การติดตั้ง ข้อกำหนดตัวอย่าง

การติดตั้ง. 8.1 ระบบประหยัดพลังงานไฟฟ้าสําหรับโคมไฟสาธารณะบรรจุภายในกล่องหรือตู้ ที่ทําจากวัสดุที่ ทนความร้อน และกันน้ําได้ โดยอุปกรณ์ดังกล่าวต้องสามารถติดตั้งได้โดยตรงทั้งบนโคมไฟ และโคนโคมไฟ 8.2 ผู้รับจ้างต้องเป็นผู้ดําเนินการติดตั้งระบบประหยัดพลังงานไฟฟ้าสําหรับโคมไฟสาธารณะดังกล่าวจน สามารถใช้งานได้ ณ สถานที่ติดตั้งตามรายละเอียดที่ระบุ 8.3 การ…
การติดตั้ง. 5.3.2 NATIONAL FIRE PROTECTION ASSOCIATION No.78 5.3.3 มาตรฐาน ว.ส.ท.
การติดตั้ง. การติดตั้งเครื่องสำรองไฟฟ้าฉุกเฉินและแบตเตอรี่ให้ติดตั้งตามมาตรฐานผู้ผลิตและตามที่ระบุดังนี้
การติดตั้ง. อุปกรณ์ต่างๆจะต้องติดตั้งอยู่ภายในตู้หรือกล้องแยกต่างหากจากแผงไฟฟ้าอื่นๆโดยมีป้ายแสดงชนิดของ อุปกรณ์ติดให้เห็นอย่างชัดเจนกล่องจะต้องมีความแข็งแรงเพื่อรับแรงต่างๆที่เกิดขึ้นขณะอุปกรณ์ทำงาน และจะต้องเป็นชนิดที่ผู้ผลิตได้ทดสอบให้การรับรอง
การติดตั้ง. 7.1 จานดาวเทียมและชุดขยายสัญญาณตามตำแหน่งที่กำหนดในแบบแต่อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้เพื่อความ เหมาะสมทั้งทางเทคนิคและทางสถาปัตยกรรม 7.2 สายสัญญาณโดยทั่วไปให้ร้อยในท่อโลหะ การวางสายในรางร้อยสาย (WIREWAY) อาจกระทำได้ถ้า ได้รับอนุมัติจากผู้คุมงานและเป็นสถานที่ซึ่งเข้าถึงรางร้อยสายได้สะดวก 7.3 ชุดแยกและกระจายสัญญาณ ให้บรรจุในกล่องโลหะที่ผ่านกรรมวิธีป้องกันสนิมอย่างดีโดยเลือกขนาด ของกล่องให้เหมาะสมและให้ยึดกล่องนี้กับโครงสร้างอาคารในตำแหน่งที่กำหนดในแบบหรือในตำแหน่ง ที่สมควร 7.4 การติดตั้งอื่นๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้ ให้เน้นไปตามคำแนะนำของผู้ผลิตอุปกรณ์นั้นๆ
การติดตั้ง. 6.1 หากมิได้กำหนดไว้เป็นอย่างอื่น ผู้รับจ้างต้องดำเนินการจัดหาติดตั้งวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้อื่นๆ ทั้งหมด ให้เป็นไปตามรูปแบบและรายการข้อกำหนดของสัญญา ตำแหน่งติดตั้งตามที่กำหนดในแบบ อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม นอกจากนี้อาจมีบางจุดที่จำเป็นต้องจัดหาและติดตั้งเพิ่มเติม เพื่อให้งานระบบโทรทัศน์วงจรปิดและระบบควบคุมการเข้าออกเรียบร้อยสมบูรณ์เป็นไปตามหลัก วิชาการ ผู้รับจ้างจะต้องดำเนินการโดยค่าใช้จ่ายต่างๆ เป็นของผู้รับจ้างทั้งสิ้น 6.2 ผู้รับจ้างต้องศึกษาแบบและรายละเอียดของงานด้านสถาปัตยกรรม โครงสร้างอาคาร ระบบปรับอากาศ ระบบสุขาภิภาล และงานระบบอื่นๆ ของเดิม ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้แน่ใจว่าวัสดุและอุปกรณ์สามารถติดตั้ง ได้ในแนวหรือพื้นที่ที่กำหนดไว้ โดยคำนึงถึงลักษณะการใช้งานของอุปกรณ์แต่ละระบบและสอดคล้อง กับงานทางสาขาอื่น ซึ่งตำแหน่งของวัสดุและอุปกรณ์ที่ปรากฎในแบบเป็นตำแหน่งโดยประมาณ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม โดยความยินยอมจากคณะกรรมการตรวจรับงานจ้าง 6.3 การติดตั้งในพื้นที่ที่ต้องดำเนินการรื้อถอน เปลี่ยนแปลง หรือเคลื่อนย้าย วัสดุอุปกรณ์ของเดิม เช่นผนัง ฝ้าเพดาน ครุภัณฑ์สำนักงาน ฯลฯ ผู้รับจ้าง ต้องปฏิบัติงานด้วยความระมัดระวังเพื่อไม่ให้เกิดความ เสียหาย ทั้งนี้ ภายหลังการติดตั้งผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบในการดำเนินการซ่อมแซมผนัง ฝ้า เพดาน สี ของผนังและฝ้าเพดาน รวมถึงวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดให้เรียบร้อยตามความเห็นของผู้ ว่าจ้างหรือตัวแทนผู้ว่าจ้าง 6.4 ก่อนการดำเนินการ ให้ผู้รับจ้างจัดทำแบบทำงานแสดงรายละเอียดการติดตั้ง (Shop Drawing) รายละเอียดตามตำแหน่งแนวท่อร้อยสาย วางเดินสาย ชนิด ขนาด จำนวนสายและท่อร้อยสาย และ รายละเอียดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมวิศวกรลงนามเสนอให้ผู้ว่าจ้างพิจารณาเห็นชอบก่อนดำเนินการ ติดตั้ง จำนวน 3 ชุด หรือจำนวนตามที่ผู้ว่าจ้างกำหนด 6.5 ผู้รับจ้างต้องจัดทำแบบแสดงการติดตั้งจริง (As built Drawing) โดยมีวิศวกรผู้ควบคุมการติดตั้งของ ผู้ขายลงนามรับรองในแบบประกอบด้วยกระดาษไข 1 ชุด สำเนา 3 ชุด พร้อม CD ส่งมอบผู้ซื้อก่อนส่ง มอบงานงวดสุดท้าย 6.6 ผู้รับจ้างต้องใช้ช่างฝีมือที่มีความชำนาญในสาขานี้โดยเฉพาะเป็นผู้ทำการติดตั้ง 6.7 ผู้รับจ้างต้องมีวิศวกรควบคุมการติดตั้งที่ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตาม พรบ.วิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า แขนงไฟฟ้ากำลัง หรือไฟฟ้าสื่อสารอย่างน้อย 1 คน 6.8 สายสัญญาณระบบโทรทัศน์วงจรปิด ให้ใช้สายชนิด RG – 6 และ/หรือ UTP Cat 6 หรือดีกว่า ชนิดใช้ ภายในอาคารหรือชนิดภายนอกอาคารตามลักษณะของงาน เดินร้อยในท่อร้อยสายโลหะ (EMT) และ/ หรือ ท่อโลหะอ่อน (Flexible Conduit) และหรือรางเดินสาย ท่อร้อยสาย ข้อต่อท่อและกล่องต่อสาย ที่ติดตั้งภายนอกอาคารให้ใช้ชนิดกันน้ำ โดยลักษณะการติดตั้งให้ยึดถือและปฏิบัติตามมาตรฐานการ ติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทยฉบับล่าสุด 6.9 กรณีที่มีเหตุสุดวิสัย มีความจำเป็นต้องใช้สายสัญญ...
การติดตั้ง. 12.1 เหล็กรองบาน และเหล็กธรณีบาน จะตองติดตั้งในชอง Blockout ที่เตรียมไว ตามที่ แสดงไวในแบบกอสราง ในการติดตั้งตองปรับตั้งอุปกรณดังกลาวใหไดระดับและระนาบที่เหมาะสม สําหรับการ ใชงาน เมื่อปรับตั้งไดตําแหนงที่ถูกตองตามแบบแลว ใหยึดใหแนนเขากับสลักเกลียวฝงคอนกรีตที่เตรียมไว กอนแลว ระหวางทําการขันขัดใหทําการตรวจสอบความคลาดเคลื่อนเปนระยะๆ หากพบขอผิดพลาดใหทําการ แกไขใหเรียบรอยกอนทําการเทคอนกรีต ลงชอง Blockout หรือนําบานเขาติดตั้ง 12.2 บานระบายพรอมยางกันน้ํารั่วจะตองติดตั้งตามรายละเอียดที่แสดงในแบบ แนวขอบ ลางของบานระบายจะตองเปนแนวตรง ยางกันน้ํารั่วใตบานระบายจะตองยึดแนนตามตําแหนงที่กําหนด มี แนวตรงตลอดความยาวขนานและกดกับแผนเหล็กธรณีอยางสม่ําเสมอ ขอบบานระบายดานขางเปนแนวตรง อยูในแนวดิ่งและตั้งฉากของลางของบานระบาย ยางกันน้ํารั่วดานขางติดตั้งอยูในตําแหนงที่กําหนดในแบบ ขอบยางดานที่สัมผัสเหล็กรองบานตองมีแนวตรงและกดติดกับเหล็กรองบานอยางสม่ําเสมอตลอดแนว 12.3 เครื่องกวานที่ประกอบสําเร็จแลวจะตองติดตั้งและปรับใหแนวลูกมวนลวด และ อุปกรณอื่นๆ อยูในตําแหนงที่ถูกตองตามแบบ กอนทําการติดตั้งเชือดลวดเขากับลูกมวนลวดและบานระบาย ใหตรวจสอบการทํางานของเครื่องกวานกอน หากพบวาเครื่องกวานทํางานไมถูกตองใหแกไขใหเรียบรอยกอน หลังจากการติดตั้งพรอมปรับตั้งเครื่องกวานและบานระบายเรียบรอยแลว ใหทําการทดสอบการทํางานของ เครื่องกวานในการยกบานระบายหรือเปดปดบานระบาย และรักษาระดับการเปดปดบานระบาย หากพบ ความเรียบรอยใดเกิดขึ้นในระหวางทําการทดสอบใชงานเครื่องกวานและบานระบาย ใหทําการแกไขให เรียบรอยและทําการทดสอบซ้ํากอนสงมอบงาน 13.การถายทอดความรูเรื่องการใชงานและการบํารุงรักษา ผูรับจางตองจัดใหมีการถายทอดความรูที่จําเปนสําหรับการใชงานและบํารุงรักษาเครื่องกวาน และบานระบาย ใหกับเจาหนาที่ของโครงการ ผูรับจางตองจัดหาคูมือการใชงานและการบํารุงรักษาใหกับ เจาหนาที่เพื่อใชประกอบการถายทอดความรูดวย ระยะเวลาในการถายทอดความรูตองไมนอยกวา 6 ชั่วโมง
การติดตั้ง. 5.1 เหล็กร่องบาน และเหล็กธรณีบาน จะต้องติดตั้งในช่อง Blockout ที่เตรียมไว้ ตามที่ แสดงไว้ในแบบก่อสร้าง ในการติดตั้งต้องปรับตั้งอุปกรณ์ดังกล่าวให้ได้ระดับและระนาบที่เหมาะสม สําหรับ การใช้งาน เมื่อปรับตั้งได้ตําแหน่งที่ถูกต้องตามแบบแล้ว ให้ยึดให้แน่นเข้ากับสลักเกลียวฝังคอนกรีตที่เตรียม ไว้ก่อนแล้ว ระหว่างทําการขันขัดให้ทําการตรวจสอบความคลาดเคลื่อนเป็นระยะๆ หากพบข้อผิดพลาดให้ทํา การแก้ไขให้เรียบร้อยก่อนทําการเทคอนกรีต ลงช่อง Blockout หรือนําบานเข้าติดตั้ง 5.2 บานระบายพร้อมยางกันน้ํารั่วจะต้องติดตั้งตามรายละเอียดที่แสดงในแบบ แนวขอบ ล่างของบานระบายจะต้องเป็นแนวตรง ยางกันน้ํารั่วใต้บานระบายจะต้องยึดแน่นตามตําแหน่งที่กําหนด มี แนวตรงตลอดความยาวขนานและกดกับแผ่นเหล็กธรณีอย่างสม่ําเสมอ ขอบบานระบายด้านข้างเป็นแนวตรง อยู่ในแนวดิ่งและตั้งฉากของล่างของบานระบาย ยางกันน้ํารั่วด้านข้างติดตั้งอยู่ในตําแหน่งที่กําหนดในแบบ ขอบยางด้านที่สัมผัสเหล็กร่องบานต้องมีแนวตรงและกดติดกับเหล็กร่องบานอย่างสม่ําเสมอตลอดแนว 5.3 เครื่องกว้านที่ประกอบสําเร็จแล้วจะต้องติดตั้งและปรับให้แนวลูกม้วนลวด และอุปกรณ์ อื่นๆ อยู่ในตําแหน่งที่ถูกต้องตามแบบ ก่อนทําการติดตั้งเชือดลวดเข้ากับลูกม้วนลวดและบานระบายให้ ตรวจสอบการทํางานของเครื่องกว้านก่อน หากพบว่าเครื่องกว้านทํางานไม่ถูกต้องให้แก้ไขให้เรียบร้อยก่อน หลังจากการติดตั้งพร้อมปรับตั้งเครื่องกว้านและบานระบายเรียบร้อยแล้ว ให้ทําการทดสอบการทํางานของ เครื่องกว้านในการยกบานระบายหรือเปิดปิดบานระบาย และรักษาระดับการเปิดปิดบานระบาย หากพบ ความเรียบร้อยใดเกิดขึ้นในระหว่างทําการทดสอบใช้งานเครื่องกว้านและบานระบาย ให้ทําการแก้ไขให เรียบร้อยและทําการทดสอบซ้ําก่อนส่งมอบงาน
การติดตั้ง. ป้ ายบอกทางหรือป้ ายบอกสถานท่ ตามข้อ ๔.๒ ต้องได้รับอนุญาตจาก นายกเทศมนตรก่อน โดยเทศบาลจะอนุญาตใหเฉพาะป้ายบอกทางและป้ายบอกสถานทส่ ˚าหรบสถานทของ ส่วนราชการ หน่วยงานของรฐ เท่านัน้ หรือรฐวส าหกิจ โรงพยาบาล สถาบันการศึกษา วด หรือศาสนสถานอ่ืน
การติดตั้ง. 122.1 ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาช่างติดต้ังฝี มือดี มีความช˚านาญในการติดต้ังและได้รับการอนุมัติจากผู้ 122.2 ก่อนมุงหลังคา ต้องตรวจสอบความเอยงลาดให้ถูกต้องเรียบร้อย ตามท่ีรูปแบบกา˚ หนดไว้ หาก ผดพลาดต้องได้รับการแก้ไข 122.3 การมุงหลังคาต้องปฏบ 122.4 การตดและการมุงหลังคา การตดต้งั ชุดครอบตกแต่งให้ปฏบ 122.5 แผ่นหลังคาจะต้องยาวต่อเนื่องกนตลอดช่วงของหลังคา โดยไม่มีรอยต่อความยาวของแผ่น 122.6 การตัดแผ่น ทุกคร้ังควรกระท˚าท่ีพืน ถ้าไม่จ˚าเป็ นไม่ควรตัดบนหลังคา ควรใช้กรรไกรตัดแผ่น ในการตดแผ่นทุกครั้ง ไม่ควรใช้เลื่อยไฟฟ้ าซงึ มีใบตดเป็ นโลหะ เพราะจะทา˚ ให้เกดสนิม