การสิ้นผลบังคับของกรมธรรม์ประกันภัย ข้อกำหนดตัวอย่าง

การสิ้นผลบังคับของกรมธรรม์ประกันภัย. กรมธรรม์ประกันภัยนี้จะสิ้นผลบังคับเมื่อ 12.1 วันที่เวลา ที่ระบุไว้ในตาราง 12.2 มีการบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย 12.2.1 บริษัทเป็นผู้บอกเลิก : บริษัทอาจบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยนี้ได้ด้วยการส่งหนังสือบอก กล่าวล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนถึงผู้เอาประกันภัยตามที่อยู่ครั้งสุดท้ายที่แจ้งให้บริษัท ทราบซึ่งจะมีผลให้กรมธรรม์ประกันภัยสิ้นผลบังคับ ณ วันพ้นกําหนดดังกล่าว ในกรณีนี้บริษัทจะคืนเบี้ยประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย โดยหักเบี้ยประกันภัยสําหรับระยะเวลาที่ กรมธรรม์ประกันภัยได้ใช้บังคับมาแล้วออกตามส่วน 12.2.2 ผู้เอาประกันภัยเป็นผู้บอกเลิก : ผู้เอาประกันภัยอาจบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยนี้ได้โดย แจ้งให้บริษัททราบเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งจะมีผลให้กรมธรรม์ประกันภัยสิ้นผลบังคับ ณ วันที่บริษัทได้รับหนังสือ บอกเลิก หรือวันที่ระบุไว้ในหนังสือบอกเลิก แล้วแต่ว่าวันใดเป็นวันหลังสุด ในกรณีนี้ผู้เอาประกันภัยมีสิทธิได้รับเบี้ยประกันภัยคืน ตามอัตราการคืนเบี้ยประกันภัยที่ระบุไว้ข้างล่าง
การสิ้นผลบังคับของกรมธรรม์ประกันภัย. กรมธรรม์ประกนั ภยั น้ีจะส้ินผลบงั คบั เมื่อ 12.1 วนที่ เวลา ที่ระบุไวใ้ นตาราง 12.2 มีการบอกเลิกกรมธรรมป์ ระกนั ภยั 12.2.1 บริษทั เป็ นผบู้ อกเลิก : บริษทั อาจบอกเลิกกรมธรรมป์ ระกนั ภยั น้ีไดด้ ว้ ยการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงดงั ต่อไปน้ี (1) บริษทั อาจบอกเลิกกรมธรรมป์ ระกนั ภยั น้ีไดด้ ว้ ยการส่งนงั สือบอกกล่าวล่วงหนา้ ไม่นอ้ ยกวา 30 วน โดยทางไปรษณียล์ งทะเบียนถึงผเู้ อาประกนั ภย ตามที่อยคู่ ร้ังสุดทา้ ยที่แจง้ ใหบ้ ริษทั ทราบ ซ่ึงจะมีผลใหก้ รมธรรมป์ ระกนั ภยั ส้ินผลบงั คบ ณ วนั พน้ กา˚ หนดดงั กล่าว (2) บริษทั อาจบอกเลิกกรมธรรมป์ ระกนั ภยั น้ีไดด้ ว้ ยวธิ ีการทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยบอกกล่าวล่วงหนา้ ไม่นอ้ ยกวา 30 วน และบริษทั ตอ้ งทา˚ ตามวธิ ีการ แบบปลอดภยั ในระดบั ที่กา˚ หนดไวใ้ นกฎหมายวา่ ดว้ ยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และลงลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ของบริษทั ที่มีลกั ษณะที่เช่ือถือไดต้ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยธุรกรรมทางอเล็กทรอ นิกส์ โดยส่งขอ้ มูลการบอกเลิกกรมธรรม์ประกนั ภยั ไปยงั ระบบขอ้ มูลท่ีผเู้ อาประกนั ภยั ระบุไวเ้ ท่าน้น ทง้ั นี้ ผเู้ อาประกนั ภยั ตอ้ งยนิ ยอมใหบ้ รษิ ทั จดั ส่งขอ้ มูลการบอกเลิกดว้ ยวธีิ การดงั กล่าว และ บริษทั ตอ้ งจดั ใหม้ ีกระบวนการแจง้ เตือนแก่ผเู้ อาประกนั ภยั เมื่อไดด้ า˚ เนินการบอกเลิกกรมธรรมป์ ระกนั ภยั ทางอิเล็กทรอนิกส์ ในกรณีน้ีบริษทั จะคืนเบ้ียประกนั ภยั ให้แก่ผเู้ อาประกนั ภยั โดยหักเบ้ียประกนั ภยั สา˚ หรับระยะเวลาที่กรมธรรมป์ ระกนั ภยั ไดใ้ ชบ้ งั คบั มาแลว้ ออกตามส่วน 12.2.2 ผเู้ อาประกนั ภยั เป็ นผูบ้ อกเลิก : ผเู้ อาประกนั ภยั อาจบอกเลิกกรมธรรม์ประกนั ภยั น้ีไดด้ ว้ ยวธิ ีการอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงดงั ต่อไปน้ี (1) ผเู้ อาประกนั ภยั อาจบอกเลิกกรมธรรม์ประกนั ภยั น้ีไดด้ ว้ ยการแจง้ ให้บริษทั ทราบเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร ซ่ึงจะมีผลให้กรมธรรมป์ ระกนั ภยั สิ้นผลบงั คบั ทนที ณ วนเวลาที่บริษทั ไดร้ ับหนังสือบอกเลิก หรือวนเวลาที่ระบุไวใ้ นหนงสือบอกเลิก แลว้ แต่วา่ วนั ใดเป็ นวนั หลงสุด (2) ผเู้ อาประกนั ภยั อาจบอกเลิกกรมธรรมป์ ระกนั ภยั น้ีไดด้ ว้ ยวธิ ีการทางอิเลก็ ทรอนิกส์ โดยบริษทั ตอ้ งทา˚ ตามวธิ ีการแบบปลอดภยั ในระดบั ท่ีกา˚ หนดไวใ้ น กฎหมายวา่ ดว้ ยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และแจง้ วธิ ีการให้ผเู้ อาประกนั ภยั ทราบ ซ่ึงจะมีผลให้กรมธรรมป์ ระกนั ภยั สิ้นผลบงั คบ ณ วนั ทขี่ อ้ มูลการบอกเลิกส่งไปยงั ระบบขอ้ มูลทบ่ี ริษทั ระบไุ ว เท่าน้น หรือ ณ วนั ทร่ี ะบุไวใ้ นหนงั สือบอกเลิก แลว้ แต่วา่ วนั ใดเป็ นวนั หลงั สุด ในกรณีน้ีผเู้ อาประกนั ภยั มีสิทธิไดร้ ับเบ้ียประกนั ภยั คืน ตามอตั ราการคืนเบ้ียประกนั ภยั ที่ระบุไวข้ า้ งล่าง 1 – 9 72 120 – 129 44 240 – 249 20 10 – 19 68 130 – 139 41 250 – 259 18 20 – 29 65 140 – 149 39 260 – 269 16 30 - 39 63 150 – 159 37 270 – 279 15 40 – 49 61 160 – 169 35 280 – 289 13 50 – 59 59 170 – 179 32 290 – 299 12 60...
การสิ้นผลบังคับของกรมธรรม์ประกันภัย. วนที่ เวลา ที่ระบุไวในตาราง
การสิ้นผลบังคับของกรมธรรม์ประกันภัย. กรมธรรม์ประกันภัยนี้จะสิ้นผลบังคับเมื่อ 12.1 วันที่ เวลา ที่ระบุไว้ในตารางกรมธรรม์ประกันภัย 12.2 เมื่อไม่มีการชำระเบี้ยประกันภัยตามที่บริษัทกำหนด 12.3 มีการบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย 12.3.1 บริษัทเป็นผู้บอกเลิก: บริษัทอาจบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยนี้ได้ด้วยวิธีการอย่าง ใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) บริษัทอาจบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยนี้ได้ด้วยการส่งหนังสือบอกกล่าว ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนถึงผู้เอาประกันภัยตามที่อยู่ครั้งสุดท้ายที่แจ้งให้ บริษัททราบ ซึ่งจะมีผลให้กรมธรรม์ประกันภัยสิ้นผลบังคับ ณ วันพ้นกำหนดดังกล่าว (2) บริษัทอาจบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยนี้ได้ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ โดย บอกกล่าวล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน และบริษัทต้องทำตามวิธีการแบบปลอดภัยในระดับที่กำหนดไว้ ในกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และลงลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ของบริษัทที่มีลักษณะ ที่เชื่อถือได้ตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และบริษัทต้องจัดให้มีกระบวนการแจ้งเตือน แก่ผู้เอาประกันภัย เมื่อได้ดำเนินการบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยทางอิเล็กทรอนิกส์ ในกรณีนี้บริษัทจะคืนเบี้ยประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย โดยหักเบี้ย ประกันภัยสำหรับระยะเวลาที่กรมธรรม์ประกันภัยได้ใช้บังคับมาแล้วออกตามส่วน 12.3.2 ผู้เอาประกันภัยเป็นผู้บอกเลิก: ผู้เอาประกันภัยอาจบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยนี้ได้ ด้วยวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ (1) ผู้เอาประกันภัยอาจบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยนี้ได้ด้วยการแจ้งให้บริษัท ทราบเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งจะมีผลให้กรมธรรม์ประกันภัยสิ้นผลบังคับทันที ณ วันเวลาที่บริษัทได้ รับหนังสือบอกเลิก หรือวันเวลาที่ระบุไว้ในหนังสือบอกเลิก แล้วแต่ว่าวันใดเป็นวันหลังสุด (2) ผู้เอาประกันภัยอาจบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยนี้ได้ด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์ โดยบริษัทต้องทำตามวิธีการแบบปลอดภัยในระดับที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ และแจ้งวิธีการให้ผู้เอาประกันภัยทราบ ซึ่งจะมีผลให้กรมธรรม์ประกันภัยสิ้นผลบังคับ ณ วันที่ข้อมูลการบอกเลิกส่งไปยังระบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับความยินยอมไว้เท่านั้น หรือ ณ วันที่ ระบุไว้ในหนังสือบอกเลิก แล้วแต่ว่าวันใดเป็นวันหลังสุด ในกรณีนี้ผู้เอาประกันภัยมีสิทธิได้รับเบี้ยประกันภัย รายปีคืน ตามอัตราการคืน เบี้ยประกันภัยที่ระบุไว้ข้างล่าง 1-9 72 120-129 44 240-249 20 10-19 68 130-139 41 250-259 18 20-29 65 140-149 39 260-269 16 30-39 63 150-159 37 270-279 15 40-49 61 160-169 35 280-289 13 50-59 59 170-179 32 290-299 12 60-69 56 180-189 30 300-309 10 70-79 54 190-199 29 310-319 8 80-89 52 200-209 27 320-329 6 90-99 50 210-219 25 330-339 4 100-109 48 220-229 23 340-349 3 110-119 46 230-239 22 350-359 1 360-366 0
การสิ้นผลบังคับของกรมธรรม์ประกันภัย. กรมธรรมป์ ระกนั ภยั น้ีจะสิ้นผลบงั คบั เมื่อ

Related to การสิ้นผลบังคับของกรมธรรม์ประกันภัย

  • การส่งมอบ ผู้ขายจะส่งมอบสิ่งของที่ซื้อขายตามสัญญาให้แก่ผู้ซื้อ ณ กองยุทธศา^ตร์และงบประมาณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน ภายในวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๔๖๔ ให้ถูกต้องและครบถ้วนตามที่กำหนดไวิในข้อ ๑ แห่งสัญญานี้ พร้อมทั้งหีบห่อหรือเครื่องรัดพันผูกโดยเรียบร้อย การส่งมอบสิ่งของตามสัญญานี้ใม่ว่าจะเป็นการส่งมอบเพียงครั้งเดียว หรือส่งมอบหลายครั้ง ผู้ขายจะต้องแจ้งกำหนดเวลาส่งมอบแต่ละครั้งโดยทำเป็นหนังสือนำไปยื่นต่อผู้ซื้อ ณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน ในวันและเวลาทำการของผู้ซื้อ ก่อนวันส่งมอบไม,น้อยกว่า ๓ (สาม) วันทำการของผู้ซื้อ

  • ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องปฏิบัติ ดังนี้ (๑) ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในเอกสารประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (๒) ราคาที่เสนอจะต้องเป็นราคาที่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีอื่นๆ (ถ้ามี) รวม ค่าใช้จ่ายทั้งปวงไว้ด้วยแล้ว (๓) ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องลงทะเบียนเพื่อเข้าสู่กระบวนการเสนอราคา ตามวัน เวลา ที่ กําหนด (๔) ผู้ยื่นข้อเสนอจะถอนการเสนอราคาที่เสนอแล้วไม่ได้ (๕) ผู้ยื่นข้อเสนอต้องศึกษาและทําความเข้าใจในระบบและวิธีการเสนอราคาด้วยวิธี ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ของกรมบัญชีกลางที่แสดงไว้ในเว็บไซต์ xxx.xxxxxxxxxxxx.xx.xx

  • การตรวจงานจ้าง ถ้าผู้ว่าจ้างแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัท ที่ปรึกษา เพื่อควบคุมการทำงานของผู้ รับจ้าง คณะกรรมการตรวจ รับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานนั้ มีอำนาจเข้าไปตรวจการงานในโรงงานและสถานที่ก่อสร้างได้ ทุกเวลา และผู้รับจ้างจะต้องอำนวยความสะดวกและให้ความชวยเหลือในการนั้นตามสมควร การที่มีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน หรือบริษัทที่ปรึกษานั้น หาทำให้ผู้รับจ้างพน้ ความรับผิดชอบ ตามสัญญานี้ข้อใดข้อหนึ่งไม่

  • หลักฐานการยื่นข้อเสนอ ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องเสนอเอกสารหลักฐานยื่นมาพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัดจ้าง ภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ โดยแยกเป็น ๒ ส่วน คือ ๓.๑ ส่วนที่ ๑ อย่างน้อยต้องมีเอกสารดังต่อไปนี้ (๑) ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นนิติบุคคล (ก) ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือห้างหุ้นส่วนจํากัด ให้ยื่นสําเนาหนังสือรับรองการจด ทะเบียนนิติบุคคล บัญชีรายชื่อหุ้นส่วนผู้จัดการ ผู้มีอํานาจควบคุม (ถ้ามี) พร้อมทั้งรับรองสําเนาถูกต้อง (ข) บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัด ให้ยื่นสําเนาหนังสือรับรองการจด ทะเบียนนิติบุคคล หนังสือบริคณห์สนธิ บัญชีรายชื่อกรรมการผู้จัดการ ผู้มีอํานาจควบคุม (ถ้ามี) และบัญชีผู้ถือหุ้นราย ใหญ่ (ถ้ามี) พร้อมทั้งรับรองสําเนาถูกต้อง (๒) ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นบุคคลธรรมดาหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ให้ยื่น สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผู้นั้น สําเนาข้อตกลงที่แสดงถึงการเข้าเป็นหุ้นส่วน (ถ้ามี) สําเนาบัตรประจําตัว ประชาชนของผู้เป็นหุ้นส่วน หรือสําเนาหนังสือเดินทางของผู้เป็นหุ้นส่วนที่มิได้ถือสัญชาติไทย พร้อมทั้งรับรองสําเนา ถูกต้อง (๓) ในกรณีผู้ยื่นข้อเสนอเป็นผู้ยื่นข้อเสนอร่วมกันในฐานะเป็นผู้ร่วมค้า ให้ยื่นสําเนา สัญญาของการเข้าร่วมค้า และเอกสารตามที่ระบุไว้ใน (๑) หรือ (๒) ของผู้ร่วมค้า แล้วแต่กรณี (๔.๒) สําเนาใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ถ้ามี) (๕) บัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ทั้งหมดที่ได้ยื่นพร้อมกับการเสนอราคาทางระบบจัดซื้อจัด จ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ตามแบบในข้อ ๑.๗ (๑) โดยไม่ต้องแนบในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format) ทั้งนี้ เมื่อผู้ยื่นข้อเสนอดําเนินการแนบไฟล์เอกสารตามบัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ครบถ้วน ถูกต้องแล้ว ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์จะสร้างบัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ตามแบบใน ข้อ ๑.๗ (๑) ให้โดยผู้ยื่นข้อเสนอไม่ต้องแนบบัญชีเอกสารส่วนที่ ๑ ดังกล่าวในรูปแบบ PDF File (Portable Document Format)

  • การตรวจรับ เม่ือผู้ซื้อได้ตรวจรับสิ่งของท่ีส่งมอบและเห็นว่าถูกต้องครบถ้วนตามสัญญาแล้ว ผู้ซื้อจะออกหลักฐานการรับมอบเป็นหนังสือไว้ให้ เพื่อผู้ขายนํามาเป็นหลักฐานประกอบการขอรับเงิน ค่าสิ่งของนั้น ถ้าผลของการตรวจรับปรากฏว่า สิ่งของที่ผู้ขายส่งมอบไม่ตรงตามข้อ ๑ ผู้ซื้อทรงไว้ ซึ่งสิทธิท่ีจะไม่รับสิ่งของนั้น ในกรณีเช่นว่านี้ ผู้ขายต้องรีบนําสิ่งของนั้นกลับคืนโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทําได้ และนําสิ่งของมาส่งมอบให้ใหม่ หรือต้องทําการแก้ไขให้ถูกต้องตามสัญญาด้วยค่าใช้จ่ายของผู้ขายเอง และระยะเวลาท่ีเสียไปเพราะเหตุดังกล่าวผู้ขายจะนํามาอ้างเป็นเหตุขอขยายเวลาส่งมอบตามสัญญาหรือ ของดหรือลดค่าปรับไม่ได้

  • ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐาน ตําแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดําเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้ เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดี ขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้น หรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ)

  • การทำบริเวณก่อสร้างให้เรียบร้อย ผู้รับจ้างจะต้องรักษาบริเวณสถานที่ปฏิบัติงานตามสัญญานี้ รวมทั้งโรงงานหรือ สิ่งอำนวย ความสะดวก ในการทำงานของผู้รับจ้าง ลูกจ้าง ตัวแทน หรือผู้รับจ้างช่วง (ถ้ามี) ให้สะอาด ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพในการใช้งานตลอดระยะเวลา การจ้าง และเมื่อทำงานเสร็จสิ้นแล้วจะต้องขนยา้ ยบรรดาเครื่องใช้ในการทำงานจ้างรวมทงวัสดุ ขยะมูลฝอย และสิ่งก่อสร้างชั่วคราว ต่างๆ (ถ้ามี) ทั้งจะต้องกลบเกลี่ยพื้นดินให้เรียบร้อยเพื่อให้บริเวณทั้งหมดอยู่ในสภาพทสะอาดและใช้การได้ทันที

  • เอกสารอันเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา เอกสารแนบท้ายสัญญาดังต่อไปนี้ให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญานี้ ๒.๑ ผนวก ๑ .…….….(แบบรูป)……........…......….......….. จํานวน.…..( ) หน้า ๒.๒ ผนวก ๒ ………...(รายการละเอียด)…….....……....... จํานวน.…..( ) หน้า ๒.๓ ผนวก ๓ …........(ใบแจ้งปริมาณงานและราคา)...... จํานวน.…..( ) หน้า ๒.๔ ผนวก ๔ ……….(ใบเสนอราคา)….........…………....... จํานวน.…..( ) หน้า …………..……………..……ฯลฯ……….………..…………… ความใดในเอกสารแนบท้ายสัญ ญ าที่ ขั ดห รื อแย้ งกั บ ข้ อความในสัญ ญ านี้ ให้ ใช้ ข้ อความ ในสัญญานี้บังคับ และในกรณีที่เอกสารแนบท้ายสัญญาขัดแย้งกันเอง ผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามคําวินิจฉัยของผู้ ว่าจ้าง คําวินิจฉัยของผู้ว่าจ้างให้ถือเป็นที่สุด และผู้รับจ้างไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าจ้าง ค่าเสียหายหรือค่าใช้จ่ายใดๆ เพิ่มเติมจากผู้ว่าจ้างทั้งสิ้น

  • ผลลพธการพฒนาทคาดหวง 3.1 เชิงปริมำณ 3.2 เชิงคุณภำพ

  • ค่าปรับ หากผู้รับจ้างไม่สามารถทํางานให้แล้วเสร็จตามเวลาที่กําหนดไว้ในสัญญาและผู้ว่าจ้างยังมิได้บอก เลิกสัญญา ผู้รับจ้างจะต้องชําระค่าปรับให้แก่ผู้ว่าจ้างเป็นจํานวนเงิน วันละ ……………..บาท และจะต้องชําระ ค่าใช้จ่ายในการควบคุมงานในเมื่อผู้ว่าจ้างต้องจ้างผู้ควบคุมงานอีกต่อหนึ่งเป็นจํานวนเงิน วันละ บาท นับถัดจากวันที่กําหนดแล้วเสร็จตามสัญญาหรือวันที่ผู้ว่าจ้างได้ขยายให้จนถึงวันที่ ทํางานแล้วเสร็จจริง นอกจากนี้ ผู้รับจ้างยอมให้ผู้ว่าจ้างเรียกค่าเสียหายอันเกิดขึ้นจากการที่ผู้รับจ้างทํางานล่าช้าเฉพาะส่วนที่เกินกว่าจํานวน ค่าปรับและค่าใช้จ่ายดังกล่าวได้อีกด้วย ในระหว่างที่ผู้ว่าจ้างยังมิได้บอกเลิกสัญญานั้น หากผู้ว่าจ้างเห็นว่าผู้รับจ้างจะไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญา ต่อไปได้ ผู้ว่าจ้างจะใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาและใช้สิทธิตามข้อ 18 ก็ได้ และถ้าผู้ว่าจ้างได้แจ้ง ข้อเรียกร้องไปยัง ผู้รับจ้างเมื่อครบกําหนดแล้วเสร็จของงานขอให้ชําระค่าปรับแล้ว ผู้ว่าจ้างมีสิทธิที่จะปรับ ผู้รับจ้างจนถึงวันบอกเลิก สัญญาได้อีกด้วย