Contract
บทนํา
จากกรณีที่สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) ไดประกาศยกเลิกสัญญาหนวยบริการ ในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ตรวจสอบพบการทุจริต โดยไดมีประกาศยกเลิก สัญญาการขึ้นทะเบียนเปนหนวยบริการตามกฎหมายวาดวยหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 ของคลินิก ชุมชนอบอุนและโรงพยาบาลเอกชนในกรุงเทพมหานคร รวมจํานวน 188 แหง ซึ่งปญหานี้สงผลกระทบตอประชาชน ผูใชสิทธิบัตรหลักประกันสุขภาพถวนหนาหรือxxxxxxx จํานวนมากกวา 2 ลานคน ที่จะตองยายxxxxxxxxรักษาไปยัง สถานพยาบาลคูสัญญาแหงอื่น ประชาชนเกิดความสับสนในการใชบริการดานการปองxxxxxxxxโรคกับหนวยบริการxxxxxxx เนื่องจากไมไดรับขอมูลขาวสารxxxxxxxxx รวมทั้งจะกอใหเกิดปญหาความxxxxxของผูปวยในโรงพยาบาลของรัฐxxxxxมากขึ้น การใหบริการดูแลผูปวยเปนไปอยางลาชา ประชาชนไมไดรับความสะดวกในการเขาไปรับบริการจากสถานพยาบาล
อนึ่ง การที่กรุงเทพมหานครรวมกับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติจัดตั้งกองทุนหลกประกัน สุขภาพกรุงเทพมหานคร และไดงบประมาณมารวมแลวมากกวา 1,600 ลานบาท หลังจาก 3 ปแลว ยังใชงบประมาณ ไมถึงรอยละ 10 เทาน้น ซึ่งมีแนวโนมที่จะระงับการจัดสรรงบใหกองทุนและอาจมีการเรียกเงินกลับดวย ดังนั้น เพื่อใหกรุงเทพมหานครมีมาตรการรองรับประชาชนxxxxxxxxxxกระทบจากกรณีการยกเลิกสัญญาการขึ้นทะเบียน คลินิกชุมชนอบอุนและโรงพยาบาลเอกชนในกรุงเทพมหานครเปนหนวยบริการสาธารณสุข และเพื่อให กรุงเทพมหานครมีระบบบริการxxxxxxxxxxxxxxxxดูแลผูปวยxxxxxxxไดอยางมีคุณภาพเปนไปตามพระราชบัญญัติ ระบบสุขภาพxxxxxxx พ.ศ. 2562 และเพื่อใหมีการเรงรัดการใชจายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร อยางมีประสิทธิภาพ สภากรุงเทพมหานครจึงไดมีมติในคราวประชุมสภากรุงเทพมหานคร สมัยประชุมสามัญ สมัยที่สี่ (ครั้งที่ 1) ประจําปพุทธศักราช ๒๕63 เมื่อxxxxxxที่ 7 xxxxxx ๒๕63 ตั้งคณะกรรมการวิสามัญศึกษาศึกษาเพื่อแกไข ปญหาในการดูแลประชาชนจากกรณีการยกเลิกสัญญาหนวยบริการสาธารณสุขและการเรงรัดการใชจายเงินกองทุน หลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร และเพื่อใหมีการติดตามเรงรัดดําเนินการ โดยมีคณะกรรมการวิสามัญจํานวน 15 คน ดังมีรายชื่อตอไปนี้
1. | นายxxxxx | ศิริวนาxxxxxxค |
2. | xxxxxxxxxx | xxxxxxxxxx |
3. | xxxxxxxx | xxxxxxxxx |
4. | xxxxx xxxxxxx | xxxxxxxx |
5. | พลตรี xxxxxxxx | วงษxxxxx |
6. | xxxxxxxxxxx | โงวศิริ |
7. | xxxxxxxx | xxxxxxxxxxxxxxxx |
8. | นางปยะxxxx | xxxxxบูรณ |
9. | นายโกเมนทร | xxxxxx |
10. | นายxxxxxxx | บุญจิตตxxxx |
11. | นายมลฑล | มาxxxx |
12. | นายฐานพัฒน | รัตนพันธ |
13. | นางเลิศลักษณ | ลีลาเรืองแสง |
14. | นางxxxxx | ปณจีเสคิกุล |
15. | นางxxxxxx | ทัตตากร |
16. | xxxxxxxxxxxx | xxxxxxxxx ณ อยุธยา |
คณะกรรมการวิสามัญฯ ไดประชุมxxxxแรกเมื่อxxxxxxที่ 7 xxxxxx ๒๕๖3 ที่ประชุมมีมติเลือก นายxxxxx ศิริวนาxxxxxxค เปนประธานกรรมการ นางxxxxxxx สุวัฒนวงศ เปนรองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง นางเลิศลักษณ ลีลาเรืองแสง เปนรองประธานกรรมการ คนที่สอง และเลือก นางxxxxx ปณจีเสคิกุล เปนเลขานุการ โดยคณะกรรมการวิสามัญฯ กําหนดขอบเขตและแนวทางการดําเนินงาน ดังนี้
1. คณะกรรมการวิสามัญฯ มีการประชุมศึกษา วิเคราะห และสังเคราะหขอมูล เพื่อใหมีแกไข ปญหาในการดูแลประชาชนจากกรณีการยกเลิกสัญญาหนวยบริการสาธารณสุขและการเรงรัดการใชจายเงินกองทุน หลกั ประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร โดยคณะกรรมการวิสามัญฯ มีการประชุม รวมทั้งสิ้น 66 ครั้ง
2. คณะกรรมการวิสามัญฯ ไดมีคําสั่งตั้งคณะอนุกรรมการ 5 คณะ ดังนี้
2.1 คณะอนุกรรมการเพื่อแกไขปญหาในการดูแลประชาชนจากกรณีการยกเลิกสัญญาหนวย บริการสาธารณสุขและการเรงรัดการใชจายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร โดยใหมีหนาที่รวบรวม ขอมูลและกฎหมายที่เกี่ยวของเพ่ือแกไขปญหาในการดูแลประชาชนจากกรณีการยกเลิกสัญญาหนวยบริการสาธารณสุข และการเรงรัดการใชจายเงินกองทุนหลักประกนสุขภาพกรุงเทพมหานคร พรอมทั้งวิเคราะหขxxxxxxxเกี่ยวของนําเสนอตอ คณะกรรมการวิสามัญฯ เพ่ือประกอบรายงานผลการศึกษาของคณะกรรมการวิสามัญฯ จํานวน 13 คน โดยมี นายxxxxx ศิริวนาxxxxxxค เปนประธานอนุกรรมการ และคณะอนุกรรมการฯ มีการประชุม รวมทั้งสิ้น 56 ครั้ง
2.2 คณะอนุกรรมการเพื่อติดตามการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกัน สุขภาพเขต กลุมเขตกรุงเทพกลาง โดยใหมีหนาที่พิจารณาติดตามความคืบหนา ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน ของคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต จํานวน 18 คน โดยมี xxxxx xxxxxxx xxxxxxxx เปนประธานอนุกรรมการ และอนุกรรมการฯ มีการประชุม รวมทั้งสิ้น 9 ครั้ง
2.3 คณะอนุกรรมการเพื่อติดตามการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกัน
สุขภาพเขต กลุมเขตกรุงเทพตะวันออก โดยใหมีหนาที่พิจารณาติดตามความคืบหนา ปญหาและอุปสรรคในการ ดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต จํานวน 17 คน โดยมี นายxxxxx ศิริวนาxxxxxxค เปนประธานอนุกรรมการ และอนุกรรมการฯ มีการประชุม รวมทั้งสิ้น 7 ครั้ง
2.4 คณะอนุกรรมการเพื่อติดตามการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกัน สุขภาพเขต กลุมเขตกรุงเทพเหนือและกรุงเทพใต โดยใหมีหนาที่พิจารณาติดตามความคืบหนา ปญหาและอุปสรรค ในการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต จํานวน 13 คน โดยมี นางxxxxxxx สุวัฒนวงศ เปนประธานอนุกรรมการ และอนุกรรมการฯ มีการประชุม รวมทั้งสิ้น 6 ครั้ง
2.5 คณะอนุกรรมการเพื่อติดตามการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกัน
สุขภาพเขต กลุมเขตกรุงธนเหนือและกรุงธนใต โดยใหมีหนาท่ีพิจารณาติดตามความคืบหนา ปญหาและอุปสรรค ในการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต จํานวน 12 คน โดยมี พลตรี xxxxxxxx วงษxxxxx เปนประธานอนุกรรมการ และอนุกรรมการฯ มีการประชุม รวมทั้งสิ้น 6 ครั้ง
ขอบเขตและแนวทางการศึกษา
คณะกรรมการวิสามัญศึกษาเพื่อแกไขปญหาในการดูแลประชาชนจากกรณีการยกเลิกสัญญาหนวย บริการสาธารณสุขและการเรงรัดการใชจายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร มีการประชุมศึกษาขxxxx xxxเก่ียวของ โดยมีการประชุมรวมกับหนวยงานของกรุงเทพมหานคร ไดแก สํานักพัฒนาสังคม สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเที่ยว สํานักการศึกษา สํานักพัฒนาสังคม สํานักการจราจรและขนสง สํานักxxxxศาสตรและประเมินผล สํานักอนามัย สํานักการแพทย สําxxxxxxกิจ สํานักการระบายนํ้า สํานักปองกันและxxxxxxสาธารณภัย สํานักสิ่งแวดลอม สํานักงานตลาดกรุงเทพมหานคร สํานักงานเขต และหนวยงานภายนอก ไดแก กองบังคับการปราบปราม เทศบาลxxxxxxxxx จังหวัดปทุมธานี เทศบาลเมืองบึงยี่โถ จังหวัดปทุมธานี สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ สํานักงาน หลักประกันสุขภาพแหงชาติ กรมสุขภาพจิต และสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง กรมอนามัย รวมทั้งผูเกี่ยวของอื่น ๆ ในการใหขอมูลตอคณะกรรมการวิสามัญฯ โดยมีประเด็นสําคัญที่ศึกษา ดังนี้
1. การแกไขปญหาในการดูแลประชาชนจากกรณีการยกเลิกสัญญาหนวยบริการสาธารณสุข ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
1.1 สถานการณ สาเหตุ และผลกระทบการยกเลิกสัญญา
1.2 การเตรียมการรองรับสถานการณxxxxxxxxxกระทบของประชาชน ในระยะถัดไป
1.3 ความคืบหนาการดําเนินคดี
1.4 การแกไขปญหา กรณีการยกเลิกสัญญาหนวยบริการ
1.5 บทบาทของหนวยงานที่เกี่ยวของในการจัดระบบบริการxxxxxxx กรุงเทพมหานคร
1.6 ขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสามัญฯ
2. การเรงรัดการใชจายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
2.1 ความเปนมา หลักการ โครงสราง ระเบียบการเบิกจายเงิน จํานวนเงินงบประมาณ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
2.2 ความคืบหนาการใชจายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
2.3 xxxxศาสตรคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน (กขป.)
2.4 หัวขอการศึกษา
2.4.1 ปญหาในการดําเนินการกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
2.4.2 แนวทางการดําเนินโครงการที่สําเร็จ
- เทศบาลxxxxxxxxx จังหวัดปทุมธานี
- เทศบาลเมืองบึงยี่โถ จังหวัดปทุมธานี
- สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สํานัก 6)
2.4.3 การเรงรัดการจัดทําโครงการ แบงเปน 3 สวน ไดแก
- กลมเขต
- สํานักตาง ๆ
- หนวยงานภายนอก
2.5 ขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสามัญฯ
ผลการศึกษา
1. การแกไ ขปญหาในการดูแลประชาชนจากกรณีการยกเลกสญิ ญาหนวยบรการสิ าธารณสขในพุ ืxxxxกรุงเทพมหานคร
ก. สถานการณ สาเหตุ และผลกระทบการยกเลิกสัญญา
• สถานการณปญหาการขึนทะเบียนและการใหบริการโครงการxxxxxxxจากการยกเลิกหนวยบริการสาธารณสุข
สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) ไดดําเนินการยกเลิกสัญญาการใหบริการสาธารณสุขกับ คลินิกชุนชนอบอุนในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พื้นที่กรุงเทพมหานคร จํานวน ๓ ครั้ง ระหวางxxxxxx ๙ กรกฎาคม
๒๕๖๓ - xxxxxx ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๔ โดยยกเลิกสัญญาหนวยบริการxxxxxxx/หนวยบริการประจําภาคเอกชน จํานวน
๒๑๑ แหง ซึ่งเปนหนวยบริการxxxxxxxของเอกขน (คลินิกชุมชนอบอุน) จํานวน ๑๘๑ แหง ทําใหประชาชน ที่ลงทะเบียนกับหนวยบริการท่ีถูกยกเลิกสัญญา ไดxxxxxกระทบมีสถานะเปนxxxxxวาง (xxxxxหลักประกันสุขภาพแบบ ไมมีหนวยบริการประจํา) จํานวน ๒,๑๒๗,๕๙๖ คน ประชาชนตองยายxxxxxxxxรักษาไปยังหนวยบริการคูสัญญาแหงอื่น สงผลใหประชาชนเกิดความสับสนในการใชบริการดานการปองxxxxxxxxโรคกับหนวยบริการxxxxxxx เนื่องจากไมไดรับ ขอมูลขาวสารxxxxxxxxx รวมท้งจะกอใหเกิดปญหาความxxxxxของผูปวยในโรงพยาบาลของรัฐxxxxxมากขึ้น ทําใหการ ดูแลผูปวยเปนไปอยางลาชา และไมไดรับความสะดวกในการเขาไปรับบริการจากสถานพยาบาล จึงไดเรงรัด ดําเนินการใหภาคเอกชนข้ึนทะเบียนใหบริการในรูปแบบหนวยบริการxxxxxxx (คลินิกชุมชนอบอุน) ตามพระราชบัญญัติ หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 และใหสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร โดยศูนยบริการสาธารณสุขทุกแหง ตรวจสอบคลินิกเอกชนที่ขอขึ้นทะเบียนหนวยบริการxxxxxxxxxxxxคลินิกที่ถูกยกเลิกสัญญา เพื่อใหประชาชนไปรับ บริการ ที่ใกลบาน ซึ่งคลินิกชุมชนอบอุxxxxถูกยกเลิกสัญญาไมไดถูกยกเลิกโดยพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.
๒๕๔๑ สําหรับการแกไขปญหานี้อาจตองเปลี่ยนผูรับใบอนุญาตใหประกอบกิจการสถานพยาบาล และเปลี่ยนชื่อ สถานพยาบาล
สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร ไดดําเนินการจัดทํามาตรการรองรับประชาชนxxxxxxxxxxกระทบกรณีคลินิก ชุมชนอบอุน จํานวน ๑๘ แหงแรกที่สิ้นสภาพหนวยบริการ มีประชากรไดxxxxxกระทบ ๒๑๕,๕๗๘ คน โดยการxxxxxx ประชากรใหกับศูนยบริการสาธารณสุขทั้งหมด ๑๖ แหง และดําเนินการxxxxxสัมพันธใหประชากรxxxxxxxxxxกระทบ xxxxxxยื่นคํารองเปลี่ยนหนวยบริการประจําไดที่ศูนยบริการสาธารณสุขหรือทางสายดวน สปสช. โทร. ๑๓๓๐ ตั้งแต xxxxxx ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓ จนถึงxxxxxx ๓๐ กันยายน ๒๕๖๓ ตอมาสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติไดยกเลิก สัญญาการใหบริการสาธารณสุขกับคลินิกชุนชนอบอุนและโรงพยาบาลเอกชน เม่ืxxxxxxx ๑๘ กันยายน ๒๕๖๓ จํานวน
๖๔ แหง และxxxxxx ๑ xxxxxx ๒๕๖๓ จํานวน ๑๐๘ แหง สงผลใหประชากรไดxxxxxกระทบมีสถานะเปนxxxxxวาง ท้งหมด
๑,๙๑๒,๐๑๘ คน โดยxxxxxxเขารับบริการไดที่หนวยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติทุกแหง การดําเนินงานกรณีสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ยกเลิกสัญญาหนวยบริการสาธารณสุข รวมยกเลิก
สัญญา 190 คลินิก/โรงพยาบาลเอกชน ประชาชนxxxxxxxxxxกระทบ 2,127,596 คน ดังนี้
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxอบอุน 18 แหง
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxอบอุน และโรงพยาบาลเอกชน 64 แหง
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxอบอุน และโรงพยาบาลเอกชน 108 แหง
1 xxxxxx 2563
ประชากรxxxxxxxxxxกระทบ 1,031,797 คน ทําใหเกิดเปนxxxxxวาง (xxxxxพิเศษ)
ประชากรไดxxxxxกระทบ 880,221 คน ทําใหเกิดเปนxxxxxวาง
ประชากรxxxxxxxxxxกระทบ 215,578 คน (สํานักอนามัยดูแล)
9 กรกฎาคม 2563
18 กันยายน 2563
สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ไดดําเนินการบริหารจัดการ เพื่อรองรับการยกเลิกสัญญาหนวยบริการ พื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้
๑. ประชาชนxxxxxวางxxxxxxxxxxกระทบจากการยกเลิกสัญญา xxxxxxเขารับการรักษาพยาบาลตาม xxxxxxxที่หนวยบริการสาธารณสุขทุกแหงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยไมตองมีหนังสือ/ใบสงตัวและไมเสียคาใชจาย
๒. การxxxxxxxxขายบริการรูปแบบใหม (Model ๕) เพื่อรองรับประชากรxxxxxxxxxxกระทบตามความ เหมาะสม โดยยึดความสะดวกของประชากรเปนหลัก
หนวยบริการประจํา | หนวยบริการxxxxxxxและเครือขาย | หนวยบริการรบั สงตอ |
ศูนยบริการสาธารณสุข กทม. | คลินิกชุมชนอบอุน หนวยบริการรับสงตอเฉพาะดาน | โรงพยาบาลรบสงตอ |
xxxxxxxxxxxxxxxxx | xxxxxxxxxxxอบอุน หนวยบริการรับสงตอเฉพาะดา น | โรงพยาบาลรบสงตอ |
โรงพยาบาลภาครัฐ | คลินิกชุมชนอบอุน หนวยบริการรับสงตอเฉพาะดาน | โรงพยาบาลรบสงตอ |
รูปแบบการรับบริการของประชาชน : ประชาชนxxxxxxไปรับบริการxxxxxxxxxxหนวยบริการxxxxxxxแหงใด ก็ไดที่xxxในเครือขายเดียวกัน
รูปแบบการxxxxxxxxขายบริการรูปแบบใหม (Model ๕) คลินิกเอกชนจะขึ้นทะเบียนเปนหนวยบริการxxxxxxx (คลินิกชุมชนอบอุน) และมีศูนยบริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร เปนหนวยบริการประจํา
3. ปรับหลักเกณฑการลงทะเบียนแทนกรณีประชาชนxxxxxวางจากการยกเลิกสัญญาหนวยบริการ โดยใหสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติมีหนวยบริการประจํา
๓.๑ ลงทะเบียนประชาชนที่มีหนวยบริการประจําในระบบxxxxxxxเปลี่ยนแปลงเปนหนวยบริการxxxxxxx ในเครือขายหนวยบริการxxxxxxxรูปแบบใหม
๓.๒ ลงทะเบียนประชาชนที่มีที่xxxในพื้นที่ของหนวยบริการใหมที่ขึ้นทะเบียนเปนหนวยบริการxxxxxxx ในเครือขายหนวยบริการxxxxxxxรูปแบบใหม
1 ธันวาคม 2563
ประชากรxxxxxวางไดรับจัดสรร จํานวน 71,566 คน
5 พฤศจิกายน 2563
มีคลินิกเอกชนเขารวมเปนเครือขายหนวย บริการxxxxxxx (Model 5) จํานวน 7 แหง
มีคลินิกเอกชนเขารวมเปนเครือขายหนวย บริการxxxxxxx (Model 5) จํานวน 9 แหง
4 ธันวาคม 2563
ประชากรxxxxxวางไดรับจัดสรร จํานวน 1,526,494 คน
ประชากรxxxxxวางไดรับจัดสรร จํานวน 121,196 คน
คลินิกเอกชนเขารวมเปนเครือขายหนวย บริการxxxxxxx (Model 5) จํานวน 18 แหง
ผลการดําเนินงานจัดสรรประชากรxxxxxวางxxxxxxxxxxกระทบจากการยกเลิกสัญญา ในรูปแบบเครือขายหนวย บริการxxxxxxx (Model 5) จํานวน 192,762 คน
รวมคลินิกเอกชนเขารวมเปนเครือขายหนวยบริการxxxxxxx (Model 5) จํานวน 34 แหง คงเหลือ ประชากรxxxxxวางที่ยังไมไดรับการจัดสรร จํานวนประมาณ 1,719,256 คน
เครือขายหนวยบริการxxxxxxx (Model 5) ครอบคลุม 23 เขต ไดแก เขตดอนเมือง เขตบางเขน เขตลาดพราว เขตมีนบุรี เขตประเวศ เขตบางนา เขตxxxxx เขตดินแดง เขตพญาไท เขตราชเทวี เขตพระนคร เขตสัมพันธวงศ
เขตปอมxxxxxxxxxพาย เขตสาทร เขตยานนาวา เขตxxxxสามวา เขตบางแค เขตxxxxxx เขตxxxxxxxx เขตหนองแขม เขตบางกอกนอย เขตหลักสี่ และเขตสวนหลวง
ผลการลงทะเบียนประชาชนที่ลงทะเบียนกับหนวยบริการถูกยกเลิกสัญญามีสถานะเปนxxxxxวาง จํานวน
๒,๑๒๗,๕๙๖ คน ณ xxxxxx ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๕ ไดรับการลงทะเบียนแลว จํานวน ๒,๑๒๗,๕๙๖ คน คิดเปนรอยละ
๙๙.๙๗ คงเหลือประชากรxxxxxวาง จํานวน ๔,๙๑๙ คน คิดเปนรอยละ ๐.๐๓ สําหรับประชาชนที่เหลือxxxกําลังxxxใน แผนเรงรัดการลงทะเบียนใหกับหนวยบริการxxxxxxxเดิมในระบบที่มีศักยภาพรองรับ ที่ตั้งxxxในเขตพื้นที่และพื้นxxx xxxตอ หนวยบริการที่ขึ้นทะเบียนใหมและศูนยบริการสาธารณสุข กทม.
• สาเหตุ ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน
1. ประชาชนยังไมเขาใจขxxxxxxxxxxxxสัมพันธ และยังเขาใจวาจะใชบริการที่ไหนก็ได
2. ผูรับบริการไมxxxxกับxxxxxxxx สปสช. ลงทะเบียนใหเกิดขอรองเรียน
3. การพิสูจนตัวตนของผูรับบริการ และผใู หบริการใชเวลามาก ผูปวยรอคิวนาน เกิดความxxxxx ในโรงพยาบาล
4. ผูปวยที่ตองนอนโรงพยาบาลมีการรอxxxxxจํานวนสูงขึ้น
5. ผูรับบริการที่เปนxxxxxวางสวนใหญไมมีประวัติการรักษาเดิม ตองเริ่มกระบวนการใหม
6. บุคลากรหนางานมีภาระงานxxxxxขึ้นจากเดิมมาก รับปญหาขอรองเรียนxxxxxขึ้น
7. ตรวจสอบ พบวาการเบิกจายเงิน ไมเปนไปตามการใหบริการจริง
• ผลกระทบการยกเลิกคลินิก
1. ประชาชนไมxxxxxxเขาถึงหนวยบริการxxxxxxxxx
<.. image(รูปภาพประกอบด้วย ข้อความ คำอธิบายที่สร้างโดยอัตโนมัติ) removed ..>
จากขอมูลพบวา ประชาชนมีxxxxxวางที่ยังไมมีหนวยบริการxxxxxxxใหใชบริการอยู 458,565 คน (ขxxxx x xxxxxx 18 กุมภาพันธ 2565) ซงึ่ ทําใหไมทราบวาจะไปใชบริการในหนวยบริการใด
2. หนวยบริการรับสงตอ เชน โรงพยาบาลสังกัดสํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลสังกัดกระทรวง สาธารณสุข มีผูมารับบริการในกรณีผูปวยนอกมากขึ้น
กรณีประชาชนไดxxxxxกระทบจากการยกเลิกสัญญาคลินิกชุมชนอบอุน สํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร รับการดูแลผูปวยท้งผปู วยในและผูปวยนอก โดยxxxxxxเขารบบริการในโรงพยาบาลสังกัดสํานักการแพทย ทั้ง 11 แหง
โรงพยาบาลในสงกดสําน การแพทยมีประชากรสทธิิ UC ผูปวยนอก หนวยบริการประจํา จํานวน 821,301 คน คิดเปน
รอยละ 22.06 และxxxxx UC และผูปวยใน หนวยบริการรับสงตอจํานวน 1,007,550 คน คิดเปนรอยละ 27.03 เทียบกับประชากรxxxxx UC ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
ผลกระทบของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร จากการยกเลิกคลินิกฯ มีคนไขที่ถูกยกเลิกสัญญา หนวยบริการ มาใชบริการโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ในเดือนxxxxxx 2563 ประเภทผูปวยใน (OPD) xxxxxขึ้นประมาณรอยละ 20-30 ผูปวยนอก (IPD) xxxxxข้ึนประมาณรอยละ 10-20 โดยมีจํานวนที่มากนอยแตกตางกัน ทําใหเกิดความxxxxxในการใหบริการโดยเฉพาะโรงพยาบาลสิรินธร โรงพยาบาลหลวงพxxxxxxxxxx xxxxนธฺโร อุทิศ เนื่องจากบริเวณรอบโรงพยาบาลมีคลินิกที่ถูกยกเลิกจํานวนมาก สวนโรงพยาบาลเจริญกรุงxxxxxรักษ และ โรงพยาบาลตากสิน มีผูมีxxxxxวางมาใชบริการจํานวนมาก การแกไขปญหาโดยจัดผูปวยไปรับบริการตามกลุมโซนตาม เขตการxxxxxxของกรุงเทพมหานคร
• มาตรการเรงดวนเพื่อรองรบ
ประชาชนxxxxxรบ
ผลกระทบ
1. สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร ไดเตรียมความพรอมของศูนยบริการสาธารณสุขในการรองรับประชาชนทจะ มารับบริการทั้งดานสถานที่ บุคลากร อุปกรณ และเวชภัณฑ และไดสํารวจสถานบริการxxxxxรับผูปวยไวคางคืนเพื่อ xxxxxxxxxxxxxxขายบริการxxxxxxxในพื้นที่ของศูนยบริการสาธารณสุข
2. สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร xxxxxสัมพันธใหประชาชนxxxxxxxxxxกระทบทราบถึงศูนยบริการสาธารณสุข และหนวยบริการในระบบหลักประกนสุขภาพแหงชาติทุกแหงที่xxxxxxไปรับบริการได
3. สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ เรงการขึ้นทะเบียนหนวยบริการxxxxxxxและจัดสรรประชากรxxxxxวาง ลงหนวยบริการxxxxxxxใกลบานหรือสถานที่ทํางาน
4. สํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร ไดจัดระบบโรงพยาบาลรับสงตอเพื่อรองรับหนวยบริการxxxxxxxและเพื่อ รับการสงตอภายในเครือขายการแกไขปญหาโดยจัดผูปวยไปรับบริการตามกลุมโซนตามเขตการxxxxxxของ กรุงเทพมหานคร ดังนี้
โรงพยาบาลรบ
สงต
เพื่อรองรบ
หนวยบริการxxxxxxxตามกลุมเขต กรุงเทพมหานคร
กลุมเขตกรุงเทพเหนือ | ||
เขต | ศูนยบริการสาธารณสุข | โรงพยาบาลรบั สงตอ |
เขตสายไหม | ศบส.61 | โรงพยาบาลภูมิพลxxxxxxxx |
เขตหลักสี่ | ศบส.53 | โรงพยาบาลxxxxxxxxxx |
เขตบางเขน | ศบส.24,61 | |
เขตบางซื่อ | ศบส.3,19 | |
เขตลาดพราว | ศบส.66 | |
เขตดอนเมือง | ศบส.60 | 1 .โรงพยาบาลภูมิพลxxxxxxxx 2. โรงพยาบาลxxxxxxxxxx 3. โรงพยาบาลสีกนั |
เขตจตุจักร | ศบส.17,51,52 | โรงพยาบาลxxxxxxx |
กลุมเขตกรุงเทพใต | ||
เขตบางรัก | ศบส.23 | โรงพยาบาลเลิดสิน |
เขตสาทร | ศบส.14,63 | |
เขตพระโขนง | ศบส.34 | |
เขตยานนาวา | ศบส.7,55 | |
เขตบางคอแหลม | ศบส.12,18 | โรงพยาบาลเจริญกรุงxxxxxรักษ |
เขตคลองเตย | ศบส.10,41 | โรงพยาบาลกลวยน้ําไท |
เขตบางนา | ศบส.8 | โรงพยาบาลบางนา 1 |
เขตxxxxxxx | ศบส.5,16 | โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ |
เขตxxxxx | ศบส.21 | โรงพยาบาลตํารวจ |
กลุมเขตกรุงเทพกลาง | ||
เขตxxxxx | ศบส.6,38 | คณะแพทยศาสตรxxxxพยาบาลมหาวิทยาลัย นวมินทราxxxxx |
เขตพระนคร | ศบส.1,9 | |
เขตดินแดง | ศบส.4,52 | โรงพยาบาลxxxxxxx |
เขตราชเทวี | ศบส.2 | โรงพยาบาลพระxxxxxxxxา |
เขตพญาไท | ศบส.11 | โรงพยาบาลรามาธิบดี |
เขตปอมxxxxxxxxxพาย | ศบส.20 | โรงพยาบาลกลาง |
เขตสัมพันธวงศ | ศบส.13 | |
เขตหวยขวาง | ศบส.25 | โรงพยาบาลxxxxตนั |
เขตวังทองหลาง | ศบส.15 | โรงพยาบาลเพชรเวช |
กลุมเขตกรุงเทพตะวันออก | ||
เขตคันนายาว | ศบส.69 | โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี |
เขตxxxxสามวา | ศบส.64 | |
เขตบางกะป | ศบส.35 | โรงพยาบาลแพทยปญญา |
เขตบึงกุม | ศบส.50,56 | โรงพยาบาลภูมิพลxxxxxxxx |
เขตหนองจอก | ศบส.44 | 1. โรงพยาบาลเวชxxxxxยรัศมิ์ 2. โรงพยาบาลนวมินทร |
เขตลาดกระบัง | ศบส.45,46 | 1. โรงพยาบาลลาดกระบัง 2. โรงพยาบาลบางพลี |
เขตมีนบุรี | ศบส.43 | โรงพยาบาลนวมินทร |
เขตประเวศ | ศบส.22,57 | โรงพยาบาล สิรินธร |
เขตสะพานสูง | ศบส.68 | |
กลุมเขตกรุงธนใต | ||
เขตหนองแขม | ศบส.48 | โรงพยาบาลหลวงพxxxxxxxxxx xxxxนธฺโร อุทิศ |
เขตภาษีเจริญ | ศบส.47,62 | 1. โรงพยาบาลสมเด็จพระปนเกลา 2. โรงพยาบาลศิริราช |
เขตบางขุนเทียน | ศบส.42 | 1. โรงพยาบาลผูสูงอายุบางขุนเทียน 2. โรงพยาบาลสมุทรสาคร |
เขตบางแค | ศบส.40 | โรงพยาบาลxxxxxพัฒน |
เขตราษฎรบูรณะ | ศบส.39,58 | |
เขตทุงครุ | ศบส.54,59 | |
เขตxxxxxx | ศบส.65 | โรงพยาบาลสหวิทยาการมะลิ |
กลุมเขตธนเหนือ | ||
เขตคลองสาน | ศบส.28 | โรงพยาบาลตากสิน |
เขตบางกอกนอย | ศบส.30 | โรงพยาบาลศิริราช |
เขตตลิ่งชัน | ศบส.49 | |
เขตบางกอกใหญ | ศบส.33 | |
เขตxxxxxxxx | ศบส.67 | |
เขตบางพลัด | ศบส.31 | โรงพยาบาลอนันตพัฒนา 2 |
เขตจอมทอง | ศบส.29 | โรงพยาบาลบางมด |
ข. การเตรียมการรองรบสถานการณxxxxxxผลกระทิ บของประชาชน ในระยะถดไป
• การเตรียมความพรอมรองรับผูบริการ กรณีภาคเอกชนขึนทะเบียนเปนหนวยบริการไมเพ ียงพอ
สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร ไดเตรียมความพรอม กรณีหนวยบริการไมเพียงพอ ซึ่งศูนยบริการ
สาธารณสุขxxxxxxรับประชาชนxxxxxxxสวนหนึ่ง จากขอมูลการขึ้นทะเบียนหนวยบริการลาสุด จํานวน 14 แหง ทั้งนี้ ศูนยบริการสาธารณสุขที่มีประชาชนมารับบริการxxxxxมากขึ้น มีการบริหารจัดการโดยการxxxxxแพทยและขยายเวลา การใหบริการxxxxxขึ้น โดยตองดูความรวมมือกับเครือขาย และสถานการณอยางใกลชิด ซึ่งสํานักอนามัยจะไดมีการ ประชุมหารือและติดตามเตรียมความพรอมรองรับสถานการณอยางตอเนื่อง การดําเนินงานของสํานักอนามัย
1. ศูนยบริการสาธารณสุข 16 แหง รับดูแลxxxxxxxxxxเปนxxxxxวางกลุมแรก จํานวน 215,578 คน
2. เตรียมความพรอมดานบุคลากร ยา เวชภัณฑและสถานท่ี เพื่อรองรับประชากรผูมีxxxxxวางเขารับ
บริการ
3. จัดแพทยหมุนเวียนเพื่อสนับสนุนศูนยบริการสาธารณสุขที่มีจํานวนผูมารับบริการxxxxxมากขึ้น
4. ประชุมหารือเพื่อกําหนดแนวทางการจัดบริการผูปวยนอก เพื่อรองรับประชาชนที่เปนxxxxxวาง
จัดทําแนวทางการจัดบริการตรวจรักษาโรคของศูนยบริการสาธารณสุข ประชุมหารือกับสํานักงานหลักประกันสุขภาพ แหงชาติ เขต 13 กรุงเทพมหานคร ในการจัดบริการเครือขายxxxxxxx รวมกับ สปสช. ในการจัดสรรประชากรxxxxxวาง จํานวน 71,566 คน ลงสูรูปแบบเครือขายหนวยบริการxxxxxxx จํานวน 9 หนวยบริการxxxxxxx
สํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร ติดตามการดําเนินงานของประชาชน ผูมาใชบริการตามxxxxx หลักประกันสุขภาพของโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร 11 แหง เพื่อวิเคราะหจํานวนผูรับบริการ OPD (xxxxxวาง),
OPD (xxxxx ร.พ.) และ OPD (ทุกxxxxx) เพื่อเตรียมการรองรับผูมารับบริการและรายงานผูบริหาร
1. xxxxxชองทางการใหบริการตรวจสอบxxxxxxxxxxขึ้นอีก 1 ชองทาง
2. มีการใหบริการแบบ One stop service ในเรื่องการทําบัตร อนุมัติxxxxx และสงตรวจ
3. xxxxxเจาหนาที่เวชระเบียน เจาหนาที่จัดคิว จัดแถว เพื่อความรวดเร็วขึ้น
4. xxxxxหองตรวจสํารอง หากวันไหนที่มีผูรับบริการจํานวนมากจะเปดหองตรวจสํารอง โดยการ นําแพทยจากหองตรวจประกันสังคมมาชวย เปนตน
สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กรุงเทพมหานคร ไดกําหนดนโยบายเชิงปองกันเพื่อลด การเกิดความเสี่ยงที่หนวยบริการจะถูกยกเลิกสัญญา
๑. ระบบการพิสูจนตัวตนของประชาชนเพื่อยืนยันการรับบริการ เชน การพิสูจนตัวตน ดวยบัตร ประชาชน Smart Card ผานเครื่องอานบัตรประชาชน (DIP chip) การยืนยันตัวตนโดยใช Application ทุกครั้งกอน รับบริการ เพื่อปองกันการขอเบิกชดเชยบริการโดยไมมีผูมารับบริการจริง
๒. ขึ้นทะเบียนคลินิกเอกชนเปนหนวยบริการxxxxxxx ภายใตแมขายหนวยบริการประจํา เชน ศูนยบริการสาธารณสุขนั้น โดยหนวยบริการxxxxxxxยังไดรับประชากรรับผิดชอบในการดูแลสุขภาพนั้น หาก สปสช. มี การยกเลิกสัญญาหนวยบริการเอกชนไมวาจากกรณีใด ๆ จะไมมีผลกระทบตอประชาชน เพราะประชาชนยังมี หนวยบริการประจําxxx
๓. สปสช. มีระบบตรวจสอบกอนการจายชดเชยบริการ เพื่อปองกันการเบิกจายชดเชยบริการxxx xxเปนไปตามเงื่อนไข ทั้งในรูปแบบการตรวจสอบ ทั้งระบบ AI และระบบการตรวจสอบโดยเจาหนาที่หรือผูตรวจสอบ
๔. มีมาตรการในการดําเนินการตอหนวยบริการที่มีการทุจริตในการขอเบิกจายชดเชยบริการจาก สํานักงานบริการ ทั้งทางดานขอบังคับxxxxxxxxบริการสาธารณสุข ดานคดีแพงและอาญา ตามกรณีท่ีตรวจพบความ ไมถูกตองหรือความผิด
๕. สปสช.มีการประกาศหลักเกณฑแนวทางการดําเนินการและการเบิกชดเชดเชยบริการ เพ่ือใชใน การอางอิงการปฏิบัติทั้งในสวนของ สปสช. และหนวยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
๖. คณะอนุกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติระดับเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร (อปสข) และ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ เขต ๑๓ กรุงเทพมหานคร มีนโยบายในการพัฒนาระบบบริการxxxxxxxในเขต พื้นที่กรุงเทพมหานคร และมีการจัดทําเปาหมายxxxxศาสตรของระบบบริการxxxxxxxในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนี้
- ปรับปรุงเกณฑการขึ้นทะเบียนหนวยบริการ ใหมีความเหมาะสมและครอบคลุมหนวย บริการทุกประเภท ตามลักษณะการใหบริการของหนวยบริการ
- มีหนวยบริการxxxxxxxใหเพียงพอรองรับการดูแลสุขภาพของประชาชนกรุงเทพมหานคร โดยการxxxxxหนวยบริการxxxxxxx ใหได ๘๐๐ แหง อางอิงเกณฑประชาชน ๘,๐๐๐ – ๑๐,๐๐๐ คนตอหนวยxxxxxxx
- ลงทะเบียนประชากรในหนวยบริการประจําใกลบานใกลใจ และxxxxxxความxxxxx บริการxxxxxxxในโรงพยาบาล
- xxxxxการเขาถึงบริการของประชาชน โดยวัดจาก Compliance rate (ผูมีxxxxxออกมาใชxxxxx)
- หนวยบริการxxxxxxx ผานเกณฑการประเมินประจําปและการประเมินเชิงคุณภาพการบริการ
อยางนอยรอยละ ๘๐
ค. ความคืบหนาการดําเนินคดี
• การดําเนินคดีกรณีการรองทุกขกลาวโทษคลินิกชุมชนอบอุน/โรงพยาบาล พื้นที่กรุงเทพมหานคร
สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) และกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.) เปนผูดําเนินการแจงความรองทุกขตอสํานักงานตํารวจแหงชาติ โดยมีผูถูกกลาวหา ไดแก ผูประกอบการโรงพยาบาล และคลินิกเอกชนที่เขารวมเปนหนวยบริการ รวม 277 ราย แยกเปน คลินิกเวชกรรม 189 ราย, คลินิกทันตกรรม 86 ราย ผูใหบริการดานเทคนิคการแพทย 2 ราย ความเสียหายโดยรวมเปนเงินจํานวนประมาณ 300 ลานบาท และ xxxระหวางการตรวจสอบขอเท็จจริงเพิ่มเติม
ง. การแกไขปญหา กรณียกเลิกสัญญาหนวยบริการ
• รูปแบบหนวยบริการxxxxxxxกรุงเทพมหานครในป 2564 คณะทํางานพัฒนาระบบบริการxxxxxxx เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร และคณะทํางานพัฒนา
ระบบบริการทุติยภูมิและxxxxภูมิ ประชุมพิจารณาขอเสนอการเปลี่ยนหนวยบริการxxxxxxxของศูนยบริการ สาธารณสุข สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร จากรูปแบบเดิม (Model 1, 2 และ 4 กรณีศูนยบริการสาธารณสุขคูกับ โรงพยาบาล) ไปสูเครือขายหนวยบริการxxxxxxxรูปแบบใหม (Model 5 เครือขายบริการรูปแบบใหม) ตามนโยบาย ของ อปสช.กทม.
<.. image(รูปภาพประกอบด้วย ข้อความ คำอธิบายที่สร้างโดยอัตโนมัติ) removed ..>
หนวยบริการxxxxxxxของศูนยบริการสาธารณสุข ในรูปแบบเดิม ดังนี้
Model | การเขารับบริการ | ผูรับผิดชอบ งบประมาณ | ||
หนวยบริการxxxxxxx | หนวยบริการประจํา | หนวยบริการรับสงตอ | ||
1 | โรงพยาบาล | โรงพยาบาล | โรงพยาบาล | โรงพยาบาล |
ศูนยบริการสาธารณสุข | โรงพยาบาล | โรงพยาบาล | ||
2 | คลินิก | คลินิก | โรงพยาบาล | คลินิก/ศูนยบริการ สาธารณสุข |
ศูนยบริการสาธารณสุข | คลินิก | โรงพยาบาล | ||
ศูนยบริการสาธารณสุข | ศูนยบริการสาธารณสุข | โรงพยาบาล | ||
4 | ศูนยบริการสาธารณสุข | โรงพยาบาล | โรงพยาบาล | โรงพยาบาล |
ปจจุบันxxxxxxxxxxxxxใน Model 1, 2 และ 4 กรณีศูนยบริการสาธารณสุข สงตอไปยังโรงพยาบาลภาครัฐ จํานวน 897,224 คน ทั้งนี้ เพื่อxxxxxความสะดวกกับประชาชนใหxxxxxxเขารับบริการในเครือขายหนวยบริการxxxxxxx ในรูปแบบใหม ไปเปนเครือขายหนวยบริการxxxxxxxในรูปแบบใหม (Model 5) ภายใตหลักเกณฑ ดังนี้
1. หนวยบริการxxxxxxx (ศูนยบริการสาธารณสุข) ยังxxเปนหนวยบริการxxxxxxx ศูนยบริการ
สาธารณสุข เดิม
2. กรณีโรงพยาบาลรับสงตอเดิม เปนโรงพยาบาลที่xxxในเขต หรือกลมุ เขตใหโรงพยาบาล
รับสงตอเปนโรงพยาบาลเดิม
3. กรณีโรงพยาบาลรับสงตอเดิม เปนโรงพยาบาลที่นอกเขตหรือกลุมเขต แตxxxในพื้นที่ รอยตอของเขตหรือกลุมเขต อนุโลมใหโรงพยาบาลรบสงตอเปนโรงพยาบาลเดิม
4. กรณีโรงพยาบาลรับสงตอเดิมเปนโรงพยาบาลที่นอกเขตหรือกลุมเขต ใหเปลี่ยนโรงพยาบาลรบสงตอ ใหxxxในเขตหรือกลุมเขต ยกเวน คนไขxxxxxxxตองรักษาตอเนื่องโดยดุลยพินิจของแพทยผูรักษา ก็ยังxxอนุโลมให โรงพยาบาลรับสงตอเปนโรงพยาบาลเดิม
• สถานการณการขึ้นทะเบียนหนวยบริการสาธารณสุข และปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน ของหนวยบริการ
สถานการณคลินิกที่มีปญหาเบิกจายแลวขาดทุน ไดมีการแกไข อยางไรบาง ซึ่งไดทราบวา อปสข. ไดมีการ ประชุมเมื่อเดือนxxxxxx 2564 โดยไดอนุมัติเงินจํานวน 326 ลานบาท ใหกับหนวยxxxxxxxเพื่อมาชดเชยการ ใหบริการ ขณะนี้สภาพปญหาคือคลินิกไมxxxxxxดําเนินการได เนื่องจากขาดทุน ซึ่งตองมีการชี้แจงวาในปนี้จะชดเชย ใหอยางไร และในปหนาจะมีวิธีการจายเงินแบบใด เพื่อจูงใจใหคลินิกเปดใหบริการตอไป
การข้ึนทะเบียนหนวยบริการสาธารณสุข ป 2564 เปนรูปแบบของการบริหารxxxxxรับคําแนะนํา จากอาจารยxxxวุสฐ สุขไดพึ่ง เนื่องจากการยกเลิกคลินิกชุดเกาไปประมาณ 200 กวาแหง กลไกคือใหคลินิกเปนหนวย
บริการประจําดวย หากxxxxxxยกระดับใหเปนเครือขายระบบบริการxxxxxxx โดยใหมีกลไกของรัฐคอยกํากับดูแล ซึ่งจะชวยลดปญหาได สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติจึงไดออกแบบรวมกับสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร โดยขอใหศูนยบริการสาธารณสุข 69 แหง เปนหนวยบริการประจํา และขอใหคลินิกชุมชนอบอุxxxxสมัครเขามาใหม เปนลูกขายซึ่งก็คือเปนหนวยxxxxxxx ดังนั้น ลักษณะจึงเปลี่ยนไปจากของxxxxxxxอนุญาตใหคลินิกชุมชนอบอุนเปน หนวยบริการประจําได
รูปแบบใหม เรียกวา Model 5
- หนวยบริการประจํา คือหนวยบริการภาครัฐ ไดแก ศูนยบริการสาธารณสุข จํานวน 69 แหง
- คลินิกชุมชนอบอุxxxxสมัครเขามาจะมาเปนลูกขาย โดยศูนยบริการสาธารณสุขจะเปน Area Manager
- เงินงบประมาณทั้งหมดท่ีเปน OP และ PP จัดสรรไปที่หนวยบริการประจํา ไมxxxxxxxxxจะสงตรง ไปใหหนวยบริการxxxxxxxเดิมได
- การที่ตองผานหนวยบริการประจํา เนื่องดวยใน พรบ.หลักประกันสุขภาพ และประกาศไดกําหนด ไววาไมxxxxxxสงตรงไปใหหนวยบริการxxxxxxxxx ตองผานหนวยบริการประจํากอน ซึ่งไดทําความตกลงกับ สํานักอนามัย ใหเปน Clearing House หลังบานได หากมีการจัดสรรงบประมาณหรือมีขอตกลงผานกลไกของ อปสข. ถาเปนเงินที่ตองผานหนวยบริการประจํา จะตองใหหนวยบริการประจําทบทวนตัวเลขกอน ซึ่งเปxxxxมาของเงิน กอนสุดทายประมาณ 300 ลานบาท
- ท่ีผานมามีการเบิกจายโดยอนุโลม Fee Schedule เงิน OP และ PP จะมีการจายตรงไปใหคลินิก
ชุมชนอบอุนดวย
- การจัดสรรเฉพาะ OP ภายหลังมีขอตกลงวาถามเี งินเหลือปลายป เน่ืองมาจากการบริการหรือ
เหตุผลอื่น ๆ จะสงคืนใหกับท้งหนวยบริการประจําและหนวยบริการxxxxxxx และเนื่องจากสถานการณโควิด ทําให การใหบริการนอยลง จึงเหลือเงินประมาณ 300 ลานบาท
- เงินจํานวนประมาณ 300 ลานบาท จะสงตรงไปใหคลินิกชุมชนอบอุนเลยไดหรือไม มีกติกาซึ่ง ผาน อปสข.แลว วาจะจายจากประชากร (Capitation) รอยละ 80 บวกกับกรณี Walk in เขาไปในสถานบริการ ที่ ลงทะเบียนไว รอยละ 20 โดยปญหาคือเนื่องจากตองไปผานการทานสอบจากศูนยบริการสาธารณสุขกอน ในฐานะ หนวยบริการประจํา ปจจุบันยังไมไดมีการออกหนังสือไปยังสํานักอนามัยxxxxxxxxx
- Model 5 จะโฟกัสเฉพาะ OP (ไมรวม PP งบสรางเสริมสุขภาพปองกันโรค)
- PP จะเปนอีกกอนหน่ึง โดยออกแบบมาเปน Item Mice มาหลายปแลว และยังxxใชรูปแบบ Item Mice เหมือนเดิม หมายความวาหนวยบริการเบิกเขามาใน KTB ซงึ่ จะxxxxxxและจายใหไป ซึ่ง PP จะเบิกจาย ในอัตราเดียวกันทั้งหมด ไมวาจะเปนโรงพยาบาล ศูนยบริการสาธารณสุข และคลินิกชุมชนอบอุน
- ขอตางของ PP ซ่ึงออกแบบมาเปน Item Mice ควรมีแนวทางปฏิบัติของสํานักงานหลักประกัน สุขภาพแหงชาติสxxxxxx
- ป 2565 งาน OP จะxxxที่สxxxxxx และ Down size ให สปสช.กทม. ทําเฉพาะ PP Primary Care และกองทุนทองถิ่น โดยใหความเห็นวาการทํางานของระบบการใหบริการนั้น แยกกันไมออก โดยเฉพาะอยาง xxxxxxxเปนเรื่อง Basic Benefit Package จะเปน Comprehensive ผสมผสานทั้ง PP และ OP งานฟนฟู Long Term Care การดูแลแบบเบ็ดเสร็จ แตพอฉีกออกเปน 2 สวน คือ สxxxxxx และสวนที่ สปสช.กทม.ดูแลเอง ซึ่งคอนขางบริหารลําบาก จะกลายเปนบริหารเปนราย Item
- จากการ Capitation Payment Mechanism ไมจูงใจการบริการอยางที่ควรจะเปน โดย Capitation น้ัน เปาหมายของ Value Base Healthcare ยังไมเห็นxxxxxx xxxควรสรางแรงจูงใจใหxxxxxxxบริการ แบบ Free schedule ซึ่งสรางแรงจูงใจใหมีโอกาสเกิด Over Treatment ได โดยการบูรณาการรวมกัน
- การจายเงินแบบ Payment Mechanism นั้น ยังไมมีแนวทางxxxxxxxxxควรมีการศึกษาการใหบริการ และการรับบริการควบคูกัน เพื่อใหเกิดแรงจูงใจในการทํางาน
- ในxxxxx กรุงเทพมหานครอาจรับเงินไปแลวเปนตัวแทนเสมือนเปน Provider ไปดูแลกันเองภายใน ระหวางหนวยบริการภาครัฐและเอกชน
จ. บทบาทของหนวยงานทเี่ กี่ยวของ ในการจดระบบบรการปฐมxx xมิ กรงเทพมหานครุ
เพื่อใหการจัดบริการxxxxxxx ในพื้นที่กรุงเทพมหานครเกิดประสิทธิภาพ และxxxxxการเขาถึงบริการของประชาชน ตลอดจนการพัฒนาและตรวจสอบหนวยบริการxxxxxxxในพื้นที่ ที่เห็นxxxxxในการกําหนดบทบาทหนาที่ ดังนี้
สํานก
อนามัย กรุงเทพมหานคร
- รับผิดชอบในบทบาท Area manager ในเครือขายของศูนยบริการสาธารณสุข ที่รับผิดชอบ
- จัดใหมีการขึ้นทะเบียนหนวยบริการxxxxxxxในขั้นตอนการตรวจประเมินหนวยบริการปฐมภูม
- การจ สรรประชากรใหกับหนวยบริการปฐ มภูมิรวมกับ สปสช.กรุงเทพมหานคร และหนวยงานท ่ีเกี่ยวของ
สํานก
- xxxxxสัมพันธใหประชาชนรับทราบการใชxxxxx x หนวยบริการxxxxxxxของตนเอง
- ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของหนวยบริการxxxxxxx
การแพทย กรุงเทพมหานคร
- กําหนดโรงพยาบาลรับสงตอในเครือขายหนวยบริการxxxxxxx
- พัฒนารูปแบบการจัดบริการของหนวยบริการxxxxxxxxxxขึ้นทะเบียนเปนหนวยบริการxxxxxxx
สํานก
สนบ
สนนระบบสุขภาพปฐมถูมิ
- จัดใหมีการขึ้นทะเบียนหนวยบริการxxxxxxx
- สนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนาบุคลากรและหนวยบริการปฐมภูม
สํานก
งานหลก
ประกน
สุขภาพแหงชาต
- การข้ึนทะเบียนxxx xxบ.หลักประกันสุขภาพ พ.ศ.2545 ทั้งหนวยบริการxxxxxxx และหนวยงานรับสงตอ เฉพาะดานระดับxxxxxxx
- การจัดสรรประชากรใหกับหนวยบริการxxxxxxx
- xxxxxสัมพันธใหประชาชนรับทราบการใชxxxxxหลักประกันสุขภาพ
- ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของหนวยบริการxxxxxxxและเครือขายหนวยบริการxxxxxxx
- สนับสนุนงบประมาณเพื่อพัฒนาบุคลากรและหนวยบริการxxxxxxx
- จัดทําขอมูลของผูรับบริการ ควรมีระบบที่xxxxxxตรวจสอบได ในทุกxxxxxxxxรักษาพยาบาล
ฉ. ข
เสนอแนะ
ขอเสนอแนะจากรายงานผลการศึกษาเพื่อแกไขปญหาในการดูแลประชาชนจากกรณีการยกเลิกสัญญา
หนวยบริการสาธารณสุขฯ พบวา
1. ควรมีการพัฒนารูปแบบหนวยบริการxxxxxxx xxxขึ้นทะเบียนหนวยบริการและเครือขายหนวย บริการxxxxxxxxxx xxบ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 และ พรบ.ระบบสุขภาพxxxxxxx พ.ศ.2562 โดย มีศูนยบริการสาธารณสุขเปนแมขายในรูปแบบ Model 5
2. จัดรูปแบบมีโรงพยาบาลรับสงตอในเครือขายตามกลุมโซน ซึ่งสํานักการแพทยกรุงเทพมหานคร ไดจัดทําไว ซึ่งจะทําใหหนวยบริการxxxxxxxเกิดความม่ันใจและชัดเจน ในการที่จะสงตอผูปวยในกรณีที่เกินขีด ความxxxxxxไปทําการรักษาไปยังโรงพยาบาลรับสงตอ
3. ปรับปรุงหลักเกณฑการจัดสรรประชากรใหกับหนวยบริการxxxxxxx โดยที่xxxxxจํานวนประชากร การจัดสรรใหมากขึ้นในทุกxxxxxxxxรักษา แตไมควรเกินขีดความxxxxxxของหนวยบริการxxxxxxxxxxจะรองรับได เชน ไมเกิน 12,000 คนตอหนวยบริการ นอกจากนี้ควรมีระบบจัดxxxxxxxxxxสะดวกในการใชบริการในหนวยบริการxxxxxxx xxxใกลที่xxxอาศัยหรือที่ทํางาน รวมถึงยังxxxxxxเปลี่ยนหนวยบริการxxxxxxxใหสะดวกยิ่งขึ้น
4. ควรมีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อการพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติงานในหนวยบริการxxxxxxx (คลินิก ชุมชนอบอุน) และปรับปรุงแนวทางการสนับสนุนงบประมาณใหหนวยบริการxxxxxxxxxxxxxxxเขารวมใหบริการ ใหเหมาะสมและสอดคลองกับภารกิจการบริการxxxxxxx และสะทอนตนทุนการจัดบริการเพื่อใหหนวยบริการxxxxxxx สังกัดภาคเอกชน xxxxxxเปดรวมใหบริการได เชน งบเพิ่มเติมสําหรับการดําเนินงานของหนวยบริการxxxxxxxxxxมี แพทยเวชศาสตรปฏิบัติงาน งบสงเสริมปองกันสุขภาพ เหมาจายตามรายหัวที่ขึ้นทะเบียน หรือสนับสนุนงบตนทุน บุคลากร (fixed cost)
๕. การจัดทําขอมูลของผูรับบริการ ควรมีระบบยืนยันตัวบุคคล ที่xxxxxxตรวจสอบไดในทุกxxxxx xxxรักษาพยาบาล เพ่ือปองกันการสวมxxxxx หรือการใชบริการท่ีเกินจริง โดย สปสช. และกรุงเทพมหานคร ดําเนินการ xxxxxสัมพันธใหประชาชนรับทราบการใชxxxxx x หนวยบริการxxxxxxxของตนเอง
๖. การเบิกจายคาบริการใหกับหนวยบริการxxxxxxx ควรมีระบบการตรวจสอบและการยืนยันขอมูล เพื่อความถูกตอง ในแตละรอบบัญชี และหากตรวจพบความผิดxxxxของการเบิกจาย ควรมีระบบแจงเตือนหรือxxxxxx ความถูกตองของขอมูลการเบิกจายกอน และ สปสช. ควรเบิกจายเงินใหหนวยบริการปฐมxxxxxxxเอกชนทันเวลาเพื่อลด ภาวะการขาดกระแสเงินสด
บทสรุปทายการศึกษา
จากผลการศึกษาและประสบการณxxxxxรับจากขอมูลหนวยงานที่เกี่ยวของ ระหวางxxxxxx 5 พฤศจิกายน ถึง 5 ธันวาคม 2563 ทําใหทราบถึงผลกระทบตอประชาชนที่เกิดจากการยกเลิกสัญญาหนวยบริการสาธารณสุข ที่ขึ้น ทะเบียนตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 ทําใหประชาชนไมxxxxxxใชxxxxx ในการเขาถึงบริการสาธารณสุขในหนวยบริการxxxxxxxxxxข้ึนทะเบียนไว ซ่ึงประชาชนตองแบกรับภาระและคาใชจาย ในการใชบริการสาธารณสุขที่เกิดขึ้นในระหวางที่หนวยงานที่เกี่ยวของยังไมxxxxxxจัดหาหนวยบริการxxxxxxxใหกับ ประชาชนได นอกจากนี้ยังสงผลกระทบถึงสถานบริการในระดับอื่นท่ีเปนหนวยรับสงตอ เชน โรงพยาบาลในสังกัดสํานัก การแพทย กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลขนาดใหญอื่นๆ ทําใหเกิดภาวะผูใชบริการxxxxxในโรงพยาบาลขนาดใหญ ถึงแมวาจะเปนชวงเวลาไมถึง 1 ปงบประมาณ แตชี้ใหเห็นถึงความจําเปxxxxหนวยงานที่เก่ียวของจะตองจัดใหมี หนวยบริการxxxxxxx หรือคลินิกชุมชนอบอุน หรือหนวยบริการรับสงตอเฉพาะดานระดับxxxxxxxxxxเพียงพอและ ครอบคลุมประชากรในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดังนั้น เพื่อไมใหเกิดเหตุการณในลักษณะนี้ ในโอกาสขางหนา จึง เห็นxxxxxใหหนวยงานที่เกี่ยวของรับขอเสนอแนะไปดําเนินการ และกรณีที่จําเปนตองดําเนินการตามขอกฎหมายใน กรณียกเลิกสัญญาหนวยบริการสาธารณสุข ควรมีระยะเปล่ียนผานเพื่อใหประชาชนและหนวยบริการไดปรับตัว และ แกไขปญหารองรับเหตุการณที่เกิดขึ้น
2. การเรงรัดการใชจายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
2.1 ความเปนมา หลกการ โครงสราง ระเบียบการเบิกจายเงนิ จํานวนเงนงบประมาณิ ของกองทุน
หลก
ประกนสุขภาพกรุงเทพมหานคร
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 47 เพื่อสรางหลักประกันสุขภาพ
แหงชาติใหกับบุคคลในพื้นที่ โดยสงเสริมกระบวนการมีสวนรวมตามความพรอม ความเหมาะสม และความตxxxxxของ ประชาชนในทองถิ่น ใหคณะกรรมการสนับสนุนและxxxxxxองคกรxxxxxxสวนทองถิ่น กําหนดหลักเกณฑเพื่อให องคกรดังกลาวเปนผูดําเนินงาน และบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ โดยใหไดรับ คาใชจายจากกองทุน และมาตรา 18 (4) คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ มีอํานาจหนาที่กําหนดหลักเกณฑ
การดําเนินงานและการบริหารจัดการบริหารกองทุน มาตรา 18 (8) สนับสนุนและxxxxxxกับองคกรxxxxxxสวน ทองถิ่นในการดําเนินงาน และบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ไดตามความพรอม
ความเหมาะสมและความตxxxxx เพื่อสรางหลักประกันสุขภาพแหงชาติใหแกบุคคลในพื้นที่ ตามมาตรา 47 และมาตรา
18 (9) สนับสนุนและกําหนดหลักเกณฑใหชุมชน องคกรเอกชนและภาคเอกชนxxxxxมีวัตถุประสงคเพื่อดําเนินการ แสวงหาผลกําไร ดําเนินงานและบริหารจัดการเงินกองทุนในระดับทองถ่ินหรือพื้นxxxxxตามความพรอม ความเหมาะสม
และตxxxxx โดยสงเสริมกระบวนการมีสวนรวมเพื่อสรางหลักประกันสุขภาพแหงชาติใหแกบุคคลในพื้นที่ตามมาตรา 47
ตอมาในป พ.ศ. 2559 สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติไดมีหนังสือถึงผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อxxxxxxxกรุงเทพมหานครเขารวมดําเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่น ซึ่งผูบริหารกรุงเทพมหานครมอบให สํานักอนามัยดําเนินการ โดยไดxxxxxxกับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ เพื่อใหแกไขประกาศคณะกรรมการ หลักประกันสุขภาพแหงชาติ เรื่อง การกําหนดหลักเกณฑเพื่อสนับสนุนใหองคกรxxxxxxสวนทองถิ่น ดําเนินงานและ บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. ๒๕๕๗ ลงxxxxxx ๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ หรือ ออกประกาศฉบับใหมใหกับกรุงเทพมหานคร ซึ่งสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติไดออกประกาศคณะกรรมการ หลักประกันสุขภาพแหงชาติ เรื่อง การกําหนดหลักเกณฑเพื่อสนับสนุนใหกรุงเทพมหานครดําเนินงานและบริหารจัดการ
ระบบหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2561 ประกาศ ณ xxxxxx 8 กุมภาพ ธ พ.ศ. 2561
ประกาศฯ ฉบับดังกลาวมอบหมายใหกรุงเทพมหานครดําเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกัน สุขภาพกรุงเทพมหานครดวยตนเอง ทําใหกรุงเทพมหานครตองดําเนินการคัดเลือกคณะกรรมการ อนุกรรมการตางๆ ใหครบองคประกอบตามที่ประกาศฯ กําหนดไว ตลอดจนออกประกาศ xxxxxxxxxxเกี่ยวของในการดําเนินงานใหมทั้งหมด และใชไดเฉพาะกรุงเทพมหานครเทานั้น ซึ่งในกรุงเทพมหานครแบงการบริหารจัดการเปน 2 ระดับ คือมีคณะกรรมการ กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร และมีคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขตทั้ง 50 แหง จึงตองใชระยะเวลาดําเนินงานที่ยาวนานที่จะเริ่มการขับเคลื่อนของกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เมื่อจะ เริ่มขับเคลื่อนการดําเนินงานก็ตองประสบปญหาการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ทําให การดําเนินงานของกองทุนฯ ชาและหยุดชะงัก เมื่อมีการแตงตั้งคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต เม่ืxxxxxxx 24 เมษายน 2563 แตไมxxxxxxจัดการประชุมได เพราะมีการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) และรัฐบาลมีมาตรการงดการรวมตัวทํากิจกรรมของประชาชนในชวงน้น คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต ไมxxxxxxจัดการประชุมไดต ั้งแตเดือนเมษายน – สิงหาคม 2563 ตอมาในเดือนกันยายน 2563 ซึ่งมีมาตรการผอนคลาย คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร จึงจัดสรรงบประมาณจํานวน 45 บาท/หัวxxxxxxx xxxรับผิดชอบแตละเขต กําหนดใหคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต เร่ิมตนการประชุมและสxxxxxxไดสง เจาหนาที่ไปเปนวิทยากร ใหความรูตามสํานักงานเขตตางๆ ตอมาในเดือนธันวาคม 2563 โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) มีการแพรระบาดระลอกใหมในประเทศอีกครั้ง ทําใหมีอุปสรรคในการทํางาน ประกอบกับโครงการ ตาง ๆ ที่ อนุมัติไปตองหยุดชะงัก เพราะมีการระบาดระลอกใหมxxxxxxxxxมาก งบประมาณกองทุนฯ ซึ่งถูกใชในการปองกันและ ควบคุมโรคระบาดเปนสวนมาก เชน Home isolation และ Community isolation สนับสนุนวัสดุอุปกรณในการ ปองกันควบคุมโรค ทําใหมีการใชงบประมาณมีนอย และเจาหนาที่ปฏิบัติงานของสํานักงานเขตยังขาดความรู ความเขาใจในการดําเนินงานกองทุนฯ เพราะเปนเรื่องใหมของกรุงเทพมหานคร
ตอสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติหยุดการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนกองทุนฯ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพราะกองทุนฯ มีเงินคงเหลือมากกวา 2 เทาของเงินxxxxxรับรวมกับเงินสมทบจาก กรุงเทพมหานคร พลตรีxxxxxxxx วงษxxxxx เล็งเห็นวาประชาชนจะมีโอกาสใชเงินกองทุนฯ นอยลง จึงยื่นxxxxxใหมี การศึกษาประเด็นการเรงรัดการใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ตอมาสภากรุงเทพมหานครมีมติ เห็นชอบใหต้งคณะกรรมการวิสามัญฯขึ้น เมื่อxxxxxx 7 xxxxxx พ.ศ. 2563 โดยมี นายxxxxx ศิริวนาxxxxxxค เปน ประธานคณะกรรมการวิสามัญศึกษาเพื่อแกไขปญหาในการดูแลประชาชนจากรณีการยกเลิกสัญญาหนวยบริการ สาธารณสุขและการเรงรัดการใชจายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ซึ่งในขณะน้นxxxxxxการณยกเลิก สัญญาหนวยบริการสาธารณสุข (คลินิกชุมชนอบอุน โรงพยาบาลเอกชน) ดวย เมื่อคณะกรรรมการวิสามัญฯ เขามา
ศึกษาพบวา ทางสํานักงานเขตขาดความรู ความเขาใจ ประสบการณในการทํางานดานนี้มากอน คณะกรรมการจึง แตงตั้งคณะอนุกรรมการเพ่ือติดตามการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต เพื่อลงไปชวย นิเทศ ติดตาม กระตุนการทํางานของอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต และxxxxหนวยงานของกรุงเทพมหานคร ที่เกี่ยวของ ไดแก สํานักพัฒนาสังคม สํานักวัฒนธรรม กีฬาและการทองเที่ยว สํานักการศึกษา สํานักพัฒนาสังคม สํานัก การจราจรและขนสง สํานักxxxxศาสตรและประเมินผล สํานักอนามัย สํานักการแพทย สําxxxxxxกิจ สํานักการระบายน้ํา สํานักปองกันและxxxxxxสาธารณภัย สํานักสิ่งแวดลอม และสํานักงานตลาดกรุงเทพมหานคร เขารวมประชุมและให เสนอโครงการที่จะขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เพื่อเปนพี่เลี้ยงใหกับ
ประชาชนในเขตตาง ๆ ในการเขียนโครงการเพื่อมารับการสน สนุนจากกองทุนหลักประกนสุขภาพกรุงเทพมหานคร
การดําเนินงานขางตน ทําใหมีการขับเคลื่อนการใชเงินของกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร มากขึ้นตามลําดับ แตอยางไรก็ตามยังไมxxxxxxใชเงินไปดําเนินโครงการไดอยางคลองตัว เพราะยังมีการแพรระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) xxx
2.2 ความคืบหนาการใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
ความคืบหนาการใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร (ตารางท่ี 1) จะเห็นไดวา งบประมาณสวนใหญเปนการใชไปเพื่อดําเนินการในประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาด/ภัยพิบัติในพื้นที่
ในไตรมาสท่ี 3 เปนเงินจํานวน 63,772,614.00 บาท และไตรมาสที่ 4 เปนเงินจํานวน 72,118,240.00 บาท สวนการสนับสนุนในประเภท 1 สนับสนุนหนวยบริการ/สถานบริการ/หนวยงานสาธารณสุข มีการดําเนินงาน ใน ไตรมาสที่ 1 2 และ 5 เปนเงินจํานวน 23,534,720.00 บาท ประเภท 2 สนับสนุนองคกรหรือกลุมประชาชน/ หนวยงานอื่นของรัฐ เปนเงินจํานวน 1,716,130.00 บาท
ความคืบหนาในการใชจายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ไตรมาส 1/2565) (ตารางท่ี 2) จะเห็นไดวา งบประมาณสวนใหญเปนการใชไปเพื่อดําเนินการในประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาด/ภัยพิบัติในพื้นที่ เปนเงินจํานวน 85,895,810.00 บาท (แปดสิบหาลานแปดแสน เกาหมื่นหาพันแปดรอยสิบบาทถวน) และสนับสนุนบางสวนในประเภทที่ 1 และ 2 เปนเงินจํานวน 5,233,326.00 บาท การเปรียบเทียบความคืบหนาในการใชจายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ - พ.ศ. ๒๕๖๕ (ไตรมาส ๑/๒๕๖๕) (แผนภูมิที่ ๑) จากแผนภูมิจะเห็นไดวาใชเงินสนับสนุน กรณีเกิดโรคระบาด/ภัยพิบัติในพื้นที่มากท่ีสุด คือในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เปนเงิน 135,890,854.00 บาท
(หนึ่งรอยสามหาแปดแสนเกาหมื่นแปดรอยหาสิบส าทถวน) และในไตรมาสที่ 1/2565 เปน เงนิ 85,895,810.00
บาท (แปดสิบหาลานแปดแสนเกาหมื่นหาพันแปดรอยสิบบาทถวน) รองลงมา คือในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ใชxxxxสนับสนุนการบริหาร/พัฒนากองทุนฯ เปนเงิน 74,921,985 บาท (เจ็ดสิบสี่ลานเกาสองหมื่นหนึ่งพันเการอย แปดสิบหาบาทถวน) ใชสนับสนุนหนวยบริการ/สถานบริการ/หนวยงานสาธารณสุข ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เปน เงิน 23,534,720 บาท (สี่สิบสามลานหาแสนสามxxxxxxxxพันเจ็ดรอยยี่สิบบาทถวน) ในไตรมาสที่ 1/2565 เปนเงิน 1,538,340.00 บาท (หนึ่งลานหาแสนสามหมื่นแปดพันสามรอยสี่สิบบาทถวน) และใชสนับสนุนองคกร หรือกลุมประชาชน/หนวยงานอ่ืนของรัฐ โดยในไตรมาสที่ 1/2565 เปนเงิน 3,694,986.00 บาท (สามลาน หกแสนเกาxxxxxxxxพันเการอยแปดสิบหกบาทถวน) และปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เปนเงิน 1,716,130 บาท (หนึ่งลานเจ็ดแสนหนึ่งหมื่นหกพันหนึ่งรอยสามสิบบาทถวน) ตามลําดับ
โครงการที่เสนอขอโดยหนวยงานของ กทม. ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ตารางที่ 3) จะเห็นไดวา ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 สํานักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ไดของบประมาณสนับสนุน เงินกองทุนฯ มากที่สุดเพื่อการบริหารจัดการสํานักงาน และสํานักงานกองทุนสาขา จํานวน 11 โครงการ เปนเงิน
71,647,360.00 บาท (เจ็ดสิบxxxxลานหกแสนxxxxxxxxเจ็ดพันสามรอยหกสิบบาทถวน) สํานักอนามัยขอรับการ สนับสนุนเงินกองทุนฯ จํานวน 6 โครงการ เปนเงิน 39,422,839.00 บาท (สามสิบเกาลานxxxxxxสองหมื่นสองพัน แปดรอยสามสิบแปดบาทถวน) สํานักสิ่งแวดลอม จํานวน 2 โครงการ เปนเงิน 65,135,295.00 บาท (หกสิบหาลาน หน่ึงแสนสามหมื่นหาพันสองรอยเกาสิบหาบาทถวน) และสํานักการศึกษา จํานวน 1 โครงการ เปนเงิน 330,220.00 บาท (สามแสนสามหมื่นสองรอยยี่สิบบาทถวน)
โครงการท่ีเสนอขอโดยหนวยงานของ กทม. ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ตารางที่ 4) จะเห็นไดวา ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 สํานักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครไดของบประมาณสนับสนุน เงินกองทุนฯ มากที่สุดเพื่อการบริหารจัดการสํานักงาน และสํานักงานกองทุนสาขา จํานวน 11 โครงการ เปนเงิน จํานวน 77,758,145.00บาท (เจ็ดสิบเจ็ดลานเจ็ดแสนหาหมื่นแปดพันหนึ่งรอยสี่สิบหาบาทถวน) สํานักอนามัย จํานวน 4 โครงการ เปนเงินจํานวน 19,847,036.00บาท (สิบเกาลานแปดแสนxxxxxxxxเจ็ดพันสามสิบหกบาทถวน) สํานักการศึกษา จํานวน 2 โครงการ เปนเงินจํานวน 87,663,890.00 บาท (แปดสิบเจ็ดลานหกแสนหกหม่ืน สามพันแปดรอยเกาสิบบาทถวน) สํานักพัฒนาสังคม จํานวน 1 โครงการ เปนเงินจํานวน 1,155,000.00 บาท สํานักสิ่งแวดลอมจํานวน 1 โครงการ เปนเงินจํานวน 9,153,080.00 บาท (เกาลานหนึ่งแสนหาหมื่นสามพันแปดสิบ บาทถวน) สํานักการแพทย จํานวน 1 โครงการ เปนเงินจํานวน 5,000,000.00 บาท (หาลานบาทถวน) สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเที่ยว จํานวน 1 โครงการ เปนเงินจํานวน 49,968,000.00 บาท (สี่สิบเกาลาน เกาแสนหกหมื่นแปดพันบาทถวน)
การเปรียบเทียบโครงการที่เสนอขอโดยหนวยงานของ กทม. ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 และ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ไตรมาส 1) (แผนภูมิท่ี 2) จะเห็นไดวา หนวยงานของกรุงเทพมหานครท่ีใชงบประมาณ กองทุนฯ ท้งในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 และปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ไตรมาสที่ 1 ไดแกสํานักการแพทย สํานัก อนามัย สํานักสิ่งแวดลอม สํานักการศึกษา และสํานักงานกองทุนฯ ขอใชงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนฯ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 แตในไตรมาสที่ 1/2565 มีเพียงสํานักพัฒนาสังคม และสํานักวัฒนธรรม กีฬา และการ ทองเที่ยว ที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ
ความคืบหนาในการใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต ปงบประมาณ 2564 (ตารางที่ 5) จะเห็น ไดวา ในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 งบประมาณสวนใหญใชสนับสนุนใชสนับสนุนประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรค ระบาด/ภัยพิบัติในพื้นที่ จํานวน 113 โครงการ เปนเงินจํานวน 44,590,546.00บาท (สี่สิบสี่ลานหาแสนเกาหมื่น หารอยสี่สิบหกบาทถวน) รองลงมาเปนการสนับสนุนประเภท 2 สนับสนุนองคกรหรือกลุมประชาชน/หนวยงานอื่น ของรัฐ จํานวน 740 โครงการ เปนเงินจํานวน 39,933,115.93 บาท (สามสิบเกาลานเกาแสนสามหมื่นสามพัน หนึ่งรอยสิบหาบาทเกาสิบสามสตางค) และถัดมาคือประเภท 1 สนับสนุนหนวยบริการ/สถานบริการ/หนวยงาน สาธารณสุข จํานวน 75 โครงการ เปนเงินจํานวน 3,955,519.60 บาท (สามลานเกาแสนหาหมื่นหาพันหารอยสิบ เกาบาทหกสิบสตางค)
ความคืบหนาในการใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต ปงบประมาณ 2565 (ไตรมาส 1/2565) (ตารางท่ี 6) จะเห็นไดวา ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ในไตรมาสที่ 1/2565 ใชเงินสนับสนุนหนวยบริการ/สถาน บริการ/หนวยงานสาธารณสุข จํานวน 1 โครงการ เปนเงิน 53,210.00 บาท (หาหมื่นสามพันสองรอยสิบบาทถวน) ใชเงินสนับสนุนองคกรหรือกลุมประชาชน/หนวยงานอื่นของรัฐ จํานวน 98 โครงการ เปนเงิน 4,545,062.27 บาท (ส่ีลานหาแสนxxxxxxxxหาพันหกสิบสองบาทยี่สิบเจ็ดสตางค) และใชเงินสนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาด/ภัยพิบัติในพื้นที่ จํานวน 42 โครงการ เปนเงิน 4,941,203.00 บาท (สี่ลานเกาแสนxxxxxxxxหนึ่งพันสองรอยสามถวน)
การเปรียบเทียบความคืบหนาในการใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต ปงบประมาณ 2564 และ ปงบประมาณ 2565 (ไตรมาส 1) (แผนภูมิที่ 3) จะเห็นไดวา ใชสนับสนุนประเภทที่ 1 ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 เปนเงิน
3,955,519.60 บาท (สามลานเกาแสนาหมื่นหาพันหารอยสิบเกาบาทหกสิบสตางค) ปงบประมาณ พ.ศ. 2565
ไตรมาส 1 เปนเงิน 53,210 บาท (หาหมื่นสามพันสองรอยสิบบาทถวน) ใชสนับสนุนประเภทที่ 2 ปงบประมาณ
พ.ศ. 2564 เปนเงิน 39,55,519.60 (สามสิบเกาลานหาแสนหาหมื่นหาพันหารอยสิบเกาบาทถวน) ปงบประมาณ
พ.ศ. 2565 ไตรมาส 1 เปนเงิน 4,545,062.27 บาท (สี่ลานห
แสนxxxxxxxxห
พันหกสิบสองบาทย่ีสิบเจ็ดสตางค)
2.3 xxxxศาสตรคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน (กขป.)
xxxxxางเสริมสุขภาพ สํานักอนามัย ใหขอมูล คณะกรรมการเขตสุขภาพเพ่ือประชาชน เขตพื้นที่ ๑๓
กรุงเทพมหานคร แตงต้ังเปนไปตามxxxxxxxสํานักนายกร xxxxx วาดวยการจัดต้ังเขตสุขภาพเพื่อประชาชน พ.ศ. ๒๕๕๙
ซึ่งกําหนดใหจัดตั้งเขตสุขภาพเพื่อประชาชน จํานวน ๑๓ เขต ครอบคลุมท้ัง ๗๖ จังหวัด และกรุงเทพมหานคร โดยมี ความมุงหมายใหทุกภาคสวน ไดเขามามีสวนรวมในการขับเคลื่อนการดําเนินงาน บูรณาการการทํางาน มีการพัฒนา นโยบายเพื่อสุขภาพและกําหนดทิศทางของระบบสุขภาพใหตรงกับความจําเปนทางสุขภาพของประชาชนในพ้ืxxxx สอดคลองกบความตxxxxxของประชาชนในพื้นที่ทั้งในดานวิถีชีวิต ความเปนxxx พฤติกรรม สภาพสังคม และอื่น ๆ ซึ่ง จะนําไปสูระบบสุขภาพและคุณภาพชีวิตxxxxxข้ึนของประชาชนในทุกมิติ และคณะกรรมการเขตสุขภาพเพ่ือประชาชน (กขป.) นับเปนกลไกใหมที่มีรูปแบบการทํางานในลักษณะเครือขาย การทํางานแบบมีสวนรวมโดยตองแสวงหาแนวทาง การใชทรัพยากรรวมกัน เสริมการทํางานซึ่งกันและกัน มีความเปนเจาของรวมกันและมีสวนรับผิดชอบในการ ดําเนินการรวมกัน มีกลไกคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน (กขป.) เปนกลไกในการขับเคลื่อนการดําเนินงาน
องคประกอบคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขตพน
คณะกรรมการ จํานวน ๔๖ คน ประกอบดวย
ที่ 13 กรุงเทพมหานคร
- ประธาน : ผวาราชการกรุงเทพมหานคร
- รองประธาน : ปลดั กรุงเทพมหานคร
- ภาครัฐ (๑๘ คน)
- ภาควิชาการ, วิชาชีพ (11 คน)
- ภาคประชาชน, สังคม (15 คน) มีองคประกอบดังนี้
- รองผูอํานวยการสํานักอนามัย xxxxxรับมอบหมาย (ผูแทน กทม.)
- สธ., สช., สปสช., สสส., เปนเลขานุการรวม กรรมการมีวาระ 4 ป
xxxxศาสตรในการดําเนินงานของคณะกรรมการเขตสุขภาพเพอ
ประชาชน เขตพx
xxx ๑๓
1. การพัฒนาระบบขอมูลและและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับระบบสุขภาพในเขตพื้นที่
2. การบูรณาการกลไกการดําเนินงานที่เกี่ยวของกับระบบสุขภาพในเขตพื้นที่
3. สรางการมีสวนรวม ความเปนเจาของจากหนวยงานองคกรที่มีภารกิจรับผิดชอบ ประเด็นการดําเนินงานที่ กขป. เขตพื้นที่ ๑๓ คัดเลือก รวมทั้งสรางความxxxxx การมีสวนรวมในการทํางานระหวาง ภาครัฐ ภาควิชาการ และภาคประชาชน
ประเด็นการดําเนินงานสูการขบ
เคลื่อนใหxxxxxxสําเร็จภายใตx
xxxศาสตรในการดําเนินงาน
1. การพัฒนาขอมูลและสารสนเทศระบบสุขภาพ เขตพื้นที่ ๑๓
2. การปองกันและการลดอุบัติภัยทางถนน
3. การสรางเสริมสุขภาพและควบคุมกลุมโรคไมติดตอ
4. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพxxxxxxx
5. การพัฒนาการสื่อสารและประชาสัมพันธเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร
6. การพัฒนาระบบการควบคุมวัณโรค (TB) เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร
สิ่งxxxxxเรียนรจากการทํางานของ คณะกรรมการ กขป. เขตพน
จุดเดนและความคาดxxxxในการทํางานของคณะกรรมการฯ
ที่ 13
ของหนวยงานที่เกี่ยวของ
1. คณะกรรมการฯ มีสวนชวยผลักดันความรวมมือในการทํางานแบบบูรณาการรวมกัน
2. คณะกรรมการฯ xxxxxxใหขอเสนอแนะแกหนวยงานที่รับผิดชอบในการดําเนินงาน
ในประเด็นที่เปนปญหาทางสุขภาพไดอยางครอบคลุม
3. คณะกรรมการฯ ชวยใหการบูรณาการงานของหนวยงานที่เกี่ยวของมีประสิทธิภาพxxx
xxxxขึ้น
4. คณะกรรมการฯ ผลักดันใหเกิดกลไกขับเคลื่อนงานในประเด็นที่เปนปญหาสําคัญ
โดยมีการจัดเวทีระดมความคิดเห็นผูเกี่ยวของเขามามีสวนรวมในการกําหนดแนวทางการขับเคลื่อนและแกไขปญหา รวมกัน ชวยใหการแกไขปญหาในพื้นที่เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
ปญหาอุปสรรค และขอเสนอ
1. คณะกรรมการฯ มีองคประกอบคอนขางใหญ จําเปนตองมีการวางแผนการดําเนินงาน
xxxxx และตองมีการจัดระบบในการทํางานรวมกันใหทุกภาคสวนxxxxxxเขามามีสวนรวม
2. คณะกรรมการฯ มีความจําเปxxxxตองเขาใจบทบาทภารกิจของตนใหชัดเจนตรงกัน และ ตองมีระบบ กลไก หรือเครื่องมือในการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เพื่อสรางความเขาใจในการทํางานรวมกันอยาง ตอเนื่อง
ปจจัยหรือองคประกอบหรือxxxxxxxxxจะสรางความสําเร็จหรือ เปนผลใหเ กิดความลมเหลว ในการบริหารจัดการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน
ปจจัยภายนอก
1. ความยั่งยืนในนโยบายของรัฐบาลที่ใหความสําคัญตอการดําเนินงานของกลไก
เขตสุขภาพเพื่อประชาชน บทบาทหนาที่ซ้ําซอน
2. การบูรณาการเพื่อการใชประโยชนโดยไมมีนโยบายในการจัดตั้งกลไกอื่น ๆ ที่มี
3. การกํากับดูแลและติดตามใหหนวยงานรัฐสxxxxxxที่มีภารกิจที่เกี่ยวของ มีการ
บูรณาการรวมกันกอนที่จะลงพื้นที่ปฏิบัติการในเขตกรุงเทพมหานคร ปจจัยภายใน
1. ความยั่งยืนกับนโยบายที่ใหความสําคัญตอการใชประโยชน เขตสุขภาพเพื่อประชาชน ของผูวาราชการกรุงเทพมหานคร คณะผูบริหารกรุงเทพมหานครในระดับนโยบาย และสภากรุงเทพมหานครในฐานะ ผูแทนประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
2. การมีนโยบายและการกํากับติดตามอยางจริงจังใหมีการเชื่อมโยงภารกิจ กลไกตาง ๆ ที่เกี่ยวของในระดับปฏิบัติการ
ขอเสนอแนะหรือความเห็นอื่น ๆ ที่จะพฒ หรือระยะยาวในxxxxx
xxxxxสุขภาพเพื่อประชาชนในระยะสน
ระยะกลาง
- ระยะสั้น กําหนดทิศทางแนวทางหรือxxxxศาสตรของการบูรณาการของภาคสวนตาง ๆ
- ระยะกลาง/ระยะยาว ดึงการมีสวนรวมของทุกภาคสวน ในพื้นที่/กลุมโซนของ กรุงเทพมหานคร ผานกระบวนการตาง ๆ เชน การดําเนินงานxxxxxxกรุงเทพมหานคร
การดําเนินxxxxxxขบเคลื่อนดานสุขภาพ กรุงเทพมหานคร
คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชนเขตพื้นที่ 13 กรุงเทพมหานคร (กขป.เขตพื้นที่ 13)
- ประธาน : ผวาราชการกรุงเทพมหานคร
- รองประธาน : ปล กรุงเทพมหานคร
ดําเนินงาน
- เลขานุการหลัก : รองผูอํานวยการสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร
- เลขานุการรวม : ผูแทน สธ. สสส. สปสช. สช.
- บทบาทภารกิจ : บูรณาการเปาหมายเชิงนโยบาย และกําหนดxxxxศาสตรการ
- คณะกรรมการฯ จํานวน 46 คน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิติระดับเขตของกรุงเทพมหานคร
- ประธาน : ผอํานวยการเขต
- เลขานุการ : หัวหนาฝายพัฒนาชุมชนฯ (หลัก) + หัวหนา พยาบาล ศบส. (รวม)
- บทบาทภารกิจ : พัฒนาขับเคลื่อนนโยบายและxxxxศาสตรระดับจังหวัดใหxxxx xxสําเร็จ เนนxxxxxxxxxxสอดคลองกับบริบทพื้นที่ มุงเนนบูรณาการทรัพยากรและงบประมาณจากหนวยงานตาง ๆ
- คณะกรรมการฯ จํานวน 23 คน คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
- ประธาน : ผวาราชการกรุงเทพมหานคร
- รองประธาน : ปล กรุงเทพมหานคร
- เลขานุการหลัก : รองผูอํานวยการสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร
- บทบาทภารกิจ : สนับสนุนทรัพยากรและงบประมาณสําคัญในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
- คณะกรรมการฯ จํานวน 31 คน
ระบบสุขภาพxxxxxxx คลินิกหมอครอบครัว Primary Care Cluster
ที่มีทีมหมอครอบครัวดูแลประชาชน ไดรับมอบหมายพื้นที่และประชาชนในการดูแลxxx xxxxxx ดูแลสุขภาพประชาชน โดยใชแนวคิดเวชศาสตรครอบครัว (Family medicine)
<.. image(A picture containing graphical user interface Description automatically generated) removed ..>
ระดับจังหวัด
บูรณการความรวมมือเพื่อแกไขปญหาทเี่ ปนประเด็นสําคญ
ระดบ
พนท
คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขตพื้นที่ 13 กรุงเทพมหานคร
- ประธาน : ผวาราชการกรุงเทพมหานคร
- รองประธาน : ปล กรุงเทพมหานคร
การดําเนินงานในพื้นท
- เลขานุการหลัก : รองผูอํานวยการสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร
- เลขานุการรวม : ผูแทน สธ. สสส. สปสช. สช.
- บทบาทภารกิจ : บูรณาการเปาหมายเชิงนโยบาย และกําหนดxxxxศาสตร
คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
- ประธาน : ผวาราชการกรุงเทพมหานคร
- รองประธาน : ปล กรุงเทพมหานคร
- เลขานุการ : รองผูอํานวยการสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร
- บทบาทภารกิจ : ดําเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ กรุงเทพมหานครใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
ระดับเขต
กระบวนการมีสวนรวมผานตน
ทุนและทรพ
ยากรตาง ๆ ในพนท
คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิติระดับเขตของกรุงเทพมหานคร
- ประธาน : ผอํานวยการเขต
- เลขานุการหลัก : หัวหนาฝายพัฒนาชุมชนและสวัดิการสังคม
- เลขานุการรวม : หัวหนาพยาบาล กลุมงานพยาบาลและการบริหารทั่วไป ศบส.
- บทบาทภารกิจ : พัฒนาขับเคลื่อนนโยบายและxxxxศาสตรระดับจังหวัดใหxxxx xxสําเร็จ เนนxxxxxxxxxxสอดคลองกับบริบทพื้นที่ และเนนพื้นที่บูรณาการทรัพยากรและงบประมาณจากหนวยงาน องคการตาง ๆ บนประโยชนสวนรวม
คณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต
- ประธาน : ผอํานวยการเขต
- เลขานุการ : หัวหนาฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม
- บทบาทภารกิจ : สนับสนุนใหการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ กรุงเทพมหานครใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
<.. image(Graphical user interface, text Description automatically generated) removed ..>
2.4 หัวขอการศึกษา
2.4.1 ปญหาในการดําเนินการกองทุนหลักประกนสุขภาพกรุงเทพมหานคร จากการศึกษาของคณะกรรมการวิสามญฯ พบปญหา ดังนี้
1. ความไมพรอมของกลไกการดําเนินการกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
2. ผูมีสวนไดสวนเสีย (ประชาชน ภาคเอกชน และอื่น ๆ) ไมมีความรูและความเขาใจ xxxxxxxxxx ถึงแมจะมีการอบรม แตก็ไมxxxxxxเขียนโครงการได
3. คณะอนุกรรมการกองทุนประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครระดับเขต มีแนวทางการ พิจารณาอนุมัติโครงการที่คอนขางหลากหลายในแตละเขต ประกอบกับในชวงแรกหนังสือคูมือการปฏิบัติงานกองทุนฯ xxxระหวางจัดทํา จึงทําใหคณะอนุกรรมการฯ และผูปฏิบัติงาน ไมมีแนวทางในการปฏิบัติงาน สงผลใหการอนุมัติ โครงการมีความลาชา
4. หนวยงานภายนอกของกรุงเทพมหานครไมทราบวาxxxxxxขอใชเงินจากกองทุน หลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เพื่อจัดทําโครงการได
การดําเนินการผล ดันใหมกี ารแกไ ขปญหาของคณะกรรมการวสิ ามญั ฯ
1. คณะกรรมการวิสามัญฯ ไดxxxxหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งระดับสํานัก สํานักเขต และหนวยงานภายนอก เขารวมประชุมเพื่อผลักดันใหxxxxxxxดําเนินงานและกระตุนกลไกการดําเนินการของกองทุน หลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ทั้งในระดับกรุงเทพมหานครและระดับเขต รวมทั้งสิ้นจํานวน 66 ครั้ง
2. คณะกรรมการวิสามัญฯ ไดผลักดันใหมีการจัดการอบรมใหความรูโดยเนนการฝก การเขียนโครงการ ใหมีตัวอยางโครงการ และแบบฟอรมโครงการสําเร็จรูป (template) เพื่อนําไปใชในการขอเสนอ โครงการฯ ตอไป ซึ่งไดมีการจัดทําและเผยแพรในเว็บไซตกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร (xxxxx://xxxxxxxxx.xxxxxxx.xx.xx/xxxxxxxxxxx/)
3. คณะกรรมการวิสามัญฯ ไดผลักดันใหมีการจัดทําคูมือการปฏิบัติงานกองทุนฯ และเรงรัด
ใหมีการเผยแพรใหผมีสวนเกี่ยวของเพื่อนําไปใชประกอบการปฏิบัติงานและการพิจารณาอนุมัติโครงการฯ ตอไป ซึ่งไดม
การจัดทําและเผยแพรในเว็บไซตกองทุนหลกประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร (xxxxx://xxxxxxxxx.xxxxxxx.xx.xx/xxxxxxxxxxx/)
4. คณะกรรมการวิสามญ
ฯ ไดผลก
ดันและเสนอแนะใหกรุงเทพมหานครทําการxxxxxxx
พนธ
ใหกับหนวยงานภายนอกทราบถึงโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครและxxxxxxxให วมเสนอโครงการฯ
และไดxxxxหนวยงานภายนอกกรุงเทพมหานครมารวมประชุมเพื่อรวมเสนอโครงการฯ ไดแก กรมสุขภาพจิต และ สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง กรมอนามัย
2.4.2 แนวทางการดําเนินโครงการที่สําเร็จ
- เทศบาลxxxxxxxxx xxxหวดปทุมxxx
สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ นําเสนอขอมูล ดังนี้ แนวทางสูความสําเร็จในการดําเนินการกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่น เทศบาลxxxxxxxxx
- 2552 เริ่มตน เขารวมกองทุนฯ ดวยทุนประเดิม 4 ลานบาท ยังไมxxxxxxใชจาย งบประมาณไดเทาที่ควร สวนประชาชนและหนวยงานในพื้นที่ ยังไมรูจักกองทุนฯ
- 2554 อุปสรรค เกิดปญหาน้ําทวมใหญ ทําใหโครงการหยุดชะงัก ประชากร มากขึ้น งบกองทุนฯ xxxxxมากขึ้น งบประมาณคางจายมากขึ้นหลายเทาตัว (40 ลานบาท)
- 2561 มีการปรับประกาศฯ จํานวน 3 ครั้งในป 25, 57 และ 61 จาก การรับฟงความคิดเห็น ทําใหการดําเนินการสะดวกมากขึ้น xxxxxxใชงบประมาณประจําปหมดและใชเงินคงเหลือ สะสม จนเหลือนอย ประชาชนเขียนโครงการได ดูแลสุขภาพตนเองได กลายเปนแหลงดูงานของกองทุนฯ อื่น ๆ ปละ 100 แหง
- 2564 xxxxx ใหประชาชนเปนเจาของโครงการทั้งหมด โดยการวางแผน รวมกันทุกฝาย หนวยงานตาง ๆ และเทศบาล เปนพี่เลี้ยง เนนการมีสวนรวมของทุกคนในพื้นที่
ปจจัยสําคัญ
1. ผูบริหารและทีมงานของเทศบาลxxxxxxxxx
2. คณะกรรมการกองทุนฯ และอนุกรรมการ
3. การ Training จาก สปสช.
4. ความรวมมือของหนวยงานภาครฐ แตภายหลังไดเห็นความสําคัญมากขึ้น จึงสมทบxxxxxเขามาอีก 1 สวน
/เอกชน ในพื้นที่ ซ่ึงเดิมจะสมทบตามเกณฑ
5. การมีสวนรวมของประชาชนในพื้นที่ (ตอ เทคนิคการบริหารจัดการกองทุน
งสรางเสริมความเขมแข็ง)
1. วางแผนปฏิทินการทํางานตั้งแต ไตรมาส 4
2. xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxผูเสนอโครงการxxxเสมอ
3. ประชุม กํากับ ติดตาม เปนระยะ (ทุกไตรมาส)
4. จัดทําแผนสุขภาพชุมชน ไปพรอมกับการจัดทําแผนเทศบาล
5. ปรับปรุงแผนงาน/โครงการ เมื่อเกิดขอติดขัด
6. จัดทําสรุปรายงานใหถูกตองและครบถวน เทคนิคการจัดทําโครงการ
1. จัดทํา/วิเคราะห ปญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่
2. นําขอมูลไปประกอบการจัดทําแผนสุขภาพชุมชน โดยนําขอมูล OP ที่โรงพยาบาลสุขภาพตําบลมีxxx วาในพื้นที่มีขอมูลอัตราการเจ็บปวย การเสียชีวิต การใชบริการ OP เปนอยางไร มีโครงการไหนที่จะเขามาชวยแกไขไดหรือไม ซึ่งเปนการวิเคราะหโครงการเชิงพื้นที่
3. กําหนดกลมเปาหมายผูรับประโยชนใหชัดเจน สืบเนื่องจากในป 2557
สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดเขาตรวจสอบและใหความสําคัญในเรื่องกลุมเปาหมายเปนอยางมาก เนื่องจาก
โครงการไมมีการระบุกลุมเปาหมายxxxxxxxxx เชน ทุกกลมอายุ เปนตน
4. กําหนดระยะเวลาโครงการระยะสั้น (ใชจํานวนเงินไมมาก) ระยะกลาง (6 เดือน-1ป) และระยะยาว (ตอเนื่อง) (3 – 5 ป แลวแตโรค)
5. ประเมินผลทุกโครงการ เพื่อการพิจารณาในครั้งตอไป ซึ่งในอดีตใหงบประมาณ ไปแลวใน 2-3 ป แตไมเคยรายงานผล ซึ่งหากยังไมรายงานผลใหเรียบรอย จะไมมีxxxxxรับเงินกอนใหมได
กรอบแนวคิดการบริหารแผนงาน/โครงการ
- เพื่อใหบุคคลxxxxxxเขาถึงบริการสาธารณสุขไดอยางท่ัวถึง และมีประสิทธิภาพ
มากขึ้น โดยสงเสริมกระบวนการมีสวนรวม ตามความพรอม ความเหมาะสม และความต งการของประชาชนในทองถ่ิน
- มุนเนนใหทองถิ่น เปนฐานในการดูแลสุขภาพใหกับชุมชน และเปนทุนหนุน
เสริมสรางประโยชนดานสุขภาพของประชาชน ใหสอดxxxxกับบริบท และปญหาสุขภาพในพื้นท
หลักเกณฑ และลักษณะของโครงการที่ควรอนุมัติ
1. เปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุนฯ
2. มีขอมูล บงบอกสถานการณ/ความสําคัญ ของปญหาสุขภาพ
3. เนนการจัดบริการฯ ภายใตประกาศxxxxxประโยชน PP ฉบับที่ 10
4. เนนการจัดบริการฯ ตอเนื่อง xxxxxxวัดผลผลิต/ผลลัพธ
5. ควรเนนเปนรูปแบบ แผนงานที่สอดคลองกับแผนสุขภาพของพื้นที่ ในระยะ 3-5 ป มีเปาหมายความสําเร็จชัดเจน โครงการ กิจกรรม ตอเนื่อง สอดคลองกับแผนงานฯ
6. มีแนวทางการกํากับ ติดตาม ประเมินผลแผนงาน/โครงการ อยางตอเนื่อง
แนวทางการบริหารจัดการโครงการ
1. ดําเนินโครงการใหสอดxxx
xกับแผนสุขภาพกองทุนฯ
2. กําหนดเวลาโครงการระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว (ตอเนื่อง)
3. กําหนดกลมเปาหมายผูรับประโยชนใหชัดเจน
4. ประเมินผลทุกโครงการ เพื่อการพิจารณาในครั้งตอไป
5. จัดทําสรุปรายงานใหถูกตองและครบถวน
<.. image(Timeline Description automatically generated) removed ..>
- เทศบาลเมืองบึงยี่โถ จังหวัดปทุมธานี
นายxxxxxxค xxxxxxวงศ นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองบึงยี่โถ ใหขอมูลปจจัยสูความสําเร็จ ของการดําเนินงานกองทุนฯ ดังนี้
- เดิมกองทุนหลักประกันสุขภาพ ชวงแรกปทุมธานีไดอําเภอละ 1 แหง แตจาก ความไมเขาใจมีการกลาวถึงเงินที่เทศบาลจะตองลงทุนรวมดวย ซึ่งเทศบาล อบต. มีงบไมมาก และเริ่มมีการถอนตัว ตนไดxxxxxxตอสูวาเมื่อไดรับเงินครึ่งหนึ่งคือ 45 บาท รวมกับเทศบาลเปน 90 บาท
- ชวงแรกคอนขางผอนคลายในเรื่องการจัดทําโครงการและการตรวจสอบ ยังไมเขมขน แตภายหลัง มีการตรวจสอบเขมงวดขึ้น ทําใหการจัดทําโครงการตองรอบคอบมากขึ้น หลายทองถิ่น ไมกลาดําเนินการ เนื่องจากตอบขอซักถามของ สตง. ไมชัดเจน ทําใหเงินของ สปสช. ไมไดรับการขับเคลื่อนเทาที่ควร
- ภายหลังมีความเขาใจมากขึ้น ทุกชุมชนมีการจัดกิจกรรมโดยใหชุมชนตาง ๆ เขามารวมพัฒนา กําหนดนโยบายรวมกัน เชน การออกกําลังกาย การเลนกีฬาในน้ํา การเลนโยคะ กิจกรรมของ เด็กเล็ก เทศบาลเมืองบึงยี่โถมีศูนยพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ จํานวน 3 ศูนย มีการจัดโครงการสรางความสุข 5 มิติ ชีวีมีสุขในวัยเตรียมและหลังเกษียณ มีกิจกรรมใหความรูxxxxx ทดสอบสมรรถภาพรางxxx การทําสมาธิ
ฟงเทศน การสงเสริมความรูอาหารเพื่อสุขภาพ การออกกําลังกาย เพื่อเปนตนแบบผูสูงอายุที่มีสุขภาพxxxxx ซึ่งหลาย ชุมชนตxxxxxจัดกิจกรรม
ตามxxxxxxxxxxกําหนด ความสําเร็จ
- จุดเริ่มตน คือ สปสช. เปxxxxปรึกษาในการจัดทําโครงการ เพื่อใหมีความถูกตอง
- การจัดทําโครงการของเทศบาลบึงยี่โถมาจากความตxxxxxของชุมชน จึงประสบ
- หากใหหนวยงานจัดทําโครงการจะตอบxxxxความตxxxxxของประชาชน
เพียงระยะเวลาสั้นๆ เชน เคยจัดโครงการเตนแอโรบิค ชวงแรกมีคนสนใจ แตภายหลังไมมีคนเขารวมกิจกรรม จําเปนตองสับเปลี่ยนหมุนเวียนกิจกรรมใหเปxxxxนาสนใจ
- ประโยชนของเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพมีมาก แตหลายหนวยไดรับ การทักทวงจาก สตง. ทําใหxxxxx xxกลาเสนอโครงการ
- ถาเปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการปองกัน การฟนฟู การสงเสริม เห็นวา
xxxxxxดําเนินการได ซึ่งกิจกรรมตางๆ ตองมีเหตุผลชัดเจนวาเขาเงื่อนไขการปองกัน การฟนฟู การสงเสริมสุขภาพ
อยางไร และ สปสช. ชวยใหคําปรึกษาแนะนําการจัดทํากิจกรรม แตระยะหลังxxxxxxการณการแพรระบาดของ โรคโควิด 19 สปสช. ก็จะเนนในเรื่องการเขาไปใหความรูในดานการปองกันโรคเปนสวนใหญ
<.. image(A picture containing text Description automatically generated) removed ..>
<.. image(Graphical user interface, website Description automatically generated with medium confidence) removed ..>
- สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร งเสรมสุขิ ภาพ (สํานัก 6)
xxxxxxxxxxx xxxxนนท สํานักสรางสรรคโอกาส (สํานัก 6) สํานักงานกองทุนสนับสนุนการ สรางเสริมสุขภาพ นําเสนอขอมูลโครงการสรางเสริมสุขภาพขนาดเล็ก แผนสรางสรรคโอกาสสรางxxxxxxxxภาวะ
ทิศทางและเปาหมายกองทุนระยะ 10 ป
วิสัยทัศน ทุกคนบนแผนดินxxxxxวิถีชีวิต สังคมและส่ิงแวดลอม ที่สนับสนุนตอการมี
สุขภาวะxxxxx
พันธกิจ จุดxxxxxx กระตุน สาน และเสริมพลังบุคคล ชุมชน และองคกรทุกภาคสวน ใหม
ขีดความxxxxxxและสรางสรรคระบบสังคมที่สนับสนุนตอการมีสุขภาวะxxxxx เปาหมายเชิงxxxxศาสตร
ยาสูบ สุราและสิ่งเสพติด อาหาร กิจกรรมทางxxx ความปลอดภัยทางถนน สุขภาพจิต
มลพิษจากสิ่งแวดลอม ปญหาสุขภาพอุบัติใหมและปจจัยเสยงอื่น
xxxxศาสตร (ความเหลื่อมล้ําดานสุขภาพ)
- สงเสริมวิชาการและนวัตกรรม
- สานพลังภาคีและเครือขาย
- พัฒนาศักยภาพบุคคล ชุมชน องคกร
- พัฒนากลไกทางนโยบาย สังคม และสถาบันสื่อสารสังคม การจัดโครงสรางแผนและกลไกลสนับสนุน
โครงสรางแผน
- เชิงประเด็น
- เชิงพื้นที่
- เชิงองคกรและกลุมxxxxxxxกร
- เชิงระบบ กลไกสนับสนุน
- การพัฒนาศักยภาพบุคลกรและภาคีเครือขาย
- การสนับสนุนโครงการ
- ระบบขอมูลและการจัดการความรู
- การกํากับ ติดตาม และประเมินผล
- ระบบงานดิจิทัล-ไอที
การสรางxxxxxxxxภาวะ
เปาประสงค สสส. ข
5 ขยายโอกาสและพัฒนาศักยภาพในการสรางนวัตกรรมเกี่ยวกับ
โดยพันธกิจของแผนxxxxxxโอกาสใหภาคีรายยอยเขาxxxxxxดําเนินงานสรางเสริม สุขภาพ ซ่ึงไดมีการสนับสนุน 2,000 โครงการ สนับสนุนผานหนวยจัดการเชิงพื้นที่ซึ่งรับผิดชอบโครงการโดยมี ขอบเขตเปนจังหวัด และหนวยจัดการเชิงประเด็นรับผิดชอบในหลายพื้นที่ ขยายโอกาสเชิงประเด็น ซ่ึง สสส. ทํางาน ผานหนวยจัดการและที่ใหการสนับสนุนมองผลลัพธสรางเสริมสุขภาพและการเกิดสภาพแวดลอม
ไมนอยกวา ๗ คน)
หนวยจัดการระดับจังหวัด สําหรับโครงการสรางเสริมสุขภาพขนาดเล็ก
- หนวยจัดการ ประกอบดวย PM ที่ปรึกษา พ่ีเลี้ยง เจาหนาที่การเงิน (สมาชิก
- ประเด็นดําเนินงาน (ตามประเด็นเปา 10 ป สสส.)
- โครงการขนาดเล็ก 8 ประเด็น 40,000 – 60,000 บาท
- โครงการสรางเสริมสุขภาพทั่วไปไมเกิน 100,000 บาท
จังหวัดละไมเกิน 30 โครงการ
- ขอบเขตการดําเนินงาน
1. พัฒนาโครงการ
2. การพัฒนาศักยภาพ
3. ติดตามผลลัพธ ลงพื้นที่ 4 ครั้ง
4. ถอดบทเรียน
5. การบริหารจัดการ
การเขียนโครงการ ผลลัพธที่กําหนดไวแลว
ลักษณะโครงการสรางเสริมสุขภาพขนาดเล็ก
1. เปนโครงการเกือบสําเร็จรูป โดยกําหนดวัตถุประสงคกิจกรรมและผลลัพธไวแลว
2. เหมาะสําหรับผูไมเคยไดรับทุนหรือผูxxxxxxxxxจะทําโครงการแตขาดทักษะเรื่อง
3. ชุมชนxxxxxxเพิ่มเติมกิจกรรมได แตตองเปนกิจกรรมสงผลตอการxxxxxตาม โครงการสรางเสริมสุขภาพขนาดเล็ก เชน โครงการลดละเลิกบุหรี่ 50,000 บาท จัดการขยะ
50,000 บาท ผูสูงอายุ 50,000 บาท กิจกรรมทางxxx 30,000 บาท ลดละเลิกxxxกอฮอลในงานบุญ 50,000 บาท
จัดการจุดเสี่ยง 50,000 บาท ปลูกและบริโภคผัก 50,000 บาท บริโภคผ 50,000 บาท
ผลไมและลดภาวะโภชนาการในโรงเรียน
เครื่องมือการดําเนินงาน
1. คลิปวีดิโอแนะนําโครงการ
2. บันไดผลลัพธ
3. แบบเสนอโครงการ
<.. image(Graphical user interface Description automatically generated) removed ..>
<.. image(Timeline Description automatically generated) removed ..>
ไดแก
2.4.3 การเรงรัดการจัดทําโครงการ แบงเปน 3 สวน ไดแก
1. กลุมเขต
- ตั้งคณะอนุกรรมการฯ เพื่อเรงรัดการดําเนินการใน 6 กลุมเขต จํานวน 4 คณะ
- คณะอนุกรรมการเพื่อติดตามการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุน
หลักประกันสุขภาพเขต กลุมเขตกรุงเทพกลาง
- ประธาน : xxxxx xxxxxxx xxxxxxxx
- การประชุมติดตามการดําเนินงาน :
ป 2564 : 8 ครั้ง
ป 2565 : 1 ครั้ง
- คณะอนุกรรมการเพื่อติดตามการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุน หลักประกันสุขภาพเขต กลุมเขตกรุงเทพตะวนออก
- ประธาน : นายxxxxx ศิริวนาxxxxxxค
- การประชุมติดตามการดําเนินงาน :
ป 2564 : 7 ครั้ง ป 2565 : - ครั้ง
- คณะอนุกรรมการเพื่อติดตามการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุน หลักประกันสุขภาพเขต กลุมเขตกรุงเทพเหนือและกรุงเทพใต
- ประธาน : นางxxxxxxx สุวัฒนวงศ
- การประชุมติดตามการดําเนินงาน :
ป 2564 : 5 ครั้ง
ป 2565 : 1 ครั้ง
- คณะอนุกรรมการเพื่อติดตามการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุน หลักประกันสุขภาพเขต กลุมเขตกรุงธนเหนือและกรุงธนใต
- ประธาน : พลตรี xxxxxxxx วงษxxxxx
- การประชุมติดตามการดําเนินงาน :
ป 2564 : 6 ครั้ง ป 2565 : - ครั้ง
- จัดการประชุมใหตัวแทนสํานักงานเขตนําเสนอแนวทางการดําเนินการและตัวอยาง โครงการเพื่อขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครที่ประสบผลสําเร็จ โดยxxxx ผูอํานวยการเขตทั้ง 50 เขตหรือผูแทนเขารวมประชุมดวย (ขอมูลรายละเอียดโครงการแสดงในภาคผนวก)
- กลม
- กลมุ
- กลมุ
เขตกรุงเทพเหนือ เขตดอนเมืองนําเสนอ
เขตกรุงเทพใต เขตพระโขนงนําเสนอ
เขตกรุงเทพกลาง เขตพญาไทนําเสนอ
- กลุมเขตกรุงเทพตะวันออก เขตมีนบุรีนําเสนอ
- กลม
- กลมุ
เขตกรุงธนเหนือ เขตจอมทองนําเสนอ
เขตกรุงธนใต เขตทุงครุนําเสนอ
2. สํานกั
โดยxxxxสํานักตาง ๆ เขารวมประชุม เพื่อติดตามและเรงรัดการจัดทําโครงการเพื่อขอใชเงิน จากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ใหตรงตามวัตถุประสงคของกองทุนฯ (รายละเอียดโครงการ และความเห็นและขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสามัญฯ แสดงในภาคผนวก) ดังนี้
- สํานักพัฒนาสังคม
- สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเที่ยว
- สํานักการศึกษา
- สํานักพัฒนาสังคม
- สํานักการจราจรและขนสง
- สํานักxxxxศาสตรและประเมินผล
- สํานักอนามัย
- สํานักการแพทย
- สําxxxxxxกิจ
- สํานักการระบายน้ํา
- สํานักปองกันและxxxxxxสาธารณภัย
- สํานักสิ่งแวดลอม
- สํานักงานตลาดกรุงเทพมหานคร
3. หนวยงานภายนอก
โดยxxxxหนวยงานภายนอกเขารวมประชุม เพื่อxxxxxxxใหจัดทําโครงการเพื่อขอ ใชเงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร (รายละเอียดโครงการและความเห็นและขอเสนอแนะของ คณะกรรมการวิสามัญฯ แสดงในภาคผนวก) ดังนี้
- กรมสุขภาพจิต
- สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง กรมอนามัย
2.5 ขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสามัญฯ
จุดประสงคของการตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เพื่อใหมีการดําเนินงานเรื่อง สงเสริมปองกันโรคของประชาชนในกรุงเทพมหานคร และเพื่อใหเกิดความยั่งยืนโดยหลักการตxxxxxใหประชาชน เปนผูขอใชเงิน ดําเนินการ และรับประโยชนเอง จึงมีขอเสนอแนะตอหนวยงานตาง ๆ ดังนี้
สํานักงานเขต
1. ควรมีการสรางความรูความเขาใจและผลักดันอยางจริงจังเพื่อใหประชาชนxxxxxxเปน ผูเขียนโครงการและจัดทําโครงการเองไดในxxxxx xxน ควรจัดทําคลิปวิดีโออธิบายลักษณะของโครงการและวิธีการ จัดทําโครงการ เพื่อใหxxxxxxเปดxxxxตลอดเวลา จะชวยใหเขาใจxxxxxxxขึ้น รวมทั้งควรจัดทําชุดคําถามคําตอบ (Q&A) เพื่อเปนขอมูลใหชุมชน หนวยงาน หรือองคกร หากมีความสงสัยในบางประเด็น จะทําใหการเขียนโครงการรวดเร็วขึ้น
2. การดําเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพของกรุงเทพมหานครยังมีจุดออน เนื่องจาก โครงสรางระดับเขต บางเขตไมเขมแข็ง ทําใหโครงการไมเกิดขึ้น สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) มีหนวยจัดการในพ้ืxxxxกรุงเทพมหานคร หากมีการขอความรวมมือจาก สสส. ใหเขามาชวยออกแบบโครงการ xxxxxxใหทุกเขต ใหความรูเชิงประเด็นกับคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขตเพ่ือนําโครงการไปขยาย ผลในเชิงพื้นที่จะเปนประโยชนมาก
3. กรณีขอเสนอใหนําเงินไปตั้งไวท่ีเขตเพ่ือใหประธานคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกัน สุขภาพเขตพิจารณาอนุมัติไดเลย ขxxxคือเปนการลดข้นตอน แตขอเสียคืออาจเกิดความผิดพลาด การสงโครงการให สxxxxxxตรวจสอบจะเปนการชวยคัดกรอง สิ่งที่สํานักงานเขตตxxxxxคือคาตอบแทนใหกับคณะอนุกรรมการ xxxxxxxxxxxกรอง รวมท้งฝายพัฒนาชุมชนฯ ตองใหความสนใจทําความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมาย xxxxxxxxxxเกี่ยวของ xxxxxxใหคําแนะนํากับชุมชน จะเปนการชวยลดระยะเวลาลงได
4. เขตที่มีตลาดควรจะจัดทําโครงการ/กิจกรรมในการสงเสริม ปองกันโรคในตลาดเพื่อขอ
งบประมาณกองทุนหล
ประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร อยางนอย 1 ตลาด เพ่ือเปนแบบอยางใหตลาดอื
ดําเนินการตาม
5. ควรมีการจัดทําแผนการใชจายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครประจําป เพื่อจะไดมีการดําเนินการเรงรัดติดตามการจัดทําโครงการใหเปนไปตามแผนฯ
6. ควรมีการตั้งคณะกรรมการเพื่อกํากับติดตามและประเมินโครงการในระดับกลุมเขต
7. ควรมีการจัดทําแผนพัฒนาสุขภาพระดับเขต และเผยแพรใหประชาชนรับทราบ เพื่อจะได รับทราบวาตนมีสวนเก่ียวของอยางไรบาง และตองเสริมสรางสุขภาพในเร่ืองใดบาง เพื่อใหแผนพัฒนาสุขภาพระดับ เขตประสบผลสําเร็จ
สํานัก สํานักอนามัย
ดานทนตกรรม
1. ควรเปล่ียนแหลงเงินจากเงินงบประมาณของกรุงเทพมหานครมาขอใชเงินจากกองทุน หลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร โดยเตรียมการจัดทําโครงการเพื่อขอใชเงินจากกองทุนฯ ตั้งแตเดือนมีนาคม 2565 เปนตนไป เนื่องจากเงินกองทุนฯ นี้ มีเงินเหลือจํานวนมาก ทําใหไมxxxxxxรับเงินเติมจากสํานักงานหลักประกัน สุขภาพแหงชาติได
2. ควรเปล่ียนการซื้อสารเคลือบรองฟนจากตางประเทศ มาติดตอกับมูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภเพื่อทําการผลิตซึ่งจะมีราคาถูกกวาประมาณ 3 – 4 เทา
3. ควรมีการจัดเก็บขอมูลสุขภาพฟนของเด็ก กอนเริ่มโครงการ เพื่อนํามาเปรียบเทียบกับ ผลลัพธหลังเสร็จสิ้นโครงการ
ดานยาเสพติด
1. หลักการและเหตุผล คอนขางยาวเกินไป
2. วัตถุประสงคคือเรื่องสําคัญของการเขียนโครงการ ซึ่งจากที่นําเสนอจะไมxxxxxx เห็นไดชัดวาผลสําเร็จของโครงการจะไดxxxxxxxxxxใด เชน เพื่อรณรงค ซึ่งการรณรงคคือกิจกรรมที่ตองทําในโครงการ แตไมใชวัตถุประสงค ซึ่งหากพิจารณาจากหลักการและเหตุผลแลว วัตถุประสงคคือเพื่อที่จะลดปญหาเกี่ยวกับเรื่องยา
เสพติดของเด็กและเยาวชน (ทําโครงการนี้แล เพื่อใหxxxxxxxxxxxxxxใดขึ้น)
3. ตัวชี้วัดความสําเร็จ เชน มีการรณรงค มีของที่xxxxx เห็นวาไมใชตัวชี้วัดความสําเร็จ ซึ่งตัวชี้วัดความสําเร็จตองเปนตัวเลขที่วัดไดหรือปริมาณxxxxxxxxxยกตัวอยางxxxxxxxxxเคลือบรองฟนในเด็ก ตัวชี้วัด ความสําเร็จคืออัตราฟนผุในเด็กลดลง
4. วิธีดําเนินการ ไมใชการจางเหมา เนื่องจากเปนกระบวนการในการพัสดุ ควรใชวา รณรงคหรือใหความรู จึงจะเปนวิธีดําเนินการของโครงการ
5. ผลประเมินความพึงxxxx ซึ่งไมนาจะเปนเปาหมายที่ตxxxxxหรือรับรูจากผูเขารวมโครงการ จึงไมควรสํารวจความพึงxxxxฯ แตควรวัดผลxxxxxxxxของโครงการ
6. ยาเสพติดเปนเรื่องคอนขางยากมาก ควรจับเรื่องเหลาหรือบุหรี่ ซึ่งเปนเรื่องที่จับตองได งายกวา เนื่องจากเหลาเปนสาเหตุของความรุนแรงภายในบานหรือสาเหตุของโรคสมองเสื่อม เปนตน โดยการทํา เครือขายเยาวชนเปนตาสับปะรดในการตรวจจับการทําผิดกฎหมาย ซึ่งในตางจังหวัดเขมแข็งมาก
7. เครือขายสภาเยาวชน 50 เขต ในการเฝาระวังเรื่องบุหรี่และเหลา ขอใหทําใหเขมแข็ง xxxxxxxขึ้น โดยมีการอบรมสัมมนา รับสมาชิกใหมใหเปนจิตอาสาในการเฝาระวัง (Watch Dog) รวมถึงxxxxxxxxสินบน นําจับดวย
8. ควรมีการจัดประกวดวาดรูป เขียนเรียงความ การโตxxxx ในการปองxxxxxxxxxเหลาและ บุหร่ี ในชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โดยมีรางวัลตอบแทน โดยจัดเวทีผานอินสตราแกรมหรือเฟสบุค ซึ่งใช งบประมาณไมมาก เพื่อเปนการปลูกฝงในเด็ก
9. ควรมีการจัดจางเด็กหรือเยาวชนมาผลิตสื่อเพื่อเผยแพรออนไลน เชน TikTok โดยให เด็กหรือเยาวชน อายุ 18 – 20 ป เปนผูคิดเนื้อหาของสื่อเอง เพื่อสะทอนแนวความคิดหรือความตxxxxxของเด็ก หรือเยาวชน
ดานการดําเนินการภาพรวมของสํานักอนามยั
ทุกหนวยงานของสํานักอนามัยควรตองจัดทําโครงการเพื่อขอใชเงินจากกองทุนฯ ตาม อํานาจหนาท่ี โดยเนนการมีสวนรวมของประชาชนหรือชุมชน และพัฒนาศักยภาพของประชาชนหรือชุมชนในดาน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสํานึกทางสุขภาพ (หากประชาชนหรือชุมชนไมมีสวนรวม ไมควรใชเงินจากองทุนฯ โดยตรง ยกเวนเมื่อตองนําไปใชในการควบคุมปองกันโรคหรือเร่ืองฉุกเฉินดานสุขภาพ) เกี่ยวกับการสงเสริม สนับสนุน การจัดบริการดานสงเสริมสุขภาพ และการปองกันโรค การใหบริการในระดับศูนยบริการสาธารณสุข การดําเนินการ ตามกฎหมายวาดวยการสาธารณสุขและกฎหมายที่เกี่ยวขxx xxxวิจัย พัฒนาความรู และรูปแบบการจัดระบบบริการ สาธารณสุข การสุขาภิบาลอาหาร การอาชีวอนามัย และการสุขาภิบาลสิ่งแวดลxx xxxเผยแพรความรูและถายทอด เทคโนโลยีทางดานการสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การควบคุมสิ่งแวดลอมภายในอาคารสถานท่ีและชุมชน และ พฤติกรรมการดูแลรักษาสุขภาพ เชน xxxxxางเสริมสุขภาพควรจัดทําโครงการเกี่ยวกับชมรมผูสูงอายุในภาพใหญ ซึ่งยังไมมีผูจัดทํา กองทันตกรรมควรจัดทําโครงการเกี่ยวกับการดูแลรักษาฟนใหเด็กและผูสูงอายุ กองควบคุม โรคติดตอควรจัดทําโครงการเกี่ยวกับการควบคุมปองกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กองเภสัชกรรมควร จัดทําโครงการxxxxxการทําครีมทาผิวสําหรับผูสูงอายุ น้ํามันทาผมสําหรับผูสูงอายุ เพื่อตอยอดในหมูบาน ใหทําใชเอง และขายได เปนตน
ดานการดําเนินการกองทุนฯ
1. ปญหาบางเรื่องxxxxxxแกไขไดภายในหนวยงาน ซึ่งเปนปญหาการบริหารงานทั่วไป เชน การเบิกเงินและการจายเงิน การทําบัญชีและรายงาน ซึ่งปญหาที่ควรนํามาหาแนวทางแกไขคือเรื่องที่เกี่ยวของกับ บุคคลภายนอก เชน การใหความรู เรื่องวิธีปฏิบัติxxxxxสอดคลอง ข้นตอนการดําเนินการ ขอใหคัดแยกกลุมปญหาและ xxxxxxxxxxเปนปญหาสําคัญ เพื่อที่คณะกรรมการวิสามัญฯ จะไดเสนอแนะแนวทางแกไขปญหาตอไป
2. ปญหาตางๆ xxxxxมีการออกแบบสอบถาม เปนปญหาที่คณะกรรมการวิสามัญฯ และ คณะอนุกรรมการฯ ไดทราบxxxแลว ควรแบงกลุมรายละเอียด หากปญหาใดxxxxxxตอบชี้แจงทําความเขาใจได สํานักอนามัยควรรีบดําเนินการ เพื่อใหสํานักงานเขตxxxxxxปฏิบัติภารกิจไดโดยเร็ว
3. เร่ืองความรูความเขาใจ เห็นวา การอบรมเพียง 1 คร้ัง ไมxxxxxxทําใหเกิดความเขาใจได ควรจัดทําคลิปวิดีโออธิบายลักษณะของโครงการและวิธีการจัดทําโครงการ เพื่อใหxxxxxxเปดxxxxตลอดเวลา จะชวย ใหเขาใจxxxxxxxขึ้น รวมท้ังควรจัดทําชุดคําถามคําตอบ (Q&A) เพ่ือเปนขอมูลใหชุมชน หนวยงาน หรือองคกร หากมี ความสงสัยในบางประเด็น จะทําใหการเขียนโครงการรวดเร็วขึ้น
4. การเขียนโครงการเพื่อขอเงินมาดําเนินการ จะตองมีที่มาของโครงการxxxxxxxxx มีการ ระบุสิ่งที่จะทํา และประโยชนที่จะไดรับอยางชัดเจน ซึ่งตองสรางความรูความเขาใจใหแกประชาชน เพื่อใหxxxxxx เขียนโครงการเองได
5. การตั้งผู Review Project ควรตั้งผูที่มีความชํานาญและประสบกาณเขามาชวย เชน ผูชํานาญการและมีประสบการณจากเทศบาลxxxนนทบุรีหรือเทศบาลxxxxxxxxx เขามาชวยปฏิบัติงานในกลุมเขต
กรุงเทพเหนือ หรือพื้นทกลมเขตอื่นทใี่ กลเคียงพื้นที่หนวยงานทองถิ่นอื่นที่ขอความรวมมือ โดยกอนจะมีการ Review Project
ควรจัดใหมีการฝกอบรมใหแกผูที่เกี่ยวของ เพื่อใหการ Review Project เปนไปในแนวทางเดียวกัน
6. โครงการที่เกี่ยวของกับสงเสริมการแสดงออกในเด็กและวัยรุน และตอตานยาเสพติด สํานักอนามัยในฐานะผูที่พิจารณาโครงการ ที่ผานมากรุงเทพมหานครไดสนับสนุนงบกลางในการดําเนินโครงการฯ ควรมีการพิจารณาวาหากรายการใดxxxxxxขอใชงบประมาณจากแหลงอื่นได ก็ไมควรขอใชเงินจากกองทุนฯ เนื่องจากเงินกองทุนฯ มีความจําเพาะและตองประเมินผลความเปลี่ยนแปลงได มีทั้ง Output และ Outcome มิใช มีเพียง Process และโครงการตองมีจุดประสงคชัดเจนและไมซ้ําซอนกับเงินอื่นใดxxxxxxไดรับมาหรือจะไดรับมา
7. สํานักอนามัยควรศึกษาวากรุงเทพมหานครจําเปนตองมีคณะกรรมการกํากับติดตาม โครงการในเรื่องใด และเสนอขออนุมัติคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เพื่อการพัฒนาและ ชวยเรื่องการติดตามการดําเนินโครงการ
8. ใหสํานักที่เกี่ยวของกับตัวอยางโครงการก่ึงสําเร็จรูปของ สสส. ไปพิจารณาขอมูลแลว นํามาออกแบบเปนโครงการกึ่งสําเร็จรูปเพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของหรือประชาชนผูสนใจที่จะดําเนินโครงการลักษณะ ดังกลาว xxxxxxนําไปเขียนโครงการเพื่อขอใชเงินจากกองทุนฯ เพื่อใหงายขึ้นและเปนมาตรฐานxxxxxxxxx และชวยลด ภาระของอนุกรรมการกองทุนเขตที่จะตองตรวจรายละเอียดตาง ๆ ซึ่งจะชวยใหการดําเนินงานกองทุนฯ รวดเร็วขึ้น
สํานักพัฒนาสังคม
1. เนื่องจากชุมชนในกรุงเทพมหานครกับตางจังหวัดจะตางกัน ประชาคมในตางจังหวัดจะมี การจัดทําประชาคมสม่ําเสมอ สวนชุมชนใน กทม. ไมคอยมีโอกาสไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชุมชน จึงไมเกิด ภาพรวมปญหาของชุมชน ทําใหการคิดโครงการเพ่ือนําไปสูการแกไขปญหาจึงคอนขางยาก จึงควรมีการผลักดันใหมี การปฏิสัมพันธและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นภายในชุมชน
2. การจัดทําโครงการและใหมีการxxxxxเพื่อใหประชาชนมีความรูความเขาxxxxxใน กระบวนการการเรียนการสอน xxxxxxทําได สํานักพัฒนาสังคมที่ดูแลศูนยฝกอาชีพ ควรใหมีการจัดตั้งชมรมในแตละ ศูนยเพื่อผลักดันใหทําโครงการ
3. ขอใหสํานักพัฒนาสังคมมีการจัดระบบชุมชนใหมีชุมชนxxxxxขึ้น เพื่อใหชุมชนไดมี สวนรวมในการเขามาชวยปองกันและแกไขปญหาโรคโควิด-19 ตามกฎหมายโรคติดตอจะตองใหมีหนวยควบคุม ปองกันโรคในชุมชน และที่ยังไมxxxxxxดําเนินการไดเน่ืองจากไมมีกรรมการชุมชน เมื่อกรุงเทพมหานครมีการออก xxxxxxxวาดวยกรรมการชุมชนแลว นิติบุคลจะตองตั้งเปนกรรมการชุมชน ขอใหสํานักพัฒนาสังคมเตรียมจัดทําแผน งบประมาณ ๔๐ ลานบาทเพื่อนําไปพัฒนาชุมชน ใหนิติบุคคลในอาคารชุดxxxxxนิเนียม มีกรรมการชุมชนเกิดขึ้น เพื่อใหเขามาชวยภาครัฐในการทํางาน ทุกนิติบุคคลที่จะมีการตออายุตองมีหนวยควบคุมปองกันโรคอยางนอย
๑ หนวยตอนิติบุคคล ใหมีการประชุมเพื่อใหxxxxxxxรวมตัว งบประมาณ ๔ ลานบาท ไมควรนําไปอบรม ควรไป ดําเนินการในเรื่องกระบวนการจัดตั้งกรรมการชุมชนในกรุงเทพมหานคร
4. สํานักพัฒนาสังคมตองดูวัตถุประสงคการปรบั ปรุงxxxxxxxใหมของคณะกรรมการพัฒนา ชุมชนวาควรดําเนินการอยางไรเพ่ือใหxxxxxวัตถุประสงค เพราะชุมชนจะเปนxxxxxxจะชวยผลักดันใหเกิดกิจกรรม ที่เกี่ยวของกับกฎหมายในดานอื่นๆ ดวย ไมเฉพาะxxxxxxxของคณะกรรมการชุมชน หากสํานักพัฒนาสังคมดําเนินการ ในเรื่องหลักเกณฑ กระบวนการใหเกิดชุมชนใหมขึ้นโดยเร็ว จะชวยใหการดําเนินการบังคับใชกฎหมายอื่นประสบ ผลสําเร็จไดเร็วมากขึ้นดวย
5. สํานักพัฒนาสังคมตองมีกระบวนการรวมกันกับสํานักงานเขต โดยสํานักงานเขตตอง จัดทํากระบวนการ A-I-C เพื่อการมีสวนรวมหาแนวทางวางแผนปฏิบัติ ใหxxxxxxสมัครชุมชนเกิดขึ้น ปรับปรุงเร่ือง ชุมชนใหม สวนสํานักพัฒนาสังคมตองนําเทคโนโลยีลงไปชวยในดานเทคนิค และใหสํานักงานเขตเปนผูดําเนินการ เรียนรูวิธีการ โดยใหมีการนําเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพมาใชในการพัฒนาชุมชน
สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเที่ยว
1. การจัดทําโครงการและใหมีการxxxxxเพื่อใหประชาชนมีความรูความเขาxxxxxใน กระบวนการการเรียนการสอน xxxxxxทําได กรุงเทพมหานครมีศูนยเยาวชน ศูนยกีฬา ศูนยสรางสุขทุกวัย ซึ่งxxxใน ความรับผิดชอบของสํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเที่ยว ควรใหชมรมตางๆ เหลานี้ไดคิดจัดทําโครงการขอใช เงินกองทุน
2. การใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ ขอใหพิจารณาวาประชาชนไดรับประโยชนอยางไร ขอใหดูวัตถุประสงคของโครงการใหมากวาถึงประชาชนเพียงใด
3. ขอใหสํานักวัฒนธรรมฯ จัดทํากฎเกณฑ กติกาตางๆ เพื่อเปนแนวทางใหกับสํานักงาน เขต การจะใชวิทยากรดําเนินการในเรื่องตางๆ ตองทําเปนเรื่องการสอนxxxxx เพื่อใหชุมชนไปทําตอ เพื่อใหเกิดความ ยั่งยืน กิจกรรมไมxxxxxxใชวิทยากรไดตลอดท้ังป การใชเงินกองทุนเพื่อตxxxxxใหประชาชนมีสวนรวมในการจัดทํา กิจกรรมโครงการ
4. ขอใหสํานักวัฒนธรรมฯ จัดทํากติกาเร่ืองวิทยากร คาใชจายแตละชมรม และสํานักอนามัย เปนพี่เลี้ยงในการเบิกจายเงินใหกับสํานักวัฒนธรรมฯ ดวย
สํานักการศึกษา
1. การจัดทําโครงการในภาพรวมของสํานักการศึกษา ตองแจงสํานักงานเขต เพื่อแจง
โรงเรียนในสํานักงานเขตทราบ วาสํานักการศึกษากําลังทําโครงการใดxxxแลวบาง เพื่อลดความซํ้าซอน และแจง อนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขตทราบ เพื่อเปนขอมูลประกอบการพิจารณาโครงการที่เสนอเขามา
2. ฉากกั้นระหวางโตะ ควรพิจารณาวามีความจําเปนหรือไม เนื่องจากมีการ Social Distancing โดยการนั่งหางกันและสวมหนากากอนามัยxxxแลว
3. โครงการโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครเปดเทอมปลอดภัยหางไกลโรคโควิด-19 งบประมาณ 88,097,450 บาท สํานักการศึกษาตองสงขอมูลรายละเอียดโครงการใหสํานักงานเขตและโรงเรียน เพื่อที่อนุกรรมการกองทุนฯ และโรงเรียนจะไดนําxxxxxxxxการพิจารณาโครงการและลดความซ้ําซอน
4. โครงการที่มีการจัดซื้อเครื่องวัดอุณหภูมิ สํานักการศึกษาควรแจงโรงเรียนใหจัดหาเทาที่ จําเปนตอความตxxxxxใชงานเทานั้น ไมควรมีการขอสํารอง
5. หนวยที่จะควบคุมไมใหมีการเบิกซ้ําซอนคือสํานักการศึกษาและสํานักงานเขต หากรอ พิจารณาวาซ้ําซอนหรือไม อาจจะเปนการเสียเวลา ควรคัดกรองความซ้ําซอนในขั้นตอนการเบิกจายแทน
6. หากโครงการใดยังไมมีความชัดแจง สํานักการศึกษาควรทําโครงการใหมีขนาดเล็กลง เปนโครงการนํารองกอน เชน กลุมเขตละ 1 โรงเรียน หรือ 1 เขต ตอ 1 โรงเรียน เปนตน เพื่อทดลองดําเนินการ ใหไดรูปแบบที่ชัดแจง
7. โครงการxxxxx ควรใหโรงเรียนในแตละพ ที่สํารวจสภาพปญหาของตนเอ งกอน
แลวไปดําเนินการเขียนโครงการเอง เนื่องจากแตละพื้นที่มีปญหาไมเหมือนกัน ทําใหการแกปญหาอาจแตกตางกัน
8. เพื่อใหเกิดความยั่งยืนในโรงเรียน เนื่องจากทายที่สุดโรคโควิด-19 จะกลายสภาพ เปนคลายไขหวัดใหญ ควรพิจารณาระวัง 3 เรื่อง ดังนี้
8.1 ไมใหมีความxxxxxxxxxxxxx xxควรใหมีการรวมกลุมกันจํานวนมาก หรือไมจัด กิจกรรมที่ตองมีการรวมกลุมคนเกิน 50 คน ในชวงที่มีการระบาด
8.2 หากมีความจําเปนตองxxxรวมกัน ตองมีการเวนระยะหางอยางนอย 1 เมตร หรือหากนอยกวา 1 เมตร ตองสวมหนากากอนามัยหรือมีฉากกั้น เพื่อปองกันน้ําลายฟุงxxxxxx
8.3 การระบายอากาศ (Ventilation) ขอใหสํานักการศึกษาxxxxxxฝายโยธา
สํานักงานเขต สํารวจทุกโรงเรียนวาจุดใดมีความปดอับ เชน โรงอาหาร หองประชุม เปนต จะตองทําใหโปรงโลง
ทุกโรงเรียนตองปรับปรุงระบบไหลเวียนอากาศ โดยขอเงินสะสมเหลือจายเพื่อนําไปปรับปรุงเพื่อใหเกิดความยั่งยืน หากไมใชพัดลมไดจะดีที่สุด คือใชระบบหมุนเวียนของอากาศ (Ventilation Aerodynamic) โดยใชกระบังลมที่รับลม เขามาแลวเปลี่ยนทิศทางใหมาทิศทางเดียวกันทั้งหมด ตองมีชองทางเขาออกของอากาศใหได
9. งบประมาณในการจัดซื้อจัดหาวัสดุปอุปกรณเพื่อดําเนินการตามมาตรการควบคุม และ ปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อใชในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร หรือ ที่เกี่ยวกับสุขภาพ ไมควรขอจัดสรรจากงบสะสมกรุงเทพมหานครหรืองบประมาณxxxx โดยควรขอใชเงินจากกองทุน หลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครแทน
10. สํานักการศึกษาxxxxxxxxโครงการใหทุกโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร เพื่อขอใช เงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เชน โครงการธนาคารขยะ โครงการเด็กอวน โครงการปองกัน ตนเองจากโรคไขเลือดออก เปนตน
11. สํานักการศึกษาควรจัดทําแบบฟอรมโครงการสําเร็จรูป เพื่ออํานวยความสะดวกใหแก โรงเรียนในการเขียนโครงการเพื่อขอใชเงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
12. สํานักการศึกษาควรจัดทําหนังสือแจงขอมูลไปยังสํานักงานเขตวามีการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณเพื่อควบคุมปองกันการแพรระบาดฯ จํานวนเทาใด และจะจัดสรรใหแตละเขตจํานวนเทาใด เพื่อท่ีสํานักงาน เขตจะไดxxxxxxxxxxxวาเพียงพอตอความตxxxxxหรือไม ตองจัดซื้อเพิ่มเติมอีกหรือไม เปนจํานวนเทาใด
สํานักการจราจรและขนสง
๑. การใหความรูxxxxxจราจร ควรดําเนินการใหครอบคลุมทุกเขตในโรงเรียนตางๆ
๒. ในสวนรถไฟมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นบอยกับเด็กๆ หากสํานักการจราจรฯ สํานักวัฒนธรรมฯ และสํานักสิ่งแวดลอม มีการxxxxxxงานรวมกันใหเด็กไดเรียนรูการใชรถจักรยาน โดยใชศักยภาพของทุกหนวยงาน มารวมกันจัดกิจกรรมในสวนรถไฟ จะเปนประโยชนมาก
สํานักxxxxศาสตรและประเมินผล
1. ควรให พชข. มาเปนเครื่องมือเพราะถามีแนวทางจาก พชข. จะxxxxxxขับเคลื่อน โครงการบูรณาการจะเปนประโยชน
2. การใชเงินกองทุนตองมีผลผลิตและผลลพธ ขอใหสํานกxxxxศาสตรและประเมินxxxxxทํา
กระบวนการคนหาปญหาเพื่อการแกปญหาใหกับประชาชนในพื้นที่เขต เมื่อมีกระบวนการสํารวจปญหา แนวทางแกไข ปญหา จะมีความยั่งยืน
3. โครงการสํารวจอาจจะยังไปไมถึงประชาชน สํานักxxxxศาสตรฯ ควรใหขอแนะนํา การอบรมที่จะใชเงินกรุงเทพมหานครหรือเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ในมิติสุขภาพ
สํานกการแพทย
1. การจัดทําโครงการเพื่อของบประมาณฯ ของโรงพยาบาลสังกัดสํานักการแพทยควร เสนอโครงการตอกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับกรุงเทพมหานคร (สxxxxxx) เนื่องจากโรงพยาบาลใหบริการแก ประชาชนในพื้นที่ตอเนื่องหลายเขต
2. สํานักการแพทยควรจัดทําโครงการเพื่อของบประมาณกองทุนฯ ตามภารกิจที่เกี่ยวของ กับประชาชน เชน การแพทยฉุกเฉินที่เกี่ยวของกับการกูชีพ สําหรับเด็กนักเรียน จิตอาสา ประชาชนทั่วไป รวมทั้ง สหวิชาชีพ เพื่อxxxxxบุคลากรจิตอาสาในการกูชีพใหมีจํานวนมากขึ้น xxxxxxใหการชวยเหลือเมื่อเกิดเหตุได โดยศูนยบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนยxxxxxxx) เปนหนวยงานที่จัดทําโครงการ
3. ทุกโรงพยาบาลสังกัดสํานักการแพทย ควรจัดทําโครงการที่เกี่ยวของกับการใหบริการ แกประชาชนตามความเหมาะสมของแตละโรงพยาบาล อยางนอยแหงละ 1 โครงการ เพื่อขอจัดสรรงบประมาณจาก กองทุนฯ เชน โรงพยาบาลราชพิพัฒนดําเนินการเกี่ยวกับผูสูงอายุ โรงพยาบาลตากสินดําเนินการเกี่ยวกับโรคหัวใจ โรงพยาบาลกลางเกี่ยวกับxxxxx โรงพยาบาลเจริญกรุงxxxxxรักษเกี่ยวของกับโรคไต เปนตน
4. สํานักการแพทยมีการจัดอบรมมาตรฐานอัคคีภัยในโรงพยาบาลทุกแหงเปนการซ มแผน
xxxxxเหตุ โดยสํานักการปองกันและxxxxxxสาธารณภัยควรรับภารกิจนี้เปนเจาภาพดําเนินการ เพื่อที่สํานักการแพทย จะไดไปดําเนินการในเรื่องอื่น ๆ
5. ควรมีการทํางานแบบมีสวนรวม โดยใหโรงพยาบาลที่มีแผนกจิตเวชเขามาชวยทํางาน แบงพื้นที่การทํางาน กรมสุขภาพจิตเสนอใหคําปรึกษาสายดวน 1323 หากสํานักการแพทยจัดบริการใหคําปรึกษา สุขภาพจิต จะมีงานสุขภาพจิตกี่แหง นอกเหนือจากการใหบริการดานจิตเวชในโรงพยาบาลขนาดใหญของกรุงเทพ - มหานคร เพื่อชวยทํางานเกี่ยวกับโรคภายหลังจากการติดเชื้อโควิด-19 คนปวยและคนไมปวยเริ่มมีการฆาตัวตายจาก ความเครียด ขอใหกรมสุขภาพจิตและสํานักการแพทยชวยกันดูแลสุขภาพจิตของคนกรุงเทพฯ
สํานกเทศกิจ
1. โครงการเปนประโยชนมาก เนื่องจากผูขับขี่รถจักรยานยนตรับจางสําคัญมาก เนื่องจาก สวนใหญเปนผูสูบบุหรี่ บริเวณจุดที่นั่งxxxรอผูโดยสาร
2. ในแตละวินรถจักรยานยนตรับจาง ควรใหเขาอบรม 7 – 8 คน เนื่องจากหากอบรมเพียง วินละ 1 – 2 คน จะไมกอใหเกิดกลุมการขยายผล และไมxxxxxxเขียนโครงการได หากงบประมาณที่ประมาณการไว ไมเพียงพอ ใหของบประมาณxxxxx
2. ตองอบรมใหทราบถึงเรื่องของกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครดวย โดย
xxxxxxสํานักอนามัยอบรมใหความรู ซึ่งภายหลังจากการอบรม ตองใหผูเขาอบรมxxxxxxเขียนโครงการเพื่อขอใช เงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครตอไปได เพ่ือทําโครงการเฝาระวัง เน่ืองจากมีการขับไปทั่วพื้นที่ เรื่องเหลาบุหรี่ หรือเรื่องอื่น ๆ เชน การออกกําลังกายในระหวางรอลูกคา เปนตน
สํานักการระบายน้ํา
๑. xxxxศาสตรของกรุงเทพมหานครตองเปนxxxxxxxxภาวะ ถากรุงเทพมหานครจะเปนxxxxx xxxภาวะ สํานักการระบายน้ําควรกําหนดสิ่งที่ควรจะเปนกับสิ่งท่ีเปนxxxแลว เมื่อเปรียบเทียบจะมีสิ่งที่ตองแกไข ปรับปรุง จะสงผลกับxxxxศาสตรและมีทิศทางในการทํางาน ตองวิเคราะหสภาพปญหาโดยรวม กิจกรรมที่จะทําเมื่อมี เปาหมายและกิจกรรมชัดเจน จะไมมีปญหาอุปสรรคในการเขียนโครงการ หนวยงานตองคนหาปญหาวาสาเหตุ เกิดจากสิ่งใด และเขียนโครงการเพื่อแกปญหามีxxxxxxxxxxอยางไรในการสรางเสริมสุขภาพของประชน
2. สํานักการระบายนําตองคิดถึงปญหาน้ําทวมทําใหประชาชนมีสุขภาพที่แยลงมีความเครียด เกิดขึ้น ตองคิดแกไขปญหาที่ตนเหตุ ปญหาน้ําทวม ทอระบายน้ําอุดตัน เกิดจากไขมันอุดตัน จากการใชน้ําและระบาย ลงสูทอระบายน้ําโดยตรง จะใหความรูประชาชนในการระบายนํ้าที่สะอาดลงสูทอสาธารณะอยางไร อาจดําเนินการ เปนโครงการนํารองโดยใหประชาชนมีสวนรวมในการดําเนินการ และใหหารือกับสํานักอนามัยในการจัดทําโครงการ เพื่อขอใชเงินดังกลาว
3. การสงเสริมสุขภาพของประชาชน ตองนําผลกระทบที่สําคัญมาเปนตัวxxx xxน เรื่องการ จัดเก็บคาบริการบําบัดนํ้าเสียในxxxxx ถาประชาชนไมชวยกันดูแลเรื่องน้ําใชตองมีการบําบัดกอน ก็จะตองเสียเงิน เพื่อเปนคาบําบัดน้ําเสีย
สํานกั ปองกันและxxxxxxสาธารณภัย
๑. xxxxศาสตรของกรุงเทพมหานครตองเปนxxxxxxxxภาวะ ถากรุงเทพมหานครจะเปนxxxxx xxxภาวะ สํานักปองกันและxxxxxxสาธารณภัยควรกําหนดสิ่งที่ควรจะเปนกับสิ่งที่เปนxxxแลว เมื่อเปรียบเทียบจะมี สิ่งที่ตองแกไขปรับปรุง จะสงผลกับxxxxศาสตรและมีทิศทางในการทํางาน ตองวิเคราะหสภาพปญหาโดยรวม กิจกรรม ที่จะทําเมื่อมีเปาหมายและกิจกรรมชัดเจน จะไมมีปญหาอุปสรรคในการเขียนโครงการ หนวยงานตองคนหาปญหาวา สาเหตุเกิดจากสิ่งใด และเขียนโครงการเพื่อแกปญหา มีxxxxxxxxxxอยางไรในการสรางเสริมสุขภาพของประชน
2. สํานักปองกันและxxxxxxสาธารณภัยควรxxxxxxxให อปพร.รวมกลุมกันและเขียน โครงการเพื่อขอใชเงินกองทุนฯ รวมกับภาคประชาชน เกี่ยวกับการแกไขเพื่อลดปญหาอุบัติเหตุและปองกันสาธารณภัย ในพื้นที่
3. สํานักการแพทยมีการจัดอบรมมาตรฐานอัคคีภัยในโรงพยาบาลทุกแหงเปนการซอมแผน xxxxxเหตุ โดยสํานักการปองกันและxxxxxxสาธารณภัยจะรับภารกิจนี้เปนเจาภาพดําเนินการ ก็จะสงตอภารกิจให เพื่อที่สํานักการแพทยจะไดไปดําเนินการในเรื่องอื่นๆ
สํานักสิ่งแวดลอม
1. สํานักสิ่งแวดลอมควรเสนอโครงการควรจัดหาอุปกรณปองกันโรคโควิด-19 ใหแก บุคคลากรใหเพียงพอเนื่องจากเปนผูที่มีความเสี่ยงสูง เพื่อใหเกิดความปลอดภัย เปนขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงาน
2. การเสนอโครงการจัดซื้อตองไมซ้ําซอนกับที่หนวยงานดําเนินการ
สํานักงานตลาดกรุงเทพมหานคร
ขอใหสํานักงานตลาดกรุงเทพมหานครพิจารณาจัดทําโครงการ/กิจกรรมในการสงเสริม
ปองกันโรคในตลาดเพื่อของบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครและนําเสนอคณะกรรมการ วิสามัญฯ ในการประชุมในโอกาสตอไป
ขอเสนอแนะการดําเนินการภาพรวมของกรุงเทพมหานคร
1. การจัดทําโครงการในภาพรวมของแตละสํานัก ตองแจงใหสํานักงานเขตทราบวาแตละ สํานักกําลังทําโครงการใดอยูแลวบาง เพ่ือลดความซ้ําซอน และเพื่อแจงอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต ทราบ เพื่อเปนขอมูลประกอบการพิจารณาโครงการที่เสนอเขามา
2. หนวยงานของกรุงเทพมหานคร เชน สํานักการศึกษา สํานักการแพทย สํานักพัฒนาสังคม ควรมีการจัดทําโครงการตามบทบาทหนาที่ของหนวยงานเพ่ือชวยเหลือประชาชนในสถานการณการแพรระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยขอรับเงินสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เปนการดูแล คุณภาพชีวิตของประชาชน และขอใหสํานักอนามัยเรงรัดติดตามการเสนอโครงการของหนวยงานตาง ๆ
3. ควรมีการจัดตั้งสํานักงานที่ดูแลกองทุนหลักประกันสุขภาพ โดยเฉพาะทั้งในสํานัก อนามัยและทุกสํานักงานเขตดวย โดยเปนการจางบุคลากรมารับผิดชอบงานโดยตรง
4. ควรมีการประชาสัมพันธใหหนวยงานภายนอกกรุงเทพมหานครทราบวา สามารถเขียน โครงการเพื่อขอใชเงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครได
5. แมขายของคลินิกชุมชนอบอุนแตละโซน ควรชี้แจงใหแตละคลินิกทราบวา สามารถเขา รวมได โดยการเขียนโครงการเพื่อขอใชเงินจากกองทุนฯ
6. ควรมีรูปแบบที่เหมาะสมที่จะกระตุนใหภาคประชาชน มูลนิธิ องคกรภาครัฐอื่น ๆ ที่มี หนาที่ในการพัฒนารูปแบบ และผูนําชุมชน มาขอใชเงินจากกองทุนฯ เชน การเชิญมูลนิธินายแพทยสมบูรณ วัชรโรทัย มาเขียนขอใชเงินจากกองทุนฯ จากเขตสะพานสูง คันนายาว บางกะป หรือมูลนิธิแพธทูเฮลท (Path2Health Foundation) ซึ่งไดดําเนินการพัฒนารูปแบบเรื่องการตั้งครรภในวัยรุน ผานเครือขายวัยรุนหรือสภาเด็ก การฝกอบรมครูในเรื่อง เพศศึกษา เปนตน โดยควรประสานใหมารวมในลักษณะเปนผูประสานงานหรือผูจัดการรวมแลวมาขอใชเงินจาก กองทุนฯ เพื่อดําเนินโครงการตอไปไดในทุกพื้นที่เขต
หนวยงานภายนอกกรุงเทพมหานคร
สํานกงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ
1. ควรมีการแบงพื้นที่ระหวาง สสส.กับกรุงเทพมหานคร โดยใหมีการถายทอดความรูใน การจัดทําโครงการ หรือ สสส. จะเขามาชวยในเรื่องกระบวนการจัดการ โดยหนวยจัดการ กทม. มาชวยดูแลโครงการ ทั้งหมด จะชวยให สสส. มีโครงการที่จะขยายผลตอไป
2. การดําเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพของกรุงเทพมหานครยังมีจุดออน เนื่องจากโครงสรางระดับเขต บางเขตไมเขมแข็ง ทําใหโครงการไมเกิดขึ้น สสส.มีหนวยจัดการในพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร หากมีการขอความรวมมือ สสส. ใหเขามาชวยออกแบบโครงการกระจายใหทุกเขต ใหความรูเชิงประเด็นกับ คณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขตเพื่อนําโครงการไปขยายผลในเชิงพื้นที่จะเปนประโยชนมาก
3. กรุงเทพมหานครและสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพควรตองทํา MOU รวมกันทํางานในเรื่องการสรางเสริมสุขภาพ และกรุงเทพมหานครตองมีคณะอนุกรรมการติดตามเชิงประเด็นเพื่อเปน พี่เลี้ยงลงไปตรวจสอบกระบวนการมากขึ้น
กรมสุขภาพจิต
1. วัตถุประสงคของการใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เพื่อใหเ งินลงสู ประชาชนและใหประชาชนมีสวนรวมเปนกิจกรรมภาคีเครือขาย งบประมาณเงินกองทุนจะไมรองรับคาตอบแทน บุคลากร
2. ตองการใหมูลนิธิเขามารวมทําโครงการเพื่อขอรับเงินกองทุนฯ มากกวาที่กรมสุขภาพจิตจะ เปนผูที่จัดทําโครงการเอง โดยใหโครงการมีผลผลิตและผลลัพธที่ชัดเจน สวนเรื่องการใหคําปรึกษาอาจจะไปขอใชเงิน จาก สสส. แทน
3. ควรมีการทํางานแบบมีสวนรวม โดยใหโรงพยาบาลที่มีแผนกจิตเวชเขามาชวยทํางาน แบงพื้นที่การทํางาน กรมสุขภาพจิตเสนอใหคําปรึกษาสายดวน 1323 หากสํานักการแพทยจัดบริการใหคําปรึกษา สุขภาพจิต จะมีงานสุขภาพจิตกี่แหง นอกเหนือจากการใหบริการดานจิตเวชในโรงพยาบาลขนาดใหญของกรุงเทพ - มหานคร เพื่อชวยทํางานเกี่ยวกับโรคภายหลังจากการติดเชื้อโควิด-19 คนปวยและคนไมปวยเริ่มมีการฆาตัวตายจาก ความเครียด ขอใหกรมสุขภาพจิตและสํานักการแพทยชวยกันดูแลสุขภาพจิตของคนกรุงเทพฯ
4. การจัดทําโครงการ ควรเปนโครงการพัฒนาการเด็กลาชา โดยใหผูปกครองและผูท่ีดูแล เด็กเขารวมกิจกรรมดวย มีการวัดพัฒนาการกอนและหลัง โดยทํารวมกับศูนยบริการสาธารณสุข
5. วิธีการดําเนินโครงการ ควรสํารวจหากลุมเด็กที่มีพัฒนาการลาชา เชน ในศูนยเด็กเล็ก
สวนใหญเด็กมีพัฒนาการลาชา ศูนยเด็กฯ ทมีผูดูแลเด็กที่ไมมีประสบการณ เด็กจะไมไดรับการพัฒนา ทําอยางไรให
โครงการเขาไปสูการคนหาเด็กที่มีพัฒนาการลาชาเพื่อใหโครงการเกิดผลสัมฤทธิ์
กวาเด็กปกติ
6. ขอใหพิจารณาในเด็กท
มาธิสั้นดวย เนื่องจากเด็กในกลุมเหลานี้จะมีพฒนาการที่ลาชา
กิจกรรมทส
7. ขอใหกรมสุขภาพจิตจัดทําโครงการที่เนนในเรื่องการของพัฒนาการเด็กลาชา ใหม
งเสริมใหเด็กมีพัฒนาการขึ้น ไมควรเนนในเรื่องของการอบรม
สถาบนพฒนาสุขภาวะเขตเมือง กรมอนามัย
1. โครงการที่มีการพัฒนาศักยภาพเครือขาย สามารถสรางโมเดลเพื่อนําไปปรับใชได ซึ่งการใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครมีความสําคัญควรนําไปใชใหเกิดประโยชนในปตอไป
2. สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมืองเปนหนวยงานที่จะชวยหนวยงานอื่นที่ยังไมมี ประสบการณ และหนวยงานอื่นสามารถนําโครงการไปปรับใชได
บทสรุป
การทํางานเรื่องกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครจะตองมีการพัฒนาอยางตอเนื่องเพ่ือให
ประชาชนไดรับประโยชนอยางจริงจัง ภายใตหลักการแนวคิดวาเงินกองทุนนี้จะใชในการสงเสริมปองกันโรคบุคคล ครอบครัว และชุมชน โดยการมีสวนรวมของภาคประชาชน มูลนิธิ องคกร สมาคม ภายใตการสนับสนุนหนวยงานของรัฐ หรืออาจใชเพื่อการสงเสริมสุขภาพปองกันโรคและฟนฟูสุขภาพของประชาชน โดยหนวยงานของรัฐมีงบประมาณจาก ภาครัฐไมเพียงพอ
(นายพรเทพ ศิริวนารังสรรค) ประธานคณะกรรมการวิสามัญฯ
ภาคผนวก
ตารางที่ 1 ความคืบหนาในการใชเงินกองทุนหลกประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
ประเภทแผนงาน/โครงการ/ กิจกรรม | ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ไตรมาส 1 ต.ค.-ธ.ค.) | ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ไตรมาส 2 ม.ค.-มี.ค.) | ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ไตรมาส 3 เม.ย.-มิ.ย.) | ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ไตรมาส 4 ก.ค.-ก.ย.) | ||||
จํานวน โครงการ | งบประมาณ (บาท) | จํานวน โครงการ | งบประมาณ (บาท) | จํานวน โครงการ | งบประมาณ (บาท) | จํานวน โครงการ | งบประมาณ (บาท) | |
ประเภท 1 สนับสนุนหนวยบริการ/ สถานบริการ/หนวยงานสาธารณสุข | 2 | 11,612,000.00 | 3 | 6,922,720.00 | - | - | 1 | 5,000,000.00 |
ประเภท 2 สนับสนุนองคกรหรือ กลุมประชาชน/หนวยงานอื่นของรัฐ | - | - | 2 | 544,820.00 | 2 | 1,171,310.00 | - | - |
ประเภท 3 สนับสนุนศูนยพัฒนา เด็กเล็ก/ผูสูงอายุ/คนพิการ | - | - | - | - | - | - | - | - |
ประเภท 4 สนับสนุนการบริหาร/พัฒนา กองทุนฯ | - | - | - | - | - | - | 8 | 74,921,985 |
ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิด โรคระบาด/ภัยพิบัติในพื้นที่ | - | - | - | - | 3 | 63,772,614.00 | 2 | 72,118,240.00 |
รวม | 2 | 11,612,000.00 | 5 | 7,467,540.00 | 5 | 64,943,924.00 | 11 | 157,089,720.00 |
ขอมูล ณ วันที่ 11 มีนาคม 2565
ตารางที่ 2 ความคืบหนาในการใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ปงบประมาณ พ.ศ.2565 (ไตรมาส 1/2565)
ประเภทแผนงาน/โครงการ/ กิจกรรม | ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ไตรมาส 1 ต.ค.-ธ.ค.) | |
จํานวน โครงการ | งบประมาณ (บาท) | |
ประเภท 1 สนับสนุนหนวยบริการ/สถาน บริการ/หนวยงานสาธารณสุข | 3 | 1,538,340.00 |
ประเภท 2 สนับสนุนองคกรหรือกลุม ประชาชน/หนวยงานอื่นของรัฐ | 5 | 3,694,986.00 |
ประเภท 3 สนับสนุนศูนยพัฒนาเด็กเล็ก/ ผูสูงอายุ/คนพิการ | - | - |
ประเภท 4 สนับสนุนการบริหาร/พัฒนา กองทุนฯ | - | - |
ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาด/ ภัยพิบัติในพื้นที่ | 1 | 85,895,810.00 |
รวม | 9 | 91,129,136.00 |
ขอมูล ณ วันที่ 11 มีนาคม 2565
ประเภท 1 | ประเภท 2 | ประเภท 3 | ประเภท 4 | ประเภท 5 | |
ปงบประมาณ พ.ศ.2564 | 23,534,720.00 | 1,716,130 | 0 | 74,921,985.00 | 135,890,854 |
ปงบประมาณ พ.ศ.2565 (ไตรมาส 1) | 1,538,340.00 | 3,694,986.00 | 0 | 0 | 85,895,810.00 |
แผนภูมิที่ 1 แผนภูมิเปรียบเทียบความคืบหนาในการใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
ปงบประมาณพ.ศ.2564 - พ.ศ.2565 (ไตรมาส 1/2565)
160,000,000.00
140,000,000.00
120,000,000.00
100,000,000.00
80,000,000.00
60,000,000.00
40,000,000.00
20,000,000.00
0.00
135,890,854
74,921,985.00
85,895,810.00
23,534,720.00
1,538,340.00
3,694,986.00
1,716,130
0
0
0
ปงบประมาณ พ.ศ.2564
ปงบประมาณ พ.ศ.2565 (ไตรมาส 1)
บาท
ตารางที่ 3 โครงการที่เสนอขอโดยหนวยงานของ กทม. ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
หนวยงาน | จํานวนโครงการ | งบประมาณรวมที่ขอ (บาท) | วัตถุประสงค | ||||
6(1) | 6(2) | 6(3) | 6(4) | 6(5) | |||
สํานักการแพทย | 2 | 49,861,440.00 | 1 | - | - | - | 1 |
สํานักอนามัย | 6 | 39,422,839.00 | 4 | - | - | - | 2 |
สํานักสิ่งแวดลอ ม | 2 | 65,135,295.00 | - | - | - | - | 2 |
สํานักการศึกษา | 1 | 330,220.00 | - | 1 | - | - | - |
สํานักพัฒนาสังคม | 0 | 0 | - | - | - | - | - |
สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเที่ยว | 0 | 0 | - | - | - | - | - |
สํานักงานกองทุนฯ | 11 | 71,647,360.00 | - | - | - | 11 | - |
รวม | 23 | 226,397,154.00 | 5 | 1 | - | 11 | 6 |
ขอมูล ณ วันที่ 11 มีนาคม 2565
ตารางที่ 4 โครงการที่เสนอขอโดยหนวยงานของ กทม. ปงบประมาณ พ.ศ. 2565
หนวยงาน | จํานวนโครงการ | งบประมาณรวมท่ีขอ | วตั ถุประสงค | ||||
6(1) | 6(2) | 6(3) | 6(4) | 6(5) | |||
สํานักการแพทย | 1 | 5,000,000.00 | 1 | - | - | - | - |
สํานักอนามัย | 4 | 19,847,036.00 | 3 | - | - | - | 1 |
สํานักสิ่งแวดลอ ม | 1 | 9,153,080.00 | - | - | - | - | 1 |
สํานักการศึกษา | 2 | 87,663,890.00 | - | 1 | - | - | 1 |
สํานักพัฒนาสังคม | 1 | 1,155,000.00 | - | - | - | - | 1 |
สํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเท่ียว | 1 | 49,968,000.00 | - | - | - | - | 1 |
สํานักงานกองทุนฯ | 11 | 77,758,145.00 | - | - | - | 11 | - |
รวม | 21 | 250,545,151.00 | 4 | 1 | - | 11 | 5 |
ขอมูล ณ วันที่ 11 มีนาคม 2565
100,000,000.00
90,000,000.00
80,000,000.00
แผนภูมิที่ 2 แผนภูมิเปรียบเทียบโครงการที่เสนอขอโดยหนวยงานของ กทม. ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
และปงบประมาณ2565 (ไตรมาส 1)
87,663,890.00
77,758,145.00
71,647,360.00
70,000,000.00
60,000,000.00
บาท
50,000,000.00
65,135,295.00
49,861,440.00
49,968,000.00
40,000,000.00
30,000,000.00
20,000,000.00
10,000,000.00
0.00
39,422,839.00
19,847,036.00
5,000,000.00
9,153,080.00
330,220.00
1,155,000.00
0 0
สังคม | ฯ | ||||||
ปงบประมาณ 2564 | 49,861,440.0 | 39,422,839.0 | 65,135,295.0 | 330,220.00 | 0 | 0 | 71,647,360.0 |
ปงบประมาณ 2565 | 5,000,000.00 | 19,847,036.0 | 9,153,080.00 | 87,663,890.0 | 1,155,000.00 | 49,968,000.0 | 77,758,145.0 |
สํานักพัฒนา
สํานักงานกองทุน
สํานักการแพทย สํานักอนามัย
สํานักสิ่งแวดลอม สํานักการศึกษา
สํานักวัฒนธรรมฯ
ปงบประมาณ 2564 ปงบประมาณ 2565
ตารางที่ 5 ความคืบหนาในการใชเงินกองทุนหลก
ประกันสุขภาพเขต ปงบประมาณ 2564
ประเภทแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรม | ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ไตรมาส 1 ต.ค.-ธ.ค.) | ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ไตรมาส 2 ม.ค.-มี.ค.) | ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ไตรมาส 3 เม.ย-มิ.ย.) | ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ไตรมาส 4 ก.ค.-ก.ย.) | ||||
จํานวน โครงการ | งบประมาณ (บาท) | จํานวน โครงการ | งบประมาณ (บาท) | จํานวน โครงการ | งบประมาณ (บาท) | จํานวน โครงการ | งบประมาณ (บาท) | |
ประเภท 1 สนับสนุนหนวย บริการ/สถานบริการ/ หนวยงานสาธารณสุข | - | - | - | - | 24 | 1,496,404.10 | 51 | 2,459,115.50 |
ประเภท 2 สนับสนุนองคกร หรือกลุมประชาชน/ หนวยงานอื่นของรัฐ | - | - | 5 | 1,660,070 | 246 | 14,965,055.70 | 489 | 23,307,960.23 |
ประเภท 3 สนับสนุนศูนย พัฒนาเด็กเล็ก/ผูสูงอายุ/ คนพิการ | - | - | - | - | - | - | - | - |
ประเภท 4 สนับสนุนการ บริหาร/พัฒนากองทุนฯ | 54 | 55,303,190.00 | - | - | - | - | - | - |
ประเภท 5 สนับสนุนกรณี เกิดโรคระบาด/ภัยพิบัติ ในพื้นที่ | - | - | - | - | - | - | 113 | 44,590,546.00 |
รวม | 54 | 55,303,190.00 | 5 | 1,660,070 | 270 | 16,461,459.80 | 653 | 70,357,621.73 |
ขอมูลจากฝายการคลังกองทุนฯ ณ วันที่ 12 มีนาคม 2565
ตารางที่ 6 ความคืบหนาในการใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต ปงบประมาณ 2565 (ไตรมาส 1/2565)
ประเภทแผนงาน/โครงการ/ กิจกรรม | ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ไตรมาส 1/2565) | |
จํานวน โครงการ | งบประมาณ (บาท) | |
ประเภท 1 สนับสนุนหนวยบริการ/สถาน บริการ/หนวยงานสาธารณสุข | 1 | 53,210.00 |
ประเภท 2 สนับสนุนองคกรหรือกลุม ประชาชน/หนวยงานอื่นของรัฐ | 98 | 4,545,062.27 |
ประเภท 3 สนับสนุนศูนยพัฒนาเด็กเล็ก/ ผูสูงอายุ/คนพิการ | - | - |
ประเภท 4 สนับสนุนการบริหาร/พัฒนา กองทุนฯ | - | - |
ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาด/ ภัยพิบัติในพื้นที่ | 42 | 4,941,203.00 |
รวม | 141 | 9,539,475.27 |
ขอมูล ณ วันที่ 11 มีนาคม 2565
แผนภูมิที่ 3 แผนภูมิความคืบหนาในการใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต ปงบประมาณ 2564และ ปงบประมาณ2565 (ไตรมาส 1)
60,000,000.00
50,000,000.00
40,000,000.00
39,933,085.93
55,303,190
44,590,546
บาท
30,000,000.00
20,000,000.00
10,000,000.00
ประเภท 1 | ประเภท 2 | ประเภท 3 | ประเภท 4 | ประเภท 5 | |
ปงบประมาณ พ.ศ.2564 | 3,955,519.60 | 39,933,085.93 | 0 | 55,303,190 | 44,590,546 |
ปงบประมาณ พ.ศ.2565 | 53,210 | 4,545,062.27 | 0 | 0 | 4,941,203 |
0.00
3,955,519.60
53,210
4,545,062.27
0 0 0
4,941,203
ปงบประมาณ พ.ศ.2564 ปงบประมาณ พ.ศ.2565
1. ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต 50 เขต
มุมมองของเจาหนาท่ีผูปฏิบติงาน
สํานักอนามัย นําเสนอขอมูลสรุปความคิดเห็นจากการสํารวจปญหาและอุปสรรคในการ ดําเนินการระบบหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ระดับเขตพื้นที่
๑. ปญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวของกับสํานักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร และสํานกงานกองทุน สาขา เชน โครงสราง อํานาจหนาที่ อัตรากําลัง เปนตน
ปญหาและอุปสรรค | แนวทางการแกไขปญหา | ขอเสนอแนะ |
ผูปฏิบัติงานไมมีความรูความเขาใจในการปฏิบัติงาน ทําใหเกิดความลาชาในการปฏิบัติงาน หรือปฏิบัติงาน ไมถูกตองตามที่กฎหมายกําหนด เชน การจัดทํา เอกสารตาง ๆ การกําหนดรหัสแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม การจัดทํารายงานการประชุม เปนตน หรือไมสามารถแนะนําผูเสนอแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมไดอยางละเอียดและตรงตามความ ตองการ | - จัดอบรมผูปฏิบัติงานใหมีความรูความเขาใจ ในการปฏิบัติงาน - จัดทําคูมือสําหรับผูปฏิบัติงานโดยละเอียด แสดงขั้นตอนการดําเนินการกอนหลังที่เขาใจงาย และไมยาวเกินไป พรอมตัวอยางการจัดทํา และลงรายละเอียดในแบบเอกสารทุกชนิด | - |
แบงหนาที่ในการปฏิบัติงานไวไมชัดเจน เชน การแบง หนาที่ระหวางฝายการคลังและฝายพัฒนาชุมชน- และสวัสดิการสังคม การแบงหนาที่ของบุคลากร- ภายนอกชวยปฏิบัติงาน (จางเหมา) เปนตน รวมท้ง กําหนดหนาท่ีของฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม ไวไมเหมาะสม เนื่องจากไมมีความรูดานอื่น ๆ โดยเฉพาะ ดานสาธารณสุข | กําหนดหนาที่ในการปฏิบัติงานใหมีความชัดเจน และเหมาะสม | เพิ่มเจาหนาที่ศูนยบริการ สาธารณสุขใหปฏิบัติงานใน สํานักงานกองทุนสาขา เนื่องจากเปนผูมีความรูดาน สาธารณสุข |
กําหนดแนวทางในการปฏิบัติงานและระบบงานสาร บรรณของสํานักงานกองทุนสาขาไวไมชัดเจน | กําหนดแนวทางในการปฏิบัติงานและระบบงาน- สารบรรณของสํานักงานกองทุนสาขาใหมีความชัดเจน และเปนไปในทิศทางเดียวกัน | - |
อัตรากําลังมีไมเพียงพอตอการปฏิบัติงาน และบุคลากร ที่ไดรับมอบหมายใหปฏิบัติหนาที่ในสํานักงานกองทุน- สาขามีการเปล่ียนแปลงโยกยายตําแหนงบอยหรือไมมี ผูดํารงตําแหนง | เพิ่มอัตรากําลัง โดยเฉพาะบุคลากรภายนอกชวยปฏิบัติงาน (จางเหมา) ใหมีจํานวนเทากันทุกสํานักงานกองทุน- สาขา | ก รุง เทพมหา น ค รค ว ร กําหนด อัตรา กําลังของ สํานักงานเขตใหเพียงพอ เพื่อรองรับภารกิจงานใหมที่ รับมาเพิ่มเนื่องจากบุคลากร ภายนอกชวยปฏิบัติงาน (จางเหมา) ถูกจํากัดในเรื่อง อํานาจหนาที่ และความ ชํานาญในการปฏิบัติงาน |
ไมมีสถานที่ในการปฏิบัติงาน ทําใหขาดความคลองตัว | จัดหาสถานที่สําหรับปฏิบัติงาน และจัดหางบประมาณ สนับสนุน | - |
๒. ปญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวของกับการจัดสรรกรอบวงเงิน เชน ความเหมาะสมของกรอบวงเงินที่ไดรับ เปนตน
ปญหาและอุปสรรค | แนวทางการแกไขปญหา | ขอเสนอแนะ |
จัดสรรกรอบเงินลาชา ทําใหแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ไดรับอนุมัติไปแลว ตองนําเขาที่ประชุม เพื่อพิจารณาใหม สงผลใหตองทํางานซํ้าซอน รวมท้ัง ไมสามารถบริหารจัดการวงเงินที่ไดรับจัดสรรไดอยางมี ประสิทธิภาพ | จัดสรรกรอบวงเงินตั้งแตตนปงบประมาณ | - |
๓. ปญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวของกับการเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม รวมถึงขั้นตอนตาง ๆ ที่เกี่ยวของ กับการเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม เชน แบบเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม ระยะเวลาในการ เสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม เปนตน
ปญหาและอุปสรรค | แนวทางการแกไขปญหา | ขอเสนอแนะ |
แบบเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมมีรายละเอียด คอนขางมาก รวมทั้งตองใชเอกสารประกอบในการ เสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมคอนขางเยอะ เชน ใบเสนอราคาจากรานคาจํานวน ๓ ราย เปนตน และกระบวนการและขั้นตอนในการเสนอแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรมคอนขางซับซอน ทําให ผูเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมโดยเฉพาะ ภาคประชาชนเกิดความยุงยากและอาจไมมาเสนอ แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมได | - กําหนดแบบเสนอเเผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม ใหเขาใจงายและไมซับซอนมีความเหมาะสม สําหรับประชาชนทั่วไป - กําหนดเอกสารที่ใชประกอบในการเสนอแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรมเฉพาะที่จําเปน - ยกเลิกกระบวนการและขั้นตอนในการเสนอแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรมที่เปนการสรางขั้นตอน เกินไมจําเปน | - สรางความรูเขาใจใหกับ ประชาชนในการเสนอ เเผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม - ควรมีตัวอยางเเผนงาน ห รือโ ค รง ก า รห รื อ กิจกรรมใหกับประชาชน หรือผูที่สนใจจะเสนอ เเผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมอยาง ครอบคลุม |
ระยะเวลาในการเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม และระยะเวลาในการพิจารณาแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมกําหนดไวไมเหมาะสม อาจไมทันตอ การดําเนินการตามแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม | กําหนดระยะเวลาในการพิจารณาแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมใหมีการยืดหยุนและเหมาะสม | - |
ผูเสนอเเผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมไมมีความรู ความเขาใจในวัตถุประสงคของกองทุนหลักประกัน- สุขภาพกรุงเทพมหานคร ทําใหจัดทําแผนงานหรือ โครงการหรือกิจกรรมเพื่อขอรับการสนับสนุนเงิน คาใชจาย ท่ีไมเปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุน หรือไมสอดคลองกับอัตราคาใชจายที่กองทุนกําหนด หรือทําใหเกิดความลาชาในการจัดทําแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม | - จัดประชุมชีแ้ จงทําความเขาใจหรืออบรมเชิงปฏิบัติการ ในการจัดทําเเผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม ใหแกประชาชนหรือผท่ีสนใจจะเสนอเเผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรม - ใหผูปฏิบัติงานในสํานกั งานกองทุนสาขาใหคําแนะนํา ในการจัดทําเเผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม แกประชาชนหรือผท่ีสนใจจะเสนอเเผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรม - จัดพิมพคูมือการจัดทําเเผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมสําหรับใหสํานักงานกองทุนสาขาไวแจก แกประชาชนหรือผูท่ีสนใจจะเสนอเเผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรม | - ควรจดสรรงบประมาณให สํานักงานเขตสามารถจดั ประชุมช้แี จงทําความเขาใจ หรืออบรมเชิงปฏิบัติการ ในการจัดทําเเผนงานหรือ โครงการหรือกิจกรรม ใหแกประชาชนหรือผูที่ สนใจจะเสนอเเผนงาน หรือโครงการหรือ กิจกรรมได - ไมควรเรงรัดใหสํานักงาน เขตดําเนินการโดยที่ ประชาชนยังไมมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับกองทุน |
ปญหาและอุปสรรค | แนวทางการแกไขปญหา | ขอเสนอแนะ |
หลักประกันสุขภาพ กรุงเทพมหานคร |
๔. ปญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวของกับการอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม เชน การพิจารณาผูมีสิทธิเสนอ แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม การพิจารณาคาใชจายตาง ๆ เปนตน รวมถึงขั้นตอนตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการ อนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม เชน การแจงผลการอนุมัติหรือไมอนุมัติ แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม การจัดทําหนังสือขอเปดบัญชีเงินฝากธนาคาร การเปดบัญชีเงินฝากธนาคารของผูเสนอแผนงานหรือโครงการหรือ กิจกรรม เปนตน
ปญหาและอุปสรรค | แนวทางการแกไขปญหา | ขอเสนอแนะ |
แนวทางหรือหลักเกณฑในการพิจารณาคาใชจายตาง ๆ ในการดําเนินการตามแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม ไมมีความชัดเจน สวนใหญเปนการใชดุลยพินิจของ คณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต ทําให คาใชจายในการดําเนินการตามแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมที่มีลักษณะเหมือนกันน้นไดรับสนับสนุน ในอัตราที่ไมเทากันในแตละเขตพ้ืนที่ รวมท้ังไมทราบ ประเภทของพัสดุวาสิ่งที่ผูเสนอแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมขอรับสนับสนุนนั้นเปนวัสดุหรือครุภัณฑ เนื่องจากสํานักงานเขตไมเคยจัดซื้อมากอน | - กําหนดแนวทางหรือหลกั เกณฑในการพิจารณา คาใชจายตาง ๆ ในการดําเนินการตามแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรมใหมีความชัดเจน เชน คาใชจายใดบางที่กองทุนสามารถสนับสนุนได และคาใชจายใดบางที่ไมสามารถสนับสนุนได เปนตน รวมทั้งจัดทําราคากลางของวัสดุหรือครุภัณฑ ที่สามารถสนับสนุนได - กําหนดประเภทพัสดุใหมีความชัดเจน | - |
คณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต ไมมีความรูความเขาใจในวัตถุประสงคของกองทุน หลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครและกฎหมายตาง ๆ รวมทงั้ ไมมีความรูความเขา ใจในวัตถุประสงค หรือ วิธีดําเนินการหรือตัวชี้วัดหรือการวดผลของ แผนงาน หรือกิจกรรมที่ขอรับสนับสนุนเงินคาใชจาย ในบาง ประเภท ทําใหเกิดความไมมั่นใจในการอนุมัติ แผนงานนหรือโครงการหรือกิจกรรม | จัดอบรมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกัน- สุขภาพเขต ใหมีความรูความเขาใจในวัตถุประสงค ของกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เพื่อสรางความม่ันใจในการอนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม รวมทั้งสงผูเเทนจากสํานักอนามัยเขา รวมการประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกัน- สุขภาพเขต เพื่อใหคําแนะนําและขอเสนอแนะตาง ๆ ในชวงแรกของการทําหนาที่ของคณะอนุกรรมการ เพื่อใหการทําหนาที่เปนไปในทางทิศทางเดียวกัน | - |
ระยะเวลาในการดําเนินงานแตละขั้นตอนคอนขางนอย | กําหนดระยะเวลาในการดําเนินงานแตละขั้นตอน ใหเหมาะสม | - |
วงเงินในการสนับสนุนคาใชจายในการจัดซื้อครุภัณฑ นอยเกินสมควร | กําหนดวงเงินในการสนับสนุนคาใชจายในการจัดซื้อ ครุภัณฑใหเหมาะสม | - |
เจาหนาที่ธนาคารไมเขาใจหลักเกณฑในการเปด บัญชีเงินฝากของกองทุน เชน ธนาคารบางสาขาแจงวา ไมสามารถเปดบัญชีเงินฝากธนาคารได หรือแจงวาตอง มีเงินฝากขั้นต่ําหารอยบาท เปนตน | มีหนังสือประสานงานไปยังธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ใหมีการยกเวนเงินฝากขั้นต่ําสําหรับบัญชี ที่ไวสําหรับรับเงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ- กรุงเทพมหานคร | - |
ไมสามารถสนับสนุนคาตอบแทนและคาเดินทางได | - | - |
กําหนดใหบุคคลรวมตัวกันแตตั้ง ๕ คนข้ึนไป จึงจะมี สิทธิเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมนั้นเปน จํานวนที่มากเกินสมควร | กําหนดใหบุคคลรวมตัวกันแตต้ง ๓ คนขึ้นไป มีสิทธิ เสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม | - |
ปญหาและอุปสรรค | แนวทางการแกไขปญหา | ขอเสนอแนะ |
การพิจารณาวาผูเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม เปนมีสิทธิเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม หรือไมน้นคอนขางยาก เชน กลุมวิสาหกิจชุมชน องคกรสวัสดิการชุมชน ชมรมผูสูงอายุ เปนตน | กําหนดแนวทางในการพิจารณาผูมีสิทธิเสนอแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรมใหมีความชัดเจน | - |
๕. ปญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวของกับการจัดทําบันทึกขอตกลง
ปญหาและอุปสรรค | แนวทางการแกไขปญหา | ขอเสนอแนะ |
เอกสารประกอบการจัดทําบันทึกขอตกลงมีมากเกินสมควร และใชเอกสารซ้ําซอนซึ่งอาจกอใหเกิดขอผิดพลาด และทําใหการจัดเตรียมเอกสารใชเวลาคอนขางมาก | ยกเลิกเอกสารประกอบการจัดทําบันทึกขอตกลง ที่ซํ้าซอนและเกินความจําเปน | - |
แบบบันทึกขอตกลงมีรายละเอียดเกินสมควร ทําให ผูปฏิบัติงานและผูเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม เกิดความสับสน | ยกเลิกรายละเอียดของแบบบันทึกขอตกลงที่เกิน ความจําเปน | - |
๖. ปญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวของกับการเบิกเงินและการจายเงิน รวมถึงการเบิกจายเงินคาใชจายใหแกสํานักงานเขต ไวสําหรับเบิกจายใหแกผูเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม
ปญหาและอุปสรรค | แนวทางการแกไขปญหา | ขอเสนอแนะ |
การเบิกเงินและการจายเงินมีหลายขั้นตอนเกินความ จําเปน คอนขางยุงยาก และซ้ําซอน ทําใหเกิดความ ลาชา | ยกเลิกกระบวนการและขั้นตอนในการการเบิกเงิน และการจายเงินที่เปนการสรางขั้นตอนเกินไมจําเปน | - |
๗. ปญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวของกับการบันทึกบัญชีและการรายงาน
ปญหาและอุปสรรค | แนวทางการแกไขปญหา | ขอเสนอแนะ |
บัญชีและรายงานที่สํานักงานกองทุนสาขาตองจัดทํา มีคอนขางมาก | - | - |
๘. ปญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวของกับการกํากับติดตามเงินกองทุน รวมถึงขั้นตอนการรับและสงเงินเหลือจากการ ดําเนินงานรวมถึงดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารคืนกองทุน และการควบคุมครุภัณฑขององคกรหรือกลุมประชาชน
ปญหาและอุปสรรค | แนวทางการแกไขปญหา | ขอเสนอแนะ |
ไมมีการกําหนดเรื่องการควบคุมครุภัณฑขององคกร หรือกลุมประชาชนที่ชัดเจน | กําหนดแบบเอกสารหรือแนวทางในการควบคุมครุภัณฑ ขององคกรหรือกลุมประชาชน | - |
ผูไดรับสนับสนุนเงินคาใชจายในการดําเนินการ ตามแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมจากกองทุน- หลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครยังไมมีความรู ความเขาใจในการติดตามและประเมินผลแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรม | สรางความรูเขาใจใหกับผูไดรับสนับสนุนเงินคาใชจาย ในการดําเนินการตามแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม จากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ในเรื่องการติดตามและประเมินผลแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม หรือมอบหมายหนวยงานหรือผูปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวของแจงแนวทางการติดตามและประเมินผล แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมใหผูไดรับสนับสนุน เงินคาใชจายทราบ | - |
๙. ปญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวของกับคาใชจายในการบริหารหรือพัฒนากองทุน เชน คาใชจายหรือวัสดุสํานักงานหรือ ครุภัณฑทไี่ ดรับมีไมเพียงพอ รวมถึงขั้นตอนการเบิกจายคาใชจายในการบริหารหรือพัฒนากองทุน เปนตน
ปญหาและอุปสรรค | แนวทางการแกไขปญหา | ขอเสนอแนะ |
คาวัสดุเพื่อการประชุม จํานวนเงิน ๑๕,๐๐๐ บาท และคาใชจายอ่ืน จํานวนเงิน ๓๖,๐๐๐ บาท ไมสามารถ นําไปรวมเบิกในคราวเดียวกันปละ ๑ ครั้ง ได ทําให ทํางานซ้ําซอน | กําหนดใหคาวัสดุเพื่อการประชุม และคาใชจายอ่ืน สามารถนําไปรวมเบิกในคราวเดียวกนั ปละ ๑ ครั้ง ได | - |
ไมไดรับสนับสนุนวัสดุสํานักงานหรือครุภัณฑที่จําเปน ตอการปฏิบัติงาน เชน เครื่องถายเอกสาร ตูเก็บเอกสาร คอมพิวเตอร โตะทํางานและเกา อี้ เปนตน | จัดซื้อวัสดุสํานักงานหรือครุภัณฑที่จําเปนตอการ ปฏิบัติงาน เชน เครื่องถายเอกสาร ตูเก็บเอกสาร คอมพิวเตอร โตะทํางานและเกาอี้ เปนตน | - |
คาใชจายในการจัดซื้อวัสดุสํานักงานที่ไดรับมีไมเพียงพอ ตอการปฏิบัติงาน เชน หมึกพิมพ แฟม กระดาษ เปนตน | จัดสรรงบประมาณสําหรับจัดซื้อวัสดุสํานักงาน ใหเพียงพอตอการใชงาน | - |
ไมไดรับจัดสรรเงินเงินคาตอบแทนในการประชุม คาอาหาร และคาอาหารวางและเครื่องดื่ม สําหรับ การจัดประชุมเพื่อกลั่นกรองแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมหรือการจัดประชุมอื่นท่ีเกี่ยวของกับ การดําเนินงานกองทุน | จัดสรรเงินเงินคาตอบแทนในการประชุมคาอาหาร และคาอาหารวางและเครื่องดื่ม สําหรับการจัดประชุม เพื่อกลั่นกรองแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม หรือการจัดประชุมอ่ืนที่เกี่ยวของกับการดําเนินงาน กองทุน | - |
การกําหนดใหเงินคาใชจายในการบริหารหรือพัฒนา กองทุนเปนเงินนอกงบประมาณนั้นไมเหมาะสม เนื่องจากบางรายการนั้นในระเบียบกรุงเทพมหานคร ไมไดกําหนดไว จึงไมสามารถเบิกจายได | กําหนดใหเมื่อไดรับเงินคาใชจายในการบริหาร หรือพัฒนาแลวไมถือเปนเงินนอกงบประมาณ | - |
ยังไมไดรับการตั้งโทรศัพทและอินเตอรเน็ตของ สํานักงานกองทุนสาขา | ประสานบริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ใหเรงติดตั้ง | - |
การติดตั้งและการเบิกจายคาบริการอินเทอรเน็ต ความเร็วสูงสรางภาระใหแกสํานักงานกองทุนสาขา | สํานักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ดําเนินการติดต้งและเบิกจายคาบริการอินเทอรเน็ต ความเร็วสูงใหสํานักงานกองทุนสาขาในภาพรวม | - |
กําหนดเรื่องการเบิกเงินคาวัสดุเพื่อการประชุมไว ไมเหมาะสมและไมสอดคลองกับความเปนจริง เนื่องจากกําหนดใหตองใชเอกสารเหมือนการเบิกจาย คาตอบแทนในการประชุม และคาเลี้ยงรับรอง ซึ่งตองมีรายงานการประชุม แตความเปนจริง สามารถจัดซื้อและไดวัสดุเพื่อการประชุมกอนจัด ประชุมได | กําหนดเร่ืองการเบิกเงินคาวัสดุเพ่ือการประชุมไว ใหเหมาะสมและสอดคลองกับความเปนจริง | - |
กําหนดคาคาอาหาร คาอาหารวางและเครื่องดื่มไว ไมชัดเจน | กําหนดคาคาอาหาร คาอาหารวางและเครื่องดื่มให มีความชัดเจนวาในการประชุมแตละครั้งสามารถ เบิกไดอยางละเทาใด | - |
กําหนดหนาท่ีในการเบิกจายเงินคาใชจายในการ บริหารหรือพัฒนากองทุนไวไมชัดเจนวาเปนหนาท่ี ของสวนราชการใด | กําหนดหนาที่ในการเบิกจายเงินคาใชจายในการ บริหารหรือพัฒนากองทุนใหมีความชัดเจนวาเปน หนาที่ของสวนราชการใด | - |
ไมมีการกําหนดคาตอบแทนใหกับขาราชการที่ปฏิบัติงาน ในสํานักงานกองทุนสาขา | กําหนดคาตอบแทนใหกับขาราชการท่ีปฏิบัติงาน ในสํานักงานกองทุนสาขา | - |
๑๐. ปญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวของกับคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต เชน การปฏิบัติหนาท คาตอบแทนในการประชุม องคประกอบของคณะอนุกรรมการ เปนตน
ปญหาและอุปสรรค | แนวทางการแกไขปญหา | ขอเสนอแนะ |
อนุกรรมการในคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกัน- สุขภาพเขตติดราชการหรือภารกิจอื่น ๆ ทําใหสงผล กระทบตอการทําหนาที่อนุกรรมการ | - | - |
อนุกรรมการในคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกัน- สุขภาพเขต ตําแหนงผูแทนโรงพยาบาลในระบบหลกั ประกัน- สุขภาพแหงชาติในเขตพื้นที่ เปนขาราชการกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการโยกยายตําแหนงบอย ทําใหตองเปดรับสมัคร และคัดเลือกใหมหลายครั้ง | กําหนดอนุกรรมการในคณะอนุกรรมการกองทุน- หลักประกันสุขภาพเขต ตําแหนงผูแทนโรงพยาบาล ในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติในเขตพื้นที่ ใหเ ปนอนุกรรมการโดยตําแหนง | - |
กําหนดองคประกอบของคณะอนุกรรมการกองทุน- หลักประกันสุขภาพเขตไวไมเหมาะสม เชน ตําแหนง ผูแทนภาคประชาชนในเขตพื้นที่มีจํานวนมากเกิน สมควร ตําแหนงผูแทนอาสาสมัครสาธารณสุข- ในเขตพ้ืนที่อาจจะมีหรือไมก็ได เน่ืองจากมีผูแทน จากศูนยบริการสาธารณสุขในองคประกอบอยูแลว เปนตน และควรมีการเเตงตั้งขาราชการในระดับ ปฏิบัติการหรือชํานาญการที่ทําหนาที่ในสํานักงาน กองทุนสาขาเปนอนุกรรมการในคณะอนุกรรมการกองทุน- หลักประกันสุขภาพเขตดวย | กําหนดองคประกอบของคณะอนุกรรมการกองทุน- หลักประกันสุขภาพเขตใหมีความเหมาะสม | - |
กําหนดวาระการดํารงตําแหนงของอนุกรรมการ ในคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต ท่ีมาจากการสรรหาหรือคัดเลือกไวไมเหมาะสม เชน ตําแหนงผูแทนภาคประชาชนในเขตพื้นท่ีที่มีที่มา จากกรรมการชุมชนในเขตพ้ืนท่ีนั้น โดยกรรมการชุมชน มีวาระการดํารงตําแหนงเพียง ๓ ป แตวาระการ ดํารงตําแหนงของอนุกรรมการกําหนดไว ๔ ป ทําใหหากกรรมการชุมชนพนจากตําแหนงเนื่องจาก หมดวาระ สํานักงานเขตเขตจะตองดําเนินการ รับสมัครและคัดเลือกใหมเพื่อใหผูแทนภาคประชาชน ในเขตพื้นท่ีอยูในวาระอีก ๑ ป ซ่ึงอาจจะทําให เสียเวลาในการดําเนินการ | กําหนดวาระการดํารงตําแหนงของอนุกรรมการ ในคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต ที่มาจากการสรรหาหรือคัดเลือกใหมีความเหมาะสม และสอดคลองกับที่มา | - |
กําหนดคุณสมบัติของอนุกรรมการในคณะอนุกรรมการ- กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต ตําแหนงผูทรงคุณวุฒิ-. ในเขตพ้ืนท่ีไวไมเหมาะสม เชน ไมไดกําหนดวาตองเปน ผูท่ีมีความรูหรือมีประสบการณทํางานดานสาธารณสุข เปนตน | กําหนดคุณสมบัติของอนุกรรมการในคณะอนุกรรมการ- กองทุนหลักประกันสุขภาพเขต ตําแหนงผูทรงคุณวุฒิ-. ในขตพน้ื ท่ีใหมีความเหมาะสม | - |
๑๑. ปญหาและอุปสรรคอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินการและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ ในกรุงเทพมหานครในเขตพื้นที่
- ไมมี -
มุมมองและขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสามัญฯ
1. ปญหาบางเรื่องสามารถแกไขไดภายในหนวยงาน ซึ่งเปนปญหาการบริหารงานท่วไป เชน การเบิกเงินและการจายเงิน การทําบัญชีและรายงาน ซึ่งปญหาที่ควรนํามาหาแนวทางแกไขคือเรื่องที่เกี่ยวของกับ บุคคลภายนอก เชน การใหความรู เรื่องวิธีปฏิบัติที่ไมสอดคลอง ขั้นตอนการดําเนินการ ขอใหคัดแยกกลุมปญหาและ อุปสรรคที่เปนปญหาสําคัญ เพื่อที่คณะกรรมการวิสามัญฯ จะไดเสนอแนะแนวทางแกไขปญหาตอไป
2. ปญหาตางๆ ที่ไดมีการออกแบบสอบถาม เปนปญหาที่คณะกรรมการวิสามัญฯ และ คณะอนุกรรมการฯ ไดทราบอยูแลว ควรแบงกลุมรายละเอียด หากปญหาใดสามารถตอบชี้แจงทําความเขาใจได สํานักอนามัยควรรีบดําเนินการ เพื่อใหสํานักงานเขตสามารถปฏิบัติภารกิจไดโดยเร็ว
3. กรณีขอเสนอใหนําเงินไปต้ังไวที่เขตเพื่อใหประธานคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกัน สุขภาพเขตพิจารณาอนุมัติไดเลย ขอดีคือเปนการลดข้นตอน แตขอเสียคืออาจเกิดความผิดพลาด การสงโครงการให สวนกลางตรวจสอบจะเปนการชวยคัดกรอง สิ่งที่สํานักงานเขตตองการคือคาตอบแทนใหกับคณะอนุกรรมการ พิจารณากลั่นกรอง รวมทั้งฝายพัฒนาชุมชนฯ ตองใหความสนใจทําความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวของ สามารถใหคําแนะนํากับชุมชน จะเปนการชวยลดระยะเวลาลงได
4. เรื่องความรูความเขาใจ เห็นวา การอบรมเพียง 1 ครั้ง ไมสามารถทําใหเกิดความเขาใจได ควรจัดทําคลิปวิดีโออธิบายลักษณะของโครงการและวิธีการจัดทําโครงการ เพื่อใหสามารถเปดดูไดตลอดเวลา จะชวย ใหเขาใจมากยิ่งขึ้น รวมทั้งควรจัดทําชุดคําถามคําตอบ (Q&A) เพื่อเปนขอมูลใหชุมชน หนวยงาน หรือองคกร หากมี ความสงสัยในบางประเด็น จะทําใหการเขียนโครงการรวดเร็วขึ้น
5. หนวยงานของกรุงเทพมหานคร เชน สํานักการศึกษา สํานักการแพทย สํานักพัฒนาสังคม ควรมีการจัดทําโครงการตามบทบาทหนาที่ของหนวยงานเพ่ือชวยเหลือประชาชนในสถานการณการแพรระบาดของ โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 โดยขอรับเงินสนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เปนการดูแล คุณภาพชีวิตของประชาชน และขอใหสํานักอนามัยเรงรัดติดตามการเสนอโครงการของหนวยงานตาง ๆ
2. ศึกษาแนวทางและตัวอยางการดําเนินโครงการที่สําเร็จ
- เทศบาลนครรังสิต จังหวดปทุมธาน
นครรังสิต
สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ใหขอมูลตอที่ประชุมดังนี้ แนวทางสูความสําเร็จในการดําเนินการกองทุนหลักประกันสุขภาพทองถิ่น เทศบาล
- 2552 เริ่มตน เขารวมกองทุนฯ ดวยทุนประเดิม 4 ลานบาท ยังไมสามารถ
ใชจายงบประมาณไดเทาที่ควร สวนประชาชนและหนวยงานในพื้นที่ ยังไมรูจักกองทุนฯ
- 2554 อุปสรรค เกิดปญหานํ้าทวมใหญ ทําใหโครงการหยุดชะงัก ประชากรมากขึ้น งบกองทุนฯ เพิ่มมากขึ้น งบประมาณคางจายมากขึ้นหลายเทาตัว (40 ลานบาท)
- 2561 มีการปรับประกาศฯ จํานวน 3 ครั้งในป 25,57 และ 61 จากการรับฟง ความคิดเห็น ทําใหการดําเนินการสะดวกมากขึ้น สามารถใชงบประมาณประจําปหมดและใชเงินคงเหลือสะสม จนเหลือนอย ประชาชนเขียนโครงการได ดูแลสุขภาพตนเองได กลายเปนแหลงดูงานของกองทุนฯ อื่น ๆ ปละ 100 แหง
- 2564 อนาคต ใหประชาชนเปนเจาของโครงการทั้งหมด โดยการวางแผน รวมกันทุกฝาย หนวยงานตาง ๆ และเทศบาล เปนพี่เลี้ยง เนนการมีสวนรวมของทุกคนในพื้นที่
ปจจัยสําคัญ
1. ผูบริหารและทีมงานของเทศบาลนครรังสิต
2. คณะกรรมการกองทุนฯ และอนุกรรมการ
3. การ Training จาก สปสช.
4. ความรวมมือของหนวยงานภาครัฐ/เอกชน ในพื้นที่ ซึ่งเดิมจะสมทบตาม
เกณฑ แตภายหลังไดเห็นความสําคัญมากขึ้น จึงสมทบเพมเขามาอีก 1 สวน
5. การมีสวนรวมของประชาชนในพื้นที่ (ตอ ผลงานปจจุบัน
งสรางเสริมความเขมแข็ง)
1. ป 2563 มีงบประมาณรวมทัง้ สิ้น 25 ลานบาท
- เบิกจายสนับสนุนโครงการ รวมทั้งสิ้น 21 ลานบาท
- คงเหลือใชหมุนเวียนชวงรอยตองบประมาณ 4 ลานบาท
2. ป 2563 สนับสนุนโครงการทั้งสิ้น 187 โครงการ ดังนี้
- ประเภทที่ 1 = 22 โครงการ 5.5 ลานบาท
- ประเภทท่ี 2 = 134 โครงการ 7 ลานบาท
- ประเภทที่ 3 = 8 โครงการ 0.7 ลานบาท
- ประเภทที่ 4 = 15 โครงการ 2 ลานบาท
- ประเภทที่ 5 = 8 โครงการ 5.8 ลานบาท เทคนิคการบริหารจัดการกองทุน
1. วางแผนปฏิทินการทํางานตั้งแต ไตรมาส 4
2. พัฒนาศักยภาพผูพิจารณาและผูเสนอโครงการอยูเสมอ
3. ประชุม กํากับ ติดตาม เปนระยะ (ทุกไตรมาส)
4. จัดทําแผนสุขภาพชุมชน ไปพรอมกับการจัดทําแผนเทศบาล
5. ปรับปรุงแผนงาน/โครงการ เมื่อเกิดขอติดขัด
6. จัดทําสรุปรายงานใหถูกตองและครบถวน เทคนิคการจัดทําโครงการ
1. จัดทํา/วิเคราะห ปญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่
2. นําขอมูลไปประกอบการจัดทําแผนสุขภาพชุมชน โดยนําขอมูล OP ที่โรงพยาบาลสุขภาพตําบลมีอยู วาในพื้นที่มีขอมูลอัตราการเจ็บปวย การเสียชีวิต การใชบริการ OP เปนอยางไร มีโครงการไหนที่จะเขามาชวยแกไขไดหรือไม ซึ่งเปนการวิเคราะหโครงการเชิงพื้นที่
3. กําหนดกลมเปาหมายผูรับประโยชนใหชัดเจน สืบเนื่องจากในป 2557
สํานักงานการตรวจเงินแผนดินไดเขาตรวจสอบและใหความสําคัญในเรื่องกลุมเปาหมายเปนอยางมาก เนื่องจาก
โครงการไมมีการระบุกลุมเปาหมายที่ชัดเจน เชน ทุกกลมอายุ เปนตน
4. กําหนดระยะเวลาโครงการระยะสั้น (ใชจํานวนเงินไมมาก) ระยะกลาง (6 เดือน-1ป) และระยะยาว (ตอเนื่อง) (3 – 5 ป แลวแตโรค)
5. ประเมินผลทุกโครงการ เพื่อการพิจารณาในครั้งตอไป ซึ่งในอดีตใหงบประมาณ ไปแลวใน 2-3 ป แตไมเคยรายงานผล ซึ่งหากยังไมรายงานผลใหเรียบรอย จะไมมีสิทธิรับเงินกอนใหมได
กรอบแนวคิดการบริหารแผนงาน/โครงการ
- เพื่อใหบุคคลสามารถเขาถึงบริการสาธารณสุขไดอยางทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ มากขึ้น โดยสงเสริมกระบวนการมีสวนรวม ตามความพรอม ความเหมาะสม และความตองการของประชาชน ในทองถิ่น
- มุนเนนใหทองถิ่น เปนฐานในการดูแลสุขภาพใหกับชุมชน และเปนทุนหนุน
เสริมสรางประโยชนดานสุขภาพของประชาชน ใหสอดคลองกับบริบท และปญหาสุขภาพในพื้นท
หลักเกณฑ และลักษณะของโครงการที่ควรอนุมัติ
1. เปนไปตามวัตถุประสงคของกองทุนฯ
2. มีขอมูล บงบอกสถานการณ/ความสําคัญ ของปญหาสุขภาพ
3. เนนการจัดบริการฯ ภายใตประกาศสิทธิประโยชน PP ฉบับที่ 10
4. เนนการจัดบริการฯ ตอเนื่อง สามารถวัดผลผลิต/ผลลัพธ
5. ควรเนนเปนรูปแบบ แผนงานที่สอดคลองกับแผนสุขภาพของพื้นที่ ในระยะ 3-5 ป มีเปาหมายความสําเร็จชัดเจน โครงการ กิจกรรม ตอเนื่อง สอดคลองกับแผนงานฯ
6. มีแนวทางการกํากับ ติดตาม ประเมินผลแผนงาน/โครงการ อยางตอเนื่อง ตัวอยางแผนงาน/โครงการ (กลุมผูสูงอายุและผูปวยโรคเรื้อรัง)
- เพื่อลดปจจัยเสี่ยง และลดการเกิดโรคในกลุมที่มีภาวะอวน/น้ําหนักเกิน กลุมที่มีภาวะเสี่ยงตอโรคเรื้อรังและโรคที่เปนปญหาในชุมชน ลดภาวะแทรกซอน และลดความพิการในกลุมผูปวย
- สงเสริมและปร เปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผูสูงอายุใหมีสขภาพทุ ี่พึงประสงค
โดยผสมผสานมาตรฐานการดูแลสุขภาพแบบองครวม ทั้งสุขภาพกายและจิต
- สนับสนุนระบบบริการดูแลสุขภาพผูสูงอายุและผูปวยโรคเรื้อรัง ใหมีคุณภาพดวย
บริการเชิงรุกในชุมชน
- สงเสริมสนับสนุนใหผูสูงอายุและผูปวยโรคเรื้อรัง เขาถึงบริการสุขภาพอยางถวนหนา
และเทาเทียม และสงเสริมสนับสนุนใหครอบครัว ชุมชน และทองถิ่น มีสวนรวมในการดูแลผูสูงอายุและผูปวยโรคเรื้อรัง ตัวอยางลักษณะกิจกรรม (กลุมผูสูงอายุและผูปวยโรคเรื้อรัง)
1. การซักประวัติประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ตรวจรางกาย วัดดัชนีมวลกาย
วัดรอบเอว และจัดทําสมุดบันทึกสุขภาพกลุมผสูงอายุ และผูปวยโรคเรื้อรัง
2. การคัดกรองและคนหา ภาวะเสี่ยงโรคเรื้อรัง และโรคทเี่ ปนปญหาในชุมชน เชน
โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็งปากมดลูก โรคมะเร็งเตานม วัณโรค โรคเบาหวาน และความดน
3. การสงเสริมสุขภาพชองปากในกลุมผูสูงอายุ
โลหิตสูง เปนตน
4. การตรวจวัด และคัดกรองความผิดปกติหรือความบกพรองทางการมองเห็น
และการไดยินในกลุมทม
ีภาวะเสี่ยง และผส
ูงอายุ
ในทองถิ่น ทองถิ่นและวัฒนธรรมพื้นบาน
5. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุมเสี่ยงตามกลุมโรค หรือปญหาสุขภาพ
6. การสงเสริมสนับสนุนนวัตกรรมการสรางเสริมสุขภาพดวยภูมิปญญา
ดวยการแพทยแผนไทย
7. การสงเสริมสนับสนุนการดูแลสุขภาพกลุมผส
ูงอายุและผูปวยโรคเรื้อรัง
ภาวะเสี่ยงและผูปวยโรคเรื้อรัง โรคเรื้อรัง
โรคเรื้อรัง
8. การเยี่ยมบา นใหความรูใหคําแนะนํา และติดตามดูแลสุขภาพผูสูงอายุที่มี
9. การสงเสริมสนับสนุนการออกกําลังกายแกผูสูงอายุที่มีวาะเสี่ยงและผูปวย
10. การใหความรูเรื่องการดูแลสุขภาพจิตแกผูสูงอายุที่มีภาวะเสี่ยง และผูปวย
11. การคัดกรอง การปองกัน และการแกไขปญหา ภาวะซึมเศรา สมองเสื่อม
และผูทม
ีภาวะเสี่ยงตอการฆาตัวตายในกลุมผูสูงอายุ และผูปวยโรคเรื้อรัง
12. การติดตามผลการรักษา การสงตอ - สงกลับ และการดูแลสุขภาพผส
ูงอายุ
ผูทมี่ ีภาวะเสี่ยง และผูปวยโรคเรื้อรังอยางตอเนื่อง
แนวทางการบริหารจัดการโครงการ
1. ดําเนินโครงการใหสอดคลอ
งกับแผนสุขภาพกองทุนฯ
2. กําหนดเวลาโครงการระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว (ตอเนื่อง)
3. กําหนดกลมเปาหมายผูรับประโยชนใหชัดเจน
4. ประเมินผลทุกโครงการ เพื่อการพิจารณาในครั้งตอไป
5. จัดทําสรุปรายงานใหถูกตองและครบถวน
ความเห็นของคณะกรรมการวิสามัญฯ ดังนี้
1. ปญหาในการจัดทําโครงการ พบวาผูที่เกี่ยวของไมทราบขอกฎหมายและระเบียบ ที่เกี่ยวของ จึงควรจัดทําเปนรูปเลมเพื่อเผยแพรใหผูเกี่ยวของทราบและใชอางอิงได
2. การเขียนโครงการเพื่อขอเงินมาดําเนินการ จะตองมีที่มาของโครงการที่ชัดเจน มีการ
ระบุสิ่งที่จะทํา และประโยชนที่จะไดรับอยางชัดเจน ซึ่งตองสรางความรูความเขาใจใหแกประชาชน เพื่อให เขียนโครงการเองได
ามารถ
3. การตั้งผู Review Project ควรตั้งผูที่มีความชํานาญและประสบกาณเขา มาชวย เชน ผูชํานาญการและมีประสบการณจากเทศบาลนครนนทบุรีหรือเทศบาลนครรังสิต เขามาชวยปฏิบัติงานในกลุมเขต กรุงเทพเหนือ หรือพื้นที่กลุมเขตอื่นที่ใกลเคียงพื้นที่หนวยงานทองถิ่นอื่นที่ขอความรวมมือ
4. กอนจะมีการ Review Project ควรจัดใหมีการฝกอบรมใหแกผูที่เกี่ยวของ เพื่อใหการ
Review Project เปนไปในแนวทางเดียวกัน
5. กรณีการเซ็น MOU ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งผูวาราชการกรุงเทพมหานครจะตองเปน ผูลงนาม ทําใหใชระยะเวลาดําเนินการคอนขางนาน หากตองการลดระยะเวลา จะตองแกไขที่ระเบียบของสํานักงาน หลักประกันสุขภาพแหงชาติ ซึ่งจะดําเนินการได เมื่อมีการแจงและสงเรื่องมาจากหนวยงานที่พบปญหา (สํานักอนามัย)
- เทศบาลเมืองบึงยี่โถ จังหวัดปทุมธานี
นายรังสรรค นันทกาวงศ นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองบึงยี่โถ ใหขอมูลวา เดิมกองทุนหลักประกันสุขภาพ ชวงแรกปทุมธานีไดอําเภอละ 1 แหง แตจากความไมเขาใจ
มีการกลาวถึงเงินที่เทศบาลจะตองลงทุนรวมดวย ซึ่งเทศบาล อบต. มีงบไมมาก และเริ่มมีการถอนตัว ตนไดพยายาม ตอสูวาเมื่อไดรับเงินครึ่งหนึ่งคือ 45 บาท รวมกับเทศบาลเปน 90 บาท ซึ่งชวงแรกคอนขางผอนคลายในเรื่องการ จัดทําโครงการและการตรวจสอบยังไมเขมขน แตภายหลัง มีการตรวจสอบเขมงวดขึ้น ทําใหการจัดทําโครงการตอง
รอบคอบมากขึ้น หลายทองถิ่นไมกลาดําเนินการเนื่องจากตอบขอซักถามของ สตง. ไมชัดเจน ทําใหเงินของ สปสช. ไมไดรับการขับเคลื่อนเทาที่ควร ภายหลังมีความเขาใจมากขึ้น ทุกชุมชนมีการจัดกิจกรรมโดยใหชุมชนตาง ๆ เขามารวมพัฒนา กําหนดนโยบายรวมกัน เชน การออกกําลังกาย การเลนกีฬาในน้ํา การเลนโยคะ กิจกรรมของ เด็กเล็ก เทศบางเมืองบึงยี่โถมีศูนยพัฒนาคุณภาพชีวิตผูส ูงอายุ จํานวน 3 ศูนย มีการจัดโครงการสรางความสุข 5 มิติ ชีวีมีสุขในวัยเตรียมและหลังเกษียณ มีกิจกรรมใหความรูสาธิต ทดสอบสมรรถภาพรางกาย การทําสมาธิ ฟงเทศน การ สงเสริมความรูอาหารเพ่ือสุขภาพ การออกกําลังกาย เพื่อเปนตนแบบผูสูงอายุที่มีสุขภาพท่ีดี ซึ่งหลายชุมชนตองการ จัดกิจกรรม จุดเริ่มตน คือ สปสช. เปนที่ปรึกษาในการจัดทําโครงการ เพื่อใหมีความถูกตองตามระเบียบที่กําหนด ซึ่งการจัดทําโครงการของเทศบาลบึงยี่โถมาจากความตองการของชุมชน จึงประสบความสําเร็จ หากใหหนวยงาน จัดทําโครงการจะตอบสนองความตองการของประชาชนเพียงระยะเวลาสั้นๆ เชน เคยจัดโครงการเตนแอโรบิค ชวงแรกมีคนสนใจ แตภายหลังไมมีคนเขารวมกิจกรรม จําเปนตองสับเปลี่ยนหมุนเวียนกิจกรรมใหเปนที่นาสนใจ ซึ่งประโยชนของเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพมีมาก แตหลายหนวยไดรับการทักทวงจาก สตง. ทําใหสะดุด ไมกลา เสนอโครงการ ซึ่งถาเปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการปองกัน การฟนฟู การสงเสริม เห็นวาสามารถดําเนินการได ซึ่ง กิจกรรมตางๆ ตองมีเหตุผลชัดเจนวาเขาเงื่อนไขการปองกัน การฟนฟู การสงเสริมสุขภาพอยางไร และ สปสช. ชวยให คําปรึกษาแนะนําการจัดทํากิจกรรม แตระยะหลังมีสถานการณการแพรระบาดของโรคโควิด 19 สปสช. ก็จะเนนใน เรื่องการเขาไปใหความรูในดา นการปองกันโรคเปนสวนใหญ
ตัวอยางโครงการ “โครงการขยับขจัดสมองเสื่อม”
หลักการและเหตุผล
จากผลการจัดทําโครงการกิจกรรมสงเสริมความจําและชะลอภาวะสมองเสื่อม ในผูสูงอายุ ปงบประมาณ 2562 มีผูสูงอายุเขารวมโครงการเปนจํานวนมาก ซึ่งในการจัดกิจกรรมในครั้งนั้นไดมี การประเมิน Montreal Cognitive Assessment (MOCA) เพื่อประเมินความเสี่ยงตอการเกิดภาวะสมองเส่ือม พบวา รอยละ 70 ของผูเขารวมโครงการมีภาวะเสี่ยงตอการเกิดโรคสมองเสื่อม นอกจากนี้ยังมีการทดสอบการทรงตัว และ พบวาผูสูงอายุสวนใหญมีระดับการทรงตัวที่ต่ํา ซึ่งเปนผลทําใหผูสูงอายุเสี่ยงตอการหกลมไดงายกวาปกติ จากผลการ ประเมินความเสี่ยงตอการเกิดภาวะสมองเสื่อมและการทดสอบการทรงตัว ทําใหเห็นวาผูสูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงตอการ เกิดภาวะสมองเสื่อมหรือกลุมผูสูงอายุที่เปน mind cognitive นั้นจะมีระดับการทรงตัวที่ต่ําไปดวย
ดังนั้นเพื่อปองกันผูสูงอายุไมใหเปนโรคสมองเสื่อมและปองกันการลมในผูสูงอายุ ที่มีภาวะเสี่ยงตอการเกิดโรคสมองเสื่อมหรือกลุมผูสูงอายุที่เปน mind cognitive จึงไดจัดทําโครงการขยับขจัดสมอง เสื่อม เพื่อกระตุนสมองและชะลอการเกิดโรคสมองเสื่อมดวยการออกกําลังกายและฝกสมองดวยการทํากิจกรรมตาง ๆ ที่เนนการกระตุนสมองเปนหลัก
วัตถุประสงค
1. เพื่อสงเสริมและปองกันการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุในชุมชนบึงยี่โถ
2. เพื่อเปนแนวทางใหผุสูงอายุในการดูแลตนเองไมใหเกิดภาวะสมองเสื่อม
3. เพื่อสงเสริมการออกกําลังกายเพื่อเพิ่มการทรงตัวและปองกันการลมในผูสูงอายุ ที่มีภาวะเสี่ยงตอการเกิดโรคสมองเสื่อม
กลุมเปาหมาย
กลุมผูสูงอายุในชุมชนบึงยี่โถ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี จํานวน 50 คน วิธีดําเนินการ
1. จัดทําโครงการขยับขจัดสมองเสื่อม และแผนปฏิบัติงานเพื่อขออนุมัติ
2. จัดอบรมเพื่อแนะนําการออกกําลังกายเพื่อกระตุนสมองและชะลอภาวะสมองเส่ือม
3. ติดตามและประเมินผล
4. สรุปผลโครงการ และรายงานผลการดําเนินการใหหนวยงานที่เกี่ยวของทราบ หลังเสร็จโครงการขยับขจัดสมองเสื่อม
4. ระยะเวลาดําเนินการ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563 สถานที่ดําเนินการ
ศูนยสันทนาการและฟนฟูบึงยี่โถ อําเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี งบประมาณ
จากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ตําบลบึงยี่โถ เทศบาลเมืองบึงยี่โถ เปนจํานวนเงิน 50,000 บาท มีรายละเอียด ดังนี้
- คาตอบแทนวิทยากร 2 คน คนละ 6 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 1,200 บาท
เปนเงิน 14,400 บาท
- คาอาหารกลางวันสําหรับผเขารัู บการอบรม จํานวน 50 คน คนละ 100 บาท
จํานวน 1 มื้อ เปนเงิน 5,000 บาท
- คาอาหารวางและเครื่องดื่มสําหรับผูเขารับการอบรม จํานวน 50 คน คนละ 30 บาท วันละ 2 มื้อ เปนเงิน 3,000 บาท
- คาอุปกรณในการฝกปฏิบัติแยกกลุม เปนเงิน 20,000 บาท
- คาวัสดุสํานักงาน เปนเงิน 7,600 บาท รวมเปนเงิน 50,000 บาท (หาหมื่นบาทถวน)
ผลที่คาดวาจะไดรับ
1. อัตราการเสี่ยงตอการเกิดภาวะสมองเสื่อมในผูสูงอายุในชุมชนบึงยี่โถนอยลง
2. ผูสูงอายุมีแนวทางในการดูแลตนเองและการออกกําลังกายเพื่อไมใหเกิดภาวะ สมองเส่ือมและลดภาวะเส่ียงตอการลม
3. ผูสูงอายุมีการทรงตัวที่ดีขึ้น รายงานผลโครงการขยับขจัดสมองเสื่อม ประโยชนที่ไดรับจาการดําเนินการ
1. ลดอัตราการเสี่ยงตอการเกิดภาวะสมองเสื่อมและภาวะเสี่ยงตอการลม ใน
ผูสูงอายุในชุมชนบึงยี่โถ การลม
ไมใหเกิดภาวะสมองเสื่อมมากขึ้น
2. ผูสูงอายุมีแนวทางในการดูแลตนเองเพื่อไมใหเกิดภาวะสมองเสื่อมและเสี่ยงตอ
3. ผูสูงอายุมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับภาวะสมองเสื่อม สาเหตุและวิธีปองกัน
4. ผูสูงอายุไดรับการฝกปฏิบัติในเร่ืองของการออกกําลังกายเพื่อกระตุนสมองและ
การทรงตัวเพื่อลงภาวะเสี่ยงตอการเกิดโรคสมองเสื่อมและการลม
ปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะ
1. ผูสูงอายุบางทานไมสามารถมารวมกิจกรรมไดเนื่องจากติดภารกิจไปรวมงานอื่น
2. ควรมีการจัดอบรมทุกป เพื่อเปนการประเมินผลการจัดโครงการวาผูสูงอายุ ไดตระหนักถึงการเกิดภาวะสมองเสื่อมมากนอยแคไหน
ความเห็นของคณะกรรมการวิสามัญฯ ดังนี้
1. เนื่องจากชุมชนในกรุงเทพมหานครกับตางจังหวัดจะตางกัน ประชาคมในตางจังหวัดจะมี การจัดทําประชาคมสม่ําเสมอ สวนชุมชนใน กทม. ไมคอยมีโอกาสไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชุมชน จึงไมเกิด ภาพรวมปญหาของชุมชน ทําใหการคิดโครงการเพื่อนําไปสูการแกไขปญหาจึงคอนขางยาก
2. การจัดทําโครงการและใหมีการสาธิตเพื่อใหประชาชนมีความรูความเขาใจอยูใน กระบวนการการเรียนการสอน สามารถทําได กรุงเทพมหานครมีศูนยเยาวชน ศูนยกีฬา ศูนยสรางสุขทุกวัย ซึ่งอยูใน ความรับผิดชอบของสํานักวัฒนธรรม กีฬา และการทองเที่ยว ควรใหชมรมตางๆ เหลานี้ไดคิดจัดทําโครงการขอใช เงินกองทุน รวมทั้งสํานักพัฒนาสังคมที่ดูแลศูนยฝกอาชีพ ควรใหมีการจัดตั้งชมรมในแตละศูนยเพื่อผลักดันใหทํา โครงการ
3. การจัดทําโครงการของ กทม. กับเทศบาลจะเปนแนวทางเดียวกันคือเปนการสาธิต ไมใช การทําโครงการแลวแจกของ ยกตัวอยาง ชุมชนตองการเรียนทําหนากากและจะขอหนากากไปแจกคนในชุมชน ซึ่งไม สามารถทําได แตถาเปนการซื้อของมาทําเพื่อการสาธิตวิธีการทํา สามารถทําได
- สํานักงานกองทุนสน สนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สํานัก 6)
นางสุธาสินี เสลานนท สํานักสรางสรรคโอกาส (สํานัก 6) สํานักงานกองทุนสนับสนุนการ สรางเสริมสุขภาพ นําเสนอขอมูลโครงการสรางเสริมสุขภาพขนาดเล็ก แผนสรางสรรคโอกาสสรางเสริมสุขภาวะ
ทิศทางและเปาหมายกองทุนระยะ 10 ป
วิสัยทัศน ทุกคนบนแผนดินไทยมีวิถีชีวิต สังคมและสิ่งแวดลอม ที่สนับสนุนตอการมีสุข
ภาวะท่ีดี
พันธกิจ จุดประกาย กระตุน สาน และเสริมพลังบุคคล ชุมชน และองคกรทุกภาคสวน ใหม
ขีดความสามารถและสรางสรรคระบบสังคมที่สนับสนุนตอการมีสุขภาวะที่ดี เปาหมายเชิงยุทธศาสตร
ยาสูบ สุราและสิ่งเสพติด อาหาร กิจกรรมทางกาย ความปลอดภัยทางถนน สุขภาพจิต มลพิษจากสิ่งแวดลอม ปญหาสุขภาพอุบัติใหมและปจจัยเสยงอื่น
ยุทธศาสตร (ความเหลื่อมล้ําดานสุขภาพ)
- สงเสริมวิชาการและนวัตกรรม
- สานพลังภาคีและเครือขาย
- พัฒนาศักยภาพบุคคล ชุมชน องคกร
- พัฒนากลไกทางนโยบาย สังคม และสถาบันสื่อสารสังคม การจัดโครงสรางแผนและกลไกลสนับสนุน
โครงสรางแผน
- เชิงประเด็น
- เชิงพื้นที่
- เชิงองคกรและกลุมประชาชากร
- เชิงระบบ
การสรางเสริมสุขภาวะ
กลไกสนับสนุน
- การพัฒนาศักยภาพบุคลกรและภาคีเครือขาย
- การสนับสนุนโครงการ
- ระบบขอมูลและการจัดการความรู
- การกํากับ ติดตาม และประเมินผล
- ระบบงานดิจิทัล-ไอที
เปาประสงค สสส. ขอ 5 ขยายโอกาสและพัฒนาศักยภาพในการสรางนวัตกรรมเกี่ยวกับ
โดยพันธกิจของแผนกระจายโอกาสใหภาคีรายยอยเขาถึงการดําเนินงานสรางเสริม
สุขภาพ ซึ่งไดมีการสนับสนุน 2,000 โครงการ สนับสนุนผานหนวยจัดการเชิงพื้นที่ซ่ึงรับผิดชอบโครงการโดยมี ขอบเขตเปนจังหวัด และหนวยจัดการเชิงประเด็นรับผิดชอบในหลายพื้นที่ ขยายโอกาสเชิงประเด็น ซึ่ง สสส. ทํางาน ผานหนวยจัดการและที่ใหการสนับสนุนมองผลลัพธสรางเสริมสุขภาพและการเกิดสภาพแวดลอม
หนวยจัดการระดับจังหวัด สําหรับโครงการสรางเสริมสุขภาพขนาดเล็ก
- หนวยจัดการ ประกอบดวย PM ที่ปรึกษา พี่เลี้ยง เจาหนาที่การเงิน (สมาชิก
ไมนอยกวา ๗ คน)
การเขียนโครงการ ผลลัพธที่กําหนดไวแลว
- ประเด็นดําเนินงาน (ตามประเด็นเปา 10 ป สสส.)
- โครงการขนาดเล็ก 8 ประเด็น 40,000 – 60,000 บาท
- โครงการสรางเสริมสุขภาพทั่วไปไมเกิน 100,000 บาท
- จังหวัดละไมเกิน 30 โครงการ
- ขอบเขตการดําเนินงาน
1. พัฒนาโครงการ
2. การพัฒนาศักยภาพ
3. ติดตามผลลัพธ ลงพื้นที่ 4 ครั้ง
4. ถอดบทเรียน
5. การบริหารจัดการ ลักษณะโครงการสรางเสริมสุขภาพขนาดเล็ก
1. เปนโครงการเกือบสําเร็จรูป โดยกําหนดวัตถุประสงคกิจกรรมและผลลัพธไวแลว
2. เหมาะสําหรับผูไมเคยไดรับทุนหรือผูที่ตั้งใจจะทําโครงการแตขาดทักษะเรื่อง
3. ชุมชนสามารถเพิ่มเติมกิจกรรมได แตตองเปนกิจกรรมสงผลตอการบรรลุตาม โครงการสรางเสริมสุขภาพขนาดเล็ก เชน โครงการลดละเลิกบุหร่ี 50,000 บาท จัดการ
ขยะ 50,000 บาท ผูสูงอายุ 50,000 บาท กิจกรรมทางกาย 30,000 บาท ลดละเลิกแอลกอฮอลในงานบุญ
50,000 บาท จัดการจุดเสี่ยง 50,000 บาท ปลูกและบริโภคผัก 50,000 บาท บริโภคผักผลไมและลดภาวะ
โภชนาการในโรงเรียน 50,000 บาท
เครื่องมือการดําเนินงาน
1. คลิปวีดิโอแนะนําโครงการ
2. บันไดผลลัพธ
3. แบบเสนอโครงการ ยกตัวอยางโครงการสรางเสริมสุขภาพผูสูงอายุ
- วัตถุประสงค เพื่อเสริมสรางความเชื่อมั่นใหกับชมรมผูสูงอายุระดับหมูบานหรือ ชุมชนมีศักยภาพในการเปนกลไกสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพใหแกผูสูงอายุในชุมชน
- จุดเนน การสนับสนุนใหชมรมผูสูงอายุในระดับหมูบานหรือชุมชนมีศักยภาพ ความเขมแข็งในการเปนกลไกสําคัญที่มีบทบาทสนับสนุน
- เงื่อนไขการดําเนินงาน กลุมหรือชมรมผูสูงอายุในชุมชนท่ีมีผูสูงอายุไมนอยกวา 50 คน ซึ่งอยูในระยะเริ่มตนของการรวมตัวหรือยังไมมีความเขมแข็งในการดําเนินกิจกรรมสรางเสริมสุขภาพอยาง ตอเนื่องใหแกผูสูงอายุในชุมชน
การดําเนินงาน
- ประชุมคณะทํางานอยางนอย 2 เดือน/ครั้ง เพื่อวางแผน ติดตาม และสรุปผล
บันไดขั้นแรก
กิจกรรม
▪ อบรมใหความรูแกคณะกรรมการชมรมผูสูงอายุเรื่องการสราง
เสริมสุขภาพผส
ูงอายุและการดูแลผส
ูงอายุ
▪ สํารวจและจัดทําขอมูลสถานการณผูสูงอายุในชุมชน
▪ คณะกรรมการชมรมผูสูงอายุออกแบบกิจกรรมสรางเสริมสุขภาพ ผูสูงอายุ
ผลลัพธ
▪ เกิดแกนนําชมรมผูสูงอายุที่เขาใจเรื่องการสรางเสริมสุขภาพและ ออกแบบกิจกรรมสรางเสริมสุขภาพได
ตัวชี้วัด
▪ มีคณะกรรมการชมรมผูสูงอายุที่มีโครงสรางชัดเจน มีองคประกอบ ที่หลากหลาย เชน กรรมการหมูบาน ตัวแทนทุก บาน อปท. รพ.สต.
▪ คณะกรรมการชมรมผูสูงอายุมีความเขาใจเรื่องการสรางเสริม สุขภาพและมีการออกแบบกิจกรรมสรางเสริมสุขภาพผูสูงอายุ ที่เหมาะสม
▪ มีขอมูลสถานการณผูสูงอายุในชุมชนที่ครบถวน บันไดขั้นที่สอง
กิจกรรม
▪ ประชุมสมาชิกชมรมผูสูงอายุเพื่อกําหนดขอตกลงในการดําเนิน กิจกรรม
▪ อบรมใหความรูแกผูสูงอายุเรื่องการดูแลสุขภาพตนเองตาม สถานการณปญหาผูสูงอายุในพื้นที่
ผลลัพธ
▪ ผูสูงอายุมีความรูและความตระหนักในการสรางเสริมสุขภาพ ตนเอง
ตัวชีวัด
▪ เกิดขอตกลงรวมของผูสูงอายุในการเขารวมกิจกรรมตามแผน ที่คณะกรรมการชมรมผูสูงอายุออกแบบไว
▪ รอยละ 80 ของผูสูงอายุที่เปนกลุมเปาหมายมีความรูเรื่องการ ดูแลสุขภาพตนเองท่ีเหมาะสม
บันไดขั้นที่สาม
กิจกรรม
▪ ประชุมสมาชิกชมรมผูสูงอายุเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู ติดตาม คืน ขอมูลภาวะสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผูสูงอายุ
▪ ติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและเก็บขอมูลพฤติกรรม สุขภาพของผูสูงอายุ
ผลลัพธ
▪ ชมรมผูส
ูงอายุมีความเขมแข็งสามารถทํากิจกรรมไดตามขอตกลง
และติดตามผลการดาเนิํ นงานของชมรมไดอยางมีประสิทธภาพิ
ตัวชี้วัด
▪ ชมรมผูสูงอายุมีการทํากิจกรรมหรือดําเนินการตามขอตกลงรวม ของผูสูงอายุ
▪ มีขอมูลภาวะสุขภาพและพฤติกรรมของผูสูงอายุที่เปน กลุมเปาหมายทุกคน และมีการคืนขอมูลแกผูสูงอายุและ ครอบครัวเปนประจําทุกเดือน
บันไดขั้นสุดทาย
กิจกรรม
▪ เวทีสรุปบทเรียนการดําเนินงานเพื่อสรุปความสําเร็จและผลลัพธ ที่เกิดขึ้น
ผลลัพธ
▪ ผูสูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยางถูกตอง ตัวชีวัด
▪ รอยละ 50 ของผูสูงอายุที่เปนกลุมเปาหมายมีการออกกําลังกาย เปนประจําสม่ําเสมอสัปดาหละ 3 ครั้ง ครั้งละ 30 นาที
▪ ร ยละ 50 ของผูสูงอายุที่เปนกลุมเปาหมายเขารวมกิจกรรม
สงเสริมสุขภาพจิตเปนประจําอยางนอยรอยละ 80 ของจํานวน ครั้งที่กลุม/ชมรมผูสูงอายุ จัดขึ้น
▪ ผูสูงอายุติดบานติดเตียงในชุมชนทุกคนไดรับการเยี่ยมบาน เปนประจําอยางนอย 2 เดือน/ครั้ง
▪ รอยละ 50 ของผูสูงอายุที่เปนกล ที่เหมาะสม
เปาหมายมีการบริโภคอาหาร
▪ รอยละ 50 ของผูสูงอายุที่เปนกลุมเปาหมายมีความสุขเพิ่มขึ้น
ความเห็นของคณะกรรมการวิสาม ฯ ดังนี้
1. สํานักอนามัยควรศึกษาวากรุงเทพมหานครจําเปนตองมีคณะกรรมการกํากับติดตาม โครงการในเรื่องใด และเสนอขออนุมัติคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เพื่อการพัฒนาและ ชวยเรื่องการติดตามการดําเนินโครงการ
2. ควรมีการแบงพื้นที่ระหวาง สสส.กับกรุงเทพมหานคร โดยใหมีการถายทอดความรูในการ จัดทําโครงการ หรือ สสส. จะเขามาชวยในเรื่องกระบวนการจัดการ โดยหนวยจัดการ กทม.มาชวยดูแลโครงการ ทั้งหมด จะชวยให สสส. มีโครงการที่จะขยายผลตอไป
3. การดําเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพของกรุงเทพมหานครยังมีจุดออน
เนื่องจากโครงสรางระดบเขต บางเขตไมเข แข็ง ทําใหโครงการไมเกิดขึ้น สสส.มีหนวยจัดการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
หากมีการขอความรวมมือ สสส. ใหเขามาชวยออกแบบโครงการกระจายใหทุกเขตใหความรู เชิงประเด็นกับ คณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขตเพื่อนําโครงการไปขยายผลในเชิงพืนที่จะเปนประโยชนมาก
4. กรุงเทพมหานครและสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพควรตองทํา MOU รวมกันทํางานในเรื่องการสรางเสริมสุขภาพ และกรุงเทพมหานครตองมีคณะอนุกรรมการติดตามเชิงประเด็นเพื่อเปน พี่เลี้ยงลงไปตรวจสอบกระบวนการมากขึ้น
4 คณะ ไดแก
3. การเรงรัดการจัดทําโครงการ แบงเปน 3 สวน ไดแก
3.1 กลุมเขต
3.1.1 ตั้งคณะอนุกรรมการฯ เพื่อเรงรัดการดําเนินการใน 6 กลุมเขต จํานวน
- คณะอนุกรรมการเพื่อติดตามการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุน
หลักประกันสุขภาพเขต กลุมเขตกรุงเทพกลาง
- ประธาน : พลเอก โกญจนาท จุณณะภาต
- การประชุมติดตามการดําเนินงาน :
ป 2564 : 8 ครั้ง
ป 2565 : 1 ครั้ง
- คณะอนุกรรมการเพื่อติดตามการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุน หลักประกันสุขภาพเขต กลุมเขตกรุงเทพตะวันออก
- ประธาน : นายพรเทพ ศิริวนารังสรรค
- การประชุมติดตามการดําเนินงาน :
ป 2564 : 7 ครั้ง ป 2565 : - ครั้ง
- คณะอนุกรรมการเพื่อติดตามการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุน หลักประกันสุขภาพเขต กลุมเขตกรุงเทพเหนือและกรุงเทพใต
- ประธาน : นางสุกัญญา สุวัฒนวงศ
- การประชุมติดตามการดําเนินงาน :
ป 2564 : 5 ครั้ง
ป 2565 : 1 ครั้ง
- คณะอนุกรรมการเพอื่ ติดตามการดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุน หลักประกันสุขภาพเขต กลุมเขตกรุงธนเหนือและกรุงธนใต
- ประธาน : พลตรี สุทธิชัย วงษบุบฝา
- การประชุมติดตามการดําเนินงาน :
ป 2564 : 6 ครั้ง ป 2565 : - ครั้ง
3.1.2 จัดการประชุมใหตัวแทนสํานักงานเขตนําเสนอแนวทางการดําเนินการและ ตัวอยางโครงการเพื่อขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครที่ประสบผลสําเร็จ โดยเชิญ ผูอํานวยการเขตทั้ง 50 เขตหรือผูแทนเขารวมประชุมดวย
- กลุมเขตกรุงเทพเหนือ เขตดอนเมืองนําเสนอ
คณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกนสุขภาพเขตดอนเมือง จํานวน 18 คน โดยมีนายสุชีพ อารีประชาภิรมย ผูอํานวยการเขตดอนเมือง เปนประธานอนุกรรมการ มีการจัดการประชุมอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ จํานวน 10 ครั้ง
การใหความรูเ กี่ยวกบการปฏิบติงานและการจัดทําโครงการ
กระบวนการสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานตลอดจน การสรางความรูเขาใจในการเขียนโครงการขอสนับสนุนงบประมาณตามแบบที่กําหนด โดยดําเนินการดังนี้
1. จัดทําคูมือ
2. สรางความรูความเขาใจใหกับคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขตดอนเมือง โดยเชิญ วิทยากรจากสํานักอนามัย เปนวิทยากร
การสรางความรูค ในการเขียนโครงการ
วามเขาใจใหก
บกลุมองคกร หนวยงานภาครัฐและเอกชน ตลอดจนชุมชนในพื้นท
การจัดกิจกรรมใหความรูการเขียนแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เมื่อวันพุธที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.2563 เวลา 09.00 -12.00 น.
ณ หองประชุมกําแพงเพชร ชั้น 2 สํานักงานเขตดอนเมือง
การประชาส พนธการเปดรบการเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม
- จัดทําหนังสือประชาสัมพันธการเปดรับการเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมสงถึงกลุมเปาหมาย ทั้งสิ้น 200 กลุม ประกอบดวย ชุมชน 95 ชุมชน มูลนิธิ 48 แหง สมาคม 1 แหง กลุม NGO องคกรภาคเอกชน ทั้งหมด ประมาณ 15 แหง บริษัทรวมหนวยงานราชการท้ังหมด สถานบริการสาธารณสุข รวม 16 แหง และกลุม องคกรที่รวมกัน 5 คนขึ้นไป ชมรมผูสูงอายุตาง ๆ จํานวน 25 กลุม
- ประชาสัมพนธวิธีการเขียนโครงการของสํานักอนามัย ทาง website Facebook สํานักงานเขตดอนเมือง
และ Line ผูนําชุมชน โดยเผยแพรในรูปแบบวิดีโอ
- จัดทํา QR Code วิธีการเขาไปดูตัวอยางโครงการจาก website กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพ -
มหานคร และ website สปสช.
สํานักอนามยจด
ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลก
ประกันสุขภาพระดบเขต
เขารวมประชุมชี้แจงแนวทางการสนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2564 ผาน VDO Conference โปรแกรม ZOOM
ตัวอยางโครงการ
โครงการการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพผูสูงวัยดวยการเตนลีลาศ (กลุมผูสูงอายุปนเจริญ 4)
เสนอโครงการโดย กลุมผส กิจกรรมของโครงการ
ูงอายุปนเจริญ 4
1. จัดอบรมใหความรูและทักษะการเตนลีลาศ
- คาวิทยากร จํานวน 2 คน ๆ ละ 3 ช่วโมง ๆ ละ 600 บาท เปน เงนิ 3,600 บาท
- คาอาหารกลางวัน 1 มื้อ (40 คน x 100 บาท x 1 มือ) เปน เงนิ 4,000 บาท
- คาอาหารวาง 2 มื้อ (40 คน x 25 บาท x 2 มื้อ) เปนเงิน 2,000 บาท
2. จัดกิจกรรมสงเสริมการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพผูสูงวัยดวยการเตนลีลาศ
- คาวิทยากร จํานวน 2 คน ชั่วโมงละ 250 บาท วันละ 3 ช่ 3 ชั่วโมง x 20 วัน) เปนเงิน 30,000 บาท
โมง 20 วัน (2 คน x 250 บาท x
- คาน้ําสมุนไพรและน้ําแข็ง จํานวน 20 วัน เปนเงิน 4,000 บาท (40 คน x 5 บาท x 20 วัน) กลุมเปาหมาย/จํานวน จํานวน 45 คน
- กลุมเปาหมาย จํานวน 40 คน
- ผูดําเนินงาน จํานวน 5 คน งบประมาณ จํานวน 43,600 บาท
- กลุมเขตกรุงเทพใต เขตพระโขนงนําเสนอ
กลยุทธการดําเนินงาน
1. กําหนดแผนปฏิบัติราชการของสํานักงานเขตพระโขนง
2. แตงตั้งคณะทํางาน
3. กําหนดแผนการปฏิบัติงานแบบเชิงรุก
4. ติดตามประเมินผล/รายงาน
การขับเคล่ือนแผนการปฏิบติงานเชิงรุก
1. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขตพระโขนง
- แจงบทบาท หนาที่ และชี้แจง ทําความเขาใจแนวทางการดําเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต
- กําหนดกลยุทธ และแผนการปฏิบัติงานขับเคลื่อนการดําเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต
2. ประชุมคณะผูบริหารสํานักงานเขตพระโขนง
- ชี้แจง ทําความเขาใจแนวทางการดําเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต
- กําหนดเปนแผนปฏิบัติราชการของสํานักงานเขต
- มอบหมายภารกิจใหฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม
3. ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2561-2564) ระดบั เขต
- แจงแนวทางการดําเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต
- ประชาสัมพันธการเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน หลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
4. ประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ ระดับเขต
- แจงแนวทางการดําเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต
- ประชาสัมพันธการเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน หลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
5. ประชุมภาคเอกชน และชุมชน
- แจงแนวทางการดําเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเขต
- ประชาสัมพันธการเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน หลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
ตัวอยางแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมทดําเนนกิ ารแลว
1. แผนงานปฏิบัติการปองกันและเฝาระวังการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ในสํานักงานเขตพระโขนง งบประมาณ 59,900 บาท โดยฝายปกครอง สํานักงานเขตพระโขนง
2. โครงการสงเสริมสุขภาพประชาชนเชิงปองกันในชุมชนสาหรายทองคํา (Preventive – Long Term Care
: PLC) งบประมาณ 64,700 บาท โดยกลมเสริมสขภาพสุ มาชิกชุมชนสาหรายทองคํา
- กลุมเขตกรุงเทพกลาง เขตพญาไทนําเสนอ การดําเนินงานของคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขตพญาไท
จํานวนประชากร 83,836 คน เงินที่ไดรับจัดสรรทั้งหมด 7,545,240บาท โครงการที่ไดรับการอนุมัติ 27 โครงการ เปนเงิน 2,355,320 บาท คิดเปนรอยละ 31.22 ของงบประมาณที่ไดรับ
การประชาสัมพนธการเขียนโครงการ
เอกสาร/แผนปาย/บอรด
- เอกสารประชาสัมพันธ
- ปายประชาสัมพันธผานคณะกรรมการชุมชน/โรงเรียน
- จัดประชุมเครือขายชุมชน
- แจงผานเสียงตามสาย ผานสื่อออนไลน
- Facebook สํานักงานเขต
- Facebook ฝายพัฒนาชุมชนฯ
- Line กลุมเครือขายชุมชน
โครงการตัวอยาง
โครงการอบรมสงเสริมสุขภาพเยาวชนใหรักการออกกําลงกาย โดยใชกีฬาฟุตบอล ใหแ
กเยาวชนใน เขตพญาไท
วัตถุประสงค
- เยาวชนเห็นความสําคัญของการออกกําลังกาย
- มีสุขภาพรางกายแข็งแรง
- มีทกษะดานฟุตบอล
- หางไกลยาเสพติด/อบายมุข
- นําทักษะที่ไดรับไปประยุกตใช พัฒนา ตอยอด ใหกับตัวเองได การดําเนินงาน
- จัดหาผูฝกสอนที่ผานการอบรมหลักสูตรมาตรฐานสากล
- ฝกสอนหลังเลิกเรียน
- ประสานความรวมมือภาคประชาชน+ภาครัฐ
- พัฒนาเยาวชนปอนสูทีมชาติ
- ตัวชี้วัดความสําเร็จ ผูเขารวมโครงการมีทกษะพื้นฐานดานกีฬาและสมรรถภาพรางกายที่ดีขึ้น
- กลุมเขต กรุงเทพตะวนั ออก เขตมนบี ุรนาํี เสนอ
แนวทางการดําเนินการ
1. คัดเลือกและสรรหาคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขตมีนบุรี
2. คัดเลือกคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขตมีนบุรี แทนตําแหนงที่วางลง
3. จางเหมาบุคลากรชวยปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเขตมีนบุรี
4. ประชาสัมพันธขอมูลความเปนมาและแนะนําแนวทางในการเสนอโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณของ กองทุนหลักประกันสุขภาพเขตมีนบุรี ใหครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย
5. จ ประชมุ เชงปฏบัิิ ตกิ าร Workshop การเขียนโครงการ ใหชุมชนสามารถเขียนโครงการไดดวยตนเอง
5.1 ประชุมตัวแทนชุมชนที่ตั้งอยูบนถนนสายหลัก 5 กลุมโซน ๆ ละ 2 คน จํานวน 1 ครั้ง
5.2 ประชุมแยกแตละกลมโซนทั้งหมด 5 โซน รวมจํานวน 5 ครั้ง
6. มอบหมายเจาหนาที่ฝายพัฒนาชุมชนฯ เปนพี่เลี้ยงในการจัดทําโครงการใหแกผส ใกลชิด
7. มอบหมายขาราชการและบุคลากรปฏิบัติหนาที่ในสํานักงานกองทุนสาขา
นใจเสนอโครงการอยาง
8. แตงตั้ง “คณะทํางานตรวจสอบและพิจารณาเอกสารประกอบโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเขตมีนบุรี”
คณะทํางานฯ ประกอบดวย
- ผูชวยผูอํานวยการเขตมีนบุรี (สั่งราชการฝายพัฒนาชุมชนฯ) เปนประธานคณะทํางาน
- ผูชวยผูอํานวยการเขตมีนบุรี เปนรองประธานคณะทํางาน
- หัวหนาฝายสิ่งแวดลอมและสุขาภิบาล, หัวหนาฝายการศึกษา, หัวหนาฝายปกครอง, หัวหนาพยาบาล กลุมงานการพยาบาลและการบริหารทั่วไป ศูนยบริการสาธารณสุข 43 มีนบุรี เปนคณะทํางาน
- หัวหนาฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสงั คม และหัวหนาฝายการคลัง เปนคณะทํางานและเลขานุการ
9. ประชุมคณะทํางานตรวจสอบและพิจารณาเอกสารประกอบโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเขตมีนบุรี รวมจํานวน 5 ครั้ง
10. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขตมีนบุรี รวมจํานวน 6 ครั้ง
11. เสนอโครงการเพื่อนําเสนอคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขตมีนบุรีพิจารณา
12. แผนดําเนินงานเพื่อตอยอดและสนับสนุนการเขียนโครงการเพื่อของบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ
12.1 แผนระยะสั้น จัดตั้งกลุมผูนํากิจกรรมแอโรบิคและโยคะเพื่อสุขภาพเขตมีนบุรี เพื่อใหชุมชนได ติดตอเปนผูนํากิจกรรมไดสะดวก
12.2 แผนระยะยาว นําผูที่ผานการเขารวมกิจกรรมแอโรบิค โยคะ อยางนอยรอยละ 20 ของโครงการ
ท่ีเสนอของบประมาณ มาอบรมอยางเข การประกอบอาชีพ
ตัวอยางโครงการ
ขน เพื่อตอยอดการเปนผูนํากิจกรรมออกกําลังกายในชุมชน เพิ่มโอกาสใน
โครงการสงเสริมการจัดบริการเพื่อกระตุนพัฒนาการในเด็กปฐมวัย งบประมาณ 277,330 บาท เสนอโดย เครือขายศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียนเขตมีนบุรี
แนวทางขบ
- กลุมเขตกรุงธนเหนือ เขตจอมทองนําเสนอ เคลื่อนการดําเนินงาน
- ประชาสัมพนธแนวทางการจัดทําโครงการและการเสนอของบประมาณผานชองท างตาง ๆ เชน เวบไซ็ ตข อง
สํานักงานเขต, เฟสบุค, ปายประชาสมั พันธ, กลุมไลนชุมชน เปนตน
- จัดเจาหนาที่ลงพื้นที่ใหบริการเชิงรุก เพื่อประชาสัมพันธแนวทางการดําเนินงาน และใหคําแนะนําการจัดทํา
โครงการ ใหกับหนวยงาน/องคกร/กลม เปนตน
บุคคลตาง ๆ ในพื้นที่เขตจอมทอง ไดแก สถานศึกษา ชมรมผส
ูงอายุ และชุมชน
- จัดประชุมคณะทํางานเพื่อพิจารณากลั่นกรองโครงการ กอนนําเสนอที่ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน หลักประกันสุขภาพเขตจอมทอง
- จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขตจอมทอง เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการที่นําเสนอ
โครงการที่ไดรบ
เงินสนบ
สนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครท่ีประสบความสําเร็จ
1. โครงการปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เปนโครงการสงเสริมและ สนับสนุนการดําเนินงาน ปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2. โครงการรณรงคและปองกันโรคไขเลือดออกในชุมชนเปนโครงการแกไขปญหาการแพรระบาดของ โรคไขเลือดออกในพื้นที่เขตจอมทอง ซึ่งปจจุบันสถานการณการแพรระบาดของโรคไขเลือดออกสูงเปนอันดับที่ 2 ของกรุงเทพมหานคร
- กลุมเขตกรุงธนใต เขตทุงครุนําเสนอ
แนวทางการดําเนินการและตวอยางโครงการ
35 โครงการ เปนเงิน 1,791,667 บาท ประกอบดวย
- เสนอโดยศูนยบริการสาธารณสุข จํานวน 3 โครงการ เปนเงิน 269,215 บาท
- เสนอโดยสํานักงานเขตทุงครุ จํานวน 4 โครงการ เปนเงิน 289,326 บาท
- เสนอโดยภาคประชาชน จํานวน 28 โครงการ เปนเงิน 1,233,126 บาท การเตรียมความพรอม
การจัดประชุมชี้แจงแนวทางการเขียนโครงการแกชุมชน กลุมองคกร หนวยงานในพื้นที่เขตทุงครุ วันที่ 21 ตุลาคม 2563
การวิเคราะหปญหา ตามบริบทพื้นที่ ประเด็นปญหาในพื้นที่เขตทุงครุ สวนใหญปลูกบานบนรองสวนและ แหลงน้ํา เพื่อเปนขอมูลในการเสนอขอสนับสนุนงบประมาณโครงการแหลงน้ํา + ขยะ = แหลงเพาะพันธุลูกน้ํายุงลาย 15 ชุมชนไมมีแหลงน้ําขัง 14 ชุมชน มีแหลงน้ําขัง
ตัวอยางโครงการ
กลุมชุมชนกําจัดลูกน้ํายุงลายและคัดแยกขยะในชุมชน 16 โครงการ เปนเงิน 837,775 บาท ทํา 1 อยาง
ประโยชน 2 อยาง
3.2 สํานกั
- สํานกพฒ
นาสังคม
นางสุภมาส เลขาจารกุล ผูอํานวยการสํานักงานการพัฒนาสังคม สํานักพัฒนาสังคม ใหขอมูลวา ป ๒๕๖๔ มีการดําเนินงานรวมกับเครือขายองคกรชมชน ไมไดใชเงินจากกองทุน แตดําเนินการรวมกับ องคกรสภาชุมชนที่ประสานขอความรวมมือกับสํานักพัฒนาสังคม เพื่อนําไปแกปญหาจากวิกฤติที่ไดรับผลกระทบจาก การระบาดของโรคโควิด ซึ่งไดดําเนินการในสวนของชุมชนแออัด โดยสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (พอช.) มี งบประมาณมาชวยชุมชนรวมทั้งสิ้น ๓๐ ลานบาท สํานักพัฒนาสังคมยังไมมีการขอใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ กรุงเทพมหานคร และในป ๒๕๖๕ จะดําเนินการของบประมาณ ๔ ลานบาท เปนการอบรมเพื่อใหความรูด านสุขภาพ กับชุมชน และสํานักอนามัยไดประสานกับสํานักพัฒนาสังคมที่จะดําเนินการในสวนท่ีเกี่ยวของ เพื่อไมใหเกิดการ ซ้ําซอนกับสํานักอนามัยในการดําเนินการในศูนยเด็กเล็กตางๆ
ความเห็นและขอ
เสนอแนะของคณะกรรมการวิสามญ
ฯ ดังนี้
๑. ขอใหสํานักพัฒนาสังคมมีการจัดระบบชุมชนใหมีชุมชนเพ่ิมขึ้น เพ่ือใหชุมชนไดมีสวนรวม ในการเขามาชวยปองกันและแกไขปญหาโรคโควิด-19 ตามกฎหมายโรคติดตอจะตองใหมีหนวยควบคุมปองกันโรค ในชุมชน และที่ยังไมสามารถดําเนินการไดเนื่องจากไมมีกรรมการชุมชน เมื่อกรุงเทพมหานครมีการออกระเบียบวา ดวยกรรมการชุมชนแลว นิติบุคลจะตองตั้งเปนกรรมการชุมชน ขอใหสํานักพัฒนาสังคมเตรียมจัดทําแผนงบประมาณ
๔๐ ลานบาทเพื่อนําไปพัฒนาชุมชน ใหนิติบุคคลในอาคารชุดคอนโดนิเนียม มีกรรมการชุมชนเกิดขึ้น เพื่อใหเขามา ชวยภาครัฐในการทํางาน ทุกนิติบุคคลที่จะมีการตออายุตองมีหนวยควบคุมปองกันโรคอยางนอย ๑ หนวยตอนิติบุคคล ใหมีการประชุมเพื่อใหเกิดการรวมตัว งบประมาณ ๔ ลานบาท ไมควรนําไปอบรม ควรไปดําเนินการในเรื่อง กระบวนการจัดตั้งกรรมการชุมชนในกรุงเทพมหานคร
๒. สํานักพัฒนาสังคมตองดูวัตถุประสงคการปรับปรุงระเบียบใหมของคณะกรรมการพัฒนา ชุมชนวาควรดําเนินการอยางไรเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงค เพราะชุมชนจะเปนแกนที่จะชวยผลักดันใหเกิดกิจกรรม ที่เกี่ยวของกับกฎหมายในดานอื่นๆ ดวย ไมเฉพาะระเบียบของคณะกรรมการชุมชน หากสํานักพัฒนาสังคมดําเนินการ ในเรื่องหลักเกณฑ กระบวนการใหเกิดชุมชนใหมขึ้นโดยเร็ว จะชวยใหการดําเนินการบังคับใชกฎหมายอื่นประสบ ผลสําเร็จไดเร็วมากขึ้นดวย
๓. สํานักพัฒนาสังคมตองมีกระบวนการรวมกันกับสํานักงานเขต โดยสํานักงานเขตตอง จัดทํากระบวนการ A-I-C เพื่อการมีสวนรวมหาแนวทางวางแผนปฏิบัติ ใหมีอาสาสมัครชุมชนเกิดขึ้น ปรับปรุงเรื่อง ชุมชนใหม สวนสํานักพัฒนาสังคมตองนําเทคโนโลยีลงไปชวยในดานเทคนิค และใหสํานักงานเขตเปนผูดําเนินการ เรียนรูวิธีการ โดยใหมีการนําเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพมาใชในการพัฒนาชุมชน
- สํานักวฒนธรรม กีฬา และการทองเที่ยว
นายดํารงค ชื่นสุข ผูอํานวยการกองการกีฬา สํานักวัฒนธรรม กีฬา และวัฒนธรรม นําเสนอ ขอมูลวา ไดมีการเสนอโครงการฯ ใหคณะกรรมการตรวจสอบแลว โดยที่ประชุมไดพิจารณาปรับปรุงแกไขโครงการ เพื่อขอรับเงินสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ประจําป พ.ศ. 2565 จํานวน 3 โครงการ ดังนี้
1. โครงการจ อบรมการปฐมพยาบาลเบื้องตนท างการกีฬา
กีฬา และการทองเที่ยว
2. โครงการสงเสริมการออกกําลังกายผูสูงอายุในศูนยบริการของสํานักวัฒนธรรม
3. โครงการทองเที่ยววิถีใหมใสใจสุขภาพ
ความเห็นและขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสามญฯ ดังนี้
1. การใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ ขอใหพิจารณาวาประชาชนไดรับประโยชนอยางไร ขอใหดูวัตถุประสงคของโครงการใหมากวาถึงประชาชนเพียงใด
2. ขอใหสํานักวัฒนธรรมฯ จัดทํากฎเกณฑ กติกาตางๆ เพื่อเปนแนวทางใหกับสํานักงาน เขต การจะใชวิทยากรดําเนินการในเรื่องตางๆ ตองทําเปนเรื่องการสอนสาธิต เพื่อใหชุมชนไปทําตอ เพื่อใหเกิดความ ยั่งยืน กิจกรรมไมสามารถใชวิทยากรไดตลอดทั้งป การใชเงินกองทุนเพื่อตองการใหประชาชนมีสวนรวมในการจัดทํา กิจกรรมโครงการ
3. ขอใหสํานักวัฒนธรรมฯ จัดทํากติกาเรื่องวิทยากร คาใชจายแตละชมรม และสํานัก อนามัยเปนพี่เลี้ยงในการเบิกจายเงินใหกับสํานักวัฒนธรรมฯ ดวย
- สํานกการศกษึ า
นางชุลีพร วงศพิพัฒน รองผูอํานวยการสํานักการศึกษา นําเสนอขอมูลโครงการ ที่เสนอขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ปงบประมาณ 2565
ลําดับ | โครงการ | สวนราชการ | จํานวนเงิน | หมายเหตุ |
1. | โครงการ รร.กทม.เปดเทอมปลอดภัย หางไกลโรคโควิด-19 | กองคลัง | 88,097,450 | กองทุนฯ ใหปรับปรุงโครงการ และอนุมัติงบประมาณเปนเงิน 85,895,810 บาท |
2. | โครงการฝกอบรมการปฐมพยาบาล เบืองตน | สถาบันพัฒนา ขาราชการครูฯ | 1,471,840 | กองทุนฯ ใหปรับปรุงโครงการ และอนุมัติงบประมาณเปนเงิน 1,620,240 บาท |
3. | โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ลด หวาน มัน เค็ม ลดอวน ลดโรค รร.สังกัด กทม. | หนวยศึกษานิเทศก | 11,909,080 | อยูระหวางการพิจารณา |
4. | โครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตดาน สุขภาวะทางเพศในการปองกันการ ตั้งครรภในวัยรุนโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร | หนวย ศึกษานิเทศก | 3,142,260 | อยูระหวางการพิจารณา |
5. | โครงการสงเสริมศักยภาพนักเรียน ใน รร.สังกัด กทม. | กองเสริมสราง สมรรถนะนักเรียน | 61,287,160 | อยูระหวางการพิจารณา |
6. | โครงการดนตรีและเสียงเพลงเพื่อ พัฒนาพฤติกรรมและความเครียด ของนักเรียนใน รร.สังกัด กทม. | กองเสริมสราง สมรรถนะนักเรียน | 2,180,000 | อยูระหวางการพิจารณา |
รวมทั้งสิ้น | 168,087,790 |
ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสามญฯ ดังนี้
1. โครงการที่เกี่ยวของกับสงเสริมการแสดงออกในเด็กและวัยรุน และตอตานยาเสพติด สํานักอนามัยในฐานะผูท่ีพิจารณาโครงการ ที่ผานมากรุงเทพมหานครไดสนับสนุนงบกลางในการดําเนินโครงการฯ ควรมีการพิจารณาวาหากรายการใดสามารถขอใชงบประมาณจากแหลงอื่นได ก็ไมควรขอใชเงินจากกองทุนฯ เนื่องจากเงินกองทุนฯ มีความจําเพาะและตองประเมินผลความเปลี่ยนแปลงได มีทั้ง Output และ Outcome มิใช มีเพียง Process และโครงการตองมีจุดประสงคชัดเจนและไมซ้ําซอนกับเงินอื่นใดที่เคยไดรับมาหรือจะไดรับมา
2. การจัดทําโครงการในภาพรวมของสํานักการศึกษา ตองแจงสํานักงานเขต เพื่อแจง โรงเรียนในสํานักงานเขตทราบ วาสํานักการศึกษากําลังทําโครงการใดอยูแลวบาง เพื่อลดความซ้ําซอนและแจง อนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเขตทราบ เพื่อเปนขอมูลประกอบการพิจารณาโครงการที่เสนอเขามา
3. ฉากกั้นระหวางโตะ ควรพิจารณาวามีความจําเปนหรือไม เนื่องจากมีการ Social Distancing โดยการนั่งหางกันและสวมหนากากอนามัยอยูแลว
4. โครงการโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครเปดเทอมปลอดภัยหางไกลโรคโควิด-19 งบประมาณ 88,097,450 บาท สํานักการศึกษาตองสงขอมูลรายละเอียดโครงการใหสํานักงานเขตและโรงเรียน เพื่อที่อนุกรรมการกองทุนฯ และโรงเรียนจะไดนํามาประกอบการพิจารณาโครงการและลดความซ้ําซอน
4. โครงการที่มีการจัดซื้อเครื่องวัดอุณหภูมิ สํานักการศึกษาควรแจงโรงเรียนใหจัดหาเทาที่ จําเปนตอความตองการใชงานเทานั้น ไมควรมีการขอสํารอง
5. หนวยที่จะควบคุมไมใหมีการเบิกซ้ําซอนคือสํานักการศึกษาและสํานักงานเขต หากรอ พิจารณาวาซ้ําซอนหรือไม อาจจะเปนการเสียเวลา ควรคัดกรองความซ้ําซอนในขั้นตอนการเบิกจายแทน
6. หากโครงการใดยังไมมีความชัดแจง สํานักการศึกษาควรทําโครงการใหมีขนาดเล็กลง เปนโครงการนํารองกอน เชน กลุมเขตละ 1 โรงเรียน หรือ 1 เขต ตอ 1 โรงเรียน เปนตน เพื่อทดลองดําเนินการ ใหไดรูปแบบที่ชัดแจง
7. โครงการดนตรี ควรใหโรงเรียนในแตละพื้นที่สํารวจสภาพปญหาของตนเองกอน
แล ไปดําเนินการเขียนโครงการเอง เน่ืองจากแตละพืนท่ีมีปญหาไมเหมือนกัน ทําใหการแกปญหาอาจแตกตางกัน
8. เพื่อใหเกิดความยั่งยืนในโรงเรียน เนื่องจากทายที่สุดโรคโควิด-19 จะกลายสภาพ
เปนคลายไขหวัดใหญ ควรพิจารณาระวัง 3 เรื่อง ดังนี้
8.1 ไมใหมีความแออัดยัดเยียด ไมควรใหมีการรวมกลุมกันจํานวนมาก หรือไม จัดกิจกรรมที่ตองมีการรวมกลุมคนเกิน 50 คน ในชวงที่มีการระบาด
8.2 หากมีความจําเปนตองอยูรวมกัน ตองมีการเวนระยะหางอยางนอย 1 เมตร หรือหากนอยกวา 1 เมตร ตองสวมหนากากอนามัยหรือมีฉากกั้น เพื่อปองกันน้ําลายฟุงกระจาย
8.3 การระบายอากาศ (Ventilation) ขอใหสํานักการศึกษาประสานฝายโยธา สํานักงานเขต สํารวจทุกโรงเรียนวาจุดใดมีความปดอับ เชน โรงอาหาร หองประชุม เปนตน จะตองทําใหโปรงโลง
ทุกโรงเรียนตองปรับปรุงระบบไหลเวียนอากาศ โดยขอเงินสะสมเหลือจายเพื่อนําไปปรับปรุงเพื่อใหเกิดความยั่งยืน หากไมใชพัดลมไดจะดีที่สุด คือใชระบบหมุนเวียนของอากาศ (Ventilation Aerodynamic) โดยใชกระบังลมที่รับลม
เขามาแลวเปลย
นทิศทางใหมาทิศทางเดียวกันทั้งหมด ตองมีชองทางเขา ออกของอากาศใหได
9. งบประมาณในการจัดซื้อจัดหาวัสดุปอุปกรณเพื่อดําเนินการตามมาตรการควบคุม และ
ปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) เพื่อใชในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร หรือที่เกี่ยวกับสุขภาพ ไมควรขอจัดสรรจากงบสะสมกรุงเทพมหานครหรืองบประมาณปกติ โดยควรขอใชเงินจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครแทน
10. สํานักการศึกษาควรเขียนโครงการใหทุกโรงเรียนในสงั กัดกรุงเทพมหานคร เพื่อขอใช เงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เชน โครงการธนาคารขยะ โครงการเด็กอวน โครงการปองกัน ตนเองจากโรคไขเลือดออก เปนตน
11. สํานักการศึกษาควรจัดทํา Template โครงการ เพื่ออํานวยความสะดวกใหแก โรงเรียนในการเขียนโครงการเพื่อขอใชเงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
12. สํานักการศึกษาควรจัดทําหนังสือแจงขอมูลไปยังสํานักงานเขตวามีการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณเพื่อควบคุมปองกันการแพรระบาดฯ จํานวนเทาใด และจะจัดสรรใหแตละเขตจํานวนเทาใด เพื่อที่สํานักงาน เขตจะไดประมาณการไดวาเพียงพอตอความตองการหรือไม ตองจัดซื้อเพิ่มเติมอีกหรือไม เปนจํานวนเทาใด
- สํานักการจราจรและขนสง
นายธนันชัย เมฆประเสริฐ ผอู
ํานวยการกองนโยบายและแผน สํานักการจราจรและขนสง
นําเสนอขอมูลโครงการที่สํานักการจราจรและขนสงเสนอขอรับการสนับสนุนเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพ - มหานคร ในปงบระมาณ พ.ศ. 256๔ จํานวน 1 โครงการ คือ โครงการเสริมสรางการเรียนรูดานการจราจรในเด็ก เปนเงิน 12,000,000 บาท
วัตถุประสงค
๑. เพื่อเปนการสนองตอบนโยบายผูบริหารกรุงเทพมหานครในดานการ แกไขปญหาจราจร และเปนการกวดขันวินัยผูใชรถใชถนน
๒. เพื่อเสริมสรางความรูความเขาใจในกฎและวินัยจราจร รวมทั้งกระตุนและ ปลูกจิตสํานึกดานความปลอดภัยความมีน้ําใจในการใชรถใชถนนรวมกัน และสามารถนําความรูไปปรับใชได
๓. เพื่อสงเสริมกิจกรรมการมีสวนรวมของกลุมเด็กและเยาวชน กลุมเปาหมาย
ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร
ที่ศึกษาในปการศึกษา 2564 จํานวนไมนอยกวา 28,000 คน
ระยะเวลาดําเนินการโครงการ
๑๐ เดือน ผลที่คาดวาจะไดรับ
๑. เด็กและเยาวชนจะไดเรียนรูเครื่องหมาย สัญลักษณ กฎจราจร และมารยาทในการใชรถใชถนนจากการฝกหักภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
๒. เปนการเตรียมความพรอมใหแกเด็กและเยาวชนเพื่อการใชรถใชถนน
อยางปลอดภัย
๓. เด็กและเยาวชนจะมีจิตสํานึกในดานการรักษาวินัยจราจร ความเอื้ออาทร และ สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได
แนวทางขอใชเงินเพื่อลดอุบัติเหตุ
สํานักการจราจรฯ มีแนวทางที่จะดําเนินการในภาพรวมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
และการทํารายเขตเนื่องจากเขตมีบริบทท่ีตางกัน ในเรื่องของระบบการขนสง พฤติกรรมเนือยนิ่งจะทําใหสุขภาพ แยลง ถาประชาชนเปลี่ยนโหมดการเดินทาง เชน หันมาใชรถจักรยาน ก็จะทําใหสุขภาพแข็งแรงขึ้น แตเนื่องจาก ประเทศไทยมีอากาศรอนรวมถึงตองมีความปลอดภัยในการใชถนนรวมดวย
ความเห็นและขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสามญฯ ดังนี้
๑. การใหความรูวินัยจราจร ควรดําเนินการใหครอบคลุมทุกเขตในโรงเรียนตางๆ
๒. ในสวนรถไฟมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นบอยกับเด็กๆ หากสํานักการจราจรฯ สํานักวัฒนธรรมฯ และสํานักส่ิงแวดลอม มีการประสานงานรวมกันใหเด็กไดเรียนรูการใชรถจักรยาน โดยใชศักยภาพของทุกหนวยงาน มารวมกันจัดกิจกรรมในสวนรถไฟ จะเปนประโยชนมาก
- สํานกยุทธศาสตรและประเมินผล
นางรสสุคนธ ชาติประเสริฐ หัวหนากลุมงานยุทธศาสตรสาธารณสุข สํานักยุทธศาสตรและ ประเมินผล ใหขอมูลการเสนอโครงการเพื่อขอใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
ความเปนไปไดในการเสนอขอรับการสนับสนุนเงินกองทุนฯ เพื่อดําเนินการโครงการ
1. การพัฒนาแนวทางการดําเนินงานเพื่อใหเกิดการจัดการชุดขอมูลทางสังคมและสุขภาพ
ของประชาชน
ตามแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 2 (พ.ศ.2561-2564)
มีโครงการที่เกี่ยวของ 2 โครงการ ไดแก
(1) โครงการประเมินผลแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผูสูงอายุกรุงเทพมหานคร
ระยะที่ 2 ระยะสิ้นสุดแผน
(2) โครงการพัฒนาระบบฐานขอมูลดานผูสูงอายุระดับเขตของกรุงเทพมหานคร
ในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 สํานักยุทธศาสตรและประเมินผลพิจารณากําหนดแนวทางการรวบรวมขอมูลระบบ การนําเขาขอมูลรายละเอียดขอมูลดังนี้
ในผูสูงอายุ ในผูสูงอายุ
- สํานักงานเขต สํานักงานปกครองและทะเบียน ขอมูลผูสูงอายุ อายุ 95 ป ขึ้นไป
- สํานักพัฒนาสังคม ขอขอมูลชมรมผูสูงอายุที่รับเบี้ยยังชีพและเบี้ยผูพิการ
- สํานักอนามัย ขอมูลผูสูงอายุที่มีการภาวะพึ่งพิง ขอมูลการคัดกรองโรค
- สํานักการแพทย ขอมูลผูสูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิง ขอมูลการคัดกรองโรค
- สสส. รวมมือกับสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล สํารวจ
ขอมูลประชากรจากเขตนํารอง 13 เขต จํานวน 28,673 คน เนนเก็บรวบรวมขอมูลรายบุคคล ไดแก ผูสูงอายุ ผูปวย เรื้อรัง ผูพิการ (ที่ไมใชผูสูงอายุ) รวมทั้งผูที่ใหการดูแลผูสูงอายุและผูปวยเรื้อรัง/ผูพิการ
- 13 เขต ไดแก หวยขวาง ราชเทวี บางร ประเวศ ธนบุรี ทวีวฒั นา บางแค บางบอน และบางพลัด
บางนา ดอนเมือง ลาดพราว หนองจอก
2. รางมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2
- การพัฒนาพนที่สาธารณะเพื่อสุขภาวะของชุมชน
- การพัฒนาระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในกรุงเทพมหานครเพื่อรองรับภาวะวิกฤติ สมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร
- จุดเริ่มตนของสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร เกิดขึ้นโดย มีการตงคณะกรรมั้ การ
สนับสนุนการจัดและขับเคลอ เปนประธาน
นมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร (คจ.สก.) ซึ่งมี ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร
- มีการจัดสมชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2563
ณ หองบางกอก อาคารไอราวัตพัฒนา ศาลาวาการกรุงเทพมหานคร ดินแดง
- คจ.สก. กําหนดจัดประชุมสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2564 ในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2564 ประเด็นนโยบายสาธารณะ
1. การสานพลังพัฒนาพื้นที่สาธารณะเพื่อสุขภาวะของชุมชน
กรุงเทพมหานคร เพื่อรองรับภาวะวิกฤติ
2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในกรุงเทพมหานคร
รางมติสมัชชาฯ: การพัฒนาพื้นที่สาธารณะเพื่อสุขภาวะของชุมชน
- บรรทัดที่ 23 - 27
“ สํานักการวางผังและพัฒนาเมือง เปนหนวยงานหลัก รวมกับ สํานักยุทธศาสตร
และประเมินผล สํานักสิ่งแวดลอม สํานักพัฒนาสังคม สํานักอนามัย สํานักงานเขต องคกรชุมชน หนวยงาน และ เครือขายที่เกี่ยวของ เชน เครือขายการพัฒนาเมืองและพื้นที่สาธารณะ เปนตน ในการจัดทําแผนและกระบวนการ สํารวจขอมูลพื้นที่สาธารณะชุมชน ทั้งชุมชนแออัดและชุมชนลักษณะอื่น รวมถึงการจัดประเภทพื้นที่ การใชประโยชน และการเขาถึง…”
- บรรทัดที่ 32 - 39
“สํานักยุทธศาสตรและประเมินผล เปนหนวยงานหลัก รวมกับ สํานักพัฒนาสังคม
สํานักการวางผังและพัฒนาเมือง สํานักสิ่งแวดลอม สํานักอนามัย และคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน เขต 13 กรุงเทพมหานคร โดยการสนับสนุนของ สํานักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ... จัดกระบวนการใหเกิดกลไกกลางท่ีเปนรูปธรรมจากความรวมมือของภาคสวนตาง ๆ ไดแก เครือขายองคกรชุมชน … เพื่อจัดทําแผนปฏิบัติการที่เชื่อมโยงแผนงาน โครงการของสํานักฯ หนวยงาน ชุมชนและเครือขายที่เกี่ยวของในการ พัฒนาพื้นที่สาธารณะในชุมชน ทั้งชุมชนแออัด และชุมชนอื่น ๆ พรอมติดตามผล...”
รองรับภาวะวิกฤติ
รางมติสม
ชาฯ: การพัฒนาระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในกรุงเทพมหานครเพื่อ
- บรรทัดที่ 91 – 98
“สมาชิกสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร เห็นชอบใหมีความรวมมือและขอตกลง
รวมระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของในการพัฒนาระบบการบริหารขอมูลที่เปนเครือขาย สามารถเชื่อมโยงขอมูลสําคัญ แบบบูรณาการ เพื่อนําไปสูการวางแผนงาน และการบริการสุขภาพปฐมภูมิในภาวะวิถีชีวิตใหม และในภาวะวิกฤติได อยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ...”
- บรรทัดที่ 100 - 110
“ขอใหกรุงเทพมหานคร โดยสํานักอนามัย เปนหนวยงานหลัก รวมกับ สํานักพัฒนาสังคม สํานักการศึกษา สํานักงานเขต สํานักยุทธศาสตรและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข (ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องคการ มหาชน) รวมทั้งหนวยงานที่เปนเจาของฐานขอมูลแตละฐาน จัดทําขอตกลงและจัดต้ังคณะกรรมการรวม เพ่ือพัฒนา แผนการพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศที่สนับสนุนการบริการสุขภาพปฐมภูมิใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ...”
ใหครบ 50 เขต
แนวทางการดําเนินการเพื่อใหเกิดการจัดการชุดขอมูลทางสังคมและสุขภาพของประชาชน
1. จัดทําโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
เพื่อดําเนินการสํารวจตามแนวทางที่ สสส. และสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ไดจัดทําไว
2. จัดทํารูปแบบโครงการเพื่อเปนแนวทางใหสํานักงานเขตนําไปใชในการเสนอโครงการ เพื่อขอใชเงินกองทุนฯ ดําเนินการ
ความเห็นและขอ เสนอแนะของคณะกรรมการวิสามัญฯ ดังนี้
1. ควรให พชข. มาเปนเครื่องมือเพราะถามีแนวทางจาก พชข. จะสามารถขับเคลื่อน โครงการบูรณาการจะเปนประโยชน
2. การใชเงินกองทุนตองมีผลผลิตและผลลัพธ ขอใหสํานักยุทธศาสตรและประเมินผลจัดทํา กระบวนการคนหาปญหาเพื่อการแกปญหาใหกับประชาชนในพื้นที่เขต เมื่อมีกระบวนการสํารวจปญหา แนวทางแกไข ปญหา จะมีความยั่งยืน
3. โครงการสํารวจอาจจะยังไปไมถึงประชาชน สํานักยุทธศาสตรฯ ควรใหขอแนะนํา การอบรมที่จะใชเงินกรุงเทพมหานครหรือเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ในมิติสุขภาพ
- สํานกอนามัย
ดานทนตกรรม
ขอมูล ดังนี้
นายเธียรชัย วงศสวัสดิ์ ผูอํานวยการกองทันตสาธารณสุข สํานักอนามัย นําเสนอ
งานเคลือบรองฟนที่กองทันตสาธารณสุขดําเนินการอยู ไมไดใชงบประมาณจาก
กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร แตใชงบสะสมจากสํานักอนามัยโดยตรง มีการจัดซื้อและตัวชี้วัด
ที่ดําเนินการเปนประจํา ซึ่งมีการดําเนินการมาประมาณ 10 – 20 ปแลว คือการสงเสริมปองกันไมใหเกิดโรค
ซึ่งตรงตามบทบาทของสํานักอนามัย
สารเคลือบรองฟน (Sealant) ผลิตในประเทศไทย
1. การเคลือบหลุมรองฟนเปนการปองกันฟนผุในเด็กที่มีประสิทธิภาพ กระทรวงสาธารณสุข แนะนําใหเด็กประถมไดรับการเคลือบหลุมรองฟน ในฟนกรามแทซี่ที่ 1 และ 2 บนลางที่มีหลุมรองฟนลึก ซึ่งฟนขึ้นมา ในชวงที่เด็กยังไมสามารถทําความสะอาดฟนไดดีพอที่จะปองกันฟนผุได นอกจากน้ี การเคลือบหลุมรองฟนยังไดรับการ
บรรจุในชุดสิทธิประโยชนดานการสงเสริมปองกันของเด็กทุกคน ทุกสิทธ์ิ โดยผูปกครองไมตองเสียคาใชจาย ทําให ปริมาณการใชสารเคลือบหลุมรองฟนในประเทศมีปริมาณสูง
2. มูลนิธิทันตนวัตกรรมในพระบรมราชูปถัมภ จึงไดพัฒนาตนแบบ (Prototype) วัสดุเคลือบ หลุมรองฟน ตามแนวพระราชดําริ ร.9 ที่ใหผลิตของใชเองในประเทศไทย ลดการนําเขาจากตางประเทศ ซึ่งวัสดุเคลือบ รองฟน ไดผานการทดสอบทั้งในหองปฏิบัติการ หองทดลอง และทํา Clinical trail ในเด็กแลว พบวาประสิทธิภาพใน การยึดติดกับหลุมรองฟนไมตางจากที่นําเขาจากตางประเทศ จึงจัดหาเครื่องจักรที่จะผลิตในระดับอุตสาหกรรม เพื่อให เกิดการใชในประเทศอยางกวางขวางเผยแพรแนวพระราชดําริ ร.9
3. ปจจุบัน เครื่องจักรมีความพรอมในการผลิตแลว อยูระหวางการสั่งซื้อสารเคมี Medical grade เปนสวนประกอบจากตางประเทศ และตองผานการตรวจสอบคุณภาพ การรับรองมาตรฐานสากล เชน ISO 13485 ฯลฯ การขออนุญาตจาก อย. ซึ่งคาดวาจะแลวเสร็จประมาณ มีนาคม 2565 โดยหากตองการดําเนินโครงการ เคลือบรองฟนโดยใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร คาดวาจะตองใชในปงบประมาณ 2566 เนื่องจากกรุงเทพมหานครพรอมที่หาพื้นที่ที่จะทดสอบสารเคลือบรองฟน (Sealant) ที่ผลิตจากมูลนิธิทันตนวัตกรรมวา ยึดเกาะไดดีหรือไม มีความปลอดภัยสมควรนํามาใชหรือไม รวมถึงผลขางเขียง
ความเห็นและขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสาม ฯ ดังนี้
1. ควรเปลี่ยนแหลงเงินจากเงินงบประมาณของกรุงเทพมหานครมาขอใชเงินจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร โดยเตรียมการจัดทําโครงการเพื่อขอใชเงินจากกองทุนฯ ต้ังแตเดือน มีนาคม 2565 เปนตนไป เนื่องจากเงินกองทุนฯ นี้ มีเงินเหลือจํานวนมาก ทําใหไมสามารถรับเงินเติมจากสํานักงาน หลักประกันสุขภาพแหงชาติได
2. ควรเปลี่ยนการซื้อสารเคลือบรองฟนจากตางประเทศ มาติดตอกับมูลนิธิทันตนวัตกรรม ในพระบรมราชูปถัมภเพื่อทําการผลิตซึ่งจะมีราคาถูกกวาประมาณ 3 – 4 เทา
3. ควรมีการจัดเก็บขอมูลสุขภาพฟนของเด็ก กอนเริ่มโครงการ เพื่อนํามาเปรียบเทียบ กับผลลัพธหลังเสร็จสิ้นโครงการ
ดานยาเสพติด
นายกรกช ศุภกาญจน นักสังคมสงเคราะหชํานาญการพิเศษ สํานักงานปองกันและ บําบัดการติดยาเสพติด สํานักอนามัย นําเสนอขอมูล ดังนี้
โครงการกรุงเทพมหานครปลอดภัยยาและสารเสพติด หลักการและเหตุผล
- ประชากรอายุ 15 ป ขึ้นไปทั้งสิ้น 57 ลานคน
- สูบบุหรี่ 9.9 ลานคน รอยละ 17.4
- กลุมอายุ 25 - 44 ปมีอัตราการสูบบุหรี่สูงสุด รอยละ 21.0
- กทม. มีอัตราการสูบ รอยละ 16.1
- ด่ืมแอลกอฮอล 16 ลานคน รอยละ 28.0
- กลุมอายุ 25 - 44 ป มีอัตราการดื่มฯ สูงสุด รอยละ 36.5
- กทม.มีอัตราการบริโภครอยละ 27.2
- พบปญหาการขายในรูปแบบออนไลนมากขึ้น
- เยาวชนเสพยาเสพติดมากถึง 2.7 ลานคน
- อายุระหวาง 15 - 19 ป จํานวน 3 แสนคน
- ปญหาการใชย าและสารเสพติดของเด็ก เยาวชน และประชาชน ยังเปนปญหาที่มีความรุนแรง และลุกลามตอเนื่อง
- รูปแบบการคายาเสพติดแบบออนไลน
- เจตนารมณของกฎหมาย
- แผนควบคุมผลิตภัณฑยาสูบแหงชาติ ฉบับที่ 2 เปาหมาย ลดจํานวนผูสูบบุหรี่ในประเทศใหลดลง รอยละ 30 ในป พ.ศ. 2568
- แผนปฏิบัติการดานการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลระดับชาติ ระยะที่ 2 เปาหมายลดความชุกของผูดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลลดลง
รอยละ 23.1 ในป พ.ศ. 2570
- แผนปฏิบัติการดานการปองกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2563 - 2565 มีเปาหมายลดระดับของปญหาของการแกไ ข ปญหาไดอยางนอย รอยละ 50 ภายใน 3 ป
วัตถุประสงคของโครงการ
1. เพื่อรณรงคสรางการรับรูและการมีสวนรวมในการปองกันปญหายาและสารเสพ ติดใหเด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
2. เพื่อสงเสริมการปองกันนักสูบ นักดื่ม และนักเสพหนาใหมในพื้นท่ีกรุงเทพ -
มหานคร ยาและสารเสพติด (SDLC)
3. เพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมศูนยการเรียนรูดานการปองกันและแกไขปญหา
ตัวชี้วัดของโครงการ
1. มีการรณรงคสรางการรับรูและการมีสวนรวมในการปองกันปญหายาและ
สารเสพติดในพื้นที่ที่มีการรวมต ของประชาชนจํานวนมาก หรือชุมชนในกรุงเทพมหานคร ครอบคลมุ 6 กลุมเขต
อยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง ไมนอยกวา 8 เดือน
2. รอยละ 80 ของผูเขารวมกิจกรรมรณรงคมีความพึงพอใจ
3. มีของที่ระลึกสนับสนุนการจัดกิจกรรมของศูนยการเรียนรูดานการปองกัน และแกไขปญหายาและสารเสพติด (SDLC)
วิธีการดําเนินการ
1. จางเหมา ดังนี้
- จางเหมาจัดกิจกรรมรณรงคสรางการรับรู การมีสวนรวมในการ
ปองกันปญหายาและสารเสพติด
- จางเหมาผลตของทิ ี่ระลึกสนับสนุนการจัดกิจกรรมของศูนยการ
เรียนรูดานการปองกันและแกไขปญหายาและสารเสพติด (SDLC)
จัดกิจกรรมฯ และผลิตของทระลึก
2. ดําเนินการจัดทําขอตกลง (TOR) และดําเนินการประกวดราคาจางเหมา
3. คัดเลือกสถานที่เพื่อการรณรงคสรางการรับรู การมีสวนรวมในการปองกัน
ปญหายาและสารเสพติดครอบคลุมพื้นที่ 6 กลุมเขต โดยมีเปาหมายการรณรงคอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง
4. ประเมินผลกิจกรรม
4.1 บันทึกภาพการจัดกิจกรรมรณรงคสรางการรับรู
4.2 สรุปผลการใชของที่ระลึกสนับสนุนการจัดกิจกรรม ของศูนยการเรียนรู
4.3 สรุปผลการดําเนินโครงการตอผูบริหารสํานักอนามัย
สถานที่ดําเนินกิจกรรม
- อนุสาวรียชัยสมรภูม
- สยามสแควร
- ตลาดนัดจตุจักร
- ปากคลองตลาด
- บานพิชิตใจ
กิจกรรม EVENT ทั่วพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดําเนินการในพื้นที่ชุมชนในกรุงเทพมหานคร ครอบคลุม 6 กลุมเขต อยางนอย
เดือนละ 1 ครั้ง ไมนอยกวา 8 เดือน กลุมเปาหมายเด็ก เยาวชน และ ประชาชน รวมจํานวนไมนอยกวา 1,000 คน กลุมเปาหมายเด็ก เยาวชน และประชาชน
งบประมาณที่ใช จํานวน 2,506,000 บาท ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 รวมเปนเงิน 2,000,000 บาท
1.1 คาใชจายเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมแถลงขาวเปดโครงการ 400,000 บาท
1.2 คาใชจายเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมรณรงค 1,200,000 บาท
1.3 คาวัสดุตาง ๆ ที่ใชในการจัดงานหรือกิจกรรม 400,000 บาท กิจกรรมที่ 2 รวมเปนเงิน 500,000 บาท
- ของที่ระลึกสําหรับเด็ก เยาวชนที่เขารวมกิจกรรม 500,000 บาท กิจกรรมที่ 3 รวมเปนเงิน 6,000 บาท
- ติดตามและประเมินผล เปนเงิน 6,000 บาท
ปญหายาและสารเสพติด
ผลที่คาดวาจะไดรับ
1. เด็ก เยาวชน และประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีสวนรวมในการปองกัน
ปญหายาและสารเสพติด ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
2. เด็ก เยาวชน และประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีสวนรวมในการปองกัน
3. เกิดกระแสที่สรางความตื่นตัวในการปองกันปญหายาและสารเสพติด
ความเห็นและข
เสนอแนะของคณะกรรมการวิสามญ
ฯ มีดังนี้
1. หลักการและเหตุผล คอนขางยาวเกินไป
2. วัตถุประสงคคือเรื่องสําคัญของการเขียนโครงการ ซึ่งจากที่นําเสนอจะไมสามารถ เห็นไดชัดวาผลสําเร็จของโครงการจะไดผลสัมฤทธิ์ใด เชน เพื่อรณรงค ซึ่งการรณรงคคือกิจกรรมที่ตองทําในโครงการ แตไมใชวัตถุประสงค ซึ่งหากพิจารณาจากหลักการและเหตุผลแลว วัตถุประสงคคือเพื่อที่จะลดปญหาเกี่ยวกับเร่ืองยา เสพติดของเด็กและเยาวชน (ทําโครงการนี้แลวเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ใดขึ้น)
3. ตัวชี้วัดความสําเร็จ เชน มีการรณรงค มีของที่ระลึก เห็นวาไมใชตัวชี้วัดความสําเร็จ
ซึ่งตัวชี้วัดความสําเร็จตองเปนตัวเลขที่วัดไดห ความสําเร็จคืออัตราฟนผุในเด็กลดลง
รือปริมาณทช
ัดเจนยกตัวอยางจากเรื่องเคลือบรองฟนในเด็ก ตัวชี้วัด
4. วิธีดําเนินการ ไมใชการจางเหมา เนื่องจากเปนกระบวนการในการพัสดุ ควรใชวา รณรงคหรือใหความรู จึงจะเปนวิธีดําเนินการของโครงการ
5. ผลประเมินความพึงพอใจ ซึ่งไมนาจะเปนเปาหมายที่ตองการหรือรับรูจากผูเขารวม โครงการ จึงไมควรสํารวจความพึงพอใจฯ แตควรวัดผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
6. ยาเสพติดเปนเรื่องคอนขางยากมาก ควรจับเรื่องเหลาหรือบุหรี่ ซึ่งเปนเรื่องที่จับตอง ไดงายกวา เนื่องจากเหลาเปนสาเหตุของความรุนแรงภายในบานหรือสาเหตุของโรคสมองเสื่อม เปนตน โดยการทํา เครือขายเยาวชนเปนตาสับปะรดในการตรวจจับการทําผิดกฎหมาย ซึ่งในตางจังหวัดเขมแข็งมาก
7. เครือขายสภาเยาวชน 50 เขต ในการเฝาระวังเรื่องบุหรี่และเหลา ขอใหทําใหเขมแข็ง มากยิ่งขึ้น โดยมีการอบรมสัมมนา รับสมาชิกใหมใหเปนจิตอาสาในการเฝาระวัง (Watch Dog) รวมถึงมีเรื่องสินบน นําจับดวย
8. ควรมีการจัดประกวดวาดรูป เขียนเรียงความ การโตวาที ในการปองกันเรื่องเหลาและ บุหร่ี ในชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โดยมีรางวัลตอบแทน โดยจัดเวทีผานอินสตราแกรมหรือเฟสบุค ซึ่งใช งบประมาณไมมาก เพื่อเปนการปลูกฝงในเด็ก
9. ควรมีการจัดจางเด็กหรือเยาวชนมาผลิตสื่อเพื่อเผยแพรออนไลน เชน TikTok โดยให เด็กหรือเยาวชน อายุ 18 – 20 ป เปนผูคิดเนื้อหาของสื่อเอง เพื่อสะทอนแนวความคิดหรือความตองการของเด็ก หรือเยาวชน
ดาน Home Isolation
แพทยหญิงนภสชล ฐานะสทธิ์ิ ผูอํานวยการกองสรางเสริมสุขภาพ สํานักอนามัย นําเสนอ
โครงการเพื่อขอใชเงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เพื่อเตรียมการสนับสนุนการควบคุมปองกัน โรคโควิด-19 (โอไมครอน) ใน Home Isolation ดังนี้
วิธีการจายชดเชยคาบริการดูแลใน Home Isolation ในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (ปรบั 1 ธันวาคม 2564) เหมาจายงวด 1 จํานวน 1,000 บาท (เฉพาะบริการ HI)
1. RT-PCR
- ตรวจ Lab 1,000 – 1,200 บาท/ครั้ง
- คาอื่น ๆ ในหอง Lab 200 บาท/ครั้ง
- คาเก็บ Swab 100 บาท/ครั้ง
2. คาดูแลการใหบริการแกผูปวย แตงแต 11 พ.ย.64 ไมเกิน 10 วัน จายแบบ เหมาจายในอัตรา 600 บาทตอวัน (ไมรวมคาอาหาร) เหมาจายใน 1,000 บาทตอเดือน (รวมคาอาหาร 3 มือ)
3. คาอุปกรณสําหรับผุปวย HI ปรอทวัดไขแบบดิจิตอล เครื่องวัด Oxygen Sat
ตามรายการที่ใชจริงไมเกิน จํานวน 1,100 บาทตอราย
4. คายา คายาที่เปนการรักษาเฉพาะ Covid 19 จายตามจริงไมเกิน 7,200 บาท
ตอราย
5. คารถสงตอ จายตามจริงตามระยะทาง+คาทําความสะอาด 1,400 บาท
6. คา chest X-ray จายในอัตรา 100 บาทตอวัน
7. คาออกซิเจน จายในอัตรา 450 บาทตอวนั
กรณีบันทึกรายการเบิกไมถึง 1,000 บาท ไมเรียกคืนถามีบริการจริง หากมากกวาจํานวน
เงินที่จายแบบเหมาจายแลว หนวยบริการจะไดรับการจายชดเชยเพิ่มเติม
การเตรียมความพรอมของศูนยบริการสาธารณสุข สํานักอนามัย ขั้นเตรียมการ
- เตรียมบุคลากร
- เตรียมอุปกรณ ขั้นดําเนินการ
- ขั้นตอนที่ 1 ตรวจหาเชื้อดวยวิธี ATK หรือ RT-PCR
- ขั้นตอนที่ 2 ลงทะเบียนเพื่อเขาสูระบบ Home Isolation
- ขั้นตอนที่ 3 หนวยบริการในพื้นที่ใกลเคียงที่พักอาศัยของผูปวยไดรับขอมูล
- ขั้นตอนที่ 4 หนวยบริการติดตอผูปวยเพื่อประเมินระดับอาการและความ
เหมาะสมของที่พักอาศัย ใหผูปวย
ผูบริหาร
- ขั้นตอนที่ 5 หนวยบริการจัดสงอาหาร ยาบรรเทาอาการ และอุปกรณการดูแล
- ขั้นตอนที่ 6 ติดตามประเมินอาการผานระบบ Telehealth
การจัดเก็บขอมูลและเอกสารตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ขั้นตอนหลังจําหนาย
- การเบิกคาชดเชย
- การทักทวง (ถามี) การรายงานผลการดําเนินงาน
- ดึงขอมูลในระบบ BKK HI/CI CARE จัดทํารายงานประจําวันเพื่อนําเสนอตอ
- รายงานผูเสียชีวิตที่ที่บาน
งบประมาณจากกองทุนฯ
สํานักอนามัย ไมมีการจัดทําโครงการที่เกี่ยวของกับการดําเนินงาน HI เพื่อขอ
ความเห็นและขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสามญั ฯ ดังนี้
1. ทุกสํานักงานและกองในสังกัดสํานักอนามัย ควรจัดทําโครงการหนวยละ 1 โครงการ
เพื่อของบประมาณจากกองทุนฯ โดยเกี่ยวของกับภารกิจของแตละหนวย เชน กองสรางเสริมสุขภาพควรจัดทํา โครงการเกี่ยวกับชมรมผูสูงอายุ กองทันตกรรมควรจัดทําโครงการเกี่ยวกับการดูแลรักษาฟนใหเด็กและผูสูงอายุ เปนตน
2. ควรมีการจัดตั้งสํานักงานที่ดูแลกองทุนหลักประกันสุขภาพ โดยเฉพาะทั้งในสํานัก อนามัยและทุกสํานักงานเขตดวย โดยเปนการจางบุคลากรมารับผิดชอบงานโดยตรง
- สํานกการแพทย
นางสาวซูรียา จะนือรง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ สํานักการแพทย นําเสนอ โครงการเพื่อขอใชเงินกองทุนฯเตรียมการสนับสนุนการควบคุมปองกันเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม Omicron
B.1.1.529 ใน HI
เตรียมรองรับสถานการณ
การเตรียมความพรอมรองรับเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม Omicron B.1.1.529
- การเตรียมความพรอมของบุคลากรทางการแพทยการจัดเวรของแพทย พยาบาล เพื่อ
- การเตรียมความพรอมของอุปกรณทางการแพทยยาและเวชภัณฑใหเพียงพอ
- การตรวจสอบศูนยพักคอย โรงพยาบาลสนามที่มีการเขาสู Standby Mode เพื่อเตรียม
ความพรอมหากมีความจําเปนตองเปดบริการอีกครั้ง
- การเตรียมความพรอมของเตียงสีเขียว สีเหลือง สีแดง โดยสํานักการแพทยจะยังไมมีการ ลดจํานวนเตียงลงในระยะนี้
ขอมูลการจาย Home Isolation (สปสช.) สิทธิ UC ตามเกณฑที่กรมการแพทยกําหนด
1. RT-PCR
- ตรวจ Lab
- คาอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับ Lab
- คาเก็บ Swab
อาการใหคําปรึกษา
2. คาดูแลการใหบริการผูปวย ไดแก คาอาหาร 3 ม
คาติดตามประเมิน
Oxygen sat
3. คาอุปกรณสําหรับผูปวย เชน ปรอทวัดไขแบบดิจิตอล เครื่องวัด
4. คายาที่เปนการรักษาเฉพาะ Covid 19
5. คารถสงตอ โครงการที่จัดทําเสนอของบกองทุนฯ
โครงการปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) วัตถุประสงค
1. เพื่อปองกันการแพรกระจาย และจํากัดวงของการแพรระบาดของของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในเขตกรุงเทพมหานคร
2. เพื่อใหบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข และเครือขายในการดูแล
รับ-สงผูปวยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีอุปกรณปองกันตนเอง ในการเฝาระวังปองกัน และควบคุม การแพรระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ผูเขารวมโครงการ
จํานวนทั้งสิ้น 300 คน
1. บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขรวมทั้งเจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน จํานวน 220 คน ประกอบดวยโรงพยาบาลในสังกัดสํานักการแพทย 8 แหง และศูนยบริการการแพทย ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนยเอราวัณ)
2. เจาหนาที่ทเี่ กี่ยวของในการขนสงผูปวยจากหนวยงานตาง ๆ จํานวน 80 คน ไดแก สํานักเทศกิจ ทหาร มูลนิธิตาง ๆ เชน มูลนิธิปอเต็กตึ๊ง
งบประมาณในการดําเนินการ
43,861,440 บาท (สี่สิบสามลานแปดแสนหกหมื่นหนึ่งพันสี่รอยสี่สิบ
บาทถวน)
1) ชุด PPE (cover all) สีขาว (ใชเฉ พาะระดับ Advance )
2) Isolation gown ชุดกาวนสีฟา (ใชเฉพาะระดับ Basic )
3) หนากาก N95 (ใชเฉ พาะระดับ Advance )
4) หมวก Disposable Cap
5) Face shield
6) Boot cover (ถุงหุมรองเทาชนิดยาว)
7) Shoe cover (ถุงหุมรองเทา)
8) Glove
หมายเหตุ ขณะนี้อยูในขั้นตอนดําเนินการจัดซื้อจัดจาง
ความเห็นและขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสามญฯ ดังนี้
1. การจัดทําโครงการเพื่อของบประมาณฯ ของโรงพยาบาลสังกัดสํานักการแพทย ควร เสนอโครงการตอกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับกรุงเทพมหานคร (สวนกลาง) เนื่องจากโรงพยาบาลใหบริการแก ประชาชนในพื้นที่ตอเนื่องหลายเขต
2. สํานักการแพทยควรจัดทําโครงการเพ่ือของบประมาณกองทุนฯ ตามภารกิจที่เก่ียวของ กับประชาชน เชน การแพทยฉุกเฉินที่เกี่ยวของกับการกูชีพ สําหรับเด็กนักเรียน จิตอาสา ประชาชนท่วไป รวมทั้ง สหวิชาชีพ เพื่อเพิ่มบุคลากรจิตอาสาในการกูชีพใหมีจํานวนมากขึ้น สามารถใหการชวยเหลือเมื่อเกิดเหตุได โดย ศูนยบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนยเอราวัณ) เปนหนวยงานที่จัดทําโครงการ
3. ทุกโรงพยาบาลสังกัดสํานักการแพทย ควรจัดทําโครงการที่เกี่ยวของกับการใหบริการแก ประชาชนตามความเหมาะสมของแตละโรงพยาบาล อยางนอยแหงละ 1 โครงการ เพื่อขอจัดสรรงบประมาณจาก กองทุนฯ เชน โรงพยาบาลราชพิพัฒนดําเนินการเกี่ยวกับผูสูงอายุ โรงพยาบาลตากสินดําเนินการเกี่ยวกับโรคหัวใจ โรงพยาบาลกลางเก่ียวกบดวงตา โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษเกี่ยวของกับโรคไต เปนตน
นําเสนอขอมูล ดังนี้
- สํานกเทศกิจ
นายโสภันฑ วงศดวงคําพู ผูอํานวยการสํานักงานตรวจและบังคับการ สํานักเทศกิจ
โครงการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพพนักงานเจาหนาที่ การสราง
เครือขายการมีสวนรวมในการเฝาระวังและบังคับใชกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลและผลิตภัณฑยาสูบ วัตถุประสงค
1. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของพนักงานเจาหนาที่ในการควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอลและยาสูบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
2. เพื่อลดความชุกของการเสพเครื่องดื่มแอลกอฮอลและยาสูบของประชากร ในพื้นที่กรุงเทพมหานครจากอันตรายของเครื่องดื่มแอลกอฮอลและควันบุหรี่
3. เพื่อเฝาระวังและดําเนินการควบคุมการเสพเครื่องดื่มแอลกอฮอลและยาสูบ อยางทันตอการเปลี่ยนแปลงและการมีสวนรวมของเครือขายทุกภาคสวน เพื่อคุมครองสุขภาพของประชาชนจาก อันตรายของเครื่องดื่มแอลกอฮอลและอันตราของยาสูบ
กลุมเปาหมาย
1. ขาราชการกรุงเทพมหานคร (ปฏิบัติงานดานเทศกิจ) และบุคคลภายนอก
จํานวน 1,420 คน
รวม 1,200 คน
- เจาหนาที่เทศกิจสังกัดสํานักเทศกิจ 40 คน
- เจาหนาที่เทศกิจ 50 เขต 200 คน
- ผูขับขี่รถจักรยานยนตรับจาง จาก 6 กลุมเขต ๆ ละ 200 คน
2. ผูที่เกี่ยวของ จํานวน 304 คน ประกอบดวยเจาหนาที่ดําเนินการ
280 คน (รุนละ 20 คน) และวิทยากร 24 คน (รุนละ 2 คน)
ลักษณะโครงการ
- เปนโครงการจัดการฝกอบรม
- ระยะเวลาดําเนินการ 1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. ประชาชนมีความปลอดภัยในการดําเนินชีวิตในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
2. ประชาชนมีพฤติกรรมความปลอดภัยในการดําเนินชีวิตมากขึ้น
3. ชุมชนมีการสรางเครือขายประสานความรวมมือดานความปลอดภัย และ ความรูสึกที่ดี ระหวางประชาชนกับเจาหนาที่กรุงเทพมหานคร
ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสามญฯ มีดังนี้
1. โครงการเปนประโยชนมาก เนื่องจากผูขับขี่รถจักรยานยนตรับจางสําคัญมาก เนื่องจาก สวนใหญเปนผูสูบบุหรี่ บริเวณจุดที่นั่งพักรอผูโดยสาร
2. ในแตละวินรถจักรยานยนตรับจาง ควรใหเขาอบรม 7 – 8 คน เนื่องจากหากอบรมเพียง วินละ 1 – 2 คน จะไมกอใหเกิดกลุมการขยายผล และไมสามารถเขียนโครงการได หากงบประมาณที่ประมาณการไว ไมเพียงพอ ใหของบประมาณเพิ่ม
3. ตองอบรมใหทราบถึงเรื่องของกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครดวย โดยประสานสํานักอนามัยอบรมใหความรู ซึ่งภายหลังจากการอบรม ตองใหผูเขาอบรมสามารถเขียนโครงการ เพื่อขอใชเงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครตอไปได เพื่อทําโครงการเฝาระวัง เนื่องจากมีการ ขับไปทั่วพื้นที่เรื่องเหลาบุหรี่ หรือเรื่องอื่น ๆ เชน การออกกําลังกายในระหวางรอลูกคา เปนตน
- สํานักการระบายน้ํา
นางสาวชลินรัตน แสงสายัณต เลขานุการสํานักการระบายน้ํา ใหขอมูลตอที่ประชุม ถึงการเสนอโครงการเพื่อขอใชเงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เนื่องจากสํานักการระบายน้ําเนน ภารกิจเรื่องการระบายน้ํา การจัดการน้ําเสีย ซึ่งไมไดเนนในเรื่องของสุขภาพของประชาชนเปนหลัก แตหากจะทํา กิจกรรมกับภาคประชาชน สํานักการระบายน้ํามีสํานักงานจัดการคุณภาพนํ้าที่ดูแลเรื่องการบําบัด น้ําเสีย ซึ่งมีการ จางเอกชนดูแลเร่ืองการเดินระบบ หากมีนํ้าเสียบริษัทจะตองแกไข ซึ่งไมไดเปนเรื่องสุขภาพ สวนเร่ืองปญหาน้ําทวม หากเห็นวาจะเปนปองกันนําทวมจะเกี่ยวโยงไปในเรื่องของการสงเสริมสุขภาพของประชาชน จะขอรับไปพิจารณา ดําเนินการ
ความเห็นและขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสามญฯ ดังนี้
๑. ยุทธศาสตรของกรุงเทพมหานครตองเปนเมืองสุขภาวะ ถากรุงเทพมหานครจะเปนเมือง สุขภาวะ สํานักการระบายน้ําและสํานักปองกันและบรรเทาสาธารณภัยควรกําหนดสิ่งที่ควรจะเปนกับสิ่งที่เปนอยูแลว เมื่อเปรียบเทียบจะมีสิ่งที่ตองแกไขปรับปรุง จะสงผลกับยุทธศาสตรและมีทิศทางในการทํางาน ตองวิเคราะหสภาพ ปญหาโดยรวม กิจกรรมที่จะทําเมื่อมีเปาหมายและกิจกรรมชัดเจน จะไมมีปญหาอุปสรรคในการเขียนโครงการ หนวยงานตองคนหาปญหาวาสาเหตุเกิดจากส่ิงใด และเขียนโครงการเพื่อแกปญหามีผลสัมฤทธิ์อยางไรในการสราง เสริมสุขภาพของประชน
2. สํานักการระบายน้ําตองคิดถึงปญหานํ้าทวมทําใหประชาชนมีสุขภาพที่แยลงมีความเครียด เกิดขึ้น ตองคิดแกไขปญหาที่ตนเหตุ ปญหานําทวม ทอระบายนําอุดตัน เกิดจากไขมันอุดตันจากการใชนําและระบาย ลงสูทอระบายน้ําโดยตรง จะใหความรูประชาชนในการระบายนํ้าที่สะอาดลงสูทอสาธารณะอยางไร อาจดําเนินการ เปนโครงการนํารองโดยใหประชาชนมีสวนรวมในการดําเนินการ และใหหารือกับสํานักอนามัยในการจัดทําโครงการ เพื่อขอใชเงินดังกลาว
3. การสงเสริมสุขภาพของประชาชน ตองนําผลกระทบที่สําคัญมาเปนตัวต้ง เชน เรื่องการ จัดเก็บคาบริการบําบัดน้ําเสียในอนาคตถาประชาชนไมชวยกันดูแลเรื่องน้ําใชตองมีการบําบัดกอนก็จะตองเสียเงิน เพื่อเปนคาบําบัดน้ําเสีย
- สํานกปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
พันตํารวจโท อภิฉัตร ล้ําเลิศปรีชาตระกูล รองผูอํานวยการสํานักปองกันและบรรเทาสาธารณภัย รับทราบแนวทางการขอใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ และรับไปพิจารณาดําเนินการจัดทําโครงการตาม ขอเสนอแนะในที่ประชุม
ความเห็นและขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสามญฯ ดังนี้
๑. ยุทธศาสตรของกรุงเทพมหานครตองเปนเมืองสุขภาวะ ถากรุงเทพมหานครจะเปนเมือง สุขภาวะ สํานักการระบายน้ําและสํานักปองกันและบรรเทาสาธารณภัยควรกําหนดสิ่งที่ควรจะเปนกับสิ่งที่เปนอยูแลว เมื่อเปรียบเทียบจะมีส่ิงที่ตองแกไขปรับปรุง จะสงผลกับยุทธศาสตรและมีทิศทางในการทํางาน ตองวิเคราะหสภาพ
ปญหาโดยรวม กิจกรรมที่จะทําเมื่อมีเปาหมายและกิจกรรมชัดเจน จะไมมีปญหาอุปสรรคในการเขียนโครงการ หนวยงานตองคนหาปญหาวาสาเหตุเกิดจากสิ่งใด และเขียนโครงการเพื่อแกปญหามีผลสัมฤทธ์ิอยางไรในการสราง เสริมสุขภาพของประชน
2. สํานกการแพทยมีการจัดอบรมมาตรฐานอัคคีภัยในโรงพยาบาลทุกแหงเปนการซอมแผน เผชิญเหตุ หากสํานักการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจะรับภารกิจนี้เปนเจาภาพดําเนินการ ก็จะสงตอภารกิจให เพื่อที่สํานักการแพทยจะไดไปดําเนินการในเรื่องอื่นๆ
3. สํานักปองกันและบรรเทาสาธารณภัยควรเชิญชวนให อปพร. รวมกลุมกันและเขียน โครงการเพื่อขอใชเงินกองทุนฯ รวมกับมูลนิธิกูภัยตางๆ
- สํานกสิ่งแวดลอม
นางสุธิศา พรเพิ่มพูน ผูอํานวยการสํานักงานจัดการมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล สํานักสิ่งแวดลอม นําเสนอขอมูลโครงการที่เคยขอใชเงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
1. โครงการเฝาระวังปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
งบประมาณ 36,878,495 บาท
- จัดซื้อน้ํายาฆาเชื้อผสมสารสกัดจากธรรมชาติ จํานวน 3,750 แกลลอน ๆ ละ 7,990 บาท เปนเงิน 29,962,500 บาท
- จัดซื้อหนากากอนามัย จํานวน 98,900 กลอง (50 ชิ้น/กลอง) ราคากลองละ
69.55 บาท เปนเงิน 6,878,495 บาท
2. โครงการจัดระบบรวบรวมมูลฝอยติดเชื้อสําหรับ Home Isolation, Community Isolation และโรงพยาบาลสนาม ปองกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) งบประมาณ 28,256,800 บาท
- จัดอบรมใหความรูเจาหนาที่ ผานระบบ Zoom Meetings จํานวน 900 คน
เปนเงิน 21,600 บาท
- จัดซื้อถังรองรับมูลฝอยติดเชื้อ ขนาด 80 ลิตร จํานวน 20,454 ถ 1,200 บาท เปนเงิน 24,544,800 บาท
ๆ ละ
- จัดซื้อถังรองรับขยะมูลฝอยบติดเชื้อ ขนาด 130 ลิตร จํานวน 2,636 ถัง ๆ ละ 1,400 บาท เปนเงิน 3,690,400 บาท
ความเห็นและข
เสนอแนะของคณะกรรมการวิสามญ
ฯ ดังนี้
1. สํานักสิ่งแวดลอม เสนอโครงการควรจัดหาอุปกรณปองกันโรคโควิด-19 ใหแกบุคคลากร ใหเพียงพอเนื่องจากเปนผูที่มีความเสี่ยงสูง เพื่อใหเกิดความปลอดภัย เปนขวัญกําลังใจในการปฏิบัติงาน
2. การเสนอโครงการจัดซื้อตองไมซ้ําซอนกับที่หนวยงานดําเนินการ
- สํานกงานตลาดกรุงเทพมหานคร
นางสาวจิราภรณ ขําคํา หัวหนาฝายสารสนเทศและธุรกิจตลาด สํานักงานตลาด กรุงเทพมหานคร นําเสนอแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมเพื่อของบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ กรุงเทพมหานคร
หัวขอ “หวงใย ใสใจ สงเสริม ปรับปรุงตลาด ใหถูกสุขลักษณะอนามัย” ตลาดใน สังกัดสํานักงานกรุงเทพมหานคร ประจําปงบประมาณ 2565 งบประมาณ 2,853,180 บาท
ประกอบดวย 6 กิจกรรม
1. ตรวจสุขภาพผคู าและผูประกอบการตลาดท่ีอยูในการกํากบของสํานักงานตลาด กรุงเทพมหานคร จํานวน 12 แหง
2. ตลาดตนแบบดา นการจ
การขยะพลาสติกที่ต
ทาง ตลาดประชานิเวศน 1
3. การสุขาภิบาลตลาด มาตรการดานอนามัยสิงแวดลอม เชงปฏิ ิบตการิั ตลาดทั้ง
12 แหง
ตลาดทั้ง 12 แหง
4. การพัฒนาสุขาภิบาลอาหาร อาหารปลอดภัยจากใจสําน
งานตลาดกรุงเทพมหานคร
ตลาดท
12 แหง
5. สรางเสริมวิชาชีพภายใตหัวขอ “หลักสูตรรานอาหารมืออาชีพ”
6. Big Cleaning Day ตลาดนาซื้อ เพื่อสุขภาพผูคาหรือผุประกอบการและผูบริโภค
ความเห็นและขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสามญฯ ดังนี้
1. ขอใหสํานักงานตลาดกรุงเทพมหานครพิจารณาจัดทําโครงการ/กิจกรรม ในการสงเสริม ปองกันโรคในตลาดเพื่อของบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครและนําเสนอคณะกรรมการ วิสามัญฯ ในการประชุมในโอกาสตอไป
2. เขตที่มีตลาดควรจะจัดทําโครงการ/กิจกรรมในการสงเสริม ปองกันโรค ในตลาดเพื่อขอ งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร อยางนอย 1 ตลาด เพื่อเปนแบบอยางใหตลาดอื่นดําเนินการ ตาม
3.3 หนวยงานภายนอก
- กรมสุขภาพจิต
แพทยหญิง ดุษฎี จึงศิรกุลวิทย ผูอํานวยการสถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุน รายงานสถานการณและผลกระทบดานสุขภาพจิตจากโควิด-19 ดังนี้
- 6,500 ราย ประมาณการผูเสียชีวิตจากการฆาตัวตายสําเร็จในป 2565 หากไมม
มาตรการปองกัน
- 34,448 ราย ผูมีความเสียงตอการฆาตัวตายจาก MH Check-in ใน กทม.
- 100,000 ราย ผูมีภาวะเครียดจากการสํารวจดวย MH Check-in
มาตรการ/บริการปองกันการฆาตัวตาย
229 ราย Suicidal rescue by HOPE Task Force | 3,422 ราย Telephone MH Counseling เชิงรุกในประชาชน กลมุ เสี่ยงจาก MH Check-in | 158,041 ราย Telephone/Chat MH Counseling เชิงรับในประชาชน กลุมเสี่ยงจากสายดวนสุขภาพจิต 1323 |
Crisis intervention ดวยความรวมมือของ Influencer/1323/ กองปราบ | Universal + Selective / Indicated Prevention ดวยการโทรศัพทใหการ ปรึกษาดานสุขภาพจิตในประชาชน ที่ประเมินตนเองวามีความเสี่ยงสูงตอ ภาวะซึมเศราหรือฆาตัวตาย (61,714 ราย) | Selective/ Indicated Prevention สําหรับประชาชนที่มีปญหาสุขภาพจิต ดวยการใหการปรึกษาดานสุขภาพจิต ผานโทรศัพทหรือแชทฟรี 24 ชั่วโมง |
ทีมปฏิบัติการพิเศษปองกันการฆาตัวตาย
- Social Influencer หมอแล็บแพนด , Drama-addict, แหมมโพธิ์ดํา
บนโลกโซเชียล
- @Khuikun ไลนแชทปรึกษา รับฟง ปรึกษา คุยกัน
- 1323 สายดวนสุขภาพจิตใหคําปรึกษาเยียวยาจิตใจ
- กองปราบ ชุดเฉพาะกิจชวยเหลือบุคคลที่สงสัญญาณความเสี่ยงฆาตัวตาย
- Case Management กรมสุขภาพจิต โรงพยาบาลจิตเวชขอนแกนราชนครินทร
สงตอ ติดตามผล รวบรวมขอมูล สรุปสถิติและภาพรวมการดําเนินงาน
Hope Task Force Workflow
1. Influencer/Admin ไดรับรายงานเคสเสี่ยงตอการฆาตัวตายจากลูกเพจ
2. สงขอมูลเขากลุมไลน Hope Task Force เบื้องตน เชน ชื่อ เบอรโทรศัพท (ถามี)
3. Supervisor 1323 จํานวน 2 ราย โทรติดตอเคสภายในไมเกิน 5 นาที ตลอด 24 ชวั่ โมง เฉลี่ย 6-8 ช่ัวโมงตอราย
4. กรณีติดตอไมได แจงกองปราบปราบเพื่อคนหาพิกัดและสงทีมกองปราบเขาชารจ
ในพื้นที่ จนกวาจะเขาสูภาวะปกติ
5. สงตอผูปวยเขารับการรักษาในโรงพยาบาล และ/หรือ โทรติดตามเยี่ยมอาการ ขอเสนอสิทธิประโยชน Hope Task Force
- คาตอบแทนนักจิตวิทยาการปรึกษา 1,000 บาท/คน * 2 คน = 2,000 บาท
- คาตอบแทนเจาหนาที่กองปราบ 1,000 บาท/คน * 2 คน = 2,000 บาท
- คาใชจายในการลงพื้นที่ติดตามเคสขณะฆาตวตาย 5,000 บาท/เคส
- คาตอบแทนแพทยและสหวิชาชีพที่ปรึกษา 3,000 บาท/เคส
- ตนทุนระบบโทรศัพทและฐานขอมูลเชื่อมกับ Influencer 1,000 บาท/เคส
- คาตอบแทนในการติดตามเยี่ยมเคส 2,000 บาท
- คาใชจายในการพัฒนาระบบสมรรถนะ Influencer กองปราบ ทีมใหการ ปรึกษา 100,000 บาท/โครงการ
- เคสที่ชวยชีวิตจากการฆาตัวตายสําเร็จผาน HOPE Task Force จํานวน 500 ราย ตนทุนบริการ ผาน HOPE Task Force 15,000 บาท/ราย วงเงินขอรับจัดสรรในป 2565 จํานวนเงิน 17,500,000 บาท
Mental Health Counseling บริการใหการปรึกษาดานสุขภาพจิตผานโทรศัพท (สายดวนสุขภาพจิต 1323)
บริการใหการปรึกษาดานสุขภาพจิต ผานโทรศัพท ไมใชบริการใหขอมูลแบบ call center
ใชเวลาในการใหบริการประมาณสายละ 30 นาที
เชิงรับ 1323 บริการ 12 คูสาย ตลอด 24 ชั่วโมง โดยนักจิตวิทยาการปรึกษาบันทึกเสียง
และขอมูลใน server
เชิงรุก MH Check-in ประชาชนประเมินตนเองผาน MHCI กลุมเสี่ยงใหหมายเลขโทรศัพท
และคํายินยอมบุคลากรสาธารณสุขโทรกลับใหการปรึกษา
ผลลัพธบริการใหการปรึกษาดานสุขภาพจิต 1323
- ผูรับบริการปรึกษาที่มีภาวะเครียดลดลงมากหรือปานกลาง รอยละ 78.7 มีความ พึงพอใจหลังไดรับบริการรอยละ 99.07 และเปนผูปวยจิตเวชที่ไดรับการวินิจฉัยแลวรอยละ 60.5
- ผูรับบริการปรึกษาที่มีความเสี่ยงตอการฆาตัวตาย 1,546 ราย ในจํานวนนี้ 25 ราย อยูในภาวะวิกฤต ทุกรายไดรับการปรึกษาดานสุขภาพจิตจนภาวะเครียดลดลง ยินยอมใหติดตาม 72 ราย
- ผูรับบริการปรึกษาที่มีความเครียดจากภาวะโควิด-19 จํานวน 5,664 ราย ทุกรายไดรับ การปรึกษาดานสุขภาพจิตจนภาวะเครียดลดลง สวนใหญอยูในเขตกรุงเทพมหานคร
ผลลัพธบริการใหการปรึกษาดานสุขภาพจิต MHCI ในกรุงเทพมหานคร
- จํานวนประชาชนที่มีภาวะซึมเศรารุนแรง/เสี่ยงสูงตอการฆาตัวตาย จํานวน 61,714 ราย คิดเปน 57.11% จํานวนประชาชน 108,059 ราย ที่ประเมินตนเองดวย MHCI และรอยละ 9.5 ของประชาชน กลุมเสี่ยงที่ตองการบริการใหการปรึกษาดานสุขภาพจิต จํานวน 5,907 ราย
- ผูรับบริการปรึกษาที่ไดรับการดูแลจนอาการดีขึ้น 3,422 ราย คิดเปนมากกวา 90% จํานวนประชาชน 5,907 ราย เปนกลุมเสี่ยงที่ยินยอมใหโทรศัพทใหการปรึกษา และจํานวนประชาชน 3,422 ราย เปนกลุมเสี่ยงที่ยินยอมแลวไดรับบริการใหการปรึกษาดานสุขภาพจิต คิดเปน 57.93%
- จํานวนประชาชนกลุมเสี่ยงตอภาวะฆาตัวตาย จํานวน 34,448 ราย จํานวน ประชาชน 2,182 ราย เสี่ยงตอการฆาตัวตายไดรับการดูแลและติดตาม และรอยละ 95 ของประชาชนกลุมเสี่ยง ตอภาวะฆาตัวตายที่ไดรับการการดูแลจนดีขึ้น
ขอเสนอสิทธิประโยชนการใหการปรึกษาดานสุขภาพจิต
- คาตอบแทนนักจิตวิทยาการปรึกษา 115.20 บาท/สาย
- คาจางเหมาระบบโทรศัพท 32.15 บาท
- คาใชจายในการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรในการใหการปรึกษาผานโทรศัพท 5,000,000 บาท/โครงการ
- คาใชจายในการประชาสัมพันธเพื่อการเขาถึงโครงการ 5,000,000 บาท/โครงการ ประมาณการเคสใหการปรึกษาดานสุขภาพจิตในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน
100,000 ราย ตนทุนบริการ Telephone MH Counseling 150 บาท/ราย วงเงินขอรับจัดสรรในป 2565 จํานวนเงิน 25,000,000 บาท
ความเห็นและขอเสนอแนะของคณะกรรมการวิสามัญฯ ดังนี้
1. วัตถุประสงคของการใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เพื่อใหเ งินลงสู ประชาชนและใหประชาชนมีสวนรวมเปนกิจกรรมภาคีเครือขาย งบประมาณเงินกองทุนจะไมรองรับคาตอบแทน บุคลากร
2. ตองการใหมูลนิธิเขามารวมทําโครงการเพื่อขอรับเงินกองทุนฯ มากกวาที่กรมสุขภาพจิต จะเปนผูที่จัดทําโครงการเอง โดยใหโครงการมีผลผลิตและผลลัพธที่ชัดเจน สวนเรื่องการใหคําปรึกษาอาจจะไปขอใชเงิน จาก สสส. แทน
3. ควรมีการทํางานแบบมีสวนรวม โดยใหโรงพยาบาลที่มีแผนกจิตเวชเขามาชวยทํางาน แบงพื้นที่การทํางาน กรมสุขภาพจิตเสนอใหคําปรึกษาสายดวน 1323 หากสํานักการแพทยจัดบริการใหคําปรึกษา สุขภาพจิต จะมีงานสุขภาพจิตก่ีแหง นอกเหนือจากการใหบริการดานจิตเวชในโรงพยาบาลขนาดใหญของ กรุงเทพมหานคร เพ่ือชวยทํางานเก่ียวกับโรคภายหลังจากการติดเชื้อโควิด-19 คนปวยและคนไมปวยเร่ิมมีการฆาตัว ตายจากความเครียด ขอใหกรมสุขภาพจิตและสํานักการแพทยชวยกันดูแลสุขภาพจิตของคนกรุงเทพฯ
ขอมูลพัฒนาการเด็กปฐมวัยความเปนมาของการพัฒนาการเด็กและเยาวชน
ป 2523 มีโครงการพัฒนาการเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารในพระราชดําริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 870 แหง
ป 2558 โครงการสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา คัดกรอง เด็กพัฒนาการลาชา พบประมาณ 10.20%
ป 2560 การสํารวจพัฒนาการเด็กในพื้นที่ทุรกันดาร (สุขศาลาพระราชทาน) พบเด็ก ปฐมวัยพัฒนาการลาชา 70% เทียบกับผลสํารวจเด็กปกติที่พัฒนาการลาชา 30% ระบบปกติใชในพื้นที่ทุรกันดาร ไมได
ป 2560-2563 กรมสุขภาพจิตพัฒนาโปรแกรม Preschool Parenting Program
เพื่อสงเสริมพัฒนการและ EQ ผานการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็ก
๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี มีพระราชกระแสใหขยายผลการสงเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในพื้นที่ทุรกันดารท่วประเทศ ภายในป ๒๕๖๙
พัฒนาการเด็กในชวงโควิด-19
“กิจกรรมสงเสริมสุขภาพและพัฒนาการเด็กและการปองกัน toxic stress”เปนมาตรการ อันดับแรกที่จะพัฒนาสุขภาพเด็กและวัยรุน ครอบครัว ชุมชน และรักษาความxxxxxxรวมของสังคม และสงผลบวก ตอเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในระยะยาว
พัฒนาการเด็กในกรุงเทพมหานคร เด็กxxxxxxอายุต่ํากวา 6 ป ในกรุงเทพมหานคร จํานวน 253,680 คน พบวา
- 1,464 ราย สงสัยพัฒนาการลาชา ไมพบขอมูลความครอบคลุม
- 169 ราย กระตุนพัฒนาการครบ (crude coverage 31.07%)
- 544 ราย เขารับการกระตุนพัฒนาการ (accessibility rate 37.16%)
- 91 ราย xxxxxxสมวัย (effective coverage 53.85%)
xxxxทางอารมณ
ขอเสนอxxxxxประโยชน กลุมฝกทักษะการเลี้ยงดูเด็กxxxxxxเพื่อการสงเสริมพัฒนาการและความ
- ตนทุนบริการ/คอรส 1,600 บาท
- คาใชจายในการประชุมชี้แจงโครงการและพัฒนาxxxรถะผูนํากลุมกิจกรรม
10,000,000 บาท
๑๐,000,000 บาท
1,600 บาท/คอรส
- คาใชจายในการพัฒนาสมรรถนะการตรวจพัฒนาการเด็กxxxxxxทุกชวงอายุ คาบริการกลุมฝกทักษะการเลี้ยงดูเด็กxxxxxx 1 ครั้ง 400 บาท/ครั้ง
คาบริการกลุมฝกทักษะการเลี้ยงดูเด็กสําหรับครอบครัวเด็กxxxxxx 4 ครั้ง
วงเงินขอรับจัดสรรในป 2565 เพื่อการดูแลครอบครัวเด็กxxxxxx 10,000 ครอบครว
เปนเงิน 36,000,000 บาท
ความเห็นและข
เสนอแนะของคณะกรรมการวิสามญ
ฯ ดังนี้
1. การจัดทําโครงการ ควรเปนโครงการพัฒนาการเด็กลาชา โดยใหผูxxxxxxและผู เด็กเขารวมกิจกรรมดวย มีการวัดพัฒนาการกอนและหลัง โดยทํารวมกับศูนยบริการสาธารณสุข
่ีดูแล
2. วิธีการดําเนินโครงการ ควรสํารวจหากลุมเด็กที่มีพัฒนาการลาชา เชน ในศูนยเด็กเล็ก
สวนใหญเด็กมีพัฒนาการลาชา ศูนยเด็กฯ ทมีผูดูแลเด็กxxxxxมีประสบการณ เด็กจะไมไดรับการพัฒนา ทําอยางไรให
โครงการเขาไปสูการคนหาเด็กที่มีพัฒนาการลาชาเพื่อใหโครงการxxxxxxxxxxxxxx
3. ขอใหพิจารณาในเด็กที่สมาธิสั้นดวย เนื่องจากเด็กในกลุมเหลานี้จะมีพฒนาการที่ลาชา
กวาเด็กxxxx
4. ขอใหกรมสขภาพจิตจัดทุ ําโครงการที่เนนในเรื่องการของพัฒนาการเด็กลาชา ใหม
กิจกรรมทสงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการขึ้น ไมควรเนนในเรื่องของการอบรม
- สถาบันพฒxxxxxภาวะเขตเมองื กรมอนามัย
นําเสนอขอมูล ดังนี้
นายแพทยxxxx เวชxxxxxนนท ผูอํานวยการสถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง กรมอนามัย
1. โครงการสรางเสริมความรอบรูดานสุขภาพในพระสงฆ พื้นที่เขตลาดพราว
404,160 บาท สํานักงานเขตลาดพราว
2. โครงการสรางความรอบรูดานการทําความสะอาดชองปากเด็กxxxxxxxxนไลน 49,780 บาท สํานักงานเขตบางเขน
3. โครงการบางเขนรอบรูสูฝุนและภัยรอน 184,700 บาท สํานักงานเขตบางเขน
4. พ นารูปแบบสงเสรมการxxx กิจกรรมทางxxxในสถานการณแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 โดยการใชดิจิตอลแพลตฟอรม 55,200 บาท สํานักงานเขตทุงครุ
5. โครงการพัฒนาสุขภาวะเมืองผูสูงวัยดวยไตรภาคี 112,123 บาท สํานักงานเขตทุงครุ
6. โครงการกาวทันสุขภาพดวยประบวนการสรางความรอบรู 47,400 บาท สํานักงานเขต
ลาดพราว
7. รณรงคเด็กไทยเท สูงดxxxxxี ออนทวร สานักงาน 67,650 บาท สํานักงานเขตหนองจอก
8. โรงเรียนพอแมออนไลน 407,732 บาท สํานักงานเขตบางเขน
9. สงเสริมความรอบรู การสงเสริมพัฒนาการดานภาษา สาหรบเด็กอายุ 1 – 3 ป ที่สงสัย ลาชาดานภาษาโดยผูเลี้ยงดูหลักมีสวนรวม สํานักงานเขตบางเขน 208,763 บาท สํานักงานเขตบางเขน
10. โครงการสงเสริมความรอบรูการตรวจคัดกรองมะเร็งในสตรีไทย 103,130 บาท
สํานักงานเขตบางเขน 252,061 บาท
11. โครงการพัฒนาองคกรสรางความรอบรูดูแลสุขภาวะเด็กxxxxxxดวยหลัก 4 D
รวม 1,892,699 บาท
ความเห็นและข เสนอแนะของคณะกรรมการวสามญิ ฯ ดังนี้
1. โครงการที่มีการพัฒนาศักยภาพเครือขาย xxxxxxสรางโมเดลเพื่อนําไปปรับใชได ซึ่งการใชเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครมีความสําคัญควรนําไปใชใหเกิดประโยชนในปตอไป
2. สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมืองเปนหนวยงานที่จะชวยหนวยงานอื่นที่ยังไมมี ประสบการณ และหนวยงานอื่นxxxxxxนําโครงการไปปรับใชได