บทนํา. 4
1. หลักการและที่มาของการดําเนินงาน 4
2. วัตถุประสงค 4
3. องคความรู/เทคโนโลยี/นวัตกรรมที่ถ่ายทอด 4
4. พื้นที่ดําเนินการ /บริบท 4
5. ระยะเวลาและสถานที่ในการดําเนินงานโครงการ 4
6. หนวยงานที่รับผิดชอบ 4
7. กลุมเป้าหมาย 4
8. ผลที่คาดวาจะได้รับ 5
9. งบประมาณในการดําเนินงาน 5 10.ตัวชี้วัดผลการดําเนินงาน 5
บทนํา. 1
1.1 ที่มาและความสำคัญ 1
บทนํา. ระบบการผลิตทางการเกษตรที่เปล่ียนไปที่สําคัญอยางหน่งึ คือการเปลี่ยนรูปแบบการผลิตทาง การเกษตรเปน การเกษตรพันธะสัญญาซึ่งเปนการเกษตรที่มีขอตกลงกันระหวางผูผลิตและผูซื้อสินคา เชน บริษทั ธุรกิจเกษตร โดยมีการตกลงที่จะแบงปนปจจยั การผลิต เทคโนโลยีการผลิต และขอมูลดานการตลาด และการกําหนดราคารบซื้อ ซงึ่ มีรายละเอียดทแตกตางกันไปตามชนิดของผลผลิต ในดานผลการดําเนินงาน ของเกษตรพันธะสญญา นั้น มีความเห็นแตกตางมากมาย เชน World Bank1 กลาววา เกษตรพันธะสัญญา เปน เครื่องมือของความทนั สมัย เนื่องจาก ใหผลประโยชนจากเทคโนโลยีสมัยใหม การควบคุมคุณภาพ การมี ตลาด และบริการอื่นๆ ในขณะที่ Little and Watt2 และ Clapp3 กลาววา เกษตรพันธะสัญญา มีการเอารัด เอาเปรียบ ทําใหเกษตรกรรายยอย เปน คนงาน ในที่ดินของตนเอง แตไมมีการควบคุมใดๆ โดยตนเอง Porter and Philips-Howard4 ไดสํารวจผลการดําเนินงานเกษตรพันธะสัญญาในประเทศ ไนจีเรีย และ แอฟริกาใต พบวา ในขณะที่ การเกษตรแบบนี้กําลังขยายตัวอยางรวดเร็ว มีเกษตรกรรายยอยจํานวนมากที่ ได บั ผลกระทบในทางลบจากการทําสญญากับบริษัทการเกษตรในล ษณะนี้ และรายงานวาเ กษตรกรรายยอย ไมไดรับขาวสารขอมูลเพียงพอจากบริษัท และมีเจาหน ที่สงเสริมไมเพียงพอทําให วามสัมพันธระหวางบริษัท และเกษตรกรไมดี นอกจากนั้น เกษตรกรรายยอยควรมีการผลิตในภาคยังชีพควบคูไป การดําเนินการตางๆ ควรให เกษตรกรมีสวนรวมใหมากขึ้น ภาครัฐก็มีบทบาทที่ตองดูแลใหสัญญามีความเปนธรรมและไมสงผล ในทางลบกบเกษตรกรรายยอย Watt et al5 พบวา สาเหตุหลักของการเสียเปรียบของเกษตรกรรายยอยใน การเกษตรแบบพันธะสัญญาอย รงที่เกษตรกรรายยอยไมมีการรวมตัวกันเปนสหกรณ หรือ สมาคมผูปลูกท สามารถตอรองกบบริษัทได อยางไรก็ตาม ก็มีผูเรียกรองให ัฐบาลเขามามีสวนในการชวยเหลือเกษตรกรราย ยอยในกรณีเกษตรพันธะสัญญา อาทิเชน Key and Runsten6 ผูศึกษากรณีเกษตรพันธะสัญญาในประเทศ ทางลาตินอเมริกา พบวา แม าการเกษตรพันธะสัญญาจะให ระโยชนหลายอยาง มีการใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย ใหรายไดดีขึ้น แตผูที่เขารวมโครงการมักเปนเกษตรกรที่หาแหลงทุนไดเองและไมใชเกษตรกรรายยอย เนื่องจากบริษัทม ไมให ริการดานเงินทุน และสงเสริม กับเกษตรกรรายยอยเพราะมักมีตนทุนคาดําเนินการ สูง สําหรับในประเทศไทยก็มีงานศึกษาเกษตรพันธะสญญาหลายชิ้นทเปนหวงเรื่องผลกระทบตอเกษตรกรทั้ง ในดานสงั คม สงิ่ แวดลอม และความเปนอยู (จิรวัฒน7, ยศ8, ประเทือง9) โดยกลาววา การเกษตรในลักษณะนี้ อาจเปนชองทางให ริษทั ธรุ กิจเกษตรขดรู ีดแรงงานในลักษณะใหมได และยงั อาจกอใหเกิดมลพิษมากมายดวย (เบญจพรรณและคณะ10) จะเห็นไดวามีผูใหความคิดเห็นทงั้ ขอดีขอเสียของการเกษตรระบบพันธะสัญญา การศึกษาน้ีตองการ จะชี้ใหเห็นถึงลกั ษณะการทําเกษตรพันธะสญญา ความพึงพอใจของเกษตรกร จากมุมมองของเกษตรกรผูอยู ในระบบนี้ โดยการศึกษานี้เปนการนําเสนอผลการศึกษา...
บทนํา. ความสําคัญและที่มาของปัญหาการวิจัย……………………………………………………………… 1 วัตถุประสงค์ของการวิจัย…………………………………………………………………………………… 3 ขอบเขตของการวิจัย………………………………………………………………………………………… 5 ข้อตกลงเบื้องต้น (ถ้ามี) …………………………………………………………………………………… 7 ขอบเขตของการวิจัย………………………………………………………………………………………… 7 ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย……………………………………………………………………………… 7
บทนํา. 1.1 เจ้าของโครงการมีความประสงค์จะจัดหาพร้อมติดตั้งเครื่อง วัสดุและอุปกรณ์ในระบบลฟต์ และ อุปกรณ์อำนวยความสะดวกอื่น ๆ สำหรับใช้งานโครงการพัฒนาพื้นที่ส่วนขยายศูนย์ราชการเฉลิม พระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ พื้นที่โซน C กรุงเทพมหานคร อย่างสมบูรณ์ตาม รายละเอียดที่ระบุไว้ในแบบ และข้อกำหนดที่จะได้กล่าวถึงต่อไป
1.2 วัสดุและอุปกรณ์ตลอดจนการติดตั้งระบบต่าง ๆ ตามข้อกำหนดต้องมีความเหมาะสมกับการใช้งาน ภายใต้สภาพภูมิอากาศแวดลอม ดังต่อไปนี้.-
บทนํา. ภูมิหลัง
บทนํา. โดยที่มหาวิทยาลัยและสวนงานมีการจัดทําประกาศเพื่อใหทุนแกนักศึกษาทั้งในระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา ซึ่งในแตละทุนจะมีรายละเอียดของหลักเกณฑที่มีความหลากหลายและแตกตางกัน ตามวัตถุประสงคและเงื่อนไขการใหทุน งานกฎหมายและนิติกรรมสัญญา กองกฎหมาย พบวารางประกาศเกี่ยวกับ การใหทุนการศึกษาที่มีการสงใหกองกฎหมายตรวจสอบกอนที่สวนงานหรือหนวยงานภายในสํานักงานอธิการบดี จะเสนออธิการบดีหรือหัวหนาสวนงาน แลวแตกรณี พิจารณาลงนามออกประกาศตอไปนั้น นอกจากมีขอผิดหลง หรือองคประกอบบางประการที่แตกตางไปจากรูปแบบประกาศของมหาวิทยาลัยแลว ยงั มีลําดับเนื้อความ ความชัดเจน ของหลักเกณฑ ลักษณะการใชถอยคํา และความครบถวนของหลักเกณฑที่จําเปนตองกําหนดไวเพื่อประโยชน ตอการบริหารทุนที่แตกตางกัน ซึ่งสงผลใหการจัดทําประกาศเพื่อใหทุนแกนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยมิไดเปนไป ในแนวทางเดียวกัน และจําเปนตองอาศัยดุลพินิจของอธิการบดี หัวหนาสวนงาน หรือคณะกรรมการบริหารทุน (ถามี) แลวแตกรณี ในการตีความหลักเกณฑที่ไมชัดเจนเพียงพอนั้น นอกจากนั้นในกรณีที่กําหนดเงื่อนไขใหนักศึกษา ตองทําสัญญารบทุนเพื่อกําหนดใหม ีภาระผูกพันเก่ียวกับการปฏิบัติงานชดใช ุน การชดใชเงินแทนการปฏิบติงาน หรือการชดใชคืนเงินทุนในการปฏิบัติผิดสัญญา ยังมีขอสับสนเกี่ยวกับสาระสําคัญของสัญญารับทุน การขออนุมัติ แบบสัญญา รวมถึงผูมีอํานาจลงนามในสัญญาดังกลาวดวย สงผลใหในการตรวจสอบรางประกาศและหรือสัญญา เกี่ยวกับการใหทุนการศึกษาแกนักศึกษาในแตละกรณี เปนการดําเนินการที่จําเปนตองใชระยะเวลาคอนขางมากใน การหารือรวมกับผูประสานงานของสวนงานหรือหนวยงานตนเรื่องเพื่อใหไดมาซึ่งรายละเอียดหลักเกณฑที่ถูกตอง ชัดเจน และสอดคลองกับวัตถุประสงคการใหทุน ซึ่งอาจกระทบตอการดําเนินการใหทุนและบริหารทุนของมหาวิทยาลัย และสวนงานเพื่อสนับสนุนทุนการศึกษาใหแกนักศึกษา งานกฎหมายและนิติกรรมสัญญา กองกฎหมาย จึงเล็งเห็นถึงความสําคัญในการจัดทําแนวทางการ จัดทําประกาศใหทุนและสัญญารับทุนนักศึกษา เพื่อใหมหาวิทยาลัยและสวนงานมีรูปแบบของประกาศใหทุนและ สัญญารับทุนนักศึกษาใชอางอิงในการดําเนินการใหทุนการศึกษาของสวนงานและมหาวิทยาลัย ซึ่งเปนการ สนับสนุนงานดานกฎหมายและนิติกรรมสัญญาที่เกี่ยวกับการใหทุนการศึกษาของมหาวิทยาลัยและสวนงานใหเปนไป อยางถูกตอง ครบถวน เปนประโยชนตอการบริหารทุนการศึกษา และตอบสนองตอความจําเปนเรงดวนในการให ทุนการศึกษาเพื่อสนับสนุนการศึกษาใหแกนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ซึ่งจะชวยสนับสนุนพันธกิจของสวนงานและ ตอบสนองตอแผนยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยตอไป การใหทุนการศึกษามีลักษณะเปนการจายเงินอุดหนุนตามขอ ๒๒.๔ ของประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการรับเงิน การเก็บรักษาเงิน การเบิกเงิน การจายเงิน และการควบคุมดูแลการจายเงิน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แกไขเพ่ิมเติม ซึ่งกําหนดวา “การจายเงินอุ...
บทนํา. 1.1 ความเป็นมาและความสําคัญ 1.2 คําถามวิจัย 1.3 วัตถุประสงค์ 1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ 1 2 3 4 5
บทนํา. ชุมชนบ้านนาโสก ตั้งอยู่ตำบลนาโสก อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร อยู่ทางทิศตะวันตก ของอำเภอ เมืองมุกดาหาร ห่างจากตัวจังหวัดมุกดาหาร 30 กิโลเมตร จากการเรียบเรียงของนายจำรัส หนองแคน (เผ่าภูไทย) อดีตอาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านนาโสก (ประวัติบ้านนาโสก,เอกสารพิมพ์แจก : 2510) กล่าวว่า ย้อนหลังไปราวปีพุทธศักราช 2369 ซึ่งตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 เจ้าอนุวงศ์ผู้ปกครองนครเวียงจันทร์ได้ประกาศตัวเป็นกบฏต่อราชอาณาจักรไทย กองทัพไทยได้ยกไปปราบจน สงบลงได้ หลังจากนั้นไม่นานกองทัพญวนได้ยกเข้ารุกรานอยู่เสมอ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมี พระราชโองการให้พระยาบดินเดชาฯ ยกทัพจากกรุงเทพมหานคร ไปสมทบกับกำลังหัวเมืองอีสานเข้าตีเมือง ชายแดนญวน เมื่อปีพุทธศักราช 2383 มีเมืองวัง เมืองตะโปน แล้วกวาดต้อนเอาผู้คนข้ามแม่น้ำโขง ชาวเมืองที่ อพยพมาเหล่านั้นได้แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มแยกย้ายกันออกไป อาทิ พระไกรสรราช(สีหนาม)ไปตั้ง เมืองหนองสูง พระธิเบศร์วงศา(ราชวงศ์กอ) ไปตั้งเมืองกุดสิมนารายณ์(เขาวง) เป็นต้น แต่ละเผ่าเรียกตนเองว่า “ผู้ไท” ส่วนกลุ่มที่มาตั้งถิ่นฐานเมืองหนองสูงได้แยกย้ายค้นหาทำเลที่เหมาะสมสำหรับประกอบสัมมาอาชีพ โดยมีกลุ่มคนผู้ไทกลุ่มหนึ่งได้เข้าไปยึดชัยภูมิระหว่างหุบเขาภูยูง ภูหินสิ่ว และภูถ้ำพระ ซึ่งมีพื้นที่ไม่ค่อย ราบเรียบเป็นที่ลุ่มสลับที่ดอน เวลาฝนตกหนักน้ำจะบ่าเข้าท่วมพื้นที่และจะไหลลงสู่ลำธารหมด พื้นที่ได้ถูกกัด เซาะทำให้เป็นโสก เหว เช่นนี้ชาวบ้านจึงขนานนามว่า “บ้านนาโสก” และได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช 2378 บรรพบุรุษของบ้านนาโสกที่มาตั้งถิ่นฐานครั้งแรกนั้น จากคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่บอกเล่าว่า ได้มีกลุ่มคนผู้ไท รวมกันตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ดานมะเอกเชิงเขาภูหินสิ่วอยู่ห่างจากบ้านนาโสกปัจจุบันไปทางทิศใต้ประมาณ 5 กิโลเมตร เรียกชื่อว่า “บ้านดาน” ด้วยเหตุผลเป็นป่าที่อุดมสมบูรณ์ เหมาะการทำข้าวไร่ เพราะว่าคนโบราณ ของผู้ไทนิยมทำข้าวไร่เป็นหลัก ชาวผู้ไทกลุ่มนี้ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ที่บ้านดานเป็นเวลาหลายปี จึงได้อพยพย้าย หมู่บ้านตามลำดับคือ การย้ายบ้านครั้งที่ 1 ได้ย้ายจากบ้านดานมาตั้งบ้านใหม่ที่บริเวณทิศใต้ของหมู่ที่ 14 ใน ปัจจุบันเรียกว่าบ้านฮ้าง ถัดจากทุ่งนาม่องอยู่ที่บริเวณบ้านฮ้างเป็นเวลาหลายปี ก็มีคนในหมู่บ้านเจ็บป่วยเป็น ไข้แล้วเสียชีวิต ก็อพยพย้ายบ้านไปอยู่ที่แห่งใหม่อีก ครั้งที่ 2 นี้ย้ายข้ามฟากทุ่งนาม่องเข้าทางทิศตะวันตก การ ย้ายครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งข้ามทุ่งนาม่องเข้ามาตั้งบ้านเรือนที่เป็นหมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 3 ตอนล่าง ติดกับวัดโพธิ์ศรีแก้ว อีกกลุ่มหนึ่งย้ายจากบ้านฮ้างไปตั้งบ้านเรือนอยู่ทางทิศเหนือ ปัจจุบันเรียกว่าบริเวณนา เฮ้อ ห่างจากบ้านนาโสกประมาณ 2 กิโลเมตรเศษ เมื่อเวลาผ่านไปหลายปีบ้านเมืองอยู่เย็นเป็นสุขแล้วกลุ่มที่ อยู่บริเวณนาเฮ้อก็อพยพเข้ามารวมกับกลุ่มข้างวัดซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่กว่า จึงทำให้มีจำนวนหลังคาเร...
บทนํา. ประกอบด้วย ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์การวิจัย ขอบเขตการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย สมมติฐานการวิจัย (ถ้ามี) นิยามศัพท์/นิยามศัพท์เชิงปฏิบัติการ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ และข้อจำกัดการวิจัย (ถ้ามี) 2) บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง รายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง สรุปกรอบแนวคิดการวิจัย