โรคโปลิโอ (Poliomyelitis) เป็นโรคที่มีความสำคัญมาก ทำให้มีการอักเสบของไขสันหลัง รายที่มีอาการรุนแรงจะเกิดอัมพาตที่กล้ามเนื้อแขนขา อาจพิการตลอดชีวิตหรือเสียชีวิตได้ โดยเชื้อก่อโรค Poliovirus (Enterovirus) มี 3 serotype คือ 1, 2 และ 3 ผู้ป่วยร้อยละ 90...
เอกสารหมายเลข 4
การกำจัดกวาดล้างโรคตามพันธะสัญญานานาชาติ
รายละเอียดประกอบด้วย
โครงการกวาดล้างโรคโปลิโอตามพันธะสัญญานานาชาติ
การกำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ
โครงการกวาดล้างโรคโปลิโอตามพันธะสัญญานานาชาติ
โรคโปลิโอ (Poliomyelitis) เป็นโรคที่มีความสำคัญมาก ทำให้มีการอักเสบของไขสันหลัง รายที่มีอาการรุนแรงจะเกิดอัมพาตที่กล้ามเนื้อแขนขา อาจพิการตลอดชีวิตหรือเสียชีวิตได้ โดยเชื้อก่อโรค Poliovirus (Enterovirus) มี 3 serotype คือ 1, 2 และ 3 ผู้ป่วยร้อยละ 90 ไม่แสดงอาการ ร้อยละ 4-8 อาการไม่รุนแรง และร้อยละ 1-2 มีอาการอัมพาต แบบxxxxxxxxxxxxอย่างเฉียบพลัน มีระยะxxxxxx 3–35 วัน (เฉลี่ย 7-10 วัน)
แหล่งโรค เชื้อจะอยู่ในลำไส้ของคนเท่านั้น เมื่อถูกขับถ่ายออกมาภายนอก จะไม่xxxxxxxxxxxจำนวนได้ และเชื้อจะอยู่ในสิ่งแวดล้อมxxxxxxนาน
การติดต่อจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งได้ง่ายมาก
โดยเชื้อไวรัสจะเข้าไปอยู่ในลำไส้ของผู้ติดเชื้อ
และจะผ่านออกมาทางอุจจาระเป็นระยะเวลาประมาณ
1
เดือน
เชื้อที่ผ่านออกมาจะผ่านเข้าสู่ร่างกายของอีกคนหนึ่งทางปาก
โดยเชื้อติดมากับมือหรือปนเปื้อนมากับอาหาร
น้ำดื่ม
วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ
วัคซีน IPV (Inactivated Poliovirus Vaccine) วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดฉีด เป็นวัคซีน
xxxxxxxx ประกอบด้วย serotype 1, 2, 3วัคซีน OPV (Oral Poliovirus Vaccine) วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน เป็นวัคซีน
เชื้อเป็นxxxxxxxxx (สร้างภูมิคุ้มกันในลำไส้ ราคาถูก ยับยั้งการแพร่เชื้อ วิธีการให้ง่าย เป็นวัคซีนที่ใช้
ในการกวาดล้างโรค)mOPV (monovalent)
xXXX (bivalent) serotype 1, 3
tOPV (trivalent) serotype 1, 2, 3 มีให้บริการถึงxxxxxx 22 เมษายน 2559
มาตรการหลักในการกวาดล้างโรคโปลิโอ ประกอบด้วย
1. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนโปลิโอครบ 3 ครั้ง ในเด็กอายุ 1 ปี > 90%
- ทุกตำบล/เทศบาล มีความครอบคลุม OPV3 > 90%
2. เฝ้าระวังผู้ป่วย AFP > 2:100,000
- รายงานผู้ป่วย AFP อายุ < 15 ปี ได้ตามเกณฑ์
- เก็บอุจจาระ 2 ตัวอย่าง ภายใน 14 วัน หลังจากมีอาการ AFP ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3. สอบสวนและควบคุมโรค > 90%
- สอบสวนโรคทุกรายภายใน 48 ชั่วโมง หลังจากพบผู้ป่วย
- ควบคุมโรคทุกรายภายใน 72 ชั่วโมง หลังจากพบผู้ป่วย
4. xxxxxxให้วัคซีนโปลิโอเป็นมาตรการเสริม
- ทุกตำบล/เทศบาล โดยเฉพาะกลุ่มเป้าหมายพิเศษ/พื้นที่เสี่ยง มีความครอบคลุม > 90%
************************************************
การกำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ
โรคหัด
(Measles)
เกิดจากเชื้อไวรัส
เป็นโรคติดต่อที่พบxxxxxxxในผู้ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด
xxxxxxติดต่อได้ง่ายและแพร่xxxxxxผ่านเสมหะ
น้ำมูก น้ำลายของผู้ป่วย
และละอองอากาศ เข้าสู่ร่างกายโดยการไอ
จาม และพูดกันในระยะชิดใกล้
ผู้ป่วยโรคหัด นอกจากจะมีอาการ
ไข้ ไอ และมีผื่นแล้ว
ยังอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่xxxxxx
xxxx สมองอักเสบ และเสียชีวิตได้
ซึ่งวิธีxxxxxที่สุดในการป้องกันโรคหัดในปัจจุบัน
คือ
การให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคหัด
ให้ครอบคลุมในระดับสูง
การกำจัดโรคหัด (Measles elimination) หมายxxx xxxไม่พบผู้ป่วยโรคหัดที่ติดเชื้อภายในประเทศติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน 12 เดือนขึ้นไป ภายใต้ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ
ประเทศไทยได้มีการทำข้อตกลงร่วมกันกับนานาชาติในการประชุมxxxxxxอนามัยโลกครั้งที่ 63 (World Health Assembly : WHA) ณ xxxเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส เมื่อปี 2553 ในการกำจัดโรคหัด โดยได้กำหนดเป้าหมายให้อุบัติการณ์การเกิดโรคหัดไม่เกิน 1 รายต่อประชากรล้านคน และไม่มีการติดเชื้อภายในประเทศ ภายในปี 2563
มาตรการเร่งรัดการกำจัดโรคหัด
xxxxxและรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีน
เร่งรัดการเฝ้าระวังโรคและการตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ
xxxxxxให้วัคซีนโรคหัด
ตอบโต้การระบาดอย่างเต็มที่
โครงการxxxxxxให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ตามแผนเร่งรัดการกำจัดโรคหัดของประเทศไทย พ.ศ. 2562
กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย
1. กลุ่มเด็ก คือ เด็กไทยและเด็กต่างชาติที่อาศัยอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ อายุ 1 ปี ถึง 12 ปี ที่ยังxxxxxxรับวัคซีนป้องกันโรคหัดครบถ้วนตามเกณฑ์
2. กลุ่มผู้ใหญ่ คือ ผู้ใหญ่อายุ 20 - 40 ปี ซึ่งไม่มีหลักฐานยืนยันว่าเคยได้รับวัคซีนป้องกันโรคหัด
กลุ่มxxxxxxxxxxxต้องxxxxxxการทั่วประเทศ ได้แก่
1) ค่ายทหาร ได้แก่ ทหารเกณฑ์ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ทหาร โดยยึดอายุเป็นหลัก
2) เรือนจำ ได้แก่ ผู้ต้องขัง รวมทั้งเจ้าหน้าที่เรือนจำ โดยยึดอายุเป็นหลัก
กลุ่มเป้าหมายพื้นที่เสี่ยง ได้แก่
1) ผู้ใช้แรงงานxxxxxxxxxxกันเป็นจำนวนมาก
2) พนักงานสถานประกอบการxxxxxxxxxxที่มีความเสี่ยงต่อการสัมผัสโรคจากนักท่องเที่ยว
3) บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มีความเสี่ยงในการสัมผัสโรค
************************************************