ปัญหาเกี่ยวกับสัญญาสินเชื่อของธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย Credit Agreement Problems of Islamic Bank of Thailand รุ่งโรจน์ เขียวอินต๊ะ1*และศิรภา จ˚าปาทอง2
ปัญหาเกี่ยวกับสัญญาสินเชื่อของธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย Credit Agreement Problems of Islamic Bank of Thailand xxxxxxxxx เขียวxxxxxx1*และxxxภา จ˚าxxxxx2
Rungrot Kewinta1* and Xxxxxx Xxxxxxxxxxxx0
1*นักศึกษาxxxxxxโท คณะนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยxxxxxx ถนนพหลโยธิน ต˚าบลหลกั หก อ˚าเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
2อาจารย์ประจ˚า หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยxxxxxx ถนนพหลโยธิน ต˚าบลหลักหก อ˚าเภอเมือง จงั หวัดปทุมธานี 12000
1*Gradudte student in Master of Laws ,Rangsit University,Phahonyothin Rd., Lak-hok,Pathumthani,Thailand 12000
2Lecturer in Master of Laws, Rangsit University,Phahonyothin Rd., Lak-hok,Pathumthani,Thailand 12000
*Corresponding author, E-mail: Xxxxxxx_xxxxx@xxxxxxx.xxx
xxxxxxxxxxxxxxxxx
บทคัดย่อ
“ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย ” จัดตั้งโดยอาศัยพระราชบัญญัติธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ.
2545 ภายใต้การก˚ากับดูแลของกระทรวงการคลัง ด้วยทุนจดทะเบียน 1,000 ล้านบาท ธนาคารอิสลามมุ่งเน้นการสร้าง ผลิตภัณฑ์และบริการของธนาคาร ให้เกิดความสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มลูกค้า ภายใต้หลักคุณธรรมอัน เคร่งครัดตามหลักศาสนาอิสลาม และอีกด้านหนึ่งก็เป็นธนาคารพาณิชย์จัดขึ้นโดยมีxxxxxxxxxxเพียงประการเดียว คือ แสวงหาก˚าไรให้ได้จ˚านวนมากที่สุดตามความต้องการของผู้ลงทุน ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยเป็นธนาคารxxxxxxxx ก่อตั้งมาxxxxxxนานและในปัจจุบันได้เป็นxxxxxxxxxxxทั่วไป แต่เนื่องจากวิธีการด˚าเนินการของธนาคารอิสลามแห่ง ประเทศไทยนั้นxxxxxxxและแตกต่างไปจากธนาคารพาณิชย์ทั่วๆไป อย่างxxxxการไม่คิดดอกเบี้ยแต่เป็นการคิดผลก˚าไร ซึ่งมีอัตราอย่างสูงและอัตราค่าชดเชยแทน รวมไปถึงข้อแตกต่างอื่นๆด้วย ผลการวิจัยพบว่า ข้อสัญญาสินเชื่อใน ธนาคารอิสลามฯยังมีบางข้อxxxxxxอยู่ภายใต้บังคับของxxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์และประกาศคณะกรรมการว่า ด้วยสัญญา กฎหมายอื่นๆ xxxxxxควบคุมและมีผลบังคับได้ อีกxxxxxxการศึกษายังพบอีกว่ากฎหมายที่ใช้ค˚าว่า “ดอกเบี้ยหรือเบี้ยปรับ” ไม่xxxxxxน˚ามาบังคับใช้กับธนาคารอิสลามฯ ท˚าให้เกิดช่องว่างของกฎหมาย ท˚าให้ผลการ บังคับใช้xxxxxxxxxxxxxตามxxxxxxxxx xxxมีความจ˚าเป็นที่จะต้องศึกษาแนวคิด ความเป็นมา เกี่ยวกับลักษณะของ ดอกเบี้ย เบี้ยปรับ xxxxxxใช้ได้กับสัญญาสินเชื่อในธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยโดยไม่ขัดกับหลักศาสนาอิสลาม อีกทั้งน˚ากฎหมายที่ควบคุมข้อสัญญา มาพิสูจน์ถึงความเป็นธรรมของสัญญาสินเชื่อในธนาคารอิสลามฯ และ ด˚าเนินการแก้ไขบทบัญญัติพระราชบัญญัติธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยในมาตรา 12 และมาตรา 17 เพิ่มเติมบท นิยามศัพท์พระราชบัญญัติอื่นๆเกี่ยวกับดอกเบี้ย เบี้ยปรับ และประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทยให้ครอบคลุม ชัดเจนเพื่อมิให้เกิดปัญหาการตีความสินเชื่ออื่นๆอีก
ค˚ำส˚ำคัญ: สินเชื่อธนาคารอิสลาม ดอกเบี้ย เบี้ยปรับ
Abstract
“Islamic Bank of Thailand" had been established by the provision virtue of the Islamic Bank of Thailand
xxxxxxxxxxxxxxxxx
Act B.E.2545 (2002), under the supervision of the Ministry of Finance, with the registered capital of 1,000 million Baht. Islamic Bank is focused on creation of banking products and services to satisfy a specific group of customers’ requirement under the strict Islamic moral code. On the other hand, it is a commercial bank which has a general objective, namely, to create the most profits as required by the investors. Islamic Bank of Thailand is a recently established bank and now widely mushroomed. However, due to the banking procedure of Islamic Bank of Thailand is complex and different from normal commercial banks, for example, no interest is charged, but replaced by a profit margin which yields a high rate and compensations as well as other differences. The research results found that, it was found that the credit agreement used in the Bank’s operation has some limitations out of sanction of the Civil and Commercial Code and the Exchange Commission’s announcements on contract and other laws which cannot be controlled and applied with this bank. The study also found that the legal term or wording "interest or penalty" cannot be applied to the Islamic Bank. This generates a “Gap or Hole” of law where it cannot achieve the effective result according to such law intention. Hence, it is necessary to study the concept, religious background and the nature of interest, and penalties which are applicable with the contract or agreement used by the Islamic Bank of Thailand which is not contrary against the Islamic principles. This included the study of the meaning, intention and application of laws which can govern the contract to prove the fairness or justification of the credit contracts of the Islamic Bank of Thailand. a Corrective action provisions of the Banks Act, Section 12 and Section 17 further define the terms related to the interest penalty and the Bank of Canada to cover the loan to avoid more problems of interpretation.
Keywords: Islamic bank credit, interest, penalty
1. บทน˚า
การท˚าสัญญาสินเชื่อกับธนาคารอิสลามนั้น
สินเชื่อกับธนาคารอิสลามนั้นจะต้องเป็นการขอสินเชื่อ ในวัตถุประสงค์xxxxxxขัดต่อหลักการของศาสนาอิสลาม
ไม่จ˚าเป็นต้องบุคคลxxxxxxxxxซึ่งศาสนาอิสxxxxxเพียง เท่านั้น บุคคลใดก็ตามหากความxxxxxxxจะเป็นลูกค้า ของธนาคารอิสลามxxxxxxเป็นลูกค้าได้ทุกคนหากได้ ผ่านหลักเกณฑ์การประเมินของธนาคารอิสลามแล้ว ส˚าหรับการท˚าข้อตกลงของธนาคารอิสลามในเรื่องของ การขอสินเชื่อนั้นโดยส่วนใหญ่ของธนาคารอิสลามจะ แตกต่างกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไป กล่าวคือการขอ
เนื่องจากธนาคารพาณิชย์ทั่วไปด˚าเนินกิจการโดยการ หารายได้จากอัตราดอกเบี้ย แต่ธนาคารอิสลามแห่ง ประเทศไทยต้องด˚าเนินงานธุรกิจในการหารายได้xxxxxx xxxxxxเกี่ยวข้องกับดอกเบี้ยxxx xxxได้น˚าวิธีการซื้อขาย, วิธีการให้เช่าและวิธีการร่วมทุนมาบังคับใช้แทน xxxx การซื้อขายสินค้าโดยบวกxxxxxราคา (murabahah)
xxxxxxxxxxxxxxxxx
หลักการพื้นฐานก็คือธนาคารซื้อสินค้ามาขาย ให้แก่ลูกค้า แต่ขายในราคาที่มีการบวกต้นทุนและก˚าไร หรือดอกเบี้ยแฝงเข้าไปแล้ว (cost plus หรือ mark-up) ถ้าลูกค้าxxxxxxxจะซื้อขายหรือxxxxxxxxxxจะกู้ยืมเงิน ขอสินเชื่อจากธนาคารเพื่อซื้อสินค้า เพื่อการกู้ยืมเงิน เพื่อปิดบัญชีต่างธนาคารและกู้ยืมเ งินโดยไม่มี หลักประกัน ลูกค้าต้องตกลงตามxxxxxxxหรือข้อบังคับ สัญญาตามราคาที่ธนาคารแจ้งกลับไป โดยธนาคาร อนุญาตให้ผ่อนจ่ายเป็นงวดรายเดือน ซึ่งเหล่านี้ไม่ขัด กับหลักศาสนาอิสลามแต่ประการใด ดังนั้นเมื่อการที่ ธนาคารได้บวกก˚าไรไปนั้น มีลักษณะเหมือนหรือคล้าย กับดอกเบี้ย เบี้ยปรับ หรือค่าเสียหายมา จึงมีความ จ˚าเป็นจะต้องศึกษาที่มา แนวคิด วิธีการ รูปแบบ ของ ดอกเบี้ย เบี้ยปรับ หรือค่าเสียหาย ว่าเป็นอย่างไร จาก วิธีการดังกล่าวจะเห็นได้ว่าก˚าไรที่ธนาคารอิสลามฯ บวกเข้าไปนั้นเป็นการบวกxxxxxไปตั้งแต่ต้น ดังนั้นยอด หนี้ที่ต้องช˚าระของลูกค้าสินเชื่อของธนาคารอิสลามฯ จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ถ้าลูกค้าxxxxxxxxxช˚าระหนี้ ลูกค้าจะต้องรับผิดชดใช้ค่าชดเชยในอัตราที่สูงมากถึง ร้อยละ 31 ต่อปี จะเห็นได้ว่าข้อสัญญาในการขอ สินเชื่อของธนาคารอิสลามฯนั้นมีการก˚าหนดข้อตกลง และเงื่อนไขในการขอสินเชื่อxxxxxxเป็นธรรมต่อลูกค้า อย่างมากในกรณีของการที่ลูกค้าต้องรับผิดชดใช้ ค่าxxxxxxxxลูกค้าผิดนัดช˚าระหนี้ซึ่งเมื่อพิจารณาแล้วจะ เห็นว่าเข้าลักษณะของข้อสัญญาสินเชื่อที่มีอัตรา ค่าชดเชยหรือก˚าไรสูงเกินส่วน จึงแสดงให้เห็นว่าไม่มี ความxxxxxxxในการท˚าสัญญา กล่าวคือผู้ประกอบ กิจการหรือธนาคารอิสลามฯอยู่ในฐานะได้เปรียบใน การก˚าหนดข้อตกลงในสัญญามีอ˚านาจในการต่อxxx xxxว่าลูกค้าหรือผู้ขอสินเชื่อที่อยู่ในฐานะxxxxxxxxxx ต้องยอมจ˚านนต่อข้อตกลงหรือเงื่อนไขในสัญญา (สฤษฎ์ xxxxxxxxx, 2554)
อีกทั้งเมื่อการท˚าข้อตกลงสัญญาสินเชื่อของ ธนาคารอิสลามฯไม่มีค˚าว่าดอกเบี้ยหรือxxxxxxคิด ดอกเบี้ยแก่ลูกค้าแล้วกระนั้น จึงไม่ตกอยู่ภายใต้ กฎหมายที่ก˚าหนดอัตราดอกเบี้ยไว้ xxxxxxxxxx กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ประกาศธนาคารแห่ง ประเทศไทย เพราะบทบัญญัติของพระราชบัญญัติ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยพ.ศ.2545 มาตรา 12 ให้อ˚านาจการก˚าหนดxxxxxxค่าชดเชย อัตราก˚าไร ขึ้นอยู่กับคณะกรรมการของธนาคารเห็นxxxxxและ ประกาศไว้ ณ ที่ท˚าการธนาคาร ดังนั้นกฎหมายที่จะ ช่วยเหลือลูกค้าหรือผู้ที่มาขอสินเชื่อในธนาคารอิสลาม ก็xxต้องใช้พระราชบัญญัติข้อสัญญาxxxxxxเป็นธรรม พ.ศ.2542,พระราชบัญญัติดอกเบี้ยให้กู้ยืมเงินของ สถาบันการเงิน พ.ศ.2523,พระราชบัญญัติคุ้มครอง ผู้บริโภค พ.ศ.2522 เป็นต้น มาบังคับใช้ โดยเป็น กฎหมายที่ให้อ˚านาจผู้พิพากษาในการพิจารณา พิเคราะห์ถึงความเป็นธรรมและเป็นเครื่องมือส˚าหรับผู้ พิพากษาที่จะใช้เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
ดังนั้นจึงเห็นควรจัดให้มีการแก้ไขเพิ่มเติม xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พระราชบัญญัติ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ.2545 และ พระราชบัญญัติอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเพื่อเป็นการ ด˚าเนินการพิจารณาอรรถคดีของผู้พิพากษาที่xxxxxx น˚าบทกฎหมายขึ้นมาปรับใช้ตามความเหมาะสมโดยมิ ต้องอาศัยการตีความอย่างกว้าง
2. วัตถุประสงค์
1) เพื่อศึกษาความเป็นมา แนวคิด ทฤษฎี ความส˚าคัญ ความแตกต่างระหว่างธนาคารพาณิชย์ทั่วไป กับธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
2) เพื่อศึกษาปัญหาเกี่ยวกับลักษณะของ ดอกเบี้ย xxxxxxxxx xxxมีลักษณะxxxxเดียวกันกับข้อสัญญา สินเชื่อของธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
3) เพื่อศึกษาเกี่ยวกับมาตรการทางกฎหมาย และแนวทางในการบังคับใช้ดอกเบี้ย เบี้ยปรับ ใน ประเทศเยอรมนี และประเทศสหรัฐอเมริกาว่ามีแนว รากฐานความคิดดั่งxxxxธนาคารอิสลามฯหรือไม่
4) เพื่อศึกษาหาแนวทางในการพัฒนาบท บัญญัติกฎหมายให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของสัญญา สินเชื่อธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
3. วิธีด˚าเนินการวิจัย
xxxxxxxxxxxxxxxxx
การวิจัยนี้ได้ใช้xxxxxxxวิธีวิจัยเอกสาร โดย การค้นคว้าหลักการและหลักเกณฑ์จากตัวบทกฎหมาย ไทยและต่างประเทศ ความเห็นของนักกฎหมาย ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย ประกอบกับแนวค˚าวินิจฉัย ของศาล ที่ตัดสินไว้โดยคดีถึงที่สุดแล้ว สื่ออินเตอร์เน็ต เพื่อรวบรวมxxxxxxxxการศึกษาและท˚าความเข้าใจ เพื่อxxxxxxเป็นข้อเสนอแนะในการควบคุมสัญญา สินเชื่อของธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
ดอกผลxxxxxxxหมายxxx xxxxxxหรือประโยชน์ อย่างอื่นxxxxxxมาเป็นครั้งคราวแก่เจ้าของทรัพย์จากผู้ อื่น เพื่อการxxxxxxใช้ทรัพย์นั้น และxxxxxxค˚านวณและ ถือเอาได้เป็นรายวันหรือตามระยะเวลาที่ก˚าหนดไว้”
จากมาตรา 148 นั้นดอกเบี้ยเป็นดอกผลที่ตก แก่ทรัพย์จากผู้อื่นได้ใช้ทรัพย์นั้นโดยxxxxxxค˚านวณ เป็นรายxxxxxx แต่xxxxxxให้ความหมายอื่นใดอีก
แต่ในส่วนอัตราดอกเบี้ยตามบทบัญญัติตาม xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มีอยู่ 3 มาตรา คือ มาตรา 7 xxxxxxxว่า”ถ้าจะต้องเสียดอกเบี้ยแก่กันและ มิได้ก˚าหนดอัตราดอกเบี้ยไว้โดยนิติกรรมหรือโดยบท กฎหมายอันชัดแจ้ง ให้ใช้อัตราร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี”
มาตรา 224 xxxxxxxว่า”หนี้เงินนั้น ท่านให้คิด ดอกเบี้ยในระหว่างเวลาxxxxxxxxxxละเจ็ดกึ่งต่อปี ถ้า เจ้าหนี้อาจจะเรียกดอกเบี้ยได้สูงกว่านั้นโดยอาศัยเหตุ อย่างอื่นอันชอบด้วยกฎหมาย ก็ให้xxส่งดอกเบี้ยต่อไป ตามนั้น”
4. ผลการวิจัยและอภิปรายผล
ความหมายของค˚ า ว่ า ”ด อก เ บี้ ย ”ต า ม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า หมายถึงค่าป่วยการ ซึ่งผู้กู้เงินหรือผู้เอาของไปจ˚าน˚า ต้อง ให้แก่เจ้าของเงิน และหากได้พิเคราะห์ถึงบทบัญญัติของ xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์แล้วนั้น มิได้ให้ค˚า นิยามของค˚าว่า “ดอกเบี้ย” เอาไว้ xxxxxxหาความหมาย ให้เหมาะสมได้จากบทกฎหมายและความเห็นต่างๆของ นักวิชาการ รวมไปถึงค˚าพิพากษาของศาลด้วย ดังนั้นค˚า ว่า “ดอกเบี้ย” ที่ใกล้เคียงที่สุดในxxxxxxกฎหมายแพ่ง พาณิชย์ คือ มาตรา 148 xxxxxxxว่า”ดอกผลของทรัพย์ ได้แก่ ดอกผลธรรมดาและดอกผลxxxxxxx (จี๊ด เศรษฐบุตร และxxxxxx xxxxxxxxx, 2553 )
มาตรา 654 xxxxxxxว่า”ท่านห้ามมิให้คิด ดอกเบี้ยเกินร้อยละสิบห้าต่อปี ถ้าในสัญญาก˚าหนด ดอกเบี้ยเกินกว่านั้น ก็ให้ลดลงมาเป็นร้อยละสิบห้าต่อ ปี”จากบทบัญญัติทั้ง 3 มาตราข้างต้นนี้ xxxxxxสรุปได้ ว่าบ่อเกิดของดอกเบี้ยนั้นเกิดขึ้นได้จากหนี้เงินเท่านั้น
ดอกเบี้ยเป็นผลตอบแทนชนิดหนึ่งเป็นการ ค˚านวณต้นทุนและค่าใช้จ่ายบวกกับผลก˚าไร ค˚านวณ เป็นอัตราร้อยละ จากเงินที่กู้ยืมตามระยะเวลาที่ผู้กู้ ได้รับเงินไปในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เป็นการได้ ประโยชน์จากหนี้เงิน และไม่จ˚าเป็นจะต้องมีการระบุ ไว้ว่ามีข้อตกลงดอกเบี้ยอย่างไรบ้าง เพราะบางสัญญา ไม่มีค˚าว่าดอกเบี้ย เป็นการแสดงxxxxxของคู่สัญญาต่อ กันเท่านั้น แต่xxxxxxxxxxxxxxxอัตราดอกเบี้ยต้องอยู่ภายใต้ กฎหมาย
ความหมายของค˚าว่า “เบี้ ยป รับ ” ตาม
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า
หมายถึง”เงินที่ศาลเรียกจากผู้แพ้คดี”และพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.2542 “เบี้ยปรับ”หมายถึง จ˚านวนเงินหรือการช˚าระหนี้อย่างอื่นที่มิใช่เป็นจ˚านวน เงิน ซึ่งลูกหนี้สัญญาว่าจะให้เจ้าหนี้เรียกเอาเมื่อไหร่ก็ ได้ เมื่อตนไม่ช˚าระหนี้หรือไม่ช˚าระหนี้ให้ถูกต้องตาม xxxxx และเงินค่าปรับที่ผู้ต้องเสียภาษีจะต้องเสีย xxxxxขึ้นจากจ˚านวนภาษีอากรที่ต้องช˚าระในกรณีxxxxxx ปฏิบัติตามที่ประมวลรัษฎากรก˚าหนดไว้
xxxxxxxxxxxxxxxxx
เมื่อพิจารณาบทบัญญัติxxxxxxกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์มาตรา 379 เห็นได้ว่าวัตถุประสงค์ของเบี้ย ปรับหรือค่าเสียหายหรือค่าชดเชยหรือสินไหมทดแทน นี้เป็นxxxxxxxxคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งได้ก˚าหนดไว้ ล่วงหน้า เพื่อป้องกันหรือลงโทษมิให้คู่สัญญาอีกฝ่าย ประพฤติ ปฏิบัติผิดสัญญา โดยจะท˚าพร้อมกันกับ สัญญาประธานหรือหนี้ประธาน (xxxxxxxxx xxxxxxxxxxx 2544)
และในส่วนความเห็นของนักวิชาการหรือนัก กฎหมายหลายท่าน ให้ค˚านิยามของค˚าว่า “เบี้ยปรับ” ไว้ หลายรูปแบบยกตัวอย่างxxxx
จี๊ด เศรษฐบุตร, 2553 อธิบายไว้ว่า “การ ก˚าหนดเบี้ยปรับนั้นได้แก่ความตกลงระหว่างคู่สัญญา หากลูกหนี้ไม่ช˚าระหนี้หรือช˚าระหนี้ไม่ถูกต้อง ลูกหนี้ รับจะใช้เงินจ˚านวนหนึ่งหรือช˚าระหนี้อย่างอื่นxxxxx ความเสียหายนั้น”
ค่าชดเชยหรืออัตราก˚าไรของธนาคารอิสลาม แห่งประเทศไทย
“ค่ า ช ด เ ช ย ” ต า ม พ จ น า นุ ก ร ม ฉ บั บ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 คือเงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ ลูกจ้างเมื่อเลิกxxxx นอกเหนือจากเงินประเภทอื่นซึ่ง นายจ้างตกลงจ่ายให้แก่ลูกจ้าง
“ก˚าไร”ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตย- สถาน พ.ศ.2542 คือผลxxxxxxเกินต้นทุนแต่เนื่องจาก ธนาคาร อิ สลามแห่งประเทศไทยไม่xxxxxx
ประกอบการธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับค˚าว่าดอกเบี้ยได้ แต่ได้ ใช้ค˚าว่าผลก˚าไรและค่าชดเชยเป็นหลักในการด˚าเนิน ธุรกิจเพื่อให้ได้มาซึ่งรายได้ของธนาคารอิสลามแห่ง ประเทศไทย ดังนั้นเมื่อพิเคราะห์ถึงความหมายของผล ก˚าไรหรือค่าชดเชยก็ไม่มีความหมายตรงหรือกฎหมาย ได้xxxxxxxไว้ไม่
เมื่อไม่มีถ้อยค˚าตามกฎหมายก็ไม่เข้าข่ายที่อยู่ ภายใต้xxxxxxกฎหมายแพ่งและพาณิชย์หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะ แต่เมื่อพิจารณาถึงรูปแบบ วิธีการสิ่งที่ธนาคารฯได้รับไปนั้นไม่แตกต่างจาก ดอกเบี้ยหรือxxxxxxxxx xxxแตกต่างการก˚าหนดค่าเสียหาย ไว้ล่วงหน้าและมีอัตราxxxxx ลักษณะของอัตราก˚าไร เสมือนกับสัญญาต่างตอบแทนxxxxxxมีการน˚าเงินทุนออก ให้กับลูกค้าเพื่อซื้อขาย โดยหากภายหลังที่ลูกค้า ประพฤติปฏิบัติผิดสัญญาแล้ว ก็จะต้องชดใช้ค่าชดเชย ซึ่งมีอัตราสูงถึงร้อยละ 31 ในหนี้ที่ไม่มีหลักประกัน หรือใช้บุคคลประกันตนเองนั้น เสมือนหนึ่งเป็นเบี้ย ปรับ เป็นการลงโทษลูกค้าและเป็นการหารายได้ของ ธนาคารฯ
เนื่องด้วยพื้นฐานการxxxxxประโยชน์จาก สั ญญาเ ป็ นการผสมผสานระหว่างห ลั กทาง เศรษฐศาสตร์ประยุกต์กับกฎหมาย เพราะเมื่อมีการตก ลงกันจนเกิดเป็นสัญญาแล้ว คู่สัญญาต่างมุ่งxxxxxxxจะให้ คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งปฏิบัติxxxxxxxx อีกทั้งเมื่อใดที่มี การผิดสัญญาแล้ว ท˚าให้เกิดความเสียหายขึ้นต่อ คู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่ง ย่อมต้องมีการชดเชยเยียวยาชดใช้ ค่าเสียหาย
หลักการแสดงxxxxxของคู่สัญญาเป็นสิ่งที่ ต้องให้ความเคารพในส่วนที่ลูกค้าธนาคารย่อมxxxxxx กระท˚าได้เมื่อไม่มีกฎหมายใดห้ามให้กระท˚าการ สินเชื่อธนาคารอิสลามเป็นสินเชื่อที่ประชาชนทั่วไป xxxxxxขอได้โดยไม่ต้องนับถือศาสนาอิสลามและเป็น การง่ายที่จะขอสินเชื่อ จนท˚าให้สินเชื่อxxxxxxก่อให้เกิด
รายได้ (Non-Performing Loan : NPL) หรือ หนี้เสียสูง ที่สุดในประเทศไทย
xxxxxxxxxxxxxxxxx
การก˚าหนดรูปแบบของสินเชื่อของธนาคาร อิสลามฯนั้น มีลักษณะ รูปแบบวิธีการxxxxxxxxxxไม่ขัด กับศาสนาอิสลามก็จริง แต่ด้วยสินเชื่อของธนาคาร อิสลามฯได้การตอบแทนxxxxxxนั้นเป็นลักษณะของ xxxxxxxxxxเป็นตัวเงิน เป็นลักษณะxxxxเดียวกับ ธนาคารพาณิชย์ทั่วไปxxxxxxรับดอกเบี้ย และหากมีการ xxxxxxxxxช˚าระถูกต้องตรงxxxxxxxxก็จะมีเบี้ยปรับ หรืออัตราค่าชดเชยซึ่งสูงกว่าxxxxxxคิดหรือได้รับจาก ลูกค้าอยู่แล้ว จึงxxxxxxสรุปได้ว่าไม่ว่าธนาคารอิสลาม แห่งประเทศไทยจะด˚าเนินการปล่อยสินเชื่อให้กับ ลูกค้าโดยที่ผลตอบแทนเป็นอัตราก˚าไรหรือเป็น ค่าชดเชยก็ตาม ก็xxxxxxเป็นดอกเบี้ยและเบี้ยปรับอยู่ นั้นเอง และเหตุที่เป็นปัญหาในการท˚าวิจัยฉบับนี้ คือไม มีกฎหมายฉบับใดนอกเหนือไปจากพระราชบัญญัติ ธนาคารอิสลามฯหรือกฎกระทรวง ค˚าสั่งกระทรวง การคลัง หน่วยงานควบคุมดูและสัญญาที่เกี่ยวข้องใน การควบคุมการคิดอัตราค่าxxxxxxxxสูง และรวมไปถึง เมื่อไม่มีค˚าว่าดอกเบี้ยแล้วก็ไม่ตรงตามบทบัญญัติของ พระราชบัญญัติอื่นๆอีกด้วย จึงต้องด˚าเนินการแก้ไขบท นิยาม ความหมายลักษณะให้คลอบคลุมไม่ต้องตีความ
5. บทสรุปและข้อเสนอแนะ
ปัญหาการใช้ถ้อยค˚าในข้อสัญญาสินเชื่อ ธนาคารอิสลามฯ เนื่องด้วยพระราชบัญญัติธนาคาร อิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ.2545 มิได้นิยามถ้อยค˚า เรื่อง”ค่าชดเชยหรืออัตราก˚าไร”ไว้ จากการศึกษาพบว่า ตามลักษณะ ความหมาย เป็นวิธีการเดียวกันกับ ดอกเบี้ย เบี้ยปรับ เป็นxxxxxxxxxxxxxเกิดจากการผิด สัญญามีผลตอบแทนหรือค่าชดเชยให้กับธนาคาร อิสลามฯเป็นผู้รับประโยชน์ โดยการที่จะตีความว่า ไม่ใช่ดอกเบี้ย เบี้ยปรับ เพราะไม่มีถ้อยค˚าเหล่านี้เกิดขึ้น
ในสัญญา การท˚าสินเชื่อในลักษณะxxxxxxxxxหลบ ความหมายทั่วไป ท˚าให้ข้อสัญญาของธนาคารอิสลามฯ ไม่ต้ องตกอยู่ ภายใต้กฎหมายแพ่ งและพาณิช ย์ พระราชบัญญัติอื่นๆที่เกี่ยวข้องในหนี้เงินที่เกิดขึ้นจึงมี ความจ˚าเป็นที่จะต้องxxxxxxxค˚านิยามของ”ค่าชดเชย หรืออัตราก˚าไร”ไว้ว่ามีลักษณะxxxxเดียวกันเหมือนกัน กับดอกเบี้ยหรือเบี้ยปรับปัญหาการก˚าหนดอัตราก˚าไร หรือค่าชดเชยของสัญญาสินเชื่อธนาคารอิสลามฯ (xxxxxxxxx xxxxxxx, 2547)
เมื่อพิจารณาตามพระราชบัญญัติธนาคาร อิสลามแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545 มาตรา 12 (12)จะ เห็นได้ว่าพระราชบัญญัติและประกาศดังกล่าวให้ อ˚านาจธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยที่จะก˚าหนด อัตราก˚าไรหรือค่าชดเชยหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ดอกเบี้ยได้ โดยxxxxxxก˚าหนดได้เองโดยxxxxxตาม มติที่ประชุมของกรรมการและความเห็นชอบของ รัฐมนตรี แต่ก็มีข้อก˚าหนดให้มีการแจ้งให้ลูกหนี้หรือ ลูกค้าทราบ จะเห็นได้ว่าสิ่งที่ธนาคารอิสลามฯ ต้องอยู่ ภายใต้บังคับดือการประชุมของคณะกรรมการ ซึ่ง แตกต่างจากธนาคารพาณิชย์อื่นๆที่ต้องอยู่ภายใต้บังคับ ประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทยทุกๆธนาคาร ดังนั้นจึงเห็นxxxxxให้มีการแก้ไขการก˚าหนดอัตรา ก˚าไร ค่าชดเชยหรือดอกเบี้ย เบี้ยปรับของธนาคาร อิสลามฯให้เป็นดั่งxxxxธนาคารพาณิชย์อื่นๆในประเทศ ไทย และต้องตกอยู่ภายใต้กฎหมายทั่วไปอื่นๆอีกด้วย
ปัญหาเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับ ดอกเบี้ย เบี้ยปรับ ในการพิพากษาของศาล เนื่องด้วย การพิจารณาคดีของผู้พิพากษาจ˚าต้องยึดหลักกฎหมาย เป็นที่ตั้งในการด˚าเนินกระบวนพิจารณาให้ความเป็น ธรรม แต่ไม่xxxxxxxxxจะตีความลักษณะ วิธีการ คิด ค˚านวณค่าชดเชยหรืออัตราก˚าไรของธนาคารอิสลามฯ ได้เพราะไม่มีความชัดเจน ในxxxxxxxxxxxxเกี่ยวข้อง จึงต้องใช้ดุลยพินิจในการปรับบทกฎหมายในการ
ก˚าหนดค่าชดเชยหรือเบี้ยปรับในที่สุด ซึ่งจะท˚าให้เกิด ความไม่เป็นธรรมในส่วนของธนาคารอิสลามฯหรือ ลูกค้าธนาคารเอง เห็นควรให้มีการxxxxxxxค˚านิยาม เพิ่มเติมในพระราชบัญญัติธนาคารอิสลามแห่งประเทศ ไทย พ.ศ.2545เพื่อให้ชัดเจนและให้ผู้พิพากษาบังคับใช้ ตามกฎหมาย ไม่เป็นไปตามดุลยพินิจ
xxxxxxxxxxxxxxxxx
ปัญหาของการจัดตั้งพระราชบัญญัติธนาคาร อิสลามแห่งประไทย พ.ศ.2545 เนื่องด้วยธนาคาร อิสลามแห่งประเทศไทยอยู่ภายใต้การก˚าหนดควบคุม จากกระทรวงการคลัง และก˚าหนดนโยบายทิศทางการ ด˚าเนินงานมีผลภาพรวมต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย ดังนั้นเพื่อมิให้เกิดปัญหาสินเชื่อxxxxxxxxก่อรายได้นั่น xxxxxxจะให้เอกชนเข้ามาด˚าเนินการ จัดสรร ในการ ควบคุมแบบเต็มที่เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในแง่การ บังคับกฎหมายทั่วไปที่ควบคุม และมีการแก้ไขอ˚านาจ ให้ชัดเจนในการออกกฎ ออกประกาศต่างๆของ ธนาคารอิสลามฯอีกด้วย
6. กิตติกรรมประกาศ
สารxxxxxxเล่มนี้ส˚าเร็จได้ด้วยดีข้าพเจ้าต้อง ขอขอบพระคุณ ท่านอาจาร์ยนาวาเอกหญิง ดร.xxxภา จ˚าxxxxx และท่านผู้พิพากษารัฐวิทย์ xxxxxxxxxxxxxx ผู้พิพากษาประจ˚าศาลอาญา ที่ให้ค˚าแนะน˚าปรึกษา แนะน˚า ดูแลด้วยดีเสมอมา และสุดท้ายขอขอบพระคุณ ครอบครัว เพื่อนๆที่ให้การสนับสนุนทางด้านการศึกษา มาโดยตลอด
7. เอกสารอ้างอิง
จี๊ด เศรษฐบุตรและxxxxxx xxxxxxxxx (2553). หลัก กฎหมาย แพ่งลักษณะหนี้(พิมพ์ครั้งที่ 19) กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เดือนตุลา.
xxxxxxxxx xxxxxxxxxxx (2544) เบี้ยปรับในหนี้เงิน xx xx x xx xx xx xx xx x x สต ร์ มห า xx x xx x มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
xxxxxxxxx xxxxxxx (2547) “การประกอบธุรกิจทางการ เงินxxxxxxผูกพันกับดอกเบี้ยของxx xคาร อิสลาม” การศึกษาxxxxx, xxxxxxนิติศาสตร มหาบัณฑิต : มหาวิทยาลัยรามค˚าแหง
สฤษฎ์ xxxxxxxxx (2554) ปัญหาการปรับบทกฎหมายใน คดีผิดสัญญาช˚าระเงิน: ศึกษากรณีดอกเบี้ยผิด นัดและเ บี้ย ป รับ xxx xxxxxxxxx xxx xx มหาบัณฑิต คณะxxxxxxxxxx กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์