช่า ของมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า ดังนี้
ตารางที่ 2.1
สรุปเปรียบเทียบ👉ลักการที่เปลี่ยนแปลงที่สำคัญ ที่แตกต่างกันในฝั่งผู้เช่าระ👉ว่างมาตรฐานการบญชี ฉบับที่ 17 และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16
หัวข้อ | IAS 17 | IFRS 16 |
คำนิยาม | สัญญาหรือข้อตกลงที่ผู้ให้เช่าให้xxxxx ผู้เช่าในช่วงระยะเวลาหนึ่งที่ตกลง กัน ในการใช้สินทรัพย์ โดย แลกเปลี่ยนค่าตอบแทนกัน ซึ่งได้รับ ชำระเป็นงวดxxxxxxxx | สัญญาที่ผู้ให้เช่าให้xxxxxแก่ผู้เช่า ในการใช้สินทรัพย์ ซึ่งตกลง แลกเปลี่ยนผลตอบแทนกัน |
การจัดประเภทสัญญาเช่า | ผู้เช่าต้องมีการจัดประเภทสัญญา เช่า เป็นสัญญาเช่าการเงินหรือ สัญญาเช่าxxxxxxงาน โดยพิจารณา จากการโอนความเสี่ยงและ ผลตอบแทนทั้งหมดหรือเกือบ ทั้งหมดที่ผู้เป็นเจ้าของพึงได้รับจาก สินทรัพย์นั้น ให้แก่ผู้เช่าหรือไม่ | สัญญาเช่าจะไม่มีการแบ่งสัญญา เช่า เป็นสัญญาเช่าการเงินและ สัญญาเช่าxxxxxxงาน โดยผู้เช่า จะต้องรับรู้xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ และหนี้สินสัญญาเช่าตลอดอายุ ของสัญญาเช่า รวมถึงระยะเวลา ที่ผู้เช่ามีxxxxxxxxจะเลือกต่ออายุ สัญญาเช่าหากมีความน่าเชื่อถือ ได้อย่างxxxxxxxxxx |
การรับรู้ค่าใช้จ่ายสำหรับ สัญญาเช่าxxxxxxงาน | สัญญาxxxxxxxจัดประเภทเป็นสัญญา เช่าxxxxxxงานจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่าย แบบเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า | สำหรับสัญญาxxxxxxxเคยรับรู้เป็น เช่าxxxxxxงาน จะต้องตัด จำหน่ายxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ ตลอดอายุสัญญาเช่าและต้อง รับรู้ดอกเบี้ยจ่ายที่เกิดขึ้นด้วยวิธี อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง |
ตารางที่ 2.2
ผลกระทบที่คาดว่าจะกระทบต่องบแสดงฐานะการเงินฝั่งผู้เช่า
ฝั่งผู้เช่า | |||
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เรื่องสัญญาเช่า | มาตรฐานการรายงานทาง การเงินฉบับที่ 16 เรื่องสัญญา เช่า (มีผลบังคับใช้สำหรับรอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง xxxxxx 1 xxxxxx 2563 | ||
สัญญาเช่าการเงิน | สัญญาเช่าxxxxxxงาน | สำหรับทุกสัญญาเช่า** | |
สินทรัพย์ | สินทรัพย์ภายใต้สัญญา เช่าการเงิน | - | xxxxxxxxxตามสัญญาเช่า |
หนี้สิน | หนี้สินตามสัญญาเช่า การเงิน | - | หนี้สินxxxxxxxxเช่า |
xxxxxหรือภาระxxxxxx xxxอยู่นอกงบการเงิน (Off Balance sheet) | - | xxxxxในการใช้สินทรัพย์ และหนี้สินเกี่ยวกับ สัญญาเช่า | - |
** มีข้อยกเว้นxxxxxxต้องปฏิบัติตาม โดยเป็นสัญญาxxxxxxxมีอายุน้อยกว่า 12 เดือน และสัญญาxxxxxxxxxxxมีxxxxxx ต่ำเมื่อสินทรัพย์นั้นเป็นสินทรัพย์ใหม่
ตารางที่ 2.3
ผลกระทบที่คาดว่าจะกระทบต่องบกำไรขาดทุนฝั่งผู้เช่า
ฝั่งผู้เช่า | มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 เรื่องสัญญาเช่า | มาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า | |
สัญญาเช่าการเงิน | สัญญาเช่าxxxxxxงาน | สำหรับทุกสัญญา** | |
รายได้ | - | - | - |
ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร (ไม่รวมค่าเสื่อมราคาและค่าตัด จำหน่าย) | - | ค่าเช่า - | |
EBITDA | - | - |
|
ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย | ค่าเสื่อมราคา | - | ค่าเสื่อมราคา |
กำไรก่อนต้นทุนทางการเงินและ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ | - | - | |
ต้นทุนทางการเงิน | ดอกเบี้ยจ่ายxxx xxxxxเช่าการเงิน | - | ดอกเบี้ยจ่ายxxxxxxxx เช่าการเงิน |
กำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ | - | - | |
กำไรสุทธิ | - | - | - |
** มีข้อยกเว้นxxxxxxต้องปฏิบัติตาม โดยเป็นสัญญาxxxxxxxมีอายุน้อยกว่า 12 เดือน และสัญญาxxxxxxxxxxxมี xxxxxxต่ำเมื่อสินทรัพย์นั้นเป็นสินทรัพย์ใหม่
ตารางที่ 2.4
ผลกระทบที่คาดว่าจะกระทบต่องบกระแสเงินสดฝั่งผู้เช่า
ผู้เช่า | |||
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เรื่องสัญญา เช่า | มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า (มีผล บังคับใช้สำหรับรอบระยะเวลา บัญชีที่เริ่มในหรือหลังxxxxxx 1 xxxxxx 2563 | ||
สัญญาเช่าการเงิน | สัญญาเช่า xxxxxxงาน | สำหรับทุกสัญญาเช่า | |
กระแสเงินสดจาก กิจกรรมxxxxxxงาน | - | ค่าเช่า | (สำหรับส่วนของดอกเบี้ยของ หนี้สินxxx xxxxxเช่า ให้ปฏิบัติ ตามข้อกำหนด สำหรับดอกเบี้ย จ่ายในมาตรฐานการ บัญชีฉบับที่ 7 เรื่องงบกระแสเงินสด) |
กระแสเงินสดจาก กิจกรรมลงทุน | - | - | - |
กระแสเงินสดจาก กิจกรรมจัดหาเงิน | เงินต้นและดอกเบี้ย xxxxxxxxเช่า | - | ส่วนของเงินต้นของหนี้สินxxx xxxxxเช่า (สำหรับส่วนของ ดอกเบี้ยของหนี้สินxxxxxxxx เช่าให้ปฏิบัติตามข้อกำหนด สำหรับดอกเบี้ยจ่ายในมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 7 เรื่องงบกระแส เงินสด) |
** มีข้อยกเว้นxxxxxxต้องปฏิบัติตาม โดยเป็นสัญญาxxxxxxxมีอายุน้อยกว่า 12 เดือน และสัญญาxxxxxxxxxxxมี xxxxxxต่ำเมื่อสินทรัพย์นั้นเป็นสินทรัพย์ใหม่
ที่มา : เอกสารประกอบการสัมมนาพิจารณ์ (FAP,2560) และ ปรับปรุงจาก Effects Analysis: IFRS 16 Lease by International Accounting Standards Board (IASB)
2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
xxxxxx xxxxxxx (2561) xxxxxxxxxxกระทบต่ออัตราส่วนทางการเงินของร่างมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า ด้านผู้เช่า กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในกลุ่ม SET100 พบว่าอัตราส่วนทางการเงิน ด้านผู้เช่า ก่อนและ หลังจากการ ปฏิบัติตามร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า พบว่าเมื่อ กิจการมีการบันทึกสัญญาเช่า xxxxxxงานไว้ในงบการเงิน อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญเปลี่ยนแปลง ไปอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลทางลบกับกิจการเป็นส่วนใหญ่ คือ อัตราส่วนที่เกี่ยวข้องกับงบแสดงฐานะการเงิน ซึ่งจะทำให้อัตราส่วนทางการเงินที่ใช้วัดความเสี่ยง
(Risk Ratio) xxxx อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (Debt to equity ratio) และอัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรพย์
รวม (Debt to capital ratio) xxxxxขึ้นอย่างมีนัยสำคัญหากมีสัญญาเช่าxxxxxxงานมาก อัตราส่วนทุน หมุนเวียน (Current ratio) และอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (Return on assets: ROA) จะลดลง เนื่องจากมีสินทรัพย์xxxxxขึ้น อัตราส่วนทางการเงินอื่นๆ xxxx อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (Return on equity: ROE) อัตราการ หมุนของสินทรัพย์ (Asset turnover) และอัตราส่วนความxxxxxxในการ จ่ายดอกเบี้ย (Interest coverage ratio) xxxxxxxxxxกระทบอย่างมีนัยสำคัญ
xxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx (2550) xxxxxxxxxxกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสัญญาเช่าxxxxxxงาน เป็นสัญญาเช่าการเงิน ที่มีต่ออัตราส่วนทางการเงิน โดยศึกษาข้อมูลจากบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในปี 2548 พบว่าการเปลี่ยนแปลงวิธีบันทึกบัญชีแบบสัญญาเช่า xxxxxxงานเป็นสัญญาเช่าการเงินจะมีผลกระทบต่ออัตรากำไรจากการxxxxxxงาน และอัตรา ผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้นสูงขึ้น เนื่องจากสัญญาเช่าการเงินไม่ต้องบันทึกค่าเช่าในงบกำไร ขาดทุนแล้ว ทำให้กำไรสูงขึ้น โดยไม่ว่าจะเป็นช่วงแรกของสัญญาหรือช่วงปีหลังของสัญญา แต่ทำให้ อัตราส่วนผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้นลดลง อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม อัตราหมุนเวียน ของสินทรัพย์รวม และอัตราส่วนความxxxxxxในการชำระดอกเบี้ยลดลง เนื่องจากหลังจากมีการ ปรับปรุงทำให้แสดงถึงบริษัทต้องบันทึกสินทรัพย์และหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงิน จึงทำให้ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นสูงขึ้นเหมือนกัน
2.6 ตัวอย่างประกอบการคำนวณสัญญาเช่า ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16
เรื่องสัญญาเช่า
บริษัท ก จำกัด (มหาชน) ทำสัญญาเช่าพื้นที่กับเจ้าของอาคาร โดยใช้พื้นที่เป็นสำนักงานใหญ่ ของบริษัทฯ ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
- ระยะเวลาเช่าพื้นที่จำนวน 4 ปี เริ่มตั้งแต่ 1 xxxxxx 2561 – 31 ธันวาคม 2564 (เข้า เงื่อนไขที่ต้องรับรู้xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ และหนี้สินxxxxxxxxเช่าเนื่องจากอายุสัญญาเช่า มากกว่า 1 ปีนับตั้งแต่xxxxxxสัญญาเช่าเริ่มมีผลและไม่เป็นสินทรัพย์อ้างอิงที่มีxxxxxxต่ำ)
- ค่าเช่าพื้นที่ (Rental) ต่อเดือนเท่ากับ 240,000 บาท ** ส่วนใหญ่สัญญาจะแยกสัญญาเช่า กับสัญญาบริการเนื่องจากผู้ให้เช่าพื้นที่ช่วยเหลือเรื่องภาษี หัก ณ ที่จ่ายให้กับผู้เช่า ดังนั้นจึง ต้องพิจารณาค่าบริการเพิ่มเติม โดยในสัญญาจะบอกค่าค่าเช่า และค่าบริการต่อเดือนเท่ากัน คือ 120,000 บาท แต่ด้วยxxxxค่าบริการจะไม่มีค่าบริการที่สูงมาก ดังนั้นจึงต้องนำค่าบริการ มาพิจารณาร่วมด้วย และถ้าเข้าเงื่อนไขก็ต้องเอามารวมเป็นค่าเช่า เพื่อประกอบการคำนวณ xxxxxxxxเช่าและหนี้สินสัญญาเช่า
- พื้นที่ที่ให้เช่า อายุการให้ประโยชน์ประมาณ 20 ปี มีxxxxxxยุติธรรมของสินทรัพย์เท่ากับ
20,000,000 บาท
- อัตราดอกเบี้ยตามนัยของสัญญาเช่าเท่ากับ 7%
- xxxxxxระบุถึงเรื่องxxxxxxxxจะต่อระยะเวลาของสัญญาเช่าหรือซื้อสินทรัพย์ (Purchase Option)
- xxxxxxมีเงินจ่ายล่วงหน้าก่อนเข้าใช้พื้นที่ (Prepaid payment) หลังจากการพิจารณาตัวอย่างข้างต้น บริษัท ก จำกัด (มหาชน) ทำการเช่าพื้นที่สำนักงานถูกจัดเป็น สัญญาเช่าxxxxxxงานตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เรื่องสัญญาเช่าเดิม โดยจะทำการบันทึกเป็น ค่าเช่าจ่ายในงบกำไรขาดทุน และไม่เข้าเงื่อนไขสัญญาเช่าการเงิน กล่าวคือ
1) สัญญาxxxxxxxได้มีการโอนความเป็นเจ้าของในสินทรัพย์ไปให้แก่ผู้เช่าเมื่อสิ้นสุด ระยะเวลาของ สัญญาเช่า
2) ผู้เช่าไม่มีxxxxxเลือกซื้อสินทรัพย์ด้วยราคาที่ต่ำกว่าxxxxxxยุติธรรม ณ xxxxxxxxxxxเลือกซื้อเกิดขึ้น
3) ระยะเวลาของสัญญาxxxxxxxครอบคลุมอายุการให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจส่วนใหญ่ของสินทรัพย์ แม้ว่าจะไม่มีการโอนกรรมสิทธิ์เกิดขึ้น (เนื่องจากอายุของสัญญาเช่า 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 20 ของอายุ การให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ 20 ปี)
4) ณ วันเริ่มต้นของสัญญาxxxxxxxxxxปัจจุบันของจำนวนเงินขั้นต่ำที่จะต้องจ่ายมีจำนวนไม่ใกล้เคียง กับxxxxxxยุติธรรมของสินทรัพย์xxxxxxx (เนื่องจาก Present Value ของจำนวนเงินขั้นต่ำที่ต้องจ่าย
เท่ากบ 5,360,423.83 บาท ซึ่งอย่างน้อยควรเท่ากับ 18,000,000 บาท หรือประมาณร้อยละ 90 ของ
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx)
5) สินทรัพย์xxxxxxxจะไม่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงจนกระทั่งมีผู้เช่าเพียงผู้เดียวที่xxxxxxใช้สินทรัพยนั้น ได้
แต่อย่างไรก็ตาม หลังจากมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า มีผล ประกาศใช้สำหรับงวดบัญชีตั้งแต่ 1 xxxxxx 2563 เป็นต้นไป สัญญาเช่าพื้นที่ดังกล่าวของบริษัท ก จำกัด (มหาชน) จะต้องรับรู้สินทรัพย์และหนี้สินในงบการเงิน เนื่องจากสัญญาเช่าพื้นที่มีอายุเกิน 1 ปี จึงทำให้มีการรับรู้และบันทึกบัญชีที่แตกต่างกัน ตามตารางที่ 2.5 ถึงตารางที่ 2.8
รายการบัญชีตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เรื่องสัญญาเช่าฝั่งผู้เช่า
- บริษัท ก บันทึกค่าเช่าทุกเดือนตลอดจนครบอายุสัญญาเช่า โดยจะบันทึกทุกเดือน เดือนละ
240,000 บาท การบันทึกบัญชี
ณ xxxxxxเริ่มเช่าพื้นที่และมีการจ่ายชำระหนี้ในส่วนของค่าเช่า
31 xxxxxx 2563 เดบิต ค่าเช่าจ่าย 240,000
เครดิต เงินสด/เงินฝากธนาคาร 240,000
บันทึกรายการนี้ตลอดอายุครบสัญญาเช่า
ตารางที่ 2.5
การคำนวณบัญชี👉นี้สินxxxxxxxxxxxx (สมมติลูกค้าใช้วิธี Modified Retrospective Approach)
- หนี้สินxxxxxxxxเช่าด้วยxxxxxxปัจจุบันของจำนวนเงินที่ต้องจ่ายเท่ากับ 5,360,423.83 บาท (ดอกเบี้ยตามนัยของสัญญาเช่าเท่ากับ 7% ,ระยะเวลาคงเหลือหลังจากที่มาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับนี้มีผลบังคับใช้จำนวน 24 เดือน โดยเริ่มตั้งแต่ 1 xxxxxx 2563 – 31 ธันวาคม 2564)
- ดอกเบี้ยรอตัดบัญชี (Deferred interest) เท่ากับ 399,576.17 บาท
- ค่าxxxxxxxจะต้องจ่ายอีก 24 เดือนเท่ากับ 5,760,000 บาท (ค่าเช่า 240,000 ต่อเดือน คูณ 24
เดือน)
(หน่วย: บาท)
งวด | xxxxxx | ค่าเช่าต่อเดือน | ดอกเบี้ยต่อ เดือน | เงินต้น | ยอดคงเหลือ |
24 | 5,360,423.83 | ||||
25 | 31 ม.ค 63 | 240,000.00 | 31,269.14 | 208,730.86 | 5,151,692.97 |
26 | 29 ก.พ 63 | 240,000.00 | 30,051.54 | 209,948.46 | 4,941,744.51 |
27 | 31 มี.ค 63 | 240,000.00 | 28,826.84 | 211,173.16 | 4,730,571.36 |
28 | 30 เม.ย 63 | 240,000.00 | 27,595.00 | 212,405.00 | 4,518,166.35 |
29 | 31 พ.ค 63 | 240,000.00 | 26,355.97 | 213,644.03 | 4,304,522.33 |
30 | 30 มิ.ย 63 | 240,000.00 | 25,109.71 | 214,890.29 | 4,089,632.04 |
31 | 31 ก.ค 63 | 240,000.00 | 23,856.19 | 216,143.81 | 3,873,488.23 |
32 | 31 ส.ค 63 | 240,000.00 | 22,595.35 | 217,404.65 | 3,656,083.57 |
33 | 30 ก.ย 63 | 240,000.00 | 21,327.15 | 218,672.85 | 3,437,410.73 |
34 | 31 ต.ค 63 | 240,000.00 | 20,051.56 | 219,948.44 | 3,217,462.29 |
35 | 30 พ.ย 63 | 240,000.00 | 18,768.53 | 221,231.47 | 2,996,230.82 |
36 | 31 ธ.ค 63 | 240,000.00 | 17,478.01 | 222,521.99 | 2,773,708.83 |
37 | 31 ม.ค 64 | 240,000.00 | 16,179.97 | 223,820.03 | 2,549,888.80 |
38 | 29 ก.พ 64 | 240,000.00 | 14,874.35 | 225,125.65 | 2,324,763.15 |
39 | 31 มี.ค 64 | 240,000.00 | 13,561.12 | 226,438.88 | 2,098,324.27 |
40 | 30 เม.ย 64 | 240,000.00 | 12,240.22 | 227,759.78 | 1,870,564.50 |
41 | 31 พ.ค 64 | 240,000.00 | 10,911.63 | 229,088.37 | 1,641,476.12 |
42 | 30 มิ.ย 64 | 240,000.00 | 9,575.28 | 230,424.72 | 1,411,051.40 |
43 | 31 ก.ค 64 | 240,000.00 | 8,231.13 | 231,768.87 | 1,179,282.53 |
44 | 31 ส.ค 64 | 240,000.00 | 6,879.15 | 233,120.85 | 946,161.68 |
45 | 30 ก.ย 64 | 240,000.00 | 5,519.28 | 234,480.72 | 711,680.96 |
46 | 31 ต.ค 64 | 240,000.00 | 4,151.47 | 235,848.53 | 475,832.43 |
47 | 30 พ.ย 64 | 240,000.00 | 2,775.69 | 237,224.31 | 238,608.12 |
48 | 31 ธ.ค 64 | 240,000.00 | 1,391.88 | 238,608.12 | - |
5,760,000 | 399,576.17 | 5,360,423.83 |
ตารางที่ 2.6
ตารางแสดงการคำนวณxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ และรับรู้ค่าเสื่อมราคา
(หน่วย : บาท)
งวด | xxxxxx | ค่าเสื่อมราคา | ค่าเสื่อมราคา สะสม | xxxxxxสุทธิ ตามบัญชี |
24 | 5,360,423.83 | |||
25 | 31 ม.ค 63 | 223,350.99 | 223,350.99 | 5,137,072.84 |
26 | 29 ก.พ 63 | 223,350.99 | 446,701.99 | 4,913,721.85 |
27 | 31 มี.ค 63 | 223,350.99 | 670,052.98 | 4,690,370.85 |
28 | 30 เม.ย 63 | 223,350.99 | 893,403.97 | 4,467,019.86 |
29 | 31 พ.ค 63 | 223,350.99 | 1,116,754.96 | 4,243,668.87 |
30 | 30 มิ.ย 63 | 223,350.99 | 1,340,105.96 | 4,020,317.87 |
31 | 31 ก.ค 63 | 223,350.99 | 1,563,456.95 | 3,796,966.88 |
32 | 31 ส.ค 63 | 223,350.99 | 1,786,807.94 | 3,573,615.89 |
33 | 30 ก.ย 63 | 223,350.99 | 2,010,158.94 | 3,350,264.89 |
34 | 31 ต.ค 63 | 223,350.99 | 2,233,509.93 | 3,126,913.90 |
35 | 30 พ.ย 63 | 223,350.99 | 2,456,860.92 | 2,903,562.91 |
36 | 31 ธ.ค 63 | 223,350.99 | 2,680,211.92 | 2,680,211.92 |
37 | 31 ม.ค 64 | 223,350.99 | 2,903,562.91 | 2,456,860.92 |
38 | 29 ก.พ 64 | 223,350.99 | 3,126,913.90 | 2,233,509.93 |
39 | 31 มี.ค 64 | 223,350.99 | 3,350,264.89 | 2,010,158.94 |
40 | 30 เม.ย 64 | 223,350.99 | 3,573,615.89 | 1,786,807.94 |
41 | 31 พ.ค 64 | 223,350.99 | 3,796,966.88 | 1,563,456.95 |
42 | 30 มิ.ย 64 | 223,350.99 | 4,020,317.87 | 1,340,105.96 |
43 | 31 ก.ค 64 | 223,350.99 | 4,243,668.87 | 1,116,754.96 |
44 | 31 ส.ค 64 | 223,350.99 | 4,467,019.86 | 893,403.97 |
45 | 30 ก.ย 64 | 223,350.99 | 4,690,370.85 | 670,052.98 |
46 | 31 ต.ค 64 | 223,350.99 | 4,913,721.85 | 446,701.99 |
47 | 30 พ.ย 64 | 223,350.99 | 5,137,072.84 | 223,350.99 |
48 | 31 ธ.ค 64 | 223,350.99 | 5,360,423.83 | - |
หมายเหตุ
ค่าเสื่อมราคาคำนวณจาก (5,360,423.83/24 =223,350.99 บาทต่อเดือน)
การบันทึกบัญชี
1 xxxxxx 2563 เดบิต xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ 5,360,423.84
ดอกเบี้ยจ่ายรอการรับรู้ 399,576.17
เครดิต หนี้สินxxxxxxxxเช่า 5,760,000.00
บันทึกบัญชี ณ วันแรกที่บริษัทนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับนี้มาปฏิบัติใช้
31 xxxxxx 2563 เดบิต หนี้สินxxxxxxxxเช่า 240,000.00
ดอกเบี้ยจ่าย 31,269.14
เครดิต ดอกเบี้ยจ่ายรอการรับรู้ 31,269.14
เงินสด 240,000.00
บันทึกดอกเบี้ยจ่ายทุกเดือนและบันทึกจ่ายหนี้สินxxxxxxxxเช่า
เดบิต ค่าเสื่อมราคา – xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ 223,350.99
เครดิต ค่าเสื่อมราคาสะสม – xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ 223,350.99
บันทึกค่าเสื่อมราคาทุกเดือน ตลอดจนครบสัญญา
ตารางที่ 2.7
การนำเสนองบการเงินสำ👉รับรายการบันทึกบัญชีค่าเช่า
ปี | 1 xxxxxx 2563 | 2563 | 2564 | |
งบแสดงฐานะการเงิน xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้/ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ | 5,360,423.83 | 2,680,211.92 | - | |
xxxxxxxxxxxxxxxxxxx | (5,360,423.83) | (2,773,708.84) | - | |
ผลกระทบฝั่งงบแสดงฐานะการเงิน | - | (93,496.92) | - | |
งบกำไรขาดทุน ค่าเช่าจ่าย | - | (2,880,000.00) | (2,880,000.00) | |
ค่าเสื่อมราคาของxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ | - | 2,680,211.92 | 2,680,211.91 | |
ดอกเบี้ยจ่าย | - | 293,285.00 | 106,291.17 | |
ผลกระทบในงบกำไรขาดทุน | - | 93,496.92 | (93,496.92) | |
ผลกระทบรวม | - | - | (93,496.92) |
การปรับปรุงงบการเงินโดยรับรู้xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้และหนี้สัญญาเช่า ส่งผลกระทบต่องบแสดงฐานะ การเงินและงบกำไรขาดทุน ดังนี้
งบแสดงฐานะการเงิน
xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้/ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์xxxxxขึ้น จำนวน 2,680,211.92 บาท ส่วนของหนี้สินxxxxxxxxxxxxxxxถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปีxxxxxขึ้น จำนวน 2,773,708.84 บาท หนี้สินxxxxxxxxเช่า – สุทธิจากส่วนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี ไม่มียอดคงเหลือ
งบกำไรขาดทุน
ค่าเสื่อมราคา – xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้xxxxxขึ้น จำนวน 2,680,211.92 บาท
ดอกเบี้ยจ่าย xxxxxขึ้น จำนวน 293,285 บาท
ค่าเช่าจ่ายลดลง จำนวน 2,880,000 บาท
ตัวอย่างการนำเสนองบการเงินของบริษัทตัวอย่างในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยทำการ ปรับปรุงรายการงบการเงินในปี 2563 ให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า โดยจะทำการปรับปรุงรายการxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้และหนี้สินสัญญาเช่าในงบแสดง ฐานะการเงิน และรับรู้ดอกเบี้ยจ่าย ค่าเสื่อมราคา- xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ในงบกำไรขาดทุน โดยจะทำ การเปรียบเทียบก่อนและหลังใช้มาตรฐานฉบับนี้
บริษัท ก จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม
หมายเหตุ | 31 ธันวาคม 2563 | 31 ธันวาคม 2563 | |
(หลังปรับ) | (ก่อนปรับ) | ||
xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxx เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด | 4 | 211,323 | 211,323 |
ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น | 6 | 542,311 | 542,311 |
สินค้าคงเหลือ | 7 | 588,747 | 588,747 |
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxหมุนเวียนอื่น | 8 | 107,032 | 107,032 |
xxxxxxxxxxxxxxxxxxอื่น | 4,042 | 4,042 | |
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx | 1,453,455 | 1,453,455 | |
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน | 8 | 46,180 | 46,180 |
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxหมุนเวียนอื่น | 10 | 3,457 | 3,457 |
เงินลงทุนในบริษัทร่วม | 9 | 11,626 | 11,626 |
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ | 11 | 581,775 | 581,775 |
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx | 2,680 | - | |
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน | 1,741 | 1,741 | |
xxxxxxxxxxxxxxxxxได้รอการตัดบัญชี | 12 | 16,900 | 16,900 |
xxxxxxxxxxxxหมุนเวียนอื่น | 3,402 | 3,402 | |
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx | 667,761 | 665,081 | |
xxxxxxxxxxxx | 2,121,216 | 2,118,536 | |
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ |
บริษัท ก จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)
(หน่วย : บาท)
งบการเงินรวม
หมายเหตุ | 31 ธันวาคม 2563 | 31 ธันวาคม 2563 | |
(หลังปรับ) | (ก่อนปรับ) | ||
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน | |||
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากธนาคาร | 15 | 55,717 | 55,717 |
เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น | 16 | 368,073 | 368,073 |
ส่วนของหนี้สินxxxxxxxxxxxxxxxถึงกำหนดชำระ | |||
ภายในหนึ่งปี | 2,773 | - | |
ภาษีเงินได้ค้างจ่าย | 6,640 | 6,640 | |
หนี้สินหมุนเวียนอื่น | 9,758 | 9,758 | |
รวมหนี้สินหมุนเวียน | 442,962 | 440,188 | |
หนี้สินไม่หมุนเวียน | |||
xxxxxxxxxxxxxxxระยะยาวของพนักงาน | 43,217 | 43,217 | |
หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น | 1 | 1 | |
รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน | 43,218 | 43,218 | |
รวมหนี้สิน | 486,179 | 483,406 |
บริษัท ก จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ)
งบการเงินรวม
31 ธันวาคม | 31 ธันวาคม | |
2563 | 2563 | |
(หลังปรับ) | (ก่อนปรับ) | |
ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน | ||
หุ้นสามัญ 383,000,000 หุ้น xxxxxxหุ้นละ 1 บาท | 383,000 | 383,000 |
ทุนออกจำหน่ายและชำระเต็มxxxxxxแล้ว | ||
หุ้นสามัญ 383,000,000 หุ้น xxxxxxหุ้นละ 1 บาท | 383,000 | 383,000 |
ส่วนเกินxxxxxxหุ้นสามัญ | 519,673 | 519,673 |
กำไรสะสม | ||
จัดสรรแล้ว - xxxxxตามกฎหมาย | 75,250 | 75,250 |
ยังxxxxxxจัดสรร | 438,913 | 439,006 |
องค์ประกอบอื่นของส่วนของผู้ถือหุ้น | - | - |
ส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ ส่วนของผู้มีส่วนxxxxxxxxxxไม่มีxxxxxควบคุม | 1,416,835 | 1,416,929 |
ของบริษัทย่อย | 218,201 | 218,201 |
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น | 1,635,037 | 1,635,130 |
รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น | 2,121,216 | 2,118,536 |
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้ จำนวนผลกระทบที่มีต่อส่วนของผู้ถือหุ้น คำนวณได้ดังนี้
ผลกระทบที่มีต่อส่วนของผู้ถือหุ้น = (ค่าเช่ารายปี - ดอกเบี้ยจ่าย – ค่าเสื่อมราคา/ค่าตัดจำหน่าย)
บริษัท ก จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกำไรขาดทุน
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินรวม
หมายเหตุ | 2563 (หลังปรับ) | 2563 (ก่อนปรับ) | |
รายได้ รายได้จากการขายและบริการ | 719,813 | 719,813 | |
เงินปันผลรับ | 12.2 | 43 | 43 |
รายได้อื่น | 5,524 | 5,524 | |
รวมรายได้ | 725,380 | 725,380 | |
ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขายและบริการ | 638,349 | 638,349 | |
ค่าใช้จ่ายในการขายและจัดจำหน่าย | 12,629 | 12,629 | |
ค่าเช่าจ่าย | - | 2,880 | |
ค่าเสื่อมราคา/ค่าตัดจำหน่าย | 2,680 | - | |
ค่าใช้จ่ายในการบริหาร | 36,595 | 36,595 | |
รวมค่าใช้จ่าย | 690,253 | 690,453 | |
กำไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและ รายได้ (ค่าใช้จ่าย) ภาษีเงินได้ | 35,127 | 34,927 | |
ค่าใช้จ่ายทางการเงิน | (1,449) | (1,156) | |
กำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ | 33,678 | 33,771 | |
ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ | 18 | (6,581) | (6,581) |
กำไรสำหรับปี | 27,097 | 27,190 |
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้
2.7 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญ
การนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า มาปฏิบัติใช้ทำให้ผู้xxxxxxx เคยรับรู้สัญญาเช่าxxxxxxงานเป็นค่าเช่าจะต้องบันทึกสินทรัพย์และหนี้สินจากสัญญาเช่า แสดงในงบ การเงินของบริษัท สำหรับทุกสัญญาxxxxxxxระยะเวลาการเช่านานกว่า 12 เดือน ยกเว้นสัญญาxxxxxxx สินทรัพย์xxxxxxxนั้นมีxxxxxxต่ำ ส่งผลทำให้อัตราส่วนทางการเงินxxxxxxxxกระทบทั้งในด้านบวก และด้าน ลบ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว IASB เชื่อว่าจะสะท้อนความเป็นจริงของกิจการนั้นมากขึ้น และทำให้ งบการเงินมีประโยชน์ต่อการใช้งานของผู้ใช้งบการเงินมากขึ้น ให้ข้อมูลที่เป็นตัวแทนอันxxxxxxxxxx มากขึ้น หรือวิธีการทางบัญชีสำหรับสัญญาเช่าจะมีความเป็นกลางมากขึ้น และทำให้ผู้ในงบการเงิน ทุกฝ่ายได้รับข้อมูลxxxxxสำหรับประกอบการตัดสินใจ
กลุ่มผู้ใช้งบการเงินนั้นมีอยู่หลายกลุ่มและมีวัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์งบการเงินที่แตกต่าง กันออกไป (อังคxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx, 2551) ซึ่งหนึ่งในกลุ่มผู้ใช้งบการเงินที่สำคัญและถูกจับตามอง คือนักลงทุน เนื่องจากเป็นกลุ่มคนที่จะมาลงทุนในบริษัทฯ โดยxxxxแล้วนักลงทุนมักจะใช้งบการเงิน เป็นเครื่องมือวิเคราะห์ในการประกอบการตัดสินใจในการเลือกบริษัทที่จะเข้าไปลงทุน และกลุ่ม ธนาคาร ที่ใช้วิเคราะห์โครงสร้างเงินทุน และวิเคราะห์ความxxxxxxของบริษัทที่จะปฏิบัติตามเงื่อนไข ของสัญญาเงินกู้ยืม xxxx บริษัทต้องดำรงสัดส่วน Debt to Equity Ratio หรืออัตราส่วนอื่นตามที่ตก ลงร่วมกัน เอาไว้ไม่ให้เกินกี่เท่า เป็นต้น ดังนั้นหากบริษัทไม่xxxxxxรักษาอัตราตามที่กำหนดได้บริษัท ก็จะxxxxxxถูกธนาคารเรียกคืนเงินกู้xxxxxxxจำนวนทันที เป็นต้น
อัตราส่วนที่xxxxxxxxกระทบและเป็นxxxxxxสนใจ คือ อัตราส่วนที่เกี่ยวกับการใช้วัดความเสี่ยงหรือวัดความxxxxxxในการจ่ายชำระหนี้ xxxx อัตราส่วน หนี้สินต่อทุน (Debt to Equity ratio) อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ (Debt Ratio) อัตราส่วน ผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) และอัตราส่วนที่เกี่ยวกับกับผลตอบแทนจากการใช้สินทรัพย์ (ROA)
หากบริษัทใดมีรายการนอกงบแสดงฐานะการเงิน xxxxxxเยอะอาจจะก่อให้เกิดปัญหาในส่วนของ อัตราส่วนดังกล่าวสูงมากขึ้น เพราะบริษัทต้องมีการรับรู้หนี้สินแสดงไว้หน้างบการเงินมากขึ้น ซึ่งทำ ให้การจัดหาแหล่งเงินทุน หรือการไปกู้ยืมเงินจากสถาบันต่างๆ เป็นไปได้ยากขึ้น เพราะจากอัตราส่วน ดังกล่าวเป็นอัตราส่วนที่สถาบันการเงินใช้ พิจารณาว่ากิจการจะมีเงินมาคืนตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ หรือพิจารณาอนุมัติเงินกู้ให้ (xxxxxxxx ประถมxxxxxx, 2558)
2.8 สมมติฐานงานวิจัย
จากการทบทวนงานวิจัยที่ผ่านมา และมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 และ มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 เดิม เป็นต้น ในการศึกษาครั้งนี้จึงได้เลือกศึกษาอัตราส่วนทางการเงิน ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งสมมติฐานของงานศึกษาครั้งนี้ เป็น ดังต่อไปนี้
xxxxxxxxxxx 1 : อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity Ratio) ก่อนและหลังการ ปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินเรื่อง สัญญาเช่า มีค่าแตกต่างกัน
xxxxxxxxxxx 2 : อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) ก่อนและหลังการปฏิบัติตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินเรื่อง สัญญาเช่า มีค่าแตกต่างกัน
xxxxxxxxxxx 3 : อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (ROA) ก่อนและหลังการปฏิบัติตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินเรื่อง สัญญาเช่า มีค่าแตกต่างกัน
xxxxxxxxxxx 4 : อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ (Debt to Ratio) ก่อนและหลังการปฏิบัติตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงินเรื่อง สัญญาเช่า มีค่าแตกต่างกัน
ตารางที่ 2.8
สรุปผลกระทบจากการนำร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า มาปฏิบัติ ใช้ต่ออัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญ
อัตราส่วนทางการเงิน | ผลกระทบที่คาดว่าจะ เกิดขึ้น | ผลกระทบที่ ผู้วิจัยคาดว่า จะเกิดขึ้น | คำอธิบาย |
การวิเคราะห์ผลการxxxxxxงาน | |||
อัตราผลตอบแทนต่อ สินทรัพย์ (ROA) | ส่งผลกระทบทางลบต่อ กิจการ | ส่งผลกระทบ ทางลบต่อ กิจการ | เนื่องด้วยสินทรัพย์xxxxxขึ้น จากการที่มีxxxxxxxxxxxxxx xxxใช้xxxxxxxxxxxxxxxถูก รับรู้จากมาตรฐานฉบับนี้ |
อัตราผลตอบแทนต่อผู้ ถือหุ้น (ROE) | ส่งผลกระทบxxxxxxx ทางบวกและทางลบต่อ กิจการ | ส่งผลกระทบ ทางลบต่อ กิจการ | ขึ้นอยู่กับลักษณะ เงื่อนไข ของสัญญาเช่าของกิจการ และวิธีปฏิบัติทางบัญชีที่ บริษัทเลือกใช้ |
การวิเคราะห์ความเสี่ยง | |||
อัตราส่วนหนี้สินต่อ ส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to equity Ratio) | ส่งผลกระทบทางลบต่อ กิจการ | ส่งผลกระทบ ทางลบต่อ กิจการ | กิจการมีหนี้สินxxxxxxxx เช่าxxxxxขึ้นและคาดว่าส่วน ของผู้ถือหุ้นจะลดลง |
อัตราส่วนหนี้สินต่อ สินทรัพย์ (Debt Ratio) | ส่งผลกระทบทางลบต่อ กิจการ | ส่งผลกระทบ ทางลบต่อ กิจการ | กิจการมีxxxxxxxxxxxxxxxxx ใช้และหนี้xxxxxxxxxxxxxxx xxxxxขึ้น และคาดว่าหนี้สิน จะxxxxxขึ้นมากกว่า สินทรัพย์ |
บทที่ 3
วิธีการวิจัย
การวิจัยเรื่อง “ผลกระทบระหว่างสัญญาเช่า ด้านผู้เช่าต่ออัตราส่วนทางการเงินตาม มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย” เป็นงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบเชิงปริมาณ ซึ่งผู้วิจัยได้xxxxxxการวิจัย ตามขั้นตอนต่อไปนี้
3.1 การกำหนดxxxxxxxxxxใช้ในการศึกษาและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
3.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล
3.3 การวิเคราะห์ข้อมูล
3.1 การกำหนดxxxxxxxxxxใช้ในการศึกษาและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่ม SET ณ xxxxxx 28 กันยายน 2563 โดยใช้ตัวเลขจากงบการเงินสำหรับปีทั้งสำหรับปีสิ้นสุด 31
ธันวาคม 2562 และ 31 มีนาคม 2563 และหมายเหตุประกอบงบการเงินสำหรับงบการเงินไตรมาส 1
สิ้นสุด 31 มีนาคม 2563 และสิ้นสุด 30 มิถุนายน 2563 มาศึกษาอัตราส่วนทางการเงินที่เปลี่ยนแปลง ไปหลังจากมาตรฐานฉบับนี้มีผลบังคับใช้ เนื่องจากเป็นครั้งแรกที่บริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ได้นำมาตรฐานฉบับนี้มาถือปฏิบัติใช้ ซึ่งไม่รวมบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมการเงินและการ ธนาคาร เนื่องจากส่วนใหญ่ในกลุ่มอุตสาหกรรมนี้ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ให้เช่ามากกว่าผู้เช่า หลังจากนั้นก็ ไปสำรวจของข้อมูลที่เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินไตรมาส 1 สิ้นสุด 31 มีนาคม 2563
และสิ้นสุด 30 มิถุนายน 2563 ว่านำมาตรฐานฉบับนี้มาปฏิบัติใช้แล้วหรือยัง เปิดเผยข้อมูลครบถ้วน หรือไม่ ถ้าเปิดเผยไม่ครบถ้วนผู้วิจัยจึงต้องตัดข้อมูลของบริษัทฯ ที่เปิดเผยข้อมูลไม่ครบถ้วนและ บริษัทที่ยังxxxxxxนำมาตรฐานฉบับนี้มาปฏิบัติใช้ ซึ่งจะคงเหลือจำนวน 475 บริษัท ตามตารางที่ 3.1
หลังจากได้กลุ่มตัวอย่างตามตารางที่ 3.1 ผู้วิจัยจำแนก 475 บริษัทเป็นกลุ่มอุตสาหกรรม
ต่างๆ จำนวน 8 กลุ่มอุตสาหกรรม ตามตารางที่ 3.2
ตารางที่ 3.1
จำนวนxxxxxxxxxxใช้ในการศึกษา
รายละเอียด | จำนวน (บริษัท) |
บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกลุ่ม SET | 622 |
หัก: บริษัทที่อยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมธุรกิจการเงินและการธนาคาร | (128) |
หัก: บริษัทที่ยังxxxxxxนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้มาถือ ปฏิบัติใช้ | (14) |
หัก: บริษัทจดทะเบียนที่มีข้อมูลไม่ครบถ้วน | (5) |
รวมจำนวนบริษัทที่ใช้ในการxxxxxxผลและวิเคราะห์ | 475 |
ที่มา: บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่ม SET ข้อมูล ณ xxxxxx 28 กันยายน
2563
ตารางที่ 3.2
จำแนกเป็นกลุ่มxxxxx👉กรรมต่างๆ ในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาด👉ลักทรัพย์แ👉่งประเทศไทยในกลุ่ม
SET ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลกลุ่มตัวอย่างจากทั้ง👉มด 475 บริษัท ได้ดังนี้
กลุ่มอุตสาหกรรม | จำนวนบริษัท | ร้อยละ |
เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร | 49 | 10.32 |
เทคโนโลยี | 35 | 7.37 |
ทรัพยากร | 51 | 10.73 |
บริการ | 111 | 23.37 |
สินค้าอุตสาหกรรม | 88 | 18.53 |
สินค้าอุปโภคบริโภค | 40 | 8.42 |
อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง | 96 | 20.21 |
อื่นๆ | 5 | 1.05 |
รวม | 475 | 100.00 |
3.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีรวบรวมข้อมูล คือ เก็บตัวเลขxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ (Right of use asset) และหนี้สินจาก สัญญาเช่า (Lease liability) จากหมายเหตุประกอบงบการเงิน ในส่วนของผลสะสมจากการ เปลี่ยนแปลงนโยบายบัญชีเนื่องจากการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินxxxxxxถือปฏิบัติ ของ กลุ่มตัวอย่างจากงบไตรมาส 1 จากเว็ปไซต์ SET และเก็บข้อมูลตัวเลขจากงบการเงินสำหรับปีส้ินสุด 31 ธันวาคม 2562 และปีสิ้นสุด 31 มีนาคม 2563 จากฐานข้อมูล SETSMART จำนวน 475 บริษัท เพื่อใช้ในการคำนวณอัตราส่วนทางการเงิน
3.3 การวิเคราะห์ข้อมูล โดยจะใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังต่อไปนี้
3.3.1 สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) การวิเคราะห์ข้อมูลจะวิเคราะห์ในรูปของ ค่าสถิติพื้นฐานเกี่ยวกับผลกระทบต่องบการเงินจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ อัตราส่วนทางการเงินที่เกี่ยวข้อง โดยแสดงผลในรูปค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงxxx มาตรฐาน เป็นต้น ซึ่งแสดงค่าเฉลี่ยของตัวแปร เป็นต้น
3.3.2 ใช้สถิติเชิงxxxxxx (Inferential Statistics) การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีสถิติเชิง xxxxxx โดยจะนำตัวแปร คืออัตราส่วนทางการเงินที่จะกล่าวด้านล่างมาหาค่าความแตกต่า งของ อัตราส่วนทางการเงินก่อนและหลังจากการมาตรฐานการรายงานทางการเงินมีผลบังคับใช้ โดยใช้การ ทดสอบ Paired Sample T-Test
ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลกระทบต่ออัตราส่วนทางการเงินที่เกี่ยวข้องทั้งก่อนและหลังจาก การปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน เรื่องสัญญาเช่า สำหรับบริษัทที่จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ว่ามีความแตกต่างกัน อย่างมีสาระสำคัญหรือไม่ โดยจะเปรียบเทียบ อัตราส่วนทางการเงิน ดังนี้
1. อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity Ratio) = หนี้สินรวม/ ส่วนของผู้ถือหุ้น
2. อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Return on Equity: ROE) = กำไรสุทธิ/ ส่วนของผู้ถือหุ้น
3. อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (Return on Assets: ROA) = กำไรสุทธิ/ สินทรัพย์รวม
4. อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ (Dexx Xxxxx) = หนี้สินรวม/สินทรัพย์รวม
บทที่ 4
ผลการวิจัยและอภิปรายผล
ตารางที่ 4.1
สรุปวิธีปฏิบัติทางการบัญชีสำ👉รับการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า มาถือปฏิบัติครั้งแรก ที่บริษัทในกลุ่มตัวอย่าง 475 บริษัทเลือกนำมาใช้ ดังนี้
วิธีปฏิบัติ (Approach) | จำนวน (บริษัท) | ร้อยละ (%) |
ไม่กระทบกับงบการเงินอย่างมีสาระสำคัญ | 58 | 12.21 |
Modified Retrospective (A) | 70 | 14.74 |
Modified Retrospective (B) | 343 | 72.21 |
Full Retrospective | 4 | 0.84 |
รวม | 475 | 100.00 |
จากตารางที่ 4.1 ข้างต้นพบว่าบริษัทส่วนใหญ่ของกลุ่มตัวอย่างที่นำมาวิเคราะห์ ร้อยละ
72.21 ใช้วิธีปฏิบัติ Modified Retrospective Approach (B) โดยเลือกที่จะรับรู้รายการxxxxxxxxx xxxxxxxxใช้และหนี้สินสัญญาxxxx x xxxxxxมาตรฐานฉบับนี้มีผลบังคับใช้ ด้วยจำนวนเงินที่เท่ากัน ซึ่ง คำนวณจากอายุสัญญาเช่าคงเหลือ คิดลดxxxxxxด้วยอัตราดอกเบี้ยตามนัยจากสัญญา ส่วนวิธีปฏิบัติ อื่นที่บริษัทเลือกใช้ ร้อยละ 14.74 เลือกใช้วิธี Modified Retrospective Approach (A) ร้อยละ
12.21 บริษัทประเมินผลกระทบจากการนำมาตรฐานฉบับนี้มาปฏิบัติใช้แล้วพบว่า ไม่กระทบกับงบ การเงินอย่างมีสาระสำคัญ และสุดท้ายร้อยละ 0.84 เลือกใช้วิธี Full Retrospective Approach
จากตารางข้างต้น ส่วนใหญ่ใช้วิธีปฏิบัติทางบัญชีด้วยวิธี Modified Retrospective Approach ด้วยเหตุผลที่ว่า บริษัทxxxxxxเก็บข้อมูลตัวเลขสัญญาที่เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบ การเงิน ในส่วนภาระxxxxxxxxxจะต้องจ่ายในxxxxxxxxง่าย ไม่ต้องเก็บข้อมูลย้อนหลังมากในการ คำนวณผลกระทบของมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ แต่อย่างไรก็ตาม งบการเงินของปีก่อน จะไม่xxxxxxเปรียบเทียบกับปีปัจจุบันได้ ส่วนวิธี Full retrospective Approach ที่บริษัทเลือก ปฏิบัติน้อยสุด เป็นด้วยเหตุผลที่ว่า มีความยุ่งยากในการเก็บตัวเลขย้อนหลัง และจะต้องมีการจัดทำ งบการเงินปีxxxxxxxxเป็นฉบับที่เปรียบเทียบกันได้ โดยเหตุผลที่บริษัทเลือกใช้ ส่วนใหญ่เป็นบริษัทที่มี สัญญาเช่าxxxxxxงานเยอะ xxxxxxสูง xxxx เช่าพื้นที่ในห้างสรรพสินค้า เช่าเสาสัญญาณโทรศัพท์ เป็น
ต้น ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายหลักของบริษัท บริษัทจึงเลือกใช้วิธีนี้เพื่อให้งบปีก่อนและปีปัจจุบัน xxxxxx เปรียบเทียบกัน xxxxxxมีการเปลี่ยนแปลงมากสำหรับการวิเคราะห์ของนักลงทุน เป็นต้น
ตารางที่ 4.2
วิเคราะ👉์ขนาดสินทรัพย์ 👉นี้สิน ก่อนและ👉ลังใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า
(หน่วย : พันบาท)
ก่อนใช้มาตรฐาน | หลังใช้มาตรฐาน | xxxxxขึ้น | |
สินทรัพย์รวม | 15,581,067,848.22 | 16,401,225,472.77 | 5.26% |
หนี้สินรวม | 8,527,842,434.15 | 9,412,387,089.32 | 10.37% |
จากตารางที่ 4.2 ขนาดสินทรัพย์รวมหลังนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่องสัญญา เช่ามาปฏิบัติ พบว่าxxxxxขึ้นร้อยละ 5.26 เมื่อเทียบกับสินทรัพย์รวมก่อนใช้มาตรฐานฉบับนี้ ส่วน หนี้สินรวมหลังนำมาตรฐานฉบับนี้มาปฏิบัติใช้ พบว่า xxxxxขึ้นถึงร้อยละ 10.37 โดยจากสัดส่วนการ xxxxxขึ้นของทั้งสินทรัพย์และหนี้สินxxxxxขึ้นไม่เท่ากันเนื่องจากส่วนหนึ่งมาจากวิธีทางบัญชีที่นำ มาตรฐานฉบับนี้มาใช้ และด้วยสินทรัพย์และหนี้สินมีสัดส่วนไม่เท่ากัน การxxxxxขึ้นจึงต่างกัน
4.1 การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณข้อมูลทั่วไปของกลุ่มบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยในกลุ่ม SET
ตารางที่ 4.3
วิเคราะ👉์ค่าสถิติเชิงพรรณนา ตามจำนวนอัตราส่วนทางการเงินที่มีค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงxxxมาตรฐานเบื้องต้น ของบริษัทจดทะเบียนในตลาด👉ลักทรัพย์แ👉่งประเทศไทย โดย จำแนกตามอัตราส่วนทางการเงินก่อนและ👉ลังนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า มาปฏิบัติใช้
อัตราส่วนทาง การเงิน | หน่วย | ค่าต่ำสุด | ค่าสูงสุด | ค่าเฉลี่ย | ส่วนเบี่ยงxxx มาตรฐาน |
DE_Before | เท่า | (5.3743) | 20.8147 | 1.1372 | 1.8062 |
DE_After | เท่า | (9.9804) | 28.8462 | 1.2565 | 2.2082 |
ROE_Before | ร้อยละ | (3.8526) | 0.8925 | 0.0353 | 0.2713 |
อัตราส่วนทาง การเงิน | หน่วย | ค่าต่ำสุด | ค่าสูงสุด | ค่าเฉลี่ย | ส่วนเบี่ยงxxx มาตรฐาน |
ROE_After | ร้อยละ | (3.8526) | 0.8925 | 0.0355 | 0.2714 |
ROA_Before | ร้อยละ | (0.6147) | 0.2488 | 0.0280 | 0.08435 |
ROA_After | ร้อยละ | (0.6146) | 0.2485 | 0.0274 | 0.0804 |
DEBT_Before | ร้อยละ | 0.0226 | 2.3314 | 0.4299 | 0.2442 |
DEBT_After | ร้อยละ | 0.0226 | 2.3236 | 0.4486 | 0.2386 |
ตารางที่ 4.4 วิเคราะ👉์ค่าเฉลี่ยอัตราส่วนทางการเงินของบริษัทจดทะเบียนในตลาด👉ลักทรัพย์แ👉่งประเทศไทย ก่อนและ👉ลังนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า มาปฏิบัติใช้ โดยจำแนก ตามวิธีปฏิบัติทางบัญชีทั้ง 3 วิธี
Paired Sample T-Test | |||
Mean | |||
อัตราส่วนทาง การเงิน | Modified Retrospective Approach (A) | Modified Retrospective Approach (B) | Full Retrospective Approach |
DE_Before | 1.5768 | 1.0936 | 2.2783 |
DE_After | 1.9063 | 1.1900 | 2.4180 |
ROE_Before | 0.0626 | 0.0371 | 0.1476 |
ROE_After | 0.0638 | 0.0372 | 0.1477 |
ROA_Before | 0.0420 | 0.0255 | 0.0519 |
ROA_After | 0.0388 | 0.0254 | 0.0489 |
DEBT_Before | 0.4689 | 0.4457 | 0.6017 |
DEBT_After | 0.5114 | 0.4625 | 0.6267 |
ชื่อย่อและความหมายของตัวแปร
DE_Before คือ อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ก่อนนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16
เรื่องสัญญาเช่า มาปฏิบัติใช้
DE_After คือ อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์หลังนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า มาปฏิบัติใช้
ROE_Before คือ อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นก่อนนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า มาปฏิบัติใช้
ROE_After คือ อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นรวมหลังนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า มาปฏิบัติใช้
ROA_Before คือ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมก่อนนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่
16 เรื่อง สัญญาเช่า มาปฏิบัติใช้
ROA_After คือ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมหลังนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่
16 เรื่อง สัญญาเช่า มาปฏิบัติใช้
DEBT_Before คือ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นก่อนนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า มาปฏิบัติใช้
DEBT_After คือ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นหลังนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับ ที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า มาปฏิบัติใช้
จากผลการศึกษาจากตารางที่ 4.3 และ ตารางที่ 4.4 ได้แสดงข้อมูลทางสถิติของตัวแปรแต่ ละอัตราส่วนทางการเงินก่อนและหลังจากมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญา เช่า มีผลบังคับใช้ ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยแสดงผลในด้าน ค่าเฉลี่ย จากผลการคำนวณxxxxxxจากตารางสถิติตัวอย่างแบบจับคู่ โดยxxxxxxอธิบายได้ดังนี้
1.อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to equity Ratio)
ค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นก่อนและหลังจากมาตรฐานการรายงานทาง การเงินฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่ามีผลบังคับใช้สำหรับบริษัทจดทะเบียนจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พบว่า อัตราส่วนนี้มีค่าเฉลี่ยxxxxxขึ้น จาก 1.14 เท่า เป็น 1.26 เท่า และ จากตารางที่ 4.4 อัตราส่วน Debt to Equity ratio ของทั้งสามวิธีปฏิบัติทางบัญชี (Modified Retrospective Approach (A), Modified Retrospective Approach (B), Full Retrospective Approach) เป็นไปในทิศทางเดียวกันคือxxxxxขึ้น เป็นผลจากการปรับปรุงรายการหนี้สินในงบแสดง ฐานะการเงิน โดยส่วนของผู้ถือหุ้นไม่กระทบอย่างมีสาระสำคัญในงบแสดงฐานะการเงิน
2. อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE)
ค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ก่อนและหลังจากมาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่ามีผลบังคับใช้สำหรับบริษัทจดทะเบียนจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พบว่า อัตราส่วนนี้มีค่าเฉลี่ยxxxxxขึ้น จาก 0.035 เป็น 0.036 และ จากตารางที่ 4.4 อัตราส่วน Debt to Equity ratio ของทั้งสามวิธีปฏิบัติทางบัญชี (Modified Retrospective Approach (A), Modified Retrospective Approach (B), Full Retrospective Approach) เป็นไปในทิศทางเดียวกันคือxxxxxขึ้น เป็นผลจากการปรับปรุงรายการผลต่างระหว่าง xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้และหนี้สินสัญญาเช่าในงบแสดงฐานะการเงิน ซึ่งส่วนของผู้ถือหุ้นxxxxxxกระทบ อย่างมีสาระสำคัญ และส่วนของกำไรxxxxxxxxxกระทบอย่างมีสาระสำคัญ
3. อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (ROA)
ค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมก่อนและหลังจากมาตรฐานการรายงาน ทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่ามีผลบังคับใช้สำหรับบริษัทจดทะเบียนจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พบว่า อัตราส่วนนี้มีค่าเฉลี่ยลดลง จาก 0.028 เป็น 0.027 และจาก ตารางที่ 4.4 อัตราส่วน Debt to Equity ratio ของทั้งสามวิธีปฏิบัติทางบัญชี ( Modified Retrospective Approach (A), Modified Retrospective Approach (B), Full Retrospective Approach) เป็นไปในทิศทางเดียวกันคือลดลง เป็นผลจากการปรับปรุงรายการxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ ในงบแสดงฐานะการเงิน โดยส่วนของกำไรxxxxxxxxxกระทบอย่างมีสาระสำคัญ
4.อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ (Xxxx Xxxxx)
ค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ ก่อนและหลังจากมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่ามีผลบังคับใช้ สำหรับบริษัทจดทะเบียนจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย พบว่า อัตราส่วนนี้มีค่าเฉลี่ยxxxxxขึ้น จาก 0.43 เป็น 0.45 และจากตารางที่ 4.4 อัตราส่วน Debt ratio ของทั้งสามวิธีปฏิบัติทางบัญชี (Modified Retrospective Approach (A), Modified Retrospective (B), Full Retrospective Approach) เป็นไปในทิศทางเดียวกันคือ xxxxxขึ้น เป็นผลจากการปรับปรุงรายการxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ และหนี้สินxxxxxxxxเช่าในงบแสดง ฐานะการเงินในจำนวนที่เท่ากัน แต่ด้วยจำนวนรวมของสินทรัพย์รวมและหนี้สินรวมไม่เท่ากัน จึงทำ ให้ค่าเฉลี่ยก่อนและหลังไม่เท่ากัน
จากตารางที่สรุปข้างต้น xxxxxxสรุปได้ว่าอัตราส่วนทางการเงินที่ศึกษาก่อนและหลัง จาก มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า มีค่าเฉลี่ยxxxxxขึ้นและลดลง เป็นไปตาม การคาดการณ์ของผู้วิจัย
4.2 การวิเคราะห์สถิติเชิงxxxxxxผลการทดสอบสมมติฐาน
ตารางที่ 4.5
ผลการวิเคราะ👉์สถิติเชิงxxxxxxโดยใช้การทดสอบ Paired Sample T-Test เป็นการทดสอบ ผลกระทบอัตราส่วนทางการเงินก่อนและ👉ลังจากมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาxxxx xxxมีผลบังคับใช้สำ👉รับบริษัทจดทะเบียนในตลาด👉ลักทรัพย์แ👉่งประเทศไทย
อัตราส่วนทางการเงิน | Mean | Sig. (2 tailed) | การเปลี่ยนแปลงหลังนำ มาตรฐานฉบับนี้มาใช้ | ยอมรับ/ปฏิเสธ สมมติฐาน |
DE_Before - DE_After | (0.11936679) | 0.000*** | xxxxxขึ้น | ยอมรับ |
ROE_Before - ROE_After | (0.00024027) | 0.039** | ลดลง | ยอมรับ |
ROA_Before - ROA_After | 0.00055603 | 0.299 | ลดลง | ปฏิเสธ |
DEBT_Before - DEBT_After | (0.01865644) | 0.000*** | xxxxxขึ้น | ยอมรับ |
*** ค่า Significance มีค่าน้อยกว่า ค่าระดับนัยสำคัญ 0.01 ** ค่า Significance มีค่าน้อยกว่า ค่า
ระดับ นัยสำคัญ 0.05
จากตารางที่ 4.5 ได้แสดงผลลัพธ์การทดสอบสมมติฐานตามตารางข้างต้น ด้วยวิธีการทดสอบ Paired Sample T- Test โดยผลการทดสอบดังกล่าวข้างต้น แสดงให้เห็นว่าหลังจากที่นำมาตรฐาน การรายงานทางการเงินฉบับนี้มาปฏิบัติใช้แล้วจะส่งผลกระทบต่ออัตราส่วนทางการเงิน ดังนี้คือ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และอัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ มีค่าเฉลี่ยที่แตกต่างกันอยู่ที่ ระดับนัยสำคัญ 0.01 และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น มีค่าเฉลี่ยที่แตกต่างกันอยู่ที่ ระดับนัยสำคัญ 0.05 ส่วนอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์มีค่าเฉลี่ยที่แตกต่างกันอยู่ที่ระดับมากกว่า
0.01 และ 0.05 จึงสรุปได้ว่า ค่าเฉลี่ยก่อนและหลังของอัตราส่วนนี้ ไม่มีความแตกต่างอย่างมี สาระสำคัญ
จากงานวิจัยของต่างประเทศ (Equipment Leasing & Finance Foundation, 2011)
พบว่า ในแต่ละอุตสาหกรรมจะxxxxxxxxกระทบจากการปฏิบัติตามร่างมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้
แตกต่างกันขึ้นอยู่กับอายุของสัญญาเช่าและxxxxxxของสัญญาเช่าxxxxxxงานที่ต้องนำมาปรับปรุง ดังนั้นผู้วิจัยจึงทำการทดสอบสมมติฐาน 4 สมมติฐานข้างต้น โดยครั้งนี้จะจำแนกเป็นกลุ่ม อุตสาหกรรม ซึ่งมีทั้งหมด 8 กลุ่มอุตสาหกรรม เพื่อxxxxxxxกระทบจากการนำมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่ามาปฏิบัติใช้ ตามแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมว่ามีความแตกต่างกัน หรือไม่ โดยผลการทดสอบxxxxxxxxxxxx 4 สมมติฐานเปรียบเทียบกลุ่มอุตสาหกรรม ตามตารางที่ 4.6
ตารางที่ 4.6 ผลการวิเคราะ👉์การทดสอบผลกระทบต่ออัตราส่วนทางการเงินก่อนและ👉ลังจากมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า มีผลบังคับใช้สำ👉รับบริษัทจดทะเบียนในตลาด
👉ลักทรัพย์แ👉่งประเทศไทย ซึ่งจำแนกเป็นกลุ่มxxxxx👉กรรม โดยใช้การทดสอบ Paired Sample T- Test
Paired Sample T - Test | ||||||||
Mean | ||||||||
AGRO | SERVICE | TECH | RESOURCE | INDUS | PROP | CONS | Other | |
N=49 | N=111 | N=35 | N=51 | N=88 | N=96 | N=40 | N=5 | |
DE_Before | 0.94 | 1.12 | 1.62 | 1.18 | 0.96 | 1.52 | 0.46 | 0.53 |
DE_After | 1.04 | 1.39 | 1.72 | 1.28 | 1.00 | 1.61 | 0.50 | 0.56 |
ROE_Before | (2.68%) | 5.60% | 7.47% | 8.28% | (1.59%) | 6.87% | (1.60%) | 9.43% |
ROE_After | (2.66%) | 5.65% | 7.44% | 8.28% | (1.59%) | 6.94% | (1.61%) | 9.43% |
ROA_Before | 3.00% | 4.52% | 2.84% | 3.90% | 1.66% | 3.29% | (0.80%) | (9.12%) |
ROA_After | 2.78% | 4.31% | 2.75% | 3.75% | 1.62% | 3.38% | (0.73%) | (7.00%) |
DEBT_Before | 38.15% | 41.61% | 52.69% | 48.20% | 35.53% | 52.71% | 26.77% | 74.50% |
DEBT_After | 40.58% | 45.00% | 54.14% | 49.45% | 37.05% | 53.60% | 28.43% | 72.54% |
Paired Sample T - Test | ||||||||
Sig. (2.-tailed) | ||||||||
AGRO | SERVICE | TECH | RESOURCE | INDUS | PROP | CONS | Other | |
N=49 | N=111 | N=35 | N=51 | N=88 | N=96 | N=40 | N=5 | |
DE_Before - DE_After | 0.005** | 0.012* | 0.000** | 0.067 | 0.002** | 0.001** | 0.001** | 0.844 |
ROE_Before - ROE_After | 0.061 | 0.257 | 0.000** | 0.985 | 0.167 | 0.172 | 0.410 | 0.374 |
ROA_Before - ROA_After | 0.017* | 0.161 | 0.000** | 0.029* | 0.164 | 0.663 | 0.468 | 0.329 |
DEBT_Before - DEBT_After | 0.003** | 0.001** | 0.000** | 0.000** | 0.004** | 0.065 | 0.001** | 0.681 |
*ค่า Significance มีค่าน้อยกว่า ค่าระดับนัยสำคัญ 0.05 ** ค่า Significance มีค่าน้อยกว่า ค่าระดับ
นัยสำคัญ 0.01 สัญลักษณ์และความหมายของตัวแปร; AGRO = กลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร SERVICE = กลุ่มบริการ
TECH = กลุ่มเทคโนโลยี RESOURCE = กลุ่มทรัพยากร INDUS = กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม
PROP = กลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง
CONS = กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค
Other = กลุ่มอื่นๆ
จากตารางที่ 4.6 ได้แสดงค่าเฉลี่ยของตัวแปรแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมก่อนและหลังจาก มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า มีผลบังคับใช้ อธิบายผลxxxxxxจากการ ตารางสถิติการทดสอบแบบจับคู่ ดังนี้
1.อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (Debt to Equity Ratio) ค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นก่อนนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 มาใช้ ของกลุ่มอุตสาหกรรมทั้ง 8 กลุ่มอุตสาหกรรม ได้แก่ กลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร กลุ่ม บริการ กลุ่มเทคโนโลยี กลุ่มทรัพยากร กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม กลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค และกลุ่มอื่นๆ เท่ากับ 0.94 เท่า, 1.12 เท่า, 1.62 เท่า, 1.18 เท่า, 0.96 เท่า
,1.52 เท่า, 0.46 เท่า และ 0.53 เท่า ตามลำดับ และเมื่อมีการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
ฉบับนี้มาใช้ ทำให้ค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับ 1.04 เท่า, 1.39 เท่า, 1.72
เท่า, 1.28 เท่า, 1.00 เท่า, 1.61 เท่า, 0.50 เท่า และ 0.56 เท่าตามลำดับ
2. อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) ค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นก่อนนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับ ที่ 16 มาใช้ ของกลุ่มอุตสาหกรรมทั้ง 8 กลุ่มอุตสาหกรรม ได้แก่ กลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร กลุ่มบริการ กลุ่มเทคโนโลยี กลุ่มทรัพยากร กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม กลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค และกลุ่มอื่นๆ เท่ากับ (2.68%), 5.60%, 7.47%, 8.28%, (1.59%), 6.87%, (1.60%) และ 9.43% ตามลำดับ และเมื่อมีการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้มาใช้ ทำ ให้ค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับ (2.66%), 5.65%, 7.44%, 8.28%, (1.59%), 6.94%, (1.61%) และ 9.43% ตามลำดับ
3. อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (ROA) ค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมก่อนนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 มาใช้ ของกลุ่มอุตสาหกรรมทั้ง 8 กลุ่มอุตสาหกรรม ได้แก่ กลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร กลุ่มบริการ กลุ่มเทคโนโลยี กลุ่มทรัพยากร กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม กลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค และกลุ่มอื่นๆ เท่ากับ 3.00%, 4.52%, 2.84%, 3.90%, 1.66%, 3.29%, (0.80%) และ (9.12%) ตามลำดับ และเมื่อมีการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้มาใช้ ทำ ให้ค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับ 2.78%, 4.31%, 2.75%, 3.75%, 1.62%, 3.38%, (0.73%) และ (7.00%) ตามลำดับ
4. อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ (Debt Ratio) ค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ก่อนนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 มาใช้ ของกลุ่มอุตสาหกรรมทั้ง 8 กลุ่มอุตสาหกรรม ได้แก่ กลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร กลุ่มบริการ กลุ่มเทคโนโลยี กลุ่มทรัพยากร กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม กลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง กลุ่มสินค้า อุปโภคบริโภค และกลุ่มอื่นๆ เท่ากับ 38.15%, 41.61%, 52.69%, 48.20%, 35.53%, 52.71%, 26.77% และ 74.50% ตามลำดับ และเมื่อมีการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้มาใช้ ทำ ให้ค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่ากับ 40.58%, 45.00%, 54.14%, 49.45%, 37.05%, 53.60%, 28.43% และ 72.54% ตามลำดับ
จากตารางที่ 4.6 ได้แสดงผลลัพธ์การทดสอบสมมติฐานตามตารางข้างต้น ด้วยวิธีการทดสอบ Paired Sample T- Test ซึ่งแยกตามกลุ่มอุตสาหกรรม 8 กลุ่มอุตสาหกรรม โดยผลการทดสอบ ดังกล่าวข้างต้น แสดงให้เห็นว่าหลังจากที่นำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้มาปฏิบัติใช้แล้ว จะส่งผลกระทบต่ออัตราส่วนทางการเงิน อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ มีค่าแตกต่างกันอยู่ที่ระดับ นัยสำคัญ 0.01 จำนวน 6 กลุ่มอุตสาหกรรม ยกเว้น กลุ่มอื่นๆ และกลุ่มอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ และก่อสร้าง ส่วนอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น มีค่าแตกต่างกันอยู่ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01
จำนวน 5 กลุ่มอุตสาหกรรมคือ กลุ่มอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร,กลุ่มเทคโนโลยี, กลุ่มสินค้า อุตสาหกรรม, กลุ่มอสังหาริมทรัพย์และการก่อสร้าง และกลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค ส่วนอุตสาหกรรม บริการ มีค่าแตกต่างกันอยู่ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05
ตารางที่ 4.7 ผลการวิเคราะ👉์การทดสอบผลกระทบต่ออัตราส่วนทางการเงินก่อนและ👉ลังจากมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า มีผลบังคับใช้สำ👉รับบริษัทจดทะเบียนในตลาด
👉ลักทรัพย์แ👉่งประเทศไทย ซึ่งจำแนกตามวิธีปฏิบัติทางบัญชีทั้ง 3 วิธี โดยใช้การทดสอบ Paired Sample T-Test
Paired Sample T-Test | |||
Sig.(2-tailed) | |||
อัตราส่วนทางการเงิน | Modified Retrospective Approach (A) | Modified Retrospective Approach (B) | Full Retrospective Approach |
DE_Before - DE_After | 0.009*** | 0.001*** | 0.396 |
ROE_Before - ROE_After | 0.011** | 0.463 | 0.593 |
ROA_Before - ROA_After | 0.000*** | 0.901 | 0.391 |
DEBT_Before - DEBT_After | 0.000*** | 0.000*** | 0.387 |
*** ค่า Significance มีค่าน้อยกว่า ค่าระดับนัยสำคัญ 0.01 ** ค่า Significance มีค่าน้อยกว่า ค่า ระดับ นัยสำคัญ 0.05
จากตารางที่ 4.7 ได้แสดงผลลัพธ์การทดสอบสมมติฐานตามตารางข้างต้น ด้วยวิธีการทดสอบ Paired Sample T- Test โดยแยกทดสอบตามวิธีปฏิบัติ 3 วิธี (Modified Retrospective Approach (A)
,Modified Retrospective (B) และ Full Retrospective Approach) ซึ่งผลการทดสอบดังกล่าว ข้างต้น แสดงให้เห็นว่าหลังจากที่นำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้มาปฏิบัติใช้แล้วจะส่งผล กระทบต่ออัตราส่วนทางการเงิน ดังนี้คือ สำหรับวิธี Full Retrospective Approach ผลลัพธ์ของทุก อัตราส่วนก่อนและหลังการปฏิบัติมีค่าแตกต่างกันอยู่ที่มากกว่า 0.01 และ 0.05 สรุปได้ว่า ค่าเฉลี่ย ก่อนและหลังของอัตราส่วนนี้ ไม่มีความแตกต่างอย่างมีสาระสำคัญ โดยคาดว่าบริษัทที่เลือกวิธีนี้
ต้องการจะให้งบการเงินเปรียบเทียบกันได้ และผลกระทบจากสัญญาxxxxxxxxxxxxกระทบมากสำหรับ ตัวเลขของxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ หนี้สินสัญญาเช่า และส่วนของผู้ถือหุ้น (กำไรสะสม) จึงทำให้ อัตราส่วนก่อนและหลังใช้มาตรฐานฉบับนี้ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีสาระสำคัญ
วิธี Modified Retrospective Approach (A) อัตราส่วนทางการเงินมีค่าเฉลี่ยที่แตกต่างกัน อยู่ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 สำหรับอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินต่อสินทรัพย์และ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น มีค่าเฉลี่ยที่ แตกต่างกันอยู่ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 จึงสรุปได้ว่าค่าเฉลี่ยก่อนและหลังของอัตราส่วนมีความแตกต่าง มีสาระสำคัญ เนื่องจาก ส่วนใหญ่ส่วนของผู้ถือหุ้น (กำไรสะสม) จะลดลง โดยเกิดจากผลต่างหนี้สิน สัญญาเช่าและxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ ณ xxxxxxเริ่มใช้มาตรฐานฉบับนี้ ส่วนสินทรัพย์และหนี้สินก็xxxxxขึ้น แต่xxxxxขึ้นในสัดส่วนไม่เท่ากัน จึงทำให้ทุกอัตราส่วนก่อนและหลังใช้มาตรฐานฉบับนี้จึงมีความ แตกต่างกัน
ส่วนวิธี Modified Retrospective Approach (B) อัตราส่วนทางการเงินมีค่าเฉลี่ยที่แตกต่าง กันอยู่ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 สำหรับอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินต่อสินทรัพย์ ส่วน อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์และส่วนของผู้ถือหุ้นก่อนและหลังการปฏิบัติมีค่าแตกต่างกันอยู่ที่ มากกว่า 0.01 และ 0.05 สรุปได้ว่า ค่าเฉลี่ยก่อนและหลังของอัตราส่วนทางการเงินนี้ ไม่มีความ แตกต่างอย่างมีสาระสำคัญ เนื่องจาก xxxxxxมาตรฐานฉบับนี้มีผลบังคับใช้ บริษัทต้องรับรู้xxxxxxxxxxxxxx xxxใช้และหนี้สินสัญญาเช่าในงบการเงินด้วยxxxxxxที่เท่ากัน จึงทำให้อัตราส่วนทางการเงินที่เกี่ยวกับ หนี้สิน และสินทรัพย์xxxxxxxxกระทบมากกว่าส่วนของผู้ถือหุ้น
4.3 การอภิปรายผล
จากผลการวิจัยครั้งนี้ได้แสดงให้เห็นว่า การปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า จะส่งผลกระทบต่องบการเงินและอัตราส่วนทางการเงิน สำหรับฝั่งผู้xxxxxxx เปลี่ยนแปลงไป โดยหลักๆ จะกระทบกับงบแสดงฐานะการเงินและงบกำไรขาดทุน ซึ่งอัตราส่วนมี ความxxxxxxxxxxxxxxxในเชิงบวกและเชิงลบ ซึ่งอัตราส่วนทางการเงินที่จะมีการเปลี่ยนแปลงไป โดย อัตราส่วนทางการเงินที่เปลี่ยนแปลงไปในเชิงลบกับบริษัท ประกอบด้วย อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของ ผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของสินทรัพย์ ซึ่งผลวิจัยที่ ออกมาสอดคล้องกับที่ผู้วิจัย คาดการณ์ไว้ โดยผลการทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของสินทรัพย์ ก่อนและหลังนำมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่ามาปฏิบัติใช้ พบว่าค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของสินทรัพย์ก่อน
และหลังนำมาตรฐานฉบับนี้มาปฏิบัติใช้ ไม่มีความแตกต่างอย่างมีสาระสำคัญ จึงให้ข้อสรุปได้ว่า อัตราส่วนที่xxxxxxxxกระทบมากที่สุด ภายหลังการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่ามาปฏิบัติใช้ คือ อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น กล่าวคือ ในงบแสดงฐานะ การเงินจะต้องบันทึกxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้ และหนี้สินสัญญาเช่าxxxxxขึ้นมา โดยการxxxxxขึ้นของหนี้สินมี มากกว่าสินทรัพย์ และส่วนของผู้ถือหุ้นก็xxxxxขึ้นหรือลดลงได้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขสัญญาเช่า ซึ่งแตกต่าง กันขึ้นอยู่กับบริษัทเลือกนโยบายการบันทึกบัญชี ณ xxxxxxมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ บังคับใช้ ดังนั้น ภายหลังการปฏิบัติใช้ของมาตรฐานฉบับนี้ งบการเงินของบริษัทจะสะท้อนxxxxxxxxx xxxxxxxxใช้ และภาระหนี้สินสัญญาเช่า เพื่อให้งบการเงินสะท้อน ผลการxxxxxxงานของบริษัทมากขึ้น แสดงให้เห็นxxxxxxมีสิทธิ์การครอบครองการใช้สินทรัพย์และหนี้สินที่จะต้องจ่ายตามแต่ละสัญญา และอาจจะส่งผลต่อการปฏิบัติตามเงื่อนไขของสัญญาเงินกู้ (ถ้ามี) กับธนาคาร อย่างxxxx ในสัญญา เงินกู้ จะมีข้อกำหนดให้บริษัท ดำรงสัดส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ไม่เกิน 0.2:1 เป็นต้น ดังนั้น บริษัทอาจจะต้องพิจารณาเรื่องเงื่อนไขของสัญญาเงินกู้อย่างเข็มงวด จะเห็นได้ว่ามาตรฐานฉบับนี้มี ผลกระทบสำคัญกับบริษัท และผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วนได้เสีย ดังนั้นบริษัทจึงต้องxxxxxxxกระทบและ สื่อสารกับผู้มีส่วนได้เสียและผู้ใช้งบการเงิน
จากผลการวิจัยในแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมที่xxxxxxxxกระทบจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า พบว่าแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมxxxxxxxxกระทบแตกต่าง กัน จึงยกตัวอย่างกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนทางการเงินทางการเงินก่อนและหลังการ ปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญมากที่สุด คือ กลุ่ม เทคโนโลยี และกลุ่มบริการ ซึ่งถ้าพิจารณาสำหรับกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีและกลุ่มบริการ จะมี สัญญาเช่าxxxxxxงานระยะยาวมากกว่าระยะสั้น ดังนั้นแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมที่xxxxxxxxกระทบที่ แตกต่างกันจากการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้มาใช้ เป็นผลจากการที่บริษัทมีxxxxxx สัญญาเช่าxxxxxxงานแตกต่างกัน
และจากผลการวิจัยจำแนกตามกลุ่มวิธีปฏิบัติบัญชีทั้ง 3 วิธี (Modified Retrospective Approach (A), Modified Retrospective Approach (B) และ Full Retrospective Approach) พบว่าส่วนใหญ่อัตราส่วนทางการเงินที่มีความแตกต่างกันอย่างมีสาระสำคัญ มาจาก 2 วิธีปฏิบัติทาง บัญชี คือ Modified Retrospective Approach (A) และ Modified Retrospective Approach (B)
บทที่ 5
สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการวิจัย
จากงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อxxxxxxxกระทบต่ออัตราส่วนทางการเงิน ด้านผู้เช่า ก่อนและหลังจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า (TFRS16) ซึ่งมาตรฐานฉบับใหม่เป็นโครงการการพัฒนามาตรฐานการบัญชีร่วมกัน ระหว่าง คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (IASB) และคณะกรรมการกำหนด มาตรฐานการรายงานทางการเงินของสหรัฐอเมริกา (FASB) โดยมุ่งxxxxให้การนำเสนอสินทรัพย์และ หนี้สินของผู้xxxxxxxสะท้อนให้เห็นในงบแสดงฐานะการเงิน แก้ไขปัญหารายการนอกงบแสดงฐานะของ บริษัท ในด้านผู้xxxx xxxเกิดจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาเช่า ทำให้รายการนอกงบแสดงฐานะการเงินที่เกิดจากสัญญาเช่าxxxxxxงาน ถูกนำมาแสดงไว้ ในงบการเงิน โดยฝั่งผู้เช่าจะต้องบันทึก “xxxxxxxxxxxxxxxxxใช้” และรับรู้ “หนี้สินสัญญาเช่า” ควบคู่ กัน ซึ่งเกือบทุกสัญญา โดยมีเพียงสัญญาxxxxxxxมีอายุสัญญาอายุน้อยกว่า 12 เดือน และสัญญาที่มี xxxxxxต่ำ (Low value asset) เมื่อสินทรัพย์นั้นเป็นสินทรัพย์ใหม่ ซึ่งผลกระทบจากการปฏิบัติตาม มาตรฐานฉบับใหม่นี้จะทำให้งบกำไรขาดทุนของผู้เช่าไม่มีภาระของค่าเช่าจ่าย แต่จะมีภาระค่าใช้จ่าย ในส่วนของค่าเสื่อมราคาของxxxxxxxxxxxxxxxxxใช้และดอกเบี้ยจ่ายxxxxxขึ้นแทน ในด้านผลกระทบต่อ งบแสดงฐานะการเงิน คือ ต้องรับรู้รายการสินทรัพย์และหนี้สินในงบแสดงฐานะการเงินxxxxxสูงขึ้น โดยงานวิจัยนี้ทำการศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยรวบรวมข้อมูล จากงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2562 และ 31 มีนาคม 2563 และงบการเงินไตรมาส 1 ปี
สิ้นสุด 31 มีนาคม และ 30 มิถุนายน 2563 ที่เปิดเผยข้อมูลผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบาย
บัญชีใหม่เนื่องจากการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่ามาถือปฏิบัติใช้ และไม่รวมกลุ่มธุรกิจการเงินเพราะส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นผู้ให้เช่ามากกว่าผู้เช่า และบริษัทที่เปิดเผย ข้อมูลไม่ครบถ้วน จึงได้จำนวนบริษัทกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 475 บริษัท รวมทั้งข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ และวิธีในการศึกษาจะนำข้อมูลในงบการเงินมาปรับปรุงให้เป็นไปตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า เพื่อนำมาวิเคราะห์ความแตกต่างของอัตราส่วนทางการเงินก่อน และหลังจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ ทั้งนี้การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น จะใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงxxxมาตรฐาน โดยจะแสดงค่าเฉลี่ยของตัวแปรแต่ละตัวแปร และใช้
สถิติเชิงxxxxxx (Inferential Statistics) ทำการทดสอบความแตกต่างของผลกระทบของอัตราส่วน ทางการเงินก่อนและหลัง จากการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า โดยใช้หาค่าความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย 2 กลุ่มxxxxxxเป็นxxxxxต่อกัน โดยใช้การทดสอบ Paired Samples T-Test โดยหาความแตกต่างของผลกระทบของอัตราส่วนทางการเงิน ทั้ง 4 อัตราส่วนทางการเงิน ได้แก่ อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือ หุ้น อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และอัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์ โดยบริษัทส่วนใหญ่จาก กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ส่วนใหญ่ใช้วิธี Modified Retrospective Approach สำหรับใช้บันทึกบัญชี เรื่อง สัญญาเช่า จากผลการxxxxxxxกระทบต่ออัตราส่วนทางการเงินด้านผู้เช่า ก่อนและหลังจากการ ปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ของบริษัทกลุ่มตัวอย่าง พบว่าเมื่อบริษัทมีการบันทึกสัญญาเช่าxxxxxxงานไว้ในงบการเงิน อัตราส่วนทางการเงินที่สำคัญ
เปลี่ยนแปลงไปอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลทางลบกับกิจการเป็นสวน
ใหญ่ คืออัตราส่วนที่เกี่ยวข้องกับงบแสดงฐานะการเงิน ซึ่งจะทำให้อัตราส่วนทางการเงินที่ใช้วัดความ เสี่ยง (Risk Ratio) xxxx อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน (Debt to Equity ratio) และอัตราส่วนหนี้สินต่อ สินทรัพย์รวม (Debt to Asset ratio) xxxxxขึ้นอย่างมีนัยสำคัญหากมีสัญญาเช่าxxxxxxงานมาก อัตรา ผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (Return on Assets) จะลดลงเนื่องจากมีสินทรัพย์xxxxxขึ้น อัตรา ผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (Return on Equity) xxxxxxxxxxกระทบอย่างมีนัยสำคัญ ทั้งนี้ทิศทางการ เปลี่ยนแปลงของผลกระทบจากอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ลดลง และอัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น อาจจะxxxxxขึ้นหรือลดลง ซึ่งเป็นไปตามที่ IASB คาดไว้คืออาจจะxxxxxขึ้นหรือลดลงก็ได้มีความไม่ แน่นอนและขึ้นอยู่กับxxxxxxของสัญญาเช่าxxxxxxงานของบริษัท จากผลการวิจัยข้างต้น xxxxxxสรุป ผลได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของอัตราส่วนทางการเงิน ที่มีผลกระทบมาจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า ส่งผลกระทบในแง่ลบต่อบริษัท ได้แก่ การxxxxxขึ้น อย่างมีนัยสำคัญของอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ซึ่งการที่บริษัทมีอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของ ผู้ถือหุ้นที่xxxxxสูงขึ้นนั้น ย่อมส่งผลเสียต่อโครงสร้างทางการเงินของบริษัท และจากการพิx xxxx อัตราส่วนทางการเงินก่อนและหลังนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้มาใช้ ตามแต่ละ อุตสาหกรรม พบว่าอุตสาหกรรมเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมบริการ xxxxxxxxกระทบเยอะสุด เนื่อง ด้วยมีสัญญาเช่าxxxxxxงานเยอะและระยะเวลาเช่าส่วนมากเป็นระยะยาว และจากการพิจารณา อัตราส่วนทางการเงินก่อนและหลังนำมาตรฐการรายงานทางการเงินฉบับนี้ ซึ่งแบ่งตามวิธีที่บริษัท xxxxxxเลือกปฏิบัติทางบัญชีในการใช้บันทึกบัญชีสัญญาเช่า พบว่าส่วนใหญ่อัตราส่วนทางการเงินที่มี ความแตกต่างกันอย่างมีสาระสำคัญ มาจาก 2 วิธีปฏิบัติทางบัญชี คือ Modified Retrospective Approach (A) และ Modified Retrospective Approach (B) ดังนั้นนักลงทุนที่ลงทุนในบริษัทใน
แต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมจะต้องศึกษาและระมัดระวังในการลงทุน และอาจทำให้มีผลกระทบในทางลบ ต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัทได้ ประกอบกับผู้ใช้งบการเงินเมื่อทราบถึงผลกระทบของมาตรฐานการ รายงานทางการเงินฉบับนี้ ก็จะได้มีความระมัดระวังในการนำตัวเลขในงบการเงินไปใช้ในการ วิเคราะห์ เพื่อประกอบการตัดสินใจในเรื่องที่สำคัญ
5.2 ข้อจำกัดของงานวิจัย
1.วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลผลกระทบสำหรับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า ใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากหมายเหตุประกอบงบการเงินหลังจากที่มาตรฐานฉบับนี้มผล บังคับใช้ ซึ่งสนใจเฉพาะผลกระทบฝั่งงบแสดงฐานะการเงิน โดยผู้วิจัยใช้xxxxxxxxxxxว่าผลกระทบฝั่ง งบกำไรขาดทุนไม่มีผลกระทบอย่างมีสาระสำคัญ
2.ข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน โดยดึงจาก SETSMART เป็นข้อมูลที่หน่วย
1000 ดังนั้นการวิเคราะห์อัตราส่วนอาจจะมีความxxxxxxxxxxxxxx แต่คาดว่าไม่มีผลกระทบต่อ อัตราส่วนทางการเงินที่วิเคราะห์ได้อย่างมีสาระสำคัญ
3.สำหรับงบการเงินที่มีรอบบัญชีสิ้นสุด 30 กันยายน 2563 เป็นงบการเงินที่ยังxxxxxxนำ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้มาปฏิบัติใช้ ดังนั้นจึงxxxxxxนำบริษัทดังกล่าวมาอยู่ในกลุ่ม ตัวอย่างที่นำมาวิเคราะห์
5.3 ข้อจำกัดของงานวิจัย
1. ผู้สนใจศึกษาอาจจะศึกษาในส่วนของความxxxxxxxxระหว่างอัตราส่วนทางการเงินและ ราคาของหลักทรัพย์เพิ่มเติม หรือมีผลกระทบทางด้านอื่น
2. เนื่องจากในการศึกษาวิจัยครั้งนี้เลือกศึกษาเฉพาะบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ในกลุ่ม SET ดังนั้นในการศึกษาครั้งต่อไป อาจจะขยายกลุ่มการศึกษาบริษัทที่จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ทั้งหมด เพื่อเปรียบเทียบ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาเช่า ว่ามีผลกระทบเป็นไปในทิศทางเดียวกันหรือไม่
รายการอ้างอิง
งานวิจัย
xxxxxx ต่อรุ่งเรืองกิจ. (2550). ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงวิธีการบัญชีสัญญาเช่าxxxxxxงานเป็น สัญญาเช่าการเงินที่มีอัตราส่วนทางการเงินของบริษัทจดทะเบียนในตลาด👉ลักทรัพย์. (การศึกษาxxxxx บัญชีมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, การบัญชี.
xxxxxxx xxxxxxธุ์. (2558). ผลกระทบของร่างมาตรฐกานการบัญชีระ👉ว่างประเทศ เรื่องสัญญาเช่า ต่ออัตราส่วนทางการเงินในด้านผู้เช่า กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาด👉ลักทรัพย์แ👉่ง ประเทศไทยในกลุ่ม SET100. (การศึกษาxxxxx บัญชีมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, คณะการจัดการและการxxxxxxxxxx, การบัญชี
xxxxxx xxxxxxxxxx. (2558). ผลกระทบของร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่อง สัญญาxxxx xxxมีต่อคุณภาพงบการเงิน. (การศึกษาxxxxx บัญชีมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, การบัญชีธุรกิจแบบบูรณาการ.
ศิรักษ์ สุขวิบูลย์. (2559). ผลกระทบจากการนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินระ👉ว่างประเทศ ฉบับที่16 เรื่อง สัญญาเช่า มาบังคับใช้ต่อวิจารณญาณของผู้ใช้งบการเงินในการประเมิน ความxxxxxxในการพยากรณ์กำไร และการประเมินความเสี่ยงทางด้านการเงิน. (การศึกษา xxxxx บัญชีมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, การบัญชีธุรกิจแบบบูรณาการ
xxxxxx xxxxxxx. (2559). ผลกระทบต่ออัตราส่วนทางการเงินของร่างมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 16 เรื่องสัญญาเช่า ด้านผู้เช่า กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาด👉ลักทรัพย์แ👉่ง ประเทศไทย ในกลุ่ม SET100. (การศึกษาxxxxx บัญชีมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, การบัญชี.
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
ศูนย์xxxxxxxxการพัฒนาความรู้ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2556). การวิเคราะ👉์ อัตราส่วนทางการเงิน. สืบค้นข้อมูลจาก xxxxx://xxx.xxx.xx.xx/xxx/xxxXxxxxxx/xxxxxxXxxx/XxxxxxXxxx_0000000000000.xxx
xxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxx. (0560). IFRS 16 สัญญาเช่าและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง มาตรฐาน. สืบค้นข้อมูลจาก xxxx://xxx.xxx.xx.xx/xxxxxx/0000/0XXxXXX0Xx.xxx
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2560). มาตรฐานการบัญชีฉบับที่17 (ปรับปรุง 2560) เรื่อง สัญญาเช่า. สืบค้นข้อมูลจาก xxxx://xxx.xxx.xx.xx/Xxxxxxx/Xxxxxx/00000
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2562). มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่16 เรื่อง สัญญาเช่า. สืบค้นข้อมูลจาก xxxxx://xxx.xxxx.xx.xx/Xxxxxxx/Xxxxxx/000000 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2563). สรุปรายชื่อบริษัทที่จดทะเบียนในตลาด👉ลักทรัพย์ ณ
xxxxxx 28 กันยายน 2563. สืบค้นข้อมูลจาก xxxx://xxx.xxx.xx.xx
Electronic Media
Equipment Leasing & Finance Foundation. (2011). Economic impacts of the proposed change to lease accounting standards. Retrieved from xxxx://xxx.xxxxxxxxxxxxxxx.xxx/XxxXxxxx/XX/XxxXxxxx/
International Accounting Standards Board. (2016). IFRS 16-Effect- analysis. Retrieved from xxxxx://xxx.xxxx.xxx/-/xxxxx/xxxxxxx/xxxxxx/xxxx/xxxxxxxxx- documents/ifrs16-effects-analysis.pdf
51
ภาคผนวก
บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในกลุ่ม SET
ที่นำมาเป็นกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 475 บริษัท
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
1 | บริษัท เซเว่น ยูทิลิตี้ส์ xxxxx พาวเวอร์ จำกัด (มหาชน) | 7UP | ทรัพยากร |
2 | บริษัท xxxxxx พรอพเพอร์ตี้ จำกัด (มหาชน) | A | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
3 | บริษัท xxxxxx xxวิเอชั่น จำกัด (มหาชน) | AAV | บริการ |
4 | บริษัท แอดวานซ์ คอนเนคชั่น คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | ACC | สินค้าอุปโภคบริโภค |
5 | บริษัท แอ๊บxxxxท คลีน เอ็นเนอร์จี้ จำกดั (มหาชน) | ACE | ทรัพยากร |
6 | บริษัท xxxxxxxxป โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) | ACG | สินค้าอุตสาหกรรม |
7 | บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกดั (มหาชน) | ADVANC | เทคโนโลยี |
8 | บริษัท อาปิโก ไฮเทค จำกัด (มหาชน) | AH | สินค้าอุตสาหกรรม |
9 | บริษัท โรงพยาบาลเอกชล จำกัด (มหาชน) | AHC | บริการ |
10 | บริษัท เอเชียน อินxxเลเตอร์ จำกัด (มหาชน) | AI | ทรัพยากร |
11 | บริษัท แอ็ดวานซ์ อินฟอร์เมชั่น เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) | AIT | เทคโนโลยี |
12 | บริษัท เอ.เจ.พลาสท์ จำกัด (มหาชน) | AJ | สินค้าอุตสาหกรรม |
13 | บริษัท เอเจ แอดวานซ์ เทคโนโลยี จำกดั (มหาชน) | AJA | สินค้าอุปโภคบริโภค |
14 | บริษัท xxxxxxวิศวกรรม จำกัด (มหาชน) | AKR | ทรัพยากร |
15 | บริษัท ออลล่า จำกัด (มหาชน) | ALLA | สินค้าอุตสาหกรรม |
16 | บริษัท เอxxxxx เทเลคอม จำกัด (มหาชน) | ALT | เทคโนโลยี |
17 | บริษัท อxxคอน จำกัด (มหาชน) | ALUCON | สินค้าอุตสาหกรรม |
18 | บริษัท xxxxxxxxพริ้นติ้ง xxxxx พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน) | AMARIN | บริการ |
19 | บริษัท xxxx xxxxปอเรชัน จำกัด (มหาชน) | AMATA | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
20 | บริษัท xxxx xxเอ็น จำกัด (มหาชน) | AMATAV | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
21 | บริษัท เอเซีย เมทัล จำกัด (มหาชน) | AMC | สินค้าอุตสาหกรรม |
22 | บริษัท อนันดา xxxxxลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) | ANAN | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
23 | บริษัท xxxx (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) | AP | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
24 | บริษัท เอเชียน ไฟย์โตxxติคอลส์ จำกัด (มหาชน) | APCO | สินค้าอุปโภคบริโภค |
25 | บริษัท เอเซีย พรีซิชั่น จำกัด (มหาชน) | APCS | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
26 | บริษัท เอเพ็กซ์ xxxxxลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) | APEX | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
27 | บริษัท อกริเพยี ว โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) | APURE | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
28 | บริษัท xxxxx เอสเตท จำกัด (มหาชน) | AQ | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
29 | บริษัท อควา คอร์เปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | AQUA | บริการ |
30 | บริษัท xxxxxxxxฟท์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | AS | บริการ |
31 | บริษัท xxxxxx จำกัด (มหาชน) | ASEFA | สินค้าอุตสาหกรรม |
32 | บริษัท เอเชียโฮเต็ล จำกัด (มหาชน) | ASIA | บริการ |
33 | บริษัท เอxxxxxxxx คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | ASIAN | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
34 | บริษัท เอเชียน มารีน เซอร์วิสส์ จำกัด (มหาชน) | ASIMAR | บริการ |
35 | บริษัท แอสเสท เวิรด์ คอร์ป จำกัด (มหาชน) | AWC | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
36 | บริษัท บี จิสติกส์ จำกัด (มหาชน) | B | บริการ |
37 | บริษัท บี-52 แคปปิตอล จำกัด (มหาชน) | B52 | สินค้าอุปโภคบริโภค |
38 | บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) | BA | บริการ |
39 | บริษัท บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) | BAFS | ทรัพยากร |
40 | บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน) | BANPU | ทรัพยากร |
41 | บริษัท บางกอก xxx ฮอสปิทอล จำกัด (มหาชน) | BCH | บริการ |
42 | บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | BCP | ทรัพยากร |
43 | บริษัท บีxxxxจี จำกัด (มหาชน) | BCPG | ทรัพยากร |
44 | บริษัท เบอร์ล่า คาร์บอน (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) | BCT | สินค้าอุตสาหกรรม |
45 | บริษัท กรุงเทพxxxxxxxxxxx จำกัด(มหาชน) | BDMS | บริการ |
46 | บริษัท บิวตี้ คอมมูนิตี้ จำกัด (มหาชน) | BEXXXX | xxxxxx |
47 | บริษัท บีxxxx เวิลด์ จำกัด (มหาชน) | BEC | บริการ |
48 | บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) | BEM | บริการ |
49 | บริษัท บีจี คอนเทนเนอร์ กล๊าส จำกัด (มหาชน) | BGC | สินค้าอุตสาหกรรม |
50 | บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน) | BGRIM | ทรัพยากร |
51 | บริษัท โรงพยาบาลxxxxxxxxxxx จำกัด (มหาชน) | BH | บริการ |
52 | บริษัท บิ๊ก คาเมร่า คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | BIG | บริการ |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
53 | บริษัท เบอร์xxx ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) | BJC | บริการ |
54 | บริษัท xxxxxx เฮฟวี่ อินดัสทรี จำกัด (มหาชน) | BJCHI | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
55 | บริษัท บางกอก เดค-คอน จำกัด (มหาชน) | BKD | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
56 | บริษัท บางกอกแลนด์ จำกัด (มหาชน) | BLAND | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
57 | บริษัท บลิส-เทล จำกัด (มหาชน) | BLISS | เทคโนโลยี |
58 | บริษัท บ้านปู เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน) | BPP | ทรัพยากร |
59 | บริษัท บางกอกแร้นช์ จำกัด (มหาชน) | BR | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
60 | บริษัท บ้านร็อคxxxxxxxx จำกัด (มหาชน) | BROCK | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
61 | บริษัท น้ำตาลบุรีรัมย์ จำกัด (มหาชน) | BRR | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
62 | บริษัท xxxxxxxxxxxxมิล จำกัด (มหาชน) | BSBM | สินค้าอุตสาหกรรม |
63 | บริษัท บูติคนิวซิตี้ จำกัด (มหาชน) | BTNC | สินค้าอุปโภคบริโภค |
64 | บริษัท บีxxxxx กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) | BTS | บริการ |
65 | บริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ xxxx จำกัด (มหาชน) | BWG | บริการ |
66 | บริษัท xxxxxxวกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | CBG | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
67 | บริษัท แคล-คอมพ์ อีเล็คโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | CCET | เทคโนโลยี |
68 | บริษัท ผลิตภัณฑ์คอนกรีตชลบุรี จำกัด (มหาชน) | CCP | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
69 | บริษัท แคปปิทอล เอ็นจิxxxxxxxx เน็ตเวิร์ค จำกัด (มหาชน) | CEN | สินค้าอุตสาหกรรม |
70 | บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำกัด (มหาชน) | CENTEL | บริการ |
71 | บริษัท ซีเฟรชอินดัสตรี จำกัด (มหาชน) | CFRESH | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
72 | บริษัท คันทรี่ กรุ๊ป xxxxxลอปเมนท์ จำกดั (มหาชน) | CGD | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
73 | บริษัท โรงพยาบาลxxxxxxxxx จำกัด (มหาชน) | CHG | บริการ |
74 | บริษัท ห้องเย็นxxxxxxxxxหาดใหญ่ จำกัด (มหาชน) | CHOTI | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
75 | บริษัท xxxxxxxxx ดีเวล็อปเมนท์ จำกดั (มหาชน) | CI | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
76 | บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) | CK | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
77 | บริษัท xxxx พาวเวอร์ จำกัด (มหาชน) | CKP | ทรัพยากร |
78 | บริษัท เชียงใหม่โฟรxxxxxxxดส์ จำกัด(มหาชน) | CM | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
79 | บริษัท เคมีแมน จำกัด (มหาชน) | CMAN | สินค้าอุตสาหกรรม |
80 | บริษัท เชียงใหม่รามธุรกิจการแพทย์ จำกัด (มหาชน) | CMR | บริการ |
81 | บริษัท xxxxเตียนีและxxxxxxx (ไทย) จำกดั (มหาชน) | CNT | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
82 | บริษัท ซีโอxxx จำกัด (มหาชน) | COL | บริการ |
83 | บริษัท คอมเซเว่น จำกัด (มหาชน) | COM7 | บริการ |
84 | บริษัท xxxxxxx xxxxมิกส์ จำกัด (มหาชน) | COTTO | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
85 | บริษัท xxxx ออลล์ จำกัด (มหาชน) | CPALL | บริการ |
86 | บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) | CPF | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
87 | บริษัท คาสเซ่อร์พีคโฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) | CPH | สินค้าอุปโภคบริโภค |
88 | บริษัท ชุมพรอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) | CPI | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
89 | บริษัท xxxxxxx กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | CPL | สินค้าอุปโภคบริโภค |
90 | บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน) | CPN | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
91 | บริษัท xxxxxx xxร์ xxxxx เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน) | CPT | สินค้าอุตสาหกรรม |
92 | บริษัท คอปเปอร์ ไวร์ด จำกัด (มหาชน) | CPW | บริการ |
93 | บริษัท xxไก จำกัด (มหาชน) | CRANE | สินค้าอุตสาหกรรม |
94 | บริษัท เซ็นทรัล รีเทล คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | CRC | บริการ |
95 | บริษัท ฝาจีบ จำกัด (มหาชน) | CSC | สินค้าอุตสาหกรรม |
96 | บริษัท xxxxxxx xxxxเซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) | CSP | สินค้าอุตสาหกรรม |
97 | บริษัท xxxxxxxxxxxx จำกัด (มหาชน) | CSR | บริการ |
98 | บริษัท คอมมิวนิเคชั่น xxxxx ซิสเต็มส์ โซลูชั่น จำกัด (มหาชน) | CSS | บริการ |
99 | บริษัท xxxxxxxไวร์xxxxxxxxxxxx จำกัด (มหาชน) | CTW | สินค้าอุตสาหกรรม |
100 | บริษัท xxxxxxxx แทนเนอรี่ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | CWT | สินค้าอุตสาหกรรม |
101 | บริษัท ไดนาสตี้เซรามิค จำกัด (มหาชน) | DCC | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
102 | บริษัท ดีคอนโปรxxxส์ จำกัด (มหาชน) | DCON | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
103 | บริษัท xx xxxx ดรีม จำกัด (มหาชน) | DDD | สินค้าอุปโภคบริโภค |
104 | บริษัทเดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | DELTA | เทคโนโลยี |
105 | บริษัท เด็มโก้ จำกัด (มหาชน) | DEMCO | ทรัพยากร |
106 | บริษัท ดูโฮม จำกัด (มหาชน) | DOHOME | บริการ |
107 | บริษัท ผลิตภัณฑ์ตราเพชร จำกัด (มหาชน) | DRT | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
108 | บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) | DTAC | เทคโนโลยี |
109 | บริษัท xxxxxxxxx จำกัด (มหาชน) | DTC | บริการ |
110 | บริษัท ดี.ที.ซี.อินดัสตรี่ส์ จำกัด (มหาชน) | DTCI | สินค้าอุปโภคบริโภค |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
111 | บริษัท พลังงานxxxxxxxxx จำกัด (มหาชน) | EA | ทรัพยากร |
112 | บริษัท อีซึ่น xxxxx xx จำกัด (มหาชน) | EASON | สินค้าอุตสาหกรรม |
113 | บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) | EASTW | ทรัพยากร |
114 | บริษัท xxxxxเนิล เอนเนอยี จำกัด (มหาชน) | EE | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
115 | บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) | EGCO | ทรัพยากร |
116 | บริษัท xxxxxxการแพทย์ จำกัด (มหาชน) | EKH | บริการ |
117 | บริษัท xxxxxxxx จำกัด (มหาชน) | EMC | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
118 | บริษัท อีสเทอร์น พาวเวอร์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | EP | ทรัพยากร |
119 | บริษัท อีสเทิร์นโพxxเมอร์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | EPG | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
120 | บริษัท ดิ xxxxxxx กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | ERW | บริการ |
121 | บริษัท xxxxxx (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | ESSO | ทรัพยากร |
122 | บริษัท อีสเทอร์น xxxxx xxxxx เอสเตท จำกัด (มหาชน) | ESTAR | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
123 | บริษัท เอเวอร์แลนด์ จำกัด (มหาชน) | EVER | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
124 | บริษัท ฟู้ดxxxxxดริ๊งส์ จำกัด (มหาชน) | F&D | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
125 | บริษัท แฟนซีxxxx อินดัสตรีส จำกัด (มหาชน) | FANCY | สินค้าอุปโภคบริโภค |
126 | บริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) | FE | บริการ |
127 | บริษัท ฟูรูกาวา เม็ททัล (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) | FMT | สินค้าอุตสาหกรรม |
128 | บริษัท xxxเอ็น แฟคตxxxx เอ๊าท์เลท จำกัด (มหาชน) | FN | บริการ |
129 | บริษัท ฟอร์ท คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | FORTH | เทคโนโลยี |
130 | บริษัท ไฟร์เทรดเอ็นจิxxxxxxxx จำกัด (มหาชน) | FTE | บริการ |
131 | บริษัท โกลบอล คอนเน็คชั่นส์ จำกัด (มหาชน) | GC | สินค้าอุตสาหกรรม |
132 | บริษัท xxxเนอรัล เอนจิxxxxxxxx จำกัด (มหาชน) | GEL | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
133 | บริษัทบริหารและพัฒนาเพื่อการxxxxxxxxสิ่งแวดล้อม จำกัด(มหาชน) | GENCO | บริการ |
134 | บริษัท xxxxxxxxx จำกัด (มหาชน) | GFPT | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
135 | บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จำกัด (มหาชน) | GGC | สินค้าอุตสาหกรรม |
136 | บริษัท แกรททิทูด อินฟินิท จำกัด (มหาชน) | GIFT | สินค้าอุตสาหกรรม |
137 | บริษัท จี เจ สตีล จำกัด (มหาชน) | GJS | สินค้าอุตสาหกรรม |
138 | บริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน) | GLAND | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
139 | บริษัท สยามโกลบอลเฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) | GLOBAL | บริการ |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
140 | บริษัท โกลบอล คอนซูเมอร์ จำกัด (มหาชน) | GLOCON | สินค้าอุตสาหกรรม |
141 | บริษัท กรังด์ปรีซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) | GPI | บริการ |
142 | บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จำกัด (มหาชน) | GPSC | ทรัพยากร |
143 | บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) | GRAMMY | บริการ |
144 | บริษัท แกรนด์ แอสเสท โฮเทลส์ แอนด์ พรอพเพอร์ตี้ จำกัด(มหาชน) | GRAND | บริการ |
145 | บริษัท กรีน รีซอร์สเซส จำกัด (มหาชน) | GREEN | ทรัพยากร |
146 | บริษัท จี สตีล จำกัด (มหาชน) | GSTEEL | สินค้าอุตสาหกรรม |
147 | บริษัท กัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) | GULF | ทรัพยากร |
148 | บริษัท กันกุลเอ็นจิเนียริ่ง จำกัด (มหาชน) | GUNKUL | ทรัพยากร |
149 | บริษัท กู๊ดเยยี ร์(ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | GYT | สินค้าอุตสาหกรรม |
150 | บริษัท ฮานา ไมโครอิเล็คโทรนิคส จำกดั (มหาชน) | HANA | เทคโนโลยี |
151 | บริษัท ฮั้วฟง รับเบอร์ (ไทยแลนด์) จำกดั (มหาชน) | HFT | สินค้าอุตสาหกรรม |
152 | บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) | HMPRO | บริการ |
153 | บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) | HTC | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
154 | บริษัท แฮลเซี่ยน เทคโนโลยี่ จำกัด (มหาชน) | HTECH | สินค้าอุตสาหกรรม |
155 | บริษัท ฮิวแมนิก้า จำกัด (มหาชน) | HUMAN | เทคโนโลยี |
156 | บริษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอร์เนชั่นแนล จำกดั (มหาชน) | ICC | สินค้าอุปโภคบริโภค |
157 | บริษัท อิชิตัน กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | ICHI | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
158 | บริษัท อินเตอร์ไฮด์ จำกัด (มหาชน) | IHL | สินค้าอุตสาหกรรม |
159 | บริษัท ทริพเพิล ไอ โลจิสติกส์ จำกัด (มหาชน) | III | บริการ |
160 | บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) | ILINK | เทคโนโลยี |
161 | บริษัท อินเด็กซ์ ลิฟวิ่งมอลล์ จำกัด (มหาชน) | ILM | บริการ |
162 | บริษัท อินเทอร์เน็ตประเทศไทย จำกัด (มหาชน) | INET | เทคโนโลยี |
163 | บริษัท อิงเกรส อินดัสเตรียล (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) | INGRS | สินค้าอุตสาหกรรม |
164 | บริษัท โพสโค-ไทยน๊อคซ์ จำกัด (มหาชน) | INOX | สินค้าอุตสาหกรรม |
165 | บริษัท อินทัช โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) | INTUCH | เทคโนโลยี |
166 | บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน) | IRPC | ทรัพยากร |
167 | บริษัท ไอที ซิตี้ จำกัด (มหาชน) | IT | บริการ |
168 | บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) | ITD | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
169 | บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จำกัด (มหาชน) | IVL | สินค้าอุตสาหกรรม |
170 | บริษัท เจเอเอส แอสเซ็ท จำกัด (มหาชน) | J | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
171 | บริษัทจัสมิน อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) | JAS | เทคโนโลยี |
172 | บริษัท เจซีเค อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) | JCK | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
173 | บริษัท แจก๊ เจียอุตสาหกรรม (ไทย) จำกดั (มหาชน) | JCT | สินค้าอุปโภคบริโภค |
174 | บริษัท เจ มาร์ท จำกัด (มหาชน) | JMART | เทคโนโลยี |
175 | บริษัท จัสมิน เทเลคอม ซิสเต็มส์ จำกัด (มหาชน) | JTS | เทคโนโลยี |
176 | บริษัท จุฑานาวี จำกัด (มหาชน) | JUTHA | บริการ |
177 | บริษัท เจดับเบิ้ลยูดี อินโฟโลจิสติกส์ จำกัด (มหาชน) | JWD | บริการ |
178 | บริษัท คาร์มาร์ท จำกัด (มหาชน) | KAMART | บริการ |
179 | บริษัท น้ำตาลครบุรี จำกัด (มหาชน) | KBS | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
180 | บริษัท เค.ซี. พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด (มหาชน) | KC | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
181 | บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จำกัด (มหาชน) | KCE | เทคโนโลยี |
182 | บริษัท ธนบุรี เมดิเคิล เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) | KDH | บริการ |
183 | บริษัท กุลธรเคอร์บี้ จำกัด (มหาชน) | KKC | สินค้าอุตสาหกรรม |
184 | บริษัท กรุงเทพโสภณ จำกัด (มหาชน) | KWC | บริการ |
185 | บริษัท คิง ไว กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | KWG | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
186 | บริษัท กันยงอีเลคทริก จำกัด (มหาชน) | KYE | สินค้าอุปโภคบริโภค |
187 | บริษัท ไลท์ติ้ง แอนด์ อีควปเมนท์ จำกดั (มหาชน) | L&E | สินค้าอุปโภคบริโภค |
188 | บริษัท ลลิล พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด (มหาชน) | LALIN | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
189 | บริษัท ลานนารีซอร์สเซส จำกัด (มหาชน) | LANNA | ทรัพยากร |
190 | บริษัท ลีพัฒนาผลิตภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) | LEE | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
191 | บริษัทแลนด์แอนด์เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) | LH | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
192 | บริษัท โลหะกิจ เม็ททอล จำกัด (มหาชน) | LHK | สินค้าอุตสาหกรรม |
193 | บริษัท ล็อกซเล่ย์ จำกัด (มหาชน) | LOXLEY | บริการ |
194 | บริษัท โรงพยาบาล ลาดพร้าว จำกัด (มหาชน) | LPH | บริการ |
195 | บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกดั (มหาชน) | LPN | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
196 | บริษัท ลากูน่า รีสอร์ท แอนด์ โฮเท็ล จำกัด (มหาชน) | LRH | บริการ |
197 | บริษัท ล่ำสูง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | LST | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
198 | บริษัท เอ็มเค เรสโตรองต์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | M | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
199 | บริษัท มาสเตอร์ แอด จำกัด (มหาชน) | MACO | บริการ |
200 | บริษัท เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ้ป จำกัด (มหาชน) | MAJOR | บริการ |
201 | บริษัท สยามแม็คโคร จำกัด (มหาชน) | MAKRO | บริการ |
202 | บริษัท มาลีกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | MALEE | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
203 | บริษัท แมนดารินโฮเต็ล จำกัด (มหาชน) | MANRIN | บริการ |
204 | บริษัท แม็ทชิ่ง แม็กซิไมซ์ โซลูชั่น จำกัด (มหาชน) | MATCH | บริการ |
205 | บริษัท มติชน จำกัด (มหาชน) | MATI | บริการ |
206 | บริษัท แมกซ์ เมทัล คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | MAX | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
207 | บริษัท เอ็ม บี เค จำกัด (มหาชน) | MBK | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
208 | บริษัท โรงพยาบาลมหาชัย จำกัด (มหาชน) | M-CHAI | บริการ |
209 | บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) | MCOT | บริการ |
210 | บริษัท เอ็ม.ซี.เอส.สตีล จำกัด (มหาชน) | MCS | สินค้าอุตสาหกรรม |
211 | บริษัท เอ็ม ดี เอ็กซ์ จำกัด (มหาชน) | MDX | ทรัพยากร |
212 | บริษัท เมก้า ไลฟ์ไซแอ็นซ์ จำกัด (มหาชน) | MEGA | บริการ |
213 | บริษัท เอ็ม เอฟ อี ซี จำกัด (มหาชน) | MFEC | เทคโนโลยี |
214 | บริษัท ไมด้า แอสเซ็ท จำกัด (มหาชน) | MIDA | บริการ |
215 | บริษัท มิลล์คอน สตีล จำกัด (มหาชน) | MILL | สินค้าอุตสาหกรรม |
216 | บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกดั (มหาชน) | MINT | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
217 | บริษัท เมเจอร์ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) | MJD | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
218 | บริษัท มั่นคงเคหะการ จำกัด (มหาชน) | MK | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
219 | บริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | MODERN | สินค้าอุปโภคบริโภค |
220 | บริษัท โมโน เน็กซ์ จำกัด (มหาชน) | MONO | บริการ |
221 | บริษัท เอ็ม พิคเจอร์ส เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) | MPIC | บริการ |
222 | บริษัท เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชั่น จำกดั (มหาชน) | MSC | เทคโนโลยี |
223 | บริษัท นิวซิตี้ (กรุงเทพฯ) จำกัด (มหาชน) | NC | สินค้าอุปโภคบริโภค |
224 | บริษัท เอ็น. ซี. เฮ้าส์ซิ่ง จำกัด (มหาชน) | NCH | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
225 | บริษัท เอ็นอีพี อสังหาริมทรัพย์ และอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) | NEP | สินค้าอุตสาหกรรม |
226 | บริษัท นอร์ทอีส รับเบอร์ จำกัด (มหาชน) | NER | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
227 | บริษัท วัฒนาการแพทย์ จำกัด (มหาชน) | NEW | บริการ |
228 | บริษัท เน็กซ์ พอยท์ จำกัด (มหาชน) | NEX | เทคโนโลยี |
229 | บริษัท เอ็นเอฟซี จำกัด (มหาชน) | NFC | สินค้าอุตสาหกรรม |
230 | บริษัท นวนคร จำกัด (มหาชน) | NNCL | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
231 | บริษัท โนเบิล ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) | NOBLE | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
232 | บริษัท สายการบินนกแอร์ จำกัด (มหาชน) | NOK | บริการ |
233 | บริษัท โรงพยาบาลนนทเวช จำกัด (มหาชน) | NTV | บริการ |
234 | บริษัท ณุศาศิริ จำกัด (มหาชน) | NUSA | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
235 | บริษัท เนอวานา ไดอิ จำกัด (มหาชน) | NVD | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
236 | บริษัทเนาวรัตน์พัฒนาการ จำกัด (มหาชน) | NWR | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
237 | บริษัท นามยง เทอร์มินัล จำกัด (มหาชน) | NYT | บริการ |
238 | บริษัท โอ ซี ซี จำกัด (มหาชน) | OCC | สินค้าอุปโภคบริโภค |
239 | บริษัท โอเชียนกลาส จำกัด (มหาชน) | OGC | สินค้าอุปโภคบริโภค |
240 | บริษัท โอเอชทีแอล จำกัด (มหาชน) | OHTL | บริการ |
241 | บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด (มหาชน) | ORI | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
242 | บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) | OSP | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
243 | บริษัท พีเออี (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | PAE | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
244 | บริษัท แพนเอเซียฟุตแวร์ จำกัด (มหาชน) | PAF | สินค้าอุปโภคบริโภค |
245 | บริษัท แปซิฟิกไพพ์ จำกัด (มหาชน) | PAP | สินค้าอุตสาหกรรม |
246 | บริษัท พาโตเคมีอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) | PATO | สินค้าอุตสาหกรรม |
247 | บริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จำกัด (มหาชน) | PB | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
248 | บริษัท พี.ซี.เอส.แมชีน กรุ๊ปโฮลดิ้ง จำกดั (มหาชน) | PCSGH | สินค้าอุตสาหกรรม |
249 | บริษัท ผาแดงอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) | PDI | ทรัพยากร |
250 | บริษัท แพรนด้า จิวเวลรี่ จำกัด (มหาชน) | PDJ | สินค้าอุปโภคบริโภค |
251 | บริษัท เพิ่มสินสตีลเวิคส์ จำกัด (มหาชน) | PERM | สินค้าอุตสาหกรรม |
252 | บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จำกัด (มหาชน) | PF | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
253 | บริษัท ประชาอาภรณ์ จำกัด (มหาชน) | PG | สินค้าอุปโภคบริโภค |
254 | บริษัท พัฒน์กล จำกัด (มหาชน) | PK | สินค้าอุตสาหกรรม |
255 | บริษัท แพลน บี มีเดีย จำกัด (มหาชน) | PLANB | บริการ |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
256 | บริษัท เดอะ แพลทินัม กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | PLAT | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
257 | บริษัท เพาเวอร์ไลน์ เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด (มหาชน) | PLE | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
258 | บริษัท พรีเมียร์ มาร์เก็ตติ้ง จำกัด (มหาชน) | PM | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
259 | บริษัท พีเอ็ม โทรีเซน เอเชีย โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) | PMTA | สินค้าอุตสาหกรรม |
260 | บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารกวา้ งไพศาล จำกัด (มหาชน) | POMPUI | - |
261 | บริษัท สหไทย เทอร์มินอล จำกัด (มหาชน) | PORT | บริการ |
262 | บริษัท บางกอก โพสต์ จำกัด (มหาชน) | POST | บริการ |
263 | บริษัท พรีเมียร์ โพรดักส์ จำกัด (มหาชน) | PPP | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
264 | บริษัท พีพี ไพร์ม จำกัด (มหาชน) | PPPM | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
265 | บริษัท โรงพยาบาลพระรามเก้า จำกัด (มหาชน) | PR9 | บริการ |
266 | บริษัท ประกิต โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) | PRAKIT | บริการ |
267 | บริษัท พรีบิลท์ จำกัด (มหาชน) | PREB | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
268 | บริษัท ปรีชากรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | PRECHA | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
269 | บริษัท ปทุมไรซมิล แอนด์ แกรนารี จำกัด (มหาชน) | PRG | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
270 | บริษัท ไพร์ม โรด เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน) | PRIME | ทรัพยากร |
271 | บริษัท ปริญสิริ จำกัด (มหาชน) | PRIN | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
272 | บริษัท พริ้นซิเพิล แคปิตอล จำกัด (มหาชน) | PRINC | บริการ |
273 | บริษัท พริมา มารีน จำกัด (มหาชน) | PRM | บริการ |
274 | บริษัท โปรเฟสชั่นแนล เวสต์ เทคโนโลยี (1999) จำกัด (มหาชน) | PRO | บริการ |
275 | บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) | PSH | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
276 | บริษัท พรีเชียส ชิพปิ้ง จำกัด (มหาชน) | PSL | บริการ |
277 | บริษัท พรีเมียร์ เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) | PT | เทคโนโลยี |
278 | บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จำกัด (มหาชน) | PTG | ทรัพยากร |
279 | บริษัท โพลีเพล็กซ์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | PTL | สินค้าอุตสาหกรรม |
280 | บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) | PTT | ทรัพยากร |
281 | บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) | PTTEP | ทรัพยากร |
282 | บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน) | PTTGC | สินค้าอุตสาหกรรม |
283 | บริษัท ไพลอน จำกัด (มหาชน) | PYLON | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
284 | บริษัท ควอลิตี้คอนสตรัคชั่นโปรดัคส์ จำกัด (มหาชน) | Q-CON | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
285 | บริษัท ควอลิตี้เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) | QH | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
286 | บริษัท โรงพยาบาลรามคำแหง จำกัด (มหาชน) | RAM | บริการ |
287 | บริษัท ราช กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | RATCH | ทรัพยากร |
288 | บริษัท อาร์ แอนด์ บี ฟู้ด ซัพพลาย จำกดั (มหาชน) | RBF | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
289 | บริษัท โรแยล ซีรามิค อุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) | RCI | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
290 | บริษัท อาร์ ซี แอล จำกัด (มหาชน) | RCL | บริการ |
291 | บริษัท ริชี่ เพลซ 2002 จำกัด (มหาชน) | RICHY | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
292 | บริษัท โรงพยาบาลราชธานี จำกัด (มหาชน) | RJH | บริการ |
293 | บริษัท ไรมอน แลนด์ จำกัด (มหาชน) | RML | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
294 | บริษัท ร้อกเวิธ จำกัด (มหาชน) | ROCK | สินค้าอุปโภคบริโภค |
295 | บริษัท โรงแรมรอยัล ออคิด (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | ROH | บริการ |
296 | บริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จำกัด (มหาชน) | ROJNA | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
297 | บริษัท อาร์พีซีจี จำกัด (มหาชน) | RPC | ทรัพยากร |
298 | บริษัท โรงพยาบาลราชพฤกษ์ จำกัด (มหาชน) | RPH | บริการ |
299 | บริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) | RS | บริการ |
300 | บริษัท ริช สปอร์ต จำกัด (มหาชน) | RSP | บริการ |
301 | บริษัท สิงห์ เอสเตท จำกัด (มหาชน) | S | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
302 | บ.เอส แอนด์ เจ อินเตอร์เนชั่นแนล เอนเตอร์ไพรส์ จำกัด (มหาชน) | S & J | สินค้าอุปโภคบริโภค |
303 | บริษัท ซาบีน่า จำกัด (มหาชน) | SABINA | สินค้าอุปโภคบริโภค |
304 | บริษัท ซาฟารีเวิลด์ จำกัด (มหาชน) | SAFARI | - |
305 | บริษัท สามชัย สตีล อินดัสทรี จำกัด (มหาชน) | SAM | สินค้าอุตสาหกรรม |
306 | บริษัท สามารถคอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | SAMART | เทคโนโลยี |
307 | บริษัท สัมมากร จำกัด (มหาชน) | SAMCO | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
308 | บริษัท สามารถเทลคอม จำกัด (มหาชน) | SAMTEL | เทคโนโลยี |
309 | บริษัท เซ็ปเป้ จำกัด (มหาชน) | SAPPE | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
310 | บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) | SAT | สินค้าอุตสาหกรรม |
311 | บริษัท ไทยเทพรส จำกัด (มหาชน) | SAUCE | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
312 | บริษัท สว่างเอ็กซ์ปอร์ต จำกัด (มหาชน) | SAWANG | สินค้าอุปโภคบริโภค |
313 | บริษัท เอสซี แอสเสท คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | SC | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
314 | บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด(มหาชน) | SCC | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
315 | บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) | SCCC | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
316 | บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จำกัด (มหาชน) | SCG | ทรัพยากร |
317 | บริษัท เอสซีไอ อีเลคตริค จำกัด (มหาชน) | SCI | ทรัพยากร |
318 | บริษัท ซัคเซสมอร์ บีอิ้งค์ จำกัด (มหาชน) | SCM | บริการ |
319 | บริษัท สแกน อินเตอร์ จำกัด (มหาชน) | SCN | ทรัพยากร |
320 | บริษัท ทักษิณคอนกรีต จำกัด (มหาชน) | SCP | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
321 | บริษัท สามารถ ดิจิตอล จำกัด (มหาชน) | SDC | เทคโนโลยี |
322 | บริษัท ซีฟโก้ จำกัด (มหาชน) | SEAFCO | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
323 | บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) | SE-ED | บริการ |
324 | บริษัท เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) | SENA | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
325 | บริษัท สยามฟิวเจอร์ดีเวลอปเมนท์ จำกดั (มหาชน) | SF | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
326 | บริษัท สตาร์เฟล็กซ์ จำกัด (มหาชน) | SFLEX | สินค้าอุตสาหกรรม |
327 | บริษัท สยามแก๊ส แอนด์ ปิโตรเคมีคัลส์ จำกัด (มหาชน) | SGP | ทรัพยากร |
328 | บริษัท แชงกรี-ลา โฮเต็ล จำกัด (มหาชน) | SHANG | บริการ |
329 | บริษัท เอส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท จำกัด (มหาชน) | SHR | บริการ |
330 | บริษัท สยามสตีลอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) | SIAM | สินค้าอุปโภคบริโภค |
331 | บริษัท ซิงเกอร์ประเทศไทย จำกัด (มหาชน) | SINGER | บริการ |
332 | บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) | SIRI | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
333 | บริษัท เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | SIS | เทคโนโลยี |
334 | บริษัท เอสไอเอสบี จำกัด (มหาชน) | SISB | บริการ |
335 | บริษัท ศรีไทยซุปเปอร์แวร์ จำกัด (มหาชน) | SITHAI | สินค้าอุตสาหกรรม |
336 | บริษัท สากล เอนเนอยี จำกัด (มหาชน) | SKE | ทรัพยากร |
337 | บริษัท ส.กิจชัย เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด (มหาชน) | SKN | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
338 | บริษัท ศิครินทร์ จำกัด (มหาชน) | SKR | บริการ |
339 | บริษัท สาลี่ พริ้นท์ติ้ง จำกัด (มหาชน) | SLP | สินค้าอุตสาหกรรม |
340 | บริษัท สหมิตรเครื่องกล จำกัด (มหาชน) | SMIT | สินค้าอุตสาหกรรม |
341 | บริษัท สหมิตรถังแก๊ส จำกัด (มหาชน) | SMPC | สินค้าอุตสาหกรรม |
342 | บริษัท สตาร์ส ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | SMT | เทคโนโลยี |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
343 | บริษัท เอส เอ็น ซี ฟอร์เมอร์ จำกัด (มหาชน) | SNC | สินค้าอุตสาหกรรม |
344 | บริษัท เอส แอนด์ พี ซินดิเคท จำกัด (มหาชน) | SNP | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
345 | บริษัท โซลาร์ตรอน จำกัด (มหาชน) | SOLAR | ทรัพยากร |
346 | บริษัท ส. ขอนแก่นฟู้ดส์ จำกัด (มหาชน) | SORKON | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
347 | บริษัท เอส. แพ็ค แอนด์ พริ้นท์ จำกัด (มหาชน) | SPACK | สินค้าอุตสาหกรรม |
348 | บริษัท ศุภาลัย จำกัด (มหาชน) | SPALI | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
349 | บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) | SPC | บริการ |
350 | บริษัท เอสพีซีจี จำกัด (มหาชน) | SPCG | ทรัพยากร |
351 | บริษัท สยามภัณฑ์กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | SPG | สินค้าอุตสาหกรรม |
352 | บริษัท สหพัฒนาอินเตอร์โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) | SPI | บริการ |
353 | บริษัท สตาร์ ปิโตรเลียม รีไฟน์นิ่ง จำกดั (มหาชน) | SPRC | ทรัพยากร |
354 | บริษัท สหกลอิควิปเมนท์ จำกัด (มหาชน) | SQ | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
355 | บริษัท ศรีราชาคอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) | SRICHA | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
356 | บริษัท สุรพลฟู้ดส์ จำกัด (มหาชน) | SSF | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
357 | บริษัท เสริมสร้าง พาวเวอร์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | SSP | ทรัพยากร |
358 | บริษัท ศูนย์บริการเหล็กสยาม จำกัด (มหาชน) | SSSC | สินค้าอุตสาหกรรม |
359 | บริษัท ทรัพย์ศรีไทย จำกัด (มหาชน) | SST | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
360 | บริษัท ศรีตรังแอโกรอินดัสทรี จำกัด (มหาชน) | STA | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
361 | บริษัท ไทยสแตนเลย์การไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) | STANLY | สินค้าอุตสาหกรรม |
362 | บริษัท สตาร์ค คอร์เปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | STARK | สินค้าอุตสาหกรรม |
363 | บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่งแอนด์คอนสตรัคชั่น จำกัด(มหาชน) | STEC | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
364 | บริษัท ศรีตรังโกลฟส์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | STGT | สินค้าอุปโภคบริโภค |
365 | บริษัท ซันไทยอุตสาหกรรมถุงมือยาง จำกัด (มหาชน) | STHAI | สินค้าอุปโภคบริโภค |
366 | บริษัท เอสทีพี แอนด์ ไอ จำกัด (มหาชน) | STPI | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
367 | บริษัท สหยูเนี่ยน จำกัด (มหาชน) | SUC | สินค้าอุปโภคบริโภค |
368 | บริษัท ซุปเปอร์ เอนเนอร์ยี คอร์เปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | SUPER | ทรัพยากร |
369 | บริษัท ซัสโก้ จำกัด (มหาชน) | SUSCO | ทรัพยากร |
370 | บริษัท สุธากัญจน์ จำกัด (มหาชน) | SUTHA | สินค้าอุตสาหกรรม |
371 | บริษัท สมิติเวช จำกัด (มหาชน) | SVH | บริการ |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
372 | บริษัท เอสวีไอ จำกัด (มหาชน) | SVI | เทคโนโลยี |
373 | บริษัท เอสวีโอเอ จำกัด (มหาชน) | SVOA | เทคโนโลยี |
374 | บริษัท ซิมโฟนี่ คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) | SYMC | เทคโนโลยี |
375 | บริษัท ซินเน็ค (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | SYNEX | เทคโนโลยี |
376 | บริษัท ซินเท็ค คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) | SYNTEC | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
377 | บริษัท ไทย อะโกร เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด (มหาชน) | TAE | ทรัพยากร |
378 | บริษัท ทิปโกแอสฟัลท์ จำกัด (มหาชน) | TASCO | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
379 | บริษัท ทีบีเอสพี จำกัด (มหาชน) | TBSP | บริการ |
380 | บริษัท ทรอปิคอลแคนนิ่ง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | TC | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
381 | บริษัท ไทย แคปปิตอล คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | TCC | ทรัพยากร |
382 | บริษัท ไทยเซ็นทรัลเคมี จำกัด (มหาชน) | TCCC | สินค้าอุตสาหกรรม |
383 | บริษัท ที.ซี.เจ.เอเซีย จำกัด (มหาชน) | TCJ | สินค้าอุตสาหกรรม |
384 | บริษัท ทีซีเอ็ม คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | TCMC | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
385 | บริษัท อุตสาหกรรมผ้าเคลือบพลาสติกไทย จำกัด (มหาชน) | TCOAT | สินค้าอุตสาหกรรม |
386 | บริษัท ทีมพรีซิชั่น จำกัด (มหาชน) | TEAM | เทคโนโลยี |
387 | บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จำกัด (มหาชน) | TEAMG | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
388 | บริษัท ไทยฟู้ดส์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | TFG | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
389 | บริษัท ไทยฟิล์มอินดัสตรี่ จำกัด (มหาชน) | TFI | สินค้าอุตสาหกรรม |
390 | บริษัท ไทยเพรซิเดนท์ฟูดส์ จำกัด (มหาชน) | TFMAMA | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
391 | บริษัท ไทย-เยอรมัน โปรดักส์ จำกัด (มหาชน) | TGPRO | สินค้าอุตสาหกรรม |
392 | บริษัท ตงฮั้ว โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) | TH | บริการ |
393 | บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) | THAI | บริการ |
394 | บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) | THCOM | เทคโนโลยี |
395 | บริษัท เดอะ สตีล จำกัด (มหาชน) | THE | สินค้าอุตสาหกรรม |
396 | บริษัท ธนบุรี เฮลท์แคร์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | THG | บริการ |
397 | บริษัท ทานตะวันอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) | THIP | สินค้าอุตสาหกรรม |
398 | บริษัท ทุ่งคาฮาเบอร์ จำกัด (มหาชน) | THL | ทรัพยากร |
399 | บริษัท ทิปโกฟ้ ูดส์ จำกัด (มหาชน) | TIPCO | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
400 | บริษัท ไทยแลนด์ไอออนเวิคส์ จำกัด (มหาชน) | TIW | สินค้าอุตสาหกรรม |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
401 | บริษัท เถ้าแก่น้อย ฟู๊ดแอนด์มาร์เก็ตติ้ง จำกัด (มหาชน) | TKN | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
402 | บริษัท ที.เค.เอส. เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) | TKS | บริการ |
403 | บริษัท ที.กรุงไทยอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) | TKT | สินค้าอุตสาหกรรม |
404 | บริษัท อุตสาหกรรมถังโลหะไทย จำกัด (มหาชน) | TMD | สินค้าอุตสาหกรรม |
405 | บริษัท ทีเอ็มที สตีล จำกัด (มหาชน) | TMT | สินค้าอุตสาหกรรม |
406 | บริษัท ธนูลักษณ์ จำกัด (มหาชน) | TNL | สินค้าอุปโภคบริโภค |
407 | บริษัท ไทยนามพลาสติกส์ จำกัด (มหาชน) | TNPC | สินค้าอุตสาหกรรม |
408 | บริษัท ไทยนิปปอนรับเบอร์อินดัสตรี้ จำกัด (มหาชน) | TNR | สินค้าอุปโภคบริโภค |
409 | บริษัท ทีโอเอ เพ้นท์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | TOA | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
410 | บริษัท ไทยออพติคอล กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | TOG | สินค้าอุปโภคบริโภค |
411 | บริษัท ไทยออยล์ จำกัด (มหาชน) | TOP | ทรัพยากร |
412 | บริษัท ไทย โอ.พี.พี. จำกัด (มหาชน) | TOPP | สินค้าอุตสาหกรรม |
413 | บริษัท ไทยโพลีอะคริลิค จำกัด (มหาชน) | TPA | สินค้าอุตสาหกรรม |
414 | บริษัท ทีพีบีไอ จำกัด (มหาชน) | TPBI | สินค้าอุตสาหกรรม |
415 | บริษัท เท็กซ์ไทล์เพรสทีจ จำกัด (มหาชน) | TPCORP | สินค้าอุปโภคบริโภค |
416 | บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำกัด (มหาชน) | TPIPL | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
417 | บริษัท ทีพีไอ โพลีน เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน) | TPIPP | ทรัพยากร |
418 | บริษัท ไทยโพลีคอนส์ จำกัด (มหาชน) | TPOLY | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
419 | บริษัท ไทยบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ จำกัด (มหาชน) | TPP | สินค้าอุตสาหกรรม |
420 | บริษัท ไทยเรยอน จำกัด (มหาชน) | TR | สินค้าอุปโภคบริโภค |
421 | บริษัท ทีอาร์ซี คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) | TRC | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
422 | บริษัท ไทรทัน โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) | TRITN | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
423 | บริษัท ไทยรุ่งยูเนียนคาร์ จำกัด (มหาชน) | TRU | สินค้าอุตสาหกรรม |
424 | บริษัท ไทยรับเบอร์ลาเท็คซ์กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | TRUBB | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
425 | บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | TRUE | เทคโนโลยี |
426 | บริษัท ไทย โซล่าร์ เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด (มหาชน) | TSE | ทรัพยากร |
427 | บริษัท เธียรสุรัตน์ จำกัด (มหาชน) | TSR | สินค้าอุปโภคบริโภค |
428 | บริษัท ไทยชูการ์ เทอร์มิเนิ้ล จำกัด (มหาชน) | TSTE | บริการ |
429 | บริษัท ทาทา สตีล (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | TSTH | สินค้าอุตสาหกรรม |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
430 | บริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต์ซีส์ จำกัด (มหาชน) | TTA | บริการ |
431 | บริษัท ทีทีซีแอล จำกัด (มหาชน) | TTCL | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
432 | บริษัท โรงงานผ้าไทย จำกัด (มหาชน) | TTI | สินค้าอุปโภคบริโภค |
433 | บริษัท โทเร เท็กซ์ไทล์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | TTT | สินค้าอุปโภคบริโภค |
434 | บริษัท ทีทีดับบลิว จำกัด (มหาชน) | TTW | ทรัพยากร |
435 | บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | TU | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
436 | บริษัท น้ำมันพืชไทย จำกัด (มหาชน) | TVO | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
437 | บริษัท ไทยไวร์โพรดัคท์ จำกัด (มหาชน) | TWP | สินค้าอุตสาหกรรม |
438 | บริษัท ไทยวา จำกัด (มหาชน) | TWPC | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
439 | บริษัท ทีดับบลิวแซด คอร์ปอเรชั่น จำกดั (มหาชน) | TWZ | เทคโนโลยี |
440 | บริษัทไทยคูน เวิลด์ไวด์ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) | TYCN | สินค้าอุตสาหกรรม |
441 | บริษัท ยู ซิตี้ จำกัด (มหาชน) | U | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
442 | บริษัท ยูเอซี โกลบอล จำกัด (มหาชน) | UAC | สินค้าอุตสาหกรรม |
443 | บริษัท สหโมเสคอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) | UMI | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
444 | บริษัท ยูนิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) | UNIQ | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
445 | บริษัท ยูเนี่ยนพลาสติก จำกัด (มหาชน) | UP | สินค้าอุตสาหกรรม |
446 | บริษัท ยูเนี่ยนไพโอเนียร์ จำกัด (มหาชน) | UPF | สินค้าอุปโภคบริโภค |
447 | บริษัท สหอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) | UPOIC | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
448 | บริษัท ยูเนี่ยนอุตสาหกรรมสิ่งทอ จำกัด (มหาชน) | UT | สินค้าอุปโภคบริโภค |
449 | บริษัท ยูไนเต็ด เปเปอร์ จำกัด (มหาชน) | UTP | สินค้าอุตสาหกรรม |
450 | บริษัท ยูนิวานิชน้ำมันปาล์ม จำกัด (มหาชน) | UVAN | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
451 | บริษัท วโรปกรณ์ จำกัด (มหาชน) | VARO | สินค้าอุตสาหกรรม |
452 | บริษัท วีจีไอ จำกัด (มหาชน) | VGI | บริการ |
453 | บริษัท เวนเจอร์ อินคอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | VI | - |
454 | บริษัท โรงพยาบาลวภิ าวดี จำกัด (มหาชน) | VIBHA | บริการ |
455 | บริษัท ศรีวิชัยเวชวิวัฒน์ จำกัด (มหาชน) | VIH | บริการ |
456 | บริษัท วนชัย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | VNG | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
457 | บริษัท วีนิไทย จำกัด (มหาชน) | VNT | สินค้าอุตสาหกรรม |
458 | บริษัท วิจิตรภัณฑ์ปาล์มออยล์ จำกัด (มหาชน) | VPO | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
ลำดับ | บริษัท | หลักทรัพย์ | กลุ่มอุตสาหกรรม |
459 | บริษัท วีรันดา รีสอร์ท จำกัด (มหาชน) | VRANDA | บริการ |
460 | บริษัท วาว แฟคเตอร์ จำกัด (มหาชน) | W | เทคโนโลยี |
461 | บริษัท ไทยวาโก้ จำกัด (มหาชน) | WACOAL | สินค้าอุปโภคบริโภค |
462 | บริษัท เวฟ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) | WAVE | บริการ |
463 | บริษัท ไว้ท์กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | WG | สินค้าอุตสาหกรรม |
464 | บริษัท ดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชั่น จำกดั (มหาชน) | WHA | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
465 | บริษัท ดับบลิวเอชเอ ยูทิลิตี้ส์ แอนด์ พาวเวอร์ จำกัด (มหาชน) | WHAUP | ทรัพยากร |
466 | บริษัท ไวส์ โลจิสติกส์ จำกัด (มหาชน) | WICE | บริการ |
467 | บริษัท วิค จำกัด (มหาชน) | WIIK | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
468 | บริษัท สวนอุตสาหกรรม วินโคสท์ จำกดั (มหาชน) | WIN | อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง |
469 | บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) | WORK | บริการ |
470 | บริษัท เวิลด์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) | WORLD | - |
471 | บริษัท ดับบลิวพี เอ็นเนอร์ยี่ จำกัด (มหาชน) | WP | ทรัพยากร |
472 | บริษัท โรงพยาบาลวัฒนแพทย์ ตรัง จำกัด (มหาชน) | WPH | บริการ |
473 | บริษัท วีรีเทล จำกัด (มหาชน) | WR | - |
474 | บริษัท ยงไทย จำกัด (มหาชน) | YCI | สินค้าอุตสาหกรรม |
475 | บริษัท เซ็น คอร์ปอเรชั่น กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) | ZEN | เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร |
ประวัติผู้เขียน
ชื่อ นางสาววลัยพร ยอดเพชร
วันเดือนปีเกิด 11 พฤษภาคม 2537
วุฒิการศึกษา ปีการศึกษา 2559: บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตำแหน่ง ผู้ช่วยผู้ตรวจสอบบัญชี
บริษัท สำนักงานอีวาย จำกัด
ประสบการณ์ทำงาน 2559 – ปัจจุบัน: ผู้ช่วยผู้ตรวจสอบบัญชี บริษัท สำนักงานอีวาย จำกัด