การดําเนินงาน ข้อกำหนดตัวอย่าง

การดําเนินงาน. 7 1. ความเป็นมา 7 2. กรอบแนวคิด/รูปแบบ / องค์ประกอบ /ขั้นตอนการดําเนินงาน และกระบวนการ 7 3. การบรรลุผลประเมินตัวชี้วัดความสําเร็จ 7 2. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ 9
การดําเนินงาน. ผู้รับทุนจะต้องดำเนินงานตามโครงการวิจัยนี้ด้วยความวิริยะอุตสาหะ และรับรองว่าจะไม่นำงาน ตามโครงการวิจัยบางส่วน หรือทั้งหมดไปให้ผู้อื่นรับช่วง นอกจากจะมีหนังสือยินยอมจากผู้ให้ทุนก่อน
การดําเนินงาน. ลงทุนในการจด หาสถานที่ เครอื่ งมือและอุปกรณระบบ PCN 1800 ทั้งหมด ซึ่ง ประกอบดวยระบบชุมสาย ระบบควบคุม ระบบ Billing สถานีเครือขาย และระบบ สื่อสัญญาณเชื่อมโยง
การดําเนินงาน. 1) ในระยะเวลา 4 ปนับจากวันลงนามในสัญญา ITV ตองดําเนินการใหบริการสงวิทยุ โทรทัศนระบบ UHF โดยสถานีแตละสถานีจะตอ อากาศสูงสุด งใชความถี่วิทยุและกําลังสงออก
การดําเนินงาน. 7.1 ผู้รับจ้างจะต้องก่อสร้างระบบประปาบาดาลและระบบกระจายน้ำ และจะต้องเป็นผู้จัดหาวัสดุ ก่อสร้าง ครุภัณฑ์พร้อมอุปกรณ์เครื่องใช้ ตลอดจนแรงงานมาทำการก่อสร้างให้แล้วเสร็จ สำหรับค่าใช้จ่าย ต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างดำเนินการก่อสร้าง เช่น ค่าน้ำและค่าไฟฟ้า และอื่นๆ ให้ผู้รับจ้างทำข้อตกลงกับผู้มี อำนาจตัดสินใจของสถานที่ๆจะทำการก่อสร้างนั้นๆ ในการออกค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นตามแต่จะตกลงกัน
การดําเนินงาน. (กระบวนการผลิต การตลาด การเงินและบัญชี) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………... …………………………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………...
การดําเนินงาน. ข้อ 2. ผู้รับทุนจะตั้งใจ ทุ่มเท ด้วยความวิริยะ อุตสาหะ และจะใช้ความเพียรพยายามอย่างเต็มความรู้ ความสามารถ ในการที่จะดำเนินโครงการวิจัยตามที่ได้รับอนุมัติเงินทุนสนับสนุน ให้บรรลุผลสำเร็จลุล่วงภายในกรอบระยะเวลาที่ได้ระบุไว้ในสัญญารับทุนนี้ หากผู้รับทุนประสบกับปัญหา อุปสรรค หรือข้อขัดข้องใดๆ ที่เป็นเหตุให้ไม่สามารถดำเนินการวิจัยต่อไปได้ หรือมีความจำเป็นที่จะต้องแก้ไข เปลี่ยนแปลงแผนโครงการวิจัยที่ได้รับอนุมัติทุนสนับสนุนแล้ว ให้ผู้รับทุนแจ้งให้ผู้ให้ทุนทราบเป็นลายลักษณ์อักษรโดยพลัน ข้อ 3. ผู้รับทุนจะต้องส่งสรุปผลการใช้จ่ายเงินทุนวิจัย เมื่อเสร็จสิ้นการดำเนินงานวิจัย ภายในกำหนดระยะเวลาตามแผนงานวิจัยของแต่ละโครงการวิจัย ข้อ 4. ผู้รับทุนตกลงที่จะปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ข้อกำหนดและเงื่อนไข ในการขอรับเงินทุนสนับสนุน พัฒนาการวิจัย ที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ได้กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด ซึ่งในการนี้ ให้รวมไปถึงหลักเกณฑ์ ข้อกำหนดและเงื่อนไขในการขอรับทุนสนับสนุนพัฒนาการวิจัยที่มีผลบังคับใช้อยู่ก่อนวันที่ผู้รับทุนได้เข้าทำสัญญารับทุนนี้และผู้รับทุนตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์/ข้อกำหนด/เงื่อนไข/ประกาศคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลที่เกี่ยวข้องอื่นใด ซึ่งอาจมีกำหนดขึ้นภายหลังจากที่ได้ทำสัญญารับทุนวิจัยนี้ โดยทั้งนี้ ให้ถือว่าหลักเกณฑ์ ข้อกำหนด เงื่อนไข และประกาศคณะฯ ดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของสัญญารับทุนฉบับนี้
การดําเนินงาน. ประกอบด้วย -การผลิตไตเติ้ลและเครดิตท้ายสารคดี -การเขียนบท -การถ่ายภาพโทรทัศน์ -การกำกับรายการ -การตัดต่อ -การผลิตภาพกราฟิก -อุปกรณ์การถ่ายทำสารคดี -การประสานงาน -การเผยแพร่ •การประซาสัมพันธ์รายการ (นางสุปราณี อนสมภ้กษร่) .^างฺฝ็.า?.นรึกานต์..ฒินโฐ) ประเด็นเนื้อหาในการผลิตสารคดีสั้น ประกอบด้วย ตอนที่ 1 การส่งเสริมสนับสบุนด้านการศึกษา : ผลิตสารคดีเกี่ยวกับการส่งเสริมการใช้ภาษามลายู ตอนที่ 2 การส่งเสริมสนับสนุนด้านการป็องกัน และบรรเทาสาธารณภัย : ผลิตสารคดีเกี่ยวกับการก่อสร้างถนน ในโรงพยาบาลสนามจังหวัดยะลา
การดําเนินงาน. ข้อ ๓. ผู้รับทุนได้รับทราบเข้าใจระเบียบและเงื่อนไขการรับทุนตามสัญญานี้โดยตลอด และยินยอม ปฏิบัติตามระเบียบดังกล่าว โดยเคร่งครัด และรับรองว่าจะส่งรายงานการวิจัยตามเงื่อนไขที่ผู้ให้ทุนกําหนด ข้อ ๔. ผู้รับทุนจะทําการวิจัยด้วยความวิริยะอุตสาหะ และรับรองว่าจะไม่นํางานตามโครงการวิจัย บางส่วนหรือทั้งหมดไปให้ผู้อื่นรับช่วง เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ให้ทุนเป็นหนังสือก่อน ผู้ให้ทุนมีสิทธิที่ จะให้ความเห็นชอบกับการเปลี่ยนแปลงนั้น หรือปรับเปลี่ยนโครงการ หรือยุติการสนับสนุนทุนวิจัยได้ตามความ เหมาะสม
การดําเนินงาน. ด้านการวิจัยเพื่อตอบโจทย์ของพื้นที่และผลลัพธ์ และบทที่ 5 สรุปภาพร่วมผลการดําเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับสมบูรณ์“โครงการนวัตกรรมการจัดการงานวิจัย เชิงพื้นที่เพื่อพัฒนาจังหวัดลําปาง” ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และก่อเกิด ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯต่อไป ท้ายนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง ขอขอบพระคุณ ผู้บริหาร ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ที่เกี่ยวข้อง ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ทุกท่าน ที่ให้โอกาสผู้บริหาร นักวิจัยของมหาวิทยาลัย ราชภัฏลําปางได้ทํางานวิจัยเชิงพื้นที่ที่มีคุณค่าครั้งนี้ ประสบการณ์การดําเนินงาน ตลอดจนข้อเสนอแนะ จากท่านผู้ทรงทุกท่านมีคุณค่ายิ่งต่อการดําเนินงานวิจัยเชิงพื้นที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏลําปางต่อไป