Contract
งานระบบไฟฟ้า
1.ขอบเขตของงานและเงื่อนไขโดยทั่วไป
1.1 ขอบเขตของงาน
xxxxxxx 1 ระบบไฟฟ้า
ผ ับxxxxจะต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์สำหรับระบบไฟฟ้า ตลอดจนอุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบนี้ มา
ทำการติดตั้งตามแบบและรายการนี้ให้ครบถ้วน พร้อมทั้งทดลองจนเสร็จเรียบร้อยใช้งานxxxxx
1.2 กฎข้อบังคับ
วัสดุและอุปกรณ์ตลอดจนการติดตั้งระบบไฟฟ้า ถ้าไม่มีกำหนดไว้ในแบบหรือที่หนึ่งที่ใด จะต้องเป็นไป ตามข้อกำหนดของมาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่งต่อไปนี้
(1) Local Code and Regulation
(2) E.I.T STANDARD 2001-56 (มาตรฐาน ว.ส.ท.)
(3) TGL (Green Label : Thailand)
(4) DIN (German Industrial Standard)
(5) IEC (International Electrotechnical Committee)
(6) NEC (National Electrical Code)
(7) NEMA (National Electrical Manufacturers Association)
(8) NFC (National Fire Codes of National Fire Protection Association)
(9) TIS (Thai Industrial Standard)
(10) UL (Underwriter's Laboratories Inc.)
1.3 รายละเอียดวัสดุและอุปกรณ์
ผ ับxxxxจะต้องแจ้งรายละเอียดของวัสดุและอุปกรณ์ทุกชนิดที่ใช้ในงานติดตั้งในโครงการนี้แก่วิศวกรเพื่อ
ขออนุมัติความเห็นชอบก่อนที่จะxxxxxxการใดๆ หากผู้รับจ้างไม่แจ้งหรือระบุรายละเอียดของวัสดุหรืออุปกรณ์ไว้ให้ถือ เป็นสิทธิ์โดยถูกต้องของวิศวกรที่จะเลือกใช้วัสดุหรืออุปกรณ์ใดๆ ก็ตามที่เป็นไปโดยถูกต้องตรงตามแบบ และ/หรือ รายการประกอบแบบ และผู้รับจ้างจะต้องxxxxxxการให้เป็นไปตามความxxxxxxxนั้น รายละเอียดของวัสดุหรือ อุปกรณ์อย่างน้อยจะต้องประกอบด้วยชื่อบริษัทผู้ผลิต ชื่อบริษัทตัวแทนจำหน่ายxxxxxxรับสิทธิ์โดยถูกต้องจากผู้ผลิต สมุดคำอธิบายที่แสดงรายละเอียดข้อมูลทางเทคนิคของวัสดุหรืออุปกรณ์นั้นๆ
1.4 ตัวอย่างวัสดุและอุปกรณ์
วัสดุและอุปกรณ์ทุกชนิดที่ระบุไว้ในแบบและรายการประกอบแบบนี้ จะต้องได้รับความเห็นชอบจาก วิศวกรเป็นลายลักษณ์xxxxxก่อนที่จะทำการติดตั้ง โดยผู้รับจ้างจะต้องส่งตัวอย่างวัสดุหรืออุปกรณ์พร้อมรายละเอียด คุณสมบัติxxxxxxxxxx ให้วิศวกรตรวจสอบก่อนที่จะxxxxxxการติดตั้ง หากผู้รับจ้างนำวัสดุหรืออุปกรณ์ไปใช้งานโดยมิได้ รับความเห็นชอบจากวิศวกร แล้วปรากฏว่าวัสดุหรืออุปกรณ์นั้นไม่ถูกต้องตามแบบและรายละเอียดข้อกำหนด ผู้รับ xxxxจะต้องรับผิดชอบค่าเสียหายในการรื้อถอน ถอดเปลี่ยนวัสดุหรือxxxxxxxxxxxxxx
1.5 วัสดุอุปกรณ์และการxxxxxxงาน
1.5.1 วัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ ที่นำมาติดตั้งจะต้องเป็นของใหม่xxxxxxxxxx หรือผ่านการใช้งานxxxxxx
1.5.2 การติดตั้งจะต้องxxxxxxการโดยช่างผู้มีความชำนาญและมีxxxxxxxในงานแต่ละส่วนเป็นผู้ติดตั้ง การ ติดตั้งจะต้องใช้หลักวิชาการทางวิศวกรรมเทคนิค และวิธีการสมัยใหม่ และเป็นไปตามกฎและมาตรฐานต่างๆ ที่ใช้กัน อยู่ทั่วไปหรือตามที่กำหนดให้ใช้เพื่อให้ได้ผลงานที่เรียบร้อยที่สุด
1.5.3 วัสดุและอุปกรณ์ปลีกย่อยบางอย่างถึงแม้ว่าจะxxxxxxระบุไว้ในแบบ หรือรายการประกอบ แบบก็ตามแต่เพื่อให้งานนี้xxxxxxไปโดยถูกต้องเรียบร้อยและปลอดภัย ผู้รับจ้างมีหน้าที่จะต้องxxxxxxการให้ครบถ้วน ทุกประการโดยจะxxxxxxใช้จ่ายเพิ่มเติมอีกxxxxxx
1.5.4 วัสดุหรืออุปกรณ์ใดๆ ก็ตามที่จะต้องใช้เวลาในการผลิต ขนส่ง ให้ถือเป็นหน้าที่ของผู้ รับจ้างที่จะต้องจัดทำตารางแสดงกำหนดการในการจัดหาวัสดุและอุปกรณ์นั้นๆ เพื่อขออนุมัติความเห็นชอบจาก วิศวกร และผู้รับจ้างจะต้องxxxxxxการให้เป็นไปตามตารางกำหนดการนั้น ถ้าหากการxxxxxxการของผู้รับจ้างไม่ เป็นไปตามกำหนดการ ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตามให้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้รับจ้างที่จะต้องมีต่อผลเสียหาย ใดๆ ทั้งสิ้นที่เกิดขึ้นอันเป็นผลให้ผู้รับจ้างไม่xxxxxxxxxxxxการได้ตามที่กำหนดไว้ในสัญญา ตารางแสดงกำหนดการใน การจัดหาวัสดุและอุปกรณ์อย่างน้อยจะต้องประกอบด้วยกำหนดการจัดส่งรายละเอียดทางเทคนิคของวัสดุหรือ อุปกรณ์ เพื่อขออนุมัติความเห็นชอบ กำหนดเวลาการนำเข้ากำหนดเวลาวัสดุหรืออุปกรณ์ถึงท่าเรือ กำหนดเวลาวัสดุ หรืออุปกรณ์ถึงหน่วยงานกำหนดเวลาที่ใช้ในการติดตั้ง
1.5.5 การจัดหาวัสดุหรืออุปกรณ์ใดๆ ก็ตามของผู้รับจ้างจากผู้จำหน่าย ถ้าหากพิจารณาแล้วว่า จะมีผลทำให้เกิดความบกพร่องต่อการบริการหลังจากการขายของผู้จำหน่ายนั้นๆ ให้ถือเป็นสิทธิ์ของผู้xxxxxxxxxxจะ เลือกให้ผู้รับจ้างจัดหาวัสดุหรืออุปกรณ์นั้นๆ จากตัวแทนจำหน่ายxxxxxxรับสิทธิ์ โดยถูกต้องจากผู้ผลิต และมีขีด ความxxxxxxในการให้บริการหลังการขายเป็นไปด้วยดี
1.5.6 การรับผิดชอบxxxxxxxxหลังการก่อสร้างแล้วเสร็จให้ถือกฎเกณฑ์ ต่อไปนี้เป็นสำคัญ
(1) ความพร้อมในการบริการด้านอะไหล่ที่ชำรุดจากการใช้งาน
(2) ความพร้อมในการบริการให้คำปรึกษา
(3) ความพร้อมในการบริการด้านการบำรุงรักษา
1.6 แบบก่อสร้าง (Shop Drawing)
ก่อนที่ผู้รับจ้างจะxxxxxxการติดตั้งวัสดุและอุปกรณ์ใดๆ ผู้รับจ้างจะต้องจัดทำแบบก่อสร้างที่แสดง รายxxxxxxxxxxติดตั้งวัสดุ และ/หรืออุปกรณ์นั้นๆ เสนอต่อวิศวกรเพื่อขอรับความเห็นชอบก่อนที่จะxxxxxxการติดตั้ง การxxxxxxการติดตั้งโดยที่ไม่มีแบบก่อสร้างที่อนุมัติให้ใช้งานได้ หากปรากฏว่าการติดตั้งนั้นไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม หรือบกพร่อง ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสิ่งที่ติดตั้งไปนั้นให้ถูกต้องเหมาะสม โดยที่จะxxx xxxใช้จ่ายใดๆ เพิ่มเติมxxxxxx แบบก่อสร้างที่จะเสนอเพื่อขออนุมัติอย่างน้อยจะต้องจัดส่ง 3 ชุด และก่อนที่จะ xxxxxxการติดตั้ง 30 วัน
1.7 แบบสร้างจริง (As Built Drawing)
ผู้รับจ้างจะต้องจัดส่งแบบสร้างจริงให้แก่ผู้xxxxxxxในวันส่งมอบงานงวดสุดท้าย โดยแบบสร้างจริงที่ส่ง มอบดังกล่าว จะต้องเป็น AUTOCAD DRAWING เขียนลงบนแผ่น CD-ROM ขนาด 80MIN, 700MB (1 ชุด) และ จะต้องเป็นแบบที่ถ่ายจากแบบต้นฉบับของผู้รับจ้างลงในกระดาษไข จำนวน 1ชุด พร้อมแบบที่ถ่ายเป็นกระดาษพิมพ์ เขียว จำนวน 2 ชุด
1.8 ผู้ควบคุมการติดตั้งของผู้รับจ้าง
1.8.1 ผู้รับจ้างต้องจัดให้มีวิศวกรไฟฟ้าที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เป็นผู้ควบคุม การติดตั้งxxxxxxxxx ณ สถานที่ที่ทำการติดตั้งหรือที่ทำการ ของผู้รับจ้างเพื่อที่วิศวกรจะได้ติดต่อได้ตลอดเวลา ผู้รับ xxxxต้องแจ้งรายชื่อวิศวกรพร้อมทั้งเลขทะเบียนใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมตามข้อกำหนดเงื่อนไขทั่วไป
1.8.2 ผู้รับจ้างต้องจัดให้มีโฟร์แมนที่มีความรู้และประสบการณ์การติดตั้งงานไฟฟ้าเป็นอย่างxxxxxxxxx ในการxxxxxxxxxxxxxxxxx ณ สถานที่ที่ทำการติดตั้งตลอดเวลาที่มีการติดตั้งงานไฟฟ้า เพื่อที่วิศวกรจะได้ ติดต่อได้ ตลอดเวลา ผู้รับจ้างต้องแจ้งรายชื่อโฟร์แมนพร้อมทั้งประสบการณ์ต่อวิศวกรเพื่อขอรับความเห็นชอบ
1.9 การตรวจสอบ
ในกรณีที่จำเป็นต้องให้การไฟฟ้าฯ มาตรวจสอบการติดตั้ง ผู้รับจ้างมีหน้าที่รับผิดชอบให้การตรวจสอบ เป็นไปโดยเรียบร้อย และเป็นผู้ชำระค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบที่การไฟฟ้าฯ เรียกเก็บทั้งสิ้น
1.10 ป้ายชื่อ
ตู้ทุกตู้ต้องมีป้ายเพื่อแสดงชื่อของอุปกรณ์และการใช้งาน โดยใช้ภาษาไทย (หรือภาษาอังกฤษ) และ/ หรือตามที่กำหนดในแบบ หลอดไฟสัญญาณ สวิตซ์ต่างๆ เครื่องวัดและอื่นๆ ต้องมีป้ายชื่อให้ครบ ป้ายชื่อให้ทำด้วย พลาสติกแกะสลักซึ่งเห็นตัวxxxxxชัด ยึดติดกับตู้อย่างxxxx
1.11 การเคลื่อนย้ายวัสดุและอุปกรณ์
ในการเคลื่อนย้ายวัสดุหรืออุปกรณ์ต่างๆ ไปยังตำแหน่งที่จะติดตั้ง ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในการ เคลื่อนย้ายดังกล่าว ไม่ให้เกิดความเสียหายแก่วัสดุหรืออุปกรณ์นั้นๆ หรืองานในระบบอื่นๆ หากเกิดความเสียหายขึ้น ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในการเปลี่ยนหรือซ่อมแซมแก้ไขความเสียหายดังกล่าวโดยจะxxxxxxใช้จ่ายเพิ่มเติมอีกxxxxxx
1.12 การตรวจสอบแบบและรายการประกอบแบบ
1.12.1 ผู้รับจ้างจะต้องศึกษาแบบระบบไฟฟ้า รายการประกอบแบบระบบไฟฟ้าตลอดจนแบบของ ระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้เป็นที่เข้าใจโดยแจ้งชัด ถ้าหากผู้รับจ้างxxxxxxการใดๆ ไปโดยxxxxxxเข้าใจในแบบและรายการ ประกอบแบบโดยแจ้งชัดแล้วก่อให้เกิดความผิดพลาด หรือความเสียหายต่องานไฟฟ้า หรืองานในระบบอื่นๆ ผู้รับจ้าง จะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายต่างๆ ทั้งสิ้นที่เกิดจากความผิดพลาดและความเสียหายดังกล่าว
1.12.2 ในกรณีที่แบบและ/หรือรายการประกอบแบบมีความขัดแย้งกันxxxxxxการตีความใดๆ ที่ก่อให้เกิด ประโยชน์กว่า ถูกต้องกว่า และดีกว่าเป็นความถูกต้อง ถ้าหากผู้รับจ้างxxxxxxการใดๆ โดยไม่ยึดถือกฎเกณฑ์ดังกล่าว ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายต่างๆ ทั้งสิ้นในการทำให้เกิดประโยชน์กว่าถูกต้องกว่าและดีกว่าสิ่งที่xxxxxxการไป แล้ว
1.13 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขแบบและวัสดุอุปกรณ์
1.13.1 การเปลี่ยนแปลงแก้ไขแบบไม่ว่าจะเป็นเพราะสาเหตุใดๆ ก็ตามต้องxxxxxxการไปโดยความ เห็นชอบของวิศวกรผู้ออกแบบและจะต้องเป็นลายลักษณ์xxxxx โดยการเปลี่ยนแปลงแก้ไขใดๆ ที่xxxxxxการไปโดย xxxxxx ถ้าหากเกิดความผิดพลาด ความไม่เหมาะสม ความเสียหายและความไม่ถูกต้อง ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบ ความเสียหายต่างๆ ทั้งสิ้นที่เกิดขึ้นตลอดจนค่าใช้จ่ายต่างๆ ทั้งสิ้นที่เกิดขึ้นในการเปลี่ยนแปลงแก้ไขสิ่งที่xxxxxxการไป แล้วให้เกิดความเหมาะสมและถูกต้อง
1.13.2 ข้อกำหนดคุณสมบัติวัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ ที่กำหนดไว้ในแบบ และ/หรือรายการประกอบนี้ให้ ถือเป็นนัยสำคัญที่ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามถ้าหากวัสดุและอุปกรณ์ที่นำมาติดตั้งไม่เป็นตาม ข้อกำหนดให้ถือเป็น ความรับผิดชอบของผู้รับจ้างต่อค่าใช้จ่ายใดๆ ก็ตามในการเปลี่ยนแปลงวัสดุและอุปกรณ์นั้นๆ ให้ถูกต้องตามแบบและ รายการประกอบแบบ
1.14 การทดสอบ
ผ ับxxxxจะต้องทำการทดสอบการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ และระบบต่างๆ ที่ติดตั้งภายในโครงการน
ทั้งหมด โดยผู้รับจ้างจะต้องจัดเตรียมบุคคลากรที่เหมาะสมสำหรับทดสอบอุปกรณ์และระบบนั้นๆ และจะต้อง รับผิดชอบค่าใช้จ่ายต่างๆ ทั้งสิ้น ตลอดจนความxxxxxxxxxxเกิดขึ้นจากการทดสอบนั้นๆ ผู้รับจ้างจะต้องจัดทำ รายละเอียดแสดงวิธีการทดสอบเพื่อขออนุมัติความเห็นชอบต่อวิศวกรก่อนการxxxxxxการทดสอบจริง อย่างน้อย 15 วัน และรายงานผลการทดสอบให้ผู้xxxxxxxทราบและเห็นชอบ
1.15 ขอบเขตของรายการประกอบแบบ
รายการประกอบแบบนี้ ให้มีผลบังคับครอบคลุมถึงวัสดุอุปกรณ์ใดๆ ที่ติดตั้งเพิ่มเติมนอกเหนือจากแบบ
ด้วย
2. ข้อกำหนดรายละเอียดวัสดุ และอุปกรณ์
2.1 แผงสวิตซ์จ่ายไฟแรงต่ำเมน
รายการประกอบแบบ 2.1 นี้xxxxxxมีผลบังคับใช้กับแผงสวิตช์จ่ายไฟอื่นที่คล้ายคลึงกันด้วยโดย แผงสวิตซ์จะประกอบด้วย
2.1.1 ตู้โลหะ
(1) ให้ใช้ตู้โลหะที่ผลิตในประเทศไทย โดยถ้าไม่มีกำหนดไว้เป็นอย่างหนงึ่ อย่างใด ต้อง ผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐานของ NEC, VDE หรือ IEC สำหรับระบบไฟฟ้า 380/220 โวลท์ 3 เฟส 4 สาย 50 เฮิร์ตซ์
(2) ต้องเป็นชนิดด้านปิด (Dead Front) ขนาดตามที่แสดงไว้ในแบบหรืออาจเป็นขนาด อื่นxxxxxxรับความเห็นชอบจากการไฟฟ้าฯ
(3) ทนแรงดันไฟฟ้าxxxxxxน้อยกว่า 500 โวลท์ และทนกระแสลัดวงจรxxxxxxน้อยกว่า ค่าสูงสุดxxxxxxเกิดขึ้น ณ จุดนั้น
(4) โครงตู้แต่ละตู้ให้ใช้เหล็กแผ่นขนาดความหนาไม่น้อยกว่า 3.00 มิลลิเมตรพับขึ้นรูป
และเชื่อมติดกันเป็นโครงตู้
(5) ฝาปิดรอบนอกของตู้ทั้งหมดให้ใช้เหล็กแผ่นขนาดความหนาไม่น้อยกว่า 2.0
มิลลิเมตรโดยฝาปิดด้านหน้าด้านหลัง ด้านข้าง และด้านบนของตู้ให้เป็นแบบพับขอบ
(6) ฝาปิดด้านหลัง ด้านข้าง และด้านบนของตู้ต้องเป็นแบบที่xxxxxxถอดออกได้ โดย ยึดติดกับโครงตู้ด้วยสลักเกลียว
(7) ฝาปิดด้านหน้าให้เป็นแบบถอดและเปิดปิดได้ โดยยึดติดกับโครงตู้ด้วยบานพับชนิด ซ่อน และเปิดปิดโดยใช้ กลอนกุญแจแบบมือหมุนที่xxxxxxล๊อคได้หรืออาจเป็นชนิดอื่นที่ทำให้เปิดปิดฝาได้ง่าย ทั้งนี้ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากวิศวกรก่อน
(8) ด้านล่างและด้านบนของฝาข้างให้ทำช่องระบายอากาศชนิดกันหยดน้ำได้ (Drip Proof) ขนาดของช่องระบายอากาศต้องพอเพียงสำหรับระบายความxxxxภายในตู้ได้xx xxxxระบายอากาศต้องมีแผ่น กันฝุ่นและแมลง
(9) ช สวxx xxxเป็นเหล็กทั้งหมดต้องพ่นสีรองพื้นด้วย Zinc Phosphate และอบอย่างน้อยหนึ่ง
ครั้งที่อุณหภูมิและเวลาที่เหมาะสมก่อนที่จะพ่นสีรองพื้นต้องขัดผิวเหล็กให้เรียบ และทำความสะอาดจนปราศจาก สนิม ไข และน้ำมัน
(10) สีชั้นนอกให้พ่นด้วยสีอย่างน้อยสองชั้น โดยแต่ละชั้นให้อบxxxxเดียวกับสีรองพื้น
(11) ฝาหลังของxxxxxxบรรจุคะแปซิเตอร์ ต้องxxxxxxxxเหล็กเจาะรูพรุน ขนาดพอเหมาะสม
(12) xxxxxxตั้งชิดกับตู้บรรจุคะแปซิเตอร์ ต้องมีฝาข้างที่ปิดมิดชิด
(13) กรณีที่แผงสวิตช์จ่ายไฟแรงต่ำเมนตั้งชิดกับหม้อแปลง ต้องมีแผ่นเหล็กกั้นระหว่างแผง สวิตช์จ่ายไฟแรงต่ำและตู้หม้อแปลง
(14) ด้านหน้าของแผงสวิตช์ต้องมี Mimic Diagram แสดงการแจกจ่ายไฟฟ้าทั้งหมด Mimic Diagram ให้ทำด้วยแผ่นพลาสติกสีดำขนาดหนาไม่น้อยกว่า 1 มิลลิเมตรและกว้าง 1.45 - 2.0 เซนติเมตร
(15) แผงสวิตช์ ต้องติดตั้งบนแท่นคอนกรีตขนาดตามแบบ
(16) แผงสวิตช์ ไม่อนุญาตให้ใช้แผงแบบ KNOCK DOWN
2.1.2 บัสบาร์
(1) บัสบาร์ให้ใช้ทองแดงที่ผลิตสำหรับใช้งานไฟฟ้าเฉพาะ ขนาดตามแบบ บัสบาร์ เส้นศูนย์ และเส้นเฟสให้ติดตั้งบนxxxx Cast Resin ที่ทนกระแสลัดวงจรxxxxxxน้อยกว่าค่าสูงสุดxxxxxxเกิดขึ้น ณ จุดนั้น บัสบาร์ เส้นดินให้ยึดติดกับโครงตู้
(2) กรณีที่เส้นเฟสต้องใช้บัสบาร์มากกว่าหนึ่งเส้น ให้วางบัสบาร์ขนานกัน และห่างกันเท่าความหนา ของ บัสบาร์
(3) บัสบาร์เส้นศูนย์และเส้นดินจะต้องมีความยาวตลอดแนวตู้
(4) บัสบาร์ทั้งหมดให้พ่นด้วยสีทนความxxxx โดย
- สีน้ำตาล สำหรับ เฟส - A
- สีดำ สำหรับ เฟส - B
- สีเทา สำหรับ เฟส - C
- สีฟ้สา สำหรับ เส้นศูนย์- N
- สีเขียวแถบxxxxxx สำหรับ เส้นดิน - G
(5) ถ้าไม่มีกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น บัสบาร์เส้นดินให้ต่อลงดินที่หลักดิน (Ground Rod) ไม่น้อยกว่า สองจุดด้วยขนาดสายทองแดงตามที่กำหนดไว้ในแบบ บัสบาร์เส้นศูนย์ให้ต่อกับบัสบาร์เส้นดิน
(6) บัสบาร์เส้นเฟส ที่ติดตั้งตามแนวระดับให้ติดตั้งที่ด้านบนของตู้ บัสบาร์เส้นศูนย์และเส้นดินให้ ติดตั้งที่ด้านล่าง
(7) บัสบาร์ต้องมีขนาดใหญ่พอที่ทำให้อุณหภูมิภายในตู้xxxxxขึ้นไม่เกิน 50°C เมื่อเทียบกับอุณหภูมิ แวดล้อม 40°C
(8) ค่าพิกัดกระแสของบัสบาร์ที่แสดงไว้ในแบบ ให้ถือเป็นค่าพิกัดที่อุณหภูมิแวดล้อม 50°C และxxx xxxตัวคูณลด 0.8 สำหรับบัสบาร์เส้นเฟสไม่เกิน 6 เส้นและ 0.7 สำหรับบัสบาร์เส้นเฟส ระหว่าง 7-24 เส้น
(9) การต่อระหว่างบัสบาร์ทองแดง กับ บัสบาร์ทองแดงหรือขั้วต่อสายทองแดง ให้ต่อกันได้ด้วยสลัก และแป้นเกลียวพร้อมแหวนสปริง โดยก่อนต่อต้องทำความสะอาดxxxxxxจะแตะกัน
(10) การต่อระหว่างบัสบาร์ทองแดงกับขั้วต่อสายอxxมิเนียมให้ต่อกันได้ด้วยสลักและแป้นเกลียวพร้อม แหวนสปริง โดยก่อนต่อต้องทำความสะอาดxxxxxxจะแตะกันและทาด้วยน้ำยาที่ใช้สำหรับการต่อทองแดงกับอxxมิเนียม
(11) การต่อบัสบาร์จากบัสบาร์เมน xxxxxอุปกรณ์ที่ติดตั้งอยู่ด้านหน้าของ แผงสวิตช์ในกรณีที่พิจารณา แล้วเห็นว่าอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคล ผู้รับจ้างต้องใช้บัสบาร์ชนิดหุ้มด้วยxxxxxxxทนอุณหภูมิไม่น้อยกว่า 75°C และทนแรงดันไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 600 โวลท์
2.1.3 อุปกรณ์ประกอบ
(1) สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติ (Circuit Breaker)
สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติ จะต้องเป็นชนิดที่ผลิตสำหรับใช้กันระบบไฟฟ้า 380/220 โวลท์ หรือ 400/230 โวลท์ 50 เฮิร์ตซ์ และเป็นชนิด tropicalized สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้ตาม มาตรฐานของ IEC หรือ VDE และต้องมีคุณสมบัติและลักษณะดังต่อไปนี้
1.1) สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติเมน เป็นชนิด molded case หรือ open frame แบบสับ เข้าและออกด้วยมือสวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติเมนต้องมีคุณสมบัติดังนี้
- จำนวนxxx ตามที่แสดงไว้ในแบบ
- พิกัดกระแสที่ 40°C ตามที่แสดงไว้ในแบบ
- พิกัดแรงดันไฟฟ้า ตามที่แสดงไว้ในแบบ
- ขนาดทนกระแสลัดวงจร ตามที่แสดงไว้ในแบบ (Breaking Capacity’ic)
สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติเมนต้องมีอุปกรณ์ประกอบดังนี้
- มี Auxiliary Contact และ Trip Indicating Contact จำนวนพอเพียง สำหรับการใช้งานตามแบบ
- มี Thermal Overcurrent Releases แบบปรับได้ทุกxxxตามแบบ
- มี Instantaneous Overcurrent Release แบบปรับได้ ทุกxxxตามแบบ
- มี Undervoltage Release ที่มีพิกัดแรงดันไฟฟ้าตามแบบ
- มีกลไกทำให้การสับเข้าและสับออก เป็นไปโดยรวดเร็วไม่ขึ้นอยู่กับความเร็ว ของคันสับ
- ที่คันสับของสวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติต้องมีส่วนประกอบที่ทำให้xxxxxx ปิดล๊อคกุญแจได้เมื่อสวิตช์อยู่ที่ต่ำแหน่งเปิดวงจร
1.2) สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติย่อย เป็นชนิด molded case Circuit Breaker แบบสับเข้า และออกด้วยมือสวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติย่อย จะต้องมีอุปกรณ์ประกอบดังนี้
- มี Auxiliary Contact จำนวนพอเพียงสำหรับการใช้งานตามที่แสดงไว้ใน แบบ
- มี Thermal Overcurrent Releases แบบค่าxxxxxหรือปรับได้ทุกxxxตาม แบบ
- มี Instantaneous Overcurrent Release แบบค่าxxxxxหรือปรับได้ทุกxx xตามแบบ
- สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติย่อย ต้องมีค่าระบุต่างๆ ตามที่แสดงไว้ในแบบ
- สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติย่อยต้องเป็นผลิตภัณฑ์เดียวกันสวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติ เมน
(2) Ammeter
ให้เป็นชนิด direct connection หรือเป็นชนิดใช้ต่อกับ current transformers ชนิด 5
แอมแปร์ secondary rated current, accuracy class 1.5 หรือดีกว่า
(3) Ammeter Selector Switch
เป็นแบบ 3 position + 1 off position (O-R-S-T) ทนกระแสไฟฟ้าxxxxxxต่ำกว่า 10 แอมแปร์ สำหรับใช้เลือกวัดกระแสไฟฟ้าในแต่ละเฟส และสำหรับใช้กับ ammeter แบบ ใช้ current transformer
(4) Voltmeter
เป็นชนิดต่อตรง มีสเกลอ่านได้ 0-500 โวลท์ หรือตามแบบ accuracy class 1.5 หรือ ดีกว่า
(5) Voltmeter Selector Switch
เป็นแบบ 6 position + 1 off position ใช้สำหรับอ่านค่าแรงดันไฟฟ้าดังนี้ RS-ST-TR-O- RO-SO-TO
(6) Indicator Lamp
ใช้สำหรับแสดงการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ
(7) Control Fuses
ให้ใช้ฟิวส์ชนิด Cartridge ขนาดตามที่กำหนดในแบ
(8) อุปกรณ์ประกอบอื่นๆ
อุปกรณ์ประกอบอื่นๆ ถึงแม้ว่าจะไม่มีกำหนดไว้ หากวิศวกรพิจารณาแล้ว เห็นว่าจะทำให้ การประกอบแผงสวิตช์มีความเรียบร้อย แข็งแรง และสวยงาม ผู้รับจ้างต้องจัดหาและ ติดตั้งให้เป็นไปตามกำหนดของวิศวกร
2.2 แผงสวิตช์จ่ายไฟย่อย
2.2.1 ตู้โลหะ
(1) แผงสวิตช์จ่ายไฟย่อยต้องเป็นชนิดด้านปิด (Dead-Front) ที่ถูกออกแบบสำหรับใช้กับ สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติ (Circuit Breaker) และระบบไฟฟ้า 380/220 โวลท์ 3 เฟส 4 สายเป็นแบบ 1 เฟส หรือ 3 เฟส ตามแบบแผงสวิตช์ จ่ายไฟย่อยและอุปกรณ์ภายในต้องทนแรงดันไฟฟ้าxxxxxxน้อยกว่า 240 โวลท์ สำหรับ 1 เฟส และ 415 โวลท์ สำหรับ 3 เฟส
(2) แผงสวิตช์จ่ายไฟย่อยให้ใช้xxxxxxผลิตในประเทศไทยทำด้วยเหล็กแผ่น ขนาดความหนาไม่ น้อยกว่า 1.5 มิลลิเมตรพับขึ้นรูปเป็นตัวตู้ ขัดและทำความสะอาดผิวเหล็กจนปราศจากสนิม ไข และน้ำมัน พ่นสีรอง พื้นด้วย Zinc Phosphate และอบที่อุณหภูมิ และเวลาที่เหมาะสม สีชั้นนอกให้พ่นด้วยสีไม่น้อยกว่าสองครั้ง และอบ xxxxเดียวกัน ด้านข้างของตู้ให้ทำช่องระบายอากาศxxxxxxหยดน้ำได้ (Drip Proof) ช่องระบายอากาศต้องมีแผ่นกัน ฝุ่นและแมลง
(3) แผงสวิตช์จ่ายไฟย่อยที่ติดตั้งภายนอกอาคารหรือบริเวณเปียกชื้น ตัวตู้ต้องเป็นชนิดกันน้ำ และxxxxxxติดตั้งภายนอกอาคารต้องทำด้วยเหล็กอาบสังกะสีแล้วพ่นสีด้วยกรรมวิธีที่เหมาะสม
(4) แผงรองรับอุปกรณ์ภายในตู้ต้องxxxxxxxxเหล็กพับขอบไม่น้อยกว่า 1 เซนติเมตรและต้อง
xxxxxxถอดได้
(5) ที่ด้านในฝาหน้าของแผงสวิตช์จ่ายไฟย่อย ต้องมีแผ่นป้ายบอกบริเวณชื่อห้อง หรือชื่อ
อุปกรณ์ที่สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติแต่ละตัวจ่ายไฟให้ และสวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติย่อยทุกตัวต้องระบุชื่อวงจร โดยใช้แผ่น ป้ายบอกชื่อวงจรที่ทำด้วยพลาสติกสีดำ แกะสลักและทาร่องตัวเลขด้วยสีขาว
(6) แผงสวิตช์จ่ายไฟย่อย ต้องเป็นแบบติดฝังผนังหรือติดลอยบนผนังตามแบบ โดยหากไม่มี กำหนดระดับความสูงในแบบให้ติดตั้งที่ระดับ 1.50 เมตรจัดจากพื้นถึงกลางตู้ และแผงสวิตช์จ่ายไฟย่อยที่ตั้งติดกัน ต้องจัดให้ส่วนบนของแผงสวิตช์อยู่ในระดับเดียวกัน
2.2.2 บัสบาร์
(1) การต่อเชื่อมพลังงานไฟฟ้าระหว่างสวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติเมนและสวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติ สำหรับวงจรย่อยให้ใช้บัสบาร์ทองแดงหรืออxxมิเนียมที่ทำสำหรับใช้กับงานไฟฟ้าโดยเฉพาะโดยขนาดของบัสบาร์เมน ให้เป็นไปตามแบบและขนาดของบัสบาร์ย่อย ต้องมีขนาดทนกระแสxxxxxxน้อยกว่า 125% ของพิกัดกระแสของสวิตช์ ตัดตอนอัตโนมัติ
(2) เมนบัสบาร์หรือขั้วต่อสายสำหรับสายดินและสายศูนย์ที่แยกจากกัน โดยกรณีที่ใช้แบบ ขั้วต่อสายต้องมีจำนวนขั้วต่อสายพอเพียงสำหรับสายดินและสายศูนย์ทั้งหมด แผงสวิตช์ให้ต่อลงดินxxxxxxบาร์หรือ ขั้วต่อxxxxxxxดิน
(3) บัสบาร์ทั้งหมด (ยกเว้นบัสบาร์สำหรับสายศูนย์และสายดิน) ภายในแผงสวิตซ์จ่ายไฟย่อยต้อง xxxxxxxด้วยxxxxxxxxxxxxxคลอไรด์ (Polyvinyl Chloride) ที่มีพิกัดทนแรงดันไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 750 โวลท์ และพิกัด อุณหภูมิใช้งานสูงสุดไม่น้อยกว่า 75°C
2.2.3 อุปกรณ์ประกอบ
(1) สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติสำหรับแผงสวิตช์จ่ายไฟย่อย ต้องเป็นชนิด molded case มีกลไก สำหรับทำให้การสับเข้าและออกเป็นไปโดยรวดเร็ว มี thermal overcurrent และinstantaneous short circuit release สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติชนิด 3 xxx ต้องมีกลไกภายในเป็นแบบ common trip
(2) สวิตช์ตัดตอนอัตโนมัติ สำหรับวงจรย่อยต้องทนกระแสลัดวงจรxxxxxxน้อยกว่า 5 KA ที่
380โวลท์ สำหรับชนิด 3 xxx และที่ 220 โวลท์ สำหรับชนิด 1 xxx
2.3 ท่อร้อยสายไฟ (Conduit)
ท่อร้อยสายไฟและอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ตลอดจนการติดตั้ง ถ้าไม่มีกำหนดไว้ในแบบหรือที่หนึ่งที่ใด จะต้องเป็นไปตามข้อกำหนดต่อไปนี้
2.3.1 ท่ xxxxxสายชนิดหนา (Rigid Steel Conduit) และ ชนิดกลาง (Intermediate Metal Conduit) ต้องเป็นท่อเหล็กอาบสังกะสีที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เล็กกว่า 1/2 นิ้ว ใช้สำหรับการเดินท่อฝังในดิน ฝังผ่าน ถนน บริเวณที่เปียกชื้น และเดินลอยภายนอกอาคาร
2.3.2 ท่อร้อยสายชนิดบาง (Electrical Metallic Tubing) ต้องเป็นท่อเหล็กอาบสังกะสีxxxxxxxxxผ่าน ศูนย์กลางเล็กที่สุด 1/2 นิ้ว ใช้สำหรับการเดินท่อลอยเกาะผนัง เดินลอยเกาะเพดาน ภายในอาคาร
2.3.3 ท่อร้อยสายชนิดโลหะอ่อน (Flexible Metal Conduit) ใช้สำหรับเดินสายไฟฟ้าช่วงสั้นๆ เข้า ดวงโคมมอเตอร์หรืออุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ
2.3.4 การเลี้ยวเป็นมุม 90 องศา ของท่อร้อยสายไฟขนาดตั้งแต่ 1 1/2 นิ้ว ขึ้นไป ต้องใช้ข้อต่อโค้ง
(Elbow)
2.3.5 การต่อระหว่างท่อร้อยสายไฟฟ้าชนิดหนาและชนิดกลางให้ใช้ข้อต่อแบบเกลียว
2.3.6 การต่อระหว่างท่อร้อยสายไฟฟ้าชนิดหนาหรือชนิดกลางกับกล่องxxxสาย หรือแผงสวิตช์ให้ใช้
Locknuts สองตัว ปลายท่อร้อยสายไฟทุกเส้นต้องไม่มีคมและมี Bushing ติดอยู่
2.3.7 การต่อระหว่างท่อร้อยสายไฟชนิดบางกับกล่องxxxสาย หรือแผงสวิตช์ให้ใช้ข้อต่อชนิดที่ใช้แรงอัด ด้วยวงแหวนสปริงที่อยู่ภายในข้อต่อและ Locknut
2.3.8 ท่อร้อยสายไฟชนิดโลหะที่ฝังในดินไม่ผ่านพื้นหรือถนนคอนกรีต ต้องทาด้วย Coal-Tar Epoxy อย่างน้อยสองชั้น และวางต่ำกว่าผิวดินไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตรรองรับด้วยทรายไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตรกลบด้วย ดินที่ไม่มีสารหรือวัสดุที่มีคุณสมบัติทำให้ท่อเป็นสนิมหรือเกิดความเสียหายได้ กรณีที่เป็นท่อฝังผ่านถนนหรือพื้น คอนกรีต ให้ฝังต่ำกว่าถนนไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตรและเทคอนกรีตหุ้มตลอดแนวท่อ
2.3.9 ท่อร้อยสายไฟที่ฝังในดินต้องมีบ่อxxxสายคอนกรีต ที่เป็นไปตามมาตรฐานของการไฟฟ้าทุกๆ ระยะ 0.30 เมตร
2.3.10 ท่อร้อยสายไฟฟ้าชนิดอ่อนให้ยึดด้วยเข็มขัดรัดท่อทุกๆ ระยะ ไม่เกิน 1.35เมตรและให้ยึดด้วย เข็มขัดรัดท่อห่างจากกล่องxxxสายหรือแผงสวิตซ์ไม่เกิน0.30 เมตร
2.3.11 ท่อร้อยสายไฟฟ้าชนิดหนา ชนิดกลาง และชนิดบางให้ยึดด้วยเข็มขัดรัดท่อทุกๆ ระยะไม่เกิน
1.20 เมตรและให้ยึดด้วยเข็มขัดรัดท่อห่างจากกล่องxxxสาย หรือแผงสวิตซ์ไม่เกิน 0.30 เมตร
2.3.12 ท่อร้อยสายไฟฟ้าที่ติดตั้งในแนวดิ่งภายในช่องท่อให้รองรับด้วยเหล็กตัว C ชนิดอาบสังกะสี และ ยึดท่อติดกับเหล็กตัว C ทุกๆ ระยะ 2.40 เมตร
2.3.13 ท่อร้อยสายไฟฟ้าที่เดินลอยซ่อนในฝ้า หรือภายนอกฝ้า ต้องติดตั้งให้ได้แนวขนานหรือตั้งฉากกับ
ผนังหรือคาน
2.3.14 ท่อร้อยสายไฟฟ้าที่เดินลอยซ่อนในฝ้า หรือภายนอกฝ้า กรณีที่ต้องเดินผ่านคานหรือผนัง
คอนกรีต เมื่อพิจารณาแล้วว่าไม่มีผลทำให้ความแข็งแรงของคานหรือผนังเสียไป ต้องเดินทะลุเป็นแนวเส้นตรงสวม ด้วยท่อสxxxxxxเป็น และกรณีที่ผนังเป็นผนังที่มีไว้เพื่อป้องกันไฟหรือคxxxxxx สลิฟดังกล่าวต้องอุดxxxxxxxทนไฟ
2.3.15 ท่อร้อยสายไฟฟ้าที่เดินผ่านทะลุพื้นจะต้องเดินผ่านทะลุด้วยท่อสลิฟ และอุดxxxxxxxทนไฟ
2.3.16 เข็มขัดรัดท่อทุกอันต้องทาสีให้ทราบว่าเป็นท่อร้อยสายไฟของระบบใด โดยให้ใช้สีส้มสำหรับ ระบบ ไฟฟ้าสีเขียวสำหรับระบบโทรศัพท์สีแดงสำหรับระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้สีxxxxxxสำหรับระบบเสา อากาศทีวีรวม และทีวีวงจรปิด และxxxxxสำหรับระบบเสียง
2.3.17 ถ้าไม่มีกำหนดไว้อุปกรณ์อื่นๆ สำหรับการติดตั้งท่อร้อยสายไฟ xxxx สกรู น๊อต และอื่นๆ ต้อง เป็นเหล็กอาบสังกะสี
2.3.18 ท่อร้อยสายไฟและอุปกรณ์ประกอบอื่นๆ ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ
2.4 กล่องอุปกรณ์และกล่องต่อสาย
2.4.1 กล่องสวิตช์หรือเต้ารับ ต้องเป็นกล่องเหล็กอาบสังกะสีขนาดหนาไม่น้อยกว่า 1.2 มิลลิเมตร สำหรับการ ติดตั้งฝังในคอนกรีตหรือผนัง และต้องเป็นแบบเหล็กหล่อสำหรับติดลอย
2.4.2 กล่องสวิตซ์ กล่องเต้ารับ และกล่องต่อสายต่างๆ ต้องมีขนาดใหญ่พอที่ทำให้xxxxxxใส่ Bushing
ที่ปลายท่อทุกท่อที่ต่อกับกล่องนั้น
2.4.3 กล่องสวิตซ์ กล่องเต้ารับ หรือกล่องต่อสายใดๆ ก็ตามที่ฝังในผนังหรือคอนกรีต ต้องทำความ สะอาดภายในกล่องจนปราศจากคอนกรีต คราบน้ำปูนและสนิม
2.4.4 กล่องxxxสายหรือกล่องต่อสายที่ใช้ประกอบในการเดินท่อร้อยสายไฟ โดยทั่วไปให้ใช้กล่องเหล็ก อาบสังกะสีแบบแปดเหลี่ยมxxxxxxxxxทแยงมุม 4” หรือแบบสี่เหลี่ยมขนาด 4”x 4” ที่มีความหนาไม่น้อยกว่า 1.2 มิลลิเมตรกล่องต่อสายหรือกล่องxxxสายที่มีขนาดเกิน 4 นิ้ว ให้ใช้กล่องเหล็กที่ทำด้วยเหล็กแผ่นที่หนาไม่น้อยกว่า 1.4 มิลลิเมตรพ่นสีรองพื้นด้วย Zinc Phosphate และพ่นทับด้วยสีน้ำมันอย่างน้อยหนึ่งชั้น
2.4.5 กล่องอุปกรณ์ กล่องxxxสาย และกล่องต่อสายที่ติดตั้งภายนอก และภายในอาคารต้องเป็นกล่อง
เหล็กหล่อ
2.4.6 กล่องทุกกล่องที่มีการต่อสายไฟฟ้าต้องติดตั้งที่ตำแหน่งxxxxxxเข้าถึงได้
2.4.7 กล่องอุปกรณ์ กล่องxxxสาย และกล่องต่อสายทุกกล่องต้องยึดติดกับโครงสร้างของอาคารด้วย
ตัวเองไม่ใช้ท่อร้อยสายไฟเป็นตัวรองรับท่อ
2.5 สายไฟฟ้าแรงต่ำ
ถ้าไม่มีกำหนดไว้ สายไฟฟ้าสำหรับระบบที่มีแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน 415 โวลท์ ตลอดจนการติดตั้งต้อง เป็นไปตามข้อกำหนดต่อไปนี้
2.5.1 นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในแบบ การเดินสายไฟฟ้าให้ใช้วิธีเดินในท่อร้อยสายไฟที่เดินเกาะผนังหรือ เกาะเพดาน
2.5.2 สายไฟสำหรับเดินในท่อร้อยสายไฟที่เดินเกาะเพดาน แนบผนัง ให้ใช้สายไฟฟ้าชนิดแกนเดียว แบบxxxxxxxxxหุ้มด้วยxxxxxxxxไวนิลคลอไรด์ (Polyvinyl Chloride) ที่มีพิกัดแรงดันไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 750 โวลท์ และพิกัดอุณหภูมิใช้งานสูงสุดไม่น้อยกว่า 70°C(60227 IEC 01) หรือตามที่กำหนดไว้ในแบบ
2.5.3 สายไฟฟ้าสำหรับเดินในท่อร้อยสายไฟที่ฝังไว้ในดิน หรือ สายไฟฟ้าที่เดินฝังไว้ในดินโดยตรงให้ใช้ สายไฟฟ้าชนิดแกนเดี่ยวหรือหลายแกน แบบทองแดงหุ้มด้วยxxxx และเปลือกนอกโพxxไวนิลคลอไรด์ (Polyvinyl Chloride) ที่มีพิกัดแรงดันไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 750 โวลท์ และพิกัดอุณหภูมิใช้งานสูงสุดไม่น้อย 90°C(NYY) หรือตามที่ กำหนดไว้ในแบบ
2.5.4 สายไฟฟ้าสำหรับวงจรระบบไฟฟ้าที่ไม่ใช่วงจรควบคุม (สายไฟฟ้าสำหรับเปิดปิดดวงโคมไฟฟ้า พัดลม หรืออื่นๆ xxxxxxxxxเป็นสายไฟฟ้าสำหรับวงจรควบคุม) ต้องมีพื้นที่หน้าตัดxxxxxxไฟฟ้าไม่เล็กกว่า 1.5 ตาราง มิลลิเมตร
2.5.5 สายไฟฟ้าสำหรับวงจรย่อย xxxx วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง หรือเต้ารับไฟฟ้าหรืออื่นๆ อนุญาตให้เดิน ในท่อร้อยสายไฟฟ้าเดียวกันได้ท่อละไม่เกิน 24 เส้น แต่ทั้งนี้จะต้องxxxxxขนาดสายให้เพียงพอสำหรับ Current Capacity ที่ลดลงด้วย
2.5.6 สายไฟฟ้าสำหรับวงจรย่อยxxxxxxได้ออกจากแผงสวิตช์จ่ายไฟฟ้าย่อยเดียวกันไม่อนุญาตให้เดิน รวมอยู่ในท่อร้อยสายไฟฟ้าเดียวกัน
2.5.7 วงจรสายป้อนต่างๆ ไม่อนุญาตให้เดินรวมอยู่ในท่อร้อยสายไฟเดียวกัน
2.5.8 สายไฟฟ้าที่เป็นเส้นที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านที่ขนาดต่างกันมากกว่า 2 ขนาดxxxxสายไฟฟ้าขนาด
2.5 ตารางมิลลิเมตรและ 6 ตารางมิลลิเมตรไม่อนุญาตให้เดินรวมอยู่ในท่อร้อยสายไฟเดียวกัน (ยกเว้นสำหรับ สายไฟฟ้าเส้นที่เล็กกว่าเป็นเส้นดินและเส้นศูนย์)
2.5.9 สายไฟฟ้าสำหรับระบบไฟฟ้า หรือสายโทรศัพท์ของระบบโทรศัพท์หรือสายอื่นๆ ของระบบอื่นๆ ต้องเดินในท่อร้อยสายที่แยกจากกัน ห้ามเดินในท่อร้อยสายไฟเดียวกัน
2.5.10 สายไฟฟ้าที่มีขนาดตั้งแต่ 6 ตารางมิลลิเมตรต้องเป็นสายไฟฟ้าชนิดตีเกลียว
2.5.11 สีxxxxxxไฟฟ้าในระบบ 380/220 โวลท์ 3 เฟส 4 สาย ต้องเป็นดังนี้
(1) เฟส A สีน้ำตาล
(2) เฟส B สีดำ
(3) เฟส C สีเทา
(4) สายศูนย์ N xxxxx
(5) สายดิน G สีเขียวหรือเขียวคาดxxxxxx
ในกรณีที่สายไฟฟ้าเป็นชนิดที่มีเฉพาะสีดำ ให้แสดงสีxxxxxxไฟฟ้าด้วยปลอกสีหางปลา
2.5.12 สายไฟฟ้าที่เดินฝังไว้ในดินโดยตรง ไม่ผ่านพื้นคอนกรีต ถนนหรือบริเวณxxxxxxมีสิ่งทำให้เกิด ความเสียหายต่อสายไฟฟ้าได้ ให้ฝังต่ำกว่าระดับดินไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตรรองรับด้วยทรายหนาไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตรและกลบด้วยทรายหรือดินที่ไม่มีวัสดุxxxxxxทำให้เกิดความเสียหาย แก่สายไฟฟ้าหนาไม่ น้อยกว่า 10 เซนติเมตรแล้วปิดทับด้วยแผ่นคอนกรีตหนาไม่น้อยกว่า 2 นิ้ว ตลอดแนว
2.5.13 สายไฟฟ้าที่เดินฝังไว้ในดิน กรณีที่ต้องผ่านพื้นคอนกรีตถนนหรือบริเวณxxxxxxมีสิ่งทำให้เกิดความ เสียหายต่อสายไฟฟ้าได้ ให้เดินในท่อร้อยสายไฟ
2.5.14 การต่อสายไฟฟ้าให้ทำได้เฉพาะในกล่องต่อสาย กล่องxxxสาย กล่องสวิตช์ หรือกล่องเต้ารับ และ ต้องเหลือปลายสายไว้ไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร
2.5.15 การต่อสายไฟฟ้าเข้ากับอุปกรณ์ หรือดวงโคมไฟฟ้าแบบใดๆ ก็ตามต้องทำ ในกล่องต่อสายของ อุปกรณ์ หรือภายในดวงโคมเท่านั้น
2.5.16 จุดต่อสายขนาดตั้งแต่ 6 Xx.xx. ลงมาให้ใช้ Wire Nut และต้องพันด้วยเทปพันสายทับ
2.5.17 การต่อสายไฟฟ้าที่ฝังไว้ในดินให้ต่อกันด้วยสลิฟต่อสายxxxxxxด้วยเทปพันสายและหุ้มxxxxxxxที่ xxxxxxกันความชื้นและน้ำได้อย่างxxxxxxx
2.5.18 ไม่อนุญาตให้ต่อสายไฟฟ้าในท่อร้อยสายไฟ และในรางเดินสายไฟฟ้าทุกชนิด
2.5.19 ผู้รับจ้างต้องตรวจวัดค่าความต้านทานของxxxxxxxxxxไฟฟ้าทั้งหมดเมื่อวัดเทียบกับสายดิน และระหว่างสายไฟฟ้าด้วยกัน แล้วทำรายงานสรุปผลการตรวจวัดเสนอต่อวิศวกรเพื่อให้ความเห็นชอบ ค่าความ ต้านทานของxxxxxxxxxxไฟฟ้าเมื่อวัดเทียบกับสายดิน และระหว่างสายไฟฟ้าด้วยกันต้องมีxxxxxxน้อยกว่า 0.5 เมกกะโอห์ม ที่ 500 โวลท์
2.5.20 ผู้รับจ้างต้องวัดค่ากระแสที่ไหลในวงจรไฟฟ้าแสงสว่างทุกวงจร เมื่อดวงโคม หรืออุปกรณ์อื่นๆ ในวงจรนั้นๆ เปิดให้ทำงานหมด แล้วทำรายงานสรุปผลการตรวจวัดดังกล่าวให้แก่วิศวกร ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการ ตรวจวัดรวมถึงค่าไฟฟ้า ต้องเป็นของผู้รับจ้างทั้งหมด
2.6 สวิทซ์
ต้องเป็นไปตามข้อกำหนดในแบบ และ/หรือข้อกำหนดต่อไปนี้
2.6.1 ทนกระแสไฟฟ้าสลับxxxxxxน้อยกว่า 15 แอมแปร์ ที่แรงดันไฟฟ้า 250 โวลท์หรือสูงกว่า
พลาสติกแข็ง
2.6.2 ก้านสวิตช์เป็นกลไกแบบกดเปิดปิดโดยวิธีกระดก (rocker operated) และทำด้วย
2.6.3 ขั้วต่อสายไฟฟ้าเป็นชนิดมีรูเสียบสายอัดด้วยสปริง หรือรูเสียบสายอัดด้วยสกรูที่xxxxxx
กันการแตะต้องขั้วที่เป็นโลหะได้ห้ามใช้ชนิดที่ยึดสายไฟฟ้าโดยการพันสายใต้สกรูโดยตรง
2.6.4 ฝาครอบสวิตช์ให้ใช้ฝาครอบแบบอxxมิเนียมอะxxxxซ์ ตามที่กำหนดไว้ในแบบ และต้อง
เป็นแบบขันสกร
2.6.5 สวิตช์ที่ติดตั้งบริเวณที่เปียกชื้นหรือxxxxxxxอาคารให้ใช้ฝาครอบxxxxxxน้ำ
2.6.6 สวิตช์ที่อยู่ในตำแหน่งเดียวกันให้ใช้ฝาครอบเดียวกันได้อย่างมากไม่เกิน 3 สวิตช์ ต่อ 1 ฝา
ครอบและ 6 สวิตซ์ ต่อ 1 ฝาครอบ
2.6.7 สวิตช์ให้ใช้ผลิตภัณฑ์เดียวกับเต้ารับไฟฟ้า
2.7 เต้ารับไฟฟ้า
ต้องเป็นไปตามข้อกำหนดในแบบและ/หรือข้อกำหนดต่อไปนี้
2.7.1 เป็นชนิดมีขั้วต่อสายดิน (Grounding Type) ที่xxxxxxรับเต้าเสียบชนิดสองขาxxxxxxxแบบ ขากลม และขาแบน
2.7.2 ทนกระแสไฟฟ้าสลับxxxxxxน้อยกว่า 15 แอมแปร์ ที่แรงดันไฟฟ้า 250 โวลท์หรือสูงกว่า
2.7.3 ขั้วต่อสายเป็นชนิดมีรูเสียบสายอัดด้วยสปริง หรืออัดด้วยสกรูที่xxxxxxกัน การแตะต้อง
ขั้วที่เป็นโลหะได้ ต้องเป็นแบบขันสกร
2.7.4 ฝาครอบเต้ารับไฟฟ้าให้ใช้ฝาครอบแบบอxxมิเนียมอะxxxxซ์ ตามที่กำหนดไว้ในแบบ และ
2.7.5 เต้ารับไฟฟ้าที่ติดตั้งบริเวณเปียกชื้น หรือxxxxxxxอาคารให้ใช้ฝาครอบชนิดกันน้ำ
2.7.6 เต้ารับไฟฟ้าให้ใช้ผลิตภัณฑ์เดียวกับสวิตช์
2.7.7 เต้ารับไฟฟ้าอื่นๆให้เป็นไปตามแบบ
2.8 ดวงโคมไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบ
ดวงโคมไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบ ต้องเป็นไปตามข้อกำหนดในแบบ และ/หรือข้อกำหนดต่อไปนี้
2.8.1 หลอดไฟ
(1) หลอดฟxxxxเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) ถ้าไม่กำหนดไว้ในแบบ หรือที่หนึ่งที่ใด ให้ใช้หลอดชนิดที่ให้แสง Daylight
(2) หลอดใช้ก๊าซ (Gas-Discharge Lamp) ต้องเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในแบบและต้อง เป็นชนิด Color Corrected
(3) ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตตามมาตรฐานหลอดฟxxxxเรสเซนซ์ขั้วคู่ (มอก.236-2548) และ/ หรือข้อกำ หนดxxxxเขียวสำหรับหลอดฟxxxxเรสเซนซ์ (TGL-2-R2-02)
(4) ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตตามมาตรฐานหลอดxxxxxดี LED (มอก.1955-2551) และผลิต จากโรงงานภายในประเทศxxxxxxรับการรับรองมาตรฐาน ISO9001, ISO14001, และ OHAS18001
2.8.2 บัลลาสต์
(1) บัลลาสต์สำหรับหลอดฟxxxxเรสเซนต์ ต้องเป็นไปตามข้อกำหนดต่อไปนี้
- เป็นแบบ ชนิดxxxxวัตต์ลอสหรือ ชนิดอิเล็กทรอนิกส์ที่มีคุณสมบัติเทียบเท่า
- พิกัดอุณหภูมิใช้งานสูงสุด (Rated Maximum Operating-Temperature) ของ ขดลวดไม่น้อยกว่า 120°C
- พิกัดอุณหภูมิที่xxxxxขึ้น (Rated Temperature Rise) ของขดลวดไม่เกิน 70°C
เตอร์สูง มอก.
(2) บัลลาสต์สำหรับหลอดใช้ก๊าซ ให้ใช้บัลลาสต์แบบ Inductive ชนิดเพาเวอร์แฟก
2.8.3 สตาร์ทเตอร์
(1) สตาร์ทเตอร์สำหรับหลอดฟxxxxเรสเซนต์ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตตามข้อกำหนดของ
(2) ขั้วรับหลอดฟxxxxเรสเซนต์และขั้วรับสตาร์เตอร์
(3) ขั้วรับหลอดฟxxxxเรสเซนต์ให้ใช้ชนิด Spring, Type, Rotary Type หรือ Heavy
Duty Type ที่ผลิตตามข้อกำหนดของ มอก.
(4) ขั้วรับสตาร์เตอร์ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตตามข้อกำหนด มอก.344
2.8.4 คาปาซิเตอร์ CAPACITOR
คาปาซิเตอร์ทุกตัวต้องมีตัวต้านทานต่อคร่อมไว้เพื่อเป็นตัวคายประจุ
2.8.5 ดวงโคมไฟฟ้า
(1) ดวงโคมฟxxxxเรสเซนต์ ต้องเป็นไปตามข้อกำหนดในแบบ และ/หรือข้อกำหนดต่อไปนี้
- เป็นผลิตภัณฑ์ภายในประเทศที่ผลิตโดยโรงงาน xxxxxxรับการรับรองมาตรฐาน ISO9001, ISO 14001, OHAS 18001 และ วิศวกรให้ความเห็นชอบและอนุมัติให้ ใช้ดวงโคมจากโรงงานนั้นได้
- ดวงโคมต้องผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิม และทำความสะอาดผิวเหล็กจนปราศจากไข และน้ำมัน แล้วพ่นทับด้วยสีแล้วอบด้วยกรรมวิธีที่เหมาะสม
(2) ดวงโคมสำหรับหลอดใช้ก๊าซ ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในแบบ และต้องมีที่ว่างภายในดวงโคม
สำหรับต่อสายไฟฟ้า
(3) แผ่นกรองแสง แผ่นกรองแสงสำหรับดวงโคมฟxxxxเรสเซนต์ ทั้งหมดต้องเป็นไปตาม
ข้อกำหนดในแบบ ในกรณีที่แผ่นกรองแสงเป็นแบบพลาสติก หรือชนิดอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันจะต้องมีความหนา ไม่น้อยกว่า 2.5 มิลลิเมตร
2.8.6 การติดตั้งดวงโคม การติดตั้งดวงโคมต้องเป็นไปตามข้อกำหนดในแบบและ/หรือข้อกำหนดต่อไปนี้
(1) ดวงโคมฟxxxxเรสxxxxxxxxติดลอยบนเพดาน ให้ทำการติดตั้งแบบติดลอยใต้แผ่นพื้นโดยการ ยึดหัวระเบิดชนิดโลหะ
(2) ดวงโคมฟxxxxเรสxxxxxxxxติดฝังเสมอเรียบผิวฝ้าเพดานหรือติดซ่อนไว้ ในฝ้าเพดานห้ามใช้ วิธีการติดตั้งโดยใช้โครงเคร่าของฝ้าเพดานเป็นตัวรับน้ำหนักของดวงโคมโดยตรง ให้ใช้วิธีการติดตั้งโดยห้อยดวงโคม จากพื้นเพดานด้วยก้านโลหะxxxxxxเป็นสนิมและxxxxxxปรับสูงต่ำได้โดยง่าย
(3) ดวงโคมฟxxxxเรสเซนต์แบบติดห้อยจากฝ้าเพดาน ให้ติดห้อยจากฝ้าเพดานด้วยท่อร้อย สายไฟฟ้าชนิดบางขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1/2 นิ้ว
(4) ดวงโคมอินแคนเดสเซนต์หรืออื่นๆ แบบติดลอยบนเพดาน
(5) การติดตั้งดวงโคมชนิดอื่นๆ นอกเหนือจากที่ระบุไว้แล้ว ให้ผู้รับจ้างจัดทำแบบแสดง รายxxxxxxxxxxติดตั้งเสนอต่อวิศวกรเพื่อให้ความเห็นชอบ
(6) การติดตั้งดวงโคมทั้งหมดต้องทำให้ได้แนวทั้งแนวดิ่งและแนวระดับ
(7) การต่อสายไฟฟ้าเข้าดวงโคมทุกแบบ ต้องทำภายในดวงโคมหรือภายในกล่องต่อสายที่ยึด ติดกับดวงโคมเท่านั้น
(8) ตำแหน่งดวงโคมที่กำหนดไว้ในแบบบางตำแหน่งอาจทำให้ขัดขวาง หรือถูกขัดขวางจากงานติดตั้ง ของงานในระบบอื่น ดังนั้นผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบxxxxxxงานกับผู้รับจ้างระบบอื่นเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว และถ้า จำเป็นต้องโยกย้ายตำแหน่งดวงโคม การxxxxxxการดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบและอนุมัติจากวิศวกรก่อน
(9) น๊อต สกรู และสลักเกลียวที่ใช้ในการติดตั้งดวงโคมต้องเป็นชนิดเหล็กอาบสังกะสี และพุกที่ใช้ให้ ใช้ชนิดพลาสติกขนาดไม่เล็กกว่า S7
3. ระบบแสงสว่างฉุกเฉินอัตโนมัติ
3.1 ทั่วไป
ระบบแสงสว่างฉุกเฉินอัตโนมัติ ต้องเป็นดวงโคมแบบมีแบตเตอรี่พร้อมชุดควบคุมบรรจุอยู่ภายในดวง โคมเอง หรือเป็นแบบมีแบตเตอรี่และชุดควบคุมรวมศูนย์ที่แผงควบคุมตามที่แสดงไว้ในแบบตัวโคมทำจาก extrude aluminum เพื่อความxxxx xxxxxxx
3.2 ข้อกำหนดทางเทคนิค
ดวงโคมแสงสว่างฉุกเฉิน และ/หรือแผงควบคุมของระบบแสงสว่างฉุกเฉินต้องเป็นไปตามข้อกำหนดใน แบบและข้อกำหนดต่อไปนี้
3.2.1 แบตเตอรี่
แบตเตอรี่ต้องเป็นแบบ Sealed Lead-Acid หรือเป็นแบบ Sealed Lead Calcium ที่มีพิกัด แรงดันไฟฟ้ากระแสตรง 12 โวลท์
3.2.2 การอัดประจุ
วงจรอัดประจุแบตเตอรี่ (Battery Charging Circuit) ต้องเป็นวงจรแบบอีเลคโทรxxxชนิดอัด ประจุโดยวิธีจำกัดกระแสและแรงดันที่จุดสูงสุด (Maximum Constant Voltage and Maximum Constant Current Limited Charging Circuit) ที่xxxxxxควบคุมให้การอัดประจุเข้าแบตเตอรี่เป็นไปโดยอัตโนมัติตามสภาพ ของแบตเตxxx กล่าวคือ ต้องเป็นวงจรที่xxxxxxตัดการอัดประจุเข้าแบตเตอรี่ออกทันทีเมื่อแบตเตอรี่ถูกอัดประจุเต็ม ขนาดความจุ และต้องเป็นวงจรที่xxxxxxรักษาแบตเตอรี่ให้เต็มขนาดความจุได้ตลอดเวลาที่ยังไม่มีการจ่ายโหลด รวมทั้งต้องเป็นวงจรที่xxxxxxป้องกันการจ่ายกระแสไฟฟ้าจนเกินพิกัดของแบตเตอรี่
3.2.3 การทำงาน
ในภาวะxxxxแบตเตอรี่ต้องถูกอัดประจุ ให้เต็มขนาดความจุพร้อมที่จะจ่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่ โหลดได้ตลอดเวลา เมื่อไฟฟ้าxxxxเกิดบกพร่องตัวเครื่องจะหน่วงเวลาไว้ราว 1 วินาที (เพื่อป้องกันในกรณีเกิดไฟ กระพริบ) แบตเตอรี่จึงจ่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่หลอดไฟทั้งหมด ถ้าระดับแรงดันของแบตเตอรี่ที่จ่ายให้หลอดไฟลดลง ต่ำกว่า 7.5 โวลท์ จะต้องมีวงจรตัดการจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าหลอดไฟออกทันที และเมื่อไฟฟ้าxxxxกลับคืนสู่สภาพที่ xxxxxxใช้งานได้ การจ่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่หลอดไฟทั้งหมดของแบตเตอรี่ต้องถูกตัดออก และแบตเตอรี่ต้องถูกอัด ประจุให้เต็มขนาดความจุพร้อมที่จะจ่ายโหลดได้อีก การทำงานทั้งหมดดังกล่าวต้องเป็นไปโดยอัตโนมัติสำหรับระบบ แสงสว่างฉุกเฉินแบบดวงโคม ที่มีแบตเตอรี่พร้อมชุดควบคุมอยู่ภายใน ดวงโคมนั้นต้องxxxxxxทดสอบ (Test) ดูการ ทำงานของระบบและสภาพระดับแรงดันของแบตเตอรี่ได้โดยปุ่มกด (Test) ที่ตัวดวงโคมเองและโดยใช้ Remote Test ชนิดไร้สาย ระบบแสงสว่างฉุกเฉินแบบดวงโคมที่มีแบตเตอรี่และชุดควบคุมอยู่ภายในดวงโคม และแบบใช้แผง ควบคุมรวมต้องมีวงจรทางด้านเข้าที่xxxxxxใช้งานได้กับระบบไฟฟ้าแบบ 1 ph 220 โวลท์ 50 เฮิร์ตซ์
3.2.4 อุปกรณ์ป้องกันและชี้บอก
อุปกรณ์ป้องกันและชี้บอกสำหรับระบบแสงสว่างฉุกเฉินต้องเป็นไปตามแบบ และข้อกำหนด ต่อไปนี้ ระบบแสงสว่างฉุกเฉินแบบใช้ดวงโคมที่มีแบตเตอรี่ พร้อมชุดควบคุมอยู่ในดวงโคมเองบนด้านหน้าของดวงโคมอย่าง น้อยต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ต่อไปนี้
(1) ฟิวส์ สำหรับป้องกันการลัดวงจรของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับทางด้านเข้า
(2) หลอดไฟสำหรับแสดงสภาพของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับด้านทางเข้าและหลอดไฟแสดงสภาวะ ระดับแรงดันของแบตเตอรี่
(3) สวิตซ์แบบปุ่มกดสำหรับทดสอบการทำงานของระบบ และสวิตซ์เปิด/ปิดวงจรทางด้านออกระบบ แสงสว่างฉุกเฉินแบบใช้แผงควบคุมรวม อย่างน้อยต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ ตามที่ระบุไว้ก่อนหน้านี้และต่อไปนี้
(4) โวลท์มิเตอร์สำหรับวัดค่าแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่
(5) แอมมิเตอร์สำหรับวัดค่ากระแสไฟฟ้าอัดประจุ
(6) ฟิวส์หรือสวิตซ์อัตโนมัติ (Circuit Breaker) สำหรับป้องกันการลัดวงจรของวงจรทางด้านออก หลอดไฟฟ้าหรือดวงโคม
(7) หลอดไฟสำหรับดวงโคมแบบมีแบตเตอรี่ และชุดควบคุมอยู่ภายในตัวให้ใช้หลอดฮาโลxxx (Halogen Lamp) หรือสปอตไลท์ (Spot Light) ขนาด 35 วัตต์ ชนิดxxxxxxxxxและมีค่าพิกัดไฟฟ้าเป็นไปตามที่ แสดงไว้ในแบบ หรือเป็นตามพิกัดแรงดันของแบตเตอรี่ หลอดไฟ และดวงโคมไฟฟ้าสำหรับระบบแสงสว่างฉุกเฉิน แบบมีแผงควบคุมรวมให้เป็นไปตามที่แสดงไว้ในแบบ
4. ระบบการต่อลงดิน (Grounding System)
4.1 ทั่วไป
การต่อลงดินของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ที่เป็นโลหะที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าผ่านหรืออุปกรณ์ที่เป็นโลหะและอาจ มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ของระบบอื่นๆ xxxx โครงเหล็กลิฟต์ ท่อน้ำ เป็นต้น ต้องต่อลงดิน การต่อลงดินต้องเป็นไป ตามแบบ และ/หรือ ตามข้อกำหนดต่อไปนี้
4.2 ข้อกำหนด
4.2.1 ถ้าไม่มีกำหนดไว้ในแบบ xxxxxxxxxเดินเชื่อมระหว่างอุปกรณ์ไฟฟ้าและแผงสวิตช์จ่ายไฟฟ้าย่อย หรือแผงควบคุมอื่นๆ ต้องมีขนาดเป็นไปตามตาราง 250-95 ของ National Electrical Code และต้องมีขนาดไม่เล็ก กว่า 1.5 ตารางมิลลิเมตรxxxxxxxxxเดินเชื่อมระหว่างแผงสวิตช์จ่ายไฟฟ้าเมนกับแผงสวิตช์จ่ายไฟฟ้าย่อยหรือแผง ควบคุมอื่นๆ ต้องมีขนาดเป็นไป ตามตาราง 250-94 ของ National Electrical Code
4.2.2 สายไฟฟ้าที่เป็นเส้นดินและเส้นศูนย์ต้องไม่ใช้สายไฟฟ้าเส้นเดียวกัน
4.2.3 กรอบโลหะของอุปกรณ์ไฟฟ้า จะต้องมีการต่อลงดิน
4.2.4 ขนาดของสายดิน ต้องไม่เล็กกว่าครึ่งหนึ่งxxxxxxเฟส
4.2.5 สายต่อหลักดินที่มีขนาดตั้งแต่ 25 Sqmm. ขึ้นไป xxxxxxตั้งในxxxxxxถูกxxxxxxxxxxxxxxง่าย ต้องมีการป้องกันทางกายภาพ
4.2.6 ถ้าไม่มีกำหนดเป็นอย่างอื่น วิธีเชื่อมต่อระหว่างสายต่อหลักดินกับหลักดินให้ใช้วิธี Exothermic
Welding
4.2.7 หลักดิน (Ground Rod) ให้ใช้แบบเหล็กหุ้มด้วยทองแดง (Copper Clad Steel) xxxxxxxxxผ่าน
ศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 5/8 นิ้ว ยาวไม่น้อยกว่า 10 ฟุต ส่วนบนสุดของแท่งสายดินต้องฝังอยู่ในดินที่ระดับไม่น้อยกว่า
50 เซนติเมตรจากระดับดิน
4.2.8 ความต้านทานของระบบเมื่อเทียบกับความต้านทานของดิน ต้องมีxxxxxxเกิน 5 โอห์ม กรณีให้ ความต้านทานของระบบมีค่าเกิน 5 โอห์ม ผู้รับจ้างต้องแก้ไข โดยxxxxxแท่งสายดินจนทำให้ความต้านทานของระบบมี xxxxxxเกิน 5 โอห์มยกเว้น พื้นที่ที่ยากในการปฏิบัติและการไฟฟ้าฯ เห็นชอบยอมให้ค่าความต้านทานขอบหลักดินกับ ดิน ต้องไม่เกิน 25 โอห์ม หากทำการวัดแล้วยังมีค่าเกินให้ปักหลักดินxxxxxอีก 1 แท่ง
4.3 การทดสอบ
ผู้รับจ้างต้องทดสอบความต้านทานของระบบต่อหน้าวิศวกร
5. ระบบสายอากาศลงดินและลดอันตรายจากฟ้าผ่า
5.1 ข้อกำหนดทั่วไป
ผ ับxxxxไฟฟ้าต้องเป็นผู้รับผิดชอบและสายอากาศกับระบบล่อฟ้า ถึงแม้บางส่วนจะให้ผู้รับเหมาก่อสร้าง
รายอื่นxxxxxxการก็ตาม
5.2 ขอบเขต
ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาและติดตั้งอุปกรณ์ของระบบสายอากาศ (CONDUCTOR) สายลงดิน (DOWN, CONDUCTOR) ระบบลากสายดิน (GROUND CONDUCTOR AND GROUND ROD) ตามที่แสดงไว้ในแบบและระบุ ในข้อกำหนดทุกประการ
5.3 มาตรฐาน
อุปกรณ์และการติดตั้งให้เป็นตาม
5.3.1 มาตรฐานเพื่อความปลอดภัยของไฟฟ้า ของสำนักงานพลังงานแห่งชาติ เรื่องมาตรฐานการ
ติดตั้งระบบล่อฟ้า
6. การติดตั้ง
5.3.2 NATIONAL FIRE PROTECTION ASSOCIATION No.78
5.3.3 มาตรฐาน ว.ส.ท.
6.1 ความทั่วไป
6.1.1 วัสดุอุปกรณ์ทั้งหมดจะต้องส่งถึงสถานที่ติดตั้งในสภาพดีเยี่ยม และติดตั้งเข้าที่ในตำแหน่งที่แสดง ไว้ในแบบแปลน ผู้ติดตั้งจะเป็นผู้ประกอบติดตั้งต่อเข้ากับระบบตรวจสอบ และทดสอบการใช้งานตามข้อกำหนดที่จะ กล่าวต่อไปนี้ และตามข้อกำหนดของโรงงานผู้ผลิตและตามหลักมาตรฐานxxxxทางด้านวิศวกรรม
6.1.2 ผู้ติดตั้งจะต้องxxxxxxงานกับผู้ติดตั้งงานระบบอื่นๆ เพื่อให้งานระบบเสร็จเรียบร้อยxxxxxxx ผู้รับจ้างจะต้องจัดทำรายละเอียดของแบบแปลน อุปกรณ์ ตำแหน่งของ SLEEVE และอุปกรณ์ยึดโยงต่างๆ ให้กับ ผู้เกี่ยวข้อง โดยประชุมปรึกษาหารือกับผู้เกี่ยวข้องจนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว แต่ทั้งนี้ไม่ถือเป็นการปลดภาระความ รับผิดชอบของผู้รับจ้างในการจัดวางตำแหน่งของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สอดคล้องกับระบบงานที่เกี่ยวข้อง
6.2 งานระบบไฟฟ้าแสงสว่างและเต้ารับไฟฟ้า
6.2.1 ตำแหน่งของดวงโคมไฟฟ้า เต้ารับไฟฟ้าที่แสดงในแบบเป็นตำแหน่งโดยประมาณเท่านั้น ตำแหน่ง แน่นอนให้ตรวจสอบกับxxxxxxxหรือแบบตกแต่งภายในหรือแบบใช้งานซึ่งผ่านความเห็นชอบของวิศวกรเป็นที่ เข้าใจว่าตำแหน่งของดวงโคมไฟฟ้า สวิทซ์ไฟฟ้า และเต้ารับไฟฟ้าxxxxxxเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
6.2.2 แผงสวิทซ์ไฟฟ้ากำลังและแสงสว่างจะต้องติดตั้ง ณ ตำแหน่งที่แสดงไว้ในแบบแปลนสูง 2.00 เมตร1.80เมตร1.50 เมตร จากพื้นตามระบุ
6.2.3 สวิทซ์ดวงโคมไฟฟ้า ติดตั้งสูงจากพื้น 1.20 เมตร
6.2.4 เต้ารับไฟฟ้า และเต้ารับอื่นๆ ติดตั้งสูงจากพื้น 0.30 เมตร
6.3.1 ท่อร้อยสายไฟฟ้าจะต้องติดตั้งตามที่แสดงไว้ในแบบแปลน ท่อที่ฝังในพื้นคอนกรีตใช้ท่อ IMC
ส่วนที่เดินลอย แนบผนัง หรือแนบเพดานให้ใช้ท่อ EMT
6.3.2 ท่อร้อยสายไฟฟ้า จะต้องมีความยาวที่เหมาะสมที่จะรับกับตู้หรือกล่องต่อสาย หรือกล่องเอ๊าเลต ในกรณีที่ต่อเข้ากับกล่องต่อสายหรือตู้ CABINET ท่อทุกท่อจะต้องได้ระดับและมีความยาวของปลายท่อเท่าxxx xxx ปลายท่อจะต้องมีปลั๊กอุดป้องกันการอุดตันของปูนหรือเศษผงต่างๆ สำหรับปลายท่อต่อเข้ากับเครื่องยนต์ไฟฟ้าจะต้อง ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับแตะละกรณี
6.3.3 ท่อร้อยสายไฟฟ้าที่ผ่านการใช้งานแล้ว จะนำมาใช้งานใหม่อีกxxxxxx
6.3.4 ปลายท่อจะต้องทำการลบคมท่อทุกครั้งก่อนการติดตั้งท่อที่ต้องทำเกลียวจะต้องทำเกลียว และทำความสะอาดก่อนที่จะลบคมท่อ
6.3.5 ท่อจะต้องยึดแน่นกับกล่องต่อสายหรือกล่อง OUTLET ต่างๆ ด้วย LOCK NUT และ BUSHING ตามข้อกำหนด NEC CODE ท่อเดินลอยจะต้องยึดกับที่ให้มั่นคงทุกระยะ 2 เมตร และจะต้องยึดบริเวณ ข้องอปลายท่อทุกแห่ง การยึดท่อต่อท่อจะต้องทำให้เสร็จเรียบร้อยก่อนที่จะทำการดึงสาย
6.3.6 ภายในท่อจะต้องสะอาดเรียบร้อยไม่มีสิ่งสกปรก หากไม่xxxxxxทำความสะอาดได้จะต้อง ทำการเปลี่ยนท่อเสียใหม่
6.4 การติดตั้งเคเบิ้ลสายไฟ
6.4.1 ก่อนการติดตั้งสายเคเบิ้ลหรือสายไฟจะต้องตรวจสอบและแน่ใจว่างานระบบท่อได้ติดตั้ง เรียบร้อยโดยไม่มีสิ่งกีดขวางใดๆ ที่จะทำความเสียหายให้กับสายไฟได้
6.4.2 ในการดึงสาย ห้ามใช้จารบีหรือน้ำมันหล่อลื่นใดๆ นอกจาก COMPOUND ซึ่งผลิตสำหรับ การดึงสายโดยเฉพาะเท่านั้น การต่อสายจะต้องทำที่กล่องเอ๊าเลตหรือกล่องต่อสายเท่านั้น โดยใช้ตัวต่อแบบบีบรัด และพันด้วยxxxxมีคุณสมบัติเปรียบเทียบดับxxxxxxxxxxไฟฟ้า
6.4.3 ในระหว่างการติดตั้ง หากปรากฏว่าท่อร้อยสายไฟฟ้ามีขนาดเล็กเกินไปไม่เหมาะสมในการ ติดตั้งสายไฟฟ้าแล้ว ผู้ติดตั้งต้องปรึกษาวิศวกรเพื่อเปลี่ยนแปลงแก้ไขในทันที
6.4.4 สายไฟฟ้าจะต้องผ่านการตรวจสอบทั้งขนาดและความยาวก่อนทำการลากสาย สายไฟฟ้า ที่มีความยาวสั้นเกินไป จะต้องทำการxxxxxxxxxxxสายไฟฟ้าที่ผ่านการใช้ลากxxxxxแล้วจะนำxxxxxxใช้งานใหม่xxxxxx นอกจากจะได้รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานเสียก่อน
6.5 การต่อลงดิน
6.5.1 ปลายแท่นหลักดินจะต้องติดตั้ง ณ ตำแหน่งที่แสดงไว้ในแบบแปลนและติดตั้งในดินอย่างน้อย 60 เซนติเมตร ใต้ผิวดิน
6.5.2 สายทองแดงต่อลงดิน จะต้องจัดวางอย่างเรียบร้อย และฝังลึกไปในดินอย่างน้อย 50 เซนติเมตร
จากผิวดิน
6.5.3 จุดต่อของสายดินทุกจุดจะต้องทำความสะอาดก่อนและจะต้องยึดแน่นทุกจุด อุปกรณ์ไฟฟ้าทุก
ชนิดท่อร้อยสายไฟ และส่วนที่เป็นโลหะของอุปกรณ์ต่างๆ จะต้องต่อลงดินเข้ากับระบบสายดินโดยใช้หัวต่อที่ เหมาะสม
7. รายการอุปกรณ์วัสดุ และอุปกรณ์ที่อนุมัติให้ใช้
รายการวัสดุ และอุปกรณ์ที่อนุมัติให้ใช้ตามหัวข้อข้างล่างนี้เป็นเพียงแนวทางประกอบการเลือกวัสดุและ อุปกรณ์ของระบบไฟฟ้า ผู้รับจ้างจะต้องเสนอวัสดุและอุปกรณ์อื่นๆ ตามที่ระบุในหัวข้อข้างล่างนี้ได้โดยจะต้องเป็น ตามข้อกำหนดของระบบไฟฟ้านี้ และจะต้องส่งรายละเอียดทางเทคนิค แคตตาล็อคพร้อมทั้งระบุรุ่น และขนาดของ อุปกรณ์นั้นให้ชัดเจนในระหว่างการเสนอราคา และจะต้องเสนอขออนุมัติก่อนการxxxxxxการจัดซื้อ
7.1 LIGHTING LUMINAIRE PHILIPS, TEI, DELIGHT, HILIGHT, VCK
7.2 LAMP HOLDER BJB, VS, SIRIXXXX,xรือเทียบเท่า
7.3 BALLXXX & XOW LOSS BALLAST PHILIPS, MK, BOVO, VOSSLOH, VCK
7.4 LAMP STARTER PHILIPS, OSRAX, XXLVANIA
7.5 LUMINAIRE : LAMP CAPACITOR PHILIPS, Electronicon, ATCO
7.6 LUMINAIRE : LAMP PHILIPS, OSLAM, SYLVNIA, VCK
7.7 CONDUIT MITSXXXXXX, XXS, PAT
7.8 CABLE PHELPS DODGE, THAI YAZAKI,BANGKOKCABLE, MCI
7.9 18EMERGENCY LIGHT HITIGHT,TEI, VCK
จบxxxxxxx 1
xxxxxxx 2 หม้อแปลงไฟฟ้า
1. หม้อแปลงไฟฟ้าชนิดแห้ง
1.1 ความต้องการทั่วไป
(1) หม้อแปลงไฟฟ้าชนิดแห้งต้องทำและทดสอบตามมาตรฐานฉบับล่าสุดที่เกี่ยวข้องของ IEC Standard และต้องได้รับการรับรองโดยสถาบันที่เชื่อถือได้
(2) หม้อแปลงไฟฟ้าต้องเป็นชนิดแห้ง สำหรับใช้ภายในอาคารในที่มีความชื้นสูงxxxxชนิด Cast- Resin Under Vacuum, Insulation Class F or H สำหรับ HV หรือ LV winding.
(3) ผู้ผลิตต้องรับประกันคุณภาพของหม้อแปลงไฟฟ้าชนิดแห้งไม่ต่ำกว่า 5 ปี หากมีการเสียหาย ผู้ผลิตจะต้องทำการเปลี่ยนหม้อแปลงไฟฟ้าลูกใหม่ให้ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
1.2 พิกัดของหม้อแปลงไฟฟ้าชนิดแห้ง
(1) ขดลวดแรงสูง 24kV หรือ 33KV หรือตามที่ระบุในแบบ (Delta–Connection) 3 เฟส 50 Hz ขดลวดต้องมี off-load tap changer, หรือ -4x2.5% ตามมาตรฐานของการไฟฟ้านครหลวง โดยมีค่า Dielectric Test Voltage ไม่น้อยกว่ามาตรฐานที่การไฟฟ้านครหลวงกำหนด
(2) ขดลวดแรงต่ำ 416/240 โวลต์ 3 เฟส 4 สาย 50 Hz (Y-Connection) ตามมาตรฐานของการ ไฟฟ้านครหลวง และเส้นศูนย์ต้องทนกระแสไฟได้เท่าเส้นเฟส
(3) Vector Group ต้องเป็นไปตามมาตรฐานที่การไฟฟ้านครหลวงกำหนด
(4) ขดลวด เป็นชนิดอxxมิเนียม หรือทองแดง
(5) ความสูญเสีย (Loss) ความสูญเสียต้องมีค่าต่ำทั้งขณะที่ไม่มีโหลด และขณะมีโหลดเต็มที่ ค่าความ สูญเสียรวมต้องไม่เกิน 1% ที่เต็มพิกัด และ PF = 1
(6) Impedance Voltage ประมาณระหว่าง 5.6 - 8% at rated KVA
(7) หม้อแปลงต้องxxxxxxรับโหลดเต็มที่ต่อเนื่องกันxxxxxxอุณหภูมิโดยรอบ 40ºC โดยไม่ต้องใช้พัดลม
เป่า
40ºC)
(8) อุณหภูมิที่xxxxxขึ้นสูงสุดขณะใช้โหลดเต็มที่ต้องไม่สูงเกิน 100 K (100ºC วัดจากอุณหภูมิโดยรอบ
(9) ระดับเสียงรบกวนต้องต่ำและมีxxxxxxเกินกว่าที่กำหนดไว้ใน NEMA or IEC Standard ให้ระบุค่า
ด้วยในการเสนอราคา
(10) ขนาดหม้อแปลงที่ติดตั้งในตู้หม้อแปลงตามที่กำหนดในแบบหรือข้อกำหนดต้องxxxxxxรับโหลด ต่อเนื่องxxxxxขึ้นได้อีก 40% ของขนาดมาตรฐาน เมื่อมีการติดตั้งพัดลมเป่าหม้อแปลงโดยอัตโนมัติตามมาตรฐานของ ผู้ผลิต
1.3 โครงสร้างของหม้อแปลง
(1) ตัวขดลวดหม้อแปลงต้องติดตั้งบนโครงเหล็กโดยxxxxxxส่วนป้องกันความสั่นสะเทือนรองรับ
(Vibration Damper) และต้องมีห่วงยกตามที่จำเป็น
(2) ขั้วต่อสายแรงสูง ให้เป็นแบบทำสำหรับต่อกับสายเคเบิ้ลแรงสูง ตามมาตรฐานของการไฟฟ้านคร
หลวง สายเฟส
(3) ขั้วต่อสายแรงต่ำ ต้องทำสำหรับใช้ต่อกับบัสบาร์ ขั้วต่อสายศูนย์ต้องทนกระแสไฟฟ้าได้เท่าขั้วต่อ
(4) ขั้วต่อสายดิน ต้องมีให้xxxxxxxโครงหม้อแปลงและที่ตัวถังปิดหม้อแปลง
(5) ตัวต่อกลางอ่อน (Flexible connector) ที่ขั้วต่อสายแรงสูงและแรงต่ำทุกอันต้องติดตั้งตัวต่อกลางอ่อน ทำด้วยทองแดง ทนกระแสไฟฟ้าxxxxxxน้อยกว่า 125% ของกระแสไฟสูงสุดที่ระบุสำหรับกรณีใช้พัดลมเป่า ให้ต่อ ระหว่างขั้วต่อสายของหม้อแปลงกับบัสบาร์ที่ต่อเข้าแผงสวิตช์ เพื่อลดความสั่นสะเทือนและรับการขยายตัวของบัส บาร์
(6) ข้างตัวหม้อแปลงต้องมีที่ว่างเตรียมไว้ให้พร้อมที่จะติดตั้งพัดลมเป่าหม้อแปลง เพื่อxxxxxพิกัดขึ้นได้
(7) ตัวขดลวดแรงต่ำ ต้องxxxxxxติดตั้งอุปกรณ์วัดอุณหภูมิ (Temperature Sensor) xxxxxขึ้นได้ทุกเมื่อ เพื่อวัดอุณหภูมิของขดลวดแรงต่ำ
(8) ตัวหม้อแปลงต้องมีตัวถังครอบมิดชิดเป็นแบบนิรภัยรอบด้าน (Safety Xxxxxxxxx) ชนิด Class IP21, หรือตามที่กำหนดในแบบ ตัวถังให้ทำในประเทศไทยได้ และได้รับการรับรองจากโรงงานผู้ผลิตหม้อแปลงแหล่งกำเนิด โดยมีลักษณะทั่วไปดังนี้คือ เหล็กที่ใช้ทำตัวถัง หนาไม่น้อยกว่า 2 มม. ชิ้นส่วนที่เป็นเหล็กต้องขัดสนิม ล้างสนิมและ ไขมันออกด้วยน้ำยา พ่นสีกันสนิมชนิด Zinc Phosphate พ่นสีรองพื้น (Primer) พ่นสีชั้นสุดท้ายอย่างน้อยสองชั้น โดยใช้สีชนิด Stoved enamel xxxxxxxxตู้แผงสวิตซ์ หรือสีตามที่กำหนดให้ ระหว่างการพ่นสีแต่ละชั้นต้องผ่านการ อบด้วยความxxxxสูง
1.4 อุปกรณ์ประกอบ
(1) เครื่องกันฟ้า (Lightning or surge arrester) จำนวนสามอัน ติดตั้งทางด้านแรงสูง เป็นแบบที่ทำ สำหรับป้องกันหม้อแปลงชนิดนี้โดยเฉพาะ ต้องเป็นเครื่องกันฟ้าที่ทำตามมาตรฐาน ANSI หรือ IEC ผ่านการทดสอบ และรับรองคุณภาพโดยสถาบันที่เชื่อถือได้
(2) เทอร์โมมิเตอร์แบบมีเข็มชี้ (Dial type) สเกลประมาณ 45ºC-200ºC หรือแบบแสดงผลเป็น ตัวเลข (Digital Type) สำหรับวัดอุณหภูมิสูงสุดของขดลวดแรงต่ำทั้งสามชุด โดยใช้อุปกรณ์วัดอุณหภูมิฝังในขดลวด ทั้งสามชุด
(3) ติดตั้ง Thermister สำหรับวัดอุณหภูมิที่ขดลวดแรงต่ำ ณ จุด HOTEST SPOT ที่ขดลวดแรงต่ำ ทั้ง 3 ชุด ณ.ระดับอุณหภูมิต่าง ๆ ดังนี้
- ระดับอุณหภูมิ 100ºC ส่งสัญญาณบังคับให้พัดลมเป่าหม้อแปลงทำงาน
- ระดับอุณหภูมิ 130ºC ส่งสัญญาณให้สัญญาณอันตรายทำงาน
- ระดับอุณหภูมิ 150ºC ส่งสัญญาณให้อุปกรณ์ป้องกันตัดไฟทั้งด้านแรงสูงและแรงต่ำ
(4) พัดลมเป่าหม้อแปลง
- พัดลมเป่าหม้อแปลง ต้องประกอบด้วยสวิตซ์ตัดตอนอัตโนมัติ คอนแทคเตอร์ หลอดไฟ สัญญาณ สายไฟหุ้มxxxxและเปลือกนอก มอเตอร์ชนิดหุ้มมิดพร้อมพัดลมประกอบกันเป็นชุด ทำโดยเฉพาะสำหรับ ใช้กับหม้อแปลงตามข้อกำหนดนี้xxxxxxxxxxลมได้ปริมาณxxxxxxxxxxจะxxxxxพิกัดหม้อแปลงxxxxxxน้อยกว่าร้อยละ 40 หรือตามที่ระบุที่อุณหภูมิโดยรอบ 40ºC โดยรายละเอียดของพัดลมเป่าหม้อแปลงและช่องอากาศเข้าจากตัวถัง จะต้องทำตามคำแนะนำของโรงงานผู้ผลิตตัวหม้อแปลง
-พัดลมเป่าหม้อแปลงต้องเป็นแบบ CROSS FLOW FAN โดยเป่าลมจากใต้ขดลวดหม้อแปลงขึ้น
ไปด้านบน
(5) ชุดสัญญาณอันตราย ต้องประกอบด้วยออดหรือกริ่งไฟฟ้า หลอดไฟสัญญาณ คอนแทคเตอร
ปุ่มกดดับสัญญาณเสียง และมีขั้วต่อสายสำหรับต่อชุดสัญญาณอันตรายระยะไกลไปยังห้องควบคุมกลาง ได้อีก 1 ชุด ด้วย
1.5 การติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้า
(1) โครงของหม้อแปลงไฟฟ้าต้องต่อลงดินที่จุดที่อยู่ใกล้ที่สุด สายที่ใช้ต่อลงดินให้ใช้ขนาดตามที่ กำหนดในแบบ
(2) พื้นที่รองรับหม้อแปลงไฟฟ้าต้องมั่นคงแข็งแรง ระหว่างหม้อแปลงและพื้นที่รองรับให้รอง ด้วยวัสดุที่ช่วยลดการสั่นสะเทือน (Vibration Isolator)
(3) ในการเข้าสาย หรือบัสบาร์ที่หม้อแปลงไฟฟ้า ต้องทำความสะอาดขั้วต่อของหม้อแปลง ไฟฟ้าก่อน หลังจากต่อสายหรือบัสบาร์เข้า/ออกแล้ว ต้องฉาบจุดที่ต่อโดยใช้ Lacquer หรือวิธีอื่นที่อนุมัติ
(4) xxxxxxxxไฟเข้าหม้อแปลงไฟฟ้า ต้องทดสอบก่อนว่าค่าทางไฟฟ้าของหม้อแปลงไฟฟ้า ถูกต้องตามที่ผู้ผลิตแนะนำหรือแจ้งไว้ ลักษณะการต่อสายเข้าและออกถูกต้องตามความต้องการของข้อกำหนดทาง ไฟฟ้า ในกรณีของหม้อแปลงไฟฟ้าที่การไฟฟ้าxxxxxxxx จะต้องเป็นผู้ตรวจอนุมัติให้ใช้ ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้ติดต่อ xxxxxxงานให้การไฟฟ้าxxxxxxxxตรวจและอนุมัติก่อน จึงจะจ่ายไฟเข้าหม้อแปลงไฟฟ้าได้
(5) เมื่อจ่ายไฟเข้าหม้อแปลงไฟฟ้าแล้ว ผู้รับจ้างต้องตรวจและทดสอบว่าแรงดันด้านแรงต่ำมี ค่าตามที่กำหนด ถ้ายังxxxxxxตามที่กำหนดต้องเปลี่ยน Tap เพื่อปรับแรงดันให้ได้ก่อน จึงจะจ่ายไฟไปสู่วงจรภายนอก ได้ นอกจากนี้จะต้องทดสอบระบบควบคุมและระบบสัญญาณอันตรายเตือนตามที่กำหนดไว้ว่าใช้งานได้
1.6 การทดสอบ
(1) หม้อแปลงต้องผ่านการทดสอบที่โรงงานผู้ผลิตตัวหม้อแปลง (มิใช่โรงงานผู้ประกอบตัวถัง) ตามที่ กำหนดในมาตรฐาน โดยต้องมีหนังสือรับรองผลการทดสอบระบุ SERIAL NUMBER ออกโดยโรงงานดังกล่าว แสดง รายละเอียดผลการทดสอบ และตรวจxxxxxครบถ้วน ให้ส่งหนังสือรับรองดังกล่าว จำนวน 3 ชุด
(2) หม้อแปลงจะต้องผ่านการทดสอบจากสถาบันมาตรฐานตาม IEC 76-5 โดยรวมถึง
- Partial Discharge Measurement
- Noise Level Measurement
- Impulse Test, Heat Run Test และ Ability withstand short circuit
(xxxxxxใช้ Type Test ได้)
(3) เมื่อหม้อแปลงส่งไปถึงสถานที่ติดตั้งแล้ว ผู้รับจ้างต้องจัดให้มีการทดสอบโดยการไฟฟ้าxxxxxxxx xxxxxxxxไฟ ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายในการทดสอบทั้งสิ้น หากการไฟฟ้าxxxxxxxxxxxยอมให้ใช้หม้อแปลงที่ส่ง มอบ ผู้รับจ้างจะต้องนำหม้อแปลงใหม่ที่ถูกต้องมาเปลี่ยนให้ โดยxxxxxxxxxใช้จ่ายใดๆ xxxxxขึ้นทั้งสิ้น
(4) ผู้xxxxxxxขอxxxxxxxxxxในการที่จะขอทดสอบหม้อแปลงตามวิธีการที่ผู้xxxxxxxจะกำหนดให้ภายหลัง เพื่อทดสอบหม้อแปลงในรายละเอียดต่างๆของข้อกำหนดรวมทั้งการทดสอบที่ full load และเกิน full load อีกร้อย ละ 40 โดยผู้รับจ้างจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น
(5) ผู้รับจ้างต้องส่งหนังสือคู่มือในการติดตั้ง การใช้ และการบำรุงรักษา พร้อมทั้งแบบการติดxxxxxxx เป็นภาษาไทย ใช้หน่วย "เอสไอ" แสดงขนาดมิติโดยละเอียด วงจรการต่อสาย และรายการอะไหล่ จำนวนรวม 3 ชุด
2. หม้อแปลงไฟฟ้าชนิดน้ำมัน
2.1 ความต้องการทั่วไป
(1) หม้อแปลงไฟฟ้ากำลัง (Power Transformer) ต้องเป็นชนิดขดลวดจุ่มอยู่ในน้ำมัน (Oil immersed) สำหรับใช้งานภายนอกอาคาร
(2) หม้อแปลงไฟฟ้าต้องผลิตและทดสอบ ตามมาตรฐานของ TIS, ANIS หรือ IEC ฉบับล่าสุด และต้อง เป็นไปตามกฎและxxxxxxxของการไฟฟ้า
(3) การแสดงพิกัดต่างๆ ของหม้อแปลงไฟฟ้าจะต้องอ้างอิงที่อุณหภูมิ 40ºC ความชื้นสัมพัทธ์ 50%
(4) หม้อแปลงไฟฟ้า ต้องมีคุณสมบัติ และสมรรถนะ ดังนี้
- Rated Primary Voltage : ตามที่กำหนดในแบบ
- Rated Frequency : 50 H z
- Number of Phase : 3
- Rated Power Output : ตามที่กำหนดในแบบ
- Vector Group : Dyn 11
- HV. No-Load Tap Changer : - 4x2.5% (MEA)
: + 2x2.5% (PEA)
- Total loss at P F.1 : ไม่เกิน 1.5% ที่ Full load
(5) ผู้รับจ้างต้องเสนอรายละเอียดหม้อแปลงให้วิศวกรของผู้xxxxxxx หรือตัวแทนของผู้xxxxxxx และการไฟฟ้า xxxxxxxxพิจารณา ให้ความเห็นชอบก่อนการสั่งซื้อหม้อแปลงโดยในรายละเอียดต้องแสดงข้อมูลให้พิจารณาอย่างน้อย ดังนี้
- รายละเอียดของวัสดุ, Rated Voltage และ Current ของขดลวดแรงสูง และแรงต่ำ
- Rated Frequency
- Number of Phase
- No Load Loss และ Rated Load Loss
- Tap Changer
- Rated Rasic Impulse Level
- Impedance Voltage
- Impedance Voltage
- Vector Group
- Noise Level
- Percent Efficiency
- Percent Regulation at 100% PF
- ขนาดมิติ และน้ำหนัก
2.2 ส่วนประกอบของหม้อแปลงไฟฟ้า
(1) xxx xx xx x Iron Core สร้า ง ขึ้ น ด้ วย High Grade Nonaging Silicon Steel Lamination ซึ่ ง มี
Magnetic Permeability สูงและให้ค่า Hysteresis และ Eddy Current Loss ต่ำ
(2) ขดลวดและxxxxHigh Voltage และ Low Voltage Winding โลหะตัวนำทำด้วยทองแดงหุ้มด้วย xxxx Class A
(3) Tap Changerที่ High Voltage Winding ต้องมี Off - Load Tap Changer ตามที่กำหนดด้ามหมุน ของ Tap Changer ต้องxxxxxxแสดงให้ทราบได้ว่าในขณะนั้น อยู่ในตำแหน่งของ Tap ใด
(4) ขั้วต่อสาย ขั้วต่อสายแรงสูงต้องทำให้เหมาะสมสำหรับใช้ต่อกับบัสบาร์ หรือต่อกับสายเคเบิ้ลแรงสูง (โดยให้พิจารณาจากแบบ) เพื่อต่อกับสวิตซ์แรงสูงอย่างเหมาะสมขั้วต่อสายแรงต่ำทำด้วยทองแดง เคลือบทับด้วย High Conductivity Bronze หรือ Hot-Tin dipped จะต้องเหมาะสมสำหรับใช้ต่อกับบัสบาร์ หรือต่อกับสายเคเบิ้ล (โดยให้พิจารณาจากแบบ)Bolts, Nuts และ Lock washers ที่ใช้กับขั้วต่อสายต้องทำด้วย Stainless Steel
(5) ตู้หม้อแปลง ทำด้วยโลหะมีความแข็งแรงทนทานต่อxxxxxxxใช้งาน และการเคลื่อนย้ายสีทาภายในตู้ เป็นชนิดที่เหมาะสมสำหรับการใช้บรรจุน้ำมัน สีทาภายนอกตู้ทารองพื้นด้วย Primer Coat และทาสีทับอย่างน้อย 2 ชั้น ซึ่งเป็นชนิดที่ทนต่อสภาวะการใช้งานนอกอาคาร
2.3 อุปกรณ์ประกอบหม้อแปลง
(1) หม้อแปลงไฟฟ้าทุกขนาดจะต้องมีอุปกรณ์ประกอบอย่างน้อยที่สุดดังนี้
- Drain Xxxxx, Xxxxxxxx
- Lifting Lugs
- Earthing Terminal
- Oil Level Gauge
- Off Load Tap Changer
- Thermometer Pocket
- Pressure relief device
- Conservator Tank
(2) สำหรับหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดตั้งแต่ 1000-2500 KVA จะต้องมีอุปกรณ์ประกอบเพิ่มเติมดังนี้
- Dial Type Thermometer with adjustable contact
- Buchholz Relay
2.4 การติดตั้งหม้อแปลง
(1) ให้ติดตั้งตามลักษณะและตามตำแหน่งที่ระบุในแบบ หรืออาจเปลี่ยนแปลงได้เพื่อความเหมาะสม โดย
ความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงาน แต่ทั้งนี้ต้องไม่ขดต่อxxxxxxxของการไฟฟ้าxxxxxxxx
(2) การเคลื่อนย้ายหม้อแปลงจะต้องทำด้วยความระมัดระวัง เพื่อมิให้เกิดความเสียหายต่อหม้อแปลง
2.5 การทดสอบหม้อแปลงไฟฟ้า
(1) หม้อแปลงไฟฟ้าต้องผ่านการผ่าน Routine Test จากโรงงานผู้ผลิตโดยมีเอกสารแสดงผลการทดสอบ ในรายละเอียดต่างๆ ดังนี้
- Measurement of Winding Resistance
- Measurement of Impedance Voltage
- Measurement of Load Loss
- Measurement of no Load Loss
- Measurement of Insulation Resistance
- Measurement of Voltage Ratio
- Check of Polarity and Vector Group
- Induced Voltage Test
- Applied Voltage Test
(2) หม้อแปลงไฟฟ้าต้องผ่าน Type test จากสถาบันที่ผู้xxxxxxxเชื่อถือ โดยมีเอกสารแสดงผลการทดสอบ ใน รายละเอียด ดังนี้
- Temperature Rise Test
- หม้อแปลงไฟฟ้าต้องผ่านการตรวจสอบและได้รับรองให้ใช้จากการไฟฟ้าxxxxxxxx
- เมื่อติดตั้งในสถานที่ใช้งานแล้ว ผู้รับจ้างจะต้องทำการวัดค่าความต้านทานของxxxxxxxขั้วต่างๆ อย่าง ครบถ้วน และทำการตรวจทดสอบการทำงานของอุปกรณ์ควบคุมต่างๆ แล้วทำรายงานส่งผู้xxxxxxxหรือตัวแทนผู้xxxxxxx
- ผู้รับจ้างต้องส่งหนังสือคู่มือการใช้งาน และการบำรุงรักษา เป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ จำนวน
3 ชุด ต่อผxxxxxxx
3. การรับประกัน
3.1 ผู้รับจ้างต้องรับประกันว่า หม้อแปลงไฟฟ้าที่จะนำมาใช้เป็นของใหม่ที่ผลิตจากโรงงาน และยังไม่เคย ติดตั้งใช้งานที่ใด หากไม่ถูกต้องผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบในการเปลี่ยนให้
3.2 ผู้รับจ้างต้องรับประกันหม้อแปลงไฟฟ้าที่มีการเสียหาย เนื่องจากข้อผิดพลาดในการผลิตการขนส่ง และ การติดตั้งโดยต้องรับซ่อมหรือxxxxxxxxxxxภายในระยะเวลา 1 ปี นับแต่xxxxxxเริ่มใช้งานหรือวันรับมอบงานทั้งระบบ
3.3 เมื่อครบกำหนดการรับประกัน ผู้รับจ้างต้องตรวจ ทำความสะอาด และทำการขันรอยต่อทุกจุด
จบxxxxxxx 2
xxxxxxx 3 เครื่องกำเนิดไฟฟ้าxxxxx
1. ความต้องการทั่วไป
1.1 ผู้รับจ้างต้องจัดหาติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าxxxxx พร้อมระบบควบคุมอัตโนมัติและอุปกรณ์ต่างๆ ที่จำเป็น เพื่อให้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดังกล่าวทำงานโดยxxxxxxxตามที่แสดงในแบบและระบุในข้อกำหนดนี้ทุกประการ
1.2 เครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินให้กำลังไฟฟ้าเป็นแบบ Prime (Prime Rating) โดยมีขนาด kVA. ไม่น้อยกว่าที่ แสดงไว้ในแบบที่เพาเวอร์แฟกเตอร์ 0.8 380/220 V. 3 เฟส4 สาย 50 Hz ที่ความเร็วรอบ 1500 รอบ/นาที
1.3 เครื่องยนต์ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า และ Radiator ตั้งอยู่บนฐานเดียวกัน ซึ่งทำด้วยเหล็กประกอบสำเร็จรูป และ Coupling มาจากโรงงานผู้ผลิตและต้องส่ง Test Report ของเครื่องนั้นๆ มาให้ผู้ควบคุมงานพิจารณาด้วย
1.4 แผงควบคุมชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ต้องเป็นแผงควบคุมที่ประกอบสำเร็จรูป โดยบริษัทผู้ผลิตชุดเครื่อง กำเนิดไฟฟ้า
1.5 ผู้รับจ้างต้องจัดทำการทดสอบด้วยโหลดเทียมที่สถานที่ติดตั้ง หรือที่โรงงานผู้จัดจำหน่ายตามรายการ ทดสอบระบบ
2. เครื่องยนต์
2.1 เป็นเครื่องยนต์ที่ใช้น้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิงชนิดสี่จังหวะ ทำงานที่พิกัดความเร็ว 1,500 รอบต่อนาที ขนาดกำลังของเครื่องยนต์จะต้องเป็นขนาดที่เหมาะสมกับขนาดพิกัดของ Generator เป็นเครื่องยนต์ชนิด Low Emissions ได้มาตรฐานเทียบเท่า TA-Luft หรือ TIER-I
2.2 ระบบควบคุมความเร็วรอบใช้ Solid State Synchronous Governor เพื่อให้ความถี่ของกระแสไฟฟ้าที่ จ่ายออกอยู่ระหว่าง 50 Hz ±0.25%
2.3 ระบบจ่ายน้ำมันเชื้อเพลิงเป็น แบบ Direct Injection น้ำมันเชื้อเพลิงก่อนเข้า Fuel injector ต้องผ่าน
เครื่องกรองน้ำมันชนิดที่xxxxxxเปลี่ยนไส้ได้ซึ่งติดตั้งในตำแหน่งที่xxxxxxเข้าบำรุงรักษาได้สะดวก
2.4 ระบบน้ำมันหล่อลื่นเป็นแบบ Gear type lubricating oil pump
2.5 ไส้กรองของน้ำมันหล่อลื่นใช้แบบ Double หรือ Triple Paper Element และมีเครื่องกรองน้ำมันพร้อม
Bypass Valve ซึ่งทำงานด้วยสปริงเพื่อให้น้ำมันxxxxxxไหลผ่านได้ในกรณีที่ไส้กรองอุดตัน
2.6 การระบายความxxxx จะต้องมีระบบระบายความxxxxซึ่งจัดมาพร้อมเสร็จกับเครื่องยนต์โดยมีขนาดพอที่จะ ไม่ทำให้เครื่องยนต์xxxxเกินกำหนดในขณะทำงาน เป็นแบบระบบปิดประกอบด้วยปั๊มน้ำซึ่งรับแรงขับจากเครื่องยนต์ ในกรณีที่ใช้ระบบระบายความxxxxด้วยน้ำ หม้อน้ำและพัดลมอาจจะเป็นแบบที่ติดอยู่กับเครื่องหรือติดตั้งแยกกันก็ได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพและสถานที่ติดตั้ง xxxxxxxxxxตั้งแยกกันแล้วจะต้องจัดหาเครื่องสูบน้ำที่มีขนาดxxxxxxxxxxจะระบาย ความxxxxสำหรับเครื่องยนต์นั้นๆ ด้วยโดยค่าใช้จ่ายอยู่ในส่วนรับผิดชอบของผู้รับจ้างทั้งสิ้น ระบบจ่ายน้ำสำหรับ ระบายความxxxxต้องxxxxx และให้ผู้เสนอเครื่องยนต์กำหนดหรือแนะนำน้ำยาที่ใช้เติมในน้ำระบายความxxxxเพื่อ ป้องกันการผุกร่อนมาด้วย
2.7 ระบบกรองอากาศใช้เครื่องกรองอากาศชนิดแห้ง (Dry type air filter paper element)
2.8 ระบบระบายความxxxxใช้ Radiator with fan guards รับแรงขับจากเครื่องยนต์ผ่านสายพาน ปริมาณ Air Flow และ Air Flow Restriction ต้องเพียงพอกับxxxxxxxติดตั้งตามแบบ
2.9 สตาร์ทเครื่องยนต์ด้วย 24 VDC Starting Motor โดยใช้กระแสไฟฟ้าจาก Lead-Acid Battery ซึ่งมีความ จุไฟฟ้าพอที่จะสตาร์ทเครื่องยนต์ติดต่อกันได้อย่างน้อย 4 ครั้ง พร้อมกันนั้นยังxxxxxxใช้ได้กับระบบอัตโนมัติ ระบบ ควบคุม ระบบเตือนหรือระบบอื่นๆ ที่จำเป็นอย่างเพียงพอ
2.10 การประจุแบตเตอรี่ต้องเป็นระบบ Solid State ซึ่งจะประจุไฟโดยอัตโนมัติด้วยแรงดันxxxxxxxxxxx ประจุให้แบตเตอรี่เต็มโดยเร็วตามxxxxxแต่ไม่เกิน 12 ชั่วโมง และจะต้องมีไฟสัญญาณแสดงภาวะ การทำงานของ เครื่องประจุแบตเตอรี่
2.11 ระบบไอเสียให้มีอุปกรณ์ระงับเสียง (Exhaust Silencer) ชนิด Residential หรือดีกว่าและท่ออ่อน (Flexible Exhaust Pipe) เพื่อลดxxxxxxxxลงมา การติดตั้งท่อไอเสียจะต้องยึดด้วย Vibration Absorber ชนิดสปริง และจะต้องไม่เกิดความเสียหายเนื่องจากความxxxxxxxเกิดขึ้น โดยท่อไอเสียให้ใช้เหล็กดำ Schedule 40 หรือดีกว่า และติดตั้ง Flexible Exhaust Pipe ความยาวท่อไม่น้อยกว่า 60 ซม. ท่อไอเสียที่เดินภายในอาคารจะต้องหุ้มด้วย xxxxความxxxx (Calcium Silicate) และแผ่นอxxมิเนียมความหนาไม่น้อยกว่า 0.6 มม. อีกชั้นหนึ่ง
2.12 จัดให้มีระบบป้องกันเสียง (Sound Attenuator with Aluminium Grill Fixed Type) ที่บริเวณช่อง ลมเข้าและช่องระบายลมหน้าหม้อน้ำที่ตำแหน่งห้องเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
2.13 แผงควบคุมเครื่องยนต์ต้องมีอุปกรณ์และเครื่องวัดที่อ่านค่าแบบดิจิตอนได้อย่างน้อยดังนี้
(1) โวลท์มิเตอร์ และแอมป์มิเตอร์
(2) เครื่องวัดอุณหภูมิน้ำหล่อเย็น
(3) เครื่องวัดอุณหภูมิและเครื่องวัดความดันของน้ำมันหล่อลื่น
(4) เครื่องวัดความเร็วรอบของเครื่องยนต์
(5) Over speed and Under speed
(6) นาฬิกาจับเวลาการทำงานของเครื่องยนต์
(7) สัญญาณแจ้งเตือนการทำงานผิดพลาดพร้อมสัญญาณเสียง และหน้าสัมผัส (Normally
Open Contact)
(8) ปุ่มทดสอบสัญญาณแสง
(9) สวิตช์ Auto – Off –Manual สำหรับระบบสั่งสตาร์ทเครื่องยนต์
(10) Emergency Stop Switch และ Key switch
2.14 แผงควบคุมเครื่องยนต์ จะต้องมีไฟเตือนที่แผงควบคุมหรือทำให้เกิดเสียงเตือนหรือเพื่อดับเครื่องยนต์ใน กรณีที่เครื่องยนต์ทำงานผิดxxxxอย่างน้อยดังนี้
(1) แรงดันน้ำมันเครื่องต่ำ
(2) อุณหภูมิของน้ำระบายความxxxxสูงเกิน หรือปริมาณน้ำระบายความxxxxน้อยกว่าxxxx หรือสายพานพัด ลมระบายความxxxxขาด
(3) อุณหภูมิน้ำมันหล่อลื่นสูงกว่าxxxx
(4) ความเร็วสูงผิดxxxx
(5) ระดับน้ำมันเชื้อเพลิงต่ำกว่าที่กำหนด
(6) เครื่องยนต์เกิด Overcrank
2.15 ฐานเครื่องและส่วนที่ยึดกับอาคาร ต้องxxxxxเป็นโครงเหล็กและมีxxxxxxป้องกันการสั่นสะเทือนเป็นแบบ สปริงหรือดีกว่า
3. ชุดเครื่องจ่ายไฟฟ้า
3.1 ต้องมีพิกัดกำลังตามที่ระบุ เป็นเครื่องจ่ายไฟระบบ 380/220 V. 3 เฟส 4 สาย 50 Hz PF = 0.8 เป็นแบบ 4 POLE เป็นแบบ Brushless Rotating Diode, Full Wave Rectifier ต่อโดยตรงเข้ากับเครื่องยนต์ต้นกำลังโดยผ่าน Flexible Coupling และต้องติดตั้งบนฐานเหล็กอันเดียวกัน
3.2 xxxxของขดลวดทั้ง Rotor และ Stator ให้มีความทนทานต่อ Temperature Rise ตาม NEMA
,IEC,ISO 8528 Standard Class F หรือดีกว่า
3.3 Excitation System เป็นแบบ Self Excited (กระตุ้นด้วยตัวเองโดยไม่ต้องใช้แหล่งจ่ายไฟฟ้าจาก ภายนอก )
3.4 เครื่องจ่ายไฟต้องมี Protective Thermister Relay เพื่อหยุดการทำงานของเครื่องกรณีความxxxxใน ขดลวดสูงเกินxxxx
3.5 การควบคุมแรงดันไฟฟ้าต้องใช้ Solid State Automatic Voltage Regulator ซึ่งxxxxxxควบคุม แรงดันไฟฟ้าให้อยู่ในเกณฑ์ดังนี้
(1) Voltage Regulation ไม่เกิน 1% ของ Rated Voltage จาก no load ถึง full load
(2) Voltage Stability ไม่เกิน 0.5% ของ Rated Voltage ที่ steady state
(3) Voltage Dip ไม่เกิน 20% ของ Rated Voltage เมื่อมีการจ่ายกระแสไฟฟ้าทันที 90% ของ rated load และ recovery time ไม่เกิน 3 วินาที
(4) มี Rheostat สำหรับปรับแรงดันไฟฟ้าได้ 5% ของ Rated voltage
(5) xxxxxxรับ Automatic Thyristor Load xxxxxxต่ำกว่า 70% ของ Output Rating และมี Distortion
ของ Waveform น้อยที่สุดที่ยอมรับได้
4. ระบบควบคุม
ระบบควบคุมจะทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าดังนี้
4.1 ควบคุมการสตาร์ทเครื่องยนต์ เมื่อได้รับสัญญาณจาก Automatic Transfer Switch หรือ ระบบ Fire Alarm หรือ Manual Start ระบบควบคุมจะส่งสัญญาณให้เครื่องยนต์สตาร์ทหากเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดในครั้งแรก ระบบควบคุมจะส่งสัญญาณให้เครื่องยนต์ สตาร์ทใหม่ติดต่อกันได้อีก 2 ครั้ง เมื่อสตาร์ทครบ 3 ครั้งแล้ว เครื่องยนต์ยัง ไม่ติดเครื่องยนต์จะหยุดทำงานและส่งสัญญาณ over-crank ให้ทราบ เครื่องยนต์จะสตาร์ทใหม่ได้เมื่อได้รับการแก้ไข เหตุขัดข้องและ reset เสียก่อน
4.2 หยุดการทำงานของเครื่องยนต์เมื่อเกิด High Coolant Temperature, Low Oil Pressure หรือ Over Speed พร้อมทั้งส่งสัญญาณแจ้งให้ทราบ
4.3 ควบคุมการทำงานของระบบเพื่อให้ได้ Frequency Regulation, Voltage Regulation, Voltage Stability ตามxxxxxxกำหนดไว้ข้างต้น
4.4 ควบคุมให้เครื่องยนต์เดินต่ออีก 5 นาที (ปรับได้ตั้งแต่ 5-10 นาที) ในช่วง Cool Down Period หลังจากที่
Transfer Switch ได้สับเปลี่ยน Load ไปรับกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟxxxx
4.5 ตรวจสอบการทำงานของระบบต่างๆ พร้อมทั้งมีสัญญาณเตือนเมื่อระบบชำรุด xxxx ระบบประจุแบตเตอรี่ ไม่ทำงาน อุปกรณ์สำหรับสตาร์ทขัดข้อง เป็นต้น โดยสัญญาณเตือนเหล่านี้จะต้องมีทั้งสัญญาณเสียงและสัญญาณไฟ
4.6 แผงควบคุม Generator เป็นแบบดิจิตอลแสดงค่าเป็นตัวเลขและตัวxxxxx โดยที่xxxxxxแสดงเป็น ตัวxxxxxภาษาไทยได้ และมี EVENT LOG ได้ถึง 250 ค่าและได้รับมาตรฐาน ISO 9001และ UL ต้องประกอบด้วย
อุปกรณ์อย่างน้อยดังต่อไปนี้
(1) AC แอมมิเตอร์วัดกระแสได้ 3 เฟส
(2) AC โวลท์มิเตอร์สำหรับวัดแรงดัน L to L, L to N
(3) Frequency Meter,Over and Underfrequency
(4) อ่านค่ากำลังไฟฟ้า Kw , Kva , Pf , KVarh , KVah
(5) ตั้งค่าเตือนการช่อมบำรุงได้
(6) Molded Case Circuit Breaker
4.7 จะต้องมีระบบ Automatic Weekly Exercise โดยมีช่วงเวลา Exercise ในแต่ละสัปดาห์ตามคำแนะนำ ของบริษัทผู้ผลิต
4.8 ในกรณีที่มี Standby Generator มากกว่า 1 ชุด และระบุว่าให้มีการเดินจ่ายไฟขนานกันจะต้องมีระบบ
Automatic Synchronizing ด้วย
5. ถังน้ำมันเชื้อเพลิงและท่อน้ำมันเชื้อเพลิง
5.1 ถังน้ำมันจะต้องมีปริมาตรxxxxxxx xxxจะบรรจุน้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับเดินเครื่องกำเนิดไฟฟ้าxxxxxxxxไม่ น้อยกว่า 12 ชั่วโมง ที่ full load
5.2 ถังน้ำมันจะต้องทำด้วยเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 3 มม. ทาสีรองพื้นด้วยสีกันสนิม 2 ชั้น และทาสีทับด้วยสี
Epoxy ทั้งด้านในและxxxxxxx
5.3 ถังน้ำมันจะต้องมีอุปกรณ์สำหรับตรวจระดับน้ำมันในถังได้สะดวก กรณีที่อุปกรณ์ตรวจสอบระดับน้ำมัน เป็นแบบ Sight Tube ต้องมี Protective Guard และ วาล์วสำหรับเปิดหรือปิดน้ำมันที่เข้าในท่อ และจะต้องมี อุปกรณ์เตือนในกรณีที่ระดับของน้ำมันต่ำกว่าระดับที่กำหนด
5.4 ระดับของท่อน้ำมันที่จ่ายออกจากถังต้องอยู่สูงกว่าระดับปลายท่อที่เติมน้ำมันเข้าถัง
5.5 จัดให้มีท่อระบายอากาศขนาดไม่เล็กกว่า 30 มม. ปลายท่อระบายอากาศต้องสูงกว่าตำแหน่งบนสุดของ ถังไม่น้อยกว่า 150 มม. ปลายท่อทำเป็น U-Bend และมีตระแกรงลวดปิด
5.6 ก่อนทำการทาสีถังต้องทำ Hydrostatic Test โดยเติมน้ำเต็มถังและต่อปลายท่อสูงเกินระดับถัง 1 เมตร ทำการทดสอบไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง
5.7 ท่อน้ำมันเชื้อเพลิง ใช้ท่อเหล็กดำ xxxxxxxทาสีกันสนิม
5.8 ส่วนของถังน้ำมันเชื้อเพลิงที่เป็นโลหะจะต้องต่อลงดิน
5.8.1 ติดตั้ง ท่อน้ำมันจากถังน้ำมันไปที่เครื่องกำเนิดไฟฟ้าและ ติดตั้ง มอเตอร์ปั้มน้ำมันและ ปั้มแบบ มือหมุนสำหรับเติมน้ำมันเข้าถังพร้อมชุดควบคุมระบบป้องกันxxxxxxxxตู้ ATS ติดตั้งระบบป้องกันอาร์ค (Arc Guard System) ภายในตู้ ATS เพื่อป้องกันความเสียหายเมื่อเกิดอาร์ค ผลิตตามมาตรฐาน IEC 61508 และ IEC 62061 โดยจะต้องมีความxxxxxx ในการสั่งทริป ATS ทั้งสองด้าน หรือ Circuit Breaker (ด้าน Main) โดยทันทีทันใด ภายในเวลาไม่เกิน 0.1 วินาที มีเซนเซอร์จับอาร์ค (Lens) และเป็นสายชนิดxxxxxxแสง (Fiber Optic Cable) เพื่อ หลีกเลี่ยงการรบกวนจากสนามแม่เหล็กติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันxxxxxx (Surge Protective Device) Type I) สำหรับ ป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง (Power Supply) ของxxxxxxแผงสวิทซ์ไฟฟ้าแรงต่ำ (ATS) โดยเป็นผลิตภัณฑ์เดียวกันกับ Circuit Breaker มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
Max. Continuous ac voltage UC 255 V Impulse current Limp (10/350µs) Iimp 25 kA / Pole Voltage protection level Up ≤ 2.5 kV Follow current extinguishing capability a.c. I fi 50 kArms
TOV voltage UT 400 V / 5 sec.
อุปกรณ์ป้องกันxxxxxx (Surge Protective Device) Type II ) เพื่อป้องกันxxxxxxอันเนื่องมาจากเกิดฟ้าผ่าหรือ เกิดxxxxxxอื่นๆ ที่จะเข้ามาทางด้านเมนไฟฟ้าที่ต่อกับชุดควบคุมเครื่องกำเนิดไฟฟ้า โดยมีคุณสมบัติทางเทคนิค ดังนี้
Poles : | ชนิด 4Pole |
Nominal Voltage : | 230 V |
Max. Cont. Operating Voltage : | 275 V |
Max. Discharge Current (8/20) : | 40 kA |
Voltage Protection Level : | <1.5 kV |
TOV Withstand : | 334 V/5sec |
Short Circuit Withstand : | 50 kA rms |
State Indicator : Included
6. ห้องเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
6.1 ผู้รับจ้างจะต้องจัดทำระบบป้องกันเสียงรบกวน( SOUNDPROOF SYSTEM )โดยค่าระดับเสียงรบกวน ( NOISE ) จากภายในห้อง xxxxxxผ่านผนังและช่องเปิดทุกxxxxxxxxxภายนอกที่ระยะห่าง 1.00 เมตร จากผนังห้อง และช่องเปิดใดๆ ต้องมีxxx xxxเกิน 75 เดซิเบล A โดยมีรายละเอียดดังนี้
6.1.1 โดรงสร้างโดยรอบผนังเป็นเหล็กกล่องสี่เหลี่ยม ขนาด 2x4 นิ้ว หนาไม่น้อยกว่า 2 มม. บุผนังด้วย วัสดุซับเสียง ชนิด ROCK WOOL มีความxxxxxxx ( NORMAL DENSITY ) ไม่ต่ำกว่า 80 กิโลกรัม ต่อลูกบาศก์ เมตร และบุหนาไม่น้อยกว่า 4 นิ้ว ( 100 มม. ) ปิดทับด้วย GLASS FIBER MAT สีดำ และ WIRE MESH ขนาด # ½ x ½ นิ้ว ยึดติดผนังด้วย PIN LOCK และxxxxxxให้อากาศไหลผ่านได้ด้วยความเร็ว 300 เมตรต่อนาที หรือ 5 เมตรต่อวินาที โดยไม่เกิดความเสียหาย
6.1.2ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันเสียงรบกวน ( SONUD ATTENUATOR ) xxxxxxxอากาศเข้า ( AIR INLET ) และช่องอากาศออก ( AIR OUTLET ) โดยใช้ ROCK WOOL ชนิดเดียวกันที่บุผนังและxxxxxxxด้วยเหล็กแผ่นเจาะรู ( PERFORATE GALVANIZED STEELL ) ขนาดและจำนวนของแผง SONUD ATTENUATOR ผู้รับจ้างจะต้อง ออกแบบให้เหมาะสมกับขนาดของเครื่องยนต์ฯ
6.2 ขนาดช่องลมออกของห้องเครื่องจะต้องมีขนาดไม่น้อยกว่า 1.2 เท่า ของขนาดพื้นที่หน้าหม้อน้ำของ เครื่องยนต์
7. การทดสอบ
ผ ับxxxxต้องทดสอบเครื่องกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินก่อนส่งมอบงานดังน
7.1 ทดสอบเดินเครื่องในลักษณะ Step Load Test
7.2 ทดสอบเดินเครื่องเต็มพิกัดโหลดติดต่อกันเป็นเวลา 2 ชั่วโมง ทำการวัดค่าของกระแสไฟฟ้าและ แรงดันไฟฟ้า เพาเวอร์แฟกเตอร์ ความเร็วรอบ ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ในทุกครึ่งชั่วโมง และเปรียบเทียบกับข้อกำหนด จากโรงงานผู้ผลิต
7.3 ทดสอบการเดินเครื่อง Overload 10% เป็นเวลา 1 ชั่วโมง
7.4 ทดสอบการทำงานของxxxxเมติคทรานสเฟอร์สวิทซ์ทุกขั้นตอนและทดสอบ Weekly Exercise
7.5 ทำการวัดระบบการต่อลงดินของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
7.6 Alarm Trouble Test
8. การบริการและการรับประกัน
8.1 ผู้รับจ้างต้องรับประกันความxxxxxxxxxxเกิดกับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า เป็นระยะเวลา 1 ปี ในกรณีที่เกิดความ บกพร่องจากการประกอบหรือของชิ้นส่วน ผู้รับจ้างต้องนำชิ้นส่วนมาเปลี่ยนหรือซ่อมแซมให้ใช้งานได้ตลอดระยะเวลา รับประกัน
8.2 บริษัทผู้จำหน่ายเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ต้องเป็นผู้แทนจำหน่ายxxxxxxรับการแต่งตั้งในประเทศไทย xxxxxxบริการ ของบริษัทเองที่xxxxxxจะตรวจเช็คการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าทุกระยะ 3 เดือน นับจากวันส่งมอบงานเป็น ระยะเวลา 1 ปี และบริษัทผู้จำหน่ายต้องเปิดหลักสูตรอบรมช่างผู้ดูแลเครื่องกำเนิดไฟฟ้าให้xxxxxxใช้และบำรุงรักษา เครื่องกำเนิดไฟฟ้า
8.2.1 บริษัทที่เสนอราคาต้องแนบผลงานติดตั้งพร้อมสัญญาซื้อขายกับหน่วยงานภาครัฐหรือบริษัท มหาชนที่มาจากรัฐวิสาหกิจที่มีxxxxxxงานไม่น้อยกว่าxxxxxxที่เสนอราคา
8.3 การฝึกอบรม ผู้รับจ้างจะต้องจัดส่งผู้เชี่ยวชาญมาฝึกอบรมช่างเทคนิคและผู้เกี่ยวข้อง ให้xxxxxxใช้และ บำรุงรักษาเครื่องได้อย่างถูกต้อง
8.4 ผู้รับจ้างต้องจัดหนังสือคู่มือการบำรุงรักษาเครื่อง ให้แก่ผู้xxxxxxxเป็นภาษาไทยอย่างน้อย 2 ชุด
8.5 ผู้รับจ้างจะต้องจัดเตรียมอะไหล่ ในวันส่งมอบงานให้ผู้xxxxxxxxxxxxxxดังน
(1) 2 xxx xxxกรองอากาศ ต่อหนึ่งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
(2) 2 xxx xxxกรองน้ำมันเครื่อง ต่อหนงึ่ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า
(3) 2 xxx xxxกรองxxxxxx ต่อหนึ่งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
(4) 2 xxx xxxกรองกรองน้ำมันเชื้อเพลิงต่อหนึ่งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
(5) 2 ชุด Corrosion Resistor ต่อหนึ่งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
จบxxxxxxx 3
xxxxxxx 4 ตู้สวิตซ์อัตโนมัติเมน (MDB)
1. ตู้สวิตซ์อัตโนมัติเมน (MDB) ขนาดไม่เล็กกว่าที่กำหนดในแบบผลิตตามมาตรฐาน ANSI ,IEC มาตรฐานการ ประกอบและทดสอบตู้สวิทช์บอร์ดตาม IEC 60439-1 แบบ Type Test Assemblies และ Partial Type Assemblies
2. ตัวผู้ผลิตภายในประเทศโดยมีลักษณะดังนี้
2.1 โครงตู้ทำด้วยเหล็กฉากขนาดไม่ต่ำกว่า 50x50x4 มิลลิเมตรยึดติดกันด้วยน๊อตและสกรูหรือเชื่อมติดกันxxx xxxตั้งติดกันให้ยึดถึงกันด้วยน๊อตและสกรู
2.2 เหล็กแผ่นประกอบตัวxxxxxxxxxน้อยกว่า 1.5 มิลลิเมตรส่วนxxxxxxxxxxxปิดด้านหน้าด้านหลังและด้านข้างให้ ทำเป็นแบบพับขอบและมีร่องสำหรับยึดยางกันฝุ่นด้านบนให้ใช้แบบแผ่นเรียบยึดด้วยสกรู
2.3 บานประตูของช่องใส่อุปกรณ์เป็นแบบเปิดได้ใช้บานพับชนิดซ่อน เปิด-ปิดโดยใช้กุญแจxxxxxxถอดบาน ประตูออกได้โดยเปิดกว้างแล้วยกขึ้น
2.4 ฝาปิดช่องล่างด้านหน้าฝาปิดด้านหลังทั้งหมดและฝาด้านข้างเปิด-ปิดโดยใช้สกรูและให้เจาะช่องระบาย อากาศโดยมีมุ้งลวดด้านในตามความเหมาะสม
2.5 เหล็กแผ่นที่ใช้ป้องกันอันตรายภายในxxxxxxxป้องกันอ๊าร์คระหว่างอุปกรณ์หรือระหว่างxxxxxxxxxน้อยกว่า
1.2 มิลลิเมตร
2.6 ตัวตู้ทั้งหมดที่เป็นโลหะ ต้องทำความสะอาดและ/หรือผ่านกรรมวิธีการป้องกันสนิมและพ่นทับด้วยสีฝุ่น แบบ อีพ๊อกซี่ - โพxxxxxเตอรทั้งภายในภายนอกและอบแห้ง
2.7 ฐานของตัวตู้ต้องยึดติดบนฐานคอนกรีตด้วยสกรูขยาย
3. บัสบาร์ต้องเป็นทองแดงขนาดตามที่กำหนดผลิตขึ้นเพื่อใช้กับงานไฟฟ้าโดยเฉพาะบัสบาร์ต้องยึดติดกับโครงตู้ด้วย xxxxยึดบัสบาร์ให้แข็งแรงทนกระแสลัดวงจรxxxxxxน้อยกว่า 50 kA หรือตามที่กำหนดในแบบ หากมิได้กำหนดไว้เป็น อย่างอื่นบัสบาร์ช่วงต่อกับหม้อแปลงจะต้องมีส่วนที่ เป็นบัสบาร์ชนิดบิดงอได้เพื่อลดแรงบิดและแรงดึงบัสบาร์ต้องพ่น สีทนความxxxxโดยใช้รหัสxxxxxxxxสายไฟฟ้าขนาดกระแสของบัสบาร์ทองแดงต้องเป็นไปตามตารางที่กำหนด
4. สวิตซ์อัตโนมัติ (CIRCUIT BREAKER) ผลิตตามมาตรฐาน ANSI หรือ IEC ขนาดตามที่กำหนดเป็นแบบติดตั้งxxxx เปิด-ปิดด้วยมือมี THERMAL และ MAGNETIC TRIP ติดอยู่แต่ละ POLE ของสวิตซ์อัตโนมัติมี TRIP UNIT อื่นๆ ตามที่กำหนดในแบบxxxxxxทนกระแส ลัดวงจรไม่น้อยกว่าที่กำหนด หรือตามความเหมาะสม
5. PROTECTION RELAY
5.1 UNDER VOTAGE RELAY ต้องเป็นชนิด SOLID STATE CONTROLLED ต่อโดยตรงเข้ากับระบบxxxxxx ตัดวงจรเมื่อโวลต์ระหว่างเฟสแตกต่างกันตั้งแต่ 9% ขึ้นไปหรือโวลต์ทั้ง 3 เฟส ลดลงต่ำกว่า 12% หรือxxxxxxxสลับ เฟส โดยxxxxxxหน่วงเวลาก่อนการทำงานประมาณ 2 วินาที
5.2 GROUND FAULT RELAY ต้องเป็นชนิด SOLID STATE CONTROLLED ทำงานเมื่อมีการลัดวงจรลงดิน xxxxxxหน่วงเวลาการทำงานได้ตามต้องการ
6. เครื่องวัด (METERING) ที่ใช้ติดตั้งกับตู้สวิตซ์อัตโนมัติเมน (แรงต่ำ)ต่างๆ ประกอบด้วย
6.1 โวลต์มิเตอร์ต้องเป็นชนิดต่อตรงกับระบบแรงดันความคลาดเคลื่อน 1.5% หรือดีกว่า
6.2 โวลต์มิเตอร์สวิตซ์ต้องเป็นชนิดเลือกได้ 7 Step คือ Step ปิด 1 Step ระหว่างเฟสกับเฟส 3 Step และ ระหว่างเฟสกับศูนย์ 3 Step
6.3 แอมมิเตอร์ต้องเป็นชนิดต่อตรงกับระบบแรงดันหรือต่อผ่านหม้อแปลงxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 1.5%
หรือดีกว่า
6.4 แอมมิเตอร์สวิตซ์ ต้องเป็นชนิดเลือกได้ 4 Step คือ Step ปิด 1 Step และเฟส 3 Step
6.5 หม้อแปลงไฟฟ้ากระแสต้องมีกระแสด้านออก 5 AMP และกระแสด้านเข้าตามที่กำหนดความ คลาดเคลื่อน 1.5% หรือดีกว่า
6.6 กิโลวัตต์ และกิโลวัตต์ฮาวมิเตอร์เป็นชนิด 1 เฟสหรือ 3 เฟสต่อตรงกับระบบแรงดันหรือต่อผ่านหม้อแปลง ไฟฟ้ากระแสตามที่กำหนดในแบบความคลาดเคลื่อน 2.5% หรือดีกว่าผ่านการทดสอบจากสถาบันที่เชื่อถือได้
6.7 เพาเวอร์แฟคเตอร์มิเตอร์ต้องเป็นแบบใช้กับระบบไฟฟ้า 3 เฟสต่อโดยตรงกับระบบแรงดันและหม้อแปลง ไฟฟ้ากระแสมีระยะพิกัด LEAD 0.5…1….0.5 LAG หรือความคลาดเคลื่อน 1.5% หรือดีกว่า
6.8 ฟรีเควนซีมิเตอร์ต้องเป็นชนิด VIBATING REED มี 13 REEDS ต่อเข้ากับระบบแรงดันมีระยะพกัด 47-53 Hzความคลาดเคลื่อน 0.5% หรือดีกว่า
7. คะแปซิเตอร์ และชุดควบคุม
7.1 คะแปซิเตอร์
(1) ขนาดตามที่กำหนด ผลิตตามมาตรฐานของ VDE หรือ IEC
(2) ต้องเป็นชนิดแห้งทำด้วย METALLIZED PLASTIC FILM , NON INFLAMMABLE, ENCLOSURE TYPE
พลังสูญเสีย 0.5 W/kVAr หรือน้อยกว่าและต้องมีDISCHARGE RESISTORS ด้วย
7.2 AUTOMATIC POWER FACTOR CONTROLLER xxxxxxสับคะแปซิเตอร์เข้าออกxxxxxxน้อยกว่าตามที่ กำหนดในแบบโดยxxxxxxรักษาระดับค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ที่ตั้งไว้ได้โดยอัตโนมัติและควบคุมการทำงานของคอน แทคเตอร์สำหรับคะแปซิเตอร์แบบ CYCLIC OPERATION ด้วย(3) ต้องมี ON - OFF PUSH BUTTION และ PILOT LAMP สำหรับ MANUAL OPERATE ตามจำนวนที่กำหนดในแบบ
7.3 ต้องมี ON-OFF PUSH BUTTION และ PILOT LAMP สำหรับ MANUAL OPERATE ตามจำนวนที่ กำหนดในแบบ
7.4 ฟิวส์ สำหรับป้องกันคะแปซิเตอร์ขนาดตามที่กำหนดผลิตตามมาตรฐาน VED หรือ IEC ชนิด HRC ทน กระแสลัดวงจรxxxxxxน้อยกว่า 100 KV ที่ 380 V
7.5 คอนแทคเตอร์ ขนาดตามที่กำหนดผลิตตามมาตรฐานของ VDE หรือ IEC ชนิด AC 3 DUTY
8. PILOT LAMP หากมิได้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่นให้ใช้ชนิดหลอดไส้ 1.2 W หรือมากกว่าแรงเคลื่อน 6V-24V มีหม้อ แปลงชนิด ISOLATING ลดแรงดันจาก 230V ฝาครอบด้านหน้าเป็นเลนส์พลาสติกขนาดไม่เล็กกว่า 22 มิลลิเมตรสี ของเลนส์ตามที่กำหนด
9. PUSH BUTTON หากมิได้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่นให้ใช้ชนิดที่กดปุ่มมี O-RING โลหะล้อมรอบขนาดไม่เล็กกว่า
22 มิลลิเมตรสีของปุ่มกดตามที่กำหนด
10. MAGNETIC CONTACTOR หากมิได้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่นให้ใช้ขนาด CURRENT RATING ของ CONTACT
ตาม AC 3 DUTY ตามมาตรฐาน IEC หรือเทียบเท่า
11. MAGNETIC CONTROL RELAY หากมิได้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่นขนาด LOAD ของ CONTACT ต้องไม่น้อยกว่า
10 A ที่ 230 V
12. MIMIC DIAGRAM ต้องติด MIMIC DIAGRAM ขนาดกว้าง 10 มิลลิเมตรหนา 1 มิลลิเมตร แสดงผังวงจร SINGLE LINE DIAGRAM ของตู้ MDB
13. แผงสวิตซ์อัตโนมัติย่อย (LOAD CENTER)
13.1 ตัวตู้ตามที่กำหนดในแบบผลิตตามมาตรฐาน ANSI, NEMA หรือ IEC ชนิด DEAD FRONT เหล็กแผ่น ประกอบตัวxxxxxxxxxน้อยกว่า 16 มิลลิเมตรผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิมแล้วพ่นทับด้วยสีและอบแห้งทั้งภายนอกและ ภายในด้านในของฝาด้านหน้าต้องมียึดแผ่นตารางแสดงการใช้งานของสวิตซ์อัตโนมัติแต่ละตัวตารางนี้ทำด้วยกระดาษ
มีขนาดเหมาะสมบัสบาร์ต้องเป็นทองแดงสำหรับใช้งานทางไฟฟ้าโดยเฉพาะยึดติดบนxxxxอย่างแข็งแรง xxxxxxทน กระแสลัดวงจรxxxxxxน้อยกว่าที่กำหนดหรือตามความเหมาะสม
13.2 สวิตซ์อัตโนมัติชนิดและขนาดตามที่กำหนดหากมิได้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่นขนาดIC RATING ของวงจร ย่อยต้องไม่น้อยกว่า 4.5 kA 240 V และสวิตซ์อัตโนมัติเมนต้องไม่น้อยกว่า14 kA 415 V การวางเรียงสวิตซ์อัตโนมัติ ต้องxxxxxxถอดเปลี่ยนได้โดยไม่หยุดการทำงานของสวิตซ์อัตโนมัติตัวอื่นๆการติดตั้งเป็นแบบ PLUG IN หรือ BOLT ON
13.3 การต่อสายเข้ากับ BUSBAR ของตู้สวิตซ์อัตโนมัติเมนและหรือสวิตซ์อัตโนมัติ (CIRCUIT -BREAKER) ที่ เป็นลักษณะ BOLT ON ให้ใช้หางปลาที่มีลักษณะเป็นแบบท่อทองแดงไม่มีตะเข็บ (COPPER TUBE- LUGS TERMINAL) ชนิดหนาขึ้นรูปผ่านการ ELECTROLYTIC และชุบด้วยดีบุกหุ้มด้วยxxxxตามรหัสสีxxxxxx
14. สวิตซ์ตัดตอน
ส วิ ต ซ์ x xx xx x x x มั ติ (SAFETY SWITCH, DISCONNECTING SWITCH, LOAD BREAK SWITCH- OR
ISOLATION SWITCH) ชนิดและขนาดตามที่กำหนดในแบบผลิตตามมาตรฐานของ ANSI, NEMA, UL, IEC, BS หรือ
VDE
15. ท่อร้อยสายไฟฟ้า (CONDUIT)
15.1 ท่อเหล็กกล้าเคลือบสังกะสีสำหรับใช้ร้อยสายไฟฟ้าให้ใช้ผลิตภัณฑ์xxxxxxรับอนุญาตแสดงเครื่องหมาย มอก.ประเภทของท่อเหล็กเคลือบสังกะสี
(1) ประเภทที่ 1 ผนังท่อบาง ชื่อย่อว่า EMT (ELECTRICAL METALLIC TUBING)
(2) ประเภทที่ 2 ผนังท่อหนาปานกลาง ชื่อย่อว่า IMC (INTERMEDIATE METAL CONDUIT)
(3) ประเภทที่ 3 ผนังท่อหนา ชื่อย่อว่า RSC (RIGID STEEL CONDUIT)
15.2 PVC แข็งสำหรับใช้ร้อยสายไฟฟ้าหรือสายโทรศัพท์ให้ใช้ผลิตภัณฑ์xxxxxxรับอนุญาตแสดงเครื่องหมาย
มอก.
15.3 ท่อxxxxให้ใช้ผลิตภัณฑ์xxxxxxรับอนุญาตแสดงเครื่องหมาย มอก.
15.4 ท่อxxxxxxxบีให้ใช้ผลิตภัณฑ์xxxxxxรับอนุญาตแสดงเครื่องหมาย มอก.
15.5 ท่อโลหะอ่อน ซึ่งย่อว่า FMC (FIEXIBLE METAL CONDUIT) เป็นท่อโลหะที่โค้งงxxxxxxxง่าย ผิวภายใน
ปราศจากคมในกรณีที่ระบุเป็นชนิดกันน้ำท่อโลหะอ่อนต้องมีปลอกพลาสติกหุ้มภายนอกอีกชั้นหนึ่ง
15.6 การติดตั้งท่อร้อยสายไฟฟ้า
(1) ต้องทำความสะอาดทั้งภายนอกและภายในท่อก่อนนำมาติดตั้ง
(2) การดัดงอท่อแข็งต้องใช้เครื่องมือสำหรับดัดท่อโดยเฉพาะและต้องไม่ทำให้ท่อชำรุดหรือตีบxxxxxความโค้ง ของท่อต้องไม่น้อยกว่า 6 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางท่อ
(3) การยึดท่อแข็งติดกับโครงสร้างต้องยึดทุกระยะไม่เกิน 3 เมตรและต้องยึดท่อในระยะไม่เกิน0.90 เมตร จากกล่องต่อสายกล่องดึงสายและแผงสวิตซ์
(4) การยึดท่ออ่อนติดกับโครงสร้างต้องยึดทุกระยะไม่เกิน 1.30 เมตร และต้องยึดท่อในระยะไม่เกิน0.30 เมตรจากกล่องต่อสายกล่องดึงสายและแผงสวิตซ์
(5) ปลายท่อ ต้องลบคมออกให้หมด โดยใช้ CONDUIT REAMER หรือเครื่องมืออื่นที่เหมาะสม
(6) ท่อที่วางลอดใต้ถนนต้องฝังลึกไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร
(7) ท่อโลหะที่ฝังดินต้องทาฟลิ้นโค้ตภายนอกอย่างน้อย 2 ชนั้
(8) ท่อ EMT หรือ FMC ที่ยึดกับกล่องต่อสายกล่องดึงสาย หรือแผงสวิตซ์ต้องใช้ CONECTOR และ
BUSHING ประกอบปลายท่อ
(9) ท่อ IMC หรือ RSC ที่ยึดกับกล่องต่อสายกล่องดึงสาย หรือแผงสวิตซ์ต้องใช้ LOCK NUT และ
BUSHINGประกอบปลายท่อ
(10) กล่องต่อสายกล่องดึงสาย ให้ทาสีที่กล่องดังนี้
- ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง, เต้ารับ สีส้ม
- ระบบไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศ สีxxxxxx
- ระบบโทรศัพท์ สีเขียว
- ระบบโทรสื่อสาร สีขาว
- ระบบโทรทัศน์วงจรรวม สีน้ำเงิน
- ระบบโทรทัศน์วงจรปิด xxxxx
- ระบบภาพ เสียง สีดำ
- ระบบสัญญาณแจ้งเพลิงไหม้ สีแดง
- ระบบอื่นๆตามความเหมาะสม
15.7 การเลือกใช้ท่อร้อยสายไฟฟ้า
(1) ท่อทุกชนิดที่ใช้ร้อยสายไฟฟ้าต้องมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เล็กกว่า 1/2"
(2) ท่อร้อยสายไฟฟ้าที่ต่อกับอุปกรณ์ที่สั่นสะเทือนขณะใช้งานxxxxต้องใช้ท่อ FMC ในกรณีที่อยู่นอกอาคาร หรือบริเวณที่เปียกชื้นให้ใช้ท่อ FMC ชนิดกันน้ำ
(3) ในกรณีxxxxxxxxกำหนดไว้เป็นอย่างอื่นท่อเหล็กกล้าเคลือบสังกะสีที่ฝังในคอนกรีตต้องใช้ท่อ IMC หรือ
RSC
(4) ในกรณีxxxxxxxxกำหนดชนิดของท่อเหล็กกล้าเคลือบสังกะสีxxxxxxxไว้เหนือฝ้าเพดานหรือเดินท่อลอยเกาะ
เพดานหรือฝังในผนังที่มิใช่คอนกรีตให้ใช้ท่อ EMT ในบริเวณดังกล่าวได้
(5) ในกรณีที่กำหนดให้ใช้ท่อ EMT หากท่อที่ใช้มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 2 นิ้วให้ใช้ท่อ IMC แทน ท่อ EMT ที่กำหนด
16. กล่องต่อสายและกล่องดึงสาย (JUNCTION, OUTLET AND PULL BOXES)
16.1 กล่องต่อสายและกล่องดึงสายต้องเป็นชนิดเหล็กหล่อสำหรับใช้ภายในและภายนอกอาคารหรือตามที่ กำหนดในแบบ
16.2 กล่องดึงสายต้องมีฝาปิด-เปิดยึดด้วยสกรู
16.3 กล่องต่อสายและกล่องดึงสายติดซ้อนไว้ในฝ้าเพดาน ฝังเรียบผนังฝังเรียบเพดานหรือติดตั้งลอยตาม ลักษณะของการใช้งานต้องxxxxxxเข้าไปตรวจซ่อมได้ง่าย
16.4 รูของกล่องทไี่ ม่ได้ใช้งานต้องปิดให้เรียบร้อยกล่องทุกกล่องต้องมีฝาปิด
17. รางเดินสาย (WIRE WAY)
17.1 รางเดินสายพร้อมฝาครอบรางชนิดกดล็อคหรือยึดด้วยสกรู (เฉพาะรางเดินสายในแนวตั้งฝาครอบต้อง เป็นชนิดยึดด้วยสกรู)ทำด้วยเหล็กแผ่นขนาดตามที่กำหนดเหล็กแผ่นหนาไม่น้อยกว่าที่กำหนดดังนี้
(1) รางเดินสายกว้างตั้งแต่ 6 นิ้วลงมา 1.0 มิลลิเมตร
(2) รางเดินสายกว้างตั้งแต่ 6 นิ้วขึ้นไป 1.5 มิลลิเมตร
17.2 รางเดินสายและอุปกรณ์ประกอบทั้งหมดที่เป็นโลหะต้องผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิมแล้วพ่นทับด้วยสีฝุ่น และอบแห้งทั้งภายนอกและภายใน
17.3 รางเดินสายต้องติดตั้งในที่เปิดโล่งxxxxxxเข้าไปตรวจซ่อมได้โดยง่าย การติดตั้งจะต้องแขวนหรือยึดติด กับโครงสร้างด้วยเหล็กฉากทุกระยะ 1.50 เมตรในแนวราบและ 2.40 เมตรในแนวตั้งหรือทุกระยะxxxxxxจากการ คำนวณการรับน้ำหนักของรางเดินสายและสายไฟฟ้ารวมกัน
17.4 พื้นที่หน้าตัดxxxxxxไฟทุกเส้น (รวมxxxxด้วย)ในรางเดินสายรวมกันแล้วต้องไม่เกิน 20% ของ พื้นที่หน้าตัดของรางเดินสายและจำนวนสายไฟในแต่ละรางต้องไม่เกิน 30 เส้นทั้งนี้ไม่นับสายควบคุมและสายดินและ ข้อยกเว้นตาม NEC
17.5 รางเดินสายในแนวตั้ง ต้องมีขั้นบันไดทุกระยะไม่เกิน 2.40 เมตรสำหรับยึดและรับน้ำหนักสายไฟฟ้า
18. สายไฟฟ้า
18.1 สายไฟฟ้าทั้งหมดให้ใช้สายทองแดงหุ้มxxxxxxxได้รับอนุญาตแสดงเครื่องหมาย มอก.11-2553
18.2 การเลือกใช้สายไฟฟ้า
(1) เครื่องหมายประจำสายไฟฟ้าให้ใช้สีของxxxxสายไฟฟ้าหรือผ้าเทปสีม้วนสายหรือxxxxxกำกับสายดังนี้
- สายดิน : G สีเขียวหรือสีเขียวแถบxxxxxx
- สายศูนย์ : N xxxxx
- สายเฟส A : R สีน้ำตาล
- สายเฟส B : Y สีดำ
- สายเฟส C : B สีเทา
(2) ชนิดxxxxxxไฟฟ้าหากมิได้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่นให้ใช้ดังนี้
- วงจรไฟฟ้าระบบ 1 เฟสให้ใช้สายไฟฟ้าแรงดัน 300 V
- วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟสให้ใช้สายไฟฟ้าแรงดัน 750 V
- สายไฟฟ้าเดินลอยให้ใช้ TYPE - B (VAF)
- สายไฟฟ้าเดินลอยสำหรับเต้ารับให้ใช้ TYPE B - G (VAF-GROUND)
- สายไฟฟ้าร้อยท่อในรางเดินสายให้ใช้ TYPE - A (THW)
- สายไฟฟ้าใต้ดินร้อยท่อหรือฝังดินโดยตรงให้ใช้ TYPE-CS หรือTYPE - D (NYY)
(3) ขนาดxxxxxxไฟฟ้าหากมิได้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่นให้ใช้ขนาดไม่ต่ำกว่าที่กำหนดดังต่อไปนี้
- สายวงจรย่อย2.5 ตารางมิลลิเมตร
- สายวงจรย่อย4 ตารางมิลลิเมตร
- สายวงจรย่อย6 ตารางมิลลิเมตร ในกรณีร้อยท่อสายแยกจากวงจรย่อยเข้าเต้ารับดวงโคมไฟฟ้าและพัดลมให้ใช้สายไฟฟ้าขนาด 2.5 ตาราง
มิลลิเมตร TYPE - A ในกรณีเดินสายลอยสายแยกจากวงจรย่อยเข้าเต้ารับดวงโคมไฟฟ้าและพัดลมให้ใช้สายไฟฟ้า ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร TYPE – B
18.3 การเดินสาย
(1) xxxxxxxสายในท่อต้องทำหลังจากการติดตั้งท่อหรือรางเดินสายเสร็จเรียบร้อยแล้ว
(2) การตัดต่อสายต้องทำในกล่องต่อสายกล่องสวิตซ์กล่องเต้ารับกล่องดวงโคมหรือรางเดินสายเท่านั้น ตำแหน่งที่ทำการตัดต่อสายต้องอยู่ในตำแหน่งที่xxxxxxทำการตรวจสอบหรือซ่อมบำรุงได้โดยง่าย
(3) การเชื่อมต่อสายขนาด 6 ตารางมิลลิเมตรหรือเล็กกว่าให้ใช้ WIRE NUT หรือ SCOTT LOCK และการ เชื่อมต่อสายขนาด 10 ตารางมิลลิเมตรหรือใหญ่กว่าให้ใช้ SPLIT BOLT หรือ SLEEVE พันด้วยเทปไฟฟ้าให้มีxxxx เทียบเท่าxxxxxxxxxxไฟฟ้า
(4) การดึงสายหากมีความจำเป็นอาจใช้สารบางชนิดช่วยลดความฝืดของท่อได้แต่สารชนิดนั้นต้องไม่ทำ ปฏิกิริยากับxxxxหุ้มสายไฟฟ้า
(5) สายxxxxxxxในท่อต้องมีอุปกรณ์ยึดรับน้ำหนักสายตามระยะที่กำหนด
(6) สายxxxxxxxในรางเดินสายในแนวตั้งต้องยึดกับขั้นบันได
(7) การเดินสายลอยเกาะผิวอาคารต้องยึดด้วยเข็มขัดรัดสายทุกระยะห่างไม่เกิน 0.10 เมตร
(8) การเดินสายใต้ดิน
8.1) ข้อกำหนดขั้นต่ำสุดของการปิดxxxxxxไฟฟ้าชนิดฝังดินโดยตรงท่อร้อยสายไฟฟ้าหรือช่องเดินสายไฟฟ้า อย่างอื่นxxxxxxรองรับเพื่อxxxxxxxxxxนั้นแล้วต้องติดตั้งให้เป็นไปตามตารางที่ 1 ยกเว้นในกรณีต่อไปนี้
- เมื่อใช้แผ่นคอนกรีตหนาไม่น้อยกว่า 0.05 เมตรปิดทับตลอดความยาวและยื่นคลุม เลยด้านข้างไม่น้อยกว่า 0.15 เมตรให้ลดค่าได้อีก 0.15 เมตร
- ท่อร้อยสายไฟฟ้าหรือช่องเดินสายไฟฟ้าอย่างอื่นที่อยู่ใต้อาคารหรือใต้แผ่นคอนกรีต ภายนอกอาคารที่หนาไม่น้อยกว่า 0.10 เมตรและยื่นคลุมท่อร้อยสายไฟฟ้าหรือช่อง
เดินสายไฟฟ้าเลยด้านข้างไม่น้อยกว่า 0.15 เมตร
- บริเวณที่มีรถยนต์วิ่งผ่าน ไม่ว่าเดินสายไฟฟ้าด้วยวิธีใดๆต้องมีความลึกต่ำสุดไม่น้อย กว่า 0.60 เมตร (จากผิวจราจร)
- ในกรณีที่เป็นวงจรย่อยสำหรับที่อยู่อาศัยซึ่งมีแรงดันไม่เกิน 300 โวลท์และมีเครื่อง ป้องกันกระแสเกินขนาดไม่เกิน 30 แอมแปร์ให้มีความลึกต่ำสุด 0.30 เมตรได้
- ทางวิ่งในสนามรวมทั้งบริเวณหวงห้ามข้างเคียงทางวิ่งให้มีความลึกต่ำสุดไม่น้อยกว่า
0.45 เมตรโดยไม่ต้องใช้ช่องเดินสายไฟฟ้าหรือหุ้มคอนกรีต
- ช่องเดินสายไฟฟ้าที่ติดตั้งในหินแข็งให้มีความลึกน้อยกว่าที่กำหนดได้ถ้าปิดทับด้วย คอนกรีตหนาไม่น้อยกว่า 0.05 เมตรและคอนกรีตดังกล่าวต้องเทถึงผิวหินข้างล่าง
8.2) ส่วนที่เป็นโลหะหุ้มสายไฟฟ้าได้แก่ปลอกเปลือกนอกและช่องเดินสายไฟฟ้าที่เป็นโลหะต้องต่อเนื่องทาง ไฟฟ้าถึงกันเป็นอย่างดีและต่อลงดินที่ต้นทางและปลายทาง
8.3) สายไฟฟ้าใต้ดินที่ติดตั้งใต้อาคารต้องอยู่ในช่องเดินสายไฟฟ้าหากร้อยสายไฟฟ้าไปยังภายนอกอาคารช่อง เดินสายไฟฟ้าต้องยื่นออกให้พ้นแนวผนงั xxxxxxxของอาคารออกไปยังตำแหน่งที่เหมาะสมหรือตำแหน่งที่ คณะกรรมการฯกำหนด
8.4) xxxxxxxxโผล่พ้นดินต้องอยู่ในที่ล้อมหรือในช่องเดินสายไฟฟ้าxxxxxxรับการป้องกันเพื่อxxxxxxxxxxนั้นสำหรับ ช่องเดินสายไฟฟ้าที่ติดตั้งกับเสาไฟฟ้าต้องมีความแข็งแรงไม่น้อยกว่าท่อโลหะหนาปานกลางและต้องโผล่เหนือดินถึง ระดับสูง ไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร
8.5) สายไฟฟ้าใต้ดินอนุญาตให้ต่อสายต่อแยกสายในรางเดินสายหรือบ่อxxxสายโดยไม่ต้องxxxxxxxต่อสายได้ เมื่อการต่อหรือการต่อแยกนั้นxxxxxxการตามกรรมวิธีและใช้อุปกรณ์การต่อแยกxxxxxxรับการป้องกัน
8.6) การกลบวัดสุที่จะใช้กลบต้องง่ายต่อการบดอัดและต้องไม่มีสิ่งที่นำความเสียหายต่อท่อร้อยสายหรือ สายไฟฟ้า
8.7) ช่องเดินสายไฟฟ้าที่ความชื้นอาจเข้าไปสัมผัสส่วนซึ่งไม่มีxxxxหุ้มต้องปิดผนึกที่ปลายทั้งสอง
8.8) เมื่อสายไฟฟ้าออกจากท่อร้อยสายไฟฟ้าไปฝังดินโดยตรงที่ปลายท่อต้องมีปลอกป้องกัน
8.9) สายแกนเดียวของวงจรเดียวกันรวมทั้งสายดิน (ถ้ามี)ต้องติดตั้งในช่องเดินสายไฟฟ้าเดียวกันหรือเมื่อฝัง ดินโดยตรงต้องวางชิดกันในร่องเดินสายเดียวกัน
(9) จำนวนสูงสุดxxxxxxไฟฟ้า 60227 IEC01 (THW)ในท่อร้อยสาย
(10) สายไฟฟ้าสำหรับวงจรย่อยจากตู้จ่ายไฟย่อย (LOAD CENTER) ไปยังอุปกรณ์ดวงโคมหรือเต้ารับไฟฟ้า อนุญาตให้เดินสายไฟฟ้าในท่อเดียวกันxxxxxxเกิน 3 วงจร (ต่างเฟสกัน)โดยใช้สายไฟฟ้า60227 IEC01 (THW)ในท่อร้อย สายxxxxxxxxxxไม่เป็นการเปลยนแปลงรายการ
(11) สายไฟฟ้าสำหรับวงจรไฟฟ้ากำลัง xxxxเครื่องปรับอากาศตู้ดูดควัน (HOOD) เต้ารับไฟฟ้ากำลังโคมไฟ ผ่าตัดเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เดินสายไฟฟ้าร้อยท่อ CONDUIT แยกเฉพาะแต่ละวงจรเพื่อสะดวกในการใช้งานและซ่อม บำรุง
(12) แผงจ่ายไฟวงจรย่อย (LOAD CENTER, PANEL BOARD) ให้ติดตั้งลอยหรือฝังในผนังตามรูปแบบและ รายละเอียดหรือตามความเหมาะสมโดยสูงจากพื้นประมาณ 1.80 เมตร
(13) การต่อเชื่อมสายเมนไฟฟ้าของอาคารที่ทำการก่อสร้างกับสายเมนไฟฟ้าแรงต่ำภายนอกอาคาร ให้ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
13.1) กรณีที่ 1 กรณีสายเมนภายนอกอาคารอยู่ห่างจากที่ทำการก่อสร้างไม่เกิน 30 เมตร (โดยสายเมนนี้ต้องมี ขนาดเพียงพอ)ให้ผู้รับจ้างเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการต่อเชื่อม (ยกเว้นแบบรูปและรายการละเอียดระบุไว้เป็นอย่างอื่น)
13.2) กรณีที่ 2 กรณีสายเมนอยู่ห่างจากอาคารที่กำลังก่อสร้างเกินกว่า 30 เมตร ให้ผู้รับจ้างจัดเตรียมสายเมน ไฟฟ้าไว้สำหรับต่อเชื่อมในxxxxxความยาวไม่ต่ำกว่า 30 เมตรและให้ผู้รับจ้างจัดหาไฟฟ้าxxxxxชั่วคราวมาต่อเชื่อม ทำการทดสอบสำหรับค่าใช้จ่ายเป็นหน้าที่ของผู้รับจ้าง(ยกเว้นแบบรูปและรายการละเอียดระบุไว้เป็นอย่างอื่น)
13.3) สายเมนไฟฟ้าควรป้อนเข้าทางด้านหลังหรือด้านข้างอาคารยกเว้นกรณีที่จะโผล่ไปทางด้านหน้าxxxxxxx ท่อ IMC และทาทับด้วย FLINT COAT ฝังจากอาคารไปโผล่ยังเสาไฟฟ้าที่เหมาะสมตามมาตรฐานการไฟฟ้าฯ หรือ ตามรูปแบบกำหนด
18.4 สำหรับอาคารดังต่อไปนี้ (ที่ไม่มีรายละเอียดระบบไฟฟ้าระบุไว้)
(1) โรงรถ อาคารพัสดุ ทางเดินเชื่อม รั้ว ป้อมยาม โรงสูบน้ำ
(2) โรงไฟฟ้า โรงเก็บศพ โรงครัว โรงซักฟอก
(3) หรืออาคารที่มีจำนวนการติดตั้งดวงโคมและเต้ารับไม่เกิน 20 จุดให้ติดตั้งอุปกรณ์และเดินสายไฟตาม มาตรฐานของการไฟฟ้าส่วนท้องถิ่นโดยต้องปฏิบัติตามรายการกำหนดวัสดุอุปกรณ์ในแบบรูปและรายการทวไป ประกอบแบบก่อสร้างอาคารของกองแบบแผนกระทรวงสาธารณสุข
18.5 ให้ผู้รับจ้างติดตั้งมิเตอร์ไฟฟ้าที่เสาใกล้ที่สุดหรือในตำแหน่งที่เหมาะสมสำหรับอาคารบ้านพักระดับ1-2, 3-4 และเรือนแถวให้ติดตั้งมิเตอร์ขนาด5 (15 A) ทุกยูนิตอาคารบ้านพักระดับ 5 - 6 สถานีอนามัย และสำนักงาน ผดุงครรภ์ติดตั้งมิเตอร์ขนาด 10 (30 A) หรือตามที่ระบุไว้ในแบบโดยมิเตอร์ต้องผ่านการตรวจสอบจากหน่วยงานที่ รับผิดชอบและสายไฟฟ้าเข้ามิเตอร์ให้ใช้ตามมาตรฐานการไฟฟ้าxxxxxxxx
ตารางที่ 1 ค่าความลึกต่ำสุดสำหรับแรงดันระบุไม่เกิน 600 โวลท์
วิธีการเดินสายไฟฟ้า | ค่าความลึกต่ำสุด (เมตร) |
สายไฟฟ้าชนิดฝังดินโดยตรง | 0.60 |
ท่อโลหะหนา | 0.15 |
ท่อโลหะหนาปานกลาง | 0.15 |
ท่อโลหะหนาซึ่งรับรองให้ฝังดินโดยตรงได้โดยไม่ตองมีคอนกรีตหุ้ม | 0.45 |
ช่องเดินสายไฟฟ้าอื่นๆ ซึ่งได้รับการรับรองแล้ว | 0.45 |
หมายเหตุ
(1) ช่องเดินสายไฟฟ้าxxxxxxรับการรับรองให้ฝังดินได้โดยมีคอนกรีตหุ้มต้องหุ้มด้วยคอนกรีตหนาไม่น้อยกว่า
0.05 เมตร
(2) ค่าความลึกต่ำสุดวัดจากระดับผิวดินถึงระดับผิวบนxxxxxxไฟฟ้าชนิดฝังดินโดยตรงหรือท่อร้อย สายไฟฟ้าหรือช่องเดินสายไฟฟ้า
18.6 บัสบาร์ทำด้วยอxxมิเนียมหรือทองแดง และต้อง ELECTROLYTICALLY PLATEDการต่อบัสบาร์ใช้สลัก และแป้นเกลียวซึ่งเป็นของผู้ผลิตตลอดความยาวของบัสบาร์แต่ละอันต้องมีxxxxหุ้มโดยตลอดอุณหภูมิที่xxxxxขึ้นแต่ละ จุดของบัสบาร์ต้องไม่เกิน 55ºC จากอุณหภูมิแวดล้อมเมื่อรับโหลดเต็มที่
18.7 PLUG IN UNIT ต้องมีระบบ SAFETY DEVICES คือเมื่อสวิตซ์หรือเมื่อเซอร์กิตเบรกเกอร์อยู่ในตำแหน่ง ON จะไม่xxxxxxเปิดฝา PLUG IN UNIT ได้และไม่xxxxxx ON สวิตซ์หรือเซอร์กิตเบรคเกอร์ได้ถ้าฝา PLUG IN UNIT เปิดอยู่
18.8 บัสxxxจะต้องยึดหรือแขวนกับโครงสร้างทุกระยะ 2.50 เมตรในแนวราบและทุกชั้นของโครงสร้างหรือไม่ เกิน 5.0เมตรในแนวตั้ง
18.9 โวลต์ตกระหว่างเฟสไม่เกิน 3.4 โวลต์ต่อความยาว 30 เมตรที่ RATE CURRENT และ POWER FACTOR ไม่ต่ำกว่า 0.8
18.10 อุปกรณ์ประกอบบัสxxxxxxx FLANGE END, END COVER, ELBOW เป็นต้น ต้องเป็นผลิตภัณฑ์เดียวกัน กับบัสxxx
18.11 อุปกรณ์ประกอบการจับยึดบัสxxxต้องxxxxxxxxxxxส่วนที่เป็นโลหะต้องไม่เป็นสนิมหรือผ่านกรรมวิธี ป้องกันสนิมและเป็นไปตามมาตรฐานผู้ผลิต
19. การป้องกันไฟและคxxxxxx บริเวณพื้นหรือกำแพงที่เปิดช่องไว้เป็นทางผ่านของท่อร้อยสายไฟรางเดินสายบริเวณช่อง SHAFT จะต้องอุด
ด้วยวัสดุป้องกันไฟและคxxxxxxซึ่งxxxxxxป้องกันไฟและคxxxxxxxxxxxxน้อยกว่า 2 ชั่วโมง
20. โคมไฟฟ้าและอุปกรณ์
20.1 โคมไฟฟ้าและอุปกรณ์
(1) โคมไฟฟ้าต้องเป็นไปตามที่กำหนดไว้ในแบบ
(2) ขั้วรับหลอดชนิดเกลียวเป็นผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานของ IEC หรือ VDE
(3) หลอดใช้งานที่แรงดัน 220 - 230 V เป็นผลิตภัณฑ์xxxxxxรับเครื่องหมายมอก.
(4) สายในโคมไฟฟ้าชนิดxxxxxxxขนาดไม่เล็กกว่า 10 ตารางมิลลิเมตร อุณหภูมิxxxxxxxน้อยกว่า 70°C
20.2 โคมไฟฟ้าฟxxxxเรสเซนต์
(1) ขั้วรับหลอดและขั้วรับสตาร์เตอร์เป็นผลิตภัณฑ์xxxxxxรับเครื่องหมายมอก.
(2) บัลลาสต์ให้ใช้ชนิด LOW LOSS HIGH POWER FACTOR หรือ ELECTRONIC xxxxxxแก้คำ
POWER FACTOR ให้xxxxxxต่ำกว่า 0.85 ทั้งนี้ให้ใช้บัลลาสต์ 1ตัวต่อ 1 หลอด
(3) หลอดเป็นผลิตภัณฑ์xxxxxxรับเครื่องหมายมอก.ชนิดให้แสง WHITE, COOL WHITE หรือตามที่กำหนดใน
แบบ
(4) สตาร์เตอร์เป็นผลิตภัณฑ์xxxxxxรับเครื่องหมายมอก.
(5) สายในโคมไฟฟ้าขนาดไม่เล็กกว่า 1.0 ตารางมิลลิเมตรอุณหภูมิxxxxxxxน้อยกว่า 70°C
(6) โคมไฟฟ้าต้องติดตั้งให้มั่นคงแข็งแรง โคมไฟฟ้าที่ฝังในฝ้าเพดานต้องยึดกับโครงสร้างด้วยเส้นลวดขนาด
1/8 นิ้วจำนวน 4 มุมพร้อมอุปกรณ์ปรับความสูงต่ำของโคมไฟฟ้าหรือแขวนด้วยโซ่โลหะ(ยึดด้วย EXPANSION BOLT
ชนิดโลหะห้ามใช้ชนิดพลาสติก)
(7) ตัวโคมไฟต้องxxxxxxxxเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 0.6 มิลลิเมตรผ่านกรรมวิธีพ่นสีป้องกันสนิมอย่างดีแล้วพ่น สีอบความxxxx
20.3 โคมไฟฟ้าก๊าซดิสชาร์จ
(1) โคมไฟฟ้าทำด้วยโลหะโลหะหล่อ DI - CAST ALUMINUM หรือไฟเบอร์กลาสตามมาตรฐานผู้ผลิตชนิด และขนาดตามที่กำหนดในแบบ
(2) อุปกรณ์ประกอบดวงโคมเป็นผลิตภัณฑ์เดียวกันกับผู้ผลิตดวงโคมหรือตามคำแนะนำของผู้ผลิตบัลลาสต์ เป็นชนิด HIGH POWER FACTOR (BUILT IN CAPACITOR) ให้ค่า POWER FACTOR ไม่ต่ำ กว่า 0.85
20.4 โคมไฟฟ้าฉุกเฉินใช้แบตเตอรี่
(1) โคมไฟฟ้าต้องติดxxxxxโดยอัตโนมัติเมื่อไฟเมนดับและจะดับเองเมื่อไฟเมนเป็นxxxx
(2) เครื่องประจุแบตเตอรี่เป็นแบบอัตโนมัติ
(3) แบตเตอรี่ชนิด SEALED LEAD ACID 12 V. DC
(4) หลอดไฟตามที่กำหนดในแบบ
(5) แบตเตอรี่ใช้งานxxxxxxน้อยกว่า3 ชั่วโมงเมื่อโหลดเต็มทหรือตามที่กำหนดในแบบ
(6) การควบคุมวงจรเป็นแบบ SOLID STATE ทั้งหมด
21. สวิตซ์และเต้ารับ
21.1 สวิตซ์ให้ติดตั้งสูงจากพื้นประมาณ 1.20 เมตร
21.2 เต้ารับ ให้ติดสูงจากพื้นประมาณ 30 เซนติเมตรยกเว้นบริเวณที่มีโต๊ะ เคาน์เตอร์ หิ้งเฟอร์นิเจอร์ กระจก หรืออื่นๆให้ติดอยู่เหนือเฟอร์นิเจอร์นั้น ประมาณ 5 - 10 เซนติเมตรหรือตามตำแหน่งที่เหมาะสมโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการตรวจการxxxx
เต้ารับในห้องผ่าตัดและห้องคลอดหรือห้องxxxxxxxxxxxxxระเบิดได้ง่ายให้เดินสายร้อยท่อโลหะเกาะผนังโดยติด สูงระดับเดียวกับสวิตซ์
21.3 หากมิได้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่นขนาดของสวิตซ์และเต้ารับ ต้องทนกระแสxxxxxxต่ำกว่า 15 แอมแปร์และ ทนแรงดันไฟฟ้าxxxxxxต่ำกว่า 250 V.
21.4 รูเสียบของเต้ารับต้องใช้ได้กับทั้งชนิดขากลมและขาแบนพร้อมสายดิน
21.5 เต้ารับต้องมีขั้วดิน ต้องต่อขั้วดินเข้ากับสายดินขนาดของสายดินต้องไม่เล็กกว่าดังต่อไปนี้ (หากแบบมิได้ กำหนดไว้)
(1) ขนาดเครื่องป้องกันวงจรไม่เกิน 20 แอมแปร์สายดินขนาด 4 ตารางมิลลิเมตร
(2) ขนาดเครื่องป้องกันวงจรไม่เกิน 40 แอมแปร์สายดินขนาด 10 ตารางมิลลิเมตร
(3) ขนาดเครื่องป้องกันวงจรไม่เกิน 50 แอมแปร์สายดินขนาด 16 ตารางมิลลิเมตร
22. การต่อลงดิน
22.1 ชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้าที่เป็นโลหะซึ่งไม่ใช่เป็นทางเดินของกระแสไฟฟ้าและอยู่สูงจากระดับพื้นอาคารแต่ ละชั้นต่ำกว่า 2.50 เมตรซึ่งคนสัมผัสได้ต้องต่อลงดินทั้งหมดยกเว้นชิ้นส่วนโลหะดังกล่าวอยู่ในตำแหน่งที่สัมผัสไม่ถึง (ระยะห่างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตรในแนวราบ)รายละเอียดอื่นให้เป็นไปตามมาตรฐานเพื่อความปลอดภัยทางไฟฟ้าเรื่อง การต่อลงดินของสำนักงานพลังงานแหง่ ชาติหรือ NEC
22.2 หลักสายดิน (GROUND ROD) ต้องใช้ชนิดทองแดงหรือทองแดงหุ้มเหล็กขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5/8 นิ้วยาว 3.0 เมตรและหลักสายดินต้องมีจำนวนxxxxxxxxxxจะทำให้ระบบดินมีความต้านทานไม่เกิน 5 โอห์ม ในใน สภาวะดินแห้ง
22.3 สายดินต้องใช้ชนิดสายทองแดงหากมิได้กำหนดไว้ในแบบขนาดของสายดินให้เป็นไปตามตารางที่ 1 และ ตารางที่ 2 ในหมวดงานระบบป้องกันฟ้าผ่า
22.4 การต่อสายดินเข้ากับหลักสายดินให้ใช้สายดินเชื่อมกับหลกสายดินโดยวิธีหลอมละลาย (EXOTHERMIC WELDIND) หรือเชื่อมด้วยความxxxxวิธีอื่นที่เหมาะสม
จบxxxxxxx 4
xxxxxxx 5
ระบบป้องกันฟ้าผ่า
1. xxxxxxxxxxx
xxxxxxxxxมีกำหนดไว้ในแบบหรือที่หนึ่งที่ใด วัสดุอุปกรณ์และการติดตั้งระบบป้องกันฟ้าผ่าต้องเป็นไปตามกฎ ข้อบังคับของมาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่ง ต่อไปนี้ให้ เป็นไปตามมาตรฐานอ้างอิงต่อไปนี้ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยเกี่ยวกับ ไฟฟ้า หมวด 7 การติดตั้งxxxxxxxxx มาตรฐานเพื่อความปลอดภัยทางไฟฟ้า สำนักงาน พลังงานแห่งชาติ TEST 12 - 1980 มาตรฐานระบบป้องกันฟ้าผ่า สำหรับอาคารและสิ่งxxxxxxxxxประกอบอาคาร National Fire Protection Assocciation No.78
2. ความต้องการทั่วไป
ผ ับxxxxจะต้องจัดหา และติดตั้งระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่าชนิด EARLY STREAMER EMISSION
SYSTEM xxxxxมีการป้องกันไม่น้อยกว่าระบุในแบบ ระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่าต้องxxxxxxรับประจุที่เกิดจาก ฟ้าผ่า แล้วนำสู่พื้นดินอย่างรวดเร็ว และจะต้องไม่ใช้แหล่งจ่ายไฟใด ๆ เกิดจากภายนอกทั้งสิ้นผลิตภัณฑ์ต้องเป็นไป ตามมาตรฐาน NFC 17- 102
3. ส่วนประกอบสำคัญและคุณสมบัติ
3.1 หัวล่อฟ้า (AIR TERMINAL) เป็นชนิดที่xxxxxxเก็บพลังงานจากแสงอาทิตย์ในเวลากลางวัน และมี อุปกรณ์สะสมพลังงานไว้ใช้ได้ตลอดเวลาอยู่ภายใน และจะปล่อยพลังงานที่สะสมออกมาในรูปประจุ เพื่อล่อและนำลำ ฟ้าผ่าลงดินต้องมีแหล่งเก็บสะสมพลังงานไม่น้อยกว่า 2 แหล่ง
หัวล่อฟ้ามีส่วนประกอบที่สำคญ คือ
- มีวงจร Sensor สั่งงานให้เก็บประจุขณะxxxxและสั่งให้ปล่อยประจุไปนำลำฟ้าผ่าถ่ายเทลงดิน ขณะเกิดฟ้าผ่า
- Solar และ Wind มีหน้าที่ สร้างพลังงานจากแสงแดด และ ลม
- Impulse Device ทำหน้าที่ สะสมพลังงาน และ ปล่อยประจุเพื่อล่อและนำลำฟ้าผ่าลงดิน
- Dimensioned Flange มีหน้าที่ป้องกันxxxxx เข้าไปทำความเสียหายให้อุปกรณ์
3.2 เสา (ELEVATION ROD) ทำด้วย GALVANIZED STEEL ความสูงของเสากว่า 6 เมตร
3.3 สายนำลงดิน (DOWN CONDUCTOR) เป็น BARE COPPER สายที่ใช้กับไฟฟ้าแรงดันสูง มีขนาด พื้นที่หน้าตัดไม่น้อยกว่า 70 มม. สายนำลงดินจะต้องไม่มีรอยต่อใด ๆ หรือเป็นไปตามที่แบบ กำหนด
1.4 ระบบสายดิน (GROUNDING SYSTEM) ใช้ COPPER CHARM STEEL ROD ขนาด 5/8"x10’
อย่าง
น้อย 3 แท่ง ปักลึกลงในดินอย่างน้อย 50 ซม. ตามตำแหน่งที่กำหนดในแบบ
1.5 DISCHARGE COUNTER สำหรับตรวจสอบจำนวนครั้งที่เกิดฟ้าผ่า โดยจะมีตัวเลขบอกจำนวน ครั้ง
ซึ่งไม่xxxxxx RESET ได้ และต้องไม่ใช้แหล่งพลังงานจากแหล่งจ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น
1.6 มี Remote Control ไร้สายสำหรับการ Testสถานะความพร้อมการใช้งานของ หัวล่อฟ้าได้ใน ระยะไม่น้อยกว่า 90 เมตร
3.7 สถาบัน Test laboratory XXXXX (CEB) in compliance with the NFC 17 – 102 standard, and is subject of tests campaign in situ.เป็นผู้ Test
4. การติดตั้ง
หัวล่อฟ้า , เสา , สายนำลงดิน และระบบดิน ต้องติดตั้งตามตำแหน่งที่กำหนดในแบบ ซึ่งเป็นตำแหน่ง โดยประมาณตำแหน่งที่แน่นอน ทางผู้xxxxxxxจะเป็นผู้กำหนดให้ก่อนการติดตั้ง
5. ผลิตภัณฑ์มาตรฐาน FRXXXXXX XXXXXX , Duval Messiien, Lightning tech
ตารางที่ 1 ขนาดของตัวนำสำหรับต่อลงดินของระบบไฟฟ้า
ขนาดของตัวนำ (ทองแดง) ประธานเข้าอาคาร (ตารางมิลลิเมตร) | ขนาดสายดินทองแดง (ตารางมิลลิเมตร) |
ไม่เกิน 35 | 10 |
เกิน 35 แต่ไม่เกิน 50 | 16 |
เกิน 50 แต่ไม่เกิน 95 | 25 |
เกิน 95 แต่ไม่เกิน 185 | 35 |
เกิน 185 แต่ไม่เกิน 300 | 50 |
เกิน 300 แต่ไม่เกิน 500 | 70 |
มากกว่า 500 | 95 |
ตารางที่ 2 ขนาดของตัวนำสำหรับต่อลงดินของอุปกรณ์ไฟฟ้า
พิกัดหรือขนาดปรับตั้งของอุปกรณ์ ป้องกันกระแสเกินอัตโนมัติ ด้านต้นทางของอุปกรณ์ (แอมแปร์) | ขนาดสายดินทองแดง (ตารางมิลลิเมตร) |
16 | 1.5 |
20 | 2.5 |
40 | 4 |
70 | 6 |
100 | 10 |
200 | 16 |
400 | 25 |
500 | 35 |
800 | 35 |
1000 | 50 |
1250 | 70 |
2000 | 70 |
2500 | 120 |
4000 | 150 |
6000 | 185 |
ตารางที่ 3 จำนวนสูงสุดxxxxxxไฟฟ้า ขนาดเดียวกันในท่อร้อยสาย จำนวนสูงสุดxxxxxxไฟฟ้า ขนาดเดียวกัน มอก.11-2553 ตารางที่ 4 ที่ใช้ในท่อร้อยโลหะตาม มอก.770-2533
ขนาด สายไฟ (ตาราง มิลลิเมตร) | ขนาดระบุของท่อ มิลลิเมตร (นิ้ว) | |||||||||||
15 | 20 | 25 | 32 | 40 | 50 | 65 | 80 | 90 | 100 | 125 | 150 | |
(1/2) | (3/4) | (1) | (1 1/4) | (1 1/2) | (2) | (2 1/2) | (3) | (3 1/2) | (4) | (5) | (6) | |
1 | 7 | 13 | 20 | 33 | - | - | - | - | - | - | ||
1.5 | 6 | 11 | 17 | 28 | 44 | - | - | - | - | - | ||
2.5 | 4 | 8 | 13 | 22 | 34 | - | - | - | - | - | ||
4 | 3 | 5 | 9 | 15 | 23 | 36 | - | - | - | - | ||
6 | 2 | 4 | 7 | 12 | 19 | 29 | - | - | - | - | ||
10 | 1 | 3 | 4 | 7 | 12 | 19 | 32 | - | - | - | ||
16 | 1 | 1 | 3 | 5 | 9 | 14 | 23 | 36 | - | - | ||
25 | 1 | 1 | 1 | 3 | 5 | 9 | 15 | 23 | 29 | - | ||
35 | - | 1 | 1 | 3 | 4 | 7 | 12 | 19 | 24 | 30 | ||
50 | - | - | 1 | 1 | 3 | 5 | 9 | 14 | 17 | 21 | 34 | |
70 | - | - | 1 | 1 | 2 | 4 | 7 | 10 | 13 | 16 | 26 | 37 |
95 | - | - | - | 1 | 1 | 3 | 5 | 7 | 10 | 12 | 19 | 27 |
120 | - | - | - | 1 | 1 | 2 | 4 | 6 | 8 | 10 | 16 | 23 |
150 | - | - | - | - | 1 | 1 | 3 | 5 | 7 | 8 | 13 | 19 |
185 | - | - | - | - | 1 | 1 | 2 | 4 | 5 | 6 | 10 | 15 |
240 | - | - | - | - | - | 1 | 1 | 3 | 4 | 5 | 8 | 12 |
300 | - | - | - | - | - | 1 | 1 | 2 | 3 | 4 | 6 | 10 |
400 | - | - | - | - | - | 1 | 1 | 1 | 2 | 3 | 5 | 8 |
500 | - | - | - | - | - | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 4 | 6 |
ตารางที่ 4 จำนวนสูงสุดxxxxxxไฟฟ้า ขนาดเดียวกันในท่อร้อยสาย จำนวนสูงสุดxxxxxxไฟฟ้า ขนาดเดียวกัน มอก.11-2553 ตารางที่ 6 ที่ใช้ในท่อร้อยโลหะตาม มอก.770-2533
ขนาด สายไฟ (ตาราง มิลลิเมตร) | ขนาดระบุของท่อ มิลลิเมตร (นิ้ว) | |||||||||||
15 | 20 | 25 | 32 | 40 | 50 | 65 | 80 | 90 | 100 | 125 | 150 | |
(1/2) | (3/4) | (1) | (1 1/4) | (1 1/2) | (2) | (2 1/2) | (3) | (3 1/2) | (4) | (5) | (6) | |
1 | 1 | 1 | 3 | 5 | 8 | 12 | 21 | 33 | - | - | - | - |
1.5 | 1 | 1 | 2 | 4 | 7 | 11 | 19 | 30 | - | - | - | - |
2.5 | 1 | 1 | 2 | 4 | 7 | 10 | 17 | 26 | 33 | - | - | - |
4 | 1 | 1 | 1 | 3 | 6 | 9 | 15 | 23 | 29 | 36 | - | - |
6 | - | 1 | 1 | 3 | 5 | 8 | 13 | 21 | 26 | 33 | - | - |
10 | - | 1 | 1 | 2 | 4 | 6 | 11 | 17 | 22 | 27 | - | - |
16 | - | 1 | 1 | 1 | 3 | 5 | 10 | 15 | 19 | 23 | 36 | - |
25 | - | 1 | 1 | 1 | 3 | 4 | 8 | 12 | 15 | 19 | 29 | - |
35 | - | - | 1 | 1 | 1 | 3 | 6 | 10 | 12 | 15 | 24 | 35 |
50 | - | - | 1 | 1 | 1 | 3 | 5 | 8 | 11 | 13 | 21 | 31 |
70 | - | - | - | 1 | 1 | 2 | 4 | 7 | 8 | 11 | 17 | 24 |
95 | - | - | - | 1 | 1 | 1 | 3 | 5 | 7 | 8 | 13 | 19 |
120 | - | - | - | 1 | 1 | 1 | 3 | 4 | 6 | 7 | 11 | 17 |
150 | - | - | - | - | 1 | 1 | 1 | 3 | 4 | 5 | 9 | 13 |
185 | - | - | - | - | 1 | 1 | 1 | 3 | 4 | 5 | 7 | 11 |
240 | - | - | - | - | - | 1 | 1 | 2 | 3 | 4 | 6 | 9 |
300 | - | - | - | - | - | 1 | 1 | 1 | 2 | 3 | 5 | 7 |
400 | - | - | - | - | - | - | 1 | 1 | 1 | 2 | 4 | 6 |
500 | - | - | - | - | - | - | 1 | 1 | 1 | 1 | 3 | 4 |
จบxxxxxxx 5
xxxxxxx 6 ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์
1. รายการ ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์
2. วัตถุประสงค์
ต้องการก่อสร้างพร้อมติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์และติดตั้งระบบไฟฟ้าภายในอาคาร สำนักงาน ขนาดกำลังไฟฟ้าสูงสุดไม่น้อยกว่า 2,000 Wp.(วัตต์) เพื่อผลิตไฟฟ้าสำหรับสนับสนุน กิจกรรมการใน อาคาร
3. เป้าหมาย
ผู้รับจ้างจะต้องxxxxxxงานเพื่อxxxxxเป้าหมาย ดังต่อไปนี้ xxxxxxการก่อสร้างพร้อมติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ขนาดไม่น้อยกว่า 2,000 Wp.วัตต์ จำนวน 1 ระบบ ซึ่งมีไดอะแกรมลักษณะของระบบฯ ดังแสดงในรูปที่ 1 และติดตั้ง พร้อมเชื่อมต่อระบบไฟฟ้าภายในอาคาร สำนักงาน และอื่นๆ โดยใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงเพื่อการประหยัดพลังงานให้กับอาคาร
4. ลักษณะระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์
ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ประกอบด้วยชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ซึ่งทำหน้าที่ผลิตไฟฟ้ากระแสตรง และจ่ายพลังงานไฟฟ้าผ่านชุดควบคุมการประจุฯ เพื่อประจุแบตเตอรี่ และจ่ายพลังงานไฟฟ้ากระแสตรงผ่าน อินเวอร์เตอร์แบบ Stand Alone Inverter เปลี่ยนเป็นระบบไฟฟ้ากระแสสลับชนิด 1 Phase 220 Va.c. ,50 Hz. xxxxxxxxให้กับภาระไฟฟ้าต่อไป ดังไดอะแกรมแสดงลักษณะของระบบฯในรูปที่ 1
DC
SSW
MCCB.
PV
CC.
INV.
MLC
Note;
PV = Photovoltaic array SSW. = Safety switch CC. = Charger& controller BATT = Battery bank
INV. = Stand alone inverter
MCCB = Molded case circuit breaker MLC = Main load center
BLD1,2 = Building 1 , 2
BATT.
Etc.
BLD.2
BLD.1
รูปที่ 1. ไดอะแกรม ลักษณะของระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์
รายละเอียดคุณสมบัติวัสดุ
1. รายละเอียดเฉพาะของอุปกรณ์ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ มีรายละเอียดดังนี้
1.1 แผงเซลล์แสงอาทิตย์ จำนวน 1 ชุด ต่อระบบ มีขนาดกำลังไฟฟ้าสูงสุดไม่น้อยกว่า 3,000 Wp. ต่อระบบ มี รายละเอียด ดังนี้
1. แผงเซลล์แสงอาทิตย์ทุกแผง ต้องมีเครื่องหมายการค้า รุ่น และค่าพิกัดกำลังไฟฟ้าสูงสุดที่เหมือนกัน และขนาดกำลังไฟฟ้าสูงสุดของแผงเซลล์ฯ ต่อระบบ หลังจากการทดสอบรวมกันต้องมีขนาด กำลังไฟฟ้าสูงสุดไม่น้อยกว่า 2,000 Wp.
2. คุณสมบัติทางไฟฟ้าที่สภาวะ Standard Test Condition (STC.) ค่าแรงดันไฟฟ้าวงจรเปิด Voc.
ของแผงเซลล์ฯ ไม่น้อยกว่า 20 V.แรงดันไฟฟ้าที่กำลังไฟฟ้าสูงสุด Vmp.ไม่น้อยกว่า 17.0 V.
3. Maximum system voltage ไม่น้ อยกว่า 600 Vdc. และ Temperature Coefficient of Power ไม่เกิน – (0.5) % / ๐ C หรือ Temperature coefficient of Voc ไม่เกิน - 0.15 V/๐C
4. ต้องมีกรอบ (Frame) แผงเซลล์ฯ xxxxxxxxxx ไม่เป็นสนิมและทนทานต่อการกัดกร่อนของ สภาพแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศxxxxx
5. ด้านหลังของแผงเซลล์ฯ ติดตั้งกล่องต่อสายไฟฟ้า (Junction Box) หรือขั้วต่อสาย (Terminal Box) ที่มีการปิดผนึกหรือมีฝาที่ปิดล็อคได้อย่างมั่นคง xxxxxxทนต่อสภาพอากาศและสภาวะ แวดล้อมxxxxx และต้องมีวัสดุป้องกันน้ำซึมเข้า ภายในกล่องรวมสายไฟต้องมีข้อต่อสายไฟxxxxxxxxx แข็งแรง ทนทานต่อสภาวะการใช้งานภายนอกอาคารได้และมีอายุการใช้งานเทียบเท่าแผงเซลล์ฯ
6. ภายในแผงเซลล์ฯ จะต้องมีการผนึกxxxxxxxกันความชื้น Ethylene Vinyl Acetate (EVA) หรือ วัสดุอื่นที่เทียบเท่าหรือดีกว่า ด้านหน้าแผงเซลล์ฯ ปิดทับด้วยกระจกใส หรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติ เทียบเท่าหรือดีกว่า วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ยึดชุดแผงเซลล์ฯ ต้องเป็นวัสดุที่ทำจากxxxxxxx
7. แผงเซลล์ฯ ทุกแผง ต้องแสดงชื่อ ผู้xxxxxxx โดยการสลักตัวxxxxxชื่อไว้บนกรอบของแผงเซลล์ฯ หรือ
จัดพิมพ์ชื่อหน่วยงานไว้บนแผ่น Sticker ท นแสงแดดและทนความxxxx ปิดทับบนช่องว่างของชั้น
เซลล์แสงอาทิตย์ ก่อนปิดทับด้วยแผ่นกระจกใสหรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติเทียบเท่าหรือดีกว่า โดย
ขนาดของตัวxxxxxต้องมีความเหมาะสมxxxxxxมองเห็นและอ่านได้ชด
1.2 กรณีแผงเซลล์แสงอาทิตย์เป็นชนิด Crystalline Silicon
xxx
1. มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าสูงสุดไม่ต่ำกว่า 50 วัตต์ ต่อแผงฯ ที่ค่าความเข้มแสงอาทิตย์ 1,000 W./m2 อุณหภูมิแผงเซลล์ฯ 25 oC, Air mass 1.5
2. เป็นแผงเซลล์ฯ ที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐาน IEC 61215 Crystalline Silicon terrestrial photovoltaic (PV) modules Design qualification and type approval
3. แผ่นเซลล์แสงอาทิตย์เป็นแบบ Square Cell หรือ Pseudo Square Cell หรือ Rectangular Cell หรือถ้าเป็นแบบ Round Cell จะต้องมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของแต่ละเซลล์ไม่น้อยกว่า 12 เซนติเมตร
4. แผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ที่นำxxxxxxxxภายในแผงเซลล์แสงอาทิตย์ทุกเซลล์ฯ จะต้องไม่มีตำหนิอัน เนื่องมาจากความบกพร่องในการผลิต
5. ภายในแผงเซลล์ฯ จะต้องมีการผนึกxxxxxxxกันความชื้น Ethylene Vinyl Acetate ( EVA) ด้านหน้าแผงเซลล์ ปิดทับด้วยกระจกใส หรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติxxxxxกว่าหรือเทียบเท่า ด้านหลัง ผนึกด้วยแผ่นโพxxเมอร์ที่มีคุณสมบัติเหนียวยากต่อการฉีกขาด โดยผ่านการเคลือบให้เป็นชิ้น เดียวกัน
6. ต้องมี Integrated Bypass Diode ต่ออยู่ภายในกล่องต่อสายไฟ (Junction Box) หรือขั้วต่อสาย (Terminal Box) หรือติดตั้งอยู่ในแผงเซลล์ฯ โดยระบุข้อมูลใน Catalogue หรือมีเอกสารรับรอง จากผู้ผลิตอย่างชัดเจน
1.3 กรณีแผงเซลล์แสงอาทิตย์เป็นชนิด Amorphous Silicon
1. มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าสูงสุดไม่ต่ำกว่า 40 วัตต์ ต่อแผงฯ ที่ค่าความเข้มแสงอาทิตย์ 1,000 W./m2 อุณหภูมิแผงเซลล์ฯ 25 oC, Air mass 1.5
2. เป็ นแผงเซลล์ฯ ที่ มีคุณ xxxxxxเป็ น ไปตามมาตรฐาน IEC 61646 Thin-film terrestrial photovoltaic (PV) modules Design qualification and type approval
3. ภายในแผงเซลล์ฯ จะต้องมีการผนึกxxxxxxxกันความชื้น Ethylene Vinyl Acetate ( EVA) หรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติxxxxxกว่าหรือเทียบเท่า ด้านหน้าแผงเซลล์ ปิดทับด้วยกระจกใส หรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติxxxxxกว่าหรือเทียบเท่า
1.4 กรณีแผงเซลล์แสงอาทิตย์เป็นชนิด Hybrid Thin Film หรือ Thin film (ที่ไม่ใช่ Amorphous Silicon)
1. มีขนาดกำลังผลิตไฟฟ้าสูงสุดไม่ต่ำกว่า 30 วัตต์ ต่อแผงฯ ที่ค่าความเข้มแสงอาทิตย์ 1,000 W/m2 อุณหภูมิแผงเซลล์ฯ 25 oC, Air mass 1.5
2. เป็ นแผงเซลล์ฯ ที่ มีคุณ xxxxxxเป็ น ไปตามมาตรฐาน IEC 61646 Thin-film terrestrial photovoltaic (PV) modules Design qualification and type approval
3. ภายในแผงเซลล์ฯ จะต้องมีการผนึกxxxxxxxกันความชื้น Ethylene Vinyl Acetate ( EVA) หรือเทียบเท่าหรือเป็นวัสดุชนิดอื่นxxxxxกว่า ด้านหน้าแผงเซลล์ปิดด้วยกระจกใส หรือวัสดุ อื่นที่มีคุณสมบัติxxxxxกว่าหรือเทียบเท่า
2. โครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ จำนวน 1 ชุด ต่อระบบ ต้องจัดทำรายละเอียดแบบของชุดโครงสร้างรองรับแผงเซลล์แสงอาทิตย์ พร้อมรายการคำนวณตาม
รายละเอียด ข้อ 2.5 และมีวิศวกรสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ระดับภาคีวิศวกรขึ้นไป ลงนามรับรอง พร้อมผู้เขียนและผู้ตรวจสอบลงนามใน Title Block (หัวแบบ)ขนาด 9.5 X 5.5 เซนติเมตร ด้านล่างมุมขวามือของแบบทุกแผ่น ในกระดาษขนาด A.3 (เอ.3) อย่างไรก็ตาม ผู้อ อกแบบระบบ และผู้xxxxxxx ขอxxxxxxxxxxในการปรับปรุงรูปแบบและรายละเอียด หรืออาจเลือกใช้รูปแบบและรายละเอียดตามที่ผู้ xxxxxxxกำหนด ก็ได้ รูปแบบชุดโครงสร้างฯ มีรายละเอียดดังนี้
2.1 วัสดุที่ใช้ทำโครงสร้างต้องเป็นเหล็กไร้สนิม หรือเหล็กเคลือบสังกะสีอย่างหนา (Galvanized Steel) หรือวัสดุอื่นที่มีความมั่นคงแข็งแรงเทียบเท่า
2.2 เสาของชุดโครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ เป็นท่อเหล็กอย่างหนาเคลือบสังกะสี มีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตร
2.3 ชุดโครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์ฯ xxxxxxถอดออกเป็นชิ้นส่วนย่อยๆ และประกอบได้อย่างสะดวก และกำหนดให้ชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์วางทำมุมกับแนวระนาบ เป็นมุมเอียงประมาณ 20 องศา
2.4 วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ยึดแผงเซลล์แสงอาทิตย์และใช้ยึดชุดโครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์ฯ ทุกตัว จะต้องมีขนาดที่เหมาะสมและเป็นวัสดุที่ทำจากxxxxxxx
2.5 จัดทำรายละเอียดโครงสร้างเชิงวิศวกรรม กำหนดให้โครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์ฯ มีความแข็งแรง xxxxxxทนต่อแรงลมที่มีความเร็วไม่ต่ำกว่า 20 เมตร ต่อวินาที
3. อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ จำนวน 1 ชุด ต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้
3.1 มีระบบป้องกันการเกิด Over Charge และ Over Discharge
3.2 มีระบบป้องกัน Lightning Surge
3.3 มีพิกัดแรงดันไฟฟ้าและกระแสด้านขาเข้า (Input) ที่xxxxxxรับแรงดันไฟฟ้าสูงสุด (Vmp) และ กระแสจ่ายออกสูงสุด (Imp) ของชุดแผงเซลล์ฯ ที่สภาวะ STC.
3.4 xxxxxxป้องกันไฟฟ้าย้อนกลับจากชุดแบตเตอรี่หรือมีอุปกรณ์ตัดวงจรไฟฟ้าย้อนกลับจากชุด แบตเตอรี่ เมื่อด้าน Input อยู่ในสถานะเปิดวงจร (Open circuit)
3.5 แรงดันไฟฟ้าขาออก (Output Voltage) xxxxxxประจุไฟฟ้าเข้าชุดแบตเตอรี่ได้ และมีค่าสอดคล้อง กับ Nominal Input Voltage ของอินเวอร์เตอร์
3.6 มีหลอดสัญญาณ LED หรือจอ LCD แสดงสถานภาพการทำงานของอุปกรณ์
3.7 มีระบบปรับการประจุได้ ตามสถานะค่าความจุจริงของแบตเตอรี่ xxxx Boost Charge, Float
Charge
3.8 มีหน้าจอแบบ LCD หรือแบบอื่นที่xxxxxxค่าแบบตัวเลข ประกอบด้วย ค่าพลังงานไฟฟ้า
กระแสตรงแบบสะสม (DC kWh) ค่าชั่วขณะของกระแสและแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC Volt, DC Amp.) ในขณะ ประจุแบตเตอรี่
หากอุปกรณ์ควบคุมฯ ไม่xxxxxxแสดงค่าทางไฟฟ้าดังกล่าว ผู้เสนอราคาต้องจัดหาเครื่องมือ แสดงข้อมูลดังกล่าวที่มีคุณภาพดีและเสนอรูปแบบการติดตั้งให้ กรมพัฒนาพลังงานxxxxxและxxxxxxxxพลังงาน. พิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนนำไปติดxxxxxxxxxxกับอุปกรณ์ควบคุมฯ ให้xxxxxxแสดงค่าได้จริง
4. อินเวอร์เตอร์ จำนวน 1 เครื่อง ต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้
4.1 เป็นชนิดxxxxx Stand Alone Inverter, 1 Phase 2 wires
4.2 แรงดันไฟฟ้า Nominal Input Voltage เป็นชนิด 24 Vd.c. หรือ 48 Vd.c.
4.3 แรงดันไฟฟ้า Nominal Out put Voltage 220 Va.c. 50 Hz (+/- 2%)
4.4 Output Voltage Regulation ไม่เกิน 5% ที่ Steady State Load
4.5 Total Harmonic Distortion (THD) ไม่เกิน 4% เมื่อจ่ายภาระไฟฟ้าที่ 0.8 Lagging Power Factor
4.6 ขนาดพิกัดกำลังไฟฟ้าต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 2.0 kVA หรือไม่น้อยกว่า 2.0 kW. (ที่ Unity Power
Factor)
4.7 Maximum Surge Power ไม่น้อยกว่า 2 เท่าของพิกัดกำลังไฟฟ้าต่อเนื่อง
4.8 รูปคลื่นสัญญาณแรงดันไฟฟ้า Out put เป็นแบบ Real Sine wave
4.9 ประสิทธิภาพไม่น้อยกว่า 90 % ที่พิกัดกำลังไฟฟ้าสูงสุด และประสิทธิภาพไม่น้อยกว่า 90 %เมื่อ
จ่ายไฟฟ้าที่ 25% ของพิกัดกำลังไฟฟ้าสูงสุด ที่ภาระไฟฟ้าเป็นUnity Power Factor (Pf. = 1)
4.10 มีระบบป้องกัน Over Load, Short circuit, Over input voltage และ Under input voltage
5. อุปกรณ์ป้องกันคลื่นไฟฟ้ากระโชก (Surge Protector) จำนวน 1 เครื่อง ต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้
5.1 เป็นชนิดที่ใช้กับระบบไฟฟ้ากระแสสลับ Single phase 220 Va.c. , 50 Hz.
5.2 พิกัดแรงดันไฟฟ้าใช้งานระหว่าง 190-260 Va.c. หรือดีกว่า
5.3 xxxxxxป้องกันเนื่องจากคลื่นไฟฟ้ากระโชกแบบ Transient และแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำในสายตัว นำเนื่องจากฟ้าผ่า ที่กระแสไฟฟ้าสูงสุดไม่น้อยกว่า 15 kA ที่รูปคลื่นมาตรฐาน 8/20 µSec.
5.4 ระดับการป้องกัน อย่างน้อยต้องxxxxxxป้องกัน L-N, L-G และ N-G
5.5 Response time ไม่เกิน 50 nSec.
5.6 มีหลอดไฟสัญญาณ LED หรือจอ LCD แสดงสถานภาพการทำงานของอุปกรณ์
5.7 เป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จ xxxxxxรับการรับรองผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน IEEE หรือ ANSI หรือเทียบเท่า
6. แบตเตอรี่ จำนวน 1 ชุด ต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้
6.1 เป็นแบบ Stationary Vented Lead Acid ชนิด OPzS และ Nominal Voltage 2 V/Cell
6.2 มีขนาดความจุพลังงานไฟฟ้ารวม ไม่น้อยกว่า 20 kWh ณ อัตราการคายประจุ 100 ชั่วโมง (Capacity at
C100)
6.3 ทดสอบค่าความจุแบตเตอรี่ตามข้อ 6.2 ที่อัตราการคายประจุไฟฟ้าxxxxx 100 ชั่วโมง (Discharge
current at 100 hrs.) ตามรุ่นแบตเตอรี่ ที่สภาวะอุณหภูมิxxxxxx 20 oC โดยที่แรงดันไฟฟ้าสุดท้ายไม่น้อยกว่า
1.80 V/Cell (ตามมาตรฐาน BS EN 60896-11:2003 หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า)
6.4 แผ่น Plate ที่ขั้วบวกเป็นแบบ Tubular
6.5 Cycle life ไม่น้อยกว่า 4,000 ครั้ง ที่ค่า DOD 20 %
6.6 Self Discharge Rate ไม่เกิน 3 % ต่อเดือน ที่อุณหภูมิแวดล้อม 20 oC หรือไม่เกิน 5 % ต่อเดือน ที่ อุณหภูมิแวดล้อม 30 oC
6.7 ตัวถังแบตเตอรี่ (Container) ผลิตจากวัสดุxxxxxxxxxxxxxxxxต่อการกระแทก และทนสภาพกรด (High grade acid resistance ) xxxx SAN เป็นต้น xxxxxxมองเห็นระดับxxxxxxxxxอยู่ภายในแบตเตอรี่ได้ชัดเจน
6.8 มีเครื่องหมายบอกระดับxxxxxxxxxระดับสูงสุด (Max.) และระดับต่ำสุด (Min.) มีช่องเติม xxxxxxxxติดตั้ง Vent plug ที่มีคุณสมบัติ Proof flame arrestor xxxxxxระบายอากาศxxxxxและxxxxxxป้องกันฝุ่นละอองสิ่ง แปลกปลอมเข้าภายในแบตเตอรี่ได้
6.9 มีอุปกรณ์ตรวจวัดค่าความถ่วงจำเพาะxxxxxx 2 ชุด (Hydrometer) และxxxxxxxxสำหรับเติมแบตเตอรี่ จำนวนไม่น้อยกว่า 20 ลิตร
6.10 มีชุดขาตั้งรองรับชุดแบตเตอรี่ที่ทำด้วยวัสดุxxxxxxxxต่อสภาพแวดล้อมที่เป็นกรด มีความแข็งแรง xxxxxxรับน้ำหนักชุดแบตเตอรี่ได้อย่างปลอดภัย
7. ชุดโคมไฟฟ้าแสงสว่าง จำนวน ตามระบุในรูปแบบ ต่อระบบ มีส่วนประกอบและรายละเอียดดังนี้
7.1 โคมไฟฟ้า มีรายละเอียด ดังนี้
7.1.1 ใช้กับหลอดฟxxxxเรสเซนต์ ขนาด 36 วัตต์ จำนวน 1 หลอด
7.1.2 มีแผ่นสะท้อนแสงที่มีค่าxxxxxxxxxxxxการสะท้อนแสงรวม (Total reflectance) ไม่น้อยกว่า 95 %
ตามมาตรฐาน DIN 5036-3 หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า
7.1.3 มีขายึดหลอดเป็นแบบสปริงกดมีคุณสมบัติได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มอก. 344-2530
7.1.4 ติดตั้งสตาร์ทเตอร์ (Starter) ที่เป็นผลิตภัณฑ์xxxxxxรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มอก. 183- 2528 หรือ มอก. 183-2547 เพื่อใช้กับหลอดฟxxxxเรสเซนต์
7.1.5 โครงขาหลอดเป็นวัสดุที่ผลิตจากโลหะ
7.2 หลอดไฟฟ้า มีรายละเอียดดังนี้
7.2.1 เป็นหลอดฟxxxxเรสเซนต์ ชนิด Day light ขนาด 36 W. 220 Va.c., 50 Hz.
7.2.2 เป็นผลิตภัณฑ์xxxxxxรับการรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.236-2533 และได้รับการรับรอง มาตรฐานด้านความปลอดภัย มอก. 956-2533
7.3 Low Loss Ballast มีรายละเอียดดังนี้
7.3.1 เป็น Low Loss Ballast ที่เป็นผลิตภัณฑ์ได้รับการรับรองตาม มอก. 23 -2521
7.3.2 บนตัวถัง Ballast แสดงเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายxxxxxxรับการรับรองมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และค่ากำลังไฟฟ้าเป็นวัตต์ อย่างชัดเจน
หลอด
7.3.3 xxxxxxใช้ได้กับหลอดฟxxxxเรสเซนต์ ขนาด 36 W. 220 Va.c 50 Hz. จำนวน 1
7.3.4 มีค่าความสูญเสียกำลังไฟฟ้าไม่เกิน 6 วัตต์ ที่อุณหภูมิ 20 oC
7.4 xxxxxx xxxxxxxxxxxxดังนี้
7.4.1 เป็นชนิดสวิทซ์เดี่ยว ขนาดไม่เกิน 10 A. 220 Va.c. 50 Hz
7.4.2 เป็นผลิตภัณฑ์xxxxxxรับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มอก. 824-2531
7.4.3 ใช้ติดตั้งกับกล่องพลาสติกที่มีฝาปิดแบบ 1 xxxx xxxใช้สำหรับติดตั้งสวิทช์หรือเต้ารับ
8. อุปกรณ์ควบคุมการจ่ายไฟฟ้าของแบตเตอรี่ จำนวน 1 ชุด ต่อระบบ มีรายละเอียด ดังนี้
8.1 ต้องxxxxxxตัดวงจรการจ่ายภาระไฟฟ้าออกจากระบบโดยอัตโนมัติเมื่อแบตเตอรี่จ่ายพลังงานไฟฟ้า จนค่า
DOD ของแบตเตอรี่ลดลงถึง 30 % หรือเมื่อแรงดันขั้วแบตเตอรี่ลดลงถึง 1.95-1.97 V/cell
8.2 ระบบตัดวงจรต้องxxxxxxปรับตั้งค่า DOD หรือปรับตั้งการตัดวงจรจ่ายกระแสไฟฟ้าได้อย่างสะดวก หลังจากติดตั้งใช้งานแล้ว โดยใช้ระดับค่าแรงดันไฟฟ้าขั้วแบตเตอรี่เป็นสัญญาณทำงานได้
8.3 เป็นอุปกรณ์xxxxxxติดตั้งอยู่ภายในอุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ หรือติดตั้งอยู่ภายในอินเวอร์เตอร์ซึ่ง มีอยู่จริงและxxxxxxปรับตั้งการทำงานได้จริง
8.4 ในกรณีอุปกรณ์ควบคุมการจ่ายไฟฟ้า ติดตั้งรวมอยู่ภายในอุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่หรือติดตั้ง ภายในอินเวอร์เตอร์ ต้องระบุข้อมูลดังกล่าวใน Catalogue และแสดงวิธีการปรับตั้งค่า DOD หรือปรับค่าระดับ แรงดันขั้วแบตเตอรี่สำหรับควบคุมการจ่ายกระแสไฟฟ้าของแบตเตอรี่ได้อย่างสะดวก
9. อุปกรณ์ควบคุมการตัด-ต่อวงจรไฟฟ้า จำนวน 1 ชุด ต่อระบบ แบ่งออกเป็น 4 รายการ มีรายละเอียดดังนี้
9.1 Safety Switch เป็นชนิดมีฟิวส์ (Fusible type) โดยมีขนาดพิกัดกระแสไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 1.25
เท่าของพิกัดกระแสสูงสุด (Imp) ของชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ไหลผ่านวงจร ใช้สำหรับการตัด-ต่อวงจรไฟฟ้า กระแสตรงระหว่างชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์กับอุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่
9.2 Main Circuit Breaker ชนิ ด Molded Case Circuit Breaker, MCCB. ที่ มี คุ ณ xxxxxxตาม
มาตรฐาน IEC 947-2: 1989 มีคุณลักษณะการทำงานตัดวงจร Thermal magnetic Tripping characteristic curve แบบ Type B ตามมาตรฐาน IEC 898 หรือ BS EN 60898:1991 เป็นชนิด 2 Poles 220 V. 50 Hz มีพิกัด กระแส Icu ไม่น้อยกว่า 10 kA.มีพิกัดกระแส Ampere Frame, AFไม่น้อยกว่า 50 A. และมีพิกัดกระแส Ampere Trip, AT ไม่น้อยกว่า 1.25 เท่าของพิกัดกระแสสูงสุดจ่ายออกของอินเวอร์เตอร์ ใช้สำหรับตัด-ต่อวงจรไฟฟ้า กระแสสลับระหว่างอินเวอร์เตอร์กับภาระไฟฟ้าทั้งหมด
9.3 แผงควบคุมไฟฟ้าหลัก (Main Load Center หรือ Consumer unit) เป็นกล่องทำด้วยโลหะ ใช้ ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องตัด-ต่อวงจรกระแสไฟฟ้า ประกอบด้วย
9.3.1 Miniature circuit breaker , MCB. ที่มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน IEC 947-2: 1989 มีคุณ ลักษณะการทำงานตัดวงจร Thermal magnetic Tripping characteristic curve แบบ Type B ตาม มาตรฐาน IEC 898 หรือ BS EN 60898:1991 เป็นชนิด 1 pole หรือ 2 poles, 220-240 V.50 Hz มีพิกัดกระแส Icu ไม่น้อยกว่า 5 kA. มีพิกัดกระแส AF ไม่น้อยกว่า 50 A. และมีพิกัดกระแสไฟฟ้า AT ไม่น้อยกว่า 1.25 เท่าของ พิกัดกระแสสูงสุดจ่ายออกของอินเวอร์เตอร์ใช้สำหรับตัด-ต่อวงจรไฟฟ้าทั้งหมดทุกอาคาร
9.3.2 Miniature circuit breaker, MCBs. ที่มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน IEC 947-2: 1989 มีคุณลักษณะการ ทำงานตัดวงจร Thermal magnetic Tripping characteristic curve แบบ Type B ตามมาตรฐาน IEC 898 หรือ BS EN 60898:1991 เป็น ชนิด 1pole หรือ 2 poles, 220-240 V. 50 Hz มีพิกัดกระแส Icu ไม่น้อยกว่า 5 kA. มีพิกัดกระแส AF. ไม่น้อยกว่า 30 A. และมีพิกัด กระแสไฟฟ้า AT ไม่น้อยกว่า 1.25เทาของพิกัดกระแสโหลดรวมของแต่ละอาคาร ใช้สำหรบตัด-ต่อวงจรไฟฟาเฉพาะของ แต่ละอาคาร ที่ระบบจายกระแสไฟฟ้า
9.4 แผงควบคุมระบบไฟฟ้าอาคาร (Load center) ของแต่ละอาคารทุกหลัง (ยกเว้น อาคารที่ติดตั้ง Main Load center ใช้อุปกรณ์ข้อ 9.3.2) เป็นกล่องทำด้วยโลหะหรือพลาสติกแข็ง ใช้ติดตั้ง Miniature Circuit Breaker, MCB. ที่มีคุณสมบัติตามมาตรฐาน IEC 947-2: 1989 มีคุณลักษณะการทำงานตัดวงจร Thermal magnetic Tripping characteristic curve แบบ Type B ตามมาตรฐาน IEC 898 หรือ BS EN 60898:1991 เป็น ชนิด 2 poles, 220-240 V. 50 Hz, Icu ไม่น้อยกว่า 5 kA, AF ไม่น้อยกว่า 30 A. และมีพิกัดกระแสไฟฟ้า AT ไม่ น้อยกว่า 1.25 เท่า ของพิกัดกระแสโหลดแสงสว่างและกระแสไฟฟ้าวงจรเต้ารับทั้งหมด ใช้สำหรับตัด-ต่อวงจรไฟฟ้า ทั้งหมดของอาคารที่ติดตั้ง
10. ตู้แสดงค่าทางไฟฟ้า จำนวน 1 ชุด ต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้
10.1 เป็นตู้โลหะขนาด 50x60 เซนติเมตร ทำจากแผ่นโลหะความหนาไม่น้อยกว่า 2 มิลลิเมตร ทาสีกัน สนิมและพ่นสีพื้นเป็นสีเทาหรือสีxxxxxxxxx ด้านหลังตู้เป็นโครงเหล็กเจาะรูสำหรับใช้ยึดติดตั้งกับผนัง
10.2 ด้านหน้าตู้โลหะเป็นฝาเปิด – ปิดด้านเดียว มีตัวล๊อคฝาปิดเป็นแบบกดปุ่ม พื้นฝาตู้ตัดเป็นxxxxxxx มีสัดส่วนเหมาะสมสำหรับติดตั้งเครื่องมือแสดงค่าทางไฟฟ้า โดยติดกรอบยางหรือวัสดุอื่นๆที่มีคุณภาพดีกว่าหรือ เทียบเท่าที่ขอบช่องสำหรับติดตั้งเครื่องมือแสดงค่าทางไฟฟ้า พร้อมแสดงชื่อของเครื่องมือนั้นๆ โดยพิมพ์ชื่อลงบน Sticker อย่างหนาที่ทนต่อการฉีกขาด ติดในบริเวณใต้เครื่องมือแสดงค่าทางไฟฟ้าอย่างครบถ้วน
10.3 ติดตั้งเครื่องมือแสดงค่าทางไฟฟ้า บนฝาตู้และเดินสายวงจรไฟฟ้าภายในตู้เป็นxxxxxxxxxxxxxx และปลอดภัย โดยมีเครื่องมือดังนี้
10.3.1 DC Volt meter, DC Amp meter แสดงค่ากระแสและแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงชั่วขณะที่ ออกจากชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์แต่ละชุด
10.3.2 AC Volt meter, AC Amp meter แสดงค่ากระแสและแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับค่า ชั่วขณะที่ออกจากอินเวอร์เตอร์
10.3.3 Frequency meter or Hertz meter แสดงค่าความถไี่ ฟฟ้าที่ Output อินเวอร์เตอร์
10.3.4 Power factor meter แสดงค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ที่ Output อินเวอร์เตอร์
10.3.5 AC Watt meter แสดงค่ากำลังไฟฟ้าจ่ายออกค่าชั่วขณะที่ Output อินเวอร์เตอร์
10.3.6 AC kWh meter แสดงค่าพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับสะสม ที่อินเวอร์เตอร์จ่ายให้แก่ภาระ
ไฟฟ้าทั้งหมด
10.4 เครื่องมือที่ใช้แสดงค่าทางไฟฟ้าตามข้อ 10.3 กำหนดให้มี Accuracy class ไม่เกิน 2.5 มีพิกัด
ทางไฟฟ้าและช่อง Scale ที่เหมาะสมกับขนาดทางไฟฟ้าที่ตรวจวัด เป็นอุปกรณ์ที่มีคุณภาพได้รับการรับรองหรือผลิต ตามมาตรฐาน DIN หรือ JIS หรือ IEC หรือ IEEE เป็นต้น
11. ส่วนควบคุมระบบและเก็บแบตเตอรี่ จำนวน 1 แห่งต่อระบบ ต้องจัดทำรายละเอียดแบบของพื้นที่ห้องหรือส่วนควบคุมระบบฯและเก็บแบตเตอรี่ที่ต้องก่อสร้าง พร้อม
รายการคำนวณโครงสร้าง และมีวิศวกรสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุมระดับภาคีวิศวกรขึ้นไป ลงนามรับรอง พร้อมผู้เขียนและผู้ตรวจสอบลงนาม ในไตเติ๊ลบล๊อค(หัวแบบ)ขนาด
9.5 X 5.5 ซม ด้านล่างมุมขวามือของแบบทุกแผ่น ในกระดาษขนาด เอ.3 เสนอให้คณะกรรมการตรวจการxxxx พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนxxxxxxการก่อสร้าง อย่างไรก็ตาม ผู้xxxxxxx ขอxxxxxxxxxxในการปรับปรุงรูปแบบและ รายละเอียด หรืออาจเลือกใช้รูปแบบและรายละเอียดตามที่ผู้xxxxxxxกำหนดภายหลังก็ได้ รูปแบบชุดโครงสร้างฯ มี รายละเอียดดังนี้
- ขนาดของอาคารมีเนื้อที่ใช้สอยไม่น้อยกว่า 7.5 ตารางเมตร
- โครงสร้างของอาคารเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก
- ผนังคอนกรีตบล็อกพร้อมฉาบภายในและภายนอกและทาสี
- โครงหลังคาเหล็กทาสีกันสนิมและทาทับด้วยสีน้ำมัน 2 ครั้ง มุงด้วยกระเบื้องxxxxxx ขนาด 0.50 x 1.20 ม.หนา 5 มม. มาตรฐาน มอก
12. แผ่นป้าย จำนวน 3 รายการ ต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้
12.1 แผ่นป้ายชื่อโครงการพร้อมเสาป้าย จำนวน 2 ชุด ต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้
12.1.1 แผ่นป้ายทำด้วยเหล็กแผ่นเรียบ ขนาด 120 x 240 เซนติเมตร ความหนาไม่น้อยกว่า
2.0 มิลลิเมตร
12.1.2 ขัดพื้นและพ่นสีกันสนิมคุณภาพดี 2 ครั้ง ก่อนพ่นสีพื้นเป็นสีเขียว ชนิดที่มีคุณภาพสูงใช้
งานกลางแจ้ง xxxxxxทนแดดและฝนอย่างน้อย 2 ครั้ง
12.1.3 ขนาดตัวxxxxxในแต่ละป้ายชื่อโครงการให้ มีความเหมาะสมกับขนาดของแผ่นป้าย โดย มีข้อความตามตัวอย่างในรูปที่ 2 ซึ่งตัวxxxxxเป็น Sticker สีขาวชนิดใช้งานกลางแจ้ง มีความทนทานต่อแดด และฝนได้นาน ไม่น้อยกว่า 2 ปี
12.1.4 ด้านหลังของป้ายเชื่อมติดกับโครงเหล็กสี่เหลี่ยมขนาด 1x1 นิ้ว ความหนา 2.3
xxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 2 ช รูปที่ 3
ก่อนพ่นสีพื้นเป็นสีเขียวอย่างน้อย 2 ครั้ง มีลักษณะเป็นไปตามแบบใน
12.1.5 เสาป้าย จำนวน 2 ต้น ทำด้วยท่อเหล็กอาบสังกะสีชนิดหนา ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 นิ้ว ยาวท่อนละ 3.50 เมตร พ่นหรือทาด้วยสีขาวที่มีคุณสมบัติใช้งานกลางแจ้งxxxxxxทนต่อแดดและฝน จำนวนอย่างน้อย 3 ชั้น หัวเสาด้านบนสวมด้วยไม้กลึง หรือวัสดุอื่นที่มีคุณสมบัติเทียบเท่าหรือดีกว่า ตามแบบ รูปที่ 3 ทาด้วยสีขาวยึดด้วยตะปูเกลียว
12.1.6 วัสดุ อุปกรณ์ สำหรับยึดเสาป้ายและแผ่นป้ายเป็นวัสดุทำจากxxxxxxx
12.2 แผ่นป้ายอธิบายข้อมูลทางเทคนิค พร้อมเสาป้าย จำนวน 1 ชุด ต่อระบบ มีรายละเอียด ดังนี้
12.2.1 แผ่นป้ายทำด้วยเหล็กแผ่นเรียบ ขนาดไม่น้อยกว่า 80x120 เซนติเมตร ความหนาไม่ น้อยกว่า 2.0 มิลลิเมตร ขัดพื้นก่อนพ่นสีกันสนิมคุณภาพดี 2 ครั้ง และพ่นสีพื้นเป็นสีเขียวอย่างน้อย 2 ครั้ง ชนิดคุณสมบัติใช้งานกลางแจ้ง xxxxxxทนต่อแดดและฝน
12.2.2 ข้อความอธิบายข้อมูลทางเทคนิคของระบบฯ อย่างน้อยต้องระบุ ขนาดกำลังไฟฟ้า สูงสุดของชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ข้อมูลทางเทคนิคของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ลักษณะการต่อวงจรชุดแผง เซลล์แสงอาทิตย์ และอื่นๆ เป็นต้น
12.2.3 ขนาดตัวxxxxxต้องมีความเหมาะสม xxxxxxมองเห็นได้xxxxxxxxxระยะห่างไม่ต่ำกว่า 5
เมตร ตัวxxxxxและลายเส้นเป็น Sticker สีขาวชนิดใช้งานกลางแจ้ง xxxxxxทนแดดและฝนได้
12.2.4 แผ่นป้ายติดตั้งบนเสาท่อเหล็กอาบสังกะสีทาสีขาว เชื่อมปิดปลายหัวเสาจำนวน 2 ต้น โดยความสูงของเสาและแผ่นป้ายอยู่ในระดับสายตา กำหนดตำแหน่งติดตั้งโดยผู้ควบคุมงานหรือกรรมการตรวจการ xxxx
12.2.5 วัสดุ อุปกรณ์สำหรับยึดเสาและแผ่นป้ายเป็นวัสดุทำจากxxxxxxx
12.3 แผ่นป้ายแสดงขั้นตอนการใช้งาน จำนวน 1 ชุด ต่อระบบ มีรายละเอียด ดังนี้
12.3.1 แผ่นป้าย มีขนาดไม่น้อยกว่า 30x40 เซนติเมตร ทำจากแผ่นพลาสติกแข็งมีความหนาไม่ น้อยกว่า 3 มิลลิเมตร หรือวัสดุอื่นxxxxxกว่าหรือเทียบเท่า ใช้ติดตงั้ ในตำแหน่งที่เหมาะสมภายในโรงคลุมอุปกรณ์
12.3.2 ข้อความบนแผ่นป้าย ประกอบด้วย ขั้นตอนการใช้งานเปิด -ปิดเครื่อง การดูแล บำรุงรักษาระบบและอุปกรณ์ ข้อควรระวังและการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นที่สำคัญ และอื่นๆ โดยมีข้อความอธิบายและ รูปภาพแสดงประกอบ
13. อุปกรณ์อื่นๆ จำนวน 1 ชุด มีรายละเอียดดังนี้
13.1 อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ มีคุณลักษณะxxxxเดียวกับข้อกำหนด ก. ข้อ 3 จำนวน 2 เครื่อง
13.2 อินเวอร์เตอร์ มีคุณลักษณะxxxxเดียวกับ ข้อกำหนด ก. ข้อ 4 จำนวน 2 เครื่อง
13.3 อุปกรณ์ป้องกันคลื่นไฟฟ้ากระโชก มีคุณลักษณะxxxxเดียวกับข้อกำหนด ก. ข้อ 5 จำนวน 2 เครื่อง
13.4 Safety Switch มีคุณลักษณะxxxxเดียวกับข้อกำหนด ก. ข้อ. 9.1 จำนวน 2 ตัว
14. ชุดอุปกรณ์ซ่อมบำรุงรักษาระบบฯ แบบกระเป๋าหิ้ว (Tool Kit) จำนวน 1 ชุดต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้
14.1 มีอุปกรณ์และเครื่องมือซ่อมบำรุงทางไฟฟ้าที่มีคุณภาพสูงอย่างครบถ้วน ดังนี้
14.1.1 คีมผลิตจากเหล็ก Carbon Steel หรือดีกว่านั้น ประกอบด้วยคีมอเนกประสงค์ ขนาด ไม่น้อยกว่า 6 นิ้ว คีมปอกสายไฟ ขนาดไม่น้อยกว่า 6 นิ้ว คีมปากแหลม ขนาดไม่น้อยกว่า 6 นิ้ว
14.1.2 ไขควงงานช่าง ผลิตจากเหล็กคุณภาพสูง Chrome Vanadium Molybdenum Alloy Steel ประกอบด้วย ไขควงสลับด้ามชนิดปลายแบนและปลายแฉก มีความยาวไม่น้อยกว่า 8 นิ้ว จำนวน 1 ชุด
14.1.3 ไขควงงานไฟฟ้า ประกอบด้วย ไขควงทดสอบไฟฟ้า มีพิกัดแรงดันทดสอบ ไม่น้อย กว่า 600 Va.c. ไขควงแบบปลายแฉก ขนาด 8นิ้ว และขนาด 10 นิ้ว และแบบปลายแบน ขนาด 8 นิ้ว และขนาด10 นิ้ว จำนวนแบบละ 1 ชุด และค้อนช่างไฟฟ้า ขนาดน้ำหนักหัวxxxxxxxน้อยกว่า 300 กรัม
14.1 .4 ประแจปากตาย ผลิตจากเหล็ก Chrome Vanadium Steel หรือดี ก ว่านั้ น ประกอบด้วยประแจขนาดตั้งแต่ 6 - 19 มิลลิเมตร จำนวน 1 ชุด หรือไม่น้อยกว่า 6 ตัว ต่อชุด
14.2 มีเครื่องมือวัดไฟฟ้า Digital Multimeter อย่างน้อยต้องมีคุณสมบัติ ประกอบด้วย
14.2.1 พิกัดวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับสูงสุด ไม่น้อยกว่า 600 V.
14.2.2 พิกัดวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงสูงสุด ไม่น้อยกว่า 600 V.
14.2.3 พิกัดวัดค่ากระแสไฟฟ้าสลับ ไม่น้อยกว่า 10 A.
14.2.4 พิกัดวัดค่ากระแสไฟฟ้ากระแสตรง ไม่น้อยกว่า 10 A.
14.2.5 พิกัดวัดค่าความต้านทานทางไฟฟ้า ไม่น้อยกว่า 30 เมกกะโอห์ม (M ohm)
14.2.6 พิกัดวัดความถี่ไฟฟ้าสูงสุด ไม่น้อยกว่า 100 กิโลเฮิร์ท (100 kHz)
14.2.7 มีสวิทช์ปิด – เปิดเครื่อง และใช้พลังงานจากแบตเตอรี่
14.3 มีกระเป๋าหรือกล่องสำหรับใส่อุปกรณ์ซ่อมบำรุงทั้งหมดได้อย่างเป็นxxxxxxx และมีความแข็งแรง ทนทานยากต่อการฉีกขาด
15. อุปกรณ์บันทึกและxxxxxxผลข้อมูล จำนวน 1 ชุด ประกอบด้วย
15.1 อุปกรณ์บันทึกข้อมูลอัตโนมัติ มีรายละเอียดดังนี้
15.1.1 เป็นอุปกรณ์บันทึกและxxxxxxผลข้อมูลทางด้านวิศวกรรมที่เป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปจาก ผู้ผลิตที่มีเครื่องหมายการค้าจดทะเบียน และเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเครื่องหมายการค้า รุ่น (Model) ซึ่งมีจำหน่ายใน ท้องตลาด
15.1.2 มีหน้าจอชนิด TFT Color Liquid Crystal Displays ขนาดไม่น้อยกว่า 8.5 นิ้ว แสดงผล ข้อมูลเป็นภาพสี xxxxxxแสดงผลการปรับตั้ง การตรวจวัดข้อมูลต่าง ๆ
15.1.3 เป็นเครื่องบันทึกข้อมูลที่รับสัญญาณ Analog มีช่อง Universal Input ไม่น้อยกว่า 12
Channels
15.1.4 มีหน่วยความจำภายใน Internal Memory ไม่น้อยกว่า 50 MB พร้อม Recycling Mode
15.1.5 มีช่องบันทึกข้อมูล Removable Storage Media xxxx Compact Flash ขนาด 100 MB
หรือดีกว่า xxxxxxบันทึกผลข้อมูลได้ทันทีหรือบันทึกจาก Internal Memory อย่างต่อเนื่องโดยอัตโนมัติ
15.1.6 xxxxxxบันทึกข้อมูลเก็บภายในเครื่องโดยไม่สูญหายหากไฟฟ้าดับ
15.1.7 มี Standard Software เฉพาะรุ่นของอุปกรณ์บันทึกฯ สำหรับบันทึกและ xxxxxxผลข้อมูล มีฟังค์ชั่นการคำนวณ และxxxxxxแสดงผลในรูปแบบต่างๆ xxxx ข้อมูลแบบตัวเลข รูปกราฟแบบ ต่างๆ และxxxxxxใช้ Standard Software เฉพาะของอุปกรณ์บันทึกฯ ติดตั้งบน Personal Computer สำหรับ การxxxxxxผลและแสดงผลข้อมูลได้
15.1.8 มีฟังก์ชั่xxxxxxxxxxกำหนดบันทึกข้อมูลเป็นค่าเฉลี่ยที่อ่านจากค่าชั่วขณะ ในช่วง เวลาต้องการได้อย่างต่อเนื่อง ตามที่ผู้ใช้งานกำหนด
15.1.9 เป็นอุปกรณ์ที่มีมาตรฐานความปลอดภัยตาม EN Standard และ Front panel
xxxxxxป้องกันสิ่งรบกวนจากภายนอก ตามมาตรฐาน IEC 529 ที่ Index of Protection, IP 65 หรือดีกว่า
15.1.10 มีอุปกรณ์xxxxxประกอบด้วย สื่อบันทึกข้อมูล Removable Storage Media ขนาด ไม่น้อยกว่า 100 MB จำนวน 2 ชุด และอุปกรณ์ในการต่อเชื่อม Port ถ่ายโอนข้อมูลเข้า Personal Computer ครบถ้วน
15.1.11 มีระบบพลังงานxxxxx (UPS) ขนาดไม่น้อยกว่า 1,000 วัตต์ ทำงานอย่าง อัตโนมัติ กรณีระบบไฟฟ้าของเซลล์แสงอาทิตย์ขัดข้อง โดยxxxxxx Back up การทำงานอุปกรณ์บันทึกและ xxxxxxผลและไพรานอมิเตอร์ได้
15.2 อุปกรณ์รับและแปลงสัญญาณ (Sensor & Transducer) ประกอบด้วย
15.2.1 ตัวรับสัญญาณวัดค่าความเข้มแสงอาทิตย์ (Pyranometer) เป็นเครื่องวัดพร้อมสาย นำสัญญาณ สำหรับตรวจวัดค่าความเข้มแสงอาทิตย์บนแผงเซลล์ฯ จำนวน 1 จุด มีรายละเอียดดังนี้
1) เป็นชนิด Xxxxxxxxxx xxxมี Thermocouple Sensor เคลือบฝังบน Thick film substrate ไม่น้อยกว่า 100 ตัว
2) ด้านบนครอบด้วยโดมแก้ว 2 ชั้น
3) xxxxxxวัดค่า Solar Irradiance ได้ในช่วง 0-1400 W/m2
4) มี Flat Response ต่อสเปกตรัม ในช่วง 310-2800 nm. หรือดีกว่า
5) มีค่า Sensitivity ไม่น้อยกว่า 4 μV/W-m-2
15.2.2 Ambient temperature sensor & transducer เป็นเครื่องวัดพร้อมสายนำ สัญญาณ สำหรับตรวจวัดอุณหภูมิแวดล้อม จำนวน 1 จุด
15.2.3 Front PV panel temperature sensor & transducer เป็นเครื่องวัดพร้อม สายนำสัญญาณ สำหรับตรวจวัดอุณหภูมิผิวด้านหน้าแผงเซลล์ฯ จำนวน 1 จุด
15.2.4 Back PV panel temperature sensor & transducer เป็นเครื่องวัดพร้อม สายนำสัญญาณ สำหรับตรวจวัดอุณหภูมิผิวด้านหลังแผงเซลล์ฯ จำนวน 1 จุด
15.2.5 DC Current transducer เป็นเครื่องวัดพร้อมสายนำสัญญาณ สำหรับตรวจวัด กระแสไฟฟ้าที่จ่ายออกจากชุดแผงเซลล์ฯ จำนวน 1 จุด และกระแสไฟฟ้าประจุแบตเตอรี่ จำนวน 1 จุด
15.2.6 DC Voltage transducer เป็นเครื่องวัดพร้อมสายนำสัญญาณ สำหรับตรวจวัด แรงดันไฟฟ้าที่จ่ายออกจากชุดแผงเซลล์ฯ จำนวน 1 จุด และแรงดันไฟฟ้าประจุแบตเตอรี่ จำนวน 1 จุด
15.2.7 AC Current transducer เป็นเครื่องวัดพร้อมสายนำสัญญาณ สำหรับตรวจวัด กระแสไฟฟ้าที่จ่ายออกจากอินเวอร์เตอร์ จำนวน 1 จุด
15.2.8 AC Voltage transducer เป็นเครื่องวัดพร้อมสายนำสัญญาณ สำหรับตรวจวัด แรงดันไฟฟ้าที่จ่ายออกจากอินเวอร์เตอร์ จำนวน 1 จุด
15.2.9 Power Factor transducer เป็นเครื่องวัดพร้อมสายนำสัญญาณ สำหรับ ตรวจวัดค่า Power factor ด้านจ่ายออกของอินเวอร์เตอร์ จำนวน 1 จุด
15.2.10 อุปกรณ์ตามข้อ 15.2.2 – 15.2.9 เป็นชนิดที่xxxxxxแปลงสัญญาณตรวจวัดและ ส่งสัญญาณ Output เป็นชนิดกระแสมาตรฐาน 4-20 mA
15.2.11 เป็นอุปกรณ์ที่xxxxxxส่งสัญญาณ Output เพื่อบันทึกและxxxxxxผลใน
อุปกรณ์ตามข้อ 15.1 ได้
15.3 มีxxxxxxxxxxxแสดงรายละเอียดวงจรการติดตั้งอุปกรณ์ ข้อ 15.1 และข้อ 15.2 ที่ถูกต้อง
xxxxxxx รายการข้อกำหนดประกอบการก่อสร้างอื่น
1. ผู้รับจ้างต้องเสนอรายชื่อผู้จัดการโครงการ จำนวน 1 คน ต้องเป็นผู้ที่มีคุณวุฒิการศึกษาด้าน วิศวกรรมศาสตร์ มีประสบการณ์เคยผ่านงานบริหารโครงการในลักษณะเดียวกันหรือใกล้เคียงกับโครงการนี้ ไม่น้อย กว่า 3 ปี เป็นเจ้าหน้าที่ประจำของผู้รับจ้าง เสนอให้ผู้xxxxxxx พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยแนบประวัติการศึกษา พร้อมสำเนารายงานผลการศึกษา รายละเอียดผลงานประสบการณ์ และหนังสือยืนยันรับเป็นผู้จัดการโครงการ เพื่อ ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้กำกับ ดูแลการxxxxxxงานโครงการและxxxxxxงานกับผู้xxxxxxx
2. ผู้รับจ้างต้องเสนอรายชื่อวิศวกรควบคุมโครงการ ต้องเป็นผู้ที่มีคุณวุฒิการศึกษาระดับxxxxxxตรีขึ้น ไป สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า อย่างน้อย 1 คน และสาขาวิศวกรรมโยธา อย่างน้อย 1 คน และเป็น ผู้xxxxxxรับใบอนุญาต เป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวิศวกรขึ้นไป เป็นเจ้าหน้าที่ประจำของ ผู้รับจ้าง เสนอให้ผู้xxxxxxx พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยแนบประวัติการศึกษาพร้อมสำเนารายงานผลการศึกษา สำเนาใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพ และหนังสือยืนยันรับเป็น วิศวกรควบคุมโครงการ เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในการควบคุมการxxxxxxโครงการให้ เป็นไปตามแบบ รูปแบบและรายการข้อกำหนดของสัญญา
3. ผู้รับจ้างต้องเสนอรายชื่อช่างควบคุมงาน ต้องเป็นผู้ที่มีคุณวุฒิการศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวส.) ขึ้นไป สาขาช่างไฟฟ้า อย่างน้อย 1 คน และสาขาช่างโยธา อย่างน้อย 1 คน กำหนดให้รับผิดชอบ ควบคุมงาน เสนอให้ผู้xxxxxxxพิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยจัดทำตารางแสดงรายละเอียดระบุชื่อช่างควบคุมงาน พร้อมแนบสำเนาใบรายงานผลการศึกษา หนังสือยืนยันรับเป็น ผู้ควบคุมงาน เพื่อปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ควบคุมงานฝ่ายผู้ รับจ้าง และจัดทำสรุปรายงานความxxxxxxxxการxxxxxxงาน ปัญหาและอุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมแนวทางแก้ไขเสนอต่อผู้ ควบคุมงานของผู้xxxxxxxทุกสัปดาห์ ตั้งแต่เริ่มxxxxxxงานก่อสร้างติดตั้งระบบฯ จนแล้วเสร็จพร้อมส่งมอบ
4. ผ ับxxxxต้องเสนอรายละเอียดด้านการติดตั้งให้ครบถ้วนก่อนการxxxxxxการ
5. ผู้รับจ้างต้องมอบหมายวิศวกรโยธาxxxxxxรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับ ภาคีวิศวกรขึ้นไป ตรวจสอบสภาพพื้นที่ ที่จะทำการก่อสร้างพื้นที่ห้องหรือส่วนควบคุมระบบฯและเก็บแบตเตอรี่ พร้อมทั้งออกหนังสือรับรองการรับน้ำหนักของพื้นที่และต้องเสนอแนวทางปรับปรุง แก้ไขพื้นที่ก่อสร้างให้xxxxxx รองรับน้ำหนักของสิ่งก่อสร้างได้อย่างปลอดภัย ในกรณีพื้นที่ไม่xxxxxxรับน้ำหนักการก่ อสร้างได้อย่างปลอดภัย เสนอต่อผู้xxxxxxx พิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนxxxxxxการก่อสร้างทุกแห่ง กรณีมีข้อสงสัยxxxxxxเข้าใจคลาดเคลื่อน ในแบบก่อสร้าง ผู้รับจ้างต้องแจ้งให้ผู้ควบคุมงานของผู้xxxxxxxหรือคณะกรรมการตรวจการxxxx ผู้xxxxxxxพิจารณาให้ ความเห็นและข้อแนะนำก่อนxxxxxxการก่อสร้าง
6. ผ ับxxxx xxxxxxxxxxxxxxxการก่อสร้างและติดตั้งระบบฯ ก่อนได้รับความเห็นชอบในรายงานผลการ
สำรวจพื้นที่ตามข้อกำหนด ข. ข้อ 3 และก่อนได้รับอนุมัติในแผนปฏิบัติงานตามข้อกำหนด ข. ข้อ 5 จากผู้xxxxxxx มิฉะนั้นผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบในการแก้ไขหรือรื้อถอน เปลี่ยนแปลงวัสดุ อุปกรณ์ที่ก่อสร้างและติดตั้งไปแล้วทั้งหมด โดยที่ผู้รับจ้างไม่xxxxxxเรียกร้องค่าชดเชยจากกรมแต่อย่างใด
7. ผู้รับจ้างต้องเสนอให้ผู้ควบคุมงานของผู้xxxxxxx หรือ ผู้ได้รับมอบหมายจากผู้ควบคุมงานของกรม เป็นผู้กำหนดตำแหน่งและแผนผังการก่อสร้างและติดตั้งระบบฯ ในพื้นที่จริงแต่ละแห่ง และเป็นผู้กำหนดรูปแบบการ ปรับปรุงสภาพพื้นที่ เพื่อความเหมาะสมในการก่อสร้างและติดตั้งระบบฯ
8. ผู้รับจ้างต้องxxxxxxการทดสอบอุปกรณ์หลัก จำนวน 4 รายการ ประกอบด้วย 1) แผงเซลล์
แสงอาทิตย์ 2) อินเวอร์เตอร์ 3) แบตเตอรี่ 4) ชุดควบคุมการประจุแบตเตอรี่ โดยผรับxxxx ต้องแจ้งต่อผxxxxx xxxx เพื่อ
มอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้xxxxxxx xxxxxxการสุ่มตัวอย่างอุปกรณ์ จำนวนร้อยละ 3 ของแต่ละชนิดอุปกรณ์ (ยกเว้น แผง เซลล์แสงอาทิตย์ กำหนดตามข้อกำหนด ข.ข้อ16)
9. ผู้รับจ้างต้องติดต่อจัดหาหน่วยงานที่จะทดสอบอุปกรณ์หลัก โดยต้องเป็นมหาวิทยาลัย หรือหน่วยงาน ในกำกับมหาวิทยาลัยของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ ที่มีห้องทดสอบอุปกรณ์ทางไฟฟ้า และมีเครื่องมือ อุปกรณ์ ตรวจวัดข้อมูลที่มีความพร้อมxxxxxxxxxxxxการทดสอบอุปกรณ์ได้ โดยให้เสนอรายชื่อหน่วยงานจะทดสอบอุปกรณ์
ดังกล่าวพร้อมแสดงรายxxxxxxxxxxทดสอบ ประกอบด้วย 1) เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ทดสอบ 2) วิธีการและ
ขั้นตอนการทดสอบตรวจวัดคุณสมบัติอุปกรณ์ตามระบุในข้อกำหนด 3) มาตรฐานอ้างอิง (ถ้ามี) 4) ข้อมูลที่แสดง ในรายงานผลทดสอบ เสนอให้ผู้xxxxxxxพิจารณาให้ความเห็นชอบ ภายใน 15 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา และผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบในการจัดส่งอุปกรณ์ที่สุ่มตัวอย่างแล้วตามข้อกำหนด ข. ข้อ 13 ให้หน่วยงานทดสอบ xxxxxxการตามรายxxxxxxxxxxทดสอบxxxxxxรับความเห็นชอบ และให้หน่วยงานทดสอบรายงานผลการทดสอบ ซึ่งลง นามรับรองโดยผู้xxxxxxxลงนามของหน่วยงาน แจ้งต่อผู้xxxxxxxโดยตรง
10. การพิจารณาผลการทดสอบอุปกรณ์หลัก (ยกเว้นแผงเซลล์แสงอาทิตย์ กำหนดตามข้อกำหนด ข.ข้อ )
มีเงื่อนไขประกอบด้วยกัน ดังนี้
10.1 อุปกรณ์หลักที่สุ่มตัวอย่างตามเงื่อนไขกำหนด ข. ข้อ 13 จะต้องมีผลการทดสอบ คุณสมบัติเฉพาะของอุปกรณ์แต่ละรายการ ถูกต้องครบถ้วนและเป็นไปตามเงื่อนไขกำหนดทุกข้อ
10.2 กรณีผลการทดสอบอุปกรณ์หลักรายการใด มีคุณสมบัติเฉพาะไม่เป็นไปตามเงื่อนไขกำหนด ข้อใดข้อหนึ่ง จะxxxxxxอุปกรณ์รายการนั้นมีคุณสมบัติไม่ผ่านเกณฑ์และไม่เป็นไปตามข้อกำหนด ให้ผู้รับจ้างต้องจัดหา อุปกรณ์ชุดใหม่ ซึ่งเป็นชนิดและรุ่นเดียวกันพร้อมทั้งแจ้งผู้xxxxxxxxxxxxxการสุ่มตัวอย่าง เพื่อทดสอบโดยหน่วยงานและ วิธีการตามเงื่อนไขเดิมจนผ่านเกณฑ์กำหนด โดยผู้รับจ้างไม่xxxxxxใช้ระยะเวลาที่สูญเสียเนื่องจากการจัดหาและ ทดสอบอุปกรณ์ชุดใหม่เป็นข้ออ้างในการขอขยายอายุสัญญา
กรณีอุปกรณ์หลักรายการใด มีผลการทดสอบคุณสมบัติไม่ผ่านเกณฑ์และไม่เป็นไปตาม ข้อกำหนดในครั้งที่ 2 ผู้รับจ้างxxxxxxเปลี่ยนยี่ห้อ รุ่น อุปกรณ์โดยเสนอให้กรมพิจารณาให้ความเห็นชอบ แต่ทั้งนี้ ผู้รับจ้างต้องได้รับความเห็นชอบในคุณสมบัติเบื้องต้นอุปกรณ์ที่ขอxxxxxxxxxxx และต้องxxxxxxการทดสอบคุณสมบัติ ตามข้อกำหนด ข. ข้อ 13 และข้อ 14 xxxxกัน และกำหนดเกณฑ์พิจารณาผลการทดสอบxxxxเดียวกับข้อกำหนด ข. ข้อ 15.1 และข้อ 15.3 โดยผู้รับจ้างไม่xxxxxxอ้างเอาระยะเวลาที่สูญเสียไปเนื่องจากการจัดหาอุปกรณ์ยี่ห้อใหม่ xxxx xxxxและการxxxxxxการทดสอบ เป็นเหตุในการขอขยายอายุสัญญา
10.3 ผู้รับจ้างxxxxxxนำอุปกรณ์หลักที่ต้องทดสอบคุณสมบัติเฉพาะและอยู่ระหว่างการพิจารณา ผลการทดสอบ นำไปติดตั้งในพื้นที่เป้าหมายได้หากxxxxxxxจะxxxxxxการ แต่ทั้งนี้ หากผลการทดสอบอุปกรณ์ใดที่ นำไปติดตั้งแล้ว มีคุณสมบัติไม่ผ่านเกณฑ์ตามข้อกำหนดข้อใดข้อหนึ่ง ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการ xxxxxxงานเปลี่ยนและติดตั้งอุปกรณ์ชุดใหม่xxxxxxรับความเห็นชอบในผลการทดสอบแล้ว โดยที่ผู้รับจ้างไม่xxxxxx เรียกร้องค่าใช้จ่ายใดๆ ที่xxxxxขึ้นจากการxxxxxxงานดังกล่าวจากผู้xxxxxxxxxx
11. ผู้รับจ้างต้องxxxxxxการทดสอบคุณสมบัติแผงเซลล์แสงอาทิตย์ โดยหน่วยงานxxxxxxรับความเห็นชอบตาม ข้อกำหนด ข.ข้อ 14 และxxxxxxการสุ่มตัวอย่างแผงเซลล์แสงอาทิตย์ตามข้อกำหนด ข.ข้อ 13 จำนวนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 5 ของจำนวนแผงเซลล์ฯ ทั้งหมดของโครงการ โดยผู้xxxxxxx กำหนดให้xxxxxxการทดสอบและกำหนดเกณฑ์ พิจารณาผลการทดสอบ ทุกข้อประกอบด้วยกัน ดังนี้
11.1 การทดสอบหาค่ากำลังไฟฟ้าสูงสุด (Maximum power determination) ตามมาตรฐาน IEC 61215 ข้อ 10.2 หรือ IEC 61646 (กรณีเป็นแผงเซลล์ฯ ประเภทฟิล์มบาง ชนิด Amorphous silicon หรือฟิล์ม บางชนิดอื่นที่มิใช่ Amorphous silicon) โดยมีเกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้
11.1.1 ค่ากำลังไฟฟ้าสูงสุดxxxxxxจากการทดสอบแผงเซลล์ฯ ที่สุ่มตัวอย่างแต่ละแผง กำหนดให้มีค่าต่ำกว่าที่กำหนดไว้ในรายละเอียดผลิตภัณฑ์ ไม่เกินร้อยละ 10 หากพบว่าแผงที่สุ่มตัวอย่างแผงใดแผง หนึ่ง ทดสอบแล้วแสดงค่ากำลังไฟฟ้าสูงสุดต่ำกว่าร้อยละ 10 กำหนดให้ผู้รับจ้างต้องxxxxxxการทดสอบแผงเซลล์ฯ ของโครงการทุกแผง และคัดเลือกเอาเฉพาะแผงเซลล์ ฯ ที่ผ่านตามเงื่อนไขที่กำหนดนี้เท่านั้นจนครบจำนวนที่ต้องการ
11.1.2 ค่าเฉลี่ยกำลังไฟฟ้าสูงสุดของแผงเซลล์ฯ xxxxxxจากผลการทดสอบตัวอย่างแผงเซลล์ ฯ กำหนดเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาค่ากำลังไฟฟ้าสูงสุดของแผงเซลล์ฯ ชนิดและรุ่นนั้น ๆ เฉพาะในโครงการนี้เท่านั้น xxxx ผู้รับจ้างเสนอแผงเซลล์ฯ ขนาดกำลังไฟฟ้าสูงสุด 100 วัตต์ แต่ผลจากการทดสอบค่ากำลังไฟฟ้าสูงสุดแผงเซลล์ฯ
ท ุ่มตัวอย่างจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 พบว่า มีค่าเฉลี่ยกำลังไฟฟ้าสูงสุดเพียง 95 วัตต์ (ลดลงร้อยละ 5) กรมจะ
กำหนดให้แผงเซลล์ฯ ที่ผู้รับจ้างเสนอมีกำลังไฟฟ้าสูงสุด 95 วัตต์ เท่านั้น มิใช่ 100 วัตต์ ตามที่ผู้รับจ้างเสนอ
11.1.3 ในกรณีค่าเฉลี่ยกำลังไฟฟ้าสูงสุดของตัวอย่างแผงเซลล์ฯ xxxxxxจากการทดสอบนี้ มีผลให้ค่า กำลังไฟฟ้าสูงสุดของระบบฯ ตามข้อกำหนด ก. ข้อ 1.1 ลดลง ผู้รับจ้างจะต้องจัดหา แผงเซลล์ฯ ที่เป็นชนิดและรุ่น เดียวกันติดตั้งเพิ่มเติมให้กำลังไฟฟ้าสูงสุดของระบบฯ ทุกระบบไม่น้อยกว่าข้อกำหนดดังกล่าว พร้อมทั้งต่อวงจร อนุกรมชุดแผงเซลล์ฯ ทุกสาขา (String) ให้ครบถ้วน ถูกต้องตามหลักวิชาการ ทั้งนี้ ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่าย ในการxxxxxxงานดังกล่าว โดยไม่xxxxxxเรียกร้องเอาจากกรมและไม่xxxxxxอ้างเอาระยะเวลาที่สูญเสียไปในการ จัดหาแผงเซลล์ฯ เพิ่มเติม มาเป็นข้ออ้างในการขอขยายอายุสัญญา ผู้xxxxxxxจะถือเอาค่าเฉลี่ยกำลังไฟฟ้าสูงสุดxxxxxx จากผลการทดสอบตัวอย่างแผงเซลล์ฯ เป็นค่ากำลังไฟฟ้าสูงสุดแผงเซลล์ฯ สำหรับการคำนวณขนาดกำลังไฟฟ้า สูงสุดของระบบฯ ตามข้อกำหนดในการติดตั้ง
11.2 การทดสอบความxxxxxxรับแรงทางกล (Mechanical load test) กำหนดให้แผงเซลล์ฯ จำนวน 1 แผง จากจำนวนแผงเซลล์ฯ ที่สุ่มตัวอย่างทั้งหมด ต้องxxxxxxการทดสอบความxxxxxxรับแรงทางกล ตาม เงื่อนไขการทดสอบตามมาตรฐาน IEC 61215 ข้อ 10.16 และกรมพัฒนาพลังงานxxxxxและxxxxxxxxพลังงานกำหนด เกณฑ์การพิจารณาผลการทดสอบ โดยแผงเซลล์ฯ ที่ทดสอบความxxxxxxรับแรงทางกล ต้องผ่านหลักเกณฑ์การ พิจารณาตามมาตรฐาน IEC 61215 ข้อ 7 ความชำรุดเสียหายหลักที่xxxxxxxxx (Major visual defects) จึงxxxxxxแผง เซลล์ฯ ยี่ห้อ และรุ่น ที่เสนอมีคุณสมบัติตามข้อกำหนด
11.3 การทดสอบรับแรงกระแทกxxxxxxx (Hail Test) กำหนดให้แผงเซลล์ฯ จำนวน 1 แผงจาก แผงเซลล์ฯ ที่สุ่มตัวอย่างทั้งหมดและมิใช่แผงเซลล์ฯ ที่ทดสอบตามข้อ 16.2 ต้องxxxxxxการทดสอบความxxxxxxรับ แรงกระแทกจากxxxxxxx ตามเงื่อนไขการทดสอบตามมาตรฐาน IEC 61215 ข้อ 10.17 และกรมพัฒนาพลังงาน xxxxxและxxxxxxxxพลังงานกำหนดเกณฑ์การพิจารณาผลการทดสอบ โดยแผงเซลล์ฯ ที่ทดสอบความxxxxxxรับแรง กระแทกxxxxxxx ต้องผ่านหลักเกณฑ์การพิจารณาตามมาตรฐาน IEC 61215 ข้อ 7 ความชำรุดเสียหายหลักที่xxxxxx xxx (Major visual defects) จึงxxxxxxแผงเซลล์ฯ ยี่ห้อ และรุ่น ที่เสนอมีคุณสมบัติตามข้อกำหนด
12. ในกรณีที่แผงเซลล์แสงอาทิตย์มิได้เป็นชนิด Crystalline Silicon ผู้รับจ้างจะต้องนำแผงเซลล์ แสงอาทิตย์ที่สุ่มตัวอย่างมาทั้งหมด ให้ผู้ทดสอบติดตั้งไว้กลางแจ้งเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน ก่อนxxxxxxการ ทดสอบ โดยxxxxxxการตามขั้นตอนxxxxเดียวกับตามข้อกำหนด ข.ข้อ 16 และใช้เงื่อนไขการพิจารณาคุณสมบัติ เช่นเดียวกับ ข้อ 16.1 ข้อ 16.2 และข้อ 16.3
13. ชุดโครงสร้างรองรับแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ต้องติดตั้งบนตอม่อคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีความมั่นคง แข็งแรงและถูกต้องตามหลักวิศวกรรม ขนาดตอม่อ ต้องสอดคล้องกับการรับน้ำหนักตามรายการคำนวณข้อกำหนด ก. ข้อ 2 และพื้นบนเสาตอม่อสอดคล้องกับหน้าแปลนล่างของเสารองรับชุดโครงสร้าง
14. การติดตั้งชุดโครงสร้างรองรับแผงเซลล์ฯ และชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ กำหนดให้ติดตั้งหัน ด้านหน้ารับแสงอาทิตย์ทางทิศใต้ และวางเอียงทำมุมกับแนวระนาบทิศเหนือ-ใต้ ประมาณ 15 องศา ตำแหน่งที่ติดตั้ง ต้องอยู่ในที่โล่งไม่เกิดการบังเงาเนื่องจากต้นไม้ อาคารหรือสิ่งกีดขวางอื่นใดบนแผงเซลล์ฯ ตั้งแต่เช้าจรดเย็น และต้อง ปรับระดับพื้นดินบริเวณใต้ชุดแผงเซลล์ฯ ให้เหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ โดยให้อยู่ในดุลพินิจของผู้ควบคุมงานของ ผว่าจาง
15. วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ยึดแผงเซลล์ฯ และที่ใช้ยึดชุดโครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์ฯ จะต้องมีขนาดที่ เหมาะสมและเป็นวัสดุที่ทำจากสแตนเลส และผู้รับจ้างต้องเชื่อมชุดน๊อตที่ใช้สำหรับยึดแผงเซลล์ฯ ทุกตัว โดยเชื่อม BOLT และ NUT ให้ยึดติดกัน
16. ที่ฐานเสาโลหะของชุดโครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์ฯ แต่ละชุดจะต้องต่อหลักดิน (Grounding System) โดยใช้ Ground Rod ชนิดแท่งเคลือบทองแดง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5/8 นิ้ว ยาว 5 ฟุต จำนวน 1 อัน ต่อ 1 ชุดโครงสร้าง ตอกฝังดินในแนวดิ่งโดยระยะห่างระหว่างฐานเสากับ Ground Rod กำหนดรัศมีไม่เกิน 1 เมตร และสายไฟที่ใช้ต่อจาก Ground Rod ไปยังฐานเสา ต้องเป็นสายทองแดง หุ้มฉนวน ขนาดพื้นที่หน้าตัดไม่น้อยกว่า 10 ตารางมิลลิเมตร การยึดขั้วสายไฟกับฐานเสาและขั้วหลักสายดินต้องมั่นคง แข็งแรง
17. อุปกรณ์หลักของระบบฯ ทุกรายการที่มีส่วนประกอบโครงสร้างเป็นโลหะ จะต้องต่อ หลักดิน
(Grounding Equipment) ให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ
18. ผู้รับจ้างจะต้องจัดทำ Single line diagram, Wiring diagram แผนผังการเดินสายไฟฟ้า แผนผังการติดตั้งอุปกรณ์ระบบภายในโรงคลุมอุปกรณ์ และแผนผังการติดตั้งภาระไฟฟ้าภายในอาคารแต่ละหลัง ที่ เป็นระเบียบสวยงาม ถูกต้องตามหลักวิชาการ โดยมีรายละเอียดตามข้อกำหนด ข. ข้อ 30 และจัดส่งให้ผู้ว่าจ้าง พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนดำเนินการติดตั้ง
19. ผู้รับจ้างต้องแสดงรายละเอียดวงจรการเดินสายระบบไฟฟ้าและการคำนวณแรงดันสูญเสียใน สายไฟฟ้า (Voltage drop) เสนอผู้ว่าจ้างพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนการติดตั้งระบบฯ โดยกำหนดให้ในระบบ ไฟฟ้ากระแสตรง (DC side) มีค่าแรงดันไฟฟ้าสูญเสียในสายรวมตลอดวงจรไม่เกินร้อยละ 2 ที่พิกัดกระแสไฟฟ้าสูงสุด (Rated Current หรือ Peak Power point) ที่ผลิตได้จากการต่อวงจรชุดแผงเซลล์ฯ ใช้งานทั้งหมด โดยพิจารณา เทียบกับ Operating Voltage ณ Standard Test Condition ด้านระบบไฟฟ้ากระแสสลับ (AC side) กำหนดให้ มีแรงดันไฟฟ้าสูญเสียใน สายรวมของแต่ละวงจรไม่เกินร้อยละ 2 เมื่อเทียบกับค่าแรงดันไฟฟ้าด้าน Output ของ อินเวอร์เตอร์ขณะจ่ายกระแสไฟฟ้าตามพิกัด
20. การเดินสายต่อวงจรไฟฟ้าระหว่างแผงเซลล์ฯ แต่ละแผง จะต้องต่อวงจรแบบอนุกรมและขนานให้ พิกัดแรงดันไฟฟ้า Output และกระแสไฟฟ้ามีค่าเหมาะสมสอดคล้องกับ Nominal input voltage และ Input current ของอุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ โดยให้ใช้สายไฟฟ้าชนิด THW. แกนเดี่ยว หุ้มฉนวน PVC ขนาด พื้นที่หน้าตัดไม่น้อยกว่า 4 ตารางมิลลิเมตร ซึ่งมีคุณสมบัติใช้งานแรงดัน 750 V. 70 ๐C และได้รับการรับรอง มาตรฐานตาม มอก. 11-2531 โดยต้องแยก Code สีของสายไฟฟ้าให้ถูกต้อง
21. การเดินสายไฟฟ้าระหว่างชุดแผงเซลล์ฯ กับอุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ กำหนดให้ใช้ สายไฟฟ้าชนิด NYY แกนคู่ หุ้มฉนวน PVC ซึ่งมีคุณสมบัติใช้งานที่แรงดัน 750 V. 70 ๐C และได้รับการรับรอง มาตรฐานตาม มอก. 11-2531 ขนาดพื้นที่หน้าตัดไม่น้อยกว่า 4 ตารางมิลลิเมตร โดยให้เดินสายภายในท่อพลาสติก อย่างหนาชนิดสำหรับงานเดินสายไฟฟ้าที่ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน มอก. 216-2524 ฝังอยู่ใต้ดินมีความลึกไม่ น้อยกว่า 50 เซนติเมตร จากผิวดินเดิม จุดต่อสายไฟฟ้าจะต้องต่อบนขั้วต่อสายภายในกล่องรวมสายที่ติดตั้งอย่าง มั่นคง แข็งแรงและปลอดภัยตามหลักวิศวกรรมไฟฟ้า
22. การเดินสายไฟฟ้าระหว่างอุปกรณ์ประกอบระบบฯ แต่ละชนิดภายในอาคารโรงคลุมอุปกรณ์ ให้ใช้ สายไฟฟ้าชนิด THW หรือ VCT มีขนาดทนพิกัดกระแสได้ไม่น้อยกว่า 1.25 เท่า ของกระแสสูงสุดผ่านวงจร โดย
ต้องเดินสายไฟฟ้าภายในท่อหรือราง Wire way ชนิดสำหรับเดินสายไฟฟ้าที่มีขนาดเป็นไปตามหลักวิชาการเดิน สายไฟฟ้าในท่อหรือรางฝาปิด
23. การเดินสายไฟฟ้าระหว่างโรงคลุมอุปกรณ์กับอาคารที่ติดตั้ง Main Load Center กำหนดให้ใช้ สายไฟฟ้าชนิด NYY แกนคู่ หุ้มฉนวน PVC มีคุณสมบัติใช้งานที่แรงดัน 750 V. 70 ๐C และได้รับการรับรองมาตรฐาน ตาม มอก. 11-2531 เดินสายภายในท่อพลาสติกอย่างหนาที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน มอก. 216-2524 โดยฝังอยู่ ใต้ดินมีความลึกไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร จากผิวดินเดิมโดยจัดทำเครื่องหมายที่แข็งแรง ทนทานระบุแนวท่อ สายไฟฟ้าอย่างชัดเจน การต่อสายไฟฟ้าต้องต่อบนขั้วต่อสายภายในกล่องรวมสายที่ติดตั้งอย่างมั่นคง แข็งแรงและ ปลอดภัยตามหลักวิศวกรรมไฟฟ้า ห้ามต่อสายไฟฟ้าช่วงอยู่ในท่อร้อยสายไฟอย่างเด็ดขาด และเมื่อเดินสายไฟฟ้า เรียบร้อยแล้วต้องปิดผนึกปลายท่อ PVC ทั้งสองด้าน ด้วยกาวซิลิโคนป้องกันน้ำและสิ่งแปลกปลอมเข้าในท่อร้อยสาย
กรณีพื้นระหว่างอาคารโรงคลุมอุปกรณ์และอาคารที่ติดตั้ง Main Load Center เป็นพื้นเท คอนกรีตหรือลาดยางแอสฟัลท์ หรือเป็นพื้นหิน ตลอดแนวการเดินสายไฟฟ้า ผู้รับจ้างสามารถเดินสายในอากาศแทน การเดินสายฝังดินได้ โดยให้ใช้สายไฟฟ้า THW ชนิดแกนเดี่ยวหุ้มฉนวน PVC มีคุณสมบัติใช้งานแรงดัน 750 V. 70 ๐ C และได้รับการรับรองมาตรฐานตาม มอก. 11-2531 โดยจุดยึดโยงต้องแข็งแรงและปลอดภัยตามหลักการยึดโยง สายไฟฟ้าระหว่างอาคาร และต้องมีเสาคอนกรีตหรือเสาโลหะติดตั้งลูกถ้วยยึดสายไฟฟ้าทุกระยะ 20 เมตร
24. การเดินสายไฟฟ้าระหว่างอาคารที่ติดตั้ง Main Load Center กับอาคารอื่นๆ กำหนดให้ใช้ สายไฟฟ้า THW ชนิดแกนเดี่ยว หุ้มฉนวน PVC มีคุณสมบัติใช้งานแรงดัน 750 V. 70 ๐C และได้รับการรับรอง มาตรฐานตาม มอก. 11-2531 เดินสายในอากาศโดยจุดยึดโยงต้องแข็งแรงและปลอดภัยตามหลักการยึดโยงสายไฟฟ้า ระหว่างอาคาร และต้องมีเสาคอนกรีตหรือเสาโลหะติดตั้งลูกถ้วยยึดสายไฟฟ้าทุกระยะ 20 เมตร หรือให้ใช้สายไฟฟ้า NYY ชนิดแกนคู่หุ้มฉนวน PVC มีคุณสมบัติใช้งานแรงดัน 750 V. 70 ๐C และได้รับการรับรอง มอก. 11-2531 เดิน สายในท่อพลาสติกอย่างหนาที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน มอก. 216-2524 และวางท่อร้อยสายฝังดินมีความลึกไม่ น้อยกว่า 50 เซนติเมตร จากผิวดินเดิมตลอดระยะทางระหว่างอาคารและให้จัดทำเครื่องหมายที่แข็งแรง ทนทานระบุ แนวท่อสายไฟฟ้าอย่างชัดเจน
25. การติดตั้งระบบไฟฟ้าและการเดินสายภายในอาคาร มีรายละเอียดดังนี้
25.1 ติดตั้งแผงควบคุมไฟฟ้าหลัก (Main Load Center) จำนวน 1 จุด เฉพาะอาคารที่กำหนด เดินสายจ่ายกระแสไฟฟ้าจากโรงคลุมอุปกรณ์ ประกอบด้วยรายละเอียดตามเงื่อนไขข้อกำหนด ก. ข้อ 9.3
25.2 ติดตั้งแผงควบคุมไฟฟ้าย่อย (Sub-load center) ทุกอาคาร ยกเว้นอาคารที่ติดตั้ง Main Load Center ประกอบด้วยรายละเอียดตามเงื่อนไขข้อกำหนด ก. ข้อ 9.4
25.3 ติดตั้งชุดโคมไฟฟ้าแสงสว่างพร้อมอุปกรณ์ตามข้อกำหนด ก. ข้อ 6 ให้เป็นไปตามรูปแบบที่ ได้รับความเห็นชอบแล้ว
25.4 ติดตั้งสวิทช์ 1 ตัว เพื่อควบคุมชุดโคมไฟฟ้าแสงสว่าง จำนวน 1 ชุด
25.5 ติดตั้งเต้ารับไฟฟ้า จำนวน 10 จุด ต่อระบบ โดยเป็นชนิดเต้ารับเดี่ยว ขนาดไม่น้อยกว่า 10
A. 220 Va.c. 50 Hz เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน มอก. 166-2549 กำหนดให้ติดตั้งกับกล่องพลาสติก พร้อมฝาปิดแบบ 1 ช่อง กำหนดตำแหน่งติดตั้งโดยผู้ควบคุมงานของผู้ว่าจ้าง
25.6 สายไฟฟ้าประธานภายในอาคารแต่ละอาคาร กำหนดเป็นสายไฟฟ้าชนิด THW ชนิดแกน เดี่ยวฉนวน PVC มีคุณสมบัติใช้งานแรงดัน 750 V. 70 ๐C และได้รับการรับรองมาตรฐานตาม มอก. 11-2531 มี ขนาดพื้นที่หน้าตัดไม่น้อยกว่า 4 ตารางมิลลิเมตร
25.7 สายไฟฟ้าที่ใช้ติดตั้งสำหรับหลอดไฟฟ้าแสงสว่างหรือวงจรเต้ารับภายในห้องแต่ละอาคาร กำหนดเป็นสายไฟฟ้าชนิด VAF ชนิด 2 แกน มีคุณสมบัติใช้งานที่แรงดัน 300 V. 70 ๐C และได้รับการรับรอง มาตรฐานตาม มอก. 11-2531 โดยกำหนดให้สายไฟฟ้าที่ใช้กับชุดหลอดไฟฟ้าแสงสว่างมีขนาดพื้นที่หน้าตัดไม่น้อย
กว่า 1.0 ตารางมิลลิเมตร หรือ 2x1.0 xx.xx สายไฟฟ้าที่ใช้กับเต้ารับแต่ละจุด ขนาดพื้นที่หน้าตัดไม่น้อยกว่า 1.5 ตารางมิลลิเมตร หรือ 2x1.5 xx.xx โดยวิธีการติดตั้งสายไฟฟ้าให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติในการเดินสายและติดตั้ง อุปกรณ์ไฟฟ้า พ.ศ. 2537 ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) หรือมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย หรือถูกต้องเหมาะสมและปลอดภัยตามหลักวิศวกรรมไฟฟ้า
25.8 การเดินสายไฟฟ้าแต่ละวงจรหรือแต่ละช่วงระยะทาง ต้องเป็นสายไฟฟ้าชนิดที่กำหนดและมี ขนาดพื้นที่หน้าตัดไม่น้อยกว่าที่กำหนดเฉพาะในแต่ละข้อเป็นสำคัญและต้องเป็นไปตามเงื่อนไขข้อกำหนด ข. ข้อ 24
25.9 การติดตั้งชุดโคมไฟฟ้าและเต้ารับไฟฟ้าในโรงคลุมอุปกรณ์ ไม่นับรวมกับชุดโคมไฟฟ้าที่ติดตั้ง
ภายในอาคารต่างๆ
26. ผู้รับจ้างต้องเติมน้ำกรดแบตเตอรี่ให้ถูกต้องเป็นไปตามเงื่อนไขกำหนดของยี่ห้อและรุ่นแบตเตอรี่ที่ เสนอและต้องดำเนินการประจุแบตเตอรี่ครั้งแรกโดยเครื่องประจุแบตเตอรี่ (Battery charger) ตามเงื่อนไขการประจุ แบตเตอรี่ครั้งแรก จนความจุพลังงานไฟฟ้าเต็มตามพิกัด (Full capacity) ก่อนนำแบตเตอรี่ไปติดตั้งใช้งานในพื้นที่ เป้าหมายแต่ละแห่ง โดยก่อนดำเนินการ ผู้รับจ้างต้องแจ้งกำหนดการเติมน้ำกรดและการประจุแบตเตอรี่ครั้งแรกให้ ประธานกรรมการตรวจการจ้างทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 5 วัน ทำการ เพื่อมอบหมายเจ้าหน้าที่ของผู้ว่าจ้างร่วม ตรวจสอบและบันทึกข้อมูลการประจุแบตเตอรี่
27. ผู้รับจ้างต้องติดตั้งแบตเตอรี่บนชุดขาตั้งหรืออุปกรณ์รองรับชุดแบตเตอรี่ ตามแบบที่ได้รับความ เห็นชอบ การต่อวงจรระหว่างแบตเตอรี่ให้ใช้แท่งทองแดง (Bus bar) ที่มีฉนวนหุ้มตลอดแนวหรือสายทองแดง สำเร็จรูปแบบ Insulated Copper Cables ชนิดเฉพาะต่อเชื่อมขั้วของแบตเตอรี่เท่านั้น
28. การติดตั้งอุปกรณ์ประกอบระบบ เช่น แบตเตอรี่ อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ อินเวอร์เตอร์ ตู้แสดงค่าทางไฟฟ้า รวมทั้งอุปกรณ์ควบคุมการตัด-ต่อวงจรไฟฟ้า ตามข้อกำหนด ก. ข้อ 9.1 Safety switch, ข้อ 9.2 Main circuit breaker ให้ติดตั้งอยู่ภายในบริเวณโรงคลุมอุปกรณ์ ตามรูปแบบที่ได้รับความ เห็นชอบและการเดินสายไฟฟ้าให้เป็นไปตามข้อกำหนด ข. ข้อ 28
29. ผู้รับจ้างต้องจัดทำรูปแบบและข้อความแผ่นป้ายทุกรายการ ตามข้อกำหนด ก. ข้อ 12 เสนอให้ผู้ว่า จ้างพิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนดำเนินการจัดทำ และผู้ว่าจ้างขอสงวนสิทธิ์ในการแก้ไข ปรับปรุง เพิ่มเติม รายละเอียดข้อความของแต่ละแผ่นป้ายได้ตามความเหมาะสม และการติดตั้งแผ่นป้ายทุกรายการ กำหนดตำแหน่ง ติดตั้งโดยผู้ควบคุมงานของผู้ว่าจ้างหรือคณะกรรมการตรวจการจ้างของผู้ว่าจ้าง
30. ผู้รับจ้างต้องทดสอบการทำงานของอุปกรณ์บันทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูลตามข้อกำหนด ก.ข้อ 15 แสดงการตรวจวัดข้อมูล บันทึกผลและประมวลผลข้อมูลให้คณะกรรมการตรวจการจ้างและผู้เกี่ยวข้องเห็น ว่า สามารถทำงานได้ตามข้อกำหนดก่อนนำเข้าไปติดตั้งใช้งานจริงในพื้นที่เป้าหมาย
การติดตั้งอุปกรณ์บันทึกและประมวลผลข้อมูลในพื้นที่ก่อสร้างต้องสามารถรถตรวจวัดข้อมูล บันทึกและประมวลผลข้อมูลการทำงานของระบบฯได้จริง สามารถแสดงการตรวจวัดและแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูล ในรูปแบบต่างๆ ได้ตามผู้ใช้งานกำหนด โดยผู้รับจ้างต้องจัดหาคู่มือการใช้งานและเอกสารแสดงรายละเอียดทาง เทคนิคของอุปกรณ์บันทึกข้อมูลอย่างครบถ้วน พร้อมทั้งชี้แนะและแนะนำขั้นตอนการใช้งาน การดูแลบำรุงรักษาแก่ ผเกี่ยวข้องจนเข้าใจสามารถใช้งานได้จริง สำหรับจุดติดตั้งให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการตรวจการจ้างกำหนด
31. ผู้รับจ้างจะต้องจัดทำรายงานประจำเดือน (Activity report) ทุกเดือน นับตั้งแต่ลงนามในสัญญา จ้างจนกระทั่งส่งมอบงานแล้วเสร็จสมบูรณ์ โดยแสดงความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการ ปัญหาและอุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมแนวทางแก้ไข ให้เสนอรายงานต่อประธานคณะกรรมการตรวจการจ้างผ่านผู้ควบคุมงานของผู้ว่าจ้าง
32. ผู้รับจ้างต้องจัดทำร่างเอกสารประกอบการฝึกอบรมที่ระบุถึงข้อมูลอุปกรณ์หลัก ขั้นตอนการใช้งาน เปิด-ปิดระบบ การดูแลและบำรุงรักษาระบบ และจัดทำร่างเอกสารคู่มือระบบฯ โดยมีรายละเอียดและเนื้อหาตาม
ข้อกำหนด ข. ข้อ 39 เสนอผู้ว่าจ้างพิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนดำเนินการจัดทำฉบับจริงทั้งสองฉบับ โดยผู้ว่าจ้าง ขอสงวนสิทธ์ ในการแก้ไข ปรับปรุง เพิ่มเติมข้อความหรือรูปแบบเอกสารได้ตามความเหมาะสม
33. ผู้รับจ้างต้องจัดฝึกอบรมการใช้งาน ดูแลและบำรุงรักษาตามเงื่อนไขลักษณะเฉพาะของระบบฯ แก่เจ้าหน้าที่ของสถานีอนามัยผู้รับผิดชอบดูแลระบบฯ โดยมีเอกสารประกอบการฝึกอบรมที่จัดทำขึ้นหลังจากได้รับ ความเห็นชอบแล้ว จำนวนไม่น้อยกว่า 5 ชุด ต่อแห่ง และมีเจ้าหน้าที่ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงานร่วมเป็นผู้สังเกตการณ์
3.4 ผู้รับจ้างต้องจัดทำเอกสารคู่มือระบบฯ ทุกหน่วยฯในรูปของสิ่งพิมพ์ และแฟ้มข้อมูล อิเลคทรอนิคส์ (CD ROM) จำนวน 3 ชุด ต่อระบบ ข้อมูลอย่างน้อยประกอบด้วย 1) ข้อมูลพื้นฐานพื้นที่ก่อสร้าง
2) แผนที่แสดงเส้นทางคมนาคม 3) แผนผังแสดงรายละเอียดบริเวณก่อสร้าง 4) แผนผังแสดงรายละเอียดการ ติดตั้งอุปกรณ์ 5) แบบการเดินสายไฟของสถานยีอนามัย 6) Wiring Diagram วงจรไฟฟ้าของระบบ 7) รายละเอียดการคำนวณกำหนดขนาดวัสดุ อุปกรณ์ 8) รายละเอียดของวัสดุที่ใช้ เช่น สายไฟฟ้า ท่อร้อยสายไฟฟ้า สวิทช์ไฟฟ้า เต้ารับไฟฟ้า และอื่นๆ 9) แบบชุดโครงสร้างรองรับแผงเซลล์ฯ แบบชุดขาตั้งรองรับแบตเตอรี่ พร้อม รายละเอียดการคำนวณและอื่นๆ 10) ชนิด ยี่ห้อ รุ่นหมายเลขหรือ Serial Number ของอุปกรณ์แต่ละรายการ พร้อม Catalogue 11) ขั้นตอนการทำงานของระบบฯ การใช้งาน การดูแลบำรุงรักษาระบบฯ เป็นต้น
3.5 ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดรายละเอียด แต่ไม่ได้กำหนดแยกจากรายการใน ใบตารางแสดงปริมาณงานและราคา อาทิเช่น การสำรวจ การจัดทำรายละเอียดของระบบ การทดสอบอุปกรณ์และ ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ฯ โรงเก็บวัสดุอุปกรณ์ชั่วคราวก่อนติดตั้งเป็นต้น ให้ถือรวมอยู่ในรายการต่างๆ ที่ กำหนดในการเสนอราคาด้วยแล้ว
จบหมวดที่ 6
งานระบบสื่อสาร หมวดที่ 7
ระบบโทรศัพท์และระบบสื่อสารภายใน
(TELEPHONE SYSTEM AND INTERCOM SYSTEM)
1. ระบบโทรศัพท์
1.1 ตู้สาขาอัตโนมัติ (PRIVATE AUTOMATIC BRANCH EXCHANGE)
1.1.1 ตู้สาขาอัตโนมัติ จะต้องเป็นแบบ FULLY DIGITAL STORED PROGRAM CONTROL (SPC) ควบคุม ด้วยระบบบรรจุคำสั่ง ตามมาตรฐาน CCITT และมาตรฐานของบริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (TOT) ระบบของสวิตซ์ตู้สาขาจะต้องสามารถใช้งานในลักษณะเดียวกันทั้งระบบ VOICE และ DATA
1.1.2 ตู้สาขาอัตโนมัติจะต้องสามารถใช้งานได้ ดังนี้
(1) สามารถขยายระบบโดยการเพิ่มแผงวงจร (CARD) เข้าไปในระบบโดยไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนโครงสร้าง หลักของระบบ
(2) สามารถใช้งานกับเครื่องรับโทรศัพท์ชนิดกดปุ่มความถี่เสียง (DTMF) หรือชนิด DIGITAL
(3) สามารถใช้โทรศัพท์ภายในประชุมพร้อมกันได้ ไม่ต่ำกว่า 4 เครื่อง
(4) ชุดพนักงานรับสายโทรศัพท์ (OPERATOR) สามารถพักสายได้ ทั้งสายภายใน และสายภายนอก โดยมี เสียงสัญญาณแจ้งให้ผู้ใช้งานทราบ
(5) สามารถกำหนดความสามารถในการใช้งานของเครื่องโทรศัพท์ภายในได้ เช่น
- ใช้ติดต่อภายในได้
- ใช้ติดต่อได้ทั้งภายในและภายนอก
- ใช้ติดต่อโทรทางไกลภายในประเทศได้
- ใช้ติดต่อโทรทางไกลต่างประเทศได้ เป็นต้น
(6) สามารถกำหนดรับสายแทนกันได้ โดยกดรหัสที่กำหนดและสามารถเรียกสายกลับได้ในกรณีที่สายของผู้ ถูกเรียกว่างลง
(7) ต้องมีระบบตัดสายออกชั่วคราวในกรณีที่สายโทรศัพท์ลัดวงจรและสามารถกำหนดเวลาไม่ให้ใช้สายนาน เกินควรและวางหูเครื่องรับไม่สนิท
(8) สามารถบันทึกการใช้งานโทรศัพท์ (BILLING RECORD SYSTEM) ในการต่อออกภายนอกของเครื่อง ภายใน โดยพิมพ์ดูรายละเอียดได้เมื่อต้องการ เช่น
- เป็นระบบคอมพิวเตอร์พร้อมเครื่องพิมพ์
- วัน เดือน ปี ที่โทรออก (DATE)
- เลขหมายภายในที่โทรออก (EXTENSION NUMBER)
- เลขหมายที่โทรไป (DESTINATION NUMBER)
- ระยะเวลาที่ใช้ (DURATION TIME)
- คำนวณค่าใช้จ่ายของแต่ละเลขหมายที่โทรออก (EXTENSION EXPENSE)
(9) ต้องมีอุปกรณ์สำหรับตอบรับสายโทรศัพท์เข้าโดยอัตโนมัติ (AUTO-ATTENDANT) พร้อมกันได้อย่าง น้อย 8 วงจร โดยมีคุณสมบัติทั่วไปดังนี้
- เป็นแบบระบบคอมพิวเตอร์
- โอนสายอัตโนมัติไปยังเลขหมายภายใน
- ตอบรับได้ทั้งใน และนอกเวลาทำการ หรือตลอด 24 ชั่วโมง
- มีระบบโอนสายไป OPERATOR โดยอัตโนมัติ
- แจ้งให้ทราบได้ทั้งสายไม่ว่างและไม่มีผู้รับสาย
- เลือกโอนสายไปยังหมายเลขอื่นๆ ได้ในกรณีเลขหมายที่โอนไปไม่ว่างหรือไม่มีผู้ รับสาย
(10) สามารถจำกัดเวลาการติดต่อสื่อสารระหว่างสายภายในกับสายภายนอกได้ เช่น สามารถสนทนาได้ไม่ เกินครั้งละ 30 นาที หรือไม่เกินกว่าช่วงเวลาที่ผู้ว่าจ้างจะกำหนด
(11) ต้องติดตั้งอุปกรณ์ SURGE PROTECTION ไว้ในทุกจุดที่ต้องเชื่อมต่อวงจรกับอุปกรณ์อื่นๆ คือ CO.
LINE, EXTENSION LINE, POWER SUPPLY และทุกคู่สายที่เดินอยู่ภายนอกอาคาร
(12) ในกรณีที่กระแสไฟฟ้าขัดข้อง เครื่องรับโทรศัพท์ภายในต้องสามารถติดต่อสายภายนอกได้โดยตรง
(13) ข้อมูลที่ถาวร หรือกึ่งถาวรของตู้สาขา เช่น โปรแกรมคำสั่งการทำงานของระบบหรือข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับเลขหมายเครื่องภายในเป็นต้น จะต้องมีการป้องกันการสูญหายของข้อมูลซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในกรณีไฟฟ้าดับ โดยตู้สาขาจะต้องทำงานได้ทันทีหลังจากที่มีไฟฟ้าจ่ายให้ระบบ
(14) มีชุดคอมพิวเตอร์ สำหรับโปรแกรมข้อมูลของระบบหรือแก้ไขการทำงานของระบบได้
(15) สามารถเชื่อมต่อกับระบบ ISDN ของบริษัทผู้ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐานทั้งแบบ BAI และ PRI ได้
(16) ต้องติดตั้งอุปกรณ์เพื่อรองรับระบบ VOICE OVER IP แบบ VOICE OVER IP EXTENSION พร้อมทั้ง ต้องเชื่อมต่อสายสัญญาณเข้าสู่ PATCH PANEL ของระบบคอมพิวเตอร์ ให้สามารถพร้อมใช้งานได้ทันที
(17) สามารถรองรับระบบโทรศัพท์ไร้สายได้ภายในระบบโดยการเพิ่มแผงวงจรเข้าไปในตู้สาขาและเชื่อมต่อ แผงวงจรเข้ากับอุปกรณ์รับ-ส่งสัญญาณเท่านั้น
1.1.3 คุณลักษณะของชุดพนักงานโทรศัพท์ (ATTENDANT OR OPERATOR CONSOLE) ชุดพนักงานรับโทรศัพท์เป็นระบบคอมพิวเตอร์แต่ละชุดมีอุปกรณ์บังคับการทำงานในหน้าที่ต่างๆ ประกอบด้วย
VISUAL DISPLAY UNIT, KEYBOARD และ HEADSET สามารถใช้งานได้สะดวกรวดเร็ว และติดตั้งห่างจากตู้สาขา โทรศัพท์ได้ไม่น้อยกว่า 800 เมตร โดยไม่ต้องเพิ่มอุปกรณ์ใดๆ อีกรวมทั้งเป็นผลิตภัณฑ์เดียวกันกับตู้สาขาอัตโนมัติ (PABX)
1.1.4 อุปกรณ์จ่ายกำลังไฟฟ้า (POWER SUPPLY)
(1) อุปกรณ์จ่ายกำลังไฟฟ้าประกอบด้วยเครื่องแปลงกระแสและประจุไฟฟ้า (RECTIFIER) ใช้กับไฟฟ้า กระแสสลับ 220 โวลท์ แปลงเป็นไฟฟ้ากระแสตรง เพื่อจ่ายให้ระบบโทรศัพท์และประจุเข้าแบตเตอรี่
(2) แบตเตอรี่เป็นแบบ MAINTAINANCE FREE ชนิด SEALED LEAD-ACID ไม่ต้องเติมน้ำกลั่น จำนวน 1 ชุด พร้อมตู้บรรจุ
(3) จัดทำระบบ GROUND ที่ดี สามารถป้องกันไฟฟ้ารั่ว ฟ้าผ่า และสัญญาณรบกวน
(4) ขนาดของเครื่องแปลงกระแส ประจุไฟฟ้าและขนาดของแบตเตอรี่จะต้องมีขนาดที่เหมาะกับความ ต้องการของตู้สาขาโทรศัพท์และตู้สาขาโทรศัพท์ สามารถทำงานได้ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมง เมื่อไฟฟ้าจากการ ไฟฟ้าฯ ดับ
1.2 ตู้กระจายสาย (MAIN DISTRIBUTION FRAME : MDF)
1.2.1 แผงต่อภายในตู้กระจายสายต้องใช้แผงชนิด MODULES, DISCONNECTION TYPE ที่สามารถเสียบ เครื่องมือตรวจสอบสายภายในและภายนอกได้ และต้องสามารถต่อสายเข้าแผงด้วยเครื่องมือเข้าสายโดยเฉพาะ เท่านั้น
1.2.2 DISCONNECTION MODULES ที่ใช้งานแต่ละชุดสามารถต่อใช้งานได้ชุดละ 10 คู่สาย และจำนวน
MODULES จะต้องติดตั้งให้เพียงพอสำหรับจำนวนคู่สายที่ต่อเข้า และออกไม่น้อยกว่าที่กำหนดไว้ในตาราง
1.2.3 DISCONNECTION MODULES จะต้องติดตั้งบนฐานรองรับที่มีความแข็งแรงทนทานในด้านเชิงกล และ ไฟฟ้า โดยทำขึ้นมาสำหรับ MDF โดยเฉพาะเท่านั้น
1.2.4 ชุด DISCONNECTON MODULES จะต้องประทับตราหรือสัญลักษณ์ของผู้ผลิต (BRAND NAME) ให้ ชัดเจนเพื่อเป็นการป้องกันของเทียม หรือทำเลียนแบบ และจะต้องได้รับการรับรองมาตรฐานจากบริษัท ทศท คอร์ ปอเรชั่นฯ โดยมีเอกสารอ้างอิง
1.2.5 มีอุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชกทางคู่สายโทรศัพท์ (SURGE PROTECTOR FOR TELEPHONE LINE) ติดตั้งที่คู่สายที่เดินอยู่ภายนอกอาคารทุกคู่สาย โดยที่อุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชกจะต้องต่อลงดินให้ถูกต้อง และมี คุณสมบัติ ดังนี้
(1) คุณสมบัติทั่วไป
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ป้องกันไฟกระโชกที่เหนี่ยวนำเข้ามาทางคู่สายโทรศัพท์ในรูปของ OVER- VOLTAGE และ OVER-CURRENT โดยทำให้เกิดความปลอดภัยกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ต่างๆ ที่ต่ออยู่กับคู่สายโทรศัพท์นั้นๆ และจะต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากโรงงานที่ได้การ รับรองระบบคุณภาพ มาตรฐาน ISO 9001 จากสถาบันรับรองระบบงานของต่างประเทศ และจากคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการรับรองระบบงาน (NAC)
(2) ลักษณะภายนอกโดยทั่วไป
- HOUSING หรือ BODY ของตัวอุปกรณ์ป้องกัน ถ้าทำด้วยพลาสติกต้องเป็น พลาสติกชนิดไม่ติดไฟตามมาตรฐาน UL94V-0 (FLAME RESISTANCE PLASTIC) หรือทำด้วยโลหะ
- ตัวอุปกรณ์ป้องกัน 1 ตัวสามารถป้องกันได้ 1 คู่สาย เพื่อสะดวกในการเปลี่ยนหรือ ซ่อมบำรุงคู่สาย
(3) รายละเอียดทางเทคนิค
- มี DC SPARK-OVER VOLTAGE อยู่ในช่วง 190 ถึง 250 VOLT เมื่อทดสอบด้วย รูปคลื่น 100 VOLT/SEC
- มี OUTPUT VOLTAGE น้อยกว่า 250 VOLT เมื่อทดสอบด้วยรูปคลื่น 1 kV / µSEC
- มี CAPACITANCE น้อยกว่า 50 pF ที่ความถี่ 1 kHz
- มี OPERATING TEMPERATURE อยู่ในช่วง 0OC ถึง 60 OC
- มี DC RESISTANCE น้อยกว่า 30 Ω
- มี NOMINAL CURRENT น้อยกว่าหรือเท่ากับ 80 mA ที่อุณหภูมิ 25 OC
- มี TRIP TIME น้อยกว่า 3 SEC ที่กระแส 500 mA, 50 Hz
- มี SURGE CURRENT มากกว่าหรือเท่ากับ 10 kA ที่รูปคลื่นมาตรฐาน 8/20 µSEC
(4) การทดสอบอุปกรณ์
ผ ับจ้างต้องแนบเอกสารผลการทดสอบคุณสมบัติทางเทคนิคในข้อที่ 3.1, 3.2 และ 3.7
จากโรงงานผู้ผลิตหรือจากหน่วยงานของรัฐหรือสถาบันที่เชื่อถือได้ ซึ่งเอกสารผลการ ทดสอบนี้จะต้องทดสอบมาแล้วไม่เกิน 6 เดือนนับจากวันที่เสนอขออนุมัติเพื่อ ประกอบการพิจารณา
- ตู้ใส่แผงต่อสาย ต้องทำด้วยเหล็กแผ่นหนาไม่ต่ำกว่า 1.6 MM. ตัวตู้ต้องพ่นด้วยสี กันสนิมก่อนพ่นสีทับและอบให้แห้ง
- ตู้ใส่แผงต่อสายจะต้องมีที่ยึดสายต่างๆ ให้เรียบร้อย มีที่ติดม้วนสาย JUMPER มีที่ ติดเครื่องมือเข้าสาย เครื่องมือเสียบทดสอบสาย และสามารถที่จะติดตั้งระบบ GROUNDING ได้
- ตู้กระจายสายจะต้องต่อลงดินให้ถูกต้อง โดยใช้ TERMINATOR ต่อสายขันด้วยสกรู ที่ไม่ขึ้นสนิมอย่างดี โดยขนาดของสายไฟและแท่งหลักดินที่ใช้มีระบุไว้ในแบบ
MDF-1 SCHEDULE | ||
DESCRIPTIONS | INCOMING (PAIRS) | OUTGOING (PAIRS) |
TOT OR TT&T | 300 | - |
MDF | 300 | - |
TC | - | 260 |
SPARE | - | 40 |
TOTAL | 300 | 300 |
1.3 TELEPHONE CABINET (TC)
1.3.1 TERMINALS ต่างๆ ที่ใช้งานของระบบโทรศัพท์ จะต้องเป็นอุปกรณ์ที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้งานในระบบ โทรศัพท์เท่านั้น โดยเป็นแบบ MODULES แต่ละชุดสามารถต่อใช้งานกับสายป้อนกลุ่มละ 10 คู่สาย และสำหรับ 10 คู่สายนอก ติดตั้งบนฐานรองรับอยู่ในกล่องต่อสายโดยเฉพาะ (ขนาดและจำนวนคู่สายดูรายละเอียดจากแบบ)
1.3.2 ตัวกล่องต่อสายจะต้องเป็นแบบที่ติดตั้งบนผนัง ในกรณีที่กล่องต่อสายมีขนาดใหญ่จะต้องมี WIRE RETAINER และ WIRE GUIDE เพื่อจัดหมวดหมู่ของสายให้เรียบร้อย การต่อสายโทรศัพท์ที่ TERMINALS จะต้อง สามารถจัดทำด้วยเครื่องมือต่อสายด้วยวิธีเชิงกลโดยเฉพาะเท่านั้น
1.3.3 แผง MODULES ที่ใช้กับตู้ TC เป็นชนิด DISCONNECTION TYPE
1.3.4 แผง MODULES จะต้องประทับตราหรือสัญลักษณ์ของผู้ผลิต (BRAND NAME) ให้ชัดเจนเพื่อเป็นการ ป้องกันของเทียมหรือทำเลียนแบบ และจะต้องได้รับการรับรองมาตรฐานจากบริษัท ทศท คอร์ปอเรชั่นฯ โดยมี เอกสารอ้างอิง
1.4 TELEPHONE CABLE AND WIRES
สายโทรศัพท์ที่ใช้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่ต่ำกว่า 0.65 มม. มีจำนวนคู่สายระบุในรูปแบบ การจัด สายโทรศัพท์ทั้งหมดห้ามมิให้ทำการตัดต่อระหว่างทาง และนอกจากระบุเป็นอย่างอื่นสายโทรศัพท์ที่ใช้ให้เป็นไปตาม นี้
1.4.1 สายที่ใช้เชื่อมต่อจากสายของบริษัทผู้ให้บริการโทรศัพท์พื้นฐานไปยัง MDF และระหว่าง MDF ให้ใช้สาย
AP : ALPETH SHEATHED CABLE
1.4.2 สายที่ใช้จาก MDF ไปยัง TC ให้ใช้สาย TPEV : POLYETHYLENE INSULATED AND PVC. SHEATHED TERMINATING CABLE
1.4.3 สายที่ใช้งานกับเต้ารับโทรศัพท์ภายในอาคารให้ใช้สาย TIEV : INSIDE-OUTSIDE STATION WIRE
2. ระบบสื่อสารภายใน
2.1 ขอบเขตของงาน
ผรับจ้างจะต้องจัดหาวัสดุ อุปกรณ์และติดตั้งระบบสื่อสารภายใน ตามตำแหน่งที่ระบุไว้ในแบบ ให้สามารถใช้
งานได้สมบูรณ์ โดยระบบสื่อสารภายใน ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ ดังนี้
2.1.1 MASTER INTERCOM STATION WITH POWER SUPPLY
2.1.2 INTERCOM SUB STATION
2.1.3 INTERCOM STATION
2.1.4 CABLE AND ACCESORIES
2.2 ข้อกำหนดทางเทคนิค
2.2.1 MASTER INTERCOM STATION เป็นแบบที่มีสัญญาณไฟแสดงสภาวะการเรียก และหมายเลข หรือชื่อ ห้องที่เรียกมา มีลำโพง, ไมโครโฟน และชุด HAND SET สำหรับสนทนา รวมทั้งมีปุ่ม ALL CALL เพื่อประกาศรวม และสามารถเร่ง-ลด ความดังของเสียงได้
2.2.2 INTERCOM SUB STATION เป็นแบบที่มีสัญญาณไฟแสดงสภาวะการเรียก มีปุ่มกดเรียกและมีลำโพง พร้อมไมโครโฟนสนทนา
2.2.3 INTERCOM STATION เป็นแบบที่สามารถติดต่อสื่อสารกันได้หลายจุด โดยสามารถกดเลือก STATION
ปลายทางได้
2.2.4 CABLE สายที่ใช้ในระบบสื่อสารภายใน ให้ใช้สายชนิด และขนาดตามที่ระบุในแบบ หรือตามที่ บริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์สื่อสารภายในระบุ
2.3 การทำงานของระบบสื่อสารภายใน ใช้ไฟกระแสตรง 12 หรือ 24 โวลท์ ด้วยระบบแปลงไฟที่เหมาะสม จากไฟ 220 โวลท์ 1 เฟส การทำงานจะเป็นดังนี้
2.3.1 เมื่อเจ้าหน้าที่กดปุ่มที่ SUB STATION จะมีสัญญาณไฟและเสียงที่ MASTER STATION พร้อมกับมี ไฟสัญญาณที่ SUB STATION
2.3.2 เมื่อเจ้าหน้าที่ที่ MASTER STATION กดปุ่มตอบรับ และ/หรือ ยกหูจะสามารถพูดโต้ตอบกับเจ้าหน้าที่ที่
SUB STATION ได้ โดยเจ้าหน้าที่ไม่ต้องกดปุ่มใดๆ ทั้งสิ้น
2.3.3 กรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน เจ้าหน้าที่ MASTER STATION สามารถแจ้งให้กับเจ้าหน้าที่ทั้งหมดได้รับทราบ เพื่อ เตรียมรับสถานการณ์ โดยใช้ปุ่ม ALL CALL บน MASTER STATION
จบหมวดที่ 7
หมวดที่ 8 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และระบบโทรศัพท์ผ่านเครือข่ายไอพ (COMPUTER NETWORK AND IP TELEPHONY SYSTEM)
1. ทั่วไป
1.1 ผู้รับจ้างจะต้องทำการติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งสามารถเชื่อมต่อการใช้งานกับระบบ เครือข่ายหลักของผู้ว่าจ้างได้อย่างสมบูรณ์แบบ
1.2 ผู้รับจ้างจะต้องทำการติดตั้งเครื่องโทรศัพท์ผ่านเครือข่ายไอพี (IP PHONE) พร้อมลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ เพื่อให้ระบบโทรศัพท์ที่ติดตั้งในโครงการนี้สามารถใช้งานร่วมกับระบบโทรศัพท์ผ่านเครือข่ายไอพีของผู้ว่าจ้างได้อย่าง สมบูรณ์แบบ
1.3 อุปกรณ์ที่ติดตั้งในโครงการนี้จะต้องเป็นของใหม่ ไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน ไม่ใช่ของเก่าเก็บ และ ไม่ใช่ของเลียนแบบโดยผู้ติดตั้งจะต้องทำการติดตั้งระบบให้เป็นไปตามวิธีการปฏิบัติที่ดีทางวิศวกรรม (Good Engineering Practices) และรับประกันอุปกรณ์หลังการส่งมอบไม่น้อยกว่า 2 ปี
1.4 ผู้รับจ้างต้องทำตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติต่างๆ ของผลิตภัณฑ์ที่เสนอกับคุณสมบัติทางเทคนิคตาม ข้อกำหนดรายการประกอบแบบ
2. ขอบเขต
ผรับจ้างจะต้องทำการติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ชนิดมีสาย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ชนิดไร้สาย ระบบ
โทรศัพท์ผ่านเครือข่ายไอพี อุปกรณ์สำรองไฟฟ้า ข่ายสายใยแก้วนำแสง สายสัญญาณคอมพิวเตอร์ ตู้ Rack และ อุปกรณ์ทุกรายการเพื่อให้ทำงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของผู้ว่าจ้าง โดยอุปกรณ์ที่นำเสนอจะต้องมีคุณสมบัติขั้นต่ำ ดังต่อไปนี้
3. สวิทช์แกนหลกของอาคาร (Core Switch)
3.1 มีขนาดของ Switching capacity ไม่น้อยกว่า 192 Gbps
3.2 มีประสิทธิภาพในการส่งผ่านข้อมูล layer 3 Forwarding throughput อย่างน้อย 142 Mpps
3.3 รองรับการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย Gigabit Ethernet และ 10 Gigabit Ethernet ได้โดย
interface เหล่านี้สามารถที่จะต่อเพิ่มได้ในภายหลัง
3.4 มีพอร์ต Gigabit Ethernet แบบ1000BaseX (GBIC หรือ SFP) อย่างน้อย 4 สล๊อต พร้อม
Transceiver แบบ 1000BaseLX จำนวน 2 พอร์ต
3.5 มีพอร์ต Gigabit Ethernet แบบ 10/100/1000 BaseT อย่างน้อย 20 พอร์ต
3.6 รองรับการเพิ่มพอร์ตแบบ 10Gigabit ได้ไม่น้อยกว่า 2 พอร์ตได้โดยไม่ต้องถอดอุปกรณ์ใดๆ ออก และ รองรับการเพิ่มคุณสมบัติการจ่ายไฟแบบ Power Over Ethernet ได้ในอนาคตโดยการเพิ่มหรือแหล่งจ่ายไฟ
3.7 สามารถสนับสนุนจำนวน MAC Addresses ไม่นอยกว่า 16,000 Addresses
3.8 สนับสนุนการทำ VLAN ตามมาตรฐาน IEEE802.1Q
3.9 สนับสนุนการทำ VLAN ได้ไม่น้อยกว่า 4,000 VLAN (Active VLAN)
3.10 สนับสนุนการทำ spanning tree ตามมาตรฐาน IEEE802.1D และ IEEE802.1wและ IEEE802.1s
3.11 สนับสนุนการทำ Port Mirror โดยสามารถ Mirror Traffic ได้มากกว่า 2 พอร์ต พร้อมๆ กัน
3.12 สนับสนุนการทำ Port Aggregation ตามมาตรฐาน IEEE802.3ad ระหว่างพอร์ตที่อยู่ข้ามโมดูลกันได้ (ในกรณีที่เสนอโครงสร้างแบบ Modular Chassis) หรือระหว่างพอร์ตที่อยู่ข้ามอุปกรณ์กันได้ (ในกรณีที่เสนอ โครงสร้างแบบ Stacking)
3.13 รองรับการให้บริการ User Based VLAN assignment และ Guest VLAN ได้โดยทำงานร่วมกับ
IEEE802.1x ได้เป็นอย่างน้อย
3.14 สนับสนุน routed protocol ได้แก่ IPv4 และ IP Multicast ได้เป็นอย่างน้อย
3.15 สนับสนุน IP Multicast routing protocol ได้แก่ PIM Sparse Mode และ PIM Dense Modeไดเป็น อย่างน้อย
3.16 สนับสนุน IP routing protocol ได้แก่ Static Route, RIPv1/2 และ OSPF ได้เป็นอย่างน้อย
3.17 สนับสนุน Virtual Router Redundancy Protocol (VRRP) หรือ Hot Standby Router Protocol (HSRP)
3.18 สามารถกำหนดการป้องกันการส่งผ่านข้อมูลด้วย Access Control List (ACL) ในระดับ Layer 2-4 ได้
3.19 มีฟังก์ชั่นที่สามารถป้องกันการโจมตี หรือบุกรุก ด้วย ARP Inspection, IP Source Guard และ DHCP Rouge Server ได้เป็นอย่างน้อย
3.20 มีพอร์ต Console เพื่อต่อ Terminal กำหนดค่าการทำงานของอุปกรณ์ และสำหรับตรวจสอบระบบได้
3.21 สนับสนุน Secure Shell (SSH)
3.22 สนับสนุนระบบ Network Management ตามมาตรฐาน SNMP, RMON และ Web-based
3.23 อุปกรณ์ ฯ ต้องสามารถติดตั้งบน RACK 19” ได้
3.24 สามารถทำงานกับระบบไฟฟ้าในประเทศไทยแบบ 220 VAC, 50 Hz ได้
3.25 ผ่านการรับรองตามมาตรฐานความปลอดภัย IEC, FCC และ UL
3.26 บริษัทฯ ที่นำเสนอ จะต้องได้รับการรับรองอุปกรณ์ทั้งหมด ต้องเป็นของใหม่ ไม่เคยผ่านการใช้งานมา ก่อน จากบริษัทที่เป็นบริษัทสาขา ของบริษัทผู้ผลิตฯ ที่ประจำในประเทศไทยเท่านั้น
4. สวิทช์กระจายสัญญาณประจำชั้น (10/100 Layer 2 POE Switch)
4.1 เป็นผลิตภัณฑ์จากบริษัทผู้ผลิตเดียวกันกับอุปกรณ์ Core Switch ในข้อที่ 3
4.2 มี Switching Fabric ขนาดไม่น้อยว่า 8.8 Gbps
4.3 มีประสิทธิภาพในการส่งผ่านข้อมูล Forwarding thoughput ไม่น้อยกว่า 6.5 Mpps
4.4 มีพอร์ต Fast Ethernet แบบ 10/100BaseTX จำนวนไม่น้อยว่า 24 พอร์ต ที่สามารถจ่ายไฟแบบ PoE ตามมาตรฐาน IEEE802.3af โดยสามารถจ่ายไฟได้ไม่น้อยกว่า 15.4 watt ทุกพอร์ต หรือไม่นอยกว่า 370 watt ต่อหนึ่งอุปกรณ์
4.5 มีพอร์ต Gigabit Ethernet แบบ 10/100/1000BaseT จำนวนไม่น้อยกว่า 2 พอร์ต โดยสามารถ เลือกใช้งานแบบ 1000BaseX ได้
4.6 สามารถสนับสนุนจำนวน MAC Addresses ไม่นอยว่า 8,000 Addresses
4.7 สนับสนุนการทำ VLAN ตามมาตรฐาน IEEE802.1Q
4.8 สนับสนุนการทำ VLAN ได้ไม่น้อยกว่า 256 VLAN
4.9 สนับสนุนการทำ spanning tree ตามมาตรฐาน IEEE802.1D, IEEE802.1w และ IEEE802.1s
4.10 สนับสนุนการทำ Port Mirror ได้
4.11 สนับสนุนการทำ Port Aggregation ตามมาตรฐาน IEEE802.3ad ได้
4.12 รองรับการให้บริการ User Based VLAN assignment และ Guest VLAN ได้โดยทำงานร่วมกับ
IEEE802.1x ได้เป็นอย่างน้อย
4.13 สามารถกำหนดลำดับความสำคัญของข้อมูลด้วยมาตรฐาน IEEE 802.1p ได้
4.14 สามารถทำการ Clustering ร่วมกับอุปกรณ์ Core Switch ได้
4.15 มี Console port เพื่อต่อ Terminal กำหนดค่าการทำงานของอุปกรณ์ และสำหรับตรวจสอบระบบได้
4.16 สนับสนุนระบบ Network management ตามมาตรฐาน SNMP, RMON และ Web-based
4.17 อุปกรณ์ฯ ต้องสามารถติดตั้งบน Rack 19” ได้
4.18 สามารถทำงานกับระบบไฟฟ้าในประเทศไทยแบบ 220 VAC 50 Hz ได้
4.19 ผ่านรับรองตามมาตรฐานความปลอดภัย IEC, FCC และ UL
4.20 บริษัทฯ ที่นำเสนอ จะต้องได้รับการรับรองอุปกรณ์ทั้งหมด ต้องเป็นของใหม่ ไม่เคยผ่านการใช้งานมา ก่อน จากบริษัทที่เป็นบริษัทสาขา ของบริษัทผู้ผลิตฯ ที่ประจำในประเทศไทยเท่านั้น
5. สวิทช์กระจายสัญญาณสำหรับห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (10/100 Layer 2 Switch)
5.1 เป็นผลิตภัณฑ์จากบริษัทผู้ผลิตเดียวกันกับอุปกรณ์ Core Switch ในข้อที่ 3
5.2 มี Switching Fabric ขนาดไม่น้อยว่า 8.8 Gbps
5.3 มีประสิทธิภาพในการส่งผ่านข้อมูล Forwarding thoughput ไม่น้อยกว่า 6.5 Mpps
5.4 มีพอร์ต Fast Ethernet แบบ 10/100BaseTX จำนวนไม่น้อยว่า 24 พอร์ต มีพอร์ต Gigabit Ethernet
แบบ 10/100/1000BaseT จำนวนไม่น้อยกว่า 2 พอร์ต โดยสามารถเลือกใช้งานแบบ 1000BaseX ได้
5.5 สามารถสนับสนุนจำนวน MAC Addresses ไม่นอยว่า 8,000 Addresses
5.6 สนับสนุนการทำ VLAN ตามมาตรฐาน IEEE802.1Q
5.7 สนับสนุนการทำ VLAN ได้ไม่น้อยกว่า 256 VLAN
5.8 สนับสนุนการทำ spanning tree ตามมาตรฐาน IEEE802.1D, IEEE802.1w และ IEEE802.1s
5.9 สนับสนุนการทำ Port Mirror ได้
5.10 สนับสนุนการทำ Port Aggregation ตามมาตรฐาน IEEE802.3ad ได้
5.11 รองรับการให้บริการ User Based VLAN assignment และ Guest VLAN ได้โดยทำงานร่วมกับ
IEEE802.1x ได้เป็นอย่างน้อย
5.12 สามารถกำหนดลำดับความสำคัญของข้อมูลด้วยมาตรฐาน IEEE 802.1p ได้
5.13 สามารถทำการ Clustering ร่วมกับอุปกรณ์ Core Switch ได้
5.14 มี Console port เพื่อต่อ Terminal กำหนดค่าการทำงานของอุปกรณ์ และสำหรับตรวจสอบระบบได้
5.15 สนับสนุนระบบ Network management ตามมาตรฐาน SNMP, RMON และ Web-based
5.16 อุปกรณ์ฯ ต้องสามารถติดตั้งบน Rack 19” ได้
5.17 สามารถทำงานกับระบบไฟฟ้าในประเทศไทยแบบ 220 VAC 50 Hz ได้
5.18 ผ่านรับรองตามมาตรฐานความปลอดภัย IEC, FCC และ UL
5.19 บริษัทฯ ที่นำเสนอ จะต้องได้รับการรับรองอุปกรณ์ทั้งหมด ต้องเป็นของใหม่ ไม่เคยผ่านการใช้งานมา ก่อน จากบริษัทที่เป็นบริษัทสาขา ของบริษัทผู้ผลิตฯ ที่ประจำในประเทศไทยเท่านั้น
6. อุปกรณ์ควบคุมการกระจายสัญญาณระบบเครือข่ายชนิดไร้สาย (Wireless Controller)
6.1 เป็นอุปกรณ์ Hardware appliance ที่สามารถควบคุมและบริหารจัดการอุปกรณ์ Wireless Access Point ที่นำเสนอได้ไม่น้อยกว่า 48 อุปกรณ์ และรองรับการขยายได้เพิ่มอีกไม่น้อยกว่า 72 อุปกรณ์โดยไม่ต้องเปลี่ยน อุปกรณ์
6.2 มีพอร์ตแบบ 1000BASE-T จำนวนไม่น้อยกว่า 2 พอร์ต และ พอร์ตแบบ 10/100BaseT จำนวนไม่น้อย กว่า 1 พอร์ต
6.3 ต้องมีแหล่งจ่ายไฟจำนวนไม่น้อยกว่า 2 ชุด และสามารถทำงานได้แบบ Redundant Power Supply
6.4 สามารถทำ Centralized Policy and Configuration Management ได้
6.5 สามารถทำ Fast Roaming ระหว่าง Wireless Access Points ได้
6.6 สามารถทำ Rogue Detection ได้
6.7 สามารถทำ RF Control/Management ได้
6.8 สามารถทำ Load Sharing ระหว่าง Access Points ได้
6.9 สามารถทำงานแบบ Web Portal หรือ Web Authentication ได้
6.10 สามารถทำ Security ตามมาตรฐาน AES, TKIP, WEP Encryption, WPA และ 802.1x login ได้
6.11 สามารถทำการ บริหารจัดการอุปกรณ์ผ่านทาง CLI (Command Line Interface), Web-Base Management และ โปรแกรมสำหรับการบริหารจัดการอุปกรณ์ควบคุม Wireless Access Point แบบรวมศูนย์
6.12 รองรับการทำงานร่วมกับอุปกรณ์ RFID tag ได้
6.13 เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน FCC, UL และ EN เป็นอย่างน้อย
6.14 เป็นอุปกรณ์ที่มีเครื่องหมายการค้าเดียวกันกับ อุปกรณ์กระจายสัญญาณที่นำเสนอ
6.15 อุปกรณ์รุ่นที่เสนอ ต้องเป็นรุ่นที่ยังอยู่ในสายการผลิตในวันที่ทำการติดตั้ง และต้องเป็นเครื่องใหม่ที่ยัง มิได้ทำการติดตั้งใช้งาน ณ ที่ใดมาก่อน และไม่เป็นเครื่องที่ถูกนำมาปรับปรุงสภาพใหม่ (Reconditioned หรือ Rebuilt)
7. อุปกรณ์กระจายสัญญาณระบบเครือข่ายชนิดไร้สาย (Wireless Access Point)
7.1 เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ความถี่วิทยุในการรับส่งข้อมูลโดยใช้งานในย่านความถี่ 2.4 GHz
7.2 สนับสนุนมาตรฐาน IEEE802.11g และ IEEE802.11b
7.3 มีพอร์ตชนิด Fast Ethernet 10/100 BASE-TX อย่างน้อย 1 พอร์ต ซึ่งสนับสนุน power over Ethernet โดยอุปกรณ์ระบบเครือข่ายไร้สายทุกชุดที่เสนอตามโครงการนี้จะต้องติดตั้งโดยรับกำลังไฟฟ้าผ่านทางสาย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เท่านั้น
7.4 รองรับการติดตั้งเสาอากาศภายนอกได้ (External Antenna)
7.5 สนับสนุนมาตรฐาน IEEE 802.1x และสามารถตรวจสอบสิทธิเข้ามาใช้งานโดยดูจาก MAC Address ได้
7.6 สนับสนุนการเข้ารหัสแบบ WEP และ WPA2
7.7 สามารถสร้าง VLAN ตามมาตรฐาน IEEE 802.1Q ได้
7.8 รองรับการใช้งานแบบ Multiple SSID
7.9 รองรับการทำงานร่วมกับอุปกรณ์ควบคุมแบบรวมศูนย์ในอนาคตได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนอุปกรณ์
7.10 สามารถบริหารจัดการอุปกรณ์ด้วยผ่านทาง Web-based และ SNMP ได้
7.11 ผ่านรับรองตามมาตรฐานความปลอดภัย IEC FCC และ UL
7.12 บริษัทฯ ที่นำเสนอ จะต้องได้รับการรับรองอุปกรณ์ทั้งหมด ต้องเป็นของใหม่ ไม่เคยผ่านการใช้งานมา ก่อน จากบริษัทที่เป็นบริษัทสาขาของบริษัทผู้ผลิตฯ ที่ประจำในประเทศไทยเท่านั้น
8. เครื่องโทรศัพท์ผ่านระบบเครือข่าย (IP Phone) พร้อมลิขสิทธิ์ซอฟแวร์
8.1 เชื่อมต่อกับระบบด้วยมาตรฐาน SIP และสามารถทำงานร่วมกันกับอุปกรณ์ Call Processor หรือ SIP Server ของผู้ว่าจ้างได้อย่างสมบูรณ์แบบ
8.2 มี Interface แบบ 10/100BaseT จำนวนไม่น้อยกว่า 2 ports และสามารถเชื่อมต่อกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า แบบ Power over Ethernet (PoE) ตามมาตรฐาน IEEE802.3af หรือดีกว่าได้
8.3 มีจอแสดงผล Display ได้ไม่น้อยกว่า 2 บรรทัด (160x33 pixels) พร้อมปุ่มควบคุมแบบสี่ทิศทาง
8.4 มี Speaker Phone
8.5 มี Message waiting light สำหรับแสดงสถานะของฝากข้อความ Voice mail และมีปุ่มสำหรับเรียกฟัง
Voice mail
8.6 สามารถทำการบีบอัดข้อมูลเสียง (Voice Codec) แบบ G.711หรือ G.729 ได้
8.7 มีคุณสมบัติในการทำ Quality of Service ดังต่อไปนี้
(1) Adaptive Jitter Buffer
(2) IP-ToS
(3) IEEE802.1p
8.8 สามารถปรับเปลี่ยน Ring Tone ได้
8.9 สามารถตัดเสียงพูด (Mute) เพื่อป้องกันเสียงออกไปยังปลายทางได้
8.10 สามารถปรับระดับเสียง (Volume) ดัง/เบา ได้
8.11 สามารถรองรับระบบเสียงชนิด Wideband Audio ได้
8.12 จะต้องทำการติดตั้งโดยเจ้าหน้าที่ที่ได้รับ Certificate ด้านการติดตั้งระบบ IP Telephony จาก บริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์ที่ติดตั้งตามรายการนี้
8.13 บริษัทฯ จะต้องได้รับการรับรองอุปกรณ์ทั้งหมด ต้องเป็นของใหม่ ไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน จาก บริษัทที่เป็นบริษัทสาขา ของบริษัทผู้ผลิตฯ ที่ประจำในประเทศไทยเท่านั้น
9. อุปกรณ์เชื่อมโยงเครื่องโทรสารขนาด 2 พอร์ต (2-Port FXS)
9.1 เชื่อมต่อกับระบบด้วยมาตรฐาน SIP และสามารถทำงานร่วมกันกับอุปกรณ์ Call Processor หรือ SIP Server ของผู้ว่าจ้างได้อย่างสมบูรณ์แบบ
9.2 มี Interface แบบ10/100BaseT หรือดีกว่าเพื่อการต่อเชื่อมระบบเครือข่าย จำนวนไม่น้อยกว่า 1
พอร์ต
9.3 มีพอร์ต FXS จำนวนไม่น้อยกว่า 2 พอร์ต พร้อม License การใช้งานสำหรับ อุปกรณ์ Call Processor
หรือ SIP Server ของผู้ว่าจ้าง
9.4 ระบบสามารถทำการบีบอัดข้อมูลเสียง (Voice Codec) แบบ G.711, G.729 ได้
9.5 รองรับมาตรฐาน T.38 สำหรับการทำงานของ Fax
9.6 สามารถบริหารจัดการระบบ ผ่าน Web-Based Management ได้
9.7 จะต้องทำการติดตั้งโดยเจ้าหน้าที่ที่ได้รับ Certificate ด้านการติดตั้งระบบ IP Telephony จาก บริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์ที่ติดตั้งตามรายการนี้
9.8 บริษัทฯ จะต้องได้รับการรับรองอุปกรณ์ทั้งหมด ต้องเป็นของใหม่ ไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน จาก บริษัทที่เป็นบริษัทสาขา ของบริษัทผู้ผลิตฯ ที่ประจำในประเทศไทยเท่านั้น
10. เครื่องสำรองไฟฟ้า
10.1 เป็นชนิด True Online มีขนาดไม่น้อยกว่า 10,000VA/700Watt ติดตั้งโดยเชื่อมต่อกันเพื่อทำงานใน ลักษณะ Share Load Redundancy
10.2 ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO-9001
10.3 รองรับ แรงดันขาเข้า 220 V ±20% หรือดีกว่า
10.4 รองรับ ความถี่ขาเข้า 50 Hz ±10%
10.5 มี Power Factor ไม่น้อยกว่า 0.97 ที่ Full Load
10.6 แรงดันขาออก สภาวะปกติ และ ภาวะสำรองไฟฟา
10.7 ความถี่ขาออก 50 Hz ± ไม่เกิน 1%
220V ±2%
10.8 Output Receptacles เป็นแบบ IEC320-C13 หรือ Terminal ที่ติดกับตัวเครื่องเท่านั้น
10.9 มี Wave Form เป็นชนิด Pure Sine Wave
10.10 มี Battery แบบ Sealed Lead Acid ชนิด Maintenance Free สำรองไฟฟ้าได้ ไม่น้อยกว่า 7 นาที ที่
Full Load (7000W)
10.11 มีระบบป้องกันไฟฟ้าลัดวงจรจาก Input, Output
10.12 มีสัญญาณแสดงสภาวะต่างๆรวมทั้งสัญญาณเสียงเพื่อเตือนผู้ใช้งานอย่างน้อยดังนี้ Battery Low, Over Load และ Fault
10.13 มีระบบป้องกันแบตเตอรี่เสียหาย (Low Battery shutdown)
10.14 มี Efficiency AC to AC ที่ Full Load ไม่น้อยกว่า 90%
10.15 สามารถติดตั้งใน Rack 19” ได้
10.16 ต้องได้รับมาตรฐาน CE, TUV, EN
11. เดินสายระบบเครือข่ายภายในอาคาร
11.1 ผู้รับจ้างต้องจัดหา ติดตั้ง และทดสอบระบบข่ายสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ต่างๆ ตามขอบเขตที่กำหนด ในแบบหรือในข้อกำหนดนี้ เพื่อให้ระบบข่ายสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ใช้งานได้สมบูรณ์และถูกต้องตามมาตรฐานและ ตามความประสงค์ของผู้ว่าจ้าง
11.2 การติดตั้งสาย LAN ห้ามมีการต่อสายโดยเด็ดขาด และระยะสายแต่ละจุดจะต้องไม่เกิน 90 เมตร
11.3 ติดตั้งโดยใช้สายสัญญาณเครือข่ายชนิดเส้นทองแดงตีเกลียวไม่ต่ำกว่ามาตรฐาน CAT6 ซึ่งมีคุณสมบัติขั้น ต่ำ ตามข้อกำหนดมาตรฐานดังต่อไปนี้
(1) เป็นสายทองแดงคู่บิดเกลียวแบบ 4 คู่สาย ขนาด 24 AWG ชนิด Solid Bare Copper wire และมี Rip Cord อยู่ภายใน โดยมี Insulation ทำด้วย Polyethylene
(2) ฉนวนที่หุ้มต้องเป็น PVC และต้องได้มาตรฐาน Flame Rating: UL(CM) หรือ CMR
(3) มีค่า Conductor DC Resistance ที่อุณหภูมิ 20ºC สูงสุด 9.38 Ohm/100m
(4) สามารถทำงานได้ที่ช่วงอุณหภูมิตั้งแต่ -15ºC ถึง +70ºC
(5) สามารถทนแรงดึง (pulling tension) ได้ไม่น้อยกว่า 108N
(6) มีค่า Return Loss ไม่น้อยกว่า 20.0dB/100m ที่ความถี่ 100MHz และไม่น้อยกว่า 17.0dB/100m ที่ ความถี่ 250MHz
(7) มีอัตราลดทอนสัญญาณมากที่สุดไม่เกิน 20.0dB/100m ที่ความถี่ 100MHz และไม่เกิน 33.0dB/100m
ที่ความถี่ 250MHz
(8) มีค่า Pr-Pr ACR เทียบกับระยะทาง 100 เมตร ที่ความถี่ 100MHz ไม่น้อยกว่า 24.0 dB และที่ความถี่
250MHz ไม่น้อยกว่า 5.0dB
(9) มีค่า Power Sum NEXTเทียบกับระยะทาง 100m ไม่น้อยกว่า 42.0dB ที่ความถี่ 100 MHz และไม่ น้อยกว่า 36.0dB ที่ความถี่ 250MHz
(10) มีค่า Power Sum ELFEXTเทียบกับระยะทาง 100 m ไม่น้อยกว่า 24.0dB ที่ความถี่ 100 MHz และ ไม่น้อยกว่า 16.0dB ที่ความถี่ 250MHz
(11) มีค่า Pr-Pr ELFEXTเทียบกับระยะทาง 100m ไม่น้อยกว่า 27.0dB ที่ความถี่ 100 MHz และไม่น้อยกว่า
19.0dB ที่ความถี่ 250MHz
(12) มีคุณสมบัติตรงตามมาตรฐาน ISO/IEC 11801, TIA/EIA 568-B.2 และ IEC60332.1
(13) อุปกรณ์ประกอบอื่นในระบบสายสัญญาณ UTP CAT6 เช่น Patch Panel, Patch Cord และ
Modular Jack/Plug เป็นต้น ต้องเป็นผลิตภัณฑ์ยี่ห้อเดียวกันเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการใช้งานสูงสุด
12. ระบบสายใยแก้วนำแสง
12.1 สายใยแก้วนำแสงที่ใช้ต้องเป็น สายใยแก้วนำแสงชนิด Single Mode 9/125 µm
12.2 สายใยแก้วนำแสงที่ใช้นั้น ในแต่ละแกนจะต้องมีกำหนดมาตรฐานรหัสสี (Core Color) แตกต่างกัน
12.3 สายใยแก้วนำแสงที่ใช้จะต้องได้การรับรองการตรวจสอบตามมาตรฐานต่อไปนี้
(1) TIA/EIA-455-33 Tensile Loading and Bending Test
(2) TIA/EIA-455-85 Twist Test
(3) TIA/EIA-455-3 Temperature Cycling
(4) TIA/EIA-455-3 Cable Aging
(5) TIA/EIA-455-82 Water Penetration
12.4 การติดตั้งเดินสายต้องทำตามคำแนะนำของผู้ผลิตอย่างเคร่งครัดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องรัศมีความโค้ง และการออกแรงดึงสายใยแก้วนำแสงต้องไม่เกินที่ระบุโดยผู้ผลิต โดยต้องส่งเอกสารที่เป็นรายละเอียดของเคเบิลที่ จัดทำโดยผู้ผลิตให้กับผู้ว่าจ้างเพื่อใช้ควบคุมการติดตั้ง
12.5 ระหว่างจุดต้นทางไปยังจุดปลายทางใดๆ สายเคเบิลต้องไม่มีการต่อระหว่างทางเด็ดขาด
12.6 ในการติดตั้งสายเคเบิล บริเวณที่ใกล้ปลายสายทั้งสองด้านต้องมีที่มั่นคงแข็งแรงปลอดภัยสำหรับพักสาย เคเบิลที่มีความยาวไม่น้อยกว่าที่มาตรฐานระบุไว้หรือไม่น้อยกว่า 5 เมตร และต้องมีอุปกรณ์และวิธีการพักสายที่ เหมาะสม เพื่อให้สามารถปลดสายที่พักอยู่นี้ไปใช้ในกรณีสายขาดโดยไม่กระทบต่อปลายสายที่ติดตั้งในตู้พักสาย
12.7 ต้องมีชุดจับยึดปลายสายเคเบิลเข้ากับตู้ RACK ทำด้วยโลหะ มีเข็มขัดโลหะสำหรับยึดสาย ตัวยึดโลหะ สำหรับ grounding และหลักยึด strength member ของเคเบิล ตามแบบ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยหรือ ตามวิธีการที่ระบุไว้ตามเอกสารของผู้ผลิตตู้พักสาย ให้เสนอวิธีการพักสาย รูปตัวอย่างของการพักสายและชุดจับยึด ปลายสายที่จะใช้ในส่วนนี้มาเพื่อพิจารณา
12.8 สายเคเบิลหากเป็นชนิดที่มีชั้นในเป็นโลหะ ต้องมีการติดตั้งระบบต่อลงดินที่เหมาะสม
12.9 การเดินสายลักษณะเดินในอากาศต้องต่อสายสะพานลงดิน(Grounding) ทุกๆ 250 เมตร
12.10 ในการต่อปลายสายเข้ากับขั้วต่อสาย (connector) จะต้องกระทำอย่างประณีต โดยให้มีความสูญเสีย ของสัญญานไม่เกิน 0.5 dB ต่อหนึ่ง ขั้วต่อสาย
12.11 การตัดต่อสายแบบถาวรโดยวิธี fusion splicing นั้นจะต้องวัดค่าความสูญเสียได้ไม่เกิน 0.02 dB
12.12 การเข้าหัวสายสำหรับสายเคเบิลชนิด loose-tube และ “tight-buffer non-break out” ให้ใช้ pigtail ชนิด breakout cable ที่เข้าหัวสายมาอย่างดีจากโรงงานด้วย epoxy ทำ automatic fusion splicing กับ สายจากเคเบิล และพักจุดต่อไว้ใน splice holder ที่วางบน organizer tray ที่อยู่ในตู้พักแล้วจึงนำส่วนปลายอีกข้าง ของ pigtail ที่เป็น SC ต่อเข้ากับ adapter plate ทั้งหมดติดตั้งในตู้ RACK 19” ต้องมีเจ้าหน้าที่ของผู้ว่าจ้างคอย สังเกตการทำงานนี้ด้วย
12.13 การเข้าหัวสายสำหรับสายเคเบิลชนิด “tight-buffer breakout cable” ให้เข้าหัวสายแบบใช้กาว epoxy ตามวิธีการที่แนะนำโดยผู้ผลิต โดยต้องส่งเอกสารที่เป็นรายละเอียดของวิธีการเข้าหัวสายที่จัดทำโดยผู้ผลิต ให้กับผู้ซื้อเพื่อใช้ควบคุมการติดตั้ง
12.14 ปลายแต่ละข้างของเส้นใยแก้วนำแสงใช้ขั้วต่อสายแบบ simplex SC connector ตามสีที่และทำ เครื่องหมายที่กำหนดโดยผู้ว่าจ้างเพื่อใช้อ้างอิงในการทดสอบ ครบตามจำนวนเส้น (core) ทุกเส้นและติดตั้งในตู้พัก สายที่มี duplex SC coupling ตามสีที่กำหนด
12.15 สายเคเบิลทุกเส้นต้องมีการทำเครื่องหมายถาวรด้วยการติดแผ่นอะลูมิเนียมที่ตอกรหัสสาย หรือใช้ วิธีการอื่นที่เหมาะสมกว่า ติดในตำแหน่งที่สามารถแยกแยะสายทุกเส้นได้ชัดเจนเมื่อสายอยู่รวมกลุ่มกัน โดยทำ เครื่องหมายที่สายเคเบิลที่ทุกจุดยึดสายเคเบิลเข้ากับเสา ทุกจุดยึดเข้ากับอาคาร และทุกจุดที่มีกล่องต่อท่อร้อยสาย แบบเปิดได้ ที่ตรงกับเลขหมายบอกความยาวสายบนเปลือกสายเคเบิล
12.16 ในการติดตั้งสายเคเบิลจะต้องมีการพันเทป PVC สีส้ม ความกว้าง 1.5 นิ้ว บนผิวเคเบิล บริเวณห่างจาก จุดที่มีการติดตั้งเคเบิลเข้ากับเสาหรือตัวอาคาร 15 เซนติเมตร ทั้งสองข้างของจุดที่ติดตั้งเคเบิล โดย เทป PVC ที่ใช้ ต้องมีคุณภาพไม่ต่ำกว่าผลิตภัณฑ์ของ 3M
12.17 มีการบันทึกเลขหมายบอกความยาวสายที่จุดทำเครื่องหมายทุกจุด และทุกตำแหน่งของจุดที่มี เครื่องหมายนั้นประกอบในรายงานการติดตั้งเพื่อใช้ในการหาจุดเสียของสายเคเบิลแต่ละเส้น
12.18 การติดตั้งอุปกรณ์สำหรับร้อยสาย จับยึดสายเข้ากับเสาและตัวอาคาร ต้องคำนึงถึงการติดตั้งเพิ่มเติมใน อนาคตเพื่อให้ติดตั้งสายเพิ่มเติมได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสำหรับอุปกรณ์นั้นอีก
12.19 การติดตั้งภายในท่อร้อยสายต้องติดตั้งภายในท่อร้อยสายย่อย (Sub-duct) เท่านั้น
12.20 ระบบสายใยแก้วนำแสงตอนนอกเป็นการเดินสายแบบผสม ได้แก่การเดินสายลอย (Aerial Cable) และ การเดินร้อยท่อสาย ติดตั้งภายในรางร้อยสายภายในอาคาร ต้องติดตั้งด้วยอุปกรณ์ที่เป็นมาตรฐานการติดตั้ง
12.21 สายสัญญาณ ท่อร้อยสาย และวัสดุที่ใช้ในระบบข่ายสายตอนนอก จะต้องเป็นประเภทที่ออกแบบให้ใช้ กับสภาพแวดล้อมตอนนอก (Out-door Environment)
การทดสอบ
12.22 สำหรับระบบสายใยแก้วนำแสง ผู้ขายจะต้องทำการทดสอบสายใยแก้วนำแสง หลังการติดตั้งแล้วด้วย เครื่องมือและอุปกรณ์สำหรับทดสอบที่ได้มาตรฐาน และต้องเสนอวิธีการทดสอบพร้อมอุปกรณ์ที่ใช้
(1) การทดสอบการสูญเสียกำลัง (attenuation or loss test)
(2) การทดสอบด้วย OTDR
(3) การทดสอบความต้านทานลงดิน (ground resistance test) ที่จุดต่อลงดินทุกจุด
12.23 ในขณะทดสอบจะต้องมีเจ้าหน้าที่ของผู้ว่าจ้างคอยสังเกตการทำงานนี้ด้วย
12.24 หลังจากการติดตั้งผู้รับจ้างต้องทำการทดสอบสายทุกเส้น หากมีสายเส้นใดไม่ผ่านการทดสอบต้องแก้ไข ให้ผ่านการทดสอบทุกเส้น และส่งผลการทดสอบในรายงาน เพื่อให้คณะกรรมการตรวจการจ้างใช้เป็นข้อมูลเพื่อ ตรวจสอบแบบสุ่มอีกจำนวนไม่น้อยกว่า 10%ของจำนวนสายทั้งหมด
12.25 หากการตรวจรับงานไม่สามารถทำได้เนื่องจากมีสายจำนวนหนึ่งไม่ผ่านการทดสอบ ผู้รับจ้างต้องเสนอ รูปแบบวิธีการชดเชยอันเนื่องมาจากความบกพร่องดังกล่าวต่อคณะกรรมการตรวจการจ้าง
13. อุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชก (Surge Protection Device 3 Phase 100KA)
13.1 เป็นอุปกรณ์ป้องกันอันตรายอันเนื่องมาจากฟ้าผ่าและไฟกระโชกหรือการเปิด-ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้ากำลัง ขนาดใหญ่ซึ่งปนเข้ามาหรือเหนี่ยวนำเข้ามาทางสายไฟฟ้า AC Power Line ที่จ่ายให้กับอุปกรณ์
13.2 จะต้องทำงานด้วยการติดตั้งในลักษณะต่อขนานกับสายจ่ายไฟฟ้าของระบบงาน
13.3 ต้องสามารถป้องกันกระแสไฟฟ้ากระโชก (Surge) และแรงดันไฟเกินชั่วขณะ (TOVs) ที่เกิดขึ้นในระบบ ไฟฟ้าในรูปของไฟกระโชกแบบช่วงยาวตามมาตรฐาน ANSI/ IEEE C62.41.1-2002 ได้
13.4 ชิ้นส่วนภายในที่มีหน้าที่รับ Surge หรือไฟกระโชก เช่น Metal Oxide Varistor (MOV) จะต้องมี 1 ตัว ต่อ 1 วงจร ตามขนาดของ Surge Current ที่กำหนดเพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการรับไฟกระโชก โดยห้ามนำ MOV ขนาดเล็กกว่าหลายๆ ตัวมาต่อขนานกัน
13.5 จะต้องมีส่วนแสดงสถานะการทำงานของอุปกรณ์ เช่น หลอดไฟแสดงสถานะการต่อกับระบบไฟฟ้าและ หลอดไฟแสดงสภาพการทำงานของอุปกรณ์ป้องกันว่าทำงานปกติ หรือผิดปกติ ในกรณีผิดปกติจะต้องมีสัญญาณเสียง เตือนด้วย
13.6 มีตวนับการกระโชกของกระแสไฟฟ้า (Surge Counter) ซึ่งจะทำการนับจำนวนครั้งที่มีการกระโชกของ กระแสไฟฟ้าเกิน 1 kA โดยมีจำนวนหลักในการนับไม่น้อยกว่า 3 หลกั
13.7 เป็นอุปกรณ์ที่สามารถลดแรงดันอันเนื่องมาจากฟา้ ผ่าได้ตามรูปคลื่นมาตรฐาน ANSI/IEEE C62.41.1-
2002
13.8 ใช้กับ Line Voltage หรือแรงดันของระบบไฟฟ้าที่อุปกรณ์จะต่อใช้งานแบบ Three Phase Four
Wire 380/220 Volt
13.9 ใช้กับ Line Frequency หรือความถี่ของระบบไฟฟ้าแบบ 50 Hz
13.10 มี Leakage Current หรือกระแสรั่วไหลของตัวอุปกรณ์ป้องกันน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 mA เมื่อใช้กับ ไฟฟ้ากระแสสลับ 220 Volt, 50 Hz โดยไม่รวมกระแสส่วนแสดงผล
13.11 สามารถรับ Surge Current หรือกระแสไฟฟ้ากระโชกได้ไม่น้อยกว่า 100 kA/Phase ที่รูปคลื่น มาตรฐาน 8/20μSec.
13.12 ต้องมี Clamping Voltage หรือแรงดันไฟฟ้าที่อุปกรณ์ป้องกันเริ่มทำงาน หรือเริ่มทำการป้องกันที่
285 Volt ±10%, 50 Hz (ที่กระแสไม่น้อยกว่า 5 A)
13.13 ต้องมี TOVs surge protection หรือค่าแรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อม Load อันเนื่องมาจากแรงดันไฟเกิน ชั่วขณะ (TOVs) ที่เกิดขึ้นในระบบไฟฟ้าในรูปของไฟกระโชกแบบช่วงยาวตามมาตรฐาน ANSI/IEEE C62.41.1-2002 โดยมีค่าน้อยกว่า 285 Volt ที่ค่ากระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวอุปกรณ์ป้องกันมากกว่า 10 A, 50 Hz ภายในเวลาไม่น้อย กว่า 3 วินาที
13.14 ต้องมี Let Through Voltage หรือค่าแรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อม Load อันเนื่องมาจากกระแสไฟกระโชก แบบช่วงสั้น (Transient) ตามรูปคลื่นมาตรฐาน ANSI/IEEE C62.41.1-2002 ขนาด 6 kV (1.2/50 μSec) และ 3 kA (8/20 μSec.) น้อยกว่า 900 Volt
13.15 ต้องมี Response Time หรือเวลาตอบสนองของอุปกรณ์ป้องกันในการทำงานที่น้อยกว่า 25 nSec.
13.16 ต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากโรงงานที่ได้การรับรองระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO 9001
14. เต้ารับสัญญาณคอมพิวเตอร์และระบบโทรศัพท์บนเครือข่ายไอพี
14.1 สำหรับสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ชนิด UTP CAT6 4 Pairs ซึ่งเดินมาจาก Patch Panel Rack โดยใช้ ปลกชนิด RJ 45
14.2 สำหรับสายสัญญาณโทรศัพท์บนเครือข่ายไอพีชนิด UTP CAT6 4 Pairs ซึ่งเดินมาจาก Patch Panel Rack โดยใช้ปลั๊กชนิด RJ 45
15. กล่องเชื่อมต่อสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ (Patch Panel)
ใช้สำหรับเชื่อมต่อสายสัญญาณระหว่างสายสัญญาณในแนวดิ่ง (Riser) และในแนวนอน โดยมีชนิดของขั้วต่อ ที่ เหมาะสมกับชนิดของสายสัญญาณ โดยใช้ Rack ตามมาตรฐาน EIA ติดตั้งในกล่องโลหะขนาดที่เหมาะสม และต้องจัด ให้มี Cable Management Accessories ต่างๆ ให้ครบถ้วน เพื่อให้จัดสายได้ อย่างเป็นระเบียบสวยงาม
จบหมวดที่ 8
หมวดที่ 9
เครื่องสำรองไฟฟ้าฉุกเฉิน (Uninterruptible Power Supply : UPS)
1. ความตองการทั่วไป
1.1. ข้อกำหนดนี้ครอบคลุมรายละเอียดคุณสมบัติและการติดตั้งเครื่องสำรองไฟฟ้าฉุกเฉินUPS,อุปกรณ์ควบคุม
, Bypass Switch ตลอดจน Battery Backup
1.2. เครื่องUPS เป็นแบบ Double Conversion On-line UPS with Parallel RedundancyConfiguration ใช้สำหรับจ่ายกระแสไฟฟ้าฉุกเฉินให้แก่อุปกรณ์ไฟฟ้าที่จำเป็นโดยอัตโนมัติเมื่อไฟฟ้าเกิดขัดข้องโดยขนาด กำลังไฟฟ้าต้องไม่น้อยกว่าที่กำหนดในแบบเพื่อจ่ายโหลดที่ Power Factor 0.8Lagging, 380/220V, 3-Phase, 4-Wire, 50 Hz. และจะต้องมีประสิทธิภาพไม่ต่ำกว่า 90 %
1.3. เครื่อง UPS จะต้องเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อสามารถมอนิเตอร์การทำงานผ่าน ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้
1.4. เครื่อง UPS และอุปกรณ์ประกอบต้องผลิตและทดสอบตามมาตรฐาน IEC, EN, VDE, BS, ANSI,UL, ISO
หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า
1.5. เครื่อง UPS จะต้องทำการทดสอบรายละเอียดต่างๆของ UPS ตามข้อกำหนดณโรงงานผู้ผลิตก่อนการ จัดส่งพร้อมด้วยรายงานการทดสอบซึ่งได้รับการรับรอง
1.6. เครื่อง UPS ต้องเป็นผลิตภัณฑ์จากประเทศสหรัฐอเมริกาหรือกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปเท่านั้น
1.7. ผู้รับจ้างจำเป็นต้องดำเนินการจัดหาและติดตั้งอุปกรณ์ที่จำเป็นถึงแม้ว่าจะไม่ระบุไว้ในแบบหรือข้อกำหนด ก็ตามเพื่อให้เครื่อง UPS ทำงานได้สมบูรณ์ตามความต้องการของวิศวกร
2. เครื่อง UPSขนาด 20kVA
2.1. เครื่อง UPS จะต้องมีการทำงานในสภาวะการณ์ดังต่อไปนี้ ก. ในภาวะการณ์ปกติ
เมื่อมีกระแสไฟฟ้าจ่ายให้กับเครื่อง UPS ตามปกติชุด Rectifier จะทำหน้าที่แปลงไฟฟ้ากระแสสลับ (AC)
เป็นไฟฟ้ากระแสตรง (DC) ที่สม่ำเสมอเพื่อจ่ายให้กับชุด (Inverter) และพร้อมกันนี้ก็จะประจุแบตเตอรี่ให้ อยู่ในสภาพเต็มตลอดเวลา (Fully Charge) ชุด Inverterเมื่อได้รับไฟฟ้ากระแสตรงแล้วก็สามารถ เปลี่ยนเป็นไฟฟ้ากระแสสลับที่คงที่เพื่อจ่ายให้กับLoad ต่อไป
ข. ในภาวะการณ์ฉุกเฉิน
เมื่อกระแสไฟฟ้าเกิดขัดข้องชุด Rectifier จะหยุดทำงานและแบตเตอรี่สามารถจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงให้กับ ชุด Inverter เพื่อแปลงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับและจ่ายให้กับ Load ได้ทันทีโดยไม่ขาดตอนเป็นเวลาไม่ น้อยกว่า5 นาทีหรือตามที่กำหนดหลังจากนั้นถ้ากระแสไฟฟ้าตามปกติยังไม่จ่ายไฟมาเครื่องจะหยุดทำงาน อัตโนมัติ (Automatic Shutdown) พร้อมสัญญาณแจ้งเตือน (Alarm)
ค. ในภาวะการณ์ Bypass Automatic Bypass
เมื่อเครื่อง UPS ทำงานขัดข้องหรือใช้ไฟฟ้าเกินกำลัง (Overload) ชุด Bypass Switch ต้องสามารถ ย้าย Load จากชุด Inverter ไปต่อเข้ากับไฟฟ้าด้าน Reserve ไว้ได้โดยอัตโนมัติโดยไม่ขาดตอนและ
เมื่อทุกอย่างอยู่ในภาวะปกติชุด Bypass Switch ก็ต้องสามารถย้าย Loadกลับมาต่ออย่างเดิมได้ โดยอัตโนมัติและไม่ขาดตอนเช่นกัน
Manual Bypass
ในกรณีต้องการซ่อมหรือบำรุงรักษา UPS ให้มีอุปกรณ์ Manual Bypass เพื่อป้องกันอันตราย ในขณะปฏิบัติงานกับ UPS การ Transfer หรือ Retransfer โดยอุปกรณ์ ManualBypass ต้อง สามารถ Synchronize ด้าน Power Supply ทุกสภาวะได้และไม่ทำให้โหลดขาดตอน
2.2. เครื่อง UPS จะต้องมีอุปกรณ์ควบคุมสำหรับเครื่อง UPS เพื่อความปลอดภัยดังนี้ ก. อุปกรณ์ป้องกัน
ต้องมีอุปกรณ์อย่างน้อยดังรายละเอียดข้างล่างหรือที่กำหนดไว้ในแบบ
- อุปกรณ์ตัดตอนระบบไฟฟ้าด้านเข้า
- อุปกรณ์ตัดตอนไฟฟ้ากระแสตรง
- อุปกรณ์ตัดตอนระบบไฟฟ้าด้านนอก ข. การเตือน
ต้องมีสัญญาณแสดงภาวะการทำงานและการเตือน
2.3. เครื่อง UPS จะต้องมีความสะดวกในการใช้งานและบำรุงรักษาโดยต้องมีแผงแสดงการเตือนสภาวะการ ทำงานและการวัดแสดงบน Screen และควบคุมโดย Keyboard อีกทั้งสามารถเก็บบันทึกเหตุการณ์ของ การเตือนและความผิดปกติได้อีกด้วย
ก. การวัดจะต้องสามารถวัดค่าได้อย่างน้อยดังนี้
- Output Voltage
- Output Current
- Output Frequency
- Output Power
- Input Voltage
- Input Current
- Input Frequency
- Battery Voltage
- Battery Current
ข. ภาวะการทำงานและการเตือนจะต้องสามารถแสดงได้อย่างน้อยดังนี้
- Rectifier On/Off
- Input Power Supply Fail
- Rectifier / Input Fuse Fail
- Rectifier /Over Temperature
- Inverter On/Off
- Inverter Relay Fail
- Inverter / Over Temperature
- Battery On
- Battery Low Pre Warning
- Bypass On
- Main Frequency Abnormal
กำหนดให้มีแผง Remote Indicator ที่ห้องควบคุมกลางด้วย
2.4. เครื่อง UPS จะต้องมีรายละเอียดอย่างน้อยดังนี้ ก. Rectifier/Charger
Rectifier/Charger ช นิ ด IGBT ส า ม า ร ถ จ่ า ย ก ร ะ แ ส DC ใ ห้ Inverter แ ล ะ Battery โ ด ย
Rectifier/Chargerต้องมีขนาดเพียงพอที่จะ
จ่ายไฟให้ Inverter ขณะ Full Load และต้องสามารถประจุกำลังไฟฟ้าให้ Battery ได้ 4.5 KW
- Number of phase : 3 Phase + Neutral (3Phase , 4Wire System)
- Input Voltage : 380/220V ±20%
- Input Frequency : 50Hz ± 10%
- Input Power Factor : ≥ 0.99at Full Load
- Surge Protection : Provided
- Adjustable Current Limit : 110 – 115% at Full Load
ข. Inverter
Inverter แปลงไฟ DC จาก Rectifier หรือ Battery เป็นไฟ AC 380/220 Volt 3 Phase 4 Wire 50 Hz. โดยมี Output Power ไม่น้อยกว่าที่กำหนดในแบบที่ 0.8 PF Lagging
- Output Voltage Regulation : ±1% Balance Load
- Frequency Stability : ± 0.25%
- Over Load Capability : 105% - 125% 5 min , 125% - 150% 1 min,
150% 200ms
- Transient Voltage Variation : ≤60ms to Steady-State Voltage
- Load Power Factor Permitted : 0.9
- Output Voltage Distortion (THDU) : ≤2% Linear Load
≤ 5% Non-linear Load
ค. Static Bypass Switch
Static Bypass Switch (SBS) ต้องมีรายละเอียดดังนี้
- Static Bypass Switch จะต้องมีขนาดและจำนวนตามที่ระบุในแบบ
- ระบบควบคุมการจ่ายไฟของ UPS และการทำงานของ Static Bypass Switch
ต้องสามารถควบคุมการจ่ายไฟในภาวะปกติและการ Bypass เมื่อ UPS เกิดปัญหาโดยไม่มีผลกระทบ ต่อการจ่ายไฟของ Load
4 แบตเตอรี่
4.1 แบตเตอรี่จะต้องมีรายละเอียดและคุณสมบัติอย่างน้อยดังต่อไปนี้
ก. แบตเตอรี่ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน BS., IEC, ANSI และ UL ซึ่งออกแบบให้ใช้งานรวมกับระบบ
UPS ได้เป็นอย่างดี
ข. แบตเตอรี่เป็นแบบ Free Maintenace Stationary Seal Lead Acid (Valve Regulated)
ค. แบตเตอรี่ต้องสามารถจ่าย Load Output ให้กับ UPS ขนาดตามที่ระบุในแบบที่ Power Factor 0.8 ได้ไม่น้อยกว่า5 นาทีที่พิกัดโหลดในกรณีที่เกิดไฟฟ้าดับ
ง. ต้องแสดงรายการคำนวณในการเลือกแบตเตอรี่และแบตเตอรี่ที่เลือกใช้ต้องกำหนดค่า
FloatVoltage เท่ากับ 2.25 VDC/Cell และ End Voltage เท่ากับ 1.75 VDC/Cell (การเลือก ขนาดแบตเตอรี่ให้คำนวณที่อุณหภูมิ 25°C)
จ. อายุการใช้งานต้องไม่น้อยกว่า 10 ปีขึ้นไปที่อุณหภูมิ 25°C
ฉ. ขั้วแบตเตอรต้องทำจากวัสดุทเป็นี่ ตัวนำไฟฟ้าเป็นอย่างดีและต้องมีฉนวนหุ้มป้องกันการลัดวงจร
ช. Connectors และBusbarต้องเป็นทองแดงหรือนิเกิลเพื่อป้องกันการกัดกร่อนจากกรด และเคมีพร้อมมีฉนวนหุ้มเพื่อป้องกันการลัดวงจร
ซ. Battery Container ต้องทำจากวัสดุทนไฟและทนต่อแรงกระแทกได้ดี
ฌ. Safety Valve ในแต่ละ Cell จะถูกออกแบบให้มี Safety Valve เพื่อป้องกันแรงดันภายในCell
กรณี Over Charge
4.2 แบตเตอรี่จะต้องติดตั้งบนชั้นวางซึ่งอยู่ภายใน Battery Cabinet ติดตั้งติดกันกับเครื่อง UPS หรือติดตั้ง บน Rack ภายในห้องแบตเตอรี่ที่ใกล้กันกับเครื่อง UPS (ตามที่ระบุในแบบ) การติดตั้งแบตเตอรี่และ ส่วนประกอบต้องเป็นไปตามมาตรฐานของโรงงานผู้ผลิตกำหนดไว้และมีความสะดวกและปลอดภัยใน การปฏิบัติงาน
ก. ตู้ Cabinet ทำจากแผ่นเหล็กที่ผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิมและมีช่องสำหรับระบายอากาศอย่าง เพียงพอ
ข. ชั้นวางแบตเตอรี่ต้องทำด้วยเหล็กซึ่งผ่านกรรมวิธีเคลือบสีกันกรด
ค. บนคานรับเซลแบตเตอรี่ต้องมีฉนวนรองรับและขาปรับระดับต้องมีฉนวนเช่นกันเพื่อป้องกัน กระแสไฟฟ้ารั่วลง Ground
ง. การขันอัด Bolts & Nuts ของขั้วแบตเตอรี่ต้องใช้แรงขันแรงตามระบุในคู่มือการติดตั้งอย่าง เคร่งครัด
5. Acoustic Noise
UPS ต้องมีค่า SPL น้อยกว่าหรือเท่ากับ 58dBAวัดที่ 1 เมตรห่างจากตู้ UPS
6. การต่อลงดิน
AC Output Neutral ของ UPS ต้อง Isolate แยกจาก Equipment Ground ของ UPS
7. การติดตั้ง
การติดตั้งเครื่องสำรองไฟฟ้าฉุกเฉินและแบตเตอรี่ให้ติดตั้งตามมาตรฐานผู้ผลิตและตามที่ระบุดังนี้
ก. การเดินสายไฟฟ้าให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ระบุในรายละเอียดประกอบแบบหรือตามมาตรฐานวสท.
ข. ฐานคอนกรีตรองรับเครื่องสำรองไฟฟ้าฉุกเฉินต้องแข็งแรงและเหมาะสมเมื่อนำเครื่องไปวางและ สะดวกในการบำรุงรักษา
ค. การติดตั้งตู้ UPS, แผงควบคุมและแบตเตอรี่ต้องมีระบบปรับอากาศและระบายอากาศอย่างเพียงพอ
และให้มีสัญญาณ Alarm กรณีอุณหภูมิภายในตู้สูงเกินที่กำหนดไว้
ง. ในการติตตั้งจะต้องประสานงานการทำงานร่วมกับระบบอื่นที่เกี่ยงข้องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่าง สมบูรณ
8. การทดสอบ
จะต้องทำการทดสอบรายละเอียดต่างๆของ UPS ตามข้อกำหนดณโรงงานผู้ผลิตก่อนการจัดส่งพร้อมด้วย รายงานการทดสอบซึ่งได้รับการรับรอง
9. การบริการ
9.1 จัดเตรียมหนังสือคู่มือการบำรุงรักษาและรายละเอียดของวงจรที่สมบูรณ์ (Circuit Diagram) พร้อมทั้ง
Component จำนวน 3ชุด
9.2 จัดเตรียมชุดบำรุงรักษาแบตเตอรี่และคู่มือการบำรุงรักษาแบตเตอรี่จำนวน 1 ชุด
9.3 จัดส่งผู้เชี่ยวชาญของบริษัทผู้ผลิตมาฝึกอบรมช่างเทคนิคหรือตัวแทนของผู้ว่าจ้าง/เจ้าของโครงการจน สามารถที่จะทำการตรวจซ่อมและบำรุงรักษาได้อย่างถูกต้อง
9.4 จัดทำแผนการบำรุงรักษาเครื่อง UPS และแบตเตอรี่อย่างต่อเนื่องในระยะเวลา 5 ปีให้กับผู้ว่าจ้าง/เจ้าของ โครงการเพื่อพิจารณาและถือว่าเป็นสาระสำคัญของการเสนอราคาและพิจารณา
9.5 จัดส่งรายชื่อและหนังสือรับรองซึ่งแสดงว่าเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการบำรุงรักษาได้เคยรับการอบรม เกี่ยวกับการบำรุงรักษาจากผู้ผลิต
Surge Protective Device (SPD)
1. ข้อกำหนดทั่วไป
อุปกรณ์ Surge Protective Device (SPD) มีจุดประสงค์เพื่อใช้ลดผลกระทบที่เกิดจากสนามและ คลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าอันเป็นผลของการเกิดฟ้าผ่าจากภายนอกอาคารรวมทั้ง Surge ต่างๆที่ผ่านเข้ามาทาง สายไฟฟ้ากำลังหรือจากการเหนี่ยวนำไฟฟ้าโดยSurge Protective Device (SPD) ต้องเป็นผลิตภัณฑ์ จากประเทศสหรัฐอเมริกาหรือกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปเท่านั้น
2. มาตรฐาน
SPD จะต้องได้รับการออกแบบและรับรองตามมาตรฐานดังต่อไปนี้
- ANSI/IEEE C62.11, C62.41, and C62.45: American National Standards Institute and Institute of Electrical and Electronic Engineers
- FIP PUB 94: Federal Information Processing Standards Publication 94
- NEMA LS-1 1992: National Electrical Manufacturer Association
- NFPA 20, 70, 75 and 780: National Fire Protection Association
- UL 1449, UL1283: Underwriters Laboratories
- ISO 9001:2000
- กล่องบรรจุจะต้องเป็นไปตามมาตรฐาน NEMA 12
3. ความต้องการทางเทคนิค
3.1. อุปกรณ์ที่นำเสนอจะต้องเป็น Metal Oxide Varistorมีโครงสร้างที่ประกอบไปด้วย surge current จำนวนหลายชุดต่อขนานเข้าด้วยกันเพื่อให้สามารถรองรับค่ากระแสที่มีค่าสูงที่ไหล ผ่านได้และ surge current แต่ละชุดที่นำมาประกอบเข้าด้วยกันจะต้องมีความสมดุลย์กันของ แรงดันที่ทำงาน
3.2. ค่าแรงดันไฟฟ้าสูงสุด (MCOV) ที่ตัวอุปกรณ์ทำงานเป็นเวลาต่อเนื่องจะต้องมีค่าไม่ตํ่ากว่า 115%
ของแรงดันไฟฟ้าของระบบปกติ
3.3. อุปกรณ์ จะต้องผ่านการทดสอบ Life Cycle Testing ที่ 10kA (8x20 microsec.), 20kV (1.2x50microsec.) ตามมาตรฐาน IEEE C62.41 Category C3
3.4. ความถี่ของระบบไฟฟ้าในการทำงานจะต้องอยู่ในช่วง 47-63 Hz หรือดีกว่า
3.5. การป้องกันกระแสเกินจะต้องเป็นฟิวส์ที่มีคุณสมบัติรองรับค่ากระแสลัดวงจรได้สูงถึง 200 kA ที่ ระบบแรงดันไฟฟ้า 480Vac
3.6. จะต้องมีการป้องกันแบบ All mode protection Line-Line, Line-Neutral, Line-Ground, Neutral –Ground
3.7. คุณสมบัติของอุปกรณ์จะต้องเป็นไปตาม UL 1449 ระดับของแรงดันไฟฟ้าที่ 277/480V อุปกรณ์ TVSS ทำงานจะต้องมีค่าไม่สูงกว่า 700Vac ที่ mode protectionLine-Neutral, Line- Ground, Neutral –Ground และมีค่าไม่สูงกว่า 1500Vac mode protection Line-Line
3.8. อุปกรณ์จะต้องมีคุณสมบัติในการกำจัดสัญญาณรบกวน (Noise) ได้สูงถึง 63 dB ในช่วง ความถี่จาก 10 KHz-100MHz ต่อความต้านของระบบ 50 โอหม์ (MIL 220A) และสามารถ กำจัดสัญญาณรบกวนได้ถึง 120 dBในช่วงความถี่จาก 100 KHz-100MHz สำหรับระบบไฟฟ้า ทวไปที่มีความต้านทานของระบบที่มีค่าตํ่า
3.9. อุปกรณ์ TVSS จะต้องมีขนาดไม่ต่ำกว่า 160kA Surge Rating per Phase
3.10. เวลาในการทำงาน (Response time)< 0.5 nanosecond
3.11. การแสดงผลสภาวะการทำงานและการส่งสัญญาณเตือน
- อุปกรณ์จะต้องมี LED แสดงสถานะในการตรวจสอบสถานะการทำงานได้ของ MOV ภายใน โดยในภาวะปกติ LED จะแสดงสีเขียว แล้วถ้ามี MOV mode ใด Mode หนึ่งได้รับความ เสียหาย LED จะแสดงสีแดง
- มี dry contact สำหรับต่อเข้ากับ remote alarm เพื่อตรวจสอบสภาวะ
- มีการตรวจเช็ค Under-voltage detection หากแรงดันไฟฟ้าตกลงต่ำกว่า 70%
- มีการแสดงผลของการขาดหายไปของเฟสของระบบไฟฟ้า
- มีการแสดงผลของ Power loss monitoring
- จะต้องจะต้องมี Audible Alarm เพื่อแจ้งเป็นเสียงเมื่ออุปกรณ์มีปัญหาพร้อมด้วยปุ่มทดสอบ
- จะต้องมีตัวตรวจนับจำนวน Transient ที่เกิดขึ้นและแสดงผลที่หน้าจอ LCD โดยที่ชุด
Counter ต้องมีแบตเตอรี่สำรองชนิด Lithium battery
4. สภาวะแวดล้อมในการทำงาน
- อุณหภูมิทำงาน : -40 ถึง 60 °C
- ความชื้นสัมพัทธ์ : 0-95%, non-condensing
- ความสูง : 18,000ฟุตเหนือระดับน้ำทะเล
- ระดับของ Noise Level : < 45 dBA ที่ระยะ 1.5 เมตร
5. การติดตั้ง
อุปกรณ์ต่างๆจะต้องติดตั้งอยู่ภายในตู้หรือกล้องแยกต่างหากจากแผงไฟฟ้าอื่นๆโดยมีป้ายแสดงชนิด ของ อุปกรณ์ติดให้เห็นอย่างชัดเจนกล่องจะต้องมีความแข็งแรงเพื่อรับแรงต่างๆที่เกิดขึ้นขณะอุปกรณ์ ทำงาน
และจะต้องเป็นชนิดที่ผู้ผลิตได้ทดสอบให้การรับรอง
6. การทดสอบ ผู้รับจ้างจะต้องจัดระบบการทดสอบเพื่อแสดงให้เห็นว่าอุปกรณ์มีความสมบูรณ์และพร้อมจะรับเหตุ ต่างๆที่
จะเกิดขึ้นตามการออกแบบ
1 ความต้องการทั่วไป
1.1. ข้อกำหนดนี้ครอบคลุมรายละเอียดคุณสมบัติและการติดตั้งเครื่องสำรองไฟฟ้าฉุกเฉิน UPS,
อุปกรณ์ควบคุม, Bypass Switch ตลอดจน Battery Backup
1.2. เครื่อง UPS เป็นแบบ Double Conversion On-line UPS with Parallel Redundancy Configuration ใช้สำหรับจ่ายกระแสไฟฟ้าฉุกเฉินให้แก่อุปกรณ์ไฟฟ้าที่จำเป็นโดยอัตโนมัติเมื่อ ไฟฟ้าเกิดขัดข้องโดยขนาดกำลังไฟฟ้าต้องไม่น้อยกว่าที่กำหนดในแบบเพื่อจ่ายโหลดที่ Power Factor 0.8 Lagging, 380/220V, 3-Phase, 4-Wire, 50 Hz. และจะต้องมีประสิทธิภาพไม่ต่ำ กว่า 90 %
1.3. เครื่อง UPS จะต้องเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อสามารถมอนิเตอร์การทำงาน ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้
1.4. เครื่อง UPS และอุปกรณ์ประกอบต้องผลิตและทดสอบตามมาตรฐาน IEC, EN, VDE, BS, ANSI, UL, ISO หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเท่า
1.5. เครื่อง UPS จะต้องทำการทดสอบรายละเอียดต่างๆของ UPS ตามข้อกำหนดณโรงงานผู้ผลิต ก่อน
การจัดส่งพร้อมด้วยรายงานการทดสอบซึ่งได้รับการรับรอง
1.6. เครื่อง UPS ต้องเป็นผลิตภัณฑ์จากประเทศสหรัฐอเมริกาหรือกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปเท่านั้น
1.7. ผู้รับจ้างจำเป็นต้องดำเนินการจัดหาและติดตั้งอุปกรณ์ที่จำเป็นถึงแม้ว่าจะไม่ระบุไว้ในแบบหรือ ข้อกำหนดก็ตามเพื่อให้เครื่อง UPS ทำงานได้สมบูรณ์ตามความต้องการของวิศวกร
2 เครื่องสำรองไฟฟ้า(UPS)ขนาด 30 kVA
2.1.เครื่องสำรองไฟฟ้าอัตโนมัติ ต้องเป็น แบบ True online double conversion (VFI claaified) ตรง ตามมาตรฐาน EN50091-3/IEC 62040-3 (VFI SS 111)
2.2. ต้องสามารถสำรองไฟฟ้าต่อเนื่องได้อย่างน้อยเป็นเวลา 5 นาที
2.3. ต้องมีความสามารถจ่ายโหลดอย่างน้อย 30 kVA ที่ Power Factor 0.9
2.4. มีส่วนประกอบอุปกรณ์ภายใน อย่างน้อยดังนี้
2.4.1. ชุด rectifier เป็นแบบชนิด insulated gate bipolar transistors (IGBT)
2.4.2. ชุด Inverter เป็นชนิด insulated gate bipolar transistors (IGBT) ทำงานโดยใช้เทคโนโลยี
Vector Controlled
2.4.3. ชุดสเตติกสวิตซ์บายพาส (Static switch bypass)
2.4.4. ชุด Maintenance bypass switch
2.5. ต้องสามารถต่อขนานกันได้เป็นจำนวน 4 ชุด โดยไม่ต้องใช้ Main static switch
2.6. ต้องสามารถทำงานในลักษณะ Dual bus ระหว่างอุปกรณ์สำรอง 2 ระบบที่รับไฟฟ้าจากแหล่งจ่าย ต่างกัน โดยที่เครื่องสำรองไฟฟ้าอัตโนมัติทั้ง 2 ระบบ จะต้องซิงโครไนซ์ กันได้ได้เป็นอย่างดีโดยไม่ต้อง มีอุปกรณ์ประกอบ
2.7. คุณลักษณะไฟฟ้าด้านขาเข้า (Input rectifier characteristic)
2.7.1. แรงดันไฟฟ้า (voltage) : 380VAC +25% , -19% หรือ 305 ถึง 477V ที่พิกัดโหลด 100% 3
เฟส 4 สาย
2.7.2. ความถี่ไฟฟ้า (Frequency) : 50 Hz +20% -20%
2.7.3. ตัวประกอบกำลังด้านขาเข้า (Power factor) > 0.99
2.7.4. ความผิดเพี้ยนของกระแสฮาร์โมนิกส์ (THDI) : <4% output (linear load) และ <6% output (Non-linear load) ช่วยลดขนาด Cable ,Generator and Transformer
2.7.5. ต้องมีชุดตรวจสอบความถูกต้องของลำดับเฟสของระบบไฟฟ้าทางด้านขาเข้า ( Phase sequence reverse protection) โดยหากลำดับเฟสขาเข้าผิดชุด Rectifier ต้องไม่สตาร์ทเพื่อ ป้องกันความเสียหายกับอุปกรณ์
2.7.6. Power walk in ต้องสามารถตั้งค่าได้ระหว่าง 5-30 ms
2.8. คุณลักษณะไฟฟ้าด้านขาออก (Output inverter characteristic)
2.8.1. แรงดันไฟฟ้าสภาวะปกติ (Steady state voltage) : 380V ไม่เกิน +1% ,-1% 3เฟส 4 สาย
2.8.2. ความถี่ไฟฟ้าในสภาวะ Steady state frequency : 50 Hz +1% ,-1%
2.8.3. แรงดันไฟฟ้าในสภาวะ unbalance load +2% ,-2% ที่ unbalance load 100%
2.8.4. แรงดันไฟฟ้าในสภาวะ Dynamic load : unbalance +5% ,-5% (0-100% และ 100%-0%
โหลด)
2.8.5. Phase imbalance : 120 องศา +1.5% ,-1.5% องศา ที่ load unbalance 100%ค่าความ ผิดเพี้ยนของแรงดันไฟฟฟ้า (Voltage harmonic distortion : THDU)
2.8.5.1. THDU น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2% สำหรับ load 100% linear load
2.8.5.2. THDU น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5% สำหรับ 100% non linear load 2.8.5.3.
2.9. คุณลักษณะการประจุกระแสแบตตอรี่ (Charger)
2.9.1. ค่าแรงดัน ripple voltage มีค่า +1% ,-1% ของแรงดันไฟฟ้าที่ประจุแบตเตอรี่
2.9.2. ภาคประจุแบตเตอรี่สามารถชดเชยค่าแรงดันประจุแบตตอรี่ตามการเปลี่ยนแปลงของ อุณหภูมิห้อง
2.10. คุณลักษณะ Static switch bypass
2.10.1. ช่วงของแรงดันไฟฟ้าทางด้าน Static switch bypass : 380V +15% ,-20% สามารถ ปรับตั้งได้ ที่ +10%, +15% ,+20%,-10%, -20%, -30%หรือ -40%,
2.10.2. ช่วงของความถี่ไฟฟ้าด้าน Static switch bypass : 50Hz +20% ,-20%สามารถปรับตั้ง ได้ ที่ ±10%, ±20%
2.11. คุณลักษณะความสามารถในการรับกระแสเกิน (Overload capacity)
2.11.1. ต้องมีความสามารถในการรับกระแสเกินของภาคอินเวอร์เตอร์ (Inverter overload capacity) โดย
2.11.1.1. 105% ของพิกัดที่เวลาไม่จำกัด
2.11.1.2. 125% ของพิกัดที่เวลา 5 นาที
2.11.1.3. 150% ของพิกัดที่เวลา 1 นาที
2.11.2. ต้องมีความสามารถในการรับกระแสเกินของ Static switch (Static switch overload capacity) โดย
2.11.2.1. 105% ของพิกัดที่เวลาไม่จำกัด
2.11.2.2. 400% ของพิกัดที่เวลา 200 มิลลิวินาที
2.12. เวลาในการโอนย้ายโหลดระหว่างภาค อินเวอร์เตอร์ และ ภาค สเตติกสวิตซ์ (Transfer time characteristic)
2.12.1. เวลาในการ transfer ในสภาวะ Synchronous transfer : 0 ms
2.12.2. เวลาในการ transfer ในสภาวะ Asynchronous transfer : น้อยกว่า 15
ms
2.13. ประสิทธิภาพของอุปกรณ์เครื่องสำรองไฟฟ้าอัตโนมัติ
2.13.1. ประสิทธิภาพของอุปกรณ์เครื่องสำรองไฟฟ้าอัตโนมัติ มากกว่าเท่ากับ 94.5% ที่ 100%
Load ,94% ที่ 50% Load
2.13.2. ประสิทธิภาพของอุปกรณ์เครื่องสำรองไฟฟ้าอัตโนมัติ มากกว่าเท่ากับ 98% เมื่อเครื่อง สำรองไฟฟ้าอัตโนมัติ ทำงานผ่านทาง Static switch (Eco mode)
2.14. สภาวะแวดล้อมในการทำงาน
2.14.1. อุณหภูมิในการทำงานขณะจ่ายโหลดเต็มพิกัดได้ต่อเนื่องที่ 30 องศาเซลเซียส
2.14.2. ความชื้นสัมพันธ์ที่ 0-95% (non-condensing)
2.14.3. ระดับความสูงในการใช้งาน 1000 เมตร
2.15. ระบบการควบคุมและแสดงผล (operator control and display panel) ต้องมีคุณลักษณะ ดังต่อไปนี้
2.15.1. ต้องมีระบบการควบคุมและแสดงผลที่เป็น mimic LED display ,LCD display & menu keys และ control keys
2.15.2. Mimic LED ต้องแสดงการทำงานของภาค rectifier ,inverter ,static switch ,battery
,output
2.15.3. ต้องมีการแสดงผ่อนจอแสดงผล LCD ในส่วนของการวัดค่าจะแสดงผลเป็นค่า RMS ซึ่งมี ค่าความถูกต้อง +2% ,-2% การแสดงสัญญาณเตือน และการแสดงสภาวะการทำงานของ ส่วนต่างๆของอุปกรณ์สำรองไฟทั้งหมด จะต้องแสดงผลที่แผงด้านหน้าของตัวเครื่องและ สามารถเก็บ log alarm ได้ไม่ต่ำกว่า 1000 เหตุการณ์
3. การต่อลงดิน
AC Output Neutral ของ UPS ต้อง Isolate แยกจาก Equipment Ground ของ UPS
4. การติดตั้ง
การติดตั้งเครื่องสำรองไฟฟ้าฉุกเฉินและแบตเตอรี่ให้ติดตั้งตามมาตรฐานผู้ผลิตและตามที่ระบุดังนี้
จ. การเดินสายไฟฟ้าให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ระบุในรายละเอียดประกอบแบบหรือตามมาตรฐานวสท. ฉ. ฐานคอนกรีตรองรับเครื่องสำรองไฟฟ้าฉุกเฉินต้องแข็งแรงและเหมาะสมเมื่อนำเครื่องไปวางและ
สะดวกในการบำรุงรักษา
ช. การติดตั้งตู้ UPS, แผงควบคุมและแบตเตอรี่ต้องมีระบบปรับอากาศและระบายอากาศอย่างเพียงพอ และให้มีสัญญาณ Alarm กรณีอุณหภูมิภายในตู้สูงเกินที่กำหนดไว้
ซ. ในการติตตั้งจะต้องประสานงานการทำงานร่วมกับระบบอื่นที่เกี่ยงข้องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่าง
สมบูรณ์
5. การทดสอบ
จะต้องทำการทดสอบรายละเอียดต่างๆของ UPS ตามขอกำหนดณโรงงานผู้ผลิตก่อนการจัดส่งพร้อมด้วย รายงานการทดสอบซึ่งได้รับการรับรอง
6. การบริการ
6.1 จัดเตรียมหนังสือคู่มือการบำรุงรักษาและรายละเอียดของวงจรที่สมบูรณ์ (Circuit Diagram) พร้อม ทั้ง Component จำนวน 3 ชุด
6.2 จัดเตรียมชุดบำรุงรักษาแบตเตอรี่และคู่มือการบำรุงรักษาแบตเตอรี่จำนวน 1 ชุด
6.3 จัดส่งผู้เชี่ยวชาญของบริษัทผู้ผลิตมาฝึกอบรมช่างเทคนิคหรือตัวแทนของผู้ว่าจ้าง/เจ้าของโครงการ จนสามารถที่จะทำการตรวจซ่อมและบำรุงรักษาได้อย่างถูกต้อง
6.4 จัดทำแผนการบำรุงรักษาเครื่อง UPS และแบตเตอรี่อย่างต่อเนื่องในระยะเวลา 5 ปีให้กับผู้ว่าจ้าง/ เจ้าของโครงการเพื่อพิจารณาและถือว่าเป็นสาระสำคัญของการเสนอราคาและพิจารณา
6.5 จัดส่งรายชื่อและหนังสือรับรองซึ่งแสดงว่าเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการบำรุงรักษาได้เคยรับการอบรม เกี่ยวกับการบำรุงรักษาจากผู้ผลิต
7. ข้อกำหนดทั่วไป
อุปกรณ์ Surge Protective Device (SPD) มีจุดประสงค์เพื่อใช้ลดผลกระทบที่เกิดจากสนามและคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าอันเป็นผลของการเกิดฟ้าผ่าจากภายนอกอาคารรวมทั้ง Surge ต่างๆที่ผ่านเข้ามาทาง สายไฟฟ้ากำลังหรือจากการเหนี่ยวนำไฟฟ้าโดย Surge Protective Device (SPD) ต้องเป็นผลิตภัณฑ์จาก ประเทศสหรัฐอเมริกาหรือกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปเท่านั้น
8. มาตรฐาน
SPD จะต้องได้รับการออกแบบและรับรองตามมาตรฐานดังต่อไปนี้
- ANSI/IEEE C62.11, C62.41, and C62.45: American National Standards Institute and Institute of Electrical and Electronic Engineers
- FIP PUB 94: Federal Information Processing Standards Publication 94
- NEMA LS-1 1992: National Electrical Manufacturer Association
- NFPA 20, 70, 75 and 780: National Fire Protection Association
- UL 1449, UL1283: Underwriters Laboratories
- ISO 9001:2000
- กล่องบรรจุจะต้องเป็นไปตามมาตรฐาน NEMA 12
9. ความต้องการทางเทคนิค
9.1. อุปกรณ์ที่นำเสนอจะต้องเป็น Metal Oxide Varistor มีโครงสร้างที่ประกอบไปด้วย surge current จำนวนหลายชุดต่อขนานเข้าด้วยกันเพื่อให้สามารถรองรับค่ากระแสที่มีค่าสูงที่ไหลผ่านได้ และ surge current แต่ละชุดที่นำมาประกอบเข้าด้วยกันจะต้องมีความสมดุลย์กันของแรงดันที่ ทำงาน
9.2. ค่าแรงดันไฟฟ้าสูงสุด (MCOV) ที่ตัวอุปกรณ์ทำงานเป็นเวลาต่อเนื่องจะต้องมีค่าไม่ตํ่ากว่า 115%
ของแรงดันไฟฟ้าของระบบปกติ
9.3. อุปกรณ์จะต้องผ่านการทดสอบ Life Cycle Testing ที่ 10kA (8x20 microsec.), 20kV (1.2x50 microsec.) ตามมาตรฐาน IEEE C62.41 Category C3
9.4. ความถี่ของระบบไฟฟ้าในการทำงานจะต้องอยู่ในช่วง 47-63 Hz หรือดีกว่า
9.5. การป้องกันกระแสเกินจะต้องเป็นฟิวส์ที่มีคุณสมบัติรองรับค่ากระแสลัดวงจรได้สูงถึง 200 kA ที่
ระบบแรงดันไฟฟ้า 480Vac
9.6. จะต้องมีการป้องกันแบบ All mode protection Line-Line, Line-Neutral, Line-Ground, Neutral –Ground
9.7. คุณสมบัติของอุปกรณ์จะต้องเป็นไปตาม UL 1449 ระดับของแรงดันไฟฟ้าที่ 277/480V อุปกรณ์ TVSS ทำงานจะต้องมีค่าไม่สูงกว่า 700Vac ที่ mode protectionLine-Neutral, Line-Ground, Neutral –Ground และมีค่าไม่สูงกว่า 1500Vac mode protection Line-Line
9.8. อุปกรณ์จะต้องมีคุณสมบัติในการกำจัดสัญญาณรบกวน (Noise) ได้สูงถึง 63 dB ในช่วงความถี่ จาก 10 KHz-100MHz ต่อความต้านของระบบ 50 โอหม์ (MIL 220A) และสามารถกำจัดสัญญาณ รบกวนได้ถึง 120 dBในช่วงความถี่จาก 100 KHz-100MHz สำหรับระบบไฟฟ้าทั่วไปที่มีความ ต้านทานของระบบที่มีค่าตํ่า
9.9. อุปกรณ์ TVSS จะต้องมีขนาดไม่ต่ำกว่า 160 kA Surge Rating per Phase
9.10. เวลาในการทำงาน )Response time)< 0.5 nanosecond
9.11. การแสดงผลสภาวะการทำงานและการส่งสัญญาณเตือน
- อุปกรณ์จะต้องมี LED แสดงสถานะในการตรวจสอบสถานะการทำงานได้ของ MOV ภายใน โดยในภาวะปกติ LED จะแสดงสีเขียว แล้วถ้ามี MOV mode ใด Mode หนึ่งได้รับความ เสียหาย LED จะแสดงสีแดง
- มี dry contact สำหรับต่อเข้ากับ remote alarm เพื่อตรวจสอบสภาวะ
- มีการตรวจเช็ค Under-voltage detection หากแรงดันไฟฟ้าตกลงต่ำกว่า 70%
- มีการแสดงผลของการขาดหายไปของเฟสของระบบไฟฟ้า
- มีการแสดงผลของ Power loss monitoring
- จะต้องจะต้องมี Audible Alarm เพื่อแจ้งเป็นเสียงเมื่ออุปกรณ์มีปัญหาพร้อมด้วยปุ่ม ทดสอบ
- จะต้องมีตัวตรวจนับจำนวน Transient ที่เกิดขึ้นและแสดงผลที่หน้าจอ LCD โดยที่ชุด
Counter
ต้องมีแบตเตอรี่สำรองชนิด Lithium battery
10. สภาวะแวดล้อมในการทำงาน
- อุณหภูมิทำงาน : -40 ถึง 60 °C
- ความชื้นสัมพัทธ์ : 0-95%, non-condensing
- ความสูง : 18,000ฟุตเหนือระดับน้ำทะเล
- ระดับของ Noise Level : < 45 dBA ที่ระยะ 1.5 เมตร
11. การติดตั้ง
อุปกรณ์ต่างๆจะต้องติดตั้งอยู่ภายในตู้หรือกล้องแยกต่างหากจากแผงไฟฟ้าอื่นๆโดยมีป้ายแสดงชนิดของ อุปกรณ์ติดให้เห็นอย่างชัดเจนกล่องจะต้องมีความแข็งแรงเพื่อรับแรงต่างๆที่เกิดขึ้นขณะอุปกรณ์ทำงาน
และจะต้องเป็นชนิดที่ผู้ผลิตได้ทดสอบให้การรับรอง
12. การทดสอบ
ผู้รับจ้างจะต้องจัดระบบการทดสอบเพื่อแสดงให้เห็นว่าอุปกรณ์มีความสมบูรณ์และพร้อมจะรับเหตุต่างๆที่ จะเกิดขึ้นตามการออกแบบ
จบหมวดที่ 9
1. ความต้องการทั่วไป
หมวดที่ 10 ระบบเสียง
ระบบเสียงตามแผนผังที่แสดงในแบบ เป็นเพียงแนวทางซึ่งแสดงชนิดและจำนวนขั้นต่ำของอุปกรณ์ เพื่อ กำหนดวิธีการในการออกแบบรายละเอียด และเลือกอุปกรณ์เพื่อการเสนอราคาเท่านั้น ผู้เสนอราคาจะต้อง ออกแบบรายละเอียดแสดงรายการอุปกรณ์ทั้งหมดที่ใช้ส่งพร้อมใบเสนอราคา
2. ข้อกำหนดทางเทคนิคและการติดตั้ง
2.1 อุปกรณ์ระบบเสียงที่ห้องควบคุม (Sound Control Panel) ควรเป็นผลิตภัณฑ์เดียวกันทั้งหมด แต่ผู้รับ จ้างอาจใช้อุปกรณ์บางเครื่องที่เป็นผลิตภัณฑ์ต่างชนิดกันก็ได้ ถ้าอุปกรณ์เครื่องนั้นมีความเหมาะสมกับ ลักษณะการใช้งานมากกว่า
2.2 เครื่องขยายเสียง เครื่องเล่นเทป วิทยุ Mixer และ Patch Panel ต้องติดตั้งบน Steel Rack อยู่ในตู้ โลหะ ด้านหน้ามีฝาเปิดบุด้วยพลาสติกใสสามารถมองเห็นการทำงานของอุปกรณ์ได้อย่างชัดเจน
2.3 คุณสมบัติทางเทคนิคของอุปกรณ์ระบบเสียงต้องเป็นไปตามรายการดังนี้
(1) Power Amplifier
Rated output : 400 W. RMS.
Output voltage : 100 V/25 ohms.
Input impedance : high Impedance (bal.) Frequency response : 25-20000Hz
Harmonic distortion : less than 0.5% at 1 kHz Signal to noise ratio (S/N) : more than 70 dB
(2) Power Amplifier
Rated output : 100 W. RMS.
Output voltage : 100 V./100 ohms.
Input impedance : high Impedance (bal.) Frequency response : 50-20000Hz
Harmonic distortion : less than 0.5% at 1 kHz Signal to noise ratio (S/N) : more than 70 dB
(3) Cassette Tape Deck Physical : Double cassette tape recorder/Player,
Automatic deck changeover and end-of
(4) Tape auto reverse
Frequency response : 40 - 12000 Hz Distortion : less than 3% at 1 kHz Signal to noise ratio (S/N) : more than 50 dB
Tape speed : 4.75 cm/sec. +- 0.5%
Wow and flutter : less than 4%
Power supply : 220 V. 50 Hz
(5) FM Tuner
Frequency : 87.5 - 108 MHz Frequency response : 40 - 12000 Hz
Sensitivity : less than 2 mV.
Selectivity : more than 60 dB. Signal to noise ratio (S/N) : more than 57 dB. Distortion : less than 1%
(6) Paging Microphone
Physical : Desk top paging microphone with
pre-amplifier and built-in 2-tone chime
Type : Dynamic microphone
Sensitivity : 74 dB. SPL. for 1 V input. Pre-Amp. Output Impedance : 600 ohms. (bal) Pre-Amp. Output level : 0 dB. 1 V (no load)
Frequency response : 50 - 20000 Hz
(7) Accessories
Monitor panel
Relay overide and zone selector control Rack mounting and cabinet
(8) Flush - mounted Ceiling Loudspeaker
Physical : Full ra n ge cone speaker6 in ches diameter
Power rating : 6 watts / 100 V.
Frequency response : 60 - 14000 Hz
Sensitivity : 90 dB/w/1 m.
(9) Wall - mounting box loudspeaker
Physical : Wooden or molded plastic wall mouting box loudspeaker
Power rating : 6 watts / 100 V.
Frequency rewponse : 60 -14000 Hz
Sensitivity : 90 dB/w/1 m.
(10) Paging horn Speaker
Physical : Square or round shape horn speaker
Power rating : 15 watt / 100 V.
Frequency response : 250 - 10000 Hz
Sensitivity : 100 dB/w/1 m.
จบหมวดที่ 10
1. ความต้องการทั่วไป
หมวดที่ 11
ระบบเสาอากาศวิทยุ – โทรทัศน์รวม (SMATV SYSTEM)
ระบบเสาอากาศวิทยุ-โทรทัศน์รวม (SATELITE MASTER ANTENNA TELEVISION - SMATV) ผู้รับจ้าง จะต้องจัดหาและติดตั้งอุปกรณ์ประกอบในระบบที่สำคัญ ซึ่งเป็นระบบโทรทัศน์รวมโดยใช้จานรับดาวเทียม เพียง 1 ชุด เพื่อรับสัญญาณ FREE TV (จานดาวเทียม) ไทยคมแล้วป้อนให้แก่สมาชิกที่ต้องการรับชมรายการ วิทยุโทรทัศน์ได้เป็นจำนวนมากตามที่กำหนดในแบบ โดยระบบจะประกอบด้วย จานรับดาวเทียม สายอากาศ CHANNEL AMPLIFIER, TAP-OFF, SPLITTER, DISTRIBUTION, BOX, TV OUTLET และอุปกรณ์ประกอบ
อื่น ๆ ที่จำเป็นเพื่อให้สัญญาณที่ได้รับอยู่ระหว่าง 60-84 DECIBEL MICROVOLT โดยไม่เกิดสัญญาณภาพซ้อน หรือเงาหรือสัญญาณรบกวนในจอเครื่องรับทุกเครื่อง และแบบที่แสดงเป็นเพียงแนวทางในการติดตั้งเท่านั้น สามารถเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขแบบตามคำแนะนำของผู้ผลิตหรือผู้มีความชำนาญเฉพาะด้าน ในกรณีที่ สัญญาณที่ได้รับมีเงาภาพซ้อนหรือสัญญาณภาพหรือเสียงไม่ชัดเจน ผู้รับจ้างจะต้องทำการแก้ไขเพื่อให้เป็นไป ตามความประสงค์ของผู้ว่าจ้างและตามข้อกำหนดนี้โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายใดๆ เพิ่มเติมทั้งสิ้น
2. จานรับสัญญาณดาวเทียม และอุปกรณ์ประกอบ
2.1 จานรับสัญญาณดาวเทียม (ANTENNA DISH) ผลิตจากอลูมิเนียมทำหน้าที่รับสัญญาณที่ส่งมาจากดาวเทียมโดยใช้หลักการสะท้อนที่พื้นผิวรูปโค้งพารา โบลิค แล้วรวมสัญญาณที่จุดโฟกัส (FOCAL POINT) คุณสมบัติของจานรับสัญญาณดาวเทียมมี ดังต่อไปนี้
(1) DIAMETER : 10 FT. (3 M.)
(2) F/D RATIO : 0.4
(3) FOCAL LENGTH : 48”
(4) MOUNTING : AS PER MANUFACTURER STANDARD
(5) GAIN : 39.40 dB for C.BAND at FREQ. 4.2 GHz.
: 47.85 dB for KU-BAND at FREQ. 12.75 GHz.
2.2 FEED HORN
เป็นอุปกรณ์รวบรวมสัญญาณที่สะท้อนจากผิวจานซึ่งจะติดตั้งอยู่ที่ FOCAL POINT โดยมีคุณสมบัติดังนี้
(1) FREQUENCY : 3.7 - 4.2 GHz
(2) ISOLATION : > 30 dB
2.3 LOW NOISE BLOCK DOWN CONVERTER (LNB)
เป็นอุปกรณ์ขยายสัญญาณดาวเทียม ซึ่งทำหน้าที่แปลงความถี่และขยายสัญญาณที่รวบรวมได้จาก
FEED HORN ให้สูงขึ้น เพื่อต่อเข้าเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมต่อไป โดยมีคุณสมบัติดังนี้
(1) INPUT FREQUENCY : (2) OUTPUT FREQUENCY RANGE : (3) NOISE TEMPERATURE : | 3.7 - 4.2 GHz 850 - 1450 MHz 17 - 35 K |
(4) GAIN : | 60 dB (min) |
(5) OUUPUT VSWR : | 15-24 Vdc |
(6) POWER SUPPLY : | 15-24 Vdc |
2.4 SATELLITE TV DEMODULATOR/MODULATOR
ทำหน้าที่รับสัญญาณที่ขยายแล้วจาก LNB และปรับหาช่องสัญญาณความถี่รายการโทรทัศน์ที่ต้องการ รับชมและให้สัญญาณออกมาเป็นช่องความถี่ย่าน VHF หรือ UHF โดยมีคุณสมบัติดังนี้
(1) INPUT FREQUENCY : 920-2050 MHz
(2) INPUT LEVEL : 43-80 dB
(3) STATIC THRESHOLD : 6 dB
(4) FORMAT : PAL/SECAM/NTSC
(5) AUDIO SUBCARRIER FREQUENCY : 5.5-9 MHz
(6) OUTPUT LEVEL : 85-95 dB
(7) OUTPUT FREQUENCY : 47-68, 118-350 MHz หรือ 470-862 MHz
3. ชุดขยายสัญญาณ (AMPLIFIER)
3.1 ชุดขยายสัญญาณประกอบด้วย Channel Amplifier และในกรณีที่สัญญาณซึ่งได้รับจากเสาอากาศมี กำลังอ่อน มีความเพี้ยน และ/หรือมีคลื่นรบกวน อาจมีความจำเป็นต้องใช้ preamplifier, filter และ/ หรือ automatic gain control (AGC.)
3.2 CHANNEL AMPLIFIER ต้องมีคุณสมบัติดังนี้
DESCRIPTIONS | FM | BAND 1 | BAND III | UHF |
Frequency Range | 88-108 MHz | 47-68 MHz | 179-230 MHz | 470-862 MHz |
TV Channel | FM | 2-4 | 5-12 | 21-69 |
No. of Outputs | 1-2 | 1-2 | 1-2 | 1-2 |
System Gain (min) | 35 dB | 55 dB | 55 dB | 55 dB |
Auto Gain | ||||
Connector (Output) | +/- 25 dB | +/- 25 dB | +/- 25 dB | +/- 25 dB |
Attemuation | - 15 dB | - 15 dB | -15 dB | - 15 dB |
Flatness | - | ≤ 1 dB | ≤ 1 dB | ≤ 1 dB |
Max. output level | ≥ 118x2 or | ≥ 118x2or | ≥ 118x2 or | ≥ 118x2 or |
(dBuV) | 120 x 1 | 120 x 1 | 120 x 1 | 120 x 1 |
Noise Figure | ≤ 6 dB | ≤ 6 dB | ≤ 6 dB | ≤ 6 dB |
3.3 นอกจากนั้นให้มี channel converter เพื่อเปลี่ยนช่องสัญญาณโทรทัศน์เป็นช่องที่เหมาะสม และไม่มี สัญญาณรบกวนซึ่งกันและกัน (interference) โดย channel converter ของแต่ละช่องสัญญาณต้องมี คุณสมบัติอย่างน้อยดังนี้
SPECIFICATION OF CHANNEL CONVERTER
(1) Input Frequency Range : One TV Channel
(2) Output Frequency Range : One TV Channel
(3) Gain : 15 - 25 dB
(4) Max. Noise Figure : < 6 dB
(5) Min Output level : 85 - 90 dB
(6) Input/Output Impedance : 75 ohms.
3.4 POWER SUPPLY สำหรับชุดขยายสัญญาณและอุปกรณ์ร่วมที่กล่าวแล้วต้องเป็นอุปกรณ์เฉพาะที่แปลง ระบบ ไฟฟ้าจาก main supply 220V, l phase 50 Hz เป็นระบบไฟฟ้ากระแสตรง 24 - VOLT โดยที่ ชุด Power supply นี้ต้องมี Overload protection สมบูรณ์ในตัวเอง
3.5 การติดตั้งชุดขยายสัญญาณและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่กล่าวมาแล้วต้องเป็นแบบ rack mounting หรือ ลักษณะคล้ายคลึงกันรวมอยู่ในตู้โลหะมีฝาปิดและมีช่องระบายความร้อนอย่างเพียงพอ
4. ชุดแยกและกระจายสัญญาณ (TAP-OFF AND SPLITTER OR DISTRIBUTION BOX)
ชุดแยกสัญญาณ (TAP-OFF) และชุดกระจายสัญญาณ (SPLITTER OR DISTRIBUTION BOX) เป็น PASSIVE EQUIPMENT ที่มีความสำคัญในระบบ คุณสมบัติของอุปกรณ์เหล่านี้ต้องทำให้ได้สัญญาณที่จุดรับต่าง ๆ เป็นไปตามข้อกำหนด
5. เต้ารับสัญญาณ (TV OUTLET)
5.1 โดยทั่วไปเป็นแบบ Flush Mounting ในกล่องโลหะที่เหมาะสมโดยที่เต้ารับนี้ต้องมีทั้งจุดจ่ายสัญญาณ วิทยุ และจุดจ่ายสัญญาณโทรทัศน์บรรจุในกล่องเดียวกันและมีฝาครอบปิด (cover-plate) ชิ้นเดียว
5.2 เต้ารับที่ใช้อาจเป็นชนิด loop-through network (loop-wired system) หรือ tap-off network ก็ ได้ โดยต้องใช้เป็นชนิดเดียวกันทั้งโครงการและมีอุปกรณ์ประกอบการใช้เพื่อความสมบูรณ์ของระบบ อย่างครบถ้วน
6. สายตัวนำสัญญาณ (COAXIAL CABLE)
สายตัวนำสัญญาณต้องเป็น COAXIAL CABLE ชนิดที่เหมาะสมกับการร้อยในท่อโลหะ มีใช้งานด้วยกัน 2
แบบ ถ้ามิได้ระบุเป็นอื่นใดในแบบสายนำสัญญาณจะต้องมีคุณสมบัติอย่างน้อยดังต่อไปนี้
SPECIFICATION OF SMATV CABLE
DESCRIPTIONS | MAIN | BRANCH |
Impedance | 75 Ohm | 75 Ohm |
Attenualtion per 100 m | ||
at 47 - 230 MHz | < 7 dB | < 17.5 dB |
- 700 MHz | < 11.6 dB | < 17.5 dB |
Shield (Double) | Foil and Copper / Tinned Copper Braid | |
Dlelectric | Polyethylene | |
Jacket Cover | PVC |
7. การติดตั้ง
7.1 จานดาวเทียมและชุดขยายสัญญาณตามตำแหน่งที่กำหนดในแบบแต่อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้เพื่อความ เหมาะสมทั้งทางเทคนิคและทางสถาปัตยกรรม
7.2 สายสัญญาณโดยทั่วไปให้ร้อยในท่อโลหะ การวางสายในรางร้อยสาย (WIREWAY) อาจกระทำได้ถ้า ได้รับอนุมัติจากผู้คุมงานและเป็นสถานที่ซึ่งเข้าถึงรางร้อยสายได้สะดวก
7.3 ชุดแยกและกระจายสัญญาณ ให้บรรจุในกล่องโลหะที่ผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิมอย่างดีโดยเลือกขนาด ของกล่องให้เหมาะสมและให้ยึดกล่องนี้กับโครงสร้างอาคารในตำแหน่งที่กำหนดในแบบหรือในตำแหน่ง ที่สมควร
7.4 การติดตั้งอื่นๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้ ให้เน้นไปตามคำแนะนำของผู้ผลิตอุปกรณ์นั้นๆ
8. การทดสอบระบบ
ให้ทำการตรวจสอบการทำงานของระบบโดยการวัดและบันทึกค่าต่างๆ อย่างน้อยดังต่อไปนี้
8.1 สัญญาณที่ได้รับจากเสาอากาศรับสัญญาณ
8.2 สัญญาณที่ได้รับจาก ชุดขยายสัญญาณ
8.3 สัญญาณที่จุดแยก จุดออกจากชุดแยกและกระจายสัญญาณ
8.4 สัญญาณที่เต้าเสียบจ่ายสัญญาณตามสมควร
8.5 การทดสอบอื่นๆ ที่จำเป็นตามคำแนะนำของผู้ผลิต
จบหมวดที่ 11
1. ความเป็นมา
หมวดที่ 12 ระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV SYSTEM)
ผู้ว่าจ้างประสงค์ที่จะดำเนินการติดตั้งติดตั้งระบบเฝ้าระวังและรักษาความปลอดภัยด้วยระบบโทรทัศน์วงจรปิด ณ อาคารที่ก่อสร้างตามรูปแบบรายการ เพื่อบริการแก่เจ้าหน้าที่และผู้ใช้อาคารอย่างเหมาะสม และ ครอบคลุม
2. วัตถุประสงค์ของการดำเนินงาน
2.1 เพื่อใช้ในอาคารที่ก่อสร้างตามรูปแบบและรายการ
2.2 เพื่อการสอดส่อง ควบคุมดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน บริเวณพื้นที่ที่กำหนด
2.3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัย บริเวณพื้นที่ที่ไม่มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจำ อยู่
2.4 เพื่อการป้องปรามเหตุการณ์อันไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นในรูปแบบต่างๆ
2.5 เพื่อช่วยในการติดตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
2.6 เพื่ออำนวยความสะดวกและช่วยในการประชาสัมพันธ์ต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในกรณีที่มี เหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้น
2.7 เพื่อนำข้อมูลไปใช้เป็นพยานหลักฐาน
3. สถานที่ดำเนินการ
ติดตั้งในอาคารและนอกอาคารตามรูปแบบกำหนด
4.ข้อกำหนดทั่วไป
4.1 อุปกรณ์ของระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) จะต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตใหม่ ยังไม่เคยใช้งานมาก่อน และยังอยู่ในสายงานการผลิต พร้อมทั้งแนบรายละเอียดคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ที่จะนำมาติดตั้งสำหรับ โครงการและการทำงานของระบบประกอบการพิจารณาอนุมัติด้วย โดยแนบเอกสารที่ระบุแหล่งผลิต อุปกรณ์ เอกสารการนำเข้าสินค้าและมาตรฐานต่างๆที่รับรองคุณภาพของอุปกรณ์นั้น
4.2 ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาและติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิดพร้อมอุปกรณ์อื่นๆ รวมทั้ง Software ต่างๆ ตาม ข้อกำหนด เพื่อให้ระบบสามารถใช้งานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 Software ที่ใช้กับอุปกรณ์ต่างๆในโครงการนี้จะต้องเป็น Software ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้องจากบริษัทผู้ผลิต
4.4 ระบบที่นำเสนอต้องรองรับการเพิ่มขยายระบบให้ครอบคลุมความต้องการของหน่วยงานในอนาคตได้
4.5 ผู้รับจ้างจะต้องแนบรายละเอียด (Catalog) ของอุปกรณ์ที่เสนอ เพื่อประกอบการพิจารณา โดยจัดทำ ตารางเปรียบเทียบข้อกำหนดรายละเอียดและคุณลักษณะเฉพาะของแต่ละรายการให้พิจารณา
4.6 ผู้รับจ้างจะต้องจัดทำแบบการติดตั้งระบบให้เป็นไปตามแบบหรือข้อกำหนด โดยให้คณะกรรมการตรวจ การจ้างและผู้ควบคุมงาน เห็นชอบก่อนดำเนินการติดตั้ง กรณีจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงจุดติดตั้งเพื่อ ความเหมาะสมต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจ้างก่อน
4.7 ผู้รับจ้างจะต้องรับประกันอุปกรณ์เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 ปี ตลอดเวลารับประกัน พร้อมทั้งให้การ อบรมการใช้อุปกรณ์ต่างๆ แก่พนักงานผู้ดูแลรับผิดชอบของโครงการจนสามารถเข้าใจระบบการทำงาน ต่างๆ ได้ดี
5. ขอบเขตของการดำเนินงาน และคุณลักษณะเฉพาะ
5.1 ความต้องการทั่วไป
(1) ผู้รับจ้างต้องจัดหาและติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบต่างๆ สำหรับดูแลบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในบริเวณต่างๆ และติดตั้งบน Top-Desk Rack ในห้อง
รักษาความปลอดภัยของอาคารตามที่แสดงในแบบ โดยที่วัสดุและอุปกรณ์หลักที่ใช้ในระบบ CCTV ได้แก่ กล้องและ CCTV Controller (Digital Video Recorder) ต้องได้รับการรับรองจาก UL หรือ CE
(2) ระบบ CCTV ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ อย่างน้อยดังนี้
- กล้อง (Camera)
- เลนส์ (Lens)
- จอภาพ (Monitor)
- เครื่องบันทึกภาพแบบดิจิตอล CCTV Controller (Digital Video Recorder, DVR)
- Cabling System
- Storage Backup
- โปรแกรมบริหารจัดการ
5.2 กลองโทรทัศน์วงจรปิด (Camera)
(1) เป็นอุปกรณ์เปลี่ยนแสงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าเพื่อส่งต่อให้อุปกรณ์ปลายทาง โดยที่การทำงานของ วงจรภายใน
(2) เป็นแบบสัญญาณดิจิตอล มีความสามารถต้านทานต่อการสั่นสะเทือนและต่อสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ได้ดี ด้วยการป้องกัน 3D-DNR, ปรับการย้อนแสงอัตโนมัติด้วย WDR และมีอายุการใช้งานนาน
(3) เป็นกล้องโทรทัศน์สี ระบบ PAL มี Imager เป็นแบบ Interline Transfer CCD ขนาดหน้ากล้อง 1/3 นิ้ว Resolution up to 700 TVL หรือ 1/4 นิ้ว Image Format โดยมี Picture Element ไม่น้อยกว่า 752H x 582V
(4) ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย Gain Control : AGC (High/Mid/Low 6db~40db), Automatic White Balance, Shutter Speeds 1/50~1/100,000s, Automatic Light Control, Min.illumination 0.6 lux/F1.0, LED IR Distance <2lux ON, >5lux Off, 40 m. แ ล ะ ประกอบด้วยวงจร Flickerless ลดการกระพริบของภาพ
(5) เป็นกล้องชนิด Night Scene ให้ภาพเป็นระบบสีเมื่อแสงมีระดับสูง และสามารถเปลี่ยนการ แสดงภาพเป็น ขาว-ดำ เมื่อระดับแสงลดลง เพื่อให้ได้ภาพที่มีความชัดเจนในเวลากลางคืน
(6) อัตราส่วนสัญญาณภาพต่อสัญญาณรบกวน (S/N) ไม่ต่ำกว่า 40 dB
(7) ช่วงอุณหภูมิใช้งาน 0 ถึง 40ºC หรือดีกว่า
(8) ความไวแสงต่ำสุดของกล้อง 0.2 Lux สำหรับ Color Mode และความไวแสงต่ำสุดของกล้อง
0.06 Lux สำหรับ Night Scene (Monochrome)
(9) ความละเอียดของภาพไม่น้อยกว่า 700 TV-Line Horizontal
(10) Synchronization สามารถใช้ Line Lock หรือ Internal Crystal ได้
(11) ใช้ระบบไฟฟ้าที่แรงดันสลับ 220 โวลท์ 50 เฮิร์ท หรือ 12 โวลท์ 50 เฮิร์ท
(12) หรือมี Housing สำหรับครอบหรือบรรจุกล้องและเลนส์
- Housing ชนิด Mini Dome ใช้ในลิฟต์โดยสาร และลิฟต์บรรทุกของ
- Housing เป็นแบบ weatherproof ใช้ในบริเวณภายนอกอาคาร หรือบริเวณที่ฝนสาดถึง
- Housing ชนิด Dome ใช้ในพื้นที่ทั่วไป
5.3 เลนส์ (Lens)
เป็นอุปกรณ์รับแสงเพื่อให้ CCD ในกล้อง แปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า โดยที่สามารถปรับสภาพช่องรับแสง โดยอัตโนมัติ โดยมีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้
(1) Fixed Lens - Fixed Focal Length Type
- Auto Iris Lens
- Format Size 1/3-inch
- Mount Type CS หรือ C
- Focal Length 3-8 mm. (ประมาณ) หรือดีกว่า
- F 1.4 - 1.8 (ประมาณ) หรือดีกว่า
- Angle of View Horizontal > 30º
(2) เลนส์ ที่ใช้ในลิฟต์ ให้ใช้เลนส์ขนาด (ประมาณ) 3.8 mm. หรือดีกว่า เพื่อให้การจับภาพในห้อง โดยสารลิฟต์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
5.4 จอภาพ (Monitor)
เป็นอุปกรณ์แปลงสัญญาณไฟฟ้า ให้เป็นภาพที่สามารถดูได้
(1) ชนิด LCD (Colour Monitor) ขนาดไม่ต่ำกว่า 21 นิ้ว
(2) ภาพที่แสดงออกทางจอภาพ ต้องมีหมายเลขกล้อง วัน และเวลา ฯลฯ เพื่อให้ผู้ควบคุมทราบ ตำแหน่งภาพบนจอภาพ
(3) แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ 220 โวลท์, 50 เฮิร์ท
5.5 เครื่องบันทึกภาพแบบดิจิตัล CCTV Controller (Digital Video Recorder, DVR)
(1) เป็น Digital Video Recorder และ Multiplex ในเครื่องเดียวกัน
(2) บันทึกภาพเหตุการณ์เป็นแบบดิจิตอลลงใน Hard Disk ที่อยู่ภายในตัวเครื่อง โดยสามารถบันทึก เฉพาะภาพที่มีการเปลี่ยนแปลงและภาพขณะที่เกิด Alarm ขึ้น
(3) สามารถทำการบันทึกภาพของกล้องแต่ละกล้องได้อย่างอิสระทั้งอัตราการบันทึกภาพและ ความ ละเอียดของภาพ
(4) สามารถแสดงภาพที่บันทึกไว้พร้อม ๆ กับทำการบันทึกภาพปัจจุบันได้โดยไม่รบกวนกัน
(5) สามารถแสดงภาพที่บันทึกไว้ในอดีตได้โดยการกำหนด Time/Date Search หรือ Event Search หรือ Alarm Search ได้
(6) สามารถแสดงผลของภาพได้ถึง 400(PAL) fps. ต่อ 16 กล้อง
(7) สามารถแสดงผลการบันทึกภาพได้ถึง 400(PAL) fps. ต่อ 16 กล้อง
(8) สามารถเชื่อมต่อกับระบบ Network ต่างๆ เช่น PSTN, ISDN, Standard LAN (Ethernet TCP/IP), ADSL, WAN ได้
(9) สามารถควบคุมการทำงานของกล้อง (หมุน-ส่าย, ก้ม-เงย, การซูมภาพ) จากตัวเครื่อง DVR หรือ จากระยะไกลโดยผ่านทาง Network ได้
(10) xxxxxxควบคุมและตั้งค่า Configuration ต่างๆ จากอุปกรณ์ควบคุมxxxxxxxxxxxได้ เพื่อความ สะดวกของผู้ใช้งาน
(11) xxxxxxรองรับการแสดงผลบนจอภาพ แบบ 2D/3D
(12) ระดับแรงดันขาเข้าอยู่ระหว่าง 220 – 230 โวลท์กระแสสลับ 50 Hz
(13) ระดับสัญญาณภาพ (Composite Video) ขาเข้า 0.5 Vp-p ถึง 2.0 Vp-p
(14) ขนาดของ Hard Disk ไม่น้อยกว่า 40 GB และรองรับการขยายxxxxxxน้อยกว่า 320 GB
(15) xxxxxxเลือกอัตราการบันทึกภาพได้หรือการบันทึกภาพแบบ Real Time
5.6 Cabling System
เป็นระบบสายสัญญาณที่ส่งสัญญาณจากกล้องไปยัง DVR ที่อยู่ห่างออกไป โดยใช้สาย Coaxial Cable
หรือตามที่ผู้ผลิตกำหนด
5.7 Storage Backup
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้จัดเก็บข้อมูลเพื่อxxxxxพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูล ซึ่งมีพื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลไม่ต่ำกว่า
1.6 TB และรองรับการเชื่อมต่อระหว่าง Storage Backup กับเครื่องบันทึกภาพแบบดิจิตัล
5.8 อุปกรณ์อื่นๆ
ผู้รับจ้างต้องจัดหาพร้อมติดตั้งแหล่งจ่ายไฟ UPS เพื่อใช้งานสำหรับระบบ CCTV ที่เสนอ ในห้อง
Control Room ทั้งหมด โดยมีพิกัดขนาดของแบตเตอรี่xxxxxxxxน้อยกว่า 15 นาที
6. การติดตั้ง
6.1 หากมิได้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่น ผู้รับจ้างต้องxxxxxxการจัดหาติดตั้งวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้อื่นๆ ทั้งหมด ให้เป็นไปตามรูปแบบและรายการข้อกำหนดของสัญญา ตำแหน่งติดตั้งตามที่กำหนดในแบบ อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม นอกจากนี้อาจมีบางจุดที่จำเป็นต้องจัดหาและติดตั้งเพิ่มเติม เพื่อให้งานระบบโทรทัศน์วงจรปิดและระบบควบคุมการเข้าออกเรียบร้อยxxxxxxxเป็นไปตามหลัก วิชาการ ผู้รับจ้างจะต้องxxxxxxการโดยค่าใช้จ่ายต่างๆ เป็นของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
6.2 ผู้รับจ้างต้องศึกษาแบบและรายละเอียดของงานด้านสถาปัตยกรรม โครงสร้างอาคาร ระบบปรับอากาศ ระบบสุขาภิภาล และงานระบบอื่นๆ ของxxxx xxxเกี่ยวข้องเพื่อให้แน่ใจว่าวัสดุและอุปกรณ์xxxxxxติดตั้ง ได้ในแนวหรือพื้นที่ที่กำหนดไว้ โดยxxxxxถึงลักษณะการใช้งานของอุปกรณ์แต่ละระบบและสอดคล้อง กับงานทางสาขาอื่น ซึ่งตำแหน่งของวัสดุและอุปกรณ์xxxxxxxxในแบบเป็นตำแหน่งโดยประมาณ xxxxxxเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม โดยความยินยอมจากคณะกรรมการตรวจรับงานxxxx
6.3 การติดตั้งในพื้นที่ที่ต้องxxxxxxการรื้อถอน เปลี่ยนแปลง หรือเคลื่อนย้าย วัสดุอุปกรณ์ของเดิม xxxxผนัง ฝ้าเพดาน ครุภัณฑ์สำนักงาน ฯลฯ ผู้รับจ้าง ต้องปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวังเพื่อไม่ให้เกิดความ เสียหาย ทั้งนี้ ภายหลังการติดตั้งผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบในการxxxxxxการซ่อมแซมผนัง ฝ้า เพดาน สี ของผนังและฝ้าเพดาน รวมถึงวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดให้เรียบร้อยตามความเห็นของผู้ xxxxxxxหรือตัวแทนผู้xxxxxxx
6.4 ก่อนการxxxxxxการ ให้ผู้รับจ้างจัดทำแบบทำงานแสดงรายxxxxxxxxxxติดตั้ง (Shop Drawing) รายละเอียดตามตำแหน่งแนวท่อร้อยสาย วางเดินสาย ชนิด ขนาด จำนวนสายและท่อร้อยสาย และ รายละเอียดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมวิศวกรลงนามเสนอให้ผู้xxxxxxxพิจารณาเห็นชอบก่อนxxxxxxการ ติดตั้ง จำนวน 3 ชุด หรือจำนวนตามที่ผู้xxxxxxxกำหนด
6.5 ผู้รับจ้างต้องจัดทำแบบแสดงการติดตั้งจริง (As built Drawing) โดยมีวิศวกรผู้ควบคุมการติดตั้งของ ผู้ขายลงนามรับรองในแบบประกอบด้วยกระดาษไข 1 ชุด สำเนา 3 ชุด พร้อม CD ส่งมอบผู้ซื้อก่อนส่ง มอบงานงวดสุดท้าย
6.6 ผู้รับจ้างต้องxxxxxxxฝีมือที่มีความชำนาญในสาขานี้โดยเฉพาะเป็นผู้ทำการติดตั้ง
6.7 ผู้รับจ้างต้องมีวิศวกรควบคุมการติดตั้งxxxxxxรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม xxx xxบ.วิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า แขนงไฟฟ้ากำลัง หรือไฟฟ้าสื่อสารอย่างน้อย 1 คน
6.8 สายสัญญาณระบบโทรทัศน์วงจรปิด ให้ใช้สายชนิด RG – 6 และ/หรือ UTP Cat 6 หรือดีกว่า ชนิดใช้ ภายในอาคารหรือชนิดภายนอกอาคารตามลักษณะของงาน เดินร้อยในท่อร้อยสายโลหะ (EMT) และ/ หรือ ท่อโลหะอ่อน (Flexible Conduit) และหรือรางเดินสาย ท่อร้อยสาย ข้อต่อท่อและกล่องต่อสาย ที่ติดตั้งภายนอกอาคารให้ใช้ชนิดกันน้ำ โดยลักษณะการติดตั้งให้ยึดถือและปฏิบัติตามมาตรฐานการ ติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทยฉบับล่าสุด
6.9 กรณีที่มีเหตุสุดวิสัย มีความจำเป็นต้องใช้สายสัญญาณอื่นนอกเหนือจากข้อกำหนด xxxx สัญญาณภาพไม่ คมชัด ระยะxxxxxxกว่ามาตรฐานxxxxxxสัญญาณที่รับได้ ให้ผู้รับจ้างชี้แจงเหตุผลพร้อมแสดงเอกสาร การเปรียบเทียบเสนอผู้ซื้อเพื่อพิจารณาอนุมัติเป็นกรณีไป โดยค่าใช้จ่ายในการนี้เป็นของผู้รับจ้างทั้งสิ้น
6.10 สายไฟฟ้าให้ใช้สาย THW หรือดีกว่า ขนาดไม่เล็กกว่า 2.5 ตร.มม. พร้อมสายดินขนาดไม่เล็กกว่า 2.5 ตร.มม. เดินร้อยในท่อร้อยสายโลหะ (EMT) และ/หรือ ท่อโลหะอ่อน (Flexible Conduit) และหรือราง เดินสาย ท่อร้อยสาย ข้อต่อท่อและกล่องต่อสาย ที่ติดตั้งภายนอกอาคารให้ใช้ชนิดกันน้ำ โดยลักษณะ การติดตั้งให้ยึดถือและปฏิบัติตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทยฉบับล่าสุด
6.11 สายสัญญาณของระบบควบคุมการเข้าออก (Access Control System) ให้ใช้ตามที่ผู้ผลิตแนะนำ (ถ้า มี)
6.12 สายสัญญาณและสายไฟฟ้า ของระบบโทรทัศน์วงจรปิดและระบบควบคุมการเข้าออก ห้ามเดินรวมใน ท้อร้อยสายและรางเดินสายเดียวกัน
6.13 ผู้ขายต้องจัดทำ WIRE MARKER ในการต่อเชื่อมสายกับอุปกรณ์xxxxxxแร๊คทั้งหมด พร้อมรัดสายให้ เรียบร้อยตามความเห็นของผู้xxxxxxx
7. การทดสอบ
หลังจากการติดตั้งแล้วเสร็จผู้รับจ้างต้องxxxxxxการทดสอบการทำงานของระบบทั้งหมดต่อหน้าผู้xxxxxxxหรือ ตัวแทนของผู้xxxxxxxตามวิธีการและรายละเอียดที่ผู้xxxxxxxกำหนด ทั้งนี้ผู้รับจ้างต้องเสียค่าใช้จ่ายในการทดสอบ และแก้ไขวัสดุและอุปกรณ์กรณีที่เกิดความเสียหายจากการทดสอบทั้งหมดเอง
8. หนังสือคู่มือและการฝึกอบรมการใช้งาน
8.1 ผู้รับจ้างต้องจัดทำหนังสือคู่มือในการใช้งานและการบำรุงรักษาวัสดุอุปกรณ์เป็นภาษาไทยพร้อมกับ ฝึกอบรมให้ผู้ซื้อมีความxxxxxxในการใช้และบำรุงรักษาอย่างถูกต้อง
8.2 ผู้รับจ้างต้องทำการฝึกอบรมผู้ดูแลระบบ (Admin) จำนวนไม่น้อยกว่า 2 คน เพื่อดูแลปรับปรุงแก้ไข ระบบ รวมทั้งเครื่องมืออุปกรณ์เพื่อให้xxxxxxใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8.3 ผู้รับจ้างต้องทำการฝึกอบรมการใช้งานแก่ผู้ใช้ระบบจำนวนไม่น้อยกว่า 2 คน ให้xxxxxxใช้งานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ
9. การจัดทำเอกสารและป้ายชื่อก่อนส่งมอบงาน
9.1 จัดทำรายละเอียดวัสดุอุปกรณ์ รหัส หมายเลขเครื่อง รุ่น ผลิตภัณฑ์ จำนวน ผลการทดสอบ ส่งมอบผู้xxx xxxxก่อนส่งมอบงาน โดยรหัสหมายเลขเครื่องให้แสดงในแบบ As built drawing ด้วย
9.2 รวบรวมและจัดทำเอกสารแสดงการนำเข้าของสินค้าและเสียภาษีอย่างถูกต้องรายชื่อตัวแทนจำหน่ายใน ประเทศ และอื่นๆ ตามที่ผู้ซื้อกำหนด
9.3 ทำป้ายชื่อติดแสดงที่ตัวอุปกรณ์หลัก ภายในห้องควบคุมทั้งหมด
10. ข้อขัดแย้ง
10.1 หากรูปแบบ และ/หรือ รายการประกอบแบบมีข้อขัดแย้งกัน การตีความในข้อขัดแย้งใดๆ จะตีความไป ในแนวทางวัสดุ และ/หรืออุปกรณ์ที่มีคุณภาพดีกว่า และ/หรือมีจำนวนxxxxxxxครบถ้วนกว่า ตามข้อ วินิจฉัยของผู้ซื้อเป็นข้อยุติ
10.2 การเสนอราคาและเอกสารเป็นความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง กรณีภายหลังพบว่าผู้รับจ้างเสนอวัสดุ อุปกรณ์จำนวนไม่ครบถ้วนตามรูปแบบและรายการ ผู้รับจ้างต้องจัดหาและติดตั้งให้ครบถ้วน โดยไม่มี เงื่อนไข
จบxxxxxxx 12
1. ความเป็นมา
xxxxxxx 13 ระบบควบคุมการเข้าออก (ACCESS CONTROL SYSTEM)
ผู้xxxxxxxxxxxxxxxxxจะxxxxxxการติดตั้งติดตั้งระบบควบคุมการเข้าออก ณ อาคารที่ก่อสร้างตามรูปแบบรายการ เพื่อบริการแก่เจ้าหน้าที่และผู้ใช้อาคารอย่างเหมาะสม และครอบคลุม
2. วัตถุประสงค์ของการxxxxxxงาน
2.1 เพื่อใช้ในอาคารที่ก่อสร้างตามรูปแบบและรายการ
2.2 เพื่อการxxxxxxx ควบคุมดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน บริเวณพื้นที่ที่กำหนด
2.3 เพื่อxxxxxประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัย
2.4 เพื่อการป้องปรามเหตุการณ์อันไม่พึงxxxxxxxxxxอาจเกิดขึ้นในรูปแบบต่างๆ
2.5 เพื่อช่วยในการติดตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
3. สถานที่xxxxxxการ
ติดตั้งในอาคารและนอกอาคารตามรูปแบบกำหนด
4. ข้อกำหนดทั่วไป
4.1 อุปกรณ์ของระบบควบคุมการเข้าออก จะต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตใหม่ ยังไม่เคยใช้งานxxxxxx และยัง อยู่ในสายxxxxxxผลิต พร้อมทั้งแนบรายละเอียดคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ที่จะนำมาติดตั้งสำหรับ โครงการและการทำงานของระบบประกอบการพิจารณาอนุมัติด้วย โดยแนบเอกสารที่ระบุแหล่งผลิต อุปกรณ์ เอกสารการนำเข้าสินค้าและมาตรฐานต่างๆ ที่รับรองคุณภาพของอุปกรณ์นั้น
4.2 ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาและติดตั้งระบบควบคุมการเข้าออก พร้อมอุปกรณ์อื่นๆ รวมทั้ง Software ต่างๆ ตามข้อกำหนด เพื่อให้ระบบxxxxxxใช้งานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 Software ที่ใช้กับอุปกรณ์ต่างๆ ในโครงการนี้จะต้องเป็น Software ทมีลิขสิทธิ์ถูกต้องจากบริษัทผู้ผลิต
4.4 ระบบที่นำเสนอต้องรองรับการxxxxxขยายระบบให้ครอบคลุมความต้องการของหน่วยงานในxxxxxxxx
4.5 ผู้รับจ้างจะต้องแนบรายละเอียด (Catalog) ของอุปกรณ์ที่เสนอ เพื่อประกอบการพิจารณา โดยจัดทำ ตารางเปรียบเทียบข้อกำหนดรายละเอียดและคุณลักษณะเฉพาะของแต่ละรายการให้พิจารณา
4.6 ผู้รับจ้างจะต้องจัดทำแบบการติดตั้งระบบให้เป็นไปตามแบบหรือข้อกำหนด โดยให้คณะกรรมการตรวจ การxxxxและผู้ควบคุมงาน เห็นชอบก่อนxxxxxxการติดตั้ง กรณีจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงจุดติดตั้งเพื่อ ความเหมาะสมต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการxxxxก่อน
4.7 ผู้รับจ้างจะต้องรับประกันอุปกรณ์เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 ปี ตลอดเวลารับประกัน พร้อมทั้งให้การ อบรมการใช้อุปกรณ์ต่างๆ แก่พนักงานผู้ดูแลรับผิดชอบของโครงการจนxxxxxxเข้าใจระบบการทำงาน ต่างๆ xxxxx
5. ขอบเขตของการxxxxxxงาน และคุณลักษณะเฉพาะ ระบบควบคุมการเข้าออก
5.1 ชุดอุปกรณ์สำหรับระบบควบคุมการเข้าออก
(1) เครื่องควบคุมหัวอ่าน (Controller) มีรายละเอียดดังนี้
(2) xxxxxxต่อพ่วงกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้โดยตรง โดยผ่านช่องทาง Port RS485 และ RS232 xxxxxxต่อเชื่อมหัวอ่านชนิด Magnetic Strip หรือ Proximity หรือ Keypad หรือ Biometric และหัวอ่านที่มีสัญญาณออกแบบ Wiegand ทุกชนิดได้
(3) xxxxxxเก็บข้อมูลบัตรได้ในตัวไม่น้อยกว่า 1,000 บัตร
(4) xxxxxxxxxxxอุปกรณ์เชื่อมต่อกับ Controller อื่นๆ
(5) อุณหภูมิใช้งานอยู่ระหว่าง -20ºC ถึง 75ºC หรือดีกว่า