ความเป็นมา ข้อกำหนดตัวอย่าง

ความเป็นมา. เม่อ พ.ศ. 2536 ผน ำรฐบาลไทยได่ร่วมลงนามพรอมกบผน ำของ องค์การสหประชาชาติได้ให้ความสำคัญเรื่องสิทธิ โอกาส ประเทศในภม ภาคนใี นประกาศการมส วนรวมอยางเตมทแี ละความเสมอภาค และความเสมอภาคของคนพิการ โดยในปี พ.ศ. 2541 ได้ประกาศ ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการทางสติปัญญาและการเรียนรู้ พ.ศ. 2518 ประกาศปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ พ.ศ. 2524 ประกาศให้เป็นปีคนพิการสากล และประกาศให้ช่วงปี พ.ศ. 2526 - 2535 เป็นทศวรรษของคนพิการพร้อมทั้งกำหนดแผนปฏิบัติการโลก เมื่อสิ้นสุดทศวรรษคนพิการแล้วคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคม ของคนพิการในภูมิภาคเอเซียและแปซิฟิคเพื่อเป็นคำมั่นสัญญาใน การพัฒนาคุณภาคชีวิตคนพิการ และขจัดเจตคติที่ไม่ถูกต้องของสังคม ที่มีต่อคนพิการ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้บัญญัติ ถึงเร่ืองการคุมครองเสรีภาพ ศกดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์ สิทธิของคนพิการ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสามารถพึ่งตนเองได้ CRPD แห่งเอเซียและแปซิฟิค องค์การสหประชาชาติ ต้องการที่จะปฏิบัต เพอ เปนการนำเจตนารมณในเรอ งสทธิ โอกาส และความเสมอภาค กิจกรรมและรณรงค์เรื่องสิทธิและโอกาสของคนพิการอย่างต่อเนื่อง จึงได้ประกาศให้ปี พ.ศ. 2536 - 2545 เป็นทศวรรษคนพิการ ของภูมิภาคเอเซียและแปซิฟิค สำหรบประเทศไทย รฐบาลไดตระหนกถึงความสำคญเร่องสิทธิ และโอกาสของคนพิการเช่นกัน โดยหน่วยงานต่าง ๆ ร่วมกับ คนพิการได้ยกร่างพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการตั้งแต่ พ.ศ. 2520 และเมื่อปีคนพิการสากล พ.ศ. 2524 ไดจ้ ดกิจกรรมต่างๆ พร้อมทั้งประกาศใช้แผนการสงเคราะห์และฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ของคนพิการดังที่ปรกฎในรัฐธรรมนุญแห่งราชอาณาจักรไทย ปฏิญญา ขององค์การสหประชาชาติ ประกาศการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่และ ความเสมอภาคของคนพิการในภูมิภาคเอเซียและแปซิฟิค แผนงาน และกฎระเบียบอื่น ๆ ที่ได้กำหนดไว้ไปสู่การปฏิบัติ ผู้แทนจากองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับคนพิการทั้งภาครัฐและเอกชน และองค์กรคนพิการ จึงได้ร่วมกันจัดทำปฏิญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการไทย เพื่อถือปฏิบัติ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่คนพิการ แห่งชาติระยะยาว (พ.ศ.2525-2534) ในปี พ.ศ. 2534 ได้มีการตราพระราชบัญญัติการฟื้นฟู สมรรถภาพคนพิการ และต่อมาไดประกาศกฎกระทรวง ระเบียบต่าง ๆ รวมทั้งกำหนดนโยบายของรัฐเพื่อให้คนพิการได้รับสิทธิโอกาส และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ อย่างเท่าเทียมกับสมาชิกอื่นในสังคม คณะรฐมนตรีเม่ือวนท่ 10 พฤศจิกายน 2541 CRPD
ความเป็นมา. (ประวัติ, ความเป็นมา, ต้นกําเนิด, ที่มา, ตํานาน ของสิ่งที่ศึกษา, พัฒนาการแต่ละยุคสมัย)
ความเป็นมา. ตามที่ กรมบังคับคดี ได้ประกาศใช้แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2567) ของกรมบังคับคดี เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2566 เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการขับเคลื่อนการปฏิบัติราชการตามภารกิจ ของกรมบังคับคดีให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่ก ำหนด โดยแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระดับสำนัก/กอง ได้นำยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2567) ของกรมบังคับคดี มาเป็นกรอบแนวทางในการกำหนดทิศทางและ การดำเนินงานตามภารกิจให้สามารถตอบสนองต่อนโยบาย ยุทธศาสตร์ และความต้องการของประชาชนได้อย่าง เป็นรูปธรรม อีกทั้งยังเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย โดยโครงการและกิจกรรม ที่กำหนดไว้ภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ระดับสำนัก/กอง ได้กำหนดผลผลิต ตัวชี้วัด และเป้าหมาย เพื่อให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามแผนในระดับต่างๆ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์กับประชาชน อย่างแท้จริง แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ระดับสำนัก/กอง ถือเป็นแผนระดับที่ 3 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2560 โดยมีการเชื่อมโยงความสอดคล้องกับแผนระดับต่างๆ ดังนี้ แข่งขัน (รอง) ซึ่งมีความสำคัญตามลำดับ และแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการ พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕ แผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๖๙) แผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) ของกระทรวงยุติธรรมแผนปฏิบัติ ราชการ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. ๒๕๖6 – ๒๕70) ของกรมบังคับคดี และแผนอื่น ๆ ที่กรมบังคับคดี มีความเกี่ยวข้อง รวมทั้งคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี และนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กล่าวโดยสรุปแผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 256๗) ของกรมบังคับคดี ใช้เป็นแนวทาง ให้หน่วยงาน ของกรมบังคับคดีนำไปเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนและปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพและประสทธิผล ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของกรมบังคับคดีที่สอดคล้องและบูรณาการการขับเคลื่อนกับแผน ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนอื่นในระดับที่ ๒ และ ๓ ต่อไป
ความเป็นมา. ตามที่ภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงาน ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือ ประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็น มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้ มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผน ยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่ นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งเป็นอีกหนึ่งหน่วยงานภาครัฐที่มี บทบาทในการ ขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนในมิติต่างๆ ที่สอดคล้องกับแนวทางของรัฐบาลที่กำหนดยุทธศาสตร์ชาติในการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศ โดยมีกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เป็นหน่วยงานหลักใน การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ BCG Economy เศรษฐกิจชีวภาพ (Bio Economy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) และเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) โดยเน้นการพัฒนาในมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ และ สิ่งแวดล้อมของตำบลนั้นๆ อย่างบูรณาการ เพื่อให้เกิดโครงการในพื้นที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตาม ความต้องการของพื้นที่อย่างแท้จริง ปี 2562 มีการส่งเสริมการเพาะเห็ดนางฟ้าเพื่อสร้างรายได้เสริมให้กับคนในชุมชนในพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านโนน สูง ตำบลโนนหมากมุ่น อำเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว ทำให้เกิดการรวมกลุ่มของคนในชุมชนและจัดตั้งกลุ่มอาชีพ เพราะเห็ดนางฟ้าของประชาชนได้ และยังสามารถทางเลือกสร้างรายได้เสริมให้กับคนในชุมชน ปี 2563 ส่งเสริมต่อยอดการเพาะเห็ดนางฟ้า โดยใช้นวัตกรรมการทำก้อนเห็ดนางฟ้าจากฟางข้าวลงไปใช้ ในชุมชน ด้วยการอบรมให้ความรู้เรื่องกระบวนการทำก้อนเห็ดจากฟางข้าว ซึ่งนำแนวคิดขยะเหลือศูนย์ Zero waste มาใช้ เพื่อการเพิ่มมูลค่าให้กับวัสดุฟางข้าวที่เหลือทิ้งในพื้นที่ตำบลโนนหมากมุ่น และลดมลพิษทางอากาศ จากการเผาฟางข้าวของเกษตรกรในพื้นที่ ซึ่งสามารถช่วยลดต้...
ความเป็นมา. จากสภาพแวดล้อมในการดําเนินงานทั้งภายในและภายนอกองค์กรซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให ริการที่ตองการความถูกตองและรวดเร็วกับบุคคลในองค์กรและบุคคลภายนอกท่ีเข้า มาติดต่อ สํานักงานจึงได้เล็งเห็นความจําเป็นในการประยุกต์ใช้หลักการพัฒนาระบบของ Service Oriented Architecture (SOA) กับระบบสารสนเทศของสํานักงาน เพื่อให้ระบบสารสนเทศของสํานักงานสามารถ ให้บริการ Service แก่นักลงทุนภายนอกและภายในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึน้ สํานักงานจึงมีความประสงค์ท่ีจะออกแบบและพัฒนา ระบบสนบสนุนงานส่งเสริมการลงทุน (e-Investment Promotion) และระบบงานที่ดิน ตามหลักการพัฒนาระบบของ SOA เพ่ือให้สํานักงานมี ระบบสารสนเทศท่ีมีความเหมาะสม ยืดหยุ่น รองรับการเปล่ียนแปลงท้ังในส่วนของการให้บริการนักลงทุนและ ในส่วนของการบริหารจัดการภายในองค์กร อีกทั้งเพื่อให้สํานักงานสามารถใช้งานข้อมูลสารสนเทศร่วมกัน อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้
ความเป็นมา. สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ สพร. ได้จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2561 เพื่อเป็นหน่วยงานกลางของระบบรัฐบาลดิจิทัล ทำ หน้าที่ให้บริการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา บริหารจัดการ และให้บริการโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยีดิจิทัลและ ระบบการให้บริการหรือแอปพลิเคชันพื้นฐานของหน่วยงานของรัฐและหน่วยงานอื่นเกี่ยวกับการพัฒนารัฐบาล ดิจิทัล ทั้งนี้ ตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2550 อนุมัติหลักการพัฒนาระบบจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์กลางเพื่อการสื่อสารในภาครัฐ ซึ่งถือเป็นนโยบายด้านความมั่นคงปลอดภัยของข่าวสารภาครัฐ ให้ ข้าราชการและพนักงานของรัฐยุติการใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ของเอกชน โดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนา ระบบราชการ (สำนักงาน ก.พ.ร.) ได้มอบหมายให้สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงาน หลักในการพัฒนาระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์กลางเพื่อการสื่อสารในภาครัฐ ทั้งนี้ได้มีการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการเชื่อมโยงระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ระหว่าง สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) ในวันที่ 24 ธ ัน วาคม พ. ศ. 2563 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อร่วมกันพัฒนาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ อันเป็นโครงสร้างพื้นฐานในการพัฒนาไปสู่รัฐบาลดิจิทัล ในการนี้เพื่อให้สามารถพัฒนาระบบเพื่อรองรับรูปแบบการทำงานและการรับบริการของบุคลากร ภาครัฐที่ สอดรับกับสถานการณ์ Covid-19 ของหน่วยงานรัฐได้ สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) จึงขอรับ การส่งเสริม สนับสนุน ความช่วยเหลือ ในการดำเนินการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคมและรับทุนอุดหนุน การวิจัยและพัฒนาในเรื่องที่เกี่ยวกับการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จากกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม ตามสัญญากองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ที่อนุมัติให้สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) ดำเนินโครงการ ระบบการสื่อสารแบบรวมศูนย์ สำหรับให้การดำเนินงานในส่วนของการ ให้บริการมีความต่อเนื่องและมีการพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้มากขึ้น ทั้งนี้ในที่ประชุมติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการและการประชุมคณะกรรมการสำนักงานพัฒนา รัฐบาลดิจิทัล ครั้งที่ 11/2564 วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2564 เห็นชอบทิศทางการให้บริการตามที่มีการนำเสนอ คือระบบการสื่อสารแบบรวมศูนย์ (Unified Communication: UC) สำหรับให้บริการหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งจะเป็น ลงนามผู้กำหนดขอบเขตของงาน ประธานกรรม นางณพิชญา เทพรอด ลงนาม....นางณพิชญา เทพรอด................... วันที่.....10/1/2565....... กรรมการ นายเกียรติชาย ...
ความเป็นมา. ปัญหาข้อพิพาทของการเรียกร้องค่าเสียหายระหว่างกันในอดีตนั้นยังไม่มีกระบวนการระงับข้อ พิพาททางเลือก ดังนั้นบริษัทประกันภัยจําเป็นต้องนําเรื่องเข้าสู่กระบวนการฟ้องร้องทางศาล โดยเฉพาะ ในการฟ้องคดีนอกจากคู่ความที่เป็นบริษัทประกันภัยด้วยกันแล้ว ยังได้มีการเรียกประชาชนในฐานะผู้เอา ประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์จากกรมธรรม์ประกันภัยเข้าเป็นคู่ความร่วมเข้าไปในคดีด้วย ส่งผลให้คดี ความของประกันภัยขึ้นสู่ศาลจํานวนมาก และกระทบถึงภาพลักษณ์ที่ดีต่อธุรกิจประกันภัย จึงก่อให้เกิด คํากล่าวที่ว่า “คดีประกันภัยล้นศาล” ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของธุรกิจประกันภัย ทางสมาคมฯ จึงได้มีนโยบายจัดตั้ง สํานักงานอนุญาโตตุลาการของสมาคมฯ ขึ้น เพื่อประโยชน์ของการระงับข้อพิพาททางแพ่งที่เกิดขึ้น ระหว่างบริษัทประกันภัย โดยได้รับความช่วยเหลือด้านอนุญาโตตุลาการจากสํานักงานอนุญาโตตุลาการ กระทรวงยุติธรรม ในการช่วยเหลือด้านวิชาการ รวมทั้งการจัดอบรมบุคคลากรและการจัดการเกี่ยวกับ การดําเนินกระบวนการพิจารณาในชั้นอนุญาโตตุลาการ รวมทั้งการช่วยเหลือและจัดหาอนุญาโตตุลาการ ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายประกันภัย และในส่วนของบริษัทประกันภัยเองทางชมรมนัก กฎหมายประกันภัยก็ได้ร่วมกันร่างสัญญาระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ เพื่อเป็นการร่วมลงนาม ระหว่างบริษัทประกันวินาศภัยที่จะใช้กระบวนการอนุญาโตตุลาการแทนการฟ้องร้องต่อศาล ซึ่งได้มีการ จัดพิธีลงนามสัญญาให้ความช่วยเหลือท่านอนุญาโตตุลาการระหว่างสมาคมประกันวินาศภัยและ สํานักงานอนุญาโตตุลาการ กระทรวงยุติธรรม และสัญญาระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการสมาคม ประกันวินาศภัย เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2537 โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ นายอุทัย พิมพ์ใจ ชน เป็นประธานในพิธีลงนามในส่วนของสัญญาระงับข้อพิพาท โดยอนุญาโตตุลาการมีผลใช้บังคับวันที่ 1 ธันวาคม 2537 มีบริษัทสมาชิกร่วมลงนาม 53 บริษัท และมีการลงนามเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบัน 71 บริษัท ทั้งนี้ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมสัญญาครั้งที่ 2 มีผลบังคับใช้วันที่ 1 มิถุนายน 2542 เป็นต้นมา สัญญาฉบับนี้ทําขึ้นระหว่างบริษัทประกันวินาศภัย ซึ่งปรากฏนามท้ายสัญญานี้ เพื่อตกลงระงับ ข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการ และให้ถือว่าสัญญานี้มีผลผูกพันบริษัทผู้เข้าร่วมลงนามนับแต่วันที่บริษัท ดังกล่าวเข้าร่วมลงนามในสัญญานี้ ซึ่งผลผูกพันตามสัญญาดังกล่าวให้มีผลผูกพันต่อบริษัทที่เข้าร่ วมลง นามอยู่ก่อนแล้ว และที่จะเข้าร่วมลงนามในภายหลัง ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
ความเป็นมา. ก่อนปี 2540 การดําเนินการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนระหว่างบริษัทประกันภัยยังไม่มีการ กําหนดแนวทางปฏิบัติร่วมกันอย่างชัดเจน โดยส่วนใหญ่จะยึดถือประเพณีปฏิบัติระหว่างกันสองฝ่าย และ ใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัวของผู้ปฏิบัติงานในการเจรจาและการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนระหว่างกัน แต่ หลังจากนั้นธุรกิจประกันวินาศภัยได้มีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้จํานวนเรื่องที่ เรียกร้องระหว่างกันของบริษัทประกันวินาศภัยมีจํานวนมากขึ้นตามไปด้วย ส่งผลให้บุคลากรที่ปฏิบัติ หน้าที่เรียกร้องเรียกร้องระหว่างกันมีไม่เพียงพอ ก่อให้เกิดความล่าช้าในการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน ระหว่างกัน รวมถึงมีข้อโต้แย้งในเรื่องของเอกสารและจํานวนเงินที่จะชดใช้ระหว่างกันด้วย ดังนั้นจึงได้มี การรวมกลุ่มของเจ้าหน้าที่เรียกร้องของบริษัทประกันภัยในการร่วมกันหารือและตกลงชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนระหว่างกัน ส่งผลถึงการจัดตั้งชมรมสินไหมทดแทน เพื่อเป็นคณะทํางานที่มาร่วมกันกําหนดกฎ กติกา ในการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนระหว่างกัน เพื่อให้การดําเนินการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนระหว่างกัน เป็นไปโดยรวดเร็ว และลดข้อโต้แย้งต่างๆ เนื่องจากมีแนวปฏิบัติที่ยึดถือปฏิบัติอย่างเดียวกัน ซึ่งต่อมาได้มี การร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนระหว่างบริษัทประกันภัย เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2540 ณ กรมการประกันภัย กระทรวงพาณิชย์ โดยมีอธิบดีกรมการประกันภัยนายพิพรรธน์ อินทรศักดิ์ เป็นประธานในพิธี มีบริษัทร่วมลงนาม 57 บริษัท และทยอยลงนามเพิ่มเติม จนถึงปัจจุบัน รวม 64 บริษัท บันทึกข้อตกลงฉบับนี้กระทําขึ้นระหว่างบริษัทประกันภัย ซึ่งปรากฏนามท้ายบันทึกข้อตกลงนี้ เพื่อให้การดําเนินการเรียกร้องและชดใช้ค่าสินไหมทดแทนระหว่างบริษัทเป็นไปด้วยความรวดเร็ว อํานวย ความสะดวกให้แก่ลูกค้าทั้งสองฝ่ายและเพื่อรักษาชื่อเสียงและภาพพจน์ที่ดีต่อวงการประกันภัย โดยให้ถือ ว่าบันทึกข้อตกลงนี้มีผลผูกพันบริษัทผู้เข้าร่วมลงนาม นับแต่วันที่บริษัทดังกล่าวเข้าร่วมลงนามในบันทึก ข้อตกลงนี้ ซึ่งผลผูกพันตามบันทึกข้อตกลงดังกล่าวให้มีผลผูกพันต่อบริษัทที่เข้าร่วมลงนามอยู่ก่อนแล้ว และที่จะเข้าร่วมลงนามในภายหลัง ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
ความเป็นมา. คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เป็นคณะที่ก่อตั้งขึ้นมาใหม่ โดยก่อตั้งเป็นคณะ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ และได้มีการเปิดให้บริการศูนย์วิจัยและบริการวิชาการสหเวชศาสตร์ในปี พ.ศ.๒๕๕๘ ซึ่ง ให้บริการวิชาการด้านกายภาพบําบัดด้วยประกอบกับคณะสหเวชศาสตร์เปิดการสอนหลักสูตรกายภาพบําบัด แต่ปีการศึกษา ๒๕๕๔ อย่างไรก็ตามคณะสหเวชศาสตร์ยังไม่มีเครื่องวิเคราะห์สัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อสําหรับ ให้บริการตรวจประเมินผู้ป่วยที่มารับบริการกายภาพบําบัดและใช้ในการสอนปฏิบัติการรายวิชาในหลักสูตร กายภาพบําบัดรวมทั้งใช้ในการวิจัยทางกายภาพบําบัดของศูนย์และบริการวิชาสหเวชศาสตร์และของอาจารย์ และนิสิตนั้น จึงนํามาสู่การประกวดราคาซื้อเครื่องวิเคราะห์สัญญาณไฟฟ้าของกล้ามเนื้ออิเล็กโทรดไร้สายแบบ
ความเป็นมา. เนื่องจาก (3) .